2__

Page 1

พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

บทที่ 2 ข้ อมูลพืน้ ฐานโครงการ 2.1 ข้ อมูลพืน้ ฐานด้ านหน้ าที่ใช้ สอย (Function Fact) 2.1.1 ผู้ใช้ โครงการ User ผู้ใช้ โครงการหลัก Main user - นักเรี ยน นักศึกษา จุดมุ่งหมายในการเข้ าชมของกลุม่ นี ้เพื่อศึกษาหาความรู้และแสวงหา การเรี ยนรู้นอกสถานที่ ต้ องการความสนุกสนานเพลิดเพลินในการชม มีปฏิสมั พันธ์ กบั นิทรรศการ กระตือรื อร้ นกับ กิจกรรม - ประชาชนทัว่ ไป จุดมุ่งหมายในการเข้ าชมของกลุม่ นี ้เพื่อผ่อนคลายและหาความรู้แปลกใหม่ไปด้ วย ต้ องการเรี ยนรู้ เกี่ยวกับปรากฎการณ์ที่ใช้ ได้ ในชีวิตประจาวันส่วนใหญ่จะมาใช้ ในช่วงวันหยุด หรื อ ช่วงปิ ดภาค เรี ยน ผู้ใช้ โครงการรอง Sub User - นักวิชาการ นักวิทยาศาสตร์ หรื อผู้ที่ค้นคว้ าเรื่ องวิทยาศาสตร์ ปรากฎการณ์ ประวัติศาสตร์ โลกจุดมุ่งหมายของกลุม่ นี ้ เพื่อต้ องการศึกษาหาความรู้จากแหล่งความรู้ที่หลายหลากเชื่อถือได้ สามารถค้ นคว้ าสะดวกและ รวดเร็ ว อาจมีความรู้พื ้นฐานมาก่อนแล้ วบ้ าง หรื อ อาจมาฟั งบรรยาย ประชุมในโอกาศต่างๆ - นักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างประเทศ จุดมุ่งหมายของกลุม่ นี ้ ต้ องการท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวที่นา่ สนใจในจังหวัดเชียงใหม่ ต้ องการ เรี ยนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ใช้ ในชีวิตประจาวัน อย่างผ่อนคลายและเพลิดเพลิน ต้ องการสิง่ อานวยความ สะดวกในการใช้ โครงการ - ผู้มาติดต่อ ผู้เป็ นบุคคลภายนอก ที่เข้ ามาติดต่อในส่วนบริ หาร หรื อ ขอข้ อมูลของโครงการ มีจานวนไม่แน่นอน จะมาติดต่อเป็ นครัง้ เป็ นคราว - เจ้ าหน้ าที่และเจ้ าของร้ านค้ า เจ้ าหน้ าที่ตามแผนกต่า่ งๆในโครงการ และเจ้ าของร้ านค้ าในโครงการ มีการจัดพื ้นที่และทางเดินให้ เข้ าถึงเฉพาะเจ้ าหน้ าที่เท่านัน้

เป้าหมายโครงการ

1- 16


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

พฤติกรรมของผู้ใช้ โครงการ

ตารางที่ 2.1 ตารางแสดงระยะเวลาในการใช้ งานส่วนต่างๆของโครงการ

เป้าหมายโครงการ

1- 17


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM ส่ วนจัดแสดง

จานวนผู้ใช้ งาน

ZONE1 ZONE2 ZONE3 ZONE4

300 200 350 200

ระยะเวลากิจกรรม ต่ อครั ง้ 60 นาที 45 - 60 นาที 60 – 80 นาที 30 – 45 นาที

TEMPORARY

100

60 นาที

ขนาดพืน้ ที่ 1350 ตร.ม 1210 ตร.ม. 2700 ตร.ม. 1000 ตร.ม. 580 ตร.ม

ตารางที่ 2.2 ตารางแสดงจานวนผู้ใช้ งานกับขนาดพื ้นที่ของแต่ละส่วนการแสดงนิทรรศการ

พฤติกรรมของผู้ใช้ โครงการ วิเคราะห์จากลักษณะการใช้ และกิจกรรมที่จะเกิดขึ ้นในโครงการโดย อ้ างอิงจากกรณีศกึ ษาบางส่วนและบางส่วนเกิดจากกิจกรรมที่เกิดขึ ้นใหม่ในโครงการเอง 8:00 - 10:00 ผู้ชมยังไม่มากนักส่วนใหญจะมาเป็ นกลุม่ ย่อยๆ อยูต่ ามลานกิจกรรมในช่วงเช้ า 10:00 – 11:00 ผู้ชมมีมากขึ ้นร่วมถึงพิพิธภัณฑ์เริ่ มเปิ ดบริ การจุดชมวิวเปิ ดให้ บริ การ 11:00 – 12:00 ผู้ชมมีมากขึ ้นตามลาดับ ผู้ชมในช่วงเช้ าเริ่ มมาอยูใ่ นส่วนของที่ระลึกบางส่วนเริ่ ม ไปอยูใ่ นส่วนสนับสนุน 12:00 - 13:00 การใช้ งานในส่วนสนับสนุนโครงการมีมากขึ ้นเนื่องจากเริ่ ม ทานอาหารกลางวันแต่ ยังมีบางส่วนชมนิทรรศการ 13:00 - 14:00 ผู้ชมช่วงเช้ าเริ่ มทยอยกลับ ผู้ชมช่วงบ่ายจะดาเนินกิจกรรมคล้ ายๆกัน และ บางส่วนขึ ้นไปจุดชมวิว 14:00 - 15:00 เป็ นช่วงที่ผ้ ใู ช้ โครงการมีมากกระจายอยูต่ ามนิทรรศการส่วนต่างๆ 15:00 – 17:00 นิทรรศการเริ่ มปิ ดบริ การก่อนเวลา 17:00 ผู้ใช้ โครงการทยอยไปส่วนสนับสนุน และลานสังเกตุปรากฎการณ์ 17:00 – 20:00 ผู้ใช้ โครงการจะใช้ งานบริ เวณลานกิจกรรม และ ส่วนสนับสนุนโครงการ **20:00 – 24:00 มี การจัดกิ จกรรมพิเศษ ในช่วงมี โอกาสสาคัญ หรื อ มี ปรากฎการณ์ ทีน่ า่ สนใจ

เป้าหมายโครงการ

1- 18


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

2.2 ข้ อมูลพื ้นฐานด้ านรูปแบบ (Form Acts) 2.2.1 ที่ตงั ้ (Site) และสภาพแวดล้ อม (Environment) ที่ตงโครงการที ั้ ่ได้ จากการพิจารณาหลักเกณฑ์ตา่ งๆที่กาหนดไว้ และรวบรวมข้ อมูลนันจึ ้ งได้ มาเป็ น ที่ตงโครงการที ั้ ่ใกล้ อ่างเก็บน ้าและอยูใ่ กล้ ศนู ย์วิจยั และพัฒนาพื ้นที่สงู จังหวัดเชียงใหม่

ผังภาพ 2.1 แสดงเขตที่ดินที่ตงโครงการ ั้ ขอบเขตที่ดิน มีขนาด 25,800 ตารางเมตร หรื อ 16 ไร่

ผังภาพ 2.2 แสดงพันธ์ ไม้ ที่เกี่ยวข้ องภายในโครงการ

เป้าหมายโครงการ

1- 19


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

การวิเคราะห์ แบบจุลภาค สภาวะอุณหภูมิ มีอุณหภูมิหนาวเย็นมากกว่าบริ เวณในเมืองเนื่องจากอยูใ่ กล้ แหล่งธรรมชาติและอยูต่ ีน ดอยมีลมพัดจากบนเขามีความเย็นส่งมาจากป่ าและแหล่งน ้าจากบริ เวณใกล้ ๆ โดยเฉพาะช่วงเช้ า และตอนกลางคืน ในฤดูหนาวจะมีอากาศเย็นจัด อุณหภูมเฉลีย่ 22 – 28 องศาเซลเซียส อุณหภูมิ เฉลีย่ สูงสุดในเดือนเมษายน อุณหภูมิเฉลีย่ ต่าสุดเฉลีย่ 14 องศาเซลเซียสในเดือนธันวาคม ทิศทางแดด จากลักษณะของ SUN CHART 18 N’ ปกติจะมีแดดค่อนข้ างจัดในช่วงระยะเวลา 9 เดือน ของปี คือเดือนมีนาคม ถึงเดือนพฤษจิกายน มุมตกกระทบของแดดต่าสุดในเดือนธันวาคม 22 องศาจากระนาบพื ้นดินทางทิศตะวันออก – ตก และมุมตกกระทบของแดดสูงสุดในเดือนมิถนุ ายน 67 องศาจากระนาบพื ้นดินทางด้ านทิศเหนือ ทิศทางลม ลมประจาถิ่นคือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พัดผ่านในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝนระหว่างเดือน กุมภาพันธ์ ถึงเดือนกันยายน และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดในช่วงฤดูหนาวระหว่างเดือน ตุลาคมถึงมกราคม ลมที่พดั กระทบภูเขาจะสะท้ อนกลับมาด้ วยอีกส่วนนึงซึง่ มีปริ มาณลมมากใน หน้ าแล้ ง ความชืน้ สัมพันธ์ ค่าความชื ้นสัมพันธ์ เฉลีย่ ตลอดปี มีคา่ ประมาณ 71 % โดยมีคา่ เฉลีย่ สูงสุด 89 % และ ค่าเฉลีย่ ต่าสุด 49% ฝน มีฝนตกในช่วงเดือนมิถนุ ายน ถึงเดือนตุลาคม ปริ มาณน ้าฝน จะอยูป่ ระมาณ 755.9 มม. ถึง 1,314 มม. ปริ มาณฝนเฉลีย่ 982.2 มม.

ผังภาพ 2.3 แสดงการวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพแวดล้ อมที่มีผลกระทบต่อโครงการ เป้าหมายโครงการ

1- 20


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

2.2.2 จินตภาพ (Image) การเปรี ยบเทียบโครงการศึกษา จุดประสงค์ ในการทากรณีศึกษา 1.เพื่อศึกษาการดาเนินงานของโครงการรายละเอียดขององค์ประกอบโครงการพิพิธภัณฑ์ 2.เพื่อศึกษาแนวความคิดและลักษณะทางสถาปั ตยกรรมของโครงการ 3.เพื่อศึกษาการจัดวางอาคารของประเภทต่างๆให้ เหมาะสมกับสภาพใช้ งาน 4.เพื่อศึกษาการจัดวางผัง ทางเดิน ทางรถ ทางบริ การที่เหมาะสม 5.เพื่อศึกษาถึงโครงสร้ างของอาคารประเภทที่สามารถนามาปรับใช้ กบั โครงการ 6.เพื่อวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ องค์ประกอบ แนวความคิด และลักษณะทางสถาปั ตยกรรม 7.เพื่อสรุปผลการวิเคราะห์มาประยุกต์ใช้ ในการจัดทารายรายละเอียดโครงการและการ ออกแบบโครงการต่อไป ขัน้ ตอนการวิเคราะห์ เปรียบเทียบข้ อดี ข้ อเสีย แนวทางในการออกแบบโดยแบ่ งหัวข้ อ การวิเคราะห์ ดังนี ้ 1.Symbolic 2.Aesthetic 3.Operating system 4.Equipment and structure system 5.Timeline ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ 1.นาวิธีการออกแบบ แนวความคิด สาหรับอาคารประเภทเดียวกันมาปรับใช้ 2.ทราบรายละเอียดส่วนประกอบต่างๆของโครงการ 3.ทราบข้ อดี ข้ อเสีย จุดบกพร่องของโครงการเพื่อนามาปรับใช้ ในการออกแบบ 4.ทราบข้ อจากัด สภาพปั ญหา และสิง่ ที่ควรให้ ความสาคัญในการออกแบบจากอาคาร ประเภทที่คล้ ายคลึงกัน 5.ได้ นามาเป็ นตัวอย่างในการศึกษาข้ อดีและข้ อเสียเพื่อเป็ นประโยชน์ในการออกแบบ ต่อไป

เป้าหมายโครงการ

1- 21


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

กรณีศกึ ษา 1 โครงการพิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ แห่ งชาติ สถาปนิก เฉลิมชัย ห่อนาค,วิทยา วุฒิจานงค์ พื ้นที่ 18,000 ตารางเมตร ที่ตงั ้ เทคโนธานี ถนนรังสิต-องครักษ์ (คลอง 5)อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ปี ก่อสร้ าง 2540 ความเป็ นมาของโครงการ เพื่อแสดงความก้ าวหน้ าทางด้ านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีของประเทศร่วมกับการอนุรักษ์ สิง่ แวดล้ อมและทรัพยากรธรรมชาติในรูปแบบของพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ที่สมบูรณ์แบบเพื่อ ส่งเสริ มให้ ประชากรทุกระดับได้ เข้ าใจละรักการเรี ยนรู้ทางด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีมากขึ ้น สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจาวันทังในระดั ้ บท้ องถิ่นและในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรมโดยคงไว้ ซงึ่ การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชิและสิง่ แวดล้ อมพร้ อมกับการรักษาระบบ นิเวศน์

เป้าหมายโครงการ

1- 22


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

แนวความคิดการวางผัง ด้ วยลักษณะที่ตงของโครงการมี ั้ ลกั ษณะเป็ นที่สเี่ หลีย่ มผืนผ้ าในขนาดกว้ างประมาณ 200 เมตร ด้ านยาว ประมาณ 1,000 เมตร ในการวางผังอาคารเพื่อให้ เกิดประโยชน์ใช้ สอยมาก ที่สดุ ได้ วางอาคาร 4 โซน ประกอบด้ วย 1. First zone (Commercial zone) เป็ นบริ เวณขายสินค้ า 2. Second zone เป็ นการผสานผสานพื ้นที่ใช้ สอนในลักษณะกึ่งวิชาการและสนุกสนาน ซึง่ ประกอบด้ วย พิพิธภัณฑ์อากาศยาน พิพิธภัณฑ์นิเวศวิทยาและสิง่ แวดล้ อม และโรงภาพยนตร์ ระบบ Omni max Theater 3. Third zone เป็ นที่ตงของพิ ั้ พิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ 4. Forth zone เป็ นส่วนของนิเวศวิทยาและสิง่ แวดล้ อม พื ้นที่ทงหมดล้ ั้ อมรอบด้ วยคูน ้าซึง่ ใช้ ระบบ บาบัดน ้าเสียแบบ Bio control แนวความคิดในด้ านการออกแบบประโยชน์ ใช้ สอย พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ ประกอบด้ วยพื ้นที่ใช้ สอยประมาณ 18,000 ตารางเมตรโดยส่วน ของอาคารรูปลูกเต๋ามีพื ้นที่ประมาณ 10,000 ตารางเมตรอาคารนี ้มีลกั ษณะการจัดแบ่งพื ้นที่เป็ น 2 ส่วนคือส่วนของลักษณะตัว U ซึง่ มี 2 ชัน้ ล้ อมอาคารลูกเต๋าชันที ้ ่ 1 กับ 2 อยู่ และส่วนของลูกเต๋าที่ สูงขึ ้นไปอีก 4 ชัน้ รวม 6 ชัน้ ส่วนใช้ สอยบริ เวณตัว U ประกอบด้ วย ชันที ้ ่ 1 ส่วนนิทรรศการ Workshop และสานักงาน ชันที ้ ่ 2 ห้ องสมุด ประชุม ส่วนนิทรรศการ และห้ องอาคารของพนักงานส่วนใช้ สอยบริ เวณลูกเต๋า ประกอบด้ วย ชันที ้ ่ 1 ถึงชันที ้ ่ 6 เป็ นส่วนของนิทรรศการ โดบแต่ละขันมี ้ รูปร่างแตกต่างกันไปตามลักษณะรูปทรง ของอาคารภายนอก

เป้าหมายโครงการ

1- 23


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

แนวความคิดในการจัดนิทรรศการ มุ่งเสนอแนวคิดดังนี ้ โดยแนวคิดทังหมดถู ้ กแจกจ่ายตามหมวดหมู่ตา่ งๆเป็ น 6 ชัน้ ได้ แก่ 1.วิทยาศาสตร์ พื ้นฐาน Basic Science นาเสนอหลักการพื ้นฐานของวิทยาศาสตร์ ที่เป็ นทฤษฎีการ ค้ นพบของนักวิทยาศาสตร์ ในอดีตสาขาต่างๆ รวมทังการท ้ าความเข้ าใจเกี่ยวกับปรากฎการณ์ ต่างๆรวมถึงการทาความเข้ าใจเกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติตา่ งๆที่เกิดขึ ้น 2.เทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน Technology in everyday life เป็ นการทาความเข้ าใจเกี่ยวกับการ ประยุกต์วิทยาศาสตร์ มาใช้ ในชีวิตประจาวัน ซึง่ ปรากฎเป็ นรูปธรรม ในลักษณะของเทคโนโลยีหรื อ สินค้ าที่เป็ นเครื่ องมือ เครื่ องใช้ สิง่ อานวยความสะดวกในบ้ านและสถานที่ทางาน 3.เทคโนโลยีอุตสาหกรรม Industrial technology เป็ นการจัดแสดงกระบวนการผลิตของโรงงาน อุตสาหกรรมโดยเฉพาะกับอุตสาหกรรมที่มีผลต่อเศรษฐกิจของประเทศการเข้ าใจถึงสังคม อุตสาหกรรมและพัฒนาด้ านอุตสาหกรรมของประเทศ 4.เทคโนโลยีก้าวหน้ า Advanced technology เป้นการจัดการแสดงเทคโนโลยีที่ได้ รับการพัฒนา ให้ ทนั สมัยหรื อเทคโนโลยีที่คาดว่าจะมีการนามาใช้ ในอนาคต 5.เทคโนโลยีพื ้นบ้ าน Traditional technology เป็ นการจัดแสดงเทคโนโลยีที่ใช้ ในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นศิลปาชีพซึง่ เป็ นการผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีการผลิตกับด้ านศิลปะเพื่อ สะท้ อนถึงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทย และงานศิลปาชีพให้ มีความต่อเนื่องและเป็ นที่ร้ ูจกั แพร่หลายไปทัว่ โลก

เป้าหมายโครงการ

1- 24


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

กรณีศกึ ษา 2 ชื่อโครงการ VALENCIA ‘S OF ART AND SCIENCE ทีต่ ั ้ง Valencia,Spain เจ้ าของโครงการ พื ้นที่โครงการ 350,000 ตร.ม. ผู้ออกแบบ Santiago Calatrava งบประมาณ ปี ที่แล้ วเสร็จ พ.ศ. 2548 องค์ประกอบโครงการ - พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ - ท้ องฟ้าจาลอง - หอดูดาว - พิพิธภัณฑ์ศลิ ปะ - พิพิธภัณฑ์สตั ว์น ้า - โรงละครโอเปร่า - ส่วนสาธารณะ เป้าหมายโครงการ

1- 25


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

กรณีศกึ ษา 3 ชื่อโครงการ Arizona Science Center ที่ตั ้ง Phoenix,Arizona เจ้ าของโครงการ พื ้นที่โครงการ 6,980 ตร.ม. ผู้ออกแบบ Antoine Predock Architect งบประมาณ ปี ที่แล้ วเสร็ จ ค.ศ. 1997 องค์ประกอบโครงการ - ส่วนจัดแสดง - ท้ องฟ้าจาลอง - film theater - ลานกลางแจ้ ง - ส่วนสนับสนุน - workshop - star court เป้าหมายโครงการ

1- 26


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

กรณีศกึ ษา 4 ชื่อโครงการ Rose center for earth and space ที่ตั ้ง Phoenix,Arizona เจ้ าของโครงการ พื ้นที่โครงการ 30,980 ตร.ม. ผู้ออกแบบ James Stewart Polshek งบประมาณ $210 million องค์ประกอบโครงการ - ส่วนจัดแสดง - ท้ องฟ้าจาลอง - film theater - ส่วนสนับสนุน - shop

เป้าหมายโครงการ

1- 27


พิพธิ ภัณฑ์ปรากฎการณ์และประวัตศิ าสตร์ โลก THE PHENOMENON AND EARTH HISTORY MUSUEM

กรณีศกึ ษา 5 ชื่อโครงการ Prospecta'92(Seibu Gas phenomenon Museum) ที่ตั ้ง Tailouzan Land Park,Japan เจ้ าของโครงการ พื ้นที่อาคาร 1,150 ตร.ม. ผู้ออกแบบ Shoei Yoh + Architect

องค์ประกอบโครงการ - จุดชมปราฎการณ์ ชัน้ หนึ่ง และชั ้นบนสุด - Operation Room - ห้ องเครื่ อง - ลิฟต์ - บันได

เป้าหมายโครงการ

1- 28


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.