บทที่ 05

Page 1

โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

บทที่ 5 สรุปโครงการ ขันตอนส่ ้ วนที่เชื่อมต่อระหว่างโครงการ (Programming Stage) และขันตอนการออก ้ (Design Stage) ซึง่ เป็ นการสรุปเนื ้อหา และวิเคราะห์เพื่อเริ่ มต้ นการออกแบบซึง่ สามารถแบ่ง ออกเป็ นประเด็น ในการพิจารณาสรุปโครงการเป็ น 3 หัวข้ อดังนี ้ 5.1. สรุปภาพรวมโครงการ (Project Summary) เป็ นการนาเสนอรายละเอียดโครงการโดยสรุป เพื่อให้ ผ้ อู อกแบบสามารถนาไปใช้ ได้ ในการ ออกแบบเบื ้องต้ น โดยสรุปเป็ น 4 ส่วนดังนี ้ 5.1.1 พื ้นที่โครงการ (Area Requirement) 5.1.2 ความสัมพันธ์ ของหน้ าที่ใช้ สอย (Function Requirement) 5.1.3 ที่ตงโครงการ ั้ (Site) 5.1.4 งบประมาณทุนโครงการ (Budget) 5.1.1 พืน้ ที่โครงการ (Area Requirement) เป็ นการสรุปเนื ้อที่ใช้ สอยและพื ้นที่สนับสนุนต่างๆ ของโครงการแยกตามองค์ประกอบของโครงการ ได้ ดงั ตารางดังต่อไปนี ้ องค์ ประกอบ โครงการ

พืน้ ที่สุทธิ (ตร.ม)

ส่วนต้ อนรับ ส่วนโถงปฏิบตั ิธรรม ส่วนจัดแสดงงาน ส่วนห้ องสมุด ส่วนร้ านค้ า ส่วนห้ องพักนักบวช ส่วนห้ องพักฆราวาส

830.52 1,911.65 624.54 122.78 625 193 2010

เป้าหมายโครงการ

พืน้ ที่สัญจร พืน้ ที่ (%) (ตร.ม) 50 415.26 50 955.85 50 317.27 50 61.39 40 248.8 40 77.2 40 804

รวม (ตร.ม) 1,245.78 2,867.5 941.81 184.17 870.8 270.2 2814 1- 90


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

ส่วนโรงอาหาร ส่วนบริ หาร ส่วนบริ การอาคาร รวมพืน้ ที่โครงการ

748.49 30 224.54 256.83 40 102.73 372 30 111.6 7,721.81 3,318.64 ตารางที่ 5-1 แสดงพื ้นที่ใช้ สอยภายในโครงการ

973.03 359.53 483.6 11,040.45

ที่มา : จากบทที่ 4 ตารางแสดงพื ้นที่แต่ละองค์ประกอบของโครงการ หมายเหตุ : ไม่รวมพื ้นที่ใช้ สอยภายนอกอาคาร

รูปที่ 5-2 แสดงความสัมพันธ์ ของการจัดวางตามองค์ประกอบหลัก

รูปที่ 5-3 แสดงความสัมพันธ์ การเข้ าถึงตามผู้ใช้ อาคารหลักและรอง

เป้าหมายโครงการ

1- 91


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

ส่วนต้ อนรับ ส่วนโถงปฏิบตั ธิ รรม ส่วนจัดแสดงงาน ส่วนห้ องสมุด ส่วนร้ านค้ า ส่วนห้ องพักนักบวช ส่วนห้ องพักฆราวาส ส่วนโรงอาหาร ส่วนบริหาร ส่วนบริการอาคาร

รูปที่ 5-4 แสดงพื ้นที่ใช้ สอยภายโครงการ (ภายในอาคาร)

5.1.2 ความสัมพันธ์ ของหน้ าที่ใช้ สอย (Function Requirement) ความสัมพันธ์ ในแต่ละกลุม่ ของหน้ าที่ใช้ สอย กับผู้ใช้ โครงการและเส้ นทางสัญจรในแต่ละ องค์ประกอบจะแสดงโดยผังความสัมพันธ์ ของโครงการ (Function Diagram) โดยในผัง ความสัมพันธ์ นี ้จะประกอบไปด้ วย - ทุกๆ กลุม่ หน้ าที่ใช้ สอย (Function) ที่จาเป็ นในการออกแบบ - เส้ นทางสัญจรของกลุม่ ผู้ใช้ หลัก (User Flow) - การแบ่ง (Zoning) ตามองค์ประกอบโครงการ

เป้าหมายโครงการ

1- 92


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

5.1.3 ที่ตงั ้ โครงการ (Site) 1. แผนที่โครงการ แสดงให้ เห็นที่ตงโครงการด้ ั้ วยแผนที่โดยสรุป การพิจารณาจะแบ่งเป็ นระดับ ต่างๆ ดังนี ้ สาเหตุหลักที่เลือกที่ตงโครงการโบยบิ ั้ นอิสระสถานไว้ ที่ประเทศไทยนัน้ เนื่องจากประเทศ ไทยตังอยู ้ ต่ าแหน่งที่คล้ ายกับเป็ นจุดศูนย์กลาง ซึง่ ถูกอ้ อมล้ อมไปด้ วยประเทศเพื่อนบ้ านที่นบั ถือ พุทธศาสนาเป็ นส่วนมาก อย่างเช่น พม่า ลาว เวียดนาม เขมร มาเลเซีย และสิงค์โปร จรดไปถึง อินเดียและศรี ลงั กา จุดกาเนิดศาสนาพุทธที่มีระยะการเดินทางไม่หา่ งจากประเทศไทยมากนัก ทา ให้ ศกั ยภาพของประเทศไทยนันถู ้ กเลือกเป็ นที่ตงชองโครงการโบยบิ ั้ นอิสระสถาน

รูปที่ 5-5 แสดงการเลือกระดับมหาภาค เนื่องจากหมู่บ้านพลัมนันเป็ ้ นสถานปฏิบตั ิธรรมที่ผ้ คู นให้ ความสนใจอย่างมากกับ ชาวต่างชาติ แรกเริ่ มเดิมทีหมู่บ้านพลัมนันถู ้ กต่อตังขึ ้ ้นที่ประเทศฝรั่งเศส ประเทศสหรัฐอเมริ กา และประเทศไทย ตามลาดับ ทาให้ สถานปฏิบตั ิธรรมนันมี ้ ความเป็ นนานาชาติ (International Practice Center) จึงทาให้ การเลือกที่ตงในประเทศไทยนั ั้ นอ้ ้ างอิงจากกลุม่ ผู้ใช้ งานโครงการเป็ น หลัก ซึง่ จะเป็ นฆราวาสจากต่างประเทศเสียส่วนใหญ่ อีกทังคณะภิ ้ กษุรวมถึง หลวงปู่ ติช นัน ฮัช นันต้ ้ องเดินทางออกต่างประเทศบ่อยครัง้ ทาให้ การเลือกที่ตงนั ั ้ นอยู ้ ไ่ ม่หา่ งจากตัวเมืองหลวงหรื อ กรุงเทพมหานครมากนัก เพื่อรองรับกลุม่ ผู้ใช้ งานโครงการจากเครื่ องบินจากสุวรรณภูมิ และ ฆราวาสในประเทศไทยก็สามารถเดินทางเข้ ามาภายในโครงการอย่างสะดวกสบาย

เป้าหมายโครงการ

1- 93


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

รูปที่ 5-6 แสดงการเลือกระดับภาค จากกรุ งเทพมหานครและกาญจนบุรี ระยะห่าง 146 กิโลเมตร เป็ นเวลา 1 ชัว่ โมง 13 นาที ซึ่งกาญจนบุรีเป็ นจังหวัดที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านภูมิประเทศ เนื่องจากแผนการพัฒนาการใช้ ประโยชน์ที่ดินของจังหวัดกาญจนบุรีส่วนใหญ่น้ นั เป็ นพื้นที่อนุรักษ์ป่าไม้เสียส่วนใหญ่ ทาให้มี แหล่งที่อุดมสมบูรณ์มีท้งั แม่น้ า ลาธาร ภูเขา และสภาพอากาศที่อุดมสมบูรณ์ อีกทั้งยังมีการ คมนาคมที่สะดวก และแผนพัฒนาโครงการสร้างถนนของกรมทางหลวงอีกด้วย

รูปที่ 5-7 แสดงการเลือกระดับจังหวัด

เป้าหมายโครงการ

1- 94


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

รูปที่ 5-8 แสดงการเลือกระดับอาเภอ

จากตารางด้ านบนจะเห็นได้ วา่ อาเภอที่ตงอยู ั ้ ไ่ ม่หา่ งจากอาเภอเมืองกาญจนบุรีคือ อาเภอท่าม่วง อาเภอพนมทวน อาเภอท่ามะกา อาเภอด่านมะขามเตี ้ย อาเภอบ่อพลอย อาเภอไทร โยค อาเภอห้ วยกระเฉา อาเภอหนองปรื อ อาเภอเลาขวัญ อาเภอศรี สวัสดิ์ อาเภอทองผาภูมิ และ อาเภอสังขละบุรี ตามลาดับ

รูปที่ 5-9 แสดงการเลือกอาเภอของที่ตงโครงการ ั้

เป้าหมายโครงการ

1- 95


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

1. ที่ตงโครงการ ั้ (Site Condition)

รูปที่ 5-10 แสดงรูปร่างโครงการและการเข้ าถึงโครงการ รูปร่ างของโครงการ (Land Shape) ด้ านหน้ าโครงการมีความกว้ าง 120 เมตร ด้ านข้ าง 2 ข้ าง ยาว 290 และ 338 เมตร ด้ านในโครงการกว้ าง 85 เมตร โดยหัวมุมทางด้ านทิศตะวันตก มีหกั มุมเข้ ามาเนื่องจากเป็ นที่ดินของผู้อื่น กว้ าง x ยาว เท่ากับ 18 x 48 เมตร การเข้ าถึงของโครงการ (Approach) สามารถเข้ าโครงการได้ 2 เส้ นทาง - Route 01 เข้ าทางโครงการอนุรักษ์ พืชพันธุ์ไม้ ระยะห่าง 13,504 กิโลเมตร - Route 02 เข้ าทางถนนท้ องถิ่น

เป้าหมายโครงการ

1- 96


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

ลักษณะความลาดชันของที่ดินในโครงการ (Contour)

รูปที่ 5-11 แสดงลักษณะความลาดชันของที่ดินและตาแหน่งทิศ และทิศทางลม ฝน

รูปที่ 5-12 แสดงความลาดชันของที่ดินภายในโครงการแบบกราฟฟิ ก

รูปที่ 5-13 แสดงสภาพดินภายในโครงการ

เป้าหมายโครงการ

1- 97


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

รูปที่ 5-14 แสดงระยะร่นของโครงการ ระยะร่ น (Set Back) ตามกฎหมายข้ อบัญญัติผงั เมืองรวม จังหวัดกาญจนบุรี (ฉบับร่าง) กาหนดให้ 1. สิง่ ปลูกสร้ างอยูห่ า่ งจาก “ถนน” ระยะ 3 เมตร แต่หากความสูงไม่เกิน 23 เมตร ระยะห่างจากถนนเท่ากับ 2 เมตร 2. สิง่ ปลูกสร้ างอยูห่ า่ งจาก “แม่น ้า” ระยะ 15 เมตร 3. สิง่ ปลูกสร้ างอยูห่ า่ งจากที่ดินโดยรอบ ระยะ 3 เมตร (จาก กฎหมายอาคารสาธารณะ)

รูปที่ 5-15 แสดงการจัดแบ่งสัดส่วนขององค์ประกอบภายในโครงการ การจัดแบ่ งสัดส่ วน (Zoning) การจัดแบ่งองค์ประกอบต่างๆ ภายในโครงการนันค ้ านึงถึงความปลอดภัยของผู้ใช้ การหลัก หรื อผู้ ที่มาปฏิบตั ิธรรมโดยค้ างแรมที่โครงการเป็ นเวลาตัง้ 4-7 วัน ดังนันความปลอดภั ้ ยของผู้เข้ าใช้ โครงการในส่วนนี ้ควรจะถูกแบ่งเขตชัดเจนระหว่างผู้ใช้ การโครงการรายวันและค้ างคืน ดังนัน้ สีเทา – ส่วนจอดรถ สีเขียว – ส่วนกลาง (ส่วนต้ อนรับ หรื อ Lobby)

เป้าหมายโครงการ

1- 98


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

สีชมพู – ส่วนองค์ประกอบรองของโครงการ (ส่วนจัดแสดงงาน ห้ องสมุด และร้ านค้ า) จะถูกจัดไว้ สว่ นหน้ าของโครงการเพื่อให้ เข้ าถึงได้ งา่ ย และแบ่งสัดส่วนระหว่าง Public Space และ Private Zone ดังนันการท ้ ากาแพงเพื่อคัดกรองคนก่อนเข้ ามายังส่วน Private Zone สีส้ม – ส่วนกลาง (ศาลาปฏิบตั ิธรรม โรงอาหาร และโรงครัว สีฟ้า – ส่วนพักอาศัย (เรื อนพักนักบวช และเรื อนพักฆราวาส) จะถูกจัดวางด้ านในของโครงการ โดยมีการจัดให้ เรื อนพักฆราวาสนันเข้ ้ าถึงได้ งา่ ยกว่าเรื อนพัก นักบวช จึงจัดให้ เรื อนพักนักบวชเป็ นลาดับสุดท้ ายของการเข้ าถึง เพื่อสร้ างความวิเวก และลด ปั ญหาที่จะตามมาในภายหลัง และเกิดความสงบเป็ นสัดเป็ นส่วนเกิดขึ ้นภายในโครงการ

รูปที่ 5-16 แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างสถาปั ตยกรรมและภูมิสถาปั ตยกรรม เนื่องจากงานสถาปั ตยกรรมและภูมิสถาปั ตยกรรมนันจ ้ าเป็ นต้ องมีความสอดคล้ องกัน โดยด้ านหน้ าโครงการมี Buffer Zone โดยการปลูกต้ นไม้ คล้ ายเป็ นรัว้ ธรรมชาติเพื่อป้องกันความ วุน่ วายจากภายนอก และให้ เกิดความสงบภายใน จากนันการปลู ้ กต้ นไม้ รอบโครงการแทนการทา รัว้ จากคอนกรี ต หรื อลวดเหล็ก การขุดคูเล็กๆ รอบโครงและปลูกต้ นไม้ ทาให้ สามารถป้องกันปั ญหา จากผู้บุกรุกภายนอกได้ เช่นกัน

รูปที่ 5-17 แสดงลักษณะภูมิสถาปั ตยกรรมในโครงการ (คูน ้า และรัว้ ต้ นไม้ รอบโครงการ) เป้าหมายโครงการ

1- 99


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

จากหลังจากการวิเคราะห์โครงการ สามารถลาดับการเข้ าถึงกลุม่ อาคารต่าง ๆ ได้ ดงั นี ้

รูปที่ 5-18 แสดงตาแหน่งพื ้นที่จอดรถ ที่จอดรถ (Parking Zone) ตังอยู ้ บ่ ริ เวณหน้ าโครงการ พื ้นที่รองรับรถยนต์สว่ นตัวได้ ทงหมด ั้ 97 คัน โดยแบ่งทางเข้ าหลักสาหรับบุคคลทัว่ ไป และพนักงานประจาโครงการ โดยมีทาง Service ตังอยู ้ ่ ด้ านขวามือของโครงการ สามารถขนส่ง หรื อในกรณีฉกุ เฉิน สัมผัสกับธรรมชาติ (Natural Gate)

รูปที่ 5-19 แสดงตาแหน่งพื ้นที่ของส่วนต้ อนรับ

ซึมซับ

เพ่งมอง

รับรู ้

เข้าใจ

ก้อนหิน

กาแพง

สวนเซน

จากการเคลื่อนไหว ร่ างกาย

ไม้ไผ่

รูปที่ 5-20 แสดงความสัมพันธ์ ของส่วนต้ อนรับ

เป้าหมายโครงการ

1- 100


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

การสร้ างบรรยากาศให้ เกิดความสงบก่อนที่ผ้ ใู ช้ โครงการจะเข้ าสูโ่ ครงการนันเป็ ้ นเรื่ องสาคัญ เพราะจะทาให้ ทกุ ขณะจิตนันมี ้ สมาธิตลอดเวลาทุกก้ าวเท้ าที่ยา่ งลงบนดินอย่างมีสติตลอดเวลา รวมจนออกไปจากโครงการก็จะทาให้ เกิดความ “เซนฉับพลัน” ขึ ้นในตัวบุคคล

รูปที่ 5-21 แสดงผังพื ้นของส่วนต้ อนรับ A – Natural Gate 01 (ซึมซับความสงบท่ ามกลางผนังป่ าไผ่ ) เริ่ มถูกการปิ ดล้ อมด้ วยผนังไม้ ไผ่สงู จากสภาพแวดล้ อมภายนอก และบังสายตาจากบรรยากาศ ต่างๆ ที่โอบล้ อมรอบด้ านภายนอกเพื่อให้ เพ่งสายและอารมณ์ไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้ เกิด ความสงบขึ ้น หลังจากนันสติ ้ ก็จะเกิดฉับพลันในเวลาถัดมา B – Natural Gate 02 (เพ่ งมองก้ อนหินแห่ งเซน) หลังจากการเดินเข้ าสูโ่ ครงการที่รายล้ อมไปด้ วยไม้ ไผ่ที่สงู ตระง่ามาเป็ นระยะทางค่อนข้ างนาน พอสมควรหลังจากนันจะพบกั ้ บ “ก้ อนหิน” ที่ตงอยู ั ้ บ่ นน ้า เพื่อเป็ นจุดนาสายตาและเพ่งมอง เพราะ ในเซนนัน้ การเพ่งมองนันส ้ าคัญมาก เนื่องจากในฝึ กเซนนันเน้ ้ นปฏิบตั ิ ฝึ กการใช้ ปัญญาและ สมาธิ จนเข้ าใจหลักธรรมด้ วยตัวเอง การเพ่งมองก้ อนหินนี ้ก็มีความหมายโดยนัยของแต่ละตัว บุคคล ว่าเข้ าใจสิง่ ว่ามองเห็นนันว่ ้ าอย่างไร C – Natural Gate 03 (กาแพงเสมือนการรับรู้) เนื่องจากกาแพงนี ้คล้ ายประตูเข้ าโครงการ แนวความคิดในการเลือกใช้ วสั ดุในการออกแบบนัน้ เลือกใช้ วสั ดุที่มีความคล้ ายคลึงกัน แต่ไม่ใช่ชนิดเดียวกัน เพื่อให้ ผ้ มู าใช้ โครงการเห็นคล้ ายเป็ นเชิง สัญญาลักษณ์วา่ “เซน คือ ทุกอย่างเป็ นอันหนึง่ อันเดียวกัน”

เป้าหมายโครงการ

1- 101


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

D – Natural Gate 04 (ทาความเข้ าใจในสวนเซน) สวนหินแบบเซนจัดวางไว้ อย่างเรี ยบง่าย งดงาม ลงตัว ทว่ามีนยั ทางธรรมอย่างน่าสังเกตท่ามกลาง กรวดหินสีขาวสะอาดที่ได้ รับการจัดวางอย่างงดงาม ตรงกลางสวน มีหินวางอยูอ่ ย่างมี ความหมายซึง่ ดึงดูดผู้สนใจสวนหินให้ มาใช้ เวลาว่างนัง่ พิจารณาหา “แก่น” ของปริ ศนาธรรมที่วา่ นี ้ แต่หากใครที่ไม่ร้ ูจกั เซนมาก่อน เวลามาถึงสวนอันงดงามแห่งนี ้ สิง่ แรกที่พวกเขาจะทาก็คือการ ถ่ายรูปด้ วยความตะลึงลานในความงาม ต่างคนต่างตีความกันไปคนละแบบ สวนหินแบบเซนถูก ออกแบบเพื่อเป้าหมายคือการเจริ ญสติ ถ้ ามาเยือนสวนหินแห่งนี ้แล้ ว พลาดจากการเจริ ญสติไป ก็ นับว่าน่าเสียดาย น่ าเสียดายที่เข้ ามาอยู่ในสวนเซน แต่ มองไม่ เห็นหัวใจของสวนที่แท้ จริง ซึง่ การจัดวางเซนให้ อยูใ่ นส่วนอาคารต้ อนรับ (Lobby) เพื่อลดพื ้นที่นงั่ คอยให้ เป็ นการนัง่ พิจารณา และทาความเข้ าใจสวนเซนแทนการพักคอยแบบปกติ

A – Natural Gate 01 (ซึบซับความสงบท่ ามกลางผนังป่ าไผ่ )

B – Natural Gate 02 (เพ่ งมองก้ อนหินแห่ งเซน)

C – Natural Gate 03 (กาแพงเสมือนการรั บรู้ )

D – Natural Gate 04 (ทาความเข้ าใจในสวนเซน)

เป้าหมายโครงการ

1- 102


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

รูปที่ 5-22 แสดงตาแหน่งพื ้นที่ของส่วนกลาง และส่วนสนับสนุนโครงการ หลังจากผ่าน Natural Gate ทัง้ 4 รูปแบบ ลาดับต่อไปคือ การนาสวนเซน (Zen Garden) จัดวาง ไว้ ในพื ้นที่เดียวกันกับอาคารต้ อนรับ (Lobby) ซึง่ การจัดวางเซนให้ อยูใ่ นส่วนอาคารต้ อนรับ (Lobby) เพื่อลดพื ้นที่นงั่ คอยให้ เป็ นการนัง่ พิจารณาและทาความเข้ าใจสวนเซนแทนการพักคอย แบบปกติ หลังจากที่บุคคลทัว่ ไปเข้ ามาทาความรู้จกั เซน พื ้นที่ที่เตรี ยมไว้ ให้ เพื่อเข้ าใจเบื ้องต้ นคือ ส่วนสนับสนุนโครงการ ในลาดับต่อ ได้ แก่ ส่วนจัดแสดงงาน (Exhibition Hall) พื ้นที่วา่ งสาหรับจัด แสดงงานหรื อทากิจกรรม (Workshop Area) ห้ องสมุด (Library) และ ร้ านขายหนังสือ ร้ านขาย ของที่ระลึก (Shop) เพื่อรองรับผู้ใช้ งานทัว่ ไป ส่วนนี ้จึงเปิ ดบริ การทุกวัน เพื่อให้ สามารถเข้ ามา ศึกษา เรี ยนรู้ เข้ าใจได้ ทกุ วัน และนิทรรศการจะหมุนเวียนผลัดเปลีย่ นไปตามผู้เช่าพื ้นที่อยูเ่ รื่ อยๆ ตลอดทุกๆ เดือน ทาให้ สามารถเข้ ามาโครงการได้ ทกุ เดือน

ที่ 5-23 แสดงตาแหน่งพื ้นที่ของส่วนกลาง (ศาลาปฏิบตั ิธรรม และโรงอาหาร) ถัดจากส่วนสาธารณะนัน้ จะเข้ าสู่ พื ้นที่สว่ นกลาง (ส่วนเฉพาะผู้มาปฏิบตั ิธรรมและนักบวช เท่านัน) ้ รูปภาพด้ านบนนี ้ จะเห็นว่าศาลาปฏิบตั ินนมี ั ้ รูปร่างอาคารที่กลม รองรับ พระและนักบวช จานวน 30 ท่าน และผู้มาปฏิบตั ิธรรม 300 คน การนัง่ ปฏิบตั ิธรรม เป็ นการนัง่ แบบล้ อมลง

เป้าหมายโครงการ

1- 103


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

เป็ นชันๆ ้ ค่อยไล่ระดับขึ ้นไปคล้ ายบันได และพื ้นที่สาหรับพระผู้นา และนักบวชนันอยู ้ ต่ รงกลางใต้ ปล่องไฟ ที่นาแสงสว่างธรรมชาติ และลมจากภายนอกอาคารเข้ าสูภ่ ายในอาคาร การนัง่ สมาธิ และการนอนสมาธิ เนื่องจากในเซนมีการผ่อนคลายอย่างสมบูรณ์ หรื อกล่าวคือการนอนสมาธินนั ้ ถูกจัดพื ้นที่นี ้เรี ยบร้ อยแล้ ว

รูปที่ 5-24 แสดงความสัมพันธ์ การใช้ พื ้นที่ระหว่างศาลาปฏิบตั ิและโรงอาหาร เนื่องจาก 2 อาคารนี ้มีกิจกรรมที่ตอ่ เนื่องกันคือ ตารางกิจกรรมประจาวันของการปฏิบตั ิธรรมนัน้ รับประทานอาหารทังหมด ้ 3 เวลา จึงจัดให้ 2 อาคารนี ้ค่อนข้ างอยูไ่ ม่ไกลกันมาก เพื่อ ประหยัดเวลาในการเดินทางไปรับประทานอาหารหลังปฏิบตั ิเสร็ จ แล้ วหลังจากรับประทานอาหาร เสร็ จก็สามารถกลับมานัง่ ปฏิบตั ิสมาธิตอ่ ได้ ในเวลาที่รวดเร็ ว โดยเปิ ดลานโล่ง (Plaza) ไว้ ตรงกวาง เพื่อเป็ นจุดเปลีย่ นคนระหว่างอาคารที่ 1 ไปสู่ อาคารที่ 2 ถัดจากนัน้ ลานโล่งก็สามารถแยกออกไป ส่วนพักอาศัยในส่วนถัดไปอีกด้ วย

รูปที่ 5-25 แสดงตาแหน่งพื ้นที่ของส่วนพักอาศัยของฆราวาส (ชายและหญิง) ถัดจากลานโล่งระหว่างศาลาปฏิบตั ิธรรมและโรงอาหาร ก็คือส่วนพักอาศัยของฆราวาสและ นักบวชในลาดับต่อไป เนื่องจากอัตราส่วนของฆราวาสผู้หญิงมีมากกว่ากว่าอัตราส่วนของฆราวาส ผู้ชาย 1:3 (เรื อนพักอาศัยสาหรับฆราวาสผู้หญิงรองรับ 250 คน และเรื อนพักอาศัยสาหรับ ฆราวาสผู้ชายรองรับได้ 50 คน) ดังนันอาคารพั ้ กอาศัยสาหรับฆราวาสนันมี ้ ทงหมด ั้ 3 อาคาร เป้าหมายโครงการ

1- 104


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

โดยแบ่งเป็ น อาคารพักอาศัย 2 ชัน้ จานวน 2 หลัง สาหรับฆราวาสผู้หญิง และอาคาร 3 ชันส ้ าหรับ ฆราวาสผู้ชาย อาคาร 1 ชัน้ รองรับผู้ใช้ งานได้ ทงหมด ั้ 50 คน เป็ นการนอนรวมกัน ห้ องน ้ารวม ตังอยู ้ ด่ ้ านหลังของส่วนนอน โดยห้ องน ้าก็จะแบ่งออกเป็ นห้ องส้ วม และห้ องอาบน ้า โดยเป็ นการ อาบน ้าแบบตากแดด ลม ฝน และมีไม้ ไผ่เป็ นตัวบังแทนผนัง

รูปที่ 5-26 แสดงผังพื ้นของเรื อนพักอาศัยสาหรับฆราวาส

ที่ 5-27 แสดงตาแหน่งพื ้นที่ของส่วนพักอาศัยของนักบวช (พระภิกษุ และพระภิกษุณี) ส่วนพักอาศัยสาหรับนักบวชทังชายและหญิ ้ ง ต้ องไม่ใช่ทางผ่าน ต้ องให้ ทา่ นเกิดความวิเวกและ เป็ นส่วนตัว และความปลอดภัยนันส ้ าคัญ จึงจัดให้ สว่ นนี ้เป็ นลาดับสุดท้ ายของการเข้ าถึง โดยจะ ตังอยู ้ ด่ ้ านลึกสุดของโครงการ ระหว่างอาคารพักอาศัยของฆราวาสจะมีกาแพงธรรมชาติ หรื อรัว้ ไม้ ไผ่สงู 10 เมตร กันระหว่ ้ าง 2 ส่วนนี ้เพื่อไม่ให้ ใช้ เป็ นทางผ่านสาหรับผู้ใช้ โครงการ

เป้าหมายโครงการ

1- 105


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

รูปที่ 5-28 แสดงผังพื ้นของเรื อนพักอาศัยสาหรับนักบวช ห้ องพักอาศัยสาหรับนักบวชผู้แบ่งออกเป็ น 2 แบบคือ 1 นอน รองรับนักบวช 2 ท่าน และ 4 ท่าน เพราะต้ องการลดความวุน่ วายและความเป็ นส่วนตัวสาหรับนักบวช โดยมีห้องน ้าแยกอยูท่ าง ด้ านข้ างของอาคารพักอาศัย และด้ วยอัตราส่วนของนักบวช (ชี) มีมากกว่านักบวช (พระ) ทาให้ มี อาคารทังหมด ้ 3 อาคาร ทุกอาคารมี 1 ชัน้ 1 ชันรองรั ้ บได้ 20 ท่าน โดยแบ่งเป็ น นักบวช (ชี) 20 นักบวช (พระ) อีก 10 โดยทุกห้ องจะมีพื ้นที่สว่ นกลางภายในห้ องคือพื ้นที่ทางาน และระเบียง และภายในโครงการยังมีพื ้นที่ตา่ งๆ สาหรับผู้มาปฏิบตั ิธรรมให้ สามารถใช้ เวลาว่างจากตาราง กิจกรรมปฏิบตั ิเซนด้ วยตัวเอง โดยโครงการได้ สร้ างพื ้นที่ที่สามารถปฏิบตั ิได้ ตนเองไว้ ในโครงการ

รูปที่ 5-29 แสดงพื ้นที่รองรับการปฏิบตั ิสมาธิภายในโครงการ

เป้าหมายโครงการ

1- 106


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

5.1.1 งบประมาณทุนโครงการ (Budget) ค่าที่ดิน 16 ไร่ ราคาไร่ละ 150,000 บาท ค่าปรับปรุงที่ดิน 16 ไร่ ราคาไร่ละ 80,000 บาท

องค์ ประกอบโครงการ

ราคา / หน่ วย

ขนาดพืน้ ที่

= 2,400,000 บาท = 1,280,000 บาท

ราคารวม (บาท)

ส่วนต้ อนรับ 20,000 1,245.78 24,915,600 ส่วนโถงปฏิบตั ิธรรม 25,000 2,867.5 71,687,500 ส่วนลานกิจกรรม 2,000 3,767.54 7,535,080 ส่วนจัดแสดงงาน 20,000 941.81 18,836,200 ส่วนห้ องสมุด 20,000 184.17 3,683,400 ส่วนร้ านค้ า 20,000 870.8 17,416,000 ส่วนห้ องพักนักบวช 20,000 270.2 5,404,000 ส่วนห้ องพักฆราวาส 20,000 2,814 56,280,000 ส่วนโรงอาหาร 20,000 973.03 19,460,600 ส่วนบริ หาร 12,000 359.53 4,314,360 ส่วนบริ การอาคาร 8,000 483.6 3,868,800 ตารางที่ 5-2 แสดงงบประมาณทุนโครงการแยกตามองค์ประกอบส่วนต่างๆ ค่าก่อสร้ างทังหมด ้ รวมงบประมาณที่ต้องใช้ ทงหมด ั้ คือ

233,401,540 บาท 237,081,540 บาท

5.2. แนวคิดในการออกแบบ (Design Concept) เป็ นการสรุปแนวความคิดในการออกแบบเพื่อนาไปวิเคราะห์เพื่อให้ ได้ รูปแบบอาคารที่ เหมาะสมต่อโครงการ ซึง่ เป็ นแนวทางหลักที่จะนาไปใช้ ในการพัฒนารูปแบบอาคาร ดังนี ้

เป้าหมายโครงการ

1- 107


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

5.3. การวางผังบริเวณ 3 ทางเลือก (Zoning) เป็ นการศึกษาการวางตาแหน่งของกลุม่ พื ้นที่โครงการ และองค์ประกอบต่างๆ ตามความ เหมาะสมกับความสัมพันธ์ ของทางสัญจร กิจกรรม และสภาพเงื่อนไขต่างๆ ของที่ตงโครงการ ั้ จะ นาเสนอทัง้ 3 ทางเลือกดังนี ้

ตัวเลือกที่ 1

ตัวเลือกที่ 2

ตัวเลือกที่ 3

รูปที่ 5-30 แสดงตัวเลือกของการวางผังบริ เวณทัง้ 3 แบบ ดังนันจากการะวิ ้ เคราะห์ทาให้ การวางผังบริ เวณในทางเลือก 1 มีศกั ยภาพที่ดีที่สดุ และสามารถ นาไปสูก่ บั พัฒนาแบบต่อในขันตอนต่ ้ อไป

เป้าหมายโครงการ

1- 108


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

5.4. การออกแบบทางเลือก (Schematic Design) นาผังบริ เวณทางเลือกที่เหมาะสมที่สดุ นันมาพั ้ ฒนาแบบที่มากขึ ้น ที่มีพื ้นที่ใกล้ เคียงตาม มาตรส่วนจริ ง ซึง่ มีการออกแบบให้ เป็ น 3 มิติ เพื่อให้ สอดคล้ องกับโครงการมากที่สดุ และนาไป พัฒนาเพื่อให้ ได้ รูปแบบที่ดีที่สดุ

รูปที่ 5-31 แสดงตัวเลือกของการออกแบบทางเลือก เป้าหมายโครงการ

1- 109


โบยบินอิสระสถาน BHOYBHIN ISSARA MEDITATION CENTER

รูปที่ 5-32 แสดงตัวเลือกของการออกแบบทางเลือกภาครวม

5.5. การออกแบบงานสถาปั ตยกรรม (Design) การนาพลังธรรมชาติที่มีอยูใ่ นธรรมชาติภายรอบโครงมาใช้ อย่างเต็มที่ อาคารที่ถกู แบบนันจะเกิ ้ ด จากแนวคิดต่างๆ ที่สอดคล้ องกับลักษณะของธรรมชาติ ไม่วา่ จะเป็ นการเลือกใช้ สี การใช้ วสั ดุ การ เล่นรูปร่าง และรูปแบบของอาคาร การตกแต่งภายในและภายนอก ให้ เกิดความเซนในโครงการ

รูปที่ 5-33 แสดงแนวความคิดในการออกแบบ

เป้าหมายโครงการ

1- 110


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.