FF#91_ad_DPO_Pro1.ai
1
9/17/13
4:11 PM
October 2013
Vegan New wave of health & well-being trends
Thailand
Starch & Flour
Care Concept
»Ÿπ¬å°≈“ß·ÀàßÕ“‡´’¬π
®“°¿“§‡°…μ√ ŸàÕÿμ “À°√√¡
ÿ¢¿“楒...μâÕߥŸ·≈
Welcome to
FF#91_Cover_Out_Pro3.indd 1
Health
9/24/13 4:13:38 PM
FF#91_ad_Oishi Japan_Pro3.ai
1
9/6/13
2:14 PM
Fully Automatic Turnkey Packing Machine Auto Weigher System
By KOREA
Full automatic packing system »ÃСͺ´ŒÇÂ
• Feeder • Platform
• Conveyor • Vertical packing machine
By KOREA
Model: AWP-1040a08
Compact Packing Machine
By KOREA By KOREA Model: AR-60P-2-LQ
Rotary Type Autopacking Machine Model: ARS-350P
1 Line Rotary Hi - Speed Packing Model: FL-5545TBB ‚ª√‚¡™—Ëπ √“§“摇»… ‘π§â“√—∫ª√–°—π §ÿ≥¿“æ∑ÿ°¡â«π
Automatic L-Bar L Bar Sealing Machine Mac à¤Ã×ÊͧˋÍÊÔ¹¤ŒÒÍÑ â¹ÁÑ Ô ãªŒ¿cÅqÁ POF Ë‹ÍÊÔ¹¤ŒÒ à¾ÔÊÁ¤ÇÒÁàÃÉÇ ¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔ ‹ÍÇѹ䴌ÁÒ¡¢Ö˹ SHRINK FILM & OTHER SPARE PART
INK ROLL & RIBBON
¿ÌÅÐÁË´ ¾ÃŒÍÁÍÐäËÅ‹à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã
ÅÙ¡ËÁÖ¡áÅÐà·»¾ÔÁ¾ÐÇѹ·Õè
FOR PRINTER
"ÁÒ Ã°Ò¹¡ÒüÅÔ ¨Ò¡»ÃÐà·Èà¡ÒËÅÕ Made in Korea" S.K.P. INTERPACK CO., LTD. 44/14 ËÁÙ‹ 9 Ӻźҧ¾Ù´ ÍÓàÀͻҡà¡Ãç´ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¹·ºØÃÕ 11120 44/14 Moo 9 Bangpood, Pakkred, Nonthaburi 11120 Thailand â·Ã/Tel. 0 2584 7085-7 á¿¡«Ð/Fax. 0 2584 7099 FF#89_p11_Pro3.indd 1 FF#91_Cover_In_Pro3.indd 1
E-mail: contact@skpinterpack.com
www.SKPINTERPACK.com
7/17/13 9:04:15 PM
9/24/13 4:11:58 PM
FF#91_ad_Batago final_Pro3.ai
1
9/17/13
3:54 PM
OCTOBER 2013 Vol. 8 No. 91
CONTENTS
BONUS ATTRACTIONS SPECIAL REPORT
16
Thai Paper Packaging 2013
บรรจุภัณฑกระดาษไทยป 2556 By: Kasikorn Research Center
22
SURF THE AEC
22
Welcome to Thailand Establishing the New Vision of SE Asia
เปดมุมมองใหมของเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยประเทศไทย By: Kasikorn Research Center REGULAR ATTRACTIONS 14 STAR ITEMS
35
ผลิตภัณฑดาวเดนประจำฉบับ SPECIAL FOCUS
28
Veggie is on the Rise
เทรนดอาหารมังสวิรัติ..มาแรงเติบโตตอเนื่อง By: Robin Wyers 35
40
Why Rice is Nice: Dairy Alternatives for the Lactose-intolerant
ทางเลือกทดแทนสำหรับผูแพนมวัว By: Thomas Schmidt SMART PRODUCTION
38
Easy Manual Classification Increases Efficiency and Throughput
การคัดแยกประเภทสินคาโดยอาศัยน้ำหนักที่งาย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ By: Mettler-Toledo (Thailand) Limited STRATEGIC R & D
40
Health Care Concept
อาหารวัตถุประสงคพิเศษสำหรับผูปวยเบาหวาน By: Chayanee Chantarat 42
42
Heart Care…Food for Heart Disease
ใสใจอาหารสำหรับผูปวยโรคหัวใจ By: Editorial Team
28
STRONG QC & QA
46
Starch & Flour
มาตรฐานแปงมันสำปะหลังกับอุตสาหกรรมการผลิตยั่งยืนทั้งระบบ By: Associate Professor Dr. Bongotrat Pitiyont Dr. Vinai Pitiyont 50
Application from Starch
ประโยชนของแปงมันสำปะหลัง By: Sureeyot Khowsurat
R1_FF#91_p04,06_Pro3.indd 4
9/25/13 11:59:07 PM
V-Tex
Innovative Pulping Agent
Siam Modified Starch Co., Ltd. Value Creation is Our Mission has conducted research and development program to produce a wide range of specialty starch for Food, Paper, Adhesive, Textile, Medical and Cement Industries.
Once customers need to improve product’s appearance with limited cost, innovative ingredient can serve their requirements.
Benefit • • • • • •
Contribute pulpy texture. Replacement of tomato solid. Synergistic use with starch thickener. Deliver stable viscosity of final products. Easily handle in hot process. Significant cost - saving. C tifi ti Certification: ISO 9001 / HA HACCP / ISO 14001 / OHSAS 18001 / HALAL / KOSHER
Siam Modified Starch Co., Ltd. 38/6 Moo 11, Ladlumkaew, Pathumtani 12140 Thailand
R1_FF#91_p05_Pro3.indd 5
T +66 2598 1123-9 F +66 2598 1130 E smsmkm@siammodifiedstarch.com
www.facebook.com/siammodifiedstarch
www.siammodifiedstarch.com
9/26/13 12:02:31 AM
OCTOBER 2013 Vol. 8 No. 91
CONTENTS
OCCASIONAL ATTRACTIONS SMOOTH DISTRIBUTION
52
e-Logistics
บริหารการขนสงแบบเรียลไทม ลดตนทุน เพิ่มศักยภาพทางการแขงขัน By: Atchara Suksiriwat
50
SAVE THE WORLD
54
Bioplastic…Stepping up to International Standards
เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ By: Dr. Phietoon Trivijitkasem 58
Love the Earth with Biogas
ปนขยะสด...ทดแทนกาซธรรมชาติ By: Wimolsri Duangthong
52
SCIENCE & NUTRITION
60
The Nutrition of Meat and Poultry
ขอมูลทางโภชนาการของผลิตภัณฑเนื้อสัตว By: Dr. Pornsri Laurujisawat SAFETY ALERT
64
Carcinogens from Food Processing
สารกอมะเร็งจากกระบวนการผลิตอาหาร By: Dr. Kriskamol Na Jom EXHIBITION ATTRACTIONS SHOW TIMES
68
เตรียมพบกับงานแสดงสินคาดานอาหารระดับนานาชาติ ขนาดใหญที่สุดในประเทศเกาหลี
64 Our Activities
AUGUST 2013
Pre Show - Food Week Korea 2013
70
Pre Show – Oishii Japan 2013
สาวกอาหารญี่ปุนไมควรพลาดงานแสดงสินคาสำหรับ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มสไตลญี่ปุนที่ยิ่งใหญที่สุดในอาเซียน
80 71
Post Show – Thailand LAB 2013
กาวแหงความสำเร็จของวงการแล็บไทยสูความเปนสากล 72
Post Show – Food & Hotel Thailand 2013
ยิ่งใหญกวาทุกครั้งที่ผานมา ตอบโจทยตรงใจธุรกิจอาหารและโรงแรม ª√–°“»√“¬™◊ ¬™◊Ëպ⠺Ÿ‚â ™§¥’ ‰¥â√—∫√“ß √“ß«——≈ª√–®”©∫— ” —∫ ‘ßÀ“§¡ 2556
The Winners of U Share. V Care.
U Share. V Care.
82
DEPARTMENTS
8 Advertising Index รายชื่อผูลงโฆษณา 12 Schedule of Events ขอมูลงานนิทรรศการ การประชุม สัมมนา และฝกอบรมตางๆ 73 Surrounds อัพเดทขาวสารในวงการอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
·∫∫ Õ∫∂“¡§«“¡§‘¥‡ÀÁπ æ√âÕ¡≈ÿâπ√—∫¢Õß√“ß«—≈ Share your comments and win a gift
R1_FF#91_p04,06_Pro3.indd 6
9/25/13 11:38:43 PM
FF#91_ad_FTI_Pro3.ai
1
9/17/13
4:23 PM
DVERTISING INDEX October 2013 Service Info
Page No.
Company
Aerosia Interpac Co., Ltd. Betagro Public Co., Ltd. Bronson And Jacobs International Co., Ltd. Cognex Singapore Inc. Diversey Hygiene (Thailand) Co., Ltd. DPO (Thailand) Ltd. EuroShop 2014 Food & Hotel Asia 2014 Food Week Korea 2013 Globetech Co., Ltd. Interpack 2014 Inthaco Co., Ltd. Intertek Industry and Certification Services (Thailand) Limited Krones (Thailand) Co., Ltd. Marel Food Systems Ltd. Markem-Imaje Co., Ltd. Mettler-Toledo (Thailand) Ltd. Milford (Thailand) Co., Ltd. Oishii Japan 2013 Pangolin Safety Products Co., Ltd. QIIS Co., Ltd. S.K.P. Interpack Co., Ltd. Sato Auto-ID (Thailand) Co., Ltd. SGS (Thailand) Limited Siam Modifiled Starch Co., Ltd. Thai Sek Son Co., Ltd. Thai Unique Co., Ltd. Thai-China Flavours and Fragrances Industry Co., Ltd. The Federation of Thai Industries Ubon Agricultural Energy Co., Ltd. Wacker Chemie AG World Steel Pallet Co., Ltd.
B021 B142 B274 B229 B209 B308 A217 B179 B335 B319 B217 B074 B076 B104 B015 B029 B010 B329 B281 B146 B080 B182 B042 B017 B288 B001 B089 B167 B234 B336 B320 B160
65 3 43 63 55 BC 19 47 69 53 21 45 25 27 29 17 39 67 IBC 59 81 IFC 61 31 5 23 57 81 7 51 33 49
Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 3/211 Moo-Ban Setthasiri-Prachachuen, Prachachuen Road, Ta Sai, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 T +66 2192 1250-2 F +66 2192 1315 E contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com
8
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p08_Pro3.indd Sec1:8
9/25/13 11:47:37 PM
October 25, 2013
2013
@ Jupiter Room12-13, Challenger Hall, IMPACT
ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á¹Ñºà»š¹Íա˹Ö่§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ·Õ่¾Ñ²¹ÒáÅÐàμÔºâμ¢Ö้¹Í‹ҧÁÒ¡ §Ò¹ÊÑÁÁ¹Ò ¤ÃÑ้§¹Õ้¹ÓàʹÍà·Ã¹´ áÅФÇÒÁ·ŒÒ·Ò¢ͧÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ¢Í§ºÃèØÀѳ± »ÃÐà´็¹´ŒÒ¹ÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ μÅÍ´¨¹¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃáÅСÒÃÊÌҧáºÃ¹´
â»Ãá¡ÃÁÊÑÁÁ¹Ò 8.00-9.00 9.00-9.45
ŧ·ÐàºÕ¹ Dairy Industry: ·ÔÈ·Ò§ ÈÑ¡ÂÀÒ¾ áÅФÇÒÁ·ŒÒ·Ò¢ͧ ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ¹Áä·Â
13.45-14.30 Case Study: ¡ÒÃà¾Ô่Á¼Å¼ÅÔμã¹âç§Ò¹à¤Ã×่ͧ´×่Á • »˜ÞËҢͧâç§Ò¹à¤Ã×่ͧ´×่Á • á¹Ç·Ò§¡ÒÃà¾Ô่Á¼Å¼ÅÔμã¹âç§Ò¹à¤Ã×่ͧ´×่Á • »ÃÐ⪹ ·Õ่ä´ŒÃѺ¨Ò¡¡ÒûÃѺ»Ãاà¾Ô่Á¼Å¼ÅÔμ
• â¤Ã§ÊÌҧ¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ¹Áã¹»ÃÐà·Èä·Â • ¨Ø´á¢็§áÅШش͋͹¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ¹Áä·Â • ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ¹Áä·ÂàÁ×่ÍࢌÒÊÙ‹»ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡Ô¨ÍÒà«Õ¹
โดย: คุณวุฒิพงศ บุญนายวา ผูจัดการสวนบริหารการผลิต สถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ
โดย: คุณวิเชียร ผลวัฒนสุข รองประธานชมรมนมสรางชาติ 9.45-10.45
14.30-15.00 ¾Ñ¡ÃѺ»ÃзҹÍÒËÒÃÇ‹Ò§ ¾ÃŒÍÁàÂÕ่ÂÁªÁ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ ÊÓËÃѺÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á 15.00-15.45 ¹ÇÑμ¡ÃÃÁºÃèØÀѳ± à¤Ã×่ͧ´×่Á
Challenges and Opportunities in Functional Beverage: Energy and Relaxation
By: Haeri Roh-Schmidt, Ph.D Head, Innovation & Science DSM Nutritional Products Human Nutrition and Health 10.45-11.30
• à·Ã¹´ ¢Í§ºÃèØÀѳ± à¤Ã×่ͧ´×่Áã¹Í¹Ò¤μ • »˜¨¨Ñ·Õ่ÁÕ¼Åμ‹Í¡ÒÃàÅ×Í¡ÇÑʴغÃèØÀѳ± à·¤â¹âÅÂÕ㹡ÒúÃÃ¨Ø • ºÃèØÀѳ± à¾×่ÍÊÔ่§áÇ´ÅŒÍÁ
โดย: คุณมยุรี ภาคลำเจียก ที่ปรึกษาสมาคมการบรรจุภัณฑไทย
¾Ñ¡ÃѺ»ÃзҹÍÒËÒÃÇ‹Ò§ ¾ÃŒÍÁàÂÕ่ÂÁªÁ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ ÊÓËÃѺÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á Safe Lubrication in the Food and Beverage Industries
11.30-12.00
15.45-16.45 Marketing Communication: ¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃáÅÐÊÌҧáºÃ¹´ ¼ÅÔμÀѳ± à¤Ã×่ͧ´×่Á
By: Mr. Sid Stone Managing Director InS Services (UK) Ltd. Polytype Asia Pacific Co., Ltd.
• ËÅÑ¡¡Òâͧ¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃáºÃ¹´ áÅСÒÃÊÌҧáºÃ¹´ à¾×่Íμͺ⨷ ÍԹ䫴 ¼ÙŒºÃÔâÀ¤Âؤ»˜¨¨ØºÑ¹ • à·Ã¹´ ¡ÒÃÊ×่ÍÊÒÃáºÃ¹´ áÅСÒÃÊÌҧáºÃ¹´ ¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁÍÒËÒà áÅÐà¤Ã×่ͧ´×่Á·Õ่á»Å¡ãËÁ‹ã¹Í¹Ò¤μ • μÑÇÍ‹ҧ¡Ò÷Óá¤Áà»Þ·Ò§¡ÒÃμÅÒ´·Õ่¹‹Ò¨ÑºμÒÁͧ ¢Í§áºÃ¹´ à¤Ã×่ͧ´×่Á·Õ่¹‹Òʹã¨ã¹àÍàªÕÂáÅзÑ่ÇâÅ¡
12.00-13.00 ¾Ñ¡ÃѺ»ÃзҹÍÒËÒáÅÒ§Çѹ ¾ÃŒÍÁàÂÕ่ÂÁªÁ¹ÇÑμ¡ÃÃÁ ÊÓËÃѺÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á 13.00-13.45 Functional Drink Industry: ·ÔÈ·Ò§ ÈÑ¡ÂÀÒ¾ áÅФÇÒÁ·ŒÒ·Ò ¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á¿˜§¡ ªÑ¹¹ÍÅä·Â
โดย: คุณวฤตดา วรอาคม ประธานเจาหนาที่บริหารดานนวัตกรรม (ซีไอโอ) แมคแคน เวิลดกรุป
• â¤Ã§ÊÌҧ¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á¿˜§¡ ªÑ¹¹ÍÅã¹»ÃÐà·Èä·Â • ¨Ø´á¢็§áÅШش͋͹¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á¿˜§¡ ªÑ¹¹ÍÅä·Â • ¤ÇÒÁ¾ÃŒÍÁ¢Í§ÍØμÊÒË¡ÃÃÁà¤Ã×่ͧ´×่Á¿˜§¡ ªÑ¹¹ÍÅä·Â àÁ×่ÍࢌÒÊÙ‹»ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡Ô¨ÍÒà«Õ¹
16.45-17.00 » ´¡ÒÃÊÑÁÁ¹Ò áÅШѺÃÒ§ÇÑżٌ⪤´Õ
โดย: ผูแทนจากบริษัท ทรัพยอนันต เยนเนอรัลฟูด จำกัด
T. 0 2192 1250-2, 08 6368 0506 Secure
your Se at
Get Sp ecial Main Sponsor
Offer
seminar@foodfocusthailand.com
√“¬≈–‡Õ’¬¥‡æ‘Ë¡‡μ‘¡·≈– ”√Õß∑’Ëπ—Ëß: Display
คุณชาลินี ตอ 104
Organized by
Official Publications Edition
R1_FF#91_p09_Pro3.indd 9
SUPPLEMENT
9/26/13 10:43:58 AM
EDITOR’S TALK
เป น ที่ ท ราบกั น ดี ว า ไทยขาดดุ ล การค า กั บ จี น
มาโดยตลอด แต ภ าวะดั ง กล า วปรากฏชั ด นั บ ตั้ ง แต เศรษฐกิจจีนชะลอตัว ดึงใหการสงออกของไทยที่พึ่งพาจีน เติบโตชาลงเรื่อยมา สถานการณดังกลาวผลักดันใหไทย ขาดดุลการคารายเดือนกับจีนสูงที่สุดเปนประวัติการณ ที่ 1,449 ลานเหรียญสหรัฐ อีกทั้งมีแนวโนมวาในระยะ ข า งหน า ไทยจะขาดดุ ล การค า กั บ จี น ในเกณฑ สู ง กว า ในอดี ต ที่ ผ า นมา ซึ่ ง อาจกระทบต อ ฐานะดุ ล การค า โดยรวมของไทย ถาหากสถานการณสงออกของไทย ไปจีนยังไมดีขึ้นอยางมีนัยสำคัญก็อาจฉุดดุลการคาของ ไทยกับจีนในป 2556 นี้ เขาใกลกรอบลางของประมาณ การเดิ ม ที่ 12,100 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ และอาจเป น สถิ ติ ก ารขาดดุ ล การค า ระหว า งไทย-จี น ครั้ ง ใหม ไ ด (ลาสุดขาดดุลที่ 10,251 ลานเหรียญสหรัฐ ในป 2555) อย า งไรก็ ดี ศู น ย วิ จั ย กสิ ก รไทยมองว า ในช ว งโค ง สุ ด ท า ยของป 2556 การส ง ออกของไทยไปจี น น า จะ ปรับตัวดีขึ้น โดยไดอานิสงสจากมาตรการเยียวยาภาค การผลิ ต และส ง ออกของจี น ที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช ใ นเดื อ น สิ ง หาคมที่ ผ า นมา รวมถึ ง การส ง ออกสิ น ค า ในหมวด เกษตรกรรมของไทยมีโอกาสไปชดเชยความเสียหาย ทางการผลิตจากภาวะภัยธรรมชาติในจีน และการเรง สะสมสต อ กสิ น ค า ในช ว งก อ นเทศกาลส ง ท า ยป ผลดั ง กล า วอาจช ว ยบรรเทาภาวะการขาดดุ ล การค า ในภาพรวมของประเทศไทยไดในระดับหนึ่ง ทามกลางการชะลอตัวของตลาดจีน ธุรกิจไทยควร ปรับกลยุทธ “รุก” สูตลาดจีนเนนหาคูคาเพิ่ม เพื่อขยาย ฐานลูกคาบรรเทาผลกระทบจากความตองการที่ชะลอ ตั ว โดยการเข า ร ว มงานแสดงสิ น ค า ที่ ห ลากหลาย ตลอดปในจีน โดยเฉพาะ “Canton Fair” มหกรรมงานแสดงสิ น ค า ที่ ใ หญ ที่ สุ ด ของจี น จั ด เป น ประจำทุ ก ป ครั้งถัดไปจะจัดในวันที่ 15 ตุลาคม - 4 พฤศจิกายน 2556 ซึ่ ง จะช ว ยเพิ่ ม โอกาสให แ ก นั ก ธุ ร กิ จ ในการแสวงหาคู ค า ที่ มี ค วามแข็ ง แกร ง และต อ งการสิ น ค า เพื่ อ จำหน า ยในพื้ น ที่ ต า งๆ ของจี น โดยในท า ยที่ สุ ด การไดคูคารายใหมเพิ่มขึ้น นอกจากจะชวยบรรเทาผล จากคำสั่ ง ซื้ อ ที่ ล ดลงตามการชะลอตั ว ของจี น แล ว ยั ง ช ว ยหนุ น นำการส ง ออกของไทยไปจี น ในระยะ ขางหนาใหรักษาระดับเติบโตตอเนื่องไดอีกดวย
·ÕÁ§Ò¹¹ÔμÂÊÒà ¿Ù‡´ â¿¡ÑÊ ä·ÂᏴ
It is widely known that Thailand has sustained a trade deficit with China for some time. However, recent deficits have widened substantially since the Chinese economy began to slow, thus inhibiting our exports to China since then. This situation triggers our highest-ever monthly deficit with them at USD 1,449 million. It is likely that it will rise further in coming months, undermining our overall trade position, since China is our largest trade partner. If Thailand’s exports to China do not improve significantly, it is expected that our trade deficit with China will likely lean toward our current projection at around USD 12.1 billion, which would be a record high versus the USD 10.2 billion deficit in 2012. However, KResearch is of the view that Thailand’s outward trade to China will likely rise toward the yearend, supported by various Chinese initiatives in August to aid their manufacturing and export sectors. In addition, they will likely raise inventories before the New Year festive season and import more agricultural products from Thailand to offset shortfalls there following natural disasters. These factors should help ease our trade deficit with China somewhat later on. Amid a gloomy export outlook, Thai businesses are being urged to adopt proactive strategies by expanding customer bases there. We should participate in more trade exhibitions, especially the upcoming “Canton Fair” – the largest annual trade exposition in China – which will be held between October 15 and November 4, as this event will offer opportunities for Thai businesses to find new trade partners. Having strong trade partners would not only bolster purchase orders, but also help sustain Thai export growth to China ahead.
Food Focus Thailand Magazine
ศิรินทรา บุญสำเร็จ
บรรณาธิการบริหาร นิตยสาร ฟูด โฟกัส ไทยแลนด
Publisher Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 3/211 Moo-Ban Setthasiri-Prachachuen, Prachachuen Road, Ta Sai, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 T +66 2192 1250-2 F +66 2192 1315 E contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com
ฝายบรรณาธิการ / Editorial Department บรรณาธิการบริหาร / Managing Editor ศิรินทรา บุญสำเร็จ / Sirintra Boonsumrej editor@foodfocusthailand.com, b.sirintra@foodfocusthailand.com ผูชวยบรรณาธิการ / Assistant Editor
อัครพล อนันตโชติ / Arkkrapol Anantachote a.arkkrapol@foodfocusthailand.com ผูสื่อขาวอาวุโส / Senior Journalist
พิมพชนก กนกลาวัณย / Pimchanok Kanoklawan ka.pimchanok@foodfocusthailand.com ฝายขายและการตลาด / Sales & Marketing Department ผูอำนวยการฝายธุรกิจ / Business Director เพ็ญแข ประวัติพัฒนากูล / Phenkhae Prawatphatthanakoon sales@foodfocusthailand.com, p.phenkhae@foodfocusthailand.com ผูจัดการฝายขาย / Sales Manager สิริวรรณ ขาวสะอาด / Siriwan Khaosaard kh.siriwan@foodfocusthailand.com เจาหนาที่ฝายขายโฆษณา / Advertising Sales Executive นิภาพร ละครอนันต / Nipaporn Lakornanan la.nipaporn@foodfocusthailand.com ฝายสมาชิก / Circulation Department เจาหนาที่ฝายสมาชิก / Circulation Officer จิตสุดา ทองปาน / Jitsuda Thongparn contact@foodfocusthailand.com ชาลินี จันทานนท / Chalinee Chanthanon contact@foodfocusthailand.com ฝายศิลปกรรม / Graphic Department ผูอำนวยการฝายศิลปกรรม / Graphic Director สุรีรัตน หลักบุตร / Sureerat Lukbud graphic@foodfocusthailand.com เจาหนาที่ฝายศิลปกรรม / Graphic Designer นภพงศ กรประเสริฐ / Npaphong Kornprasert graphic@foodfocusthailand.com ฝายบัญชีและการเงิน / Accounting & Finance Department ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน / Accounting & Finance Manager นาตยา พงษสัตยาพิพัฒน / Nataya Pongsatayapipat p.nataya@foodfocusthailand.com
www.facebook.com/foodfocusthailand
FF#91_p10_Pro3.indd 10
The texts and photos in Food Focus Thailand, as well as personal comments of contributors are all rights reserved. Reproduction of the magazine, in whole or in part, is prohibited without the prior written consent of the publisher.
9/25/13 11:25:05 AM
BOARD OF CONSULTANTS Sakchai Sriboonsue Secretary General National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards Ministry of Agriculture and Cooperatives
Suwan Riensavapak
Visit Limprana
Assoc. Prof. Visith Chavasit, Ph. D.
Deputy Executive Director Acting on behalf the Executive Director Thailand Productivity Institute
Chairman Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries
Director Institute of Nutrition, Mahidol University
Sakkhee Sansupa
Assoc. Prof. Emorn Wasantwisut, Ph. D.
Director Thai Packaging Centre Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Institute of Nutrition, Mahidol University
Chawan Svasti-Xuto
Darunee Edwards President Food Science and Technology Association of Thailand
Deputy Director General Acting on behalf the Director-General The Office of Small and Medium Enterprises Promotion
Assoc. Prof. Winai Dahlan, Ph. D.
Pravith Chotiprayanakul
Founder Director The Halal Science Center Chulalongkorn University
CEO GS1 Thailand The Federation of Thai Industries
Patcharee Tungtrakul
Poj Aramwattananont, Ph. D.
Director Institute of Food Research and Product Development Kasetsart University
President Thai Frozen Foods Association
Asst. Prof. Tanaboon Sajjaanantakul, Ph. D.
Jumrud Sawangsamud
Dean Faculty of Agro-Industry Kasetsart University
Director RFID Institute of Thailand The Federation of Thai Industries
Petch Chinabutr, Ph. D. President National Food Institute
ENDORSEMENT
Food and Drug Administration Ministry of Public Health
Institute of Food Research and Product Development Kasetsart University
National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS) Ministry of Agriculture and Cooperatives
Faculty of Agro-Industry Kasetsart University
Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries
National Food Institute Ministry of Industry
Thailand Productivity Institute Ministry of Industry
Thailand Institute of Scientific and Technological Research
Office of Small and Medium Enterprises Promotion
Thai Packaging Centre Thailand Institute of Scientific and Technological Research
GS1 Thailand The Federation of Thai Industries
Food Science and Technology Association of Thailand
The Halal Science Center Chulalongkorn University
Thai Frozen Foods Association
RFID Institute of Thailand The Federation of Thai Industries
Upcoming Issue Attraction
NOV No. 92
FF#91_p11_Pro3.indd 11
Special Focus
Strong QC & QA
Confectionery / º≈‘μ¿—≥±å¢π¡À«“ π¡À«“π ≈Ÿ°Õ¡ ·≈–≈Ÿ°°«“¥
Shelf-life Evaluation & Testing / °“√∑¥ Õ∫·≈–ª√–‡¡‘πÕ“¬ÿ°“√‡°Á∫√—°…“
Smart Produ Production
Strategic R & D
Meat & Poultry: PPre-processing / °“√‡μ√’¬¡«—μ∂¥‘ ∂ÿ¥∫ ‘ ° °àÕπ°“√·ª√√Ÿª º≈‘μ¿—≥±å‡π◊ÈÕ —μ«å·≈– —μ«åªï°
Menûs Health / ÿ¢¿“æ‡æ»™“¬
Source of Engineer Waste Reduction / °“√≈¥¢Õ߇ ’¬
9/25/13 1:07:44 PM
SH
W 13-15 FHC CHINA 2013
OCTOBER 2013 7-9
THE 7th ANNUAL MEETING
@
BITEC, Bangkok, Thailand
E
info@nutritionthailand.or.th
W
www.nutritionthailand.or.th
7-9
WINE & SPIRITS CHINA 2013
October 25, 2013 @ Challenger Hall, IMPACT, Muang Thong Thani By Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. T +66 2192 1250-2 E contact@foodfocusthailand.com hailand.com W www.foodfocusthailand.com
การประชุมวิชาการโภชนาการแหงชาติ ครั้งที่ 7 เรื่อง “ความมั่นคงดานอาหารและโภชนาการ ในบริบทของอาเซียน” ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา www.tcn-conference.com
@ W 8-10
31 OCTOBER – 3 NOVEMBER 2013
Shanghai, China
@
Kaohsiung City, Taiwan
E
shelly.zhou@gehuaexpo.com
E
foodkh@taitra.org.tw
W
www.foodkh.com.tw
www.sifse.com/en/
10-12 BANGKOK RHVAC 2013
W
W
www.fhcchina.com
MYANMAR-PACK 2013 @
Yangon, Myanmar
E
overseas@ccie.com.tw
W
www.myanmar-expo.com
NATURAL INGREDIENTS (Fi Europe & Ni) @
Frankfurt, Germany
E
julien.bonvallet@ubm.com
W
Thailand
6-8
FOODTEC MYANMAR 2013
rhvac@ditp.go.th
@
Yangon, Myanmar
E
foodtec@ambexpo.com
W
www.foodtecasia.com
http://fieurope.ingredientsnetwork.com/ home
NOVEMBER 2013
BITEC, Bangkok,
www.bangkok-rhvac.com
19-21 FOOD INGREDIENTS EUROPE &
KAOHSIUNG FOOD SHOW 2013
@
E
gladys@chinaallworld.com (Ladys Lui)
15-18 MYANMAR-FOODTECH 2013
23
(SIFSE 2013)
@
Shanghai, China
E
SHANGHAI INTERNATIONAL FISHERIES & SEAFOOD EXPO 2013
W
@
21-23 FOODIST 2013 @
Turkey
E
angel.fu@reedexpo.com.hk
W
www.foodistfair.com
16-18 AGROCHEMEX 2013 @
Shanghai, China
6-8
MYANFOOD 2013
E
ccpia_lijuan@easilysend.com
@
Yangon, Myanmar
W
www.agrochemex.org
E
myanfood@ambexpo.com
W
www.myanfood.com
21-23 BUSAN INTERNATIONAL SEAFOOD & FISHERIES EXPO 2013 (BISFE 2013) @
Busan, South Korea
17-19 OISHII JAPAN 2013
E
kfta@kfta.net
@
W
www.kfta.net
E W
12
Suntec Singapore,
6-8
MYANHOTEL 2013
Singapore
@
Yangon, Myanmar
sales@oishii-world.com
E
myanhotel@ambexpo.com
estherchin@mpinetwork.com
W
www.myanhotel.com
6-9
FOOD WEEK KOREA 2013
www.oishii-world.com
@
Seoul, South Korea
E
lynn.kwak@coex.co.kr
W
http://foodweek.info
27-29 ANALAB ASIA 2013 @
Suntec Singapore, Singapore
E
new@sesallworld.com (Carol New)
W
www.analab-asia.com
27-29 UZAGROEXPO 2013 @
Tashkent, Uzbekistan
E
info@ieguzexpo.com
W
www.ieg.uz
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p12_Pro3.indd Sec1:12
9/25/13 11:51:18 PM
SEMINAR & TRAINING OCTOBER 2013 10-11 FSSC 22000 Requirement & Interpretation (Food Safety System Certification) By SGS (Thailand) Limited 10-11 ISO 14001:2004 Requirement By INTERTEK 11 By
Integrated Pest Management (IPM) SGS (Thailand) Limited
14-15 BRC Requirement and Interpretation By SGS (Thailand) Limited 14-18 FSSC Lead Auditor (Eng) By SGS (Thailand) Limited 16-17 FSSC 22000 Internal Audit By SGS (Thailand) Limited 16-17 Modern Supply Chain & Logistics Management Effective Job Instruction By Thailand Productivity Institute 17 By
Basic Food Hygiene SGS (Thailand) Limited
17 By
Competency INTERTEK
FREE 18 By
OHSAS 18001 Introduction & Requirement INTERTEK
21 By
GMP/HACCP Audit Technique INTERTEK
OCTOBER
17 ความรูเบื้องตนในการคาขายระหวางประเทศ (Workshop) By ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย @ ธนาคารเพื่อการสงออกและนำเขาแหงประเทศไทย T 0 2271 3700 # 1733-1739 W www.exim.go.th
21-22 ISO 9001:2008 Internal Audit By INTERTEK 22
Production Management Breaking the Customer Code Thailand Productivity Institute
By 24 By
Action Plan Techniques 5S Auditing Techniques Thailand Productivity Institute
25 By
Food Security SGS (Thailand) Limited
25
Document Control บทบาทหนาที่ของตัวแทนฝายบริหาร ระบบอาชีวอนามัยและความปลอดภัย INTERTEK
By 29
25 บริการใหคำปรึกษาดานการกำจัด/ ลดความสูญเสียในระบบ (LEAN) By สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (สสว.) @ สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (สสว.) T 0 2763 2717, 08 1457 1725 E clinic.sme.56@gmail.com W www.sme.go.th 31 ผลกระทบ AEC ตอโลจิสติกสในประเทศไทย By Thammasat Consulting Networking and Coaching Center (CONC Thammasat) @ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ทาพระจันทร T 0 2224 9734 E conc@tbs.tu.ac.th
Sharing Knowledge through CoPs Handling and Managing Customer Complaints Thailand Productivity Institute
By
SEMINAR 2013
17-18 เทคนิคการรวมระบบการจัดการมาตรฐาน GMP, HACCP, ISO 9001 และ ISO 22000 สำหรับอุตสาหกรรมอาหาร By INTERTEK 18 By
Food Contact EU Regulation SGS (Thailand) Limited
C
O
INTERTEK Please contact Khun Natthakan Singha T 08 9963 1169, 0 2248 1817 # 22 F 0 2248 5707 E natthakan.singha@intertek.com W www.intertek.co.th/training
N
T
SGS (Thailand) Limited Please contact Khun Jiratchaya (Training Department) T 0 2678 1813 # 2053 F 0 2678 1548 E jitratchaya.chainate@sgs.com W www.th.sgs.com/training_th
A
C
T
Thailand Productivity Institute T 0 2619 5500 # 451-455 (คุณภัททิรา คุณชัยวัฒน คุณศิริชัย คุณดำรง และคุณปรัศนีย) F 0 2619 8098 E training@ftpi.or.th W www.ftpi.or.th
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p12-13_Pro3.indd 13
13
9/25/13 1:55:03 PM
STAR ITEMS
By: AMP International Co., Ltd.
1
2
3
In-Sight˙ 7010C Entry-Level Color Vision System ระบบจับภาพสี In-Sight® 7010C รุนแรกของโลก ที่ ส ามารถแยกแยะชิ้ น ส ว นที่ แ ตกต า งกั น ตาม สีตางๆ ระบบมีคุณสมบัติในดานความละเอียด ของสี 24 บิตที่สามารถระบุความแตกตางของสี ไดถึง 16 ลานเฉดสีไดอยางแมนยำ (มากกวาที่ สายตาของมนุ ษ ย จ ะสามารถตรวจจั บ ได ) มี อุตสาหกรรมมากมายที่มีความตองการชิ้นงาน โดยการระบุสี อาทิ ในอุตสาหกรรมอาหารและ เครื่ อ งดื่ ม สำหรั บ การตรวจสอบรสชาติ ข อง ผลิตภัณฑไปจนถึงการตรวจสอบบรรจุภัณฑของ ผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมยาสำหรับการระบุสีของ เม็ดยา ขวดยา หรือแคปซูล และอุตสาหกรรม รถยนต ส ำหรั บ การระบุ รุ น ของยางรถและ การตรวจสอบฟวสกลองควบคุม เปนตน The In-Sight® 7010C, an entry-level color vision system that can distinguish parts by color. The system features 24-bit color resolution that accurately identifies 16 million color variations—more than the human eye can detect. Many industries use color identification, including food and beverage for product flavor to product packaging validation, pharmaceutical for tablet, vial or capsule identification and automotive for tire model identification; fuse verification etc.
By: Cognex (Thailand) www.cognex.com
14
Sea Buckthorn ซูปเปอรฟรุตเบอรรี่ชนิดใหม (อานวา “ซี-บัค-ธอรน”) แตมีประวัติความเชื่ออยางยาวนานวาเปนยาวิเศษ รักษาทุกโรค เนื่องจากผลไมชนิดนี้เปนแหลงของ วิตามินตางๆ และกรดไขมันที่สำคัญตอรางกาย เชน โอเมกา3, 6, 7, 9 ซึ่งถือเปนสิ่งที่หายากในผลไม ทั่ ว ไป ดัง นั้ น ผลไม ช นิ ด นี้ จึ ง เหมาะกับ ผลิต ภั ณ ฑ ในกลุมสงเสริมการทำงานของสมอง สุขภาพหัวใจ และกลุมเสริมความงาม (ผม และ ผิวพรรณ)
Shitake Sauce ซอสเห็ ด หอมสำหรั บ ช ว งเวลาของเทศกาล กินเจ เปนซอสที่ทำมาจากเห็ดหอมแท สามารถ ใช ท ดแทนซอสหอยที่ ทุ ก คนเข า ใจว า ทำจาก เนื้ อ สั ต ว ไ ด เหมาะสำหรั บ ผู ที่ กิ น เจ ไม ท าน เนื้อสัตว สามารถใชปรุงไดทันที เหมาะสำหรับ การหมัก ผัด เพื่อเพิ่มรสชาติอาหารใหกลมกลอม มากยิ่งขึ้น
New Superfruit Berry with very long history of traditional panacea (Cure-all medicine) is packed with vitamins and Omega 3, 6, 7, 9. Therefore, Sea Buckthorn is an excellent raw material for products targeting brain health, heart health, and beauty market due to the presence of Essential Fatty Acid (EFA/Omega acids) which is very rare in most fruits.
Shitake sauce is just in time of the vegetarian festival, suitable for vegetarians. The sauce is made from Shitake and could amazingly replace sauces that are made from meat. The sauce can be used for fry and marinate immediately adding flavor to food to be much more mellow.
By: Nova Pacific Co., Ltd.
By: Arcadia Foods Co., Ltd.
www.novathai.com
www.arcadiafoods.co.th
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p14_Pro3.indd 14
9/25/13 11:43:27 PM
5 6
4
IND890 New Industrial Weighing PC
PAP › FH20 Pulsed Light Sterilization ระบบสเตอริ ไ ลซ บ นสายการผลิ ต ด ว ย เทคโนโลยี แ สงพั ล ส Pulsed Light Sterilization เหมาะสำหรั บ อุ ต สาหกรรม เครื่ อ งดื่ ม และผลิ ต ภั ณ ฑ น ม อุ ป กรณ มีขนาดเล็กแตใหประสิทธิภาพสูง ติดตั้งงาย เปนทางเลือกสำหรับทดแทนการใชสารเคมี หรือการฉายรังสีในการฆาเชื้อ โดยแสงพัลส สามารถฆาเชื้อในฝาจุกและภาชนะ ตรงตาม มาตรฐานอุตสาหกรรมการบรรจุสินคาที่ตอง ควบคุม (ESL, Ultra-clean)
Food Grade High Temperature Chain Lubricant PAP – FH20 เปนสารหลอลื่นสังเคราะหในระดับ ฟูดเกรดที่ไมมีฤทธิ์กัดรอน และสามารถทนรอนได สูงถึง 280 °C นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติที่ดีเยี่ยม และทนทานตอสภาพแวดลอมที่ชื้นและกัดกรอนได ดี พรอมคุณสมบัติดานการยึดเกาะบนพื้นผิวโลหะ ทำให ติ ด ทนนานถึ ง แม จ ะถู ก ชะล า งด ว ยน้ ำ ก็ ต าม ที่ ส ำคั ญ คื อ ไม มี ส ว นผสมของน้ ำ มั น แร แ ละไม ทิ้ ง สารตกค า ง เหมาะสำหรั บ การประยุ ก ต ใ ช กั บ Stenter chains, Paint stoving conveyors และ Drive chain เปนตน
Pulsed Light Sterilization is an on-line packaging sterilization solutions aimed at the beverages and dairy products industries. The equipments are cost effective, compact and easy-to-integrate alternative to chemical disinfection or irradiation. It enables to decontaminate caps and cups at levels complying with industrial requirements for sensitive products packaging (ESL, Ultra-clean).
PAP – FH20 is a non-carbonising, fortified, synthetic chain lubricant for chains operating up to 280°C that has excellent load carrying properties and resists humid and corrosive atmospheres. It also adheres well to metal surfaces even in the presence of large amounts of water. It contains no mineral oil and will not leave carbon residues. Typical applications include stenter chains, paint stoving conveyors, and drive chains.
By: Claranor
By: Polytype Asia Pacific Co., Ltd.
www.claranor.com
www.polytype-th.com
เครื่องชั่งแบบคอมพิวเตอรสำหรับอุตสาหกรรม รุ น ใหม IND890 ซึ่ ง เป น การรวมตั ว กั น ของ เครื่องชั่งแบบกันน้ำกับคอมพิวเตอรแบบหนาจอ สัมผัส ตัวเครื่องทำจากสเตนเลส ปองกันน้ำและ ความชื้นถึงระดับ IP69K จึงใชงานในพื้นที่เปยก ได IND890 ใชระบบปฏิบัติการ Window 7 หรือ Window CE ซึ่งสามารถเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม ได อ ย า งอิ ส ระ นอกจากนี้ พอร ต USB และ Ethernet ของเครื่องยังชวยใหการเชื่อมตอกับ อุปกรณอื่นๆ เปนไปอยางราบรื่น เครื่อง IND890 ยั ง สามารถบั น ทึ ก ข อ มู ล อื่ น ๆ ได อย า งเช น ชื่อและรหัสของผลิตภัณฑ หรือตัวเลขล็อตสินคา ขอมูลเหลานี้ชวยใหผูใชงานสามารถตรวจสอบ ขอมูลยอนหลังได อินเตอรเฟซบนหนาจอระบบ สั ม ผั ส สามารถเขี ย นโปรแกรมให แ สดงข อ มู ล เปนภาษาไทยหรือแสดงผลดวยรูปภาพได The new industrial weighing PC, IND890, is a fusion between water-resistance weighing device and touch screen. The entire body is made of stainless steel and resistance to water and humidity up to IP69K level. It is useful for application in wet processing areas. IND890 is operated by Window 7 or Window CE which freely enables additional programming by operators. Its USB and Ethernet ports allow smooth connectivity to other devices. IND890 can record other information such as product names, product codes and lot numbers. These allow operators to trace back easily. Its touch screen interface can be programmed for Thai display or visual one.
By: Metter-Toledo (Thailand) Ltd. www.mt.com
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p15_Pro3.indd 15
15
9/25/13 11:41:21 PM
SPECIAL REPORT
เอื้อเฟอขอมูลโดย: ศูนยวิจัยกสิกรไทย
Information Courtesy By: Kasikorn Research Center
Thai Paper
Packaging 2013 บรรจุภัณฑกระดาษไทย ป 2556 Õÿ μ “À°√√¡∫√√®ÿ ¿— ≥ ±å ° √–¥“…¢Õ߉∑¬¡’ · π«‚πâ ¡ ª√— ∫ μ— « §«∫§Ÿà ‰ ª°— ∫ °“√¢¬“¬μ— « ∑“ß ‡»√…∞°‘® ‡π◊ËÕß®“°º≈‘μ¿—≥±å∫√√®ÿ¿—≥±å‡ªìπ à«π ”§—≠„π¿“§Õÿμ “À°√√¡μà“ßÊ ∑—È߇æ◊ËÕ ∫√√®ÿ ‘ π §â “ ”À√— ∫ ¿“§Õÿ μ “À°√√¡„πª√–‡∑»·≈– à ß ÕÕ°™‘È π à « π∫√√®ÿ ¿— ≥ ±å ‡ æ◊Ë Õ „™â °— ∫ Õÿμ “À°√√¡„πμà“ߪ√–‡∑» Growth in the Thai paper packaging industry is invariably linked to economic performance because packaging serves as a part of final products for the Thai industrial sector as well as abroad.
16
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p16-21_Pro3.indd 16
9/25/13 2:18:25 PM
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p17_Pro3.indd 17
17
9/25/13 2:49:24 PM
Figure 1 Source:
Estimation of Paper Packaging Consumption
KResearch
Figure 2 Source:
Production and Sales of Corrugated Paper Packaging
Compiled by the Office of Industrial Economics and estimated by KResearch
ดวยจุดเดนของบรรจุภัณฑกระดาษที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมที่ตอบสนองกระแสการลดปญหาโลกรอน และเทรนดรักสุขภาพ รวมถึงการพัฒนารูปแบบและเทคโนโลยีในการผลิตของผูประกอบการ จะชวย เปนแรงสนับสนุนใหอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑกระดาษสามารถรักษาสวนแบงทางการตลาดไวได Paper is an eco-friendly and popular wrapping material amid global warming concerns and health conscious trends. Should producers enhance their production and technologies, paper casing will maintain its market share in the overall packaging market. ซึ่งในชวง 4 เดือนแรกของป 2556 ไทยนำเขาบรรจุภัณฑกระดาษเปนมูลคา 1,121 ลานบาท เทียบกับในชวงเดียวกันของปกอนหนาที่มีมูลคาประมาณ 1,060 ลานบาท โดยนำเขามาจากจีน และมาเลเซียเปนหลัก ขณะที่ในระยะ ถัดไป ภายใตทรัพยากร/วัตถุดิบที่มี จำกัด ผูประกอบการควรเนนการเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต อย า งต อ เนื่ อ ง โดยอาศั ย การออกแบบและการนำ เทคโนโลยีเขามาเปนตัวชวยเสริมใหตรงกับความตองการใชในอุตสาหกรรม ตางๆ มากขึ้น อันจะทำใหความจำเปนที่ตองพึ่งพาการนำเขาบรรจุภัณฑกระดาษมีนอยลง สำหรับการสงออกบรรจุภัณฑกระดาษโดยตรงของไทยในป 2556 คาดวา นาจะมีแนวโนมทรงตัวจากป 2555 ที่บันทึกมูลคาสงออก 5,424 ลานบาท (ขยายตัวรอยละ 24.97 (YoY)) หลังจากที่การสงออกในชวง 4 เดือนแรกของป 2556 มีมูลคา 1,719 ลานบาท (ขยายตัวรอยละ 0.75 (YoY)) โดยการสงออก บรรจุภัณฑกระดาษของไทยไปยังตลาดหลัก ไดแก เวียดนาม อินโดนีเซีย และ 18
(medical devices, electronic devices, and electrical appliances). A variety of paper casing is available in the international market, including foldable cardboard boxes, fixed cardboard boxes, corrugated boxes, paper bags, paper cups, etc. Some Thai business operators need imported items which may better fit some special products, or when there may be insufficient local raw material for domestic production. Over 4M13, Thailand imported THB 1.12 billion of paper packaging, up from THB 1.06 billion in the same period last year, mainly from China and Malaysia. Looking forward, with limited resources and raw materials, local producers should enhance their efficiency with better designs and technologies in accordance with market demands, to reduce the need of imported products. Thailand is likely to see limited paper packaging exports growth in 2013 as the country exported the products totaling THB 1.72 billion over 4M13 (up 0.75 percent YoY), against THB 5.42 billion (up 24.97 percent YoY) for the whole of 2012. The 4M13 exports
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p16-21_Pro3.indd 18
9/25/13 2:18:26 PM
เกาหลีใต แมวายังขยายตัวเปนตัวเลข 2 หลัก แตก็เปนอัตราที่ชะลอลงจากป กอนหนา ขณะที่ตลาดสหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และไตหวัน หดตัวลงอยางมาก ซึ่ ง ส ว นหนึ่ ง คาดว า เป น ผลมาจาก เศรษฐกิจโลกที่ยังมีความไมแนนอน และผลของคาเงินที่สงผลกระทบตอ การแปลงรายไดกลับมาเปนเงินบาท ของผู ส ง ออกไทย นอกจากนี้ จาก ความต อ งการภายในประเทศในป 2556 มีแนวโนมขยายตัวดีขึ้น ทำให ผู ป ระกอบการหั น มาผลิ ต เพื่ อ ตอบสนองตลาดภายในประเทศเปนหลัก เนื่องจากเปนตลาดที่สรางอัตรากำไร ตอหนวยไดมากกวาตลาดสงออก ซึ่ง ตองมีตนทุนคาขนสงและดูแลรักษา มากกวา ทั้งนี้ แมมูลคาการสงออกบรรจุภัณฑกระดาษโดยตรงของไทยจะคิด เปนสัดสวนเฉลี่ยในชวงป 2553-2555 ที่ ไ ม สู ง นั ก (ประมาณร อ ยละ 0.07) เมื่อเทียบกับการสงออกรวม แตดวย อุ ป สงค ที่ แ ข็ ง แกร ง ในกลุ ม ประเทศอาเซียน จึงเปนโอกาสของผูประกอบการไทย โดยอาศั ย จุ ด แข็ ง ด า นคุ ณ ภาพ ศักยภาพในการพัฒนาผลิตภัณฑที่มี มูลคาเพิ่มสูง และประสิทธิภาพการผลิ ต ของอุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข อ ง เชน อุตสาหกรรมเยื่อกระดาษอุตสาหกรรมสิ่ ง พิ ม พ เป น ต น ประกอบกั บ การแสวงหา/เรียนรู การออกแบบหรือ เทคโนโลยี ใ หม ๆ เพื่ อ นำมาพั ฒ นา ผลิตภัณฑใหสามารถตอบโจทยลูกคา ไดมากขึ้น พรอมๆ กับการหาโอกาส ในการขยายฐานการผลิ ต ทั้ ง ในและ ตางประเทศ ภายใตรูปแบบที่เหมาะสม รวมถึงการติดตามหรือเปนซัพพลายเ อ อ ร ใ ห กั บ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น อุ ต สาหกรรมอาหาร สิ น ค า อุ ป โภค และสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ของไทย ที่ มี ก ารขยายฐานการลงทุ น ในต า งประเทศ โดยเฉพาะที่ เ กาะไปกั บ กระแสการเปดเสรีสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ทั้งอินโดนีเซีย เวี ย ดนาม และประเทศอื่ น ๆ ที่ มี
to major markets – Vietnam, Indonesia and South Korea – saw double-digit growth, although it was slower than in the previous year, while exports to the US, Japan and Taiwan contracted significantly, partly due to global economic uncertainties and lower export revenues caused by foreign exchange volatility. As a result, it is expected that producers will focus on the domestic market, given the strong demand here, which tends to generate greater revenue per unit than that of exports due to cheaper logistics and maintenance costs. Paper packaging exports averaged only 0.07 percent of total exports during 2010 t o 2 0 1 2 . H o w e v e r, T h a i operators should try to meet the strong demand in ASEAN through product quality, valueadded product enhancement, and production efficiency of related industries including pulp and printing industries, etc. New technological knowhow or designs should be developed for better customer responsiveness. Thai producers should seize opportunities to expand production into other ASEAN member states due to robust demand within the region ahead of the ASEAN Economic Community (AEC) inception. They should also act as suppliers for Thai food, consumer products and other industrial producers that have relocated elsewhere including Indonesia, Vietnam and other countries for brighter economic prospects and/or FDI benefits, such as Myanmar, Lao PDR, Cambodia and the vicinity. This should help them expand distribution as well as their total export value.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p16,18-21_Pro3.indd 19
19
9/26/13 12:15:40 AM
Figure 3 Source:
Thailand’s Paper Packaging Exports
Ministry of Commerce, compiled by KResearch
Figure 4 Source:
Thailand’s Paper Packaging Imports
Ministry of Commerce, compiled by KResearch
พลาสติกชีวภาพเปนผลิตภัณฑที่ยอยสลายไดโดยธรรมชาติ (Compostable plastic) โดยผลิตจากวัตถุดิบ ชีวมวล ซึ่งมีแปงเปนองคประกอบหลัก เชน ขาวโพด มันสำปะหลัง ออย เปนตน และพัฒนาใหมีคุณสมบัติ ในการใชงานใกลเคียงกับพลาสติกทั่วไป ซึ่งการกำจัดขยะจากพลาสติกชีวภาพสามารถทำไดโดยการฝงกลบ และการยอยสลายไมกอใหเกิดสารตกคางที่เปนพิษกับมลภาวะ Biodegradable plastic is naturally compostable as it is made from biomass materials mainly composed of starches such as corn, tapioca, sugar cane, etc. It has been enhanced with quality close to that of typical plastic. Biodegradable plastic can be eliminated simply by landfill, as its disposal does not release any toxic substances to the environment. แนวโนมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และไดรับอานิสงสจากการลงทุนโดยตรง จากตางประเทศ (FDI) สูงอยางพมา ลาว กัมพูชา และพื้นที่ใกลเคียง อันจะชวย ใหไทยสามารถเพิ่มชองทางการจำหนายปริมาณ และเพิ่มมูลคาการสงออก บรรจุภัณฑกระดาษไดมากขึ้น
จุดเดนของบรรจุภัณฑจากกระดาษ ตอบรับกระแสการลดปญหาโลกรอนและเทรนดรักสุขภาพ ด ว ยจุ ด เด น ของบรรจุ ภั ณ ฑ จ ากกระดาษที่ ผ ลิ ต จากวั ส ดุ ธ รรมชาติ ง า ยต อ การยอยสลาย สามารถนำกลับมาใชใหมได และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม จะได รับอานิสงสจากกระแสการลดปญหาโลกรอนและเทรนดรักสุขภาพที่กำลังเปน ที่นิยม เนื่องจากในปจจุบันประเด็นเรื่องสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยจาก บรรจุภัณฑที่ใชเริ่มเปนประเด็นที่ประเทศผูนำเขาสินคาในหลายๆ ประเทศให ความสำคัญ อาทิ มาตรการคารบอนฟุตพริ้นท (Carbon footprint) และฉลากลดคารบอน (Carbon reduction label) ของประเทศในกลุมสหภาพยุโรปที่จะ นำเขาเฉพาะสินคาที่ใชวัตถุดิบและมีกระบวนการผลิตที่ลดปริมาณการปลอย 20
Paper Packaging Growing on Global Warming and Health Conscious Trends From the view that natural-material wrapping, which is easily disposable, recyclable and eco-friendly, paper packaging may benefit from the current global warming concerns and health conscious trends. Many countries are introducing measures concerning environmental and safety issues on packaging, including carbon footprint and carbon reduction labels used in EU, wherein imported items must be made from raw material and production processes that reduce greenhouse gas. This could encourage Thai operators to expand their product lines and enhance the quality of Thai casing to be more eco-friendly. Meanwhile, biodegradable plastic is an increasingly popular material for packaging, supported by R&D provided by diverse parties. Biodegradable plastic has seen a large increase in production over the past few years, amounting to 0.36 million tons (approximately 1 percent of total plastic wrapping production) in 2007, and 1.16 million tons in 2011. Related parties estimate that biodegradable plastic should capture 15 percent of total plastic packaging produced within 2015. However, although biodegradable plastic may not be able to totally replace paper
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p16-21_Pro3.indd 20
9/25/13 2:18:27 PM
กาซเรือนกระจก เปนตน จึงทำใหเกิดแรงกระตุนใหผูผลิตบรรจุภัณฑไทย แตกไลนการผลิต และปรับปรุงคุณภาพของบรรจุภัณฑไทยใหเปนมิตรตอ สิ่งแวดลอมและผูบริโภคมากขึ้น ทั้งนี้ พลาสติกชีวภาพเปนหนึ่งในบรรจุภัณฑเพื่อสิ่งแวดลอมที่กำลังไดรับ ความนิยมจากผูบริโภคในปจจุบัน รวมถึงไดรับการสนับสนุนการวิจัยและ พัฒนาจากหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ ทำใหชวงหลายปที่ผานมามีปริมาณ การผลิตเพิ่มขึ้นอยางเนื่อง โดยในป 2550 มีปริมาณการผลิตอยูที่ 0.36 ลานตัน (ประมาณรอยละ 1 ของปริมาณการผลิตบรรจุภัณฑพลาสติกทั้งหมด) ตอมา ในป 2554 มี ป ริ ม าณการผลิ ต เพิ่ ม ขึ้ น เป น 1.16 ล า นตั น โดยหน ว ยงาน ที่เกี่ยวของไดมีการตั้งเปาหมายไววาจะเพิ่มปริมาณการผลิตบรรจุภัณฑพลาสติ ก ชี ว ภาพให มี สั ด ส ว นประมาณร อ ยละ 15 ของปริ ม าณการผลิ ต บรรจุภัณฑพลาสติกทั้งหมดใหไดภายในป 2558 อยางไรก็ตาม แมวาการพัฒนาบรรจุภัณฑพลาสติกชีวภาพจะไมไดมี วัตถุประสงคเพื่อทดแทนการบริโภคบรรจุภัณฑกระดาษโดยตรง แตเนื่องจาก ขอจำกัดที่ไมสามารถปองกันความชื้นและไมคงทนของบรรจุภัณฑกระดาษ ก็อาจสงผลใหผูบริโภคหันไปเลือกใชบรรจุภัณฑประเภทอื่นทดแทนได ดังนั้น เพื่อเปนการรักษาสวนแบงการตลาดของอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑกระดาษไว ผูประกอบการควรมีการพัฒนารูปแบบใหมีความคงทนและแข็งแรงมากขึ้น ประกอบกับใชเทคโนโลยีในการผลิตใหมีคุณสมบัติใกลเคียงกับพลาสติก โดย การใชวัสดุที่ปลอดภัย และปองกันความชื้นหรือซึมผานของน้ำมาเคลือบทับ พื้นผิวของบรรจุภัณฑกระดาษ เชน แกวกาแฟกระดาษ จาน ชาม และกลองบรรจุ อ าหารที่ ท ำจากกระดาษ เพื่ อ ให ผู บ ริ โ ภคเลื อ กใช ง านได ต ามความตองการ ภายใตตนทุนที่บริหารจัดการได นอกจากนี้ ผูประกอบการควรเนน การออกแบบเพื่ อ ลดปริ ม าณการใช ก ระดาษ และไม ใ ช ส ารฟอกสี เพราะ นอกจากจะชวยลดตนทุนการผลิตในระยะยาวแลว ยังจะเปนการปรับปรุงเพื่อ ใหไดบรรจุภัณฑที่เปนไปตามกฎระเบียบของตางประเทศ และตรงกับกระแส อนุรักษสิ่งแวดลอมในปจจุบันอีกดวย
consumption, it could be an alternative to paper packaging which is not humidity-proof or durable. Therefore, to maintain their market share abroad, producers should improve product design and durability. Related technologies with reasonable costs should be applied to make the paper product quality close to that of plastic, by using safe and humidity-proof material, e.g., waxed coffee cups, dishes, bowls and food boxes. Additionally, producers should find means to reduce the amount of pulp and bleaching needed, since these efforts would help cut production costs over the long term and better meet international requirements amid current environmental conservation trends. Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p16,18-21_Pro3.indd 21
21
9/26/13 12:25:59 AM
เอื้อเฟอขอมูลโดย: ศูนยวิจัยกสิกรไทย Information courtesy by: Kasikorn Research Center
Welcome to
Thailand Establishing the New Vision of SE Asia เปดมุมมองใหมของเอเชียตะวันออกเฉียงใตดวยประเทศไทย
ª√–‡∑»‰∑¬Õ¬Ÿà„π™à«ß¢Õß°“√øóôπμ—«∑“߇»√…∞°‘®¿“¬À≈—ß®“°‰¥â√—∫ º≈°√–∑∫®“°Õÿ∑°¿—¬ ‚¥¬„π™à«ß‰μ√¡“ ·√°¢Õߪï 2555 ‡»√…∞°‘® ‰∑¬‡μ‘∫‚μÕ¬Ÿà∑’Ë√âÕ¬≈– 0.1 (YoY) ·μà¡’°“√§“¥°“√≥å«à“„πÕπ“§μ ‡»√…∞°‘®πà“®–‡μ‘∫‚쉥âÕ¬à“ßμàÕ‡π◊ËÕß πÕ°®“°π’ÈÀ“°‡ª√’¬∫‡∑’¬∫ ª√–‡∑»‰∑¬°— ∫ °≈ÿà ¡ ª√–‡∑» AEC PLUS πà “ ®–∂◊ Õ ‰¥â «à “ ª√–‡∑»‰∑¬ ‡ªìπª√–‡∑»∑’ˉ¥â‡ª√’¬∫∑“ߥâ“π°≈¬ÿ∑∏å∑’Ëμ—Èß∑“ß¿Ÿ¡‘»“ μ√å¡“°∑’Ë ÿ¥ ·≈–‰¥â √— ∫ °“√¬°¬à Õ ß«à “ ‡ªì π çæ◊È π ∑’Ë ∑’Ë ‡ À¡“– ¡∑’Ë ÿ ¥ „π°“√°à Õ μ—È ß ∞“π°“√º≈‘μ·≈–°“√®—¥®”Àπà“¬„π¿Ÿ¡‘¿“§é ¥â«¬μ”·Àπàߪ√–‡∑»∑’Ë Õ¬Ÿà „ π„®°≈“ߢÕß AEC PLUS æ√â Õ ¡‰ª¥â « ¬√–∫∫§¡π“§¡¢π à ß √–∫∫ “∏“√≥Ÿª‚¿§æ◊Èπ∞“π§√Õ∫§≈ÿ¡ ´÷Ëß®–™à«¬Õ”𫬪√–‚¬™πå „Àâ °— ∫ π— ° ≈ß∑ÿ π ∑—È ß ®“°„π·≈–πÕ°ª√–‡∑» ∑’Ë ® –„™â ª √–‡∑»‰∑¬‡ªì π ∞“π°“√º≈‘μ·≈–®”Àπà“¬ ‘π§â“‰ª¬—ß à«πμà“ßÊ ¢Õß¿Ÿ¡‘¿“§‰¥âÕ¬à“ß §≈àÕßμ—«
22
Thailand is in a period of economic recovery after the effects of flooding disaster. In the first quarter of 2012, the economic growth rate in Thailand was at 0.1 percent (YoY). However, it has been estimated that the economy will grow continuously. Also, if we compare Thailand with the AEC PLUS countries, this country is considered to be the most advantageous on the strategic geographic location, and regarded as “the most suitable area to establish a manufacturing base and a distribution base in the region” since the country is in the heart of the AEC PLUS region with a comprehensive transport infrastructure. This will facilitate to investors both from within and outside the country who utilize Thailand as a production base and a distribution base to various parts of the region flexibly.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p22-27_Pro3.indd 22
9/26/13 12:06:56 AM
เครื่องชี้เศรษฐกิจที่สำคัญ / Key Economic Indicators Population and Per Capita Income
National Income and GDP Growth Rate billion USD
%
USD
million
GDP 2012-2015 5% by average Population is being the aging group with upper middle income
Population
Inflation Rate %
Import and Export Value
million USD
billion USD
The ratio of export is about 66.0% of GDP
Per Capita Income
Labor Wages USD/Day
Foreign Investment Fund (2010) million USD
Minimum wage is just risen up to 300 Baht which will be effective throughout the country by 2013
Note: China’s labor wage is the average from 17 economic cities
ที่มา: Source:
ศูนยวิจัยกสิกรไทย รวบรวมและคาดการณ โดยขอมูลจากหนวยงานสถิติของแตละประเทศ ASEAN Secretariat, IMF, UNCTAD (ขอมูลป 2554 ยกเวนระบุ) Kasikorn Research Center, Statistic Dept. of each country, ASEAN Secretariat, IMF, UNCTAD (2011 Data is not included)
น
อกเหนือจากการผลิตทางดานอุตสาหกรรมแลว ความชำนาญ เฉพาะตั ว ประกอบกั บ บุ ค ลิ ก ลั ก ษณะนิ สั ย ใจคอของคนไทย ที่ เ ป ย มไปด ว ยรอยยิ้ ม และน้ ำ ใจ ก็ ไ ด ผ สานหล อ หลอมและ มีสวนชวยสงเสริมใหภาคบริการของไทยเปนอีกหนึ่งจุดแข็งที่ไดเปรียบ คูแขงในภูมิภาคนี้เชนเดียวกัน
สถานการณเศรษฐกิจทั่วไปป 2555 ภาคการคลัง: สถานการณทางการคลัง ภายหลังจากเหตุการณอุทกภัย น้ำทวมเมื่อปลายป 2554 รัฐบาลไทยมีความพยายามที่จะฟนฟูเศรษฐกิจ ดวยการตั้งงบประมาณใชจายประจำป 2554/55 เรงตัวขึ้นรอยละ 9.7 มาอยูที่ 2.38 ลานลานบาท (78 พันลานเหรียญสหรัฐฯ) คิดเปนรอยละ 20.2 ของ GDP โดยเปนการตั้งงบประมาณขาดดุล 4 แสนลานบาท หรือ รอยละ 3.0-4.0 ของ GDP เพื่อที่จะเรงการใชจายตามนโยบายเพิ่มรายได
I
n addition to the production industry, unique expertise with the personality quirks of Thailand that are filled with smiles and kindness join to form and help promote Thailand’s service sector as one of its strengths. This is a competitive advantage of the region as well.
Economic Situation in 2012
Fiscal sector: After the floods in late 2011, the Thai government focuses on efforts to revive the economy with the 2011/2012 annual expense budget growth of 9.7 percent to 2.38 trillion baht (78 billion USD). It is 20.2 percent of GDP. There is budget deficit of 400 billion baht or 3.0 to 4.0 percent of GDP in order to accelerate spending upon the revenue stimulating policy that was previously defined (the Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p22-27_Pro3.indd 23
23
9/26/13 12:06:16 AM
ที่ไดกำหนดไวกอนหนา (การปรับขึ้นคาจางขั้นต่ำและเงินเดือนขาราชการ โครงการรั บ จำนำข า วเปลื อ ก เป น ต น ) นอกจากนี้ ยั ง ผ า นร า งพรก. ฟนฟูอุทกภัยจำนวน 3.5 แสนลานบาท สำหรับบูรณะซอมแซมโครงสราง พื้นฐานที่ไดรับผลกระทบและเรียกความเชื่อมั่นของนักลงทุนตางชาติ ภาคการเงิน: นโยบายทางการเงินนับตั้งแตเริ่มป 2555 เปนไปในเชิง ผ อ นคลายเพื่ อ สนั บ สนุ น เครื่ อ งมื อ ทางการคลั ง ท า มกลางสถานการณ เศรษฐกิจโลกที่ยังคงไมคลี่คลาย โดย ธปท. ไดคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ณ เดือนมิถุนายนที่รอยละ 3.0 ภาคเศรษฐกิจ: ตัวเลขทางเศรษฐกิจลาสุดเดือนเมษายน 2555 บงชี้ การฟนตัวของภาคการใชจายภายในประเทศทั้งดานการบริโภค (3.3%, YoY) และการลงทุ น (12.5%, YoY) ภายหลั ง จากอุ ท กภั ย ป ที่ ผ า นมา อย า งไรก็ ดี ก ารส ง ออกยั ง อยู ใ นระหว า งการฟ น ตั ว แต ยั ง ไม ก ลั บ เข า สู แดนบวก (-3.5%,YoY) เนื่ อ งจากการเดิ น เครื่ อ งของภาคการผลิ ต ยังไมกลับเขาสูระดับกอนน้ำทวม
แนวโนมเศรษฐกิจป 2556 ศู น ย วิ จั ย กสิ ก รไทยคาดการณ ว า แรงส ง จากภาครั ฐ บาลผ า นมาตรการ กระตุนเศรษฐกิจในลักษณะตางๆ คงจะเปนไปอยางตอเนื่องจนถึงป 2556 สะท อ นจากร า งงบประมาณป 2556 ยั ง คงอยู ใ นระดั บ ใกล เ คี ย ง จากป 2555 ที่ 2.4 ลานบาทภายใตกรอบงบประมาณขาดดุล 3 แสนลานบาท ขณะเดียวกัน ทามกลางสถานการณเศรษฐกิจโลกที่ยังมีความเปราะบาง ประกอบกับเงินเฟอยังอยูในระดับที่สามารถควบคุมได ศูนยวิจัยกสิกรไทย คาดวา ธปท. นาจะยังคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายในครึ่งหลังของป 2555 ไวที่รอยละ 3 ภายใตกรอบเงินเฟอทั่วไปที่รอยละ 3.2-3.9 โดยที่อัตรา การเจริญเติบโตทั้งป 2555 นาจะสามารถพลิกกลับมาโตไดที่รอยละ 5.0 (YoY) จากอานิสงสของการใชจายภาครัฐ และการฟนตัวหลังอุทกภัย ดังที่ไดกลาวไปเบื้องตน สำหรับทิศทางเศรษฐกิจในป 2556 นั้น ยังคงไดรับผลบวกจากการ ใช จ า ยของภาครั ฐ ในโครงการตามแผนการที่ ต อ เนื่ อ งมาจากป 2555 ศูนยวิจัยกสิกรไทยยังคงใหน้ำหนักตอการใชจายจากภาครัฐ การบริโภค และการลงทุ น จากภาคเอกชน ที่ จ ะเป น แรงส ง ที่ ส ำคั ญ ในการผลั ก ดั น การเติบโตทางเศรษฐกิจไทยในระยะถัดไป
increase in the minimum wage and salaries of officials, rice-pledging scheme etc.). Moreover, the draft decree to restore flood damage of 5.3 billion baht was enacted for restoration of affected infrastructure and recovery of confidence among foreign investors. Financial Sector: Monetary policy since 2012 has been to relax in the midst of fiscal instruments to remedy the non-recovering global economic situation. The Bank of Thailand has maintained the policy interest rate at 3.0 percent in June. Economic Sectors: Recent economic figures in April 2012 indicated the recovery of both the domestic consumption sector (3.3%, YoY) and investment sector (12.5%, YoY) after the year of flooding disaster. However, exports are on the rise but not yet returned to positive figures (-3.5%, YoY) since the operation of the manufacturing sector has not returned to the pre-flood levels.
Economic Trends in 2013
Kasikorn Research Center expects that momentum from the government through the stimulus in different ways will be continued until 2013. This is reflected in the draft budget bill for 2013 that remains similar to year 2012 to 2.4 trillion baht budget with deficit of 300 billion baht. Meanwhile, the global economic situation is still fragile and the inflation level can be controlled. Kasikorn Research Center expects that policy interest rate of the Bank of Thailand will be maintained in the second half of 2012 at 3 percent under the general inflation rate of 3.2 to 3.9 percent. The growth rate for 2012 is possibly able to return to the percentage of growth of 5.0 (YoY) due to the merits of government spending and recovering after flooding as mentioned above. For the economy in 2013, it continues to benefit from the government’s spending plans for the continuation of the project from 2012. Kasikorn Research Center continues to weigh on public sector spending, consumption and investment from the private sector to be a major force in driving economic growth in Thailand into the next phase.
Thailand’s Economic Growth Rate (2004-2015)
ประเด็นเศรษฐกิจที่ตองจับตามอง แม ว า ทิ ศ ทางเศรษฐกิ จ ในระยะข า งหน า จะสามารถพลิ ก ฟ น กลั บ มาได จากปจจัยสงเสริมภายในประเทศ แตดวยประเทศไทยยังคงพึ่งพิงการสงออก เปนหลัก ก็ยังคงตองจับตามองสถานการณของประเทศคูคาที่สำคัญๆ ดวยเชนกัน โดยพัฒนาการของปญหาเศรษฐกิจในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ที่ยังคลุมเครือและการชะลอตัวลงของเศรษฐกิจจีนอาจจะมีสวนฉุดรั้ง
24
Economic Issues
Although the economy in the next period will be able to regain back from domestic promotion factors, the country remains dependent on exports mainly. We still need to keep an eye on the situation of the country’s major trading partners as well. The improvement of economic problems in the U.S. and Europe are still vague while the slowdown of the Chinese economy may have contributed to the stagnant growth of the export sector of Thailand. Yet Kasikorn Research Center continues to make a positive perspective on the integration of the AEC that ASEAN countries should promote trade and investment in the region. The ASEAN countries are considered as the top trading partners of Thailand’s exports, with a share of 23.8 percent of the total exports.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p22-27_Pro3.indd 24
9/25/13 9:24:15 AM
การเติบโตของภาคสงออกไทย อยางไรก็ตาม ศูนยวิจัยกสิกรไทย Foreign Business Investment in Thailand top three industry sectors where foreign investors enter in the country as seen in data ยังคงใหมุมมองเชิงบวกตอการรวมตัวกันของกลุมประเทศ The of the approval of BOI investment promotion projects in 2011 are metal and machinery อาเซียนในกรอบ AEC ที่นาจะสงเสริมการคาและการลงทุน industry (86,158.2 million baht), electrical and electronics industry (61,196.3 million baht) and services industry (38,309.1 million baht), respectively. These industries in Thailand ในภู มิ ภ าคมากขึ้ น ซึ่ ง ประเทศในกลุ ม อาเซี ย นถื อ เป น have great production industry cluster with comprehensive and integrated infrastructure case of machinery, electrical and electronics as well as automotive industry). Thailand คูคาอันดับ 1 ของไทยโดยมีสวนแบงการสงออกรอยละ 23.8 (in is also a special expertise in this industrial group (in the case of the service industry). Most ของการสงออกทั้งหมด investors are from Japan, USA and Singapore, respectively. The target of the investment
ธุรกิจตางชาติที่เขามาลงทุนในประเทศไทย อุ ต สาหกรรมที่ นั ก ลงทุ น ต า งชาติ นิ ย มเข า มาลงทุ น ในประเทศไทยมากที่ สุ ด 3 อั น ดั บ แรกอ า งอิ ง จากข อ มู ล อนุ มั ติ ก ารขอสนั บ สนุ น การส ง เสริ ม การลงทุ น จาก BOI ป 2554 ได แ ก อุ ต สาหกรรมโลหะและเครื่ อ งจั ก ร (86,158.2 ลานบาท) อุตสาหกรรมไฟฟาและเครื่องใชอิเล็กทรอนิกส (61,196.3 ลานบาท) อุตสาหกรรมบริการ (38,309.1 ลานบาท) ตามลำดับ เนื่องจากเปนอุตสาหกรรม ที่ประเทศไทยมีคลัสเตอรการผลิตที่ครอบคลุมพรอมไปดวย ระบบสาธารณูปโภคครบวงจร (กรณีของกลุมเครื่องจักร เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส และอุตสาหกรรมยานยนต) อี ก ทั้ ง ยั ง เป น กลุ ม อุ ต สาหกรรมที่ ไ ทยมี ค วามเชี่ ย วชาญ เปนพิเศษเฉพาะทาง (กรณีของกลุมอุตสาหกรรมบริการ) โดยนั ก ลงทุ น ส ว นใหญ เ ป น นั ก ลงทุ น จากประเทศญี่ ปุ น สหรัฐอเมริกา และสิงคโปร ตามลำดับ ซึ่งจุดหมายในการ ลงทุ น จะกระจุ ก ตั ว อยู ใ นจั ง หวั ด ที่ เ ป น พื้ น ที่ ตั้ ง ของ นิ ค มอุ ต สาหกรรม เช น ระยอง ชลบุ รี หรื อ เขตส ง เสริ ม การลงทุ น เขตที่ 2 ซึ่ ง ประกอบด ว ย 12 จั ง หวั ด ได แ ก กาญจนบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครนายก พระนครศรีอยุธยา ภูเก็ต ระยอง ราชบุรี สมุทรสงคราม สระบุรี สุพรรณบุรี และ อางทอง เปนตน สำหรั บ บริ บ ทของ AEC หรื อ ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย นซึ่ ง จะมี ผ ลบั ง คั บ ใช ใ นป 2558 นั้ น จะช ว ยลด ข อ จำกั ด ด า นภาษี ศุ ล กากรในการเคลื่ อ นย า ยสิ น ค า และ บริ ก ารรวมทั้ ง ข อ จำกั ด ด า นนโยบายในการเคลื่ อ นย า ย แรงงานระหวางประเทศซึ่งศูนยวิจัยกสิกรไทยคาดวาจะ เอื้อประโยชนตออุตสาหกรรมของไทยดังนี้ 1) กลุมกิจการที่จะชวยเสริมสรางรากฐานที่แข็งแกรง ของเศรษฐกิ จ ไทยในระยะยาว เช น โครงสร า งพื้ น ฐาน ระบบโลจิ ส ติ ก ส พลั ง งาน ธุ ร กิ จ บริ ก ารสนั บ สนุ น ภาค อุตสาหกรรมการผลิตเครื่องจักรกลอุตสาหกรรมพื้นฐาน (เหล็ก ปโตรเคมี) เปนตน 2) กลุมกิจการที่เสริมสรางความเขมแข็งของ Value Chain เช น อุ ต สาหกรรมยานยนต แ ละอุ ป กรณ ข นส ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส แ ล ะ เ ค รื่ อ ง ใ ช ไ ฟ ฟ า อุตสาหกรรมสนับสนุน เปนตน
is concentrated in the area of Industrial Estates, e.g. Chonburi, Rayong or the Investment Promotion Zone 2 which consists of 12 provinces e.g. Chonburi, Kanchanaburi, Nakhon Nayok, Chachoengsao, Rayong, Phuket, Ratchaburi, Samut Songkhram, Saraburi,
Intertek is A SQA Audit Provider Accepted By
Our Service • • • • • • • • • •
Agricultural Testing Food Testing Food Inspection Food Certification Food Auditing Food Advisory Food Packaging Testing Food Physical Safety Analysis Food Service Equipment Food Training Service
Valu ue Quality y.
Deliivered. Intertek Industry and Certification Services (Thailand) Limited
539/2 Gypsum Metropolitan Tower, 11C Floor Sri Ayudhya Road, Tanon Phayathai Sub-district, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel.: (66 2) 248 1817 (auto) Fax.: (66 2) 248 5707 (auto) E-mail: weeraya.ponrat@intertek.com website: www.intertek.co.th
FF#91_ad_Moody_Pro3.indd 35
FF#91_p22-27_Pro3.indd 25
Food Focus Thailand 25PM 9/6/13 2:11:06
OCTOBER 2013
9/25/13 9:24:15 AM
Border line market and the opening of Myanmar positively affect the retail and wholesale businesses as well as consuming products.
The plan to build an industrial estate in the west of Thailand is becoming more evident as a result from the flooding disaster in 2011
NE of Thailand should be favorable for energy-related industries.
Currently, the central plains and the eastern area of Thailand are the main bases of appliances and electronics, automotive and parts, and chemical industries. The area is also being a major production sector of Thailand as well.
Ayutthaya, Ang Thong, Suphan Buri and so on. For the context of the ASEAN Economic Community or AEC, to come into effect in 2015, it will reduce tariff restrictions in the movement of goods and services including the policy of labor mobility restrictions among countries. Kasikorn Research Center expects that AEC will benefit the industry of Thailand as follows: 1) The group of businesses that will help build a strong foundation of Thailand’s economy in the long run e.g. infrastructure, logistics system, energy, industrial support services, fundamental machinery manufacturing industrial base (steel, petrochemicals) and so on. 2) The value chain strengthening group such as automotive and transportation equipment industry, electrical and electronic industry, supporting industry etc. 3) Personnel group with the required technical expertise e.g. tourism and hotel industry, beauty salons and spas, hospitals and schools. In addition, industry or business on the border of Thailand such as retailers and wholesalers in Tak province is the point of interest that can support economic activity to occur in Myanmar soon. Meanwhile, more investment industries in the future will turn to the Northeast region (Khon Kaen, Nakhon Ratchasima) and the West (Kanchanaburi, Tak).
Key Success Factor
Interesting area for future investments Current investing area
ที่มา: Source:
• Study of the rules of investment in the country is very critical. Entrepreneurs are necessary to study those regulations carefully in order to have accurate information to make investment decisions. For example in Thailand, the retained earnings that are invested back or reinvested will enjoy privileges when they are concentrated in the expanded projects only. Foreign investors may also need to check that Thailand has made the double taxation agreements with what countries etc. • Thailand investment rules are in favor of the automotive industry investor group. They can invest as large as 100%. This results in the production line of cars and parts in Thailand to become one of the most complete industries in Asia.
ศูนยวิจัยกสิกรไทย รวบรวมและคาดการณ โดยขอมูลจากหนวยงานสถิติของแตละประเทศ ASEAN Secretariat, IMF, UNCTAD (ขอมูลป 2554 ยกเวนระบุ) Kasikorn Research Center, Statistic Dept. of each country, ASEAN Secretariat, IMF, UNCTAD (2011 Data is not included)
3) กลุ ม กิ จ การที่ ต อ งการบุ ค ลากรที่ มี ค วามรู ค วามชำนาญเฉพาะทาง เช น อุตสาหกรรมทองเที่ยวและโรงแรม สถานเสริมความงามและสปา โรงพยาบาลและ สถานศึกษา นอกเหนือจากนี้อุตสาหกรรมหรือธุรกิจบริเวณขอบชายแดนของไทย เชน ค า ปลี ก ค า ส ง บริ เ วณจั ง หวั ด ตาก ก็ ดู เ ป น จุ ด ที่ น า สนใจที่ จ ะสามารถรองรั บ กิ จ กรรม ทางเศรษฐกิ จ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในพม า เร็ ว ๆ นี้ ขณะที่ ท ำเลการลงทุ น ภาคอุ ต สาหกรรม ในอนาคตนาจะเบนทิศไปทางดานตะวันออกเฉียงเหนือ (ขอนแกน นครราชสีมา) และ ภาคตะวันตก (กาญจนบุรี ตาก) มากขึ้น
Key Success Factor • การศึกษากฎระเบียบในการลงทุนในประเทศมีความสำคัญมาก ผูประกอบการ มีความจำเปนตองศึกษาอยางถี่ถวน เพื่อจะไดมีขอมูลที่ถูกตองเพื่อใชในการตัดสินใจ ลงทุ น เช น ในประเทศไทย การนำกำไรสะสมกลั บ มาลงทุ น หรื อ Reinvestment Allowance จะไดรับสิทธิประโยชนเมื่อนำมาลงทุนในโครงการขยายเทานั้น หรืออาจจะตอง ตรวจสอบวาประเทศไทยไดทำอนุสัญญาภาษีซอน (Double Taxation Agreement) กับประเทศใดบาง เปนตน 26
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p22-27_Pro3.indd 26
9/25/13 9:27:06 AM
• กฎระเบียบการลงทุนในไทยเอื้อประโยชนให กลุมผูลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนตสามารถลงทุน ได 100% สงผลใหไลนการผลิตรถยนตและชิ้นสวน ในไทยคอนขางสมบูรณที่สุดแหงหนึ่งในเอเชีย
ปจจัยเสี่ยงพึงระวัง • การขาดแคลนแรงงาน รวมทั้ ง ต น ทุ น และ ค า แรงขั้ น ต่ ำ ของประเทศไทยปรั บ ตั ว ขึ้ น สู ร ะดั บ สู ง และจะแตะ 300 บาทต อ หั ว ทั้ ง ประเทศภายใน ป 2556 สงผลตอภาวะตลาดแรงงานตึงตัวในประเทศ • เสถี ย รภาพทางด า นการเมื อ งเป น ป จ จั ย ที่ ควรตระหนัก เนื่องจากมีผลตอทิศทางของนโยบาย ภาครัฐในระยะยาว • ประเทศไทยถูกขึ้นบัญชีเปน 1 ใน 5 ประเทศ ที่ตองเฝาระวังในการทำธุรกรรมทางการเงิน ยังคงตอง จับตามองทาทีของภาครัฐในการเรงผลักดันกฎหมาย ฟอกเงิน • การจั ด ตั้ ง นิ ค มอุ ต สาหกรรมใหม จ ำเป น ตองผานการจัดทำรายงานการวิเคราะหผลกระทบ สิ่งแวดลอม (EIA) รายงานการวิเคราะหผลกระทบ ทางสุขภาพ (HIA) ซึ่งอาจใชเวลาและความเปนไปได ที่โครงการจะไมผานการประเมิน
assessment (EIA) and the health impact assessment (HIA) reports. This may sometimes have possibility that the project in question will not be approved.
Do You Know?
Prohibited businesses for foreign investor are • Newspaper • Farming • Livestocking • Forestry and wood processing • Herbal extraction • Making of Buddha images, statues and monk’s alms bowl • Tobacco and cards production
Do You Know? กิ จ การที่ รั ฐ บาลไทยห า มนั ก ลงทุ น ต า งชาติ เ ข า ไป ลงทุน ไดแก • การทำกิจการหนังสือพิมพ • การทำนา ทำไร ทำสวน • การเลี้ยงสัตว • การทำปาไมและการแปรรูปไมจากปาธรรมชาติ • การสกัดสมุนไพร • การทำหรือหลอพระพุทธรูปและการทำบาตร • การผลิตไพและบุหรี่
Risk Factors
• Labor shortages including cost and Thailand’s minimum wage rise to high levels and the wage will reach 300 baht per capita in the country by 2013. This will affect as the tight labor market in the country. • Political stability is a factor to be reckoned with since it influences the direction of government policy in the long run. • Thailand has been listed as one of the five countries to monitor the financial transactions. Investors still need to keep an eye on the attitude of the Thai government in boosting the anti-money laundering law. • The establishment of a new industrial estate is required to prepare the environmental impact Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p22-27_Pro3.indd 27
FF#91_ad_Krones_Pro3.indd 2
27
9/25/13 9/6/13 9:24:18 2:03:54 AM PM
SPECIAL FOCUS
Veggie ç
By: Robin Wyers Innova Market Insights
is on the Rise
เทรนดอาหารมังสวิรัติ..มาแรงเติบโตตอเนื่อง ∫√√¥“μ≈“¥‡π◊È Õ — μ «å · ≈–º≈‘ μ ¿— ≥ ±å ‡ π◊È Õ — μ «å ‚¥¬‡©æ“–Õ¬à “ ߬‘Ë ß „π∑«’ ª ¬ÿ ‚ √ª μâ Õ ß —Ë π –‡∑◊ Õ π°— ∫ ∂“π°“√≥å ¢à “ «©“«∑’Ë ‡ √’ ¬ °«à “ ŒÕ√å ‡°μ (Horsegate) „π™à«ßÀ≈“¬‡¥◊Õπ∑’˺à“π¡“ Õ—π‡π◊ËÕß¡“®“° °“√§âπæ∫∑’Ë«à“ º≈‘μ¿—≥±å‡π◊ÈÕ —μ«å‰¡à∑√“∫®”π«π·πà™—¥∑’˧«“¡®√‘ß·≈â« §«√∑”®“°‡π◊È Õ «— « ·μà ° ≈— ∫ ª√“°Ø«à “ º≈‘ μ ¿— ≥ ±å ¥— ß °≈à “ «¡’ ‡ π◊È Õ ¡â “ ‡®◊ Õ ªπÕ¬Ÿà „ π√–¥— ∫ ¡“°∂÷ ß √â Õ ¬≈– 100 ´÷Ë ß °“√μÕ∫ πÕ߇∫◊È Õ ßμâ π ‚¥¬ºŸâ ∫ √‘ ‚ ¿§μà Õ «‘ ° ƒμ¥— ß °≈à “ «§◊ Õ ‡√‘Ë ¡ ªØ‘ ‡ ∏º≈‘ μ ¿— ≥ ±å ‡ π◊È Õ — μ «å ∑’Ë ºà “ π°√–∫«π°“√º≈‘ μ ´÷Ë ß √«¡‰ª∂÷ ß Õ“À“√æ√â Õ ¡√— ∫ ª√–∑“π ·≈–„π∫“ß°√≥’ À ¡“¬∂÷ ß °“√À≈’ ° ‡≈’Ë ¬ ߺ≈‘ μ ¿— ≥ ±å ‡ π◊È Õ — μ «å ∫ √√®ÿ ”‡√Á®∑—ÈßÀ¡¥ ºŸâ∫√‘‚¿§À≈“¬√“¬μà“ß´◊ÈÕ‡π◊ÈÕ —μ«å®“°√â“π„°≈â∫â“π ¢Õßμπ¡“°¢÷Èπ‡æ√“–‡ÀÁπ«à“¡’§«“¡πà“‡™◊ËÕ∂◊Õ¡“°°«à“
28 28
The meat and meat products market, particularly in Europe, has been rocked by the ‘Horsegate’ scandal in recent months upon the discovery that an unknown number of supposedly beef-based products contain up to 100% horse meat. Initial response was a move away from some processed meat products such as ready meals and also in some instances from packaged meat as a whole, with many consumers turning back to their local butcher as a more reliable source.
Fo Foo F Food oo ood o od o d Focus Fo Foc F oc o cuss Thailand Th hai ha hail aiiilland a ail an an nd d
OC O OCTOBER CTO TOBE OB BEER 2013 20013 20 13 13
R1_FF#91_p28_Pro3.indd Sec1:28
9/26/13 12:38:41 AM
องรอดู กั น ต อ ไปว า ความเชื่ อ ใจของผู บ ริ โ ภคจะฟ น คื น มาได หรือไม และตลาดจะไดรับผลกระทบเชนไรในระยะยาว อยางไรก็ตาม วิ ก ฤตการณ ล า สุ ด ในตลาดเนื้ อ สั ต ว ไ ด แ สดงให เ ห็ น ถึ ง ป ญ หาต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น โรควั ว บ า ในเนื้ อ วั ว และเชื้ อ แบคที เ รี ย ที่ ท ำให เ กิ ด โรคทางเดิ น อาหารที่ เ รี ย กกว า เชื้ อ ซั ล โมเนลลา ซึ่ ง ส ง ผล ต อ การบริ โ ภคเนื้ อ ตั้ ง แต ใ นอดี ต ที่ ผ า นมา รวมไปถึ ง การเปลี่ ย นแปลง ระยะยาวในรู ป แบบอุ ป สงค ข องความต อ งการเนื้ อ วั ว ทั่ ว โลก ซึ่ ง ทำให การบริโภคตอหัวมีแนวโนมพุงสูงขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา และเปนไปตาม ความมั่งคั่งที่เพิ่มขึ้น แตในสวนที่วานี้ในบางประเทศที่พัฒนาแลวกลับมี ความคงตัวหรือแมกระทั่งลดกำลังลง สิ่งเหลานี้เปนการสะทอนใหเห็นถึง ความสัมพันธที่ซับซอนระหวางเศรษฐศาสตร วัฒนธรรม และทัศนคติของ ผูบริโภคตอเรื่องสุขภาพและความยั่งยืน หากมองกลับไปกอนที่ขาวฉาวดังกลาวจะปะทุขึ้น สถานการณตลาด เมื่อปลายป 2555 คอนขางดี และแมวาจะมีปญหาตางๆ เกิดขึ้นในหลายๆ ตลาด แต ผ ลิ ต ภาพของผลิ ต ภั ณ ฑ เ นื้ อ วั ว และสั ต ว ป ก รวมถึ ง อาหารพร อ มรั บ ประทานดู จ ะเคลื่ อ นตั ว ไปเรื่ อ ยๆ และไม ห ยุ ด ตอบสนองต อ อุปสงคที่มีเขามาอยางตอเนื่องในรูปแบบของอาหารพรอมรับประทาน สำหรั บ ผู บ ริ โ ภคที่ ม ข อ จำกั ด เรื่ อ งเวลามากขึ้ น เรื่ อ ยๆ Innova Market Insights ได ท ำการบั น ทึ ก ตั ว เลขของผลิ ต ภั ณ ฑ เ นื้ อ สั ต ว แ ละสั ต ว ป ก
I
t remains to be seen whether consumer trust can be restored and how the market will be affected in the longer term, but this latest crisis in the meat market overlays a history of problems such as BSE in beef and Salmonella in chickens that has influenced consumption levels in the past, as well as a longer-term change in global meat demand patterns, whereby per capita consumption is tending to rise in developing economies in line with greater affluence and be more static or even declining in some of the developed economies, reflecting a complex relationship between economics, culture and consumer attitudes to issues such as health and sustainability. Looking back to before the scandal erupted, the situation at the end of 2012 was fairly positive and despite difficulties in some parts of the market, product activity in meat and poultry products and ready meals seemed to be continuing relatively unabated in the face of continuing demand for convenient meal solutions among increasingly time-pressed consumers. Innova Market Insights recorded static launch numbers in the meat products, meat substitutes and poultry market globally in 2012, although within that the share of meat substitutes increased to 10% from less than 9% in 2011 and from 7.6% five years previously, largely at the expense of red meat products, as poultry products also increased their share slightly over that timeframe.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p28-34_Pro3.indd 29
29
9/25/13 9:36:09 AM
และผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตวจากทั่วโลกในป 2555 พบวาสัดสวนมูลคา ของผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตวเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 10 จากที่มูลคาเดิมนอยกวา รอยละ 9 ในป 2554 และจากเดิมที่รอยละ 7.6 เมื่อ 5 ปกอนหนา สวนมาก มาจากผลกระทบด า นลบต อ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ นื้ อ แดง ซึ่ ง ในขณะเดี ย วกั น ผลิตภัณฑสัตวปกก็มีสัดสวนเพิ่มขึ้นเล็กนอยเชนกัน เชนเดียวกันนั้น ในป 2555 ผลิตภัณฑอาหารพรอมรับประทานรวมถึง ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ เ ป น เนื้ อ สั ต ว ก็ ใ ช ว า จะต า งจากป 2554 และ 2553 เพราะอุ ต สาหกรรมอาหารตอบสนองอย า งต อ เนื่ อ งต อ อุ ป สงค ความตองการในการเลือกอาหารพรอมรับประทานที่งายตอการปรุงโดยใช เครื่องปรุงหรือสวนประกอบเพียงไมกี่ชนิด ดวยเหตุนี้จึงเกิดทางเลือกตางๆ ในแงของความสะดวกมากขึ้นและกอใหเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑใหมๆ และการเติบโตของตลาดอาหารพรอมรับประทานและอาหารสำเร็จรูปตางๆ อยางไรก็ตาม ในภาคสวนผลิตภัณฑเนื้อกลับใหความสนใจมากขึ้น ในการลดการใช เ นื้ อ สั ต ว ใ นอาหารพร อ มรั บ ประทานในหลายตลาด โดยเฉพาะประเทศที่ พั ฒ นาแล ว อนึ่ ง แม ว า ผลิ ต ภั ณ ฑ ม ากมายใน กลุ ม อาหารพร อ มรั บ ประทานจะเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากธรรมชาติ โดยเฉพาะข า ว พาสตา สลัด และผลิตภัณฑที่ปราศจากเนื้อสัตว แตก็ยังมุงเนนกลุมผูบริโภค มังสวิรัติ โดยมีคาตัวเลขประมาณรอยละ 9 ของการเปดตัวผลิตภัณฑ ทั่วโลกในป 2555 อยางไรก็ตามสถานการณจะตางกันไปตามแตละประเทศ และชนิดของผลิตภัณฑ อยางเชนในทวีปเอเชียที่ซึ่งผูบริโภคมีความสนใจ ตออาหารมังสวิรัติอยางมาก โดยทั่วไปนั้นมีมูลคาตลาดเพิ่มขึ้นสูงกวารอยละ 10 สวนในยุโรปตะวันตกมีคาใกลเคียงรอยละ 10 ซึ่งมีสาเหตุมาจากการที่ ชาวยุโรปตะวันตกหันมาสนใจในเรื่องสุขภาพและสวัสดิภาพของสัตวมากขึ้น จึงมีความตองการลดการบริโภคเนื้อสัตว ดังนั้นแมหลายประเทศในทวี ป ยุโรปจะมีระดับความเปนมังสวิรัติที่คงตัว แตอุปสงคตอทางเลือกอาหาร มั ง สวิ รั ติ ที่ ป ราศจากเนื้ อ สั ต ว ก็ เ พิ่ ม สู ง ขึ้ น มี อ าหารมั ง สวิ รั ติ ใ นรู ป แบบ อาหารพรอมรับประทานและอาหารสำเร็จรูปมากมายเปนทางเลือกให ผูบริโภค หรือไมก็มีความเปนมังสวิรัติในระดับตางๆ กันไป แตก็มีหลักฐาน วาผูบริโภคมีความสนใจอาหารมังสวิรัติเพิ่มขึ้นเชนกัน โดยเฉพาะในยุโรป ตะวันตก 30
Likewise, 2012 global product activity in ready meals, including meat-based lines, was at a not dissimilar level to that in 2011 and 2010 as the food industry continued to respond to the ongoing demand for meal solutions that are ready prepared or easy to construct from a limited range of ingredients, offering a wide range of convenience options that have driven new product development and market growth in ready meals and other prepared foods. As in the meat products sector, however, there is apparently a rising level of interest in reducing meat intake in ready meals in many markets, particularly in the developed economies. Although many products in the global prepared meals sector are naturally vegetable-based and meat-free, particularly rice, pasta and salads, a significant number are also specifically positioned on a vegetarian platform, equivalent to about 9% of global launches in 2012. This does vary markedly by country and type of product, rising to over 10% in Asia on the one hand, where there is a traditionally high interest in vegetarian food and to nearly 10% in Western Europe on the other, where interest in health and animal welfare has resulted in a rise in interest in reducing meat consumption. Thus, despite relatively static levels of vegetarianism in many European countries, demand for vegetarian and meat-free options is rising. Many ready meals and prepared foods ranges now include vegetarian options or have vegetarian sub-ranges, but there has also been some evidence of rising levels of interest in specialist vegetarian ranges, especially in Western Europe. Introductions in 2012 included a frozen pasta-based vegetarian meals range from Frosta in Germany and the extension of UK retailer Morrison’s M Kitchen own-label chilled meals range with a 19-strong vegetarian sub-range, designed to offer an alternative to what it calls ‘bland’ supermarket veggie fare. The UK has proved a particularly strong market for vegetarian and meat-free options in ready meals, including frozen, chilled and ambient meals, from a range of different types of suppliers, including specialist vegetarian and more mainstream, frozen, chilled and ambient foods companies. A number of new meat-free brands have arrived on the market in recent months, including the frozen Veggie Day vegetable-protein-based range from MondaySwiss, already available on the German market, and chilled Meet the Alternative from MFA Foods, part of poultry supplier Meadow Vale Foods. Both are setting up to challenge the market-leading Quorn mycoprotein-based meat-free brand, which currently dominates the UK market and has also been developing its international presence in recent years. The Linda McCartney meat-free range, now owned by Hain Celestial, has also been developing its range, extending from its existing frozen lines into the chilled market in the UK at the beginning of 2013.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p28-34_Pro3.indd 30
9/25/13 9:36:10 AM
ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารที่ เ ป ด ตั ว ในป 2555 ที่ ผ า นมา ได แ ก อาหารประเภทมั ง สวิ รั ติ แ บบพาสต า แช แ ข็ ง ตั้งแตฟรอสตา (Frosta) ในเยอรมนี และเอ็มคิชเชน ของ มอริสัน (Morrison’s M Kitchen) อาหารเย็นจากสหราชอาณาจักรที่มีใหเลือกถึง 19 ชนิด และหลากหลายรสชาติ เพื่ อ เป น การตอบโต ต อ ตลาดอาหารมั ง สวิ รั ติ ที่ ถู ก ตราว า เป น ตลาดอาหารอั น จื ด ชื ด สหราชอาณาจั ก รเป น ตลาด ที่แข็งแกรงสำหรับอาหารมังสวิรัติและอาหารที่ปราศจาก เนื้อสัตว ซึ่งรวมถึงอาหารแชแข็ง อาหารแชเย็น และอาหาร ที่วางบนชั้นทั่วไป และในหลายเดือนที่ผานมา ผลิตภัณฑใหมๆ จากหลายๆ แบรนดที่ปราศจากเนื้อสัตวก็ไดเขามาในตลาด เพิ่ ม ขึ้ น มี ทั้ ง อาหารโปรตี น ผั ก แช แ ข็ ง แบรนด เวจจี้ เดย (Veggie Day) จาก มันเดยสวิส (MondaySwiss) ซึ่งมีขาย ทั่ ว ไปอยู แ ล ว ในตลาดเยอรมั น และอาหารเย็ น แบรนด มีท ดิ อัลเทอรเนทีฟ (Meet the Alternative) จาก เอ็มเอฟเอ ฟูดส (MFA Foods) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ มีโดว วัล ฟูดส (Meadow Vale Foods) ทั้งสองบริษัทขางตนกำลังแขงขันกับผูนำตลาดแบรนด คอร น (Quorn) ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ราศจากเนื้ อ สั ต ว ที่ ผ ลิ ต จาก ไมโคโปรตีน (Mycoprotein) ซึ่งปจจุบันกำลังเปนผูนำตลาด ในสหราชอาณาจั ก ร และในหลายป ที่ ผ า นมาก็ ก ำลั ง พยายามตีตลาดตางประเทศอยู ผลิตภัณฑอาหารแบรนด ลิ น ดา แม็ ก คาร ต นี ย (Linda McCartney) ที่ ท าง เฮน เซเลสเชี่ยล (Hain Celestial) เปนเจาของก็กำลังพัฒนา สายการผลิตอยู โดยขยายจากอาหารแชแข็งที่มีอยูในปจจุบัน สูตลาดอาหารแชเย็นในสหราชอาณาจักร เมื่อตนป 2556 ที่ผานมา ผลิ ต ภั ณ ฑ แ บรนด ค อร น มี ก ารเปลี่ ย นมื อ เจ า ของใหม ในป 2554 จากเดิมภายใต พรีเมียร ฟูดส (Premier Foods) ไปเปน เอกซโปเนนท ไปรเวท แอนด อินเตอรมีเดียต แคปตอล กรุป (Exponent Private Equity and Intermediate Capital Group) หลั ง จากนั้ น คอร น ได ล งทุ น อย า งหนั ก ทั้ ง ใน ผลิตภัณฑใหมๆ และการจัดโปรโมชันตางๆ มีการใชเงิน ทางการตลาดในสหราชอาณาจักรในป 2555 ถึง 7 พันลานปอนด
SURPASS FOOD INDUSTRY EXPECTATIONS Enhancing processes, systems and skills is fundamental to your ongoing success and sustained growth. We help you continuously improve, transforming your services and value chain by increasing performance, safety, quality and sustainability and managing risks. Our experts also support you in developing talent, so that you can make the most of every opportunity to further excellence. Visit www.sgs.com/foodsafety. SGS IS THE WORLD’S LEADING INSPECTION, VERIFICATION, TESTING AND CERTIFICATION COMPANY
For more information:
SGS (Thailand) Limited Systems & Services Certification Tel. (66 2) 678-1813 ext. 6 Fax. (66 2) 678-1508 (66 2) 678-0620-1 E-mail: ssc.thailand@sgs.com Website: www.sgs.co.th
FF#91_ad SGS_Pro3.indd 27
R1_FF#91_p28-34_Pro3.indd 31
Food Focus Thailand 31 9/24/13 OCTOBER 2013 3:33:11 PM
9/26/13 12:08:58 AM
ไปกับการโฆษณาทางทีวี ซึ่งเปนที่นาสนใจเพราะคอรนไดมุงเนนถึงประเด็น การควบคุมการใชไขมันมากกวาการรณรงคอาหารที่ปราศจากเนื้อสัตว ความหลากหลายของผลิ ต ภั ณ ฑ ก็ มี เ พิ่ ม มากขึ้ น อย า งเห็ น ได ชั ด มี ก าร เป ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม ใ นป 2555 ซึ่ ง รวมไปถึ ง อาหารสำเร็ จ รู ป แช เ ย็ น (Chilled pot meals) ที่มีกลุมเปาหมายคือ อาหารเที่ยง และอาหารเกรดสูง แบรนด ย อ ยที่ เ รี ย กว า เชพส เ ซเล็ ก ชั่ น (Chef’s Selection) ตลอดจน อาหารพร อ มรั บ ประทาน ซิ ม พลี แ อ ด ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารปรุ ง สุ ก ด ว ย เตาไมโครเวฟ (Simply Add microwave products) ได แ ก พาสต า พรอมน้ำปรุงรสอาราเบียตา (Arrabiata) และสวนผสมโบโลยา (Bolognese) ผลิ ต ภั ณ ฑ ข องคอร น ยั ง มี จ ำหน า ยในประเทศอื่ น ๆ ในยุ โ รปและ กลุ ม ประเทศสแกนดิ เ นเวี ย รวมทั้ ง ในสหรั ฐ อเมริ ก าและออสเตรเลี ย แตดูจะมีความหลากหลายของรูปแบบใหเลือกนอยกวาในบานตนเองและ มั ก เป น อาหารประเภทไส ก รอกและน้ ำ ราดเสี ย มากกว า แต ก็ มี อ าหาร พรอมรับประทานบางประปราย ผลิตภัณฑของคอรนมีการเปดตัวในตลาด ประเทศนิวซีแลนดในป 2556 ดวยเชนกัน โดยมีการทำกิจกรรมในชวง 2 เดือนแรก รวมถึงคอรนลันฌพอตส (Quorn Lunch nch Pots) คอรนเปปเปอรสเต็ก (Quorn Pepper Steak)) ในประเทศเบลเยียม และคอรนกริลลคอรฟ หรือ ไสกรอกยาง (Quorn Grillkory) ในสวีเดน ข า ม ผ า น ม ห า ส มุ ท ร แ อ ต แ ล น ติ ก ไ ป ยั ง สหรั ฐ อเมริ ก า คอร น มี จ ำหน า ยมาตั้ ง แต ป 25455 และยังคงเดินหนาสรางเครือขายการจำหนายตอไปป ในป 2555 สหรั ฐ อเมริ ก าเป น ประเทศแรกก
32 32
Our task must be to free ourselves . . . by widening our circle of compassion to embrace all living creatures and the whole of nature and its beauty. Nothing will benefit human health and increase chances of survival for life on earth as much as the evolution to a vegetarian diet.” Albert Einstein The Quorn brand went into new ownership in 2011, when it was sold by Premier Foods to Exponent Private Equity and Intermediate Capital Group. It has since been investing heavily in new products and promotional activity, including a GBP7m marketing spend in 2012 in its home market of the UK, including a TV advertising campaign, interestingly focusing more on controlling fat intake than its meat-free status. The range of products has extended significantly, with 2012 introductions including a range rang of chilled pot meals targeted at the lunchtime market and a new Chef’s Selection sub-range of premium meals. Launche Launches in 2013 have already included Lamb Style Strips, Mince & Potato Pies, a ready-to-eat Pasty, Best of British Sausa Sausages under the Chef’s Selection sub-brand and a range of Simply S Add microwave products in pouches for combining with pasta, including Arrabiata Sauce and Bolognese variants. vari Quorn products are als also available across a number of o other European and Scandinavian m markets, as well as in the US a and Australia, but the range ttends to be more limited and llargely confined to sausages a and coated products, with fewer rready meals in evidence. It was a also introduced into New Zealand iin 2013. Activity recorded by IInnova Market Insights for the ffirst two months of 2013 included Q Quorn Lunch Pots and Quorn P Pepper Steaks in Belgium and Q Quorn Grillkorv (sausages for g grilling) in Sweden.
Foo Foo Food ood o od Focus o Foc F ocuss Thailand Th hai ha aililla a and an nd n d
OCTO OC OCTOBER TOB BEER 2013 20133 20
FF#91_p28-34_Pro3.indd 32
9/25/13 9:36:12 AM
ที่ ค อร น พยายามแนะนำผลิ ต ภั ณ ฑ มั ง สวิ รั ต ด ว ยเบอร เ กอร มั ง สวิ รั ติ ที่ปราศจากไข มีการพัฒนาบรรจุภัณฑใหมใหกับผลิตภัณฑตางๆ เพื่องาย ตอการอานและมีรูปโฉมที่สะอาดสวยงาม มีการเพิ่มความหลากหลายใน ชวงกลางปดวยเมนูผลิตภัณฑไกเสฉวนกงเบา ลูกชิ้นสปาเก็ตตี้ปราศจาก เนื้อสัตว เมนูชิลลี่ชิกเกนแอนดโทเมโทโรสตคอรนซาลซาเบอริโต เมนูชิปโปเลไลมชิกเกนแอนดบีนเบอริโต ซึ่งทั้งหมดเปนผลิตภัณฑธรรมชาติ ไขมันและ แคลอรีต่ำ ที่สำคัญปราศจากเนื้อสัตว คอร น ต อ งสู ศึ ก ในสหรั ฐ อเมริ ก าเพื่ อ ให ไ ด ม าซึ่ ง ส ว นแบ ง การตลาด ที่แยงมาจากตลาดอาหารถั่วเหลืองซึ่งเปนตลาดอาหารปราศจากเนื้อสัตว เช น กั น จากข อ มู ล ของ โซยาเทค (Soyatech) ในป 2554 ผลิ ต ภั ณ ฑ ถั่ ว เหลื อ งที่ ป ราศจากเนื้ อ สั ต ว เ หล า นั้ น มี ย อดขายในสหรั ฐ อเมริ ก ากว า 660 ลานเหรียญสหรัฐ เพิ่มขึ้นรอยละ 2 ในแตละป ผลิตภัณฑอาหารแช แ ข็ ง มี สั ด ส ว นเป น ร อ ยละ 86 ของอาหารประเภทนี้ ชี้ ใ ห เ ห็ น ถึ ง ความนิยมที่ตอเนื่องในสหรัฐอเมริกาที่มีตอผลิตภัณฑอาหารแชแข็งมากกวา ผลิตภัณฑอาหารแชเย็นโดยรวม ยิ่งกวานั้นผลิตภัณฑอาหารแชแข็งเติบโต คื บ หน า มากกว า บรรดาอาหารประเภทถั่ ว เหลื อ งแช เ ย็ น ในช ว งหนึ่ ง ป ดังกลาว ชองวางระหวางผลิตภัณฑสองประเภทนี้จึงมีมากขึ้น บริ ษั ท ในเครื อ เคลล็ อ ก (Kellogg) ชื่ อ มอร นิ่ ง สตาร ฟาร ม ส (Morningstar Farms) เป น ผู ผ ลิ ต อาหารมั ง สวิ รั ติ ร ายใหญ ที่ สุ ด ใน สหรัฐอเมริกา เคลล็อกยังเปนเจาของแบรนดดังอาหารมังสวิรัติอีกหนึ่งแบรนด “การเดนเบอรเกอร” ผลิตภัณฑเบอรเกอรมังสวิรัติ อาหารประเภทมังสวิรัติ และอาหารที่ปราศจากเนื้อสัตว นอกจากนี้ มอรนิ่งสตาร ฟารมสไดมีการขยาย ผลงานในชวงปลายป 2555 ดวยอาหารแชแข็งชนิดใหมอีกสองเมนูดวยกัน คื อ ชิ ก พี เ บอร เ กอร และลาซานญ า โรย ผงไส ก รอกในสไตล เมดิ เ ตอร เ รเนี ย น
Over the Atlantic in the US, where Quorn has been available since 2002, it is continuing to build distribution. The US was the launch platform for its first vegan product in 2012, with the introduction of its egg-free Vegan Burger. The range was also repackaged during the year to offer a more modern. easy-toread and clean look, and extended with new entrees mid year with the launch of Kung Pao Chik’n, Spaghetti & Meatless Meatballs, Chili, Chik’n & Tomato Roasted Corn Salsa Burrito and Chipotle Lime Chik’n & Bean Burrito, described as all natural, low in fat and calories and meat-free. Quorn has a battle on its hands in the US to take share from the more established soy-based meat-free market. Soy-based meat alternatives had sales of over USD660m in 2011, according to Soyatech, up 2% year-on-year. Frozen products accounted for 86% of the category, reflecting the ongoing US preference for frozen over chilled products in the food market as a whole. Frozen products also grew ahead of chilled lines in soy-based meat alternatives over the year, increasing the gap between the two product types.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p28-34_Pro3.indd 33
33
9/25/13 9:36:14 AM
นอกจากนั้น ในสหรัฐอเมริกาผลิตภัณฑมังสวิรัติหลายตอหลายแบรนดที่สำคัญ ในตลาดก็มีการใชสวนประกอบที่หลากหลาย เชน ถั่วเหลือง ขาวสาลี และ ผักนานาชนิด อยางเชน ผลิตภัณฑแบรนดโบกา (Boca) การดีน (Gardein) เอมี่ (Amy’s) และโทเฟอรกี้ (Tofurky) เปนตน สำหรับคอรนที่อยูในตลาดตั้งแตชวงกลางทศวรรษที่ 80 ตามคริสตศักราช และบริ ษั ท ฯ ก็ ไ ด ท ำงานอย า งหนั ก เพื่ อ สร า งฐานะทางการตลาดของตน ผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตวชนิดใหมๆ ยังคงมีออกมาตอไปและมีการเตรียม พรอมสูศึกในระยะยาว เชน ผลิตภัณฑกลุมนมแบรนดวาเลส (Valess) ที่เปดตัว ในกลุมผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตวก็ไดเปดตัวในตลาดเนเธอรแลนดโดยบริษัท ฟรีสแลนด แคมปนา (Friesland Campina) ในป 2548 และตอมาไดมีการ เปดตัวในตลาดอื่นๆ ในยุโรป เชน สวิสเซอรแลนด เบลเยียม และ เยอรมนี ผลิตภัณฑเหลานี้ถูกผลิตจากโปรตีน นม และเสนใยจากผักพรอมเครื่องปรุงรส ซึ่งปจจุบันมีผลิตภัณฑเนื้อปลาทอดชุบเกล็ดขนมปงแบบดั้งเดิม (Breaded and fried filets) และผลิตภัณฑที่ไมใชขนมปงสำหรับการปรุงและการทอด ตลาดในกลุมทวีปอเมริกาเหนือมีลักษณะรวมเขาสูศูนยกลาง ระดับกิจกรรม ของผลิ ต ภั ณ ฑ ใ หม ๆ จึ ง จำกั ด เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกั บ ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ โดยเฉพาะ ทวีปยุโรปซึ่งมีความหลากหลายในจำนวนของประเทศและชนิดของอาหารพื้นเมือง ในทวีปยุโรปมีการสงเสริมกิจกรรมของผลิตภัณฑในระดับที่สูง สำหรับในภาคสวน ของผลิ ต ภั ณ ฑ เ นื้ อ สั ต ว อย า งเช น ผลิ ต ภั ณ ฑ ท ดแทนเนื้ อ สั ต ว แ ละอาหาร ประเภทสั ต ว ป ก ทวี ป ยุ โ รปยั ง เป น ผู น ำในการเป ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ร อ ยละ 55 จากโดยรวมทั้ ง หมด นำหน า ทวี ป เอเชี ย ซึ่ ง ตามหลั ง อยู ที่ ร อ ยละ 21 ทวีปอเมริกาเหนือรอยละ 10 และลาตินอเมริการอยละ 7 อยางไรก็ตาม หากเจาะจงที่ผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตว จากรายงานของ Innova Market Insights ในป 2555 ทวีปเอเชียมีบทบาทสำคัญในการเปดตัว ผลิตภัณฑมากถึงรอยละ 41 สะทอนถึงความตองการอาหารเพื่อสุขภาพของ ชาวเอเชียที่บริโภคเนื้อสัตวนอยแตเนนการบริโภคผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตว ในระดับสูง เชน ถั่วเหลือง และถึงแมวาความนิยมผลิตภัณฑปราศจากเนื้อสัตว ของทวีปยุโรปจะเพิ่มสูงขึ้น การเปดตัวผลิตภัณฑโดยบริษัทตางๆ ที่เกี่ยวของ ยั ง คงมี อ ยู อ ย า งจำกั ด ในยุ โ รปและภู มิ ภ าคใกล เ คี ย งประมาณน อ ยกว า ร อ ยละ 43 ของการทำการเป ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ราศจากเนื้ อ สั ต ว ใ นป 2555 ตามหลั ง การทำการเป ด ตั ว ผลิ ต ภั ณ ฑ เ นื้ อ สั ต ว ผลิ ต ภั ณ ฑ สั ต ว ป ก และ ผลิตภัณฑทดแทนเนื้อสัตวโดยรวมมีสัดสวนรอยละ 55 ในขณะที่ สวนแบงการตลาดในดานการเปดตัวผลิตภัณฑเนื้อสัตว อยางเดียวพุงสูงขึ้นเกินรอยละ 61 แสดงถึงระดับ ความสนใจที่ มี อ ยู สู ง อย า งต อ เนื่ อ งของการ บริโภคเนื้อสัตวในภูมิภาคแหงนี้
34
Kellogg’s subsidiary Morningstar Farms is the largest vegetarian food producer in the US, and Kellogg also owns another major vegetarian brand with its Gardenburger vegetarian, vegan and meat-free range. Morningstar Farms extended its portfolio at the end of 2012 with a frozen Mediterranean Chickpea Burger and two new frozen entrees – Three Bean Chili with Grillers Crumbles and Lasagna with Sausage-Style Crumbles. There are also a large number of other significant vegetarian brands in the US that use a variety of ingredients, including soya, wheat and a range of vegetables. These include brands such as Boca, Gardein, Amy’s and Tofurky. Quorn has been on the market since the mid 1980s and has worked hard to establish its position. New types of meat substitute are still appearing and taking on a similar long-term battle. These include the dairy-based Valess meat substitute introduced onto the Dutch market by Friesland Campina in 2005 and subsequently launched in a number of other European markets, including Switzerland, Belgium and Germany. The range, made with milk protein with added vegetable fibre and seasonings, now consists of the original breaded and fried filets, as well as unbreaded products for cooking and frying. Because of the relatively concentrated nature of the North American market, levels of new product activity are relatively limited in comparison with other regions, particularly Europe, where the wide range of countries and cuisines normally ensures a relatively high level of new product activity. In the meat products, meat substitutes and poultry sector for example, Europe had a leading 55% of launches overall, ahead of Asia with 21%, North America with 10% and Latin America with 7%. Looking more specifically at meat substitutes, however, Asia plays a dominant role with nearly 41% of the launches recorded by Innova Market Insights in 2012, reflecting the traditional relative lack of meat in the diet and the high levels of consumption of meat alternatives such as soy. Despite the growing popularity of meat-free products, launches of meat substitutes remain relatively limited in much of Europe and the region accounted for less than 43% of meat substitute launches in 2012, well behind its overall 55% share in meat and poultry products and meat substitutes introductions, while its share in meat product introductions alone rises to over 61%, showing the traditional and ongoing high levels of interest in the meat consumption in the region.
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p28-34_Pro3.indd 34
9/25/13 9:36:15 AM
By: Mr. Thomas Schmidt
SPECIAL FOCUS
Managing Director (Interim) BENEO Asia-Pacific Pte Ltd
Why Rice is Nice:
Dairy Alternatives for the Lactose-intolerant
ทางเลือกทดแทนสำหรับผูแพนมวัว
สถานการณผูแพนมวัวและน้ำตาลแลกโทสในประเทศไทย ª√–‡∑»‰∑¬º≈‘μπÈ”π¡¥‘∫‰¥â°«à“ 770,000 μ—πμàÕªï ‚¥¬π”‰ª ·ª√√Ÿª‡ªìππ¡æ√âÕ¡¥◊Ë¡ª√–¡“≥√âÕ¬≈– 95›97 ¢Õߪ√‘¡“≥ º≈º≈‘ μ ∑—È ß À¡¥ ·≈–Õ’ ° √â Õ ¬≈– 3›5 𔉪·ª√√Ÿ ª ‡ªì π ™’ À√◊ Õ ‡π¬·¢Áß ª√–‡∑»‰∑¬¬—ßπ”‡¢â“º≈‘μ¿—≥±åÕ◊ËπÊ ‚¥¬‡©æ“–π¡ºß ‚¥¬„πªï 2549 π”‡¢â“π¡ºß§‘¥‡ªìπ¡Ÿ≈§à“ 7.961 ≈â“π∫“∑ (230 ≈â “ π‡À√’ ¬ ≠ À√— ∞ ) „πª√‘ ¡ “≥ 95,053 μ— π (·∫à ß ‡ªì π π¡ºß 2.426 ≈â“π∫“∑ ·≈–π¡ºßæ√àÕß¡—π‡π¬ 5.535 ≈â“π∫“∑)1 ®“° μ—«‡≈¢¥—ß°≈à“«‡ªìπ∑’Ëπà“ª√–À≈“¥„®«à“·¡âºŸâ∫√‘‚¿§„πª√–‡∑»‰∑¬ π‘ ¬ ¡¥◊Ë ¡ π¡ ·μà °Á æ ∫º≈°“√»÷ ° …“„π∑“ßμ√ß°— π ¢â “ ¡∑’Ë · ¥ß „Àâ ‡ ÀÁ π «à “ √à “ ß°“¬¢Õߧπ‰∑¬·≈–§π‡Õ‡™’ ¬ μ–«— π ÕÕ°‡©’ ¬ ß„μâ à«π„À≠ଗ߉¡à “¡“√∂¬àÕ¬π¡«—«‰¥â¥’π—°
Dairy and Lactose-intolerance in Thailand Latest figures show that the total amount of raw milk production in Thailand was some 770,000 tonnes per annum. About 95–97 percent of this production was processed for drinking milk, and the remaining 3–5 percent processed for cheese. Thailand also imports other milk products, especially milk powder, which in 2006 was valued at 7.961 million baht (US$230 million) for a volume of 95,053 tonnes (2.426 million baht for whole milk powder and 5.535 million baht for skimmed milk powder)1. It may come as a surprise then, to learn that the nation’s penchant for dairy contradicts studies that suggest that the majority of Thais and South-East Asians lack the genetic ability to process dairy products.
Fo F Food ood d Focus F uss Thailand Foc T Thail hailand hail and nd d
OCTO OC OCTOBER TOBE B R 2013 BE 201 0133
FF#91_p35-37_Pro3.indd 35
355
9/25/13 2:34:55 PM
ร
างกายของผูบริโภคบางกลุมไมสามารถยอยน้ำตาลแลกโทสได เนื่องจาก ร า งกายไม ส ามารถสร า งเอนไซม แ ลกเทสซึ่ ง จำเป น ต อ การย อ ยน้ ำ ตาลแลกโทสในนมวั ว ได อ ย า งเพี ย งพอ ทั้ ง นี้ ระดั บ ความรุ น แรงของอาการ จะแตกตางกันไปขึ้นอยูกับปริมาณของเอนไซมแลกเทสที่รางกายของแตละคน จะสามารถสรางขึ้นวามีมาก (หรือนอย) เพียงใด ลักษณะอาการโดยทั่วไป ไดแก ทองอืดและเปนตะคริว มีกรดในทอง ทองเสีย เปนตน โดยในประเทศไทยมีผูที่ ขาดเอนไซมแลกเทสมากถึงรอยละ 97 ของประชากรไทยทั้งหมด2
เทรนดผลิตภัณฑอาหารปราศจากนมวัวของทั่วโลกและประเทศไทย จากการที่ ป ระเทศไทยมี ป ระชากรจำนวนมากมี อ าการแพ น มวั ว จึ ง ส ง ผลให ผลิ ต ภั ณ ฑ น มจากพื ช เป น อี ก หนึ่ ง ทางเลื อ กที่ มี ศั ก ยภาพในการเติ บ โตอย า งมี นัยสำคัญ อาทิ ถั่วเหลือง ขาว อัลมอนด และผลิตภัณฑจากขาวโอต โดยเปนอีกหนึ่ง ภาคอุตสาหกรรมที่เกิดขึ้นใหมทั้งภายในประเทศและระดับภูมิภาค จากผลการวิจัยของกลุม Organic Monitor ระบุวา ตลาดของเครื่องดื่มที่ไมได ผลิตจากนมวัวในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตนั้นมีการขยายตัวในระดับที่ดี โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง ผลิ ต ภั ณ ฑ น มถั่ ว เหลื อ งมี ก ารเติ บ โตมากที่ สุ ด 3 การขยายตั ว ดังกลาวถูกขับเคลื่อนโดยผูผลิตและความตองการบริโภคนมถั่วเหลืองเพื่อเปน นมทางเลื อ กที่ เ พิ่ ม ขึ้ น นอกจากนี้ ค นไทยยั ง มี ค วามคุ น เคยกั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ จ าก ถั่วเหลือง เชน เตาหู ซึ่งเปนที่รูจักกันมาอยางยาวนานอีกดวย ในประเทศสหรัฐอเมริกา ยอดจำหนายผลิตภัณฑที่ปราศจากนมวัวนับเปนกลุม ที่เติบโตมากที่สุดในบรรดากลุมเครื่องดื่มนม โดยในป 2554 ยอดจำหนายปลีกของ ผลิตภัณฑนมอื่นๆ รวมทั้งผลิตภัณฑนมทางเลือก เชน นมถั่วเหลือง นมอัลมอนด นมขาว และนมจากพืชอื่นๆ มีมูลคาถึง 1.39 พันลานเหรียญสหรัฐ4 ถึงแมวาจะมี นวัตกรรมที่สามารถผลิตสินคาใหมๆ แนะนำเขาสูภาคอาหารและเครื่องดื่มของ สหรัฐอเมริกา เชน ชีส โยเกิรต ครีม ไขมันตางๆ รวมถึงผลิตภัณฑที่มีความเฉพาะเจาะจงมากขึ้น เชน ขนมหวานชนิดตางๆ และขนมขบเคี้ยวที่ปราศจากแลกโทส แต ผลิตภัณฑนมทางเลือกก็ยังเปนผลิตภัณฑที่มีวางขายมากที่สุดในตลาด เหตุผลหนึ่ง อาจเปนเพราะผูบริโภคตองการใหมีผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มที่หลากหลายขึ้น
แนวทางการประยุกตใชสารผสมอาหารจากขาว5 ผู บ ริ โ ภคเริ่ ม หั น มาบริ โ ภคผลิ ต ภั ณ ฑ ป ราศจากนมวั ว ในมื้ อ อาหารประจำวั น กันมากขึ้น ซึ่งเปนกุญแจสำคัญทำใหผลิตภัณฑนมทางเลือกขยายตัวเพิ่มขึ้น ใน ปจจุบันผลิตภัณฑสวนผสมอาหารจากขาว5 สามารถนำมาประยุกตใชในการผลิต ผลิตภัณฑที่ปราศจากนมวัวไดหลากหลายชนิด โดยผลิตภัณฑสวนผสมอาหาร จากข า วนี้ เ ป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ม าจากธรรมชาติ ได แ ก น้ ำ เชื่ อ มข า ว น้ ำ มั น รำข า ว แปงขาว สตารชขาว และโปรตีนขาว (ซึ่งเปนแหลงโปรตีนที่เทียบเทาโปรตีนจากนมแม) ซึ่งผลิตภัณฑเหลานี้ปราศจากสารกลูเตนและน้ำตาลแลกโทส อีกทั้งประกอบดวย กรดไขมันไมอิ่มตัว วิตามิน และสารตานอนุมูลอิสระ ในขณะเดียวกัน เนื่องจากเปน ผลิตภัณฑจากพืชจึงปราศจากคอเลสเทอรอล และสามารถถูกยอยไดงาย ซึ่งเปน ขอไดเปรียบที่โดดเดนของอาหารปราศจากนมวัว เหมาะสำหรับผูบริโภคที่มีปญหา ในระบบการยอยและกังวลในเรื่องภูมิแพ ผลิ ต ภั ณ ฑ ส ว นผสมอาหารจากข า ว 5 สามารถนำมาประยุ ก ต ใ ช ร ว มกั บ กระบวนการผลิตเดิม โดยไมตองลงทุนอุปกรณใหม โดยตองมั่นใจวาอุปกรณที่ใชใน กระบวนการผลิตผานการทำความสะอาดมาอยางดี ปราศจากสารกอภูมิแพ ซึ่งเปน ประเด็นที่ผูผลิตผลิตภัณฑจากนมวัวตองใหความสำคัญหากตองการขยายการผลิต ผลิตภัณฑทางเลือกทดแทนนมวัว 36
L
actose-intolerant people are those whose bodies produce insufficient quantities of the enzyme lactase, which is needed to digest the milk sugar, lactose. The severity of the condition varies according to how much (or how little) lactase an individual is capable of producing. Common symptoms may include abdominal bloating and cramps, flatulence, diarrhoea, etc. In Thailand, it is thought that as many as 97 percent of the Thai population are lactase deficient2.
Dairy-free Global Trends and Thailand Considering that lactose-intolerance is so prominent in Thailand’s indigenous population, the growth potential for vegetal dairy alternatives, such as soy, rice, almond, and oat products, is significant, and it is an emerging sector within the local and regional food manufacturing industry. According to research group Organic Monitor, the South-East Asian market for non-dairy drinks in particular is reporting healthy growth, with most growth occurring in the soy milk segment3. Market growth is being driven by the marketing efforts of manufacturers and the growing popularity of soy milk as a dairy milk alternative. The fact that Thai consumers are also traditionally very familiar with soy products, such as bean curd, also plays a role. In the US, where dairy-free sales are strongest in dairy drinks, total retail sales of “other” milk products including dairy-alternatives, such as soy milk, almond milk, rice milk and other plant milk still reached some US$1.39 billion in 20114. It is product innovation though, that drives the introduction of lactose-free products into America’s other food and beverage segments, such as cheese, yoghurts, cream, fats and increasingly niche products – desserts, confectionery and snacking products, dairy alternatives are showing the highest number of product launches. One reason might be the growing consumers’ call for more varied food and drinks in this segment.
Simple Application with Rice-based Ingredients5 With more and more people starting to adopt dairy-free products as part of their daily diet, dairy alternatives are a key potential growth market. Today, there is rice-based ingredients5 range which allows different kinds of non-dairy products. It is made up of natural components, namely rice syrup, rice oil, rice flour, rice starch and rice protein (the best alternative to mother’s milk proteins) – derivatives that are naturally free of both gluten and lactose. It also provides unsaturated fatty acids, vitamins and antioxidants. At the same time, as a vegetable product, it is cholesterol-free. Rice is highly digestible, which is a definite advantage in a dairy-free market largely fuelled by consumers’ digestive and allergy concerns. Rice-based ingredients5 can be easily incorporated into the production process without any additional investments in new equipment. Providing that equipment is thoroughly cleaned of all traces of other products prior to use, allergen-free-grade production is guaranteed. This is of particular interest to dairy manufacturers interested in expanding its product portfolio towards dairy alternatives.
Lactose-free, Cholesterol-free, but not Texture-free Used to improve texture and contribute to a dairy-alternative product’s creaminess in a wide range of food applications, Ricebased ingredients5 has specific technical properties in improving the delicate textures of dairy-free products. In contrast to the strong taste of soy, a commonly used dairy alternative, Rice-based ingredients5
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p35-37_Pro3.indd 36
9/25/13 2:34:55 PM
ปราศจากแลกโทส และคอเลสเทอรอล… แตไมปราศจากรสชาติ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ส ว น ผ ส ม อ า ห า ร จ า ก ข า ว 5 มี คุ ณ สมบั ติ ช ว ยปรั บ ปรุ ง ลั ก ษณะเนื้ อ สั ม ผั ส ของ ผลิตภัณฑปราศจากนมวัว โดยใหลักษณะเนื้อครีมแกผลิตภัณฑ ผลิตภัณฑส ว นผสมอาหารจากข า ว 5 มี ร สชาติ ที่ เ ป น กลาง ซึ่ ง ตรงข า มกั บ ถั่ ว เหลื อ งที่ มี กลิ่นรสคอนขางแรง และดวยความหวานออนๆ คลายกับนมผง ทำใหผลิตภัณฑสวนผสมอาหารจากขาว5 ในรูปแบบผงเหมาะกับการนำไปใชในผลิตภัณฑ ของหวานที่ปราศจากนมวัว ครีมเบเกอรี่ เชน คัสตารด ไอศกรีม และช็อกโกแลต หรือแมแตอาหารที่มีสวนผสมซับซอนอยางเชน มูส ก็สามารถทำไดโดยไมตอง ผสมผงเจลาตินเพิ่มลงไป ผลิตภัณฑสวนผสมอาหารจากขาว5 เปนสวนผสมของขาวที่มีความเขมขน สามารถนำมาใชในการผลิตน้ำนมขาวที่ขาวบริสุทธิ์ นุม คงตัว และใหรสสัมผัส ของเนื้ อ ครี ม เนื่ อ งจากรสชาติ เ ป น กลาง และมี โ ครงสร า งเป น เจลนุ ม จึ ง ให ลักษณะของเนื้อไดเต็มที่ มีความเปนเนื้อครีม อันเปนคุณสมบัติที่จำเปนของ ผลิตภัณฑอาหารทดแทนนมวัว
จับตามองผลิตภัณฑอาหารปราศจากนมวัว แมวาตลาดผลิตภัณฑอาหารทางเลือกทดแทนนมวัวของประเทศไทยอยูในชวง เริ่มตน แตความนิยมในผลิตภัณฑประเภทนี้จะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ สังเกตไดจาก ความนิยมในตลาดของประเทศที่พัฒนาแลว กลุมเปาหมายมิใชเพียงผูทาน มังสวิรัติและผูแพนมวัวเทานั้น แตยังมีกลุมผูบริโภคที่กังวลเกี่ยวกับฮอรโมนและ สารปฏิชีวนะที่ใชการเลี้ยงวัวนม ซึ่งเปนประเด็นที่สงผลใหตลาดขยายตัวมากขึ้น นอกจากนี้ การตระหนักถึงประโยชนของอาหารทางเลือกทดแทนนมวัว เชน ถั่วเหลือง มีเพิ่มมากขึ้น ผูบริโภคชาวไทยใสใจสุขภาพโดยหันมารับประทาน อาหารปราศจากนมวัว (รวมถึงอาหารปราศจากกลูเตน) เพื่อจุดประสงคในดาน การลดน้ำหนัก ลดระดับคอเลสเทอรอล และปองกันโรคเรื้อรังตางๆ ผูบริโภคใหความสนใจผลิตภัณฑอาหารปราศจากนมวัวเพิ่มขึ้น และคาดหวัง ในเรื่ อ งความหลากหลายและรสชาติ ส ง ผลให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ส ว นผสมอาหารจากขาว5 มีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากมีคุณสมบัติที่หลากหลาย ผลิตจากพืช ไมมี สารกอภูมิแพ ประยุกตใชไดงายทั้งในรูปแบบผงและเขมขน สามารถใชกับ ผลิ ต ภั ณ ฑ ป ราศจากนมวั ว รวมทั้ ง เครื่ อ งดื่ ม มู ส ไอศกรี ม และขนมหวาน ผูเชี่ยวชาญดานการผลิตอาหารในประเทศไทยคาดการณวาผูบริโภคจะมีความตองการเพิ่มขึ้น โดยสารผสมอาหารที่สามารถตอบโจทยดังกลาว เชน ผลิตภัณฑสวนผสมอาหารจากขาว5 จะเติบโตขึ้นดวยเชนกัน
has a very neutral taste. With a similar mild sweetness to milk powder, its powder form is an ideal replacement in whipped, non-dairy desserts, bakery creams - such as custards, ice-creams and chocolate. Even complex structures, such as mousses, can be achieved without the addition of gelatin or gelatin equivalents. Rice-based ingredients5 is a rice concentrate that enables the creation of rice milk that is perfectly white, smooth, stable and has a creamy mouth-feel. Due to its neutral taste, and short but soft gel structure, it mimics a full-bodied, creamy mouth-feel – the ideal textural characteristics in dairy alternatives.
Dairy-free Products Gaining Momentum Although the Thai dairy-alternatives market is still an emerging one, lessons can be learnt from the vastly increasing popularity of dairy-free products in developed markets. Vegans, vegetarians, and people with dairy-related intolerances are not the only target audience. Consumers concerned about the hormones and antibiotics associated with dairy farming processes are also growing market segments. Furthermore, as awareness of the benefits of dairy alternatives such as soy increases, health-conscious Thai consumers are also turning to a dairy-free diet (often coupled with gluten-free) as a way to shed pounds, lower cholesterol and prevent chronic diseases. With growing consumer interest in the non-dairy sector and high expectations regarding variety and taste, rice-based, dairy alternatives, such as rice-based ingredients5 range, are gaining in importance. Due to its versatility, the vegetal, non-allergen rice-based ingredients5 range of easy-to-use powders and concentrates can be used in non-dairy products, including drinks, mousses, ice creams and confectionery. Savvy food producers in Thailand, anticipating increased consumer demand, can explore the possibilities presented by ingredients, such as rice-based ingredients5, for a dairy-free market in Thailand that is well-positioned to mature.
ขอมูลเพิ่มเติม/Additional Information 1 Chungsiriwat, Pensri and Panapol, Vipawan. 2007. ‘Thailand: An Industry Shaped by Government Support’ Department of Livestock Development, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok http://www.fao.org/ docrep/011/i0588e/I0588E10.html 2 Keusch et al (accessed 2013) American Journal of Clinical Nutrition ‘Lactase Deficiency in Thailand: Effect of Prolonged Lactase Feeding’ http://ajcn.nutrition.org/content/22/5/638.full.pdf 3 Organic Monitor ‘Soya Milk Driving Growth of Non-Dairy Drink Markets’ http://www.organicmonitor.com/520150.htm 4 Nutraceuticals World. 2012. Dairy Alternative Beverages in the US http://www.nutraceuticalsworld.com/issues/2012-04/view_market-research/ dairy-alternative-beverages-in-the-us/ 5 Nutriz, rice-based ingredients by BENEO is available in both powder and liquid grades. It is able to cater to a wide variety of potential applications in dairy-free products. Nutriz ผลิตภัณฑสวนผสมอาหารจากขาว จาก BENEO มีทั้งรูปแบบผงและน้ำ สามารถนำมาประยุกตใชในการผลิตผลิตภัณฑปราศจากนมวัวไดหลากหลาย
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p35-37_Pro3.indd 37
37
9/25/13 2:34:55 PM
SMART PRODUCTION â´Â: ºÃÔÉÑ· àÁ·àÅ‹Íà -â·àÅâ´ (»ÃÐà·Èä·Â) ¨Ó¡Ñ´ MT-TH.CustomerSupport@mt.com
Easy Manual
Classification Increases Efficiency and Throughput
การคัดแยกประเภทสินคาโดยอาศัยน้ำหนักที่งาย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ „πÕÿ μ “À°√√¡Õ“À“√ °“√§— ¥ ·¬°ª√–‡¿∑ ‘ π §â “ À√◊ Õ «— μ ∂ÿ ¥‘ ∫ ∂◊ Õ ‡ªì π ¢—ÈπμÕπ∑’Ë ”§—≠¢—ÈπμÕπÀπ÷Ëß„π°√–∫«π°“√º≈‘μ ‚¥¬ à«π„À≠à‡√“¡—°®– æ∫‡ÀÁπ°“√π”‡Õ“°“√™—ËßπÈ”Àπ—°¡“„™â‡ªìπ‡°≥±å„π°“√§—¥·¬° ‡π◊ËÕß®“° ‡ªìπ«‘∏’∑’Ëßà“¬ –¥«° ·≈–√«¥‡√Á«
ธี ก ารคั ด แยกอาจสามารถดำเนิ น การได 2 รู ป แบบ คื อ ใช เ ครื่ อ งตรวจสอบน้ำหนักบนสายพานอัตโนมัติ หรือใชพนักงานชั่งน้ำหนัก คัดแยกแบบแมนนวล ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมของสินคาและ สภาพแวดลอมในสายการผลิต สำหรับรูปแบบที่พบในโรงงานอุตสาหกรรม ประเภทเนื้อสัตว อาหารทะเล ผักผลไม ในประเทศไทยสวนใหญมักเลือกใช วิธีใหพนักงานคัดแยกแบบแมนนวล
38
ในการปฏิบัติงานจริง พนักงานคัดแยกจะตองทำงานซ้ำๆ ตอเนื่องกัน เปนเวลาหลายชั่วโมง นอกจากนี้ การทำงานยังตองมีความรวดเร็วและ เชื่อถือได ในขั้นตอนนี้ผูปฏิบัติงานจะถูกกดดันดานเวลาและความถูกตอง ในการคั ด แยก ซึ่ ง อาจส ง ผลให ก ารคั ด แยกเกิ ด ความผิ ด พลาด และ ยังอาจมีผลตอกระบวนการผลิตหรือการรองเรียนจากลูกคา เทคโนโลยีเครื่องชั่งรุนใหมๆ ในตลาดทุกวันนี้จะชวยทำใหการคัดแยก งายดายและรวดเร็วมากขึ้น ดวยความสามารถที่หลากหลาย ไมวาจะเปน การบันทึกชื่อสินคาและน้ำหนักเปาหมาย หนาจอแสดงผลขนาดใหญ ที่ เ ปลี่ ย นสี ไ ด ต ามแต ล ะช ว งน้ ำ หนั ก ของสิ น ค า ที่ น ำมาวางบนเครื่ อ งชั่ ง โดยหนาจอจะเปลี่ยนจากสีฟาเปนสีเหลืองเมื่อคาน้ำหนักสูงกวาเกณฑ ที่ยอมรับได เปลี่ยนเปนสีเขียวเมื่ออยูในเกณฑที่ยอมรับได หรือเปลี่ยนเปน สีแดงเมื่อต่ำกวาเกณฑที่ยอมรับได ผูปฏิบัติงานจึงสามารถแยกหมวดหมู ไดอยางรวดเร็ว ซึ่งนั่นไมเพียงเพิ่มความสะดวกใหผูปฏิบัติงานเทานั้น แตยังเพิ่มความเร็วในการปฏิบัติงานไดมากถึงรอยละ 25 (รูปที่ 1) นอกจากนี้ เครื่องชั่งที่มีฟงกชันการเก็บบันทึกผลการชั่งกำลังไดรับ ความนิยมเพิ่มมากขึ้น เครื่องชั่งประเภทนี้จะสามารถเก็บบันทึกขอมูล การชั่ ง ได โ ดยอั ต โนมั ติ แ ละยั ง สามารถแสดงข อ มู ล ย อ นหลั ง ได เช น รหัสพนักงาน ชื่อสินคา จำนวนครั้งที่ชั่ง หรือน้ำหนักรวมตอวัน เปนตน
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p38-39_Pro3.indd 38
9/25/13 11:01:28 AM
รูปที่ 2 ระบบการ Track and Trace ผลการชั่งน้ำหนัก
รูปที่ 1 หนาจอแสดงผลการชั่งน้ำหนักที่เปลี่ยนสี เปนสีเหลือง สีเขียว หรือสีแดง
จึงสามารถนำขอมูลตางๆ เหลานี้ไปใชประโยชนไดอยาง หลากหลาย เชน การคิดคาแรงพนักงานตามการทำงานจริง สรุปปริมาณสินคาคงคลัง การคำนวณผลผลิต (Productivity) และ Yield จากการผลิต เปนตน ยิ่งไปกวานั้น ขอมูลตางๆ ที่สำคัญไมจำเปนตองเก็บ บันทึกบนแผนกระดาษอีกตอไป เพราะสามารถเก็บบันทึก ใหอยูในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสได โดยการนำขอมูลเขาสู ระบบคอมพิวเตอรหรือระบบซอฟตแวร Manufacturing Execution Systems (MES) หรือ Enterprise Resource Planning (ERP) ผาน LAN, Wifi หรือใช USB Memory Stick ซึ่ ง ช ว ยให ก ารทำรายงานหรื อ การวิ เ คราะห ต า งๆ ไมใชเรื่องยุงยากและซับซอนอีกตอไป ดั ง นั้ น เราสามารถใช เ ทคโนโลยี ใ หม ข องเครื่ อ งชั่ ง ตางๆ ที่กลาวมา ชวยทำใหการทำงานของพนักงานในสวน คั ด แยกสิ น ค า ง า ยและรวดเร็ ว ขึ้ น ทำให ค วามเครี ย ด ของพนักงานลดลง สงผลใหความผิดพลาดในการทำงาน ลดลงอีกดวย และยังชวยเพิ่มความเร็วในการปฏิบัติงาน ได ม ากถึง ร อ ยละ 25 นอกจากนี้ ยั ง สามารถเก็ บ บัน ทึ ก การชั่งยอนหลังในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส และเชื่อมตอกับ ระบบคอมพิ ว เตอร ไ ด ห ลากหลายวิ ธี ทำให ก ารเรี ย ก ตรวจสอบข อ มู ล ย อ นกลั บ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวดเร็ ว และ มีความนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
*<! =G3Ċ"+< :+E"")?55: =& Ċ/*/<0/ + =L)=#+82" :+ č + : F+ :!$AĊ$-< (:*G Ċ): + :! ISO 9001:2008 E-8 ISO/IEC 17025
FF#86_ad_Metter_Pro3.indd 57
R1_FF#91_p38-39_Pro3.indd 39
Food Focus Thailand 6/25/13 11:55:0439 AM
OCTOBER 2013
9/26/13 12:30:45 AM
STRATEGIC R&D
โดย: คุณชญานี จันทรัตน Technical Sales Representative Specialties Division บริษัท เบอรลี่ ยุคเกอร จำกัด (มหาชน) ChayaneC@bjc.co.th
Health Care Concept อาหารวัตถุประสงคพิเศษสำหรับผูปวยเบาหวาน
¬ÿ§ ¡—¬∑’ˇª≈’Ë¬π‰ª «‘∂’™’«‘μ∑’ˇμÁ¡‰ª¥â«¬§«“¡‡√àß√’∫ ∑”„À⧫“¡‡ªìπÕ¬Ÿà¢ÕߺŸâ§π„π¬ÿ§ªí®®ÿ∫—π·μ°μà“߉ª®“°‡¥‘¡ Õ“À“√ª√–‡¿∑ Fast food ‡¢â“¡“·∑π∑’ËÕ“À“√·∫∫‰∑¬Ê ∑’ËÕÿ¥¡‰ª¥â«¬§ÿ≥§à“∑“ß‚¿™π“°“√ ºŸâ§π≈◊¡„ à„®„π ÿ¢¿“æ ¢“¥°“√ÕÕ°°”≈—ß°“¬ ∑”„À⺟â§π „π¬ÿ§ ¡—¬π’È¡—°‰¥â¢Õß·∂¡‡ªìπ‚√§μà“ßÊ ¡“·∫∫‰¡à‰¥âμ—Èß„® Àπ÷Ëß„π‚√§Œ‘μ∑’Ëæ∫°—π¡“°°Á§◊Õ ‚√§‡∫“À«“π ´÷Ëß®—¥Õ¬Ÿà„πÕ—π¥—∫∑’Ë 5 ¢Õß‚√§∑’Ëæ∫¡“°„π§π‰∑¬ „πªï æ.». 2551 › 2552 §π‰∑¬ªÉ«¬‡ªìπ‚√§‡∫“À«“π√âÕ¬≈– 6.9 À√◊Õª√–¡“≥ 3.5 ≈â“π§π ‚¥¬æ∫ „π‡æ»À≠‘ß¡“°°«à“‡æ»™“¬ ·≈–§“¥°“√≥å«à“„πªï æ.». 2568 ®–æ∫ºŸâªÉ«¬∂÷ß 4.7 ≈â“π§π ‡ ’¬™’«‘쇩≈’ˬªï≈– 52,800 §π
40
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p40-41_Pro3.indd 40
9/26/13 12:40:31 AM
โ
รคเบาหวานเปนความผิดปกติของรางกายที่มีการผลิตฮอรโมนอินซูลิน ไม เ พี ย งพอ หรื อ ร า งกายไม ส ามารถนำน้ ำ ตาลไปใช ง านได อ ย า ง มีประสิทธิภาพ สงผลใหระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงเกินมาตรฐาน หากไม ไ ด รั บ การรั ก ษาอย า งเหมาะสม เมื่ อ น้ ำ ตาลในกระแสเลื อ ดมาก จะทำใหเลือดมีความเขมขนและหนืดมากขึ้น หัวใจทำงานหนักขึ้น หลอดเลือด รับแรงดันมากขึ้น กอใหเกิดโรคแทรกซอนตามมา โรคเบาหวานสามารถแบงออกไดเปน 2 ชนิด ไดแก โรคเบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากภูมิตานทานของรางกายทำลายเซลล ซึ่งสรางอินซูลินในสวนของตับออนทำใหรางกายหยุดสรางอินซูลิน หรือสราง ไดนอยมาก สวนใหญเกิดจากพันธุกรรม การรักษาจะใชการฉีดยาอินซูลิน โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เซลลของผูปวยยังคงมีการสรางอินซูลินแตทำงาน ไมปกติเนื่องจากมีภาวะดื้ออินซูลิน ทำใหเซลลที่สรางอินซูลินคอยๆ ถูกทำลาย ไปเป น เบาหวาน ส ว นใหญ เ กิ ด จากภาวะน้ ำ หนั ก เกิ น และอ ว น จากการ มี พ ฤติ ก รรมการบริ โ ภคที่ ไ ม เ หมาะสม การใช ชี วิ ต ประจำวั น โดยขาดการเคลื่อนไหวรางกาย ซึ่งมีโอกาสหายไดโดยไมตองรับประทานยาตลอดชีวิต ด ว ยเหตุ นี้ เ องจึ ง ทำให นั ก วิ จั ย ต า งพากั น คิ ด ค น อาหารสำหรั บ ผู ป ว ย โรคเบาหวานขึ้น ซึ่งหนึ่งในสวนผสมอาหาร (Food ingredient) ที่ถูกนำมาใช ก็คือ Medium-Chain Triglycerides (MCT) ดังนั้นเรามาเริ่มทำความรูจักกับ MCT ดังนี้ Medium-Chain Triglycerides คือ ไขมันที่ประกอบดวยไตรกลีเซอไรด สายโซ ข นาดกลาง มี ค วามยาวของโซ ค าร บ อนประมาณ 8-10 ตั ว เมื่อเทียบกับไขมันสวนมากที่ประกอบดวยไตรกลีเซอไรดสายโซขนาดยาว (Long-Chain Triglycerides; LCT) ซึ่งมีความยาวของโซคารบอนประมาณ 16-18 ตัว ขนาดของโมเลกุลของไขมันมีความสำคัญมาก เพราะรางกายของ เราจะแปรรู ป และเปลี่ ย นให เ ป น พลั ง งานในกระบวนการเมทาบอลิ ซึ ม (Metabolism) แตกตางกันตามขนาดของโมเลกุล แหลงที่อุดมไปดวย MCT คือ น้ำมันปาลม (Palm kernel oil) และน้ำมันมะพราว (Coconut oil) ปกติรางกายของคนเราจะมีการดูดซึมไขมันที่รับประทานเขาไป โดยผาน ทางทอน้ำเหลืองไปที่หัวใจแลวจึงจะมาสูตับ แตสำหรับ MCT เนื่องจากมี ขนาดโมเลกุลเล็ก จึงสามารถดูดซึมไปกับหลอดเลือด (Portal vein) เขาสูตับ ไดโดยตรง
รูปที่ 1 กลไกการยอยและลำเลียงไขมัน เปรียบเทียบประสิทธิภาพการดูดซึมระหวาง MCT และ LCT พบวา MCT ถูกดูดซึมไดอยางมีประสิทธิภาพมากกวา จึงสามารถใหพลังงานไดเร็วกวา LCT
ตรงจุดนี้ทำใหรางกายเราสามารถใชพลังงานจากไขมัน MCT นี้ ไดเร็วกวา LCT ดังนั้นจึงทำให MCT ถูกนำมาใชในอาหารสำหรับผูปวย เบาหวาน ซึ่งชวยลดอาการออนเพลีย ความอยากอาหารได ในขณะที่ LCT จะทำใหอวน สันดาปไดชา ทำใหเฉื่อยชา จึงไมถูกนำมาใชใน อาหารสำหรับผูปวยเบาหวาน แตทั้งนี้ MCT จะไมเหมาะสมสำหรับ ผูปวยที่อยูในภาวะคีโตซีส (Ketosis/Acidosis) ซึ่งผูปวยจะเกิดภาวะ ระดับน้ำตาลสูง ภาวะกรดในเลือด และมีการคั่งของคีโตนในเลือด MCT ชวยเพิ่มกระบวนการเมทาบอลิซึม เนื่องจาก MCT เปนไขมัน ที่มีขนาดโมเลกุลเล็กกวาไขมันชนิดอื่น ดังนั้น ไขมันจึงถูกยอยไดอยาง รวดเร็ว จนทำใหเปลี่ยนไปเปนแหลงของพลังงานไดทันทีมากกวาที่จะ นำไปสะสมเปนอาหารสำรองในรูปของไขมันที่ไปสะสมในสวนตางๆ ของรางกาย เพราะวา MCT ถูกใชโดยรางกายเปนแหลงของเชื้อเพลิง เพื่ อ ผลิ ต พลั ง งาน ดั ง นั้ น MCT จึ ง มี ผ ลในการเพิ่ ม กระบวนการ เมทาบอลิซึม นอกจากนี้ MCT ยังถูกนำมาใชในอาหารสำหรับผูปวยที่ไมสามารถ ยอย LCT ดวย เนื่องจาก MCT ถูกยอยและสามารถดูดซึมจากลำไสเขา สูตับไดโดยตรง ไมตองอาศัยเอนไซม Pancreatic lipase และเกลือน้ำดี (Bile salt) ดังนั้น MCT จึงถูกนำไปใชกับผูปวยที่ไมสามารถยอย LCT ได ไดแก ผูปวยที่มีภาวะผิดปกติของเกลือน้ำดี และผูปวยที่มีภาวะการดูดซึม ผิดปกติเนื่องมาจากการทำงานของตับบกพรอง โดยสามารถผสม MCT ลงในน้ำผลไม นม หรือผสมลงไปในอาหารที่ใหผูปวยในแตละมื้อ นอกเหนื อ จากการนำมาใช ใ นอาหารสำหรั บ ผู ป ว ยแล ว MCT ยังสามารถนำมาใชเปนสวนผสมอาหารในอาหารประเภทอื่นไดดวย ซึ่งใหประโยชนที่แตกตางกันออกไป ดังนี้ • ใชเปน Carrier ในกลิ่นผสมอาหาร (Flavor) • ใชเปน Clouding agent คือ ชวยใหเกิดความขุน เหมาะสำหรับ ผลิตภัณฑน้ำผลไมและเครื่องดื่มทั่วไป • ใชเปน Anti-sticking agent เพื่อปองกันการเกาะกันเปนกอน เหมาะสำหรับผลิตภัณฑประเภท Confectionery เชน ลูกอม ลูกกวาด เยลลี่ เปนตน จากคุณสมบัติและประโยชนของ MCT ดังที่ไดกลาวมาแลวขางตน MCT จึงเปนไขมันที่มีความเหมาะสมในการนำมาใชเปนอาหารสำหรับ ผูปวยเบาหวานกันอยางแพรหลายในยุคปจจุบัน เอกสารอางอิง http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000076992 http://en.wikipedia.org/wiki/Medium-chain_triglyceride DuPont Nutrition and Health Technical Paper Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p40-41_Pro3.indd 41
41
9/26/13 12:42:31 AM
STRATEGIC R&D เรียบเรียงโดย: พิมพชนก กนกลาวัณย Senior Journalist นิตยสาร ฟูด โฟกัส ไทยแลนด ka.pimchanok@foodfocusthailand.com
Heart Care… Food for Heart Disease çÕ“À“√ ”À√— ∫ºŸâªÉ«¬‚√§À—«„® μâÕß®”°—¥°“√∫√‘‚¿§Õ“À“√∑’Ë¡’‰¢¡—π ‡≈◊Õ°∫√‘‚¿§Õ“À“√‚ª√μ’π‰¢¡—πμË” √—∫ª√–∑“πº—° ç ·≈–º≈‰¡â ‡≈◊Õ°√—∫ª√–∑“π∏—≠æ◊™ ·≈–∫√‘‚¿§Õ“À“√„πª√‘¡“≥∑’ˇÀ¡“– ¡°—∫°“√„™âæ≈—ßß“π„π·μà≈–«—πé
42
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p42-45_Pro3.indd 42
9/25/13 1:31:08 PM
อ
าหารที่ มี วั ต ถุ ป ระสงค พิ เ ศษ หมายถึ ง อาหารที่ ผ ลิ ต ขึ้ น โดยมี กรรมวิธี สูตร หรือสวนประกอบเฉพาะ เพื่อใชตามความตองการ พิ เ ศษ อั น เนื่ อ งมาจากสภาวะทางฟ สิ ก ส หรื อ สรี ร วิ ท ยา หรื อ ความเจ็บปวย ความผิดปกติของรางกาย โดยมีลักษณะ รูปรางหรือชนิด และปริมาณของสวนประกอบแตกตางไปจากอาหารชนิดเดียวกันที่ใชโดย ปกติอยางเห็นไดชัด โดยอาหารที่มีวัตถุประสงคพิเศษ แบงออกเปน 1. อาหารที่ ใ ช ส ำหรั บ ผู ป ว ยเฉพาะโรค เช น อาหารสำหรั บ ผู ป ว ย โรคหัวใจ หรือผูที่มีสภาพผิดปกติทางรางกาย 2. อาหารที่ ใ ช ส ำหรั บ บุ ค คลผู มี วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการบริ โ ภคอาหาร เปนพิเศษ เชน อาหารสำหรับผูที่ตองการควบคุมน้ำหนักตัว อาหารสำหรับ ผูสูงอายุ อาหารสำหรับสตรีมีครรภ เปนตน
ที่รางกายตองการตอวัน คอเลสเทอรอลควรบริโภคนอยกวา 300 มิลลิกรัม ตอวัน ดั ง นั้ น ผู ป ว ยโรคหั ว ใจจึ ง ควรงดบริ โ ภคอาหารประเภทเนย มาการี น ชนิดที่เปน Hydrogenated สารที่ทำใหแปงกรอบ หลีกเลี่ยงการรับประทาน ครีม เกรวี่ รวมทั้งในการประกอบอาหารก็ควรงดการใชน้ำมันหมู น้ำมันปาลม น้ ำ มั น มะพร า ว แต เ ลื อ กใช น้ ำ มั น พื ช ชนิ ด ที่ มี ไ ขมั น ไม อิ่ ม ตั ว แทน เช น น้ำมันมะกอก น้ำมันขาวโพด น้ำมันถั่วเหลือง เปนตน
อาหารสำหรับผูปวยโรคหัวใจ โรคหัวใจ เปนสาเหตุการตายที่สำคัญในปจจุบัน และมีแนวโนมวาจะเพิ่ม มากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งนี้เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคของคนไทยในปจจุบัน โดยเฉพาะในเขตเมื อ งใหญ ๆ ได ถู ก อิ ท ธิ พ ลของสั ง คมตะวั น ตกเข า มา ครอบงำ นิ ย มการบริ โ ภคอาหารประเภทฟาสต ฟู ด เช น พิ ซ ซา ไก ท อด เฟรนซ ฟ รายส แฮมเบอร เ กอร ซึ่ ง อาหารเหล า นี้ มี ไ ขมั น ในปริ ม าณที่ สู ง โดยเฉพาะไขมันอิ่มตัว และไขมันชนิดทรานส ซึ่งเปนสาเหตุสำคัญที่ทำให เกิดโรคเสนเลือดหัวใจตีบตัน ผูปวยโรคหัวใจ โดยเฉพาะโรคเสนเลือดหัวใจตีบตัน ควรไดรับการดูแล เอาใจใสในเรื่องการบริโภคอาหารอยางเหมาะสม เพื่อมิใหโรคหัวใจลุกลาม เปนมากขึ้น ดังนี้ 1. จำกัดการบริโภคอาหารที่มีไขมันที่เปนอันตรายและคอเลสเทอรอล 2. เลือกบริโภคอาหารโปรตีนประเภทที่มีไขมันต่ำ 3. รับประทานผักและผลไมใหมากขึ้น 4. เลือกรับประทานขาวหรือผลิตภัณฑจากขาวที่ไมไดขัดสี (Whole grain) 5. หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม 6. เลือกสมุนไพรเปนสวนผสมในอาหารและเครื่องดื่ม 7. บริโภคอาหารในปริมาณที่เหมาะสมกับการใชพลังงานในแตละวัน
www.bjinter.co.th
จำกัดการบริโภคอาหารที่มีไขมันที่เปนอันตรายและคอเลสเทอรอล การจำกั ด การบริ โ ภคอาหารจำพวกไขมั น อิ่ ม ตั ว และไขมั น ชนิ ด ทรานส รวมกับจำกัดการบริโภคอาหารที่มีคอเลสเทอรอลสูง จะเปนขั้นตอนสำคัญ ที่ ส ามารถลดระดั บ คอเลสเทอรอลในเลื อ ดได และเมื่ อ คอเลสเทอรอล ในเลือดสูงจึงเปนสาเหตุสำคัญของการเกิดโรคเสนเลือดหัวใจตีบ เนื่องจาก จะทำให เ กิ ด การสะสมของส ว นของไขมั น ที่ ไ ปเกาะตามผนั ง เส น เลื อ ด ทำใหรูของเสนเลือดแดงเล็กลง เกิดโรคหัวใจวาย และโรคอัมพาตจาก เสนเลือดสมองตีบ การบริโภคอาหารประเภทไขมันที่แนะนำ คือ ไขมันอิ่มตัวและไขมัน ชนิดทรานสควรบริโภคไมเกินรอยละ 10 ของพลังงานที่รางกายตองการ ตอวัน ไขมันไมอิ่มตัวเชิงซอน (Polyunsaturated fat) ควรบริโภคไมเกิน รอยละ 10 ของพลังงานที่รางกายตองการตอวัน ไขมันไมอิ่มตัวเชิงเดี่ยว (Monounsaturated fat) ควรบริ โ ภคร อ ยละ 10-15 ของพลั ง งาน
…the vital ingredient Your leading supplier to the food & nutrition, health & personal care industries. Bronson And Jacobs International Co., Ltd.
1558/41 K1 Building, Ban Klang Krung, Bangna-Trad Road, KM 3.5 Bangna, Bangkok 10260 Thailand Email: sira@bjinter.co.th Tel: 66 (0) 2182 0100-4 Fax: 66 (0) 2182 0105 Food Focus Thailand
OCTOBER 2013 FF#83_ad_B & J_Pro3.indd 31 FF#91_p42-45_Pro3.indd 43
43
1/22/13 11:26:08 PM 9/25/13 1:31:10 PM
ไนอะซิน โฟลเลท ซีลีเนียม สังกะสี และเหล็ก ควรบริโภคแปงขาวเจาที่ไมไดขัดสี (Whole wheat) ขนมป ง ชนิ ด ที่ ท ำจากธั ญ พื ช เต็ ม เมล็ ด ที่ ไ ม ผ า นการขั ด สี ขาวซอมมือ หรือขาวแดง พาสตาที่ทำจากธัญพืชเต็มเมล็ดที่ไมผานการขัดสี ขาวโอตบดหยาบ เปนตน อาหารที่ควรงดบริโภค คือ มัฟฟน วาฟเฟล โดนัท บิสกิตส ขนมเคก พาย เสนหมี่ที่ทำจากไข ขาวโพดอบเนย เปนตน
หลีกเลี่ยงอาหารรสเค็ม คนไทยสวนใหญรับประทานอาหารรสจัดมาก โดยเฉพาะรสเค็ม รสเผ็ด อาหารเค็มจะมีเกลือแกง (Sodium chloride) มาก ซึ่งเมื่อรับประทานเขาไปจะทำให รางกายดูดน้ำกลับเขากระแสเลือดมากขึ้น ปริมาณเลือดในรางกายมากขึ้น หัวใจก็จะทำงานหนักขึ้น ความดันโลหิตสูงขึ้น ซึ่งหากหัวใจและไตแข็งแรงดี ก็ไมมีปญหาอะไร เพราะรางกายมีกระบวนการขับเกลือสวนเกินออกอยูแลว แตหากหัวใจไมปกติ จะทำใหความดันโลหิตสูงมากขึ้น และควบคุมไดยากขึ้น ภาวะหัวใจลมเหลวจะแยลง มีอาการหอบเหนื่อย หรือบวม ยิ่งถามีไตเสื่อม หรือไตวายรวมดวย ซึ่งพบบอยในผูปวยโรคหัวใจ ก็จะยิ่งทำใหหัวใจทำงาน แยลงไปอีก ในตางประเทศแนะนำใหผูปวยรับประทานเกลือโพแทสเซียมแทน แตไมมีจำหนายแพรหลายในบานเรา ผูปวยโรคหัวใจจึงควรรับประทานเค็มใหนอย ที่ สุ ด เท า ที่ จ ะทำได โดยไม ร บกวนคุ ณ ภาพชี วิ ต มากจนเกิ น ไป เนื่ อ งจาก บางรายอาจไมสามารถรับประทานอาหารจืดสนิทได และจะนำไปสูการเกิด อาการเบื่ออาหาร ซึ่งจะยิ่งสงผลรายตอสุขภาพตามมามากขึ้น
เลือกบริโภคอาหารโปรตีนประเภทที่มีไขมันต่ำ อาหารหลายประเภท เชน เนื้อสัตว เปด ไก ปลา นม ไข เปนแหลงอาหารสำคัญ ที่ใหโปรตีน แตบางชนิดจะมีปริมาณไขมันอิ่มตัวและคอเลสเทอรอลสูง ดังนั้น การเลือกบริโภคอาหารโปรตีน ควรเลือกในกลุมที่มีปริมาณไขมันต่ำ โดยเฉพาะ ไขมันอิ่มตัว และคอเลสเทอรอล ตัวอยางเชน ควรเลือกนมพรองมันเนย นมสูตรไขมันต่ำ (Low fat) มากกวา นมสด เนื้อสัตวก็ควรเลือกสวนที่ไมติดมัน งดสวนที่เปนหนัง งดเครื่องในสัตว เพราะมีปริมาณคอเลสเทอรอลสูง การรับประทานไขก็ควรเลือกเฉพาะไขขาว งดรับประทานไขแดงเนื่องจากมีปริมาณคอเลสเทอรอลสูง นอกจากนี้อาจเลือกแหลงอาหารที่เปนโปรตีนจากพืช เชน อาหารประเภทถั่ว ถั่วเหลือง การรับประทานปลาโดยเฉพาะปลาทะเล เชน ปลาแซลมอน นอกจาก จะเปนแหลงโปรตีนที่สำคัญแลว ยังมีไขมันชนิดโอเมกา-3 ซึ่งมีคุณสมบัติชวยลด ไขมันไตรกลีเซอรไรดในเลือด และปองกันภาวะหัวใจวายไดดวย
รับประทานผักและผลไมใหมากขึ้น ผักและผลไมเปนอาหารที่ใหพลังงานต่ำ แตเปนแหลงของวิตามิน เกลือแร และเสนใยอาหาร นอกจากนี้ยังมีสารที่เรียกวา ไฟโตเคมีคอล (Phytochemicals) ซึ่งพบในพืช และชวยปองกันโรคหัวใจได ผักและผลไมที่แนะนำ คือ ผักผลไมสด หรือแชเย็น ผักกระปองชนิดที่มีเกลือโซเดียมต่ำ ผลไมกระปองชนิดที่อยูใน น้ำผลไม โดยควรงดบริโภคมะพราว ผักที่ผานกระบวนการทอด และผลไมกระปอง ชนิดที่แชในน้ำเชื่อมเขมขน
เลือกรับประทานขาวหรือผลิตภัณฑจากขาวที่ไมไดขัดสี โฮลเกรน หรือธัญพืชเต็มเมล็ดที่ไมผานการขัดสีจะเปนแหลงสำคัญของเสนใยอาหาร และยั ง มี วิ ต ามิ น เกลื อ แร ห ลายชนิ ด ได แ ก ไทอามี น ไรโบฟลาวิ น 44
เลือกสมุนไพรเปนสวนผสมในอาหารและเครื่องดื่ม สมุนไพรหลายชนิดที่ผูปวยหรือกลุมเสี่ยงสามารถนำไปใชในการดูแลรักษา สุขภาพของตนเองไดอยางงายในรูปของอาหาร เครื่องดื่ม หรือเปนผักเคียงกับ อาหารมื้อประจำวันนั้นๆ เชน กระเทียม นับเปนสมุนไพรที่รูจักอยางแพรหลาย และมีสรรพคุณมากมาย กระเทียมชวยทำใหการเตนของหัวใจชาลง และเพิ่มการบีบและคลายตัวของ หัวใจ ขยายหลอดเลือดสวนปลาย และชวยยับยั้งการแข็งตัวของหลอดเลือด กินกระเทียมสดวันละ 2-3 กลีบ จะชวยใหหัวใจแข็งแรงได ตนหอม หอมแดง หอมหัวใหญ มีสารสำคัญ คือ ฟลาโวนอยด ซึ่งมี คุณสมบัติชวยปองกันไขมันไมใหเกาะตามผนังเสนเลือด ชวยปองกันโรคหัวใจ โรคมะเร็งลำไส โรคมะเร็งตับ หรือใชหอมหัวใหญนำมาคั้นเอาน้ำดื่มจะชวย ลดอาการอั ก เสบบวมหรื อ ลดความดั น โลหิ ต และน้ ำ ตาลในเลื อ ดได และ หอมหัวใหญยังชวยใหผูที่กินเปนประจำมีความจำดีขึ้นดวย ขึ้ น ฉ า ย ผั ก ที่ มั ก ใส ใ นยำสารพั ด ชนิ ด ช ว ยขยายหลอดเลื อ ดและลด ความดันโลหิตสูง เวลาที่ความดันขึ้นสูงและมีอาการปวดศีรษะ ใชขึ้นฉายคั้น เอาแตน้ำดื่ม จะชวยลดอาการลงได พริกขี้หนู มีรสเผ็ดรอน ซึ่งมาจากสารที่เรียกวา แคปไซซิน มีประโยชนตอ สุขภาพหลายดาน ในสวนของโรคหัวใจ มีผลตอการขยายตัวของหลอดเลือด แคปไซซินสามารถยับยั้งการหดตัวของหลอดเลือด สงผลใหมีการขยายตัวของ หลอดเลื อ ด ทำให มี เ ลื อ ดไปเลี้ ย งผิ ว หนั ง หรื อ อวั ย วะบริ เ วณนั้ น ได ม ากขึ้ น และชวยละลายลิ่มเลือดที่อุดตันในหลอดเลือดหัวใจ ชวยลดความเสี่ยงตอ การเปนโรคหัวใจ ดี บั ว หรือเมล็ดในของฝกบัว มีสรรพคุณลดความดันโลหิต บำรุงหัวใจ เพิ่มการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงหัวใจ ชวยขยายหลอดเลือดหัวใจ มีฤทธิ์ กระตุนหัวใจ ชวยปองกันอาการหัวใจเตนไมปกติ นอกจากนี้ยังมีฤทธิ์แกไข
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p42-45_Pro3.indd 44
9/25/13 1:31:11 PM
แก ร อ นใน กระหายน้ ำ แก อ าการติ ด เชื้ อ ในช อ งปาก แกอาการหงุดหงิดนอนไมหลับ และลดน้ำตาลในเลือด ดี บั ว มี ร สขมมากจึ ง นิ ย มนำเอาดี บั ว ไปดองกั บ น้ ำ ผึ้ ง เพื่อชวยใหรับประทานงายขึ้น ชาเขียว ชวยยอยอาหาร ลางสารพิษ และเชื่อวา เปนยาอายุวัฒนะ คุณภาพมากกวา นักวิจัยหลายคน ยืนยันวาสารสำคัญในชาเขียวชวยปองกันโรคหัวใจได หลายอยาง เชน ชวยลดคอเลสเทอรอล และความดัน ชาเขียวยังมีสรรพคุณเปนสารตานอนุมูลอิสระ และชวย ปองกันการแข็งตัวของหลอดเลือด ลดความเสี่ยงของ การเปนมะเร็ง และกระตุนการสรางตัวของเม็ดเลือดขาว เพิ่มภูมิตานทานแกรางกาย ดอกคำฝอย เป น ยาบำรุ ง โลหิ ต ลดไขมั น ใน เส น เลื อ ด ลดความดั น โลหิ ต สู ง บำรุ ง หั ว ใจ บำรุ ง ประสาท ปองกันไขมันอุดตัน ฟอกโลหิต ชวยระบาย ออนๆ และยังประกอบดวยไขมันไมอิ่มตัวหลายชนิด โปรตี น เบต า แคโรที น วิ ต ามิ น อี เป น ต น นอกจากนี้ น้ ำ มั น ดอกคำฝอยจะช ว ยให ก ารอุ ด ตั น ของไขมั น ใน หลอดเลือดลดลง และชวยปองกันการอุดตันของไขมัน ในเลือดได ทั้งนี้ อาจเปนผลมาจากน้ำมันดอกคำฝอย มีฤทธิ์ลดการจับตัวของเกล็ดเลือด คนจีนใชรักษาโรค หัวใจและหลอดเลือด กระเจี๊ ย บแดง เป น ยาลดไขมั น ในเส น เลื อ ด ขั บ ป ส สาวะ ลดความดั น โลหิ ต ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง อี ก สู ต รหนึ่ ง ที่ ก ำลั ง ได รั บ ความนิ ย มแพร ห ลาย คื อ กระเจี๊ยบแดงตมกับพุทราจีน ชวยเพิ่มประสิทธิภาพ ชะลางไขมันราย เกสรดอกบัว และเกสรดอกไมทั้ง 5 เกสรดอกบัว หลวงมี ส รรพคุ ณ ช ว ยบำรุ ง หั ว ใจ ช ว ยบำรุ ง กำลั ง ถาเขายากับเกสรดอกไมอีก 4 ชนิด เรียกวาเกสรดอกไม ทั้ ง 5 ประกอบด ว ย ดอกมะลิ ดอกพิ กุ ล ดอกสารภี ดอกบุ น นาค ดอกบั ว หลวง มี ส รรพคุ ณ รวม คื อ บำรุงหัวใจ แกลมวิงเวียน บำรุงครรภ ใบเตยหอม มีสรรพคุณ คือ ลดอาการกระหายน้ำ และบำรุ ง หั ว ใจ เวลาเหนื่ อ ยๆ ดื่ ม น้ ำ ใบเตยช ว ยให หายเหนื่อยและสดชื่น นอกจากนี้ ยั ง มี พื ช ผั ก พื้ น บ า นที่ มี ส รรพคุ ณ ในการช ว ยลดตะกรั น ในหลอดเลื อ ดได อ ย า งดี คื อ โหระพา ใบตำลึ ง ใบแมงลั ก ใบยอ ผั ก กู ด ชะพลู มะเขือเทศ บัวบก พริกชี้ฟา คะนา เปนตน ผักเหลานี้ มีแคลเซียมและสารตานอนุมูลอิสระสูง
การเก็บพลังงานที่เกินพอในรูปของไขมัน อันจะทำใหเกิดโรคอวนที่เปนอันตรายทำใหเกิดโรคหัวใจ ตามมาได ข อ แนะนำที่ ส ำคั ญ สำหรั บ หลี ก เลี่ ย งและรั ก ษาสุ ข ภาพจากโรคหั ว ใจ คื อ ต อ งมี โภชนาการที่ดี หลีกเลี่ยงไขมัน เนนถั่ว งา ปลา ผักใหมากขึ้นในแตละมื้อ ออกกำลังกายใหเปน นิสัยหรือเปนสวนหนึ่งในการดำรงชีวิตประจำวัน ควบคุมหรือละเวนพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ อาทิ การบุ ห รี่ และการดื่ ม แอลกอฮอล ควรพั ก ผ อ นให เ พี ย งพอ อย า ให เ กิ ด ระดั บ ความเครี ย ดสู ง การพักผอนอยางเพียงพอชวยลดความเครียดได เอกสารอางอิง ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 238) พ.ศ. 2544 เรื่องอาหารมีวัตถุประสงคพิเศษ www.fda.moph.go.th ปองกันและลดความเสี่ยงจาก โรคหัวใจ ดวยสมุนไพร สืบคนขอมูลจากเว็บไซต http://www.thaipost.net Research Heart Information สืบคนขอมูลจากเว็บไซต www.mayoclinic.com
บริโภคอาหารในปริมาณที่เหมาะสม กับการใชพลังงานในแตละวัน การบริโภคที่ไมมากเกินไป คือปริโภคใหพอเหมาะและ สมดุ ล กั บ การใช พ ลั ง งานในแต ล ะวั น จะช ว ยป อ งกั น Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p42-45_Pro3.indd 45
45
9/25/13 1:31:12 PM
STRONG QC & QA โดย: รองศาสตราจารย ดร. บงกชรัตน ปติยนต ภาควิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม คณะสิ่งแวดลอม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร fscibop@ku.ac.th ดร. วินัย ปติยนต ที่ปรึกษาวิชาการ บริษัท หองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด vinai@centrallabthai.com
แปงและสตารช ®“°º≈°√–∑∫¢Õßπ‚¬∫“¬ª√–™“π‘ ¬ ¡∑’Ë ¡’ μà Õ °“√º≈‘ μ ¢—È π ª∞¡¢Õß ¿“§‡°…μ√ (Primary products) ¡’º≈μàÕ‡π◊ËÕßμàÕº≈‘μ¿—≥±å ≈Ÿ°‚´àμà“ßÊ ∑’Ëμ“¡¡“ ‰¡à«à“®–‡ªìπ‡√◊ËÕߢÕß√“§“ °“√¥Ÿ·≈ √—°…“§ÿ≥¿“æ√–À«à“ß°“√‡°Á∫ °“√¢π àß °“√·ª√√Ÿª ®π∂÷ ß °“√ à ß ÕÕ° ª√–‡∑»‰∑¬‡ªì π ª√–‡∑»∑’Ë à ß ÕÕ° ‘π§â“‡°…μ√¢—Èπª∞¡§àÕπ¢â“ß Ÿß ·≈–μâÕß¡’°“√√–«—ß √— ° …“§ÿ ≥ ¿“æμ≈Õ¥Àà « ß‚´à ¢ Õß°“√º≈‘ μ °“√®”Àπà “ ¬ ®π∂÷ ß ºŸâ à ß ÕÕ° ·≈–ºŸâ ∫ √‘ ‚ ¿§ μ“¡≈”¥— ∫ ‚¥¬∑’Ë ¡— 𠔪–À≈— ß ‡ªìπÕÿμ “À°√√¡∑’Ë ”§—≠ ¡’°“√º≈‘μªï≈–¡“°°«à“ 2 ≈â“πμ—π ·≈– ¡’¡Ÿ≈§à“À≈“¬À¡◊Ëπ≈â“π∫“∑
ตารางที่ 1 ปริมาณการผลิตและมูลคาของมันสำปะหลัง ป 2555-2556 (กรกฎาคม) 2555 2556 (กรกฎาคม) ป ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา รวม
2,235,574,108
30,796,449,031.0
1,056,508,779
14,724,601,708
·ÕèÁÒ: สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2556
อุตสาหกรรมแปงโดยเฉพาะแปงจากมันสำปะหลัง เปนอุตสาหกรรมตอเนื่องขนาดใหญที่สำคัญของประเทศ มี ก ารกำหนดมาตรฐานที่ เ กี่ ย วข อ งหลายระดั บ ตั้ ง แต การเพาะปลูกและการควบคุมดูแลผลผลิต จะเปนไปตาม มาตรฐานสินคาเกษตร มกษ. 5901-2553 เรื่อง การปฏิบัติ ทางการเกษตรที่ดีสำหรับมันสำปะหลัง สำหรับการดูแล คุณภาพอื่นๆ จะเปนไปตามมาตรฐานประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง กำหนดใหแปงมันสำปะหลังเปนสินคา มาตรฐานและมาตรฐานสินคาแปงมันสำปะหลัง พ.ศ. 2549 ตามพระราชบั ญ ญั ติ ม าตรฐานสิ น ค า ออก พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานสินคา ขาออก (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2522 ขณะเดียวกัน ผลิตภัณฑ จากมันสำปะหลังมีการกำหนดพิกัดเฉพาะ และมีอัตรา ภาษีตามพิเศษตามกรอบ (ตารางที่ 2) 46
ตารางที่ 2 รายการพิกัด ภาษี สินคามันสำปะหลัง พิกัด HS รายการสินคา 07141020 11062000 11081400 35051000 19030000
มันเสนและมันอัดเม็ด แปงมันสำปะหลัง สตารชจากมันสำปะหลัง โมดิไฟดสตารช สาคูทำจากมันสำปะหลัง
ภาษีอัตราทั่วไป
ภาษีอัตราพิเศษ
30% 50% 50% 50% 80%
10% 28% 20% 20% 23%
·ÕèÁÒ: กระทรวงพาณิชย
โดยความหมายทั่วไป แปง (Flour) หมายถึง ผลิตภัณฑที่ไดจากการผลิตโดยใชวัตถุดิบทางการเกษตรชนิดตางๆ จากพืชหัว (Tuber roots) เชน หัวมันสำปะหลัง มันเทศ หรือจากธัญพืช (Cereals) เชน ขาว ขาวโพด ขาวสาลี หรือจากพืชตระกูลถั่ว เชน ถั่วเขียว ถั่วเหลือง โดยนำวัตถุดิบมาทำความสะอาด ลดความชื้น โม ปน หรือบด หรือตีจนละเอียด นำมารอนผานตะแกรงขนาดที่กำหนด ดังนั้น แปงจึง
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p46-49_Pro3.indd 46
9/25/13 10:46:22 AM
ประกอบดวยสารอาหารและองคประกอบตางๆ ที่มีอยูในวัตถุดิบเดิมทั้งหมด ไมวาจะเปนคารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน เสนใย แรธาตุตางๆ เปนตน สตารช (Starch) หมายถึง ผลิตภัณฑที่ผลิตจากวัตถุดิบทางการเกษตร ชนิดตางๆ ที่ใชในการผลิตเชนเดียวกับแปง โดยกรรมวิธีการผลิตจะแยกเอาสวน ที่เปนคารโบไฮเดรตออกมา ซึ่งมีหลายวิธี มีทั้งระบบแปรรูปโดยบดแหงผาน ตะแกรงตามวิธีการแยกสวนอื่นๆ ออกไป และระบบเปยกโดยใชการปนแปงใน น้ำ ผานกระบวนการทำแหงที่เหมาะสม และแยกสวนประกอบอื่นๆ ออกไป ดั ง นั้ น สตาร ช จึ ง ประกอบด ว ยคาร โ บไฮเดรตเป น ส ว นใหญ ได แ ก อะมิ โ ลส และอะมิโลเพคทิน ซึ่งเปนพอลิเมอรของกลูโคส สามารถใชเปนสารตั้งตนใน การสังเคราะหสารอื่นๆ มากมาย เชน น้ำตาลแอลกอฮอล (Sugar alcohol) แมนนิ ท อล (Manitol) ซึ่ ง กำลั ง มี บ ทบาทในด า นอาหาร โดยให ค วามหวาน แต ใ ห แ คลอรี น อ ยกว า น้ ำ ตาล อย า งไรก็ ต าม ความบริ สุ ท ธิ์ ข องสตาร ช ขึ้นอยูกับกระบวนการแยกซึ่งมีหลายวิธีดังกลาว รวมทั้งการนำไปพัฒนาตอ ในอุตสาหกรรมตอเนื่องอีกมากมาย
FF#91_ad_FHA 2014_Pro3.ai
1
จากการที่มาตรฐานแปงมีหนวยงานควบคุมเฉพาะ จำเปนตองใหคำนิยาม เพื่ อ การควบคุ ม ตามมาตรฐานสิ น ค า โดยเฉพาะแป ง มั น สำปะหลั ง ใน ทายประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง กำหนดใหแปงมันสำปะหลังเปนสินคา มาตรฐานและมาตรฐานสินคาแปงมันสำปะหลัง ลงวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2549 ประกอบดวย ขอ 1. คำนิยาม (1) “แปงมันสำปะหลัง” หมายความวา แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช (Tapioca Starch) และแปงมันสำปะหลัง ประเภทโมดิไฟดสตารช (Tapioca Modified Starch) (2) “แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช (Tapioca Starch)” หมายความวา แปงที่ไดจากหัวมันสำปะหลัง เมื่อผานกระบวนการผลิต มีสีขาวหรือสีครีมออน (3) “แป ง มั น สำปะหลั ง ประเภทโมดิ ไ ฟด ส ตาร ช (Tapioca Modified Starch)” หมายความวา แปงที่ไดจากการนำแปงมันสำปะหลังมาเปลี่ยนสมบัติ ทางเคมี และ/หรือ ทางฟสิกส จากเดิมดวยความรอน และ/หรือ เอนไซม และ/ หรือ สารเคมีชนิดตางๆ เพื่อใหเหมาะสมกับการนำไปใช
รูปที่ 1 2:00 โครงสรPMางทางเคมีของแมนนิทอล (ซาย) อะมิโลส (กลาง) และอะมิโลเพคทิน (ขวา)
9/6/13
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p46-49_Pro3.indd 47
47
9/25/13 10:46:26 AM
(4) “วัตถุอื่น” หมายความวา วัตถุหรือสารที่ไมใชสวนประกอบตามธรรมชาติ ของหั ว มั น สำปะหลั ง เว น แต วั ต ถุ ห รื อ สารอั น จะพึ ง มี ไ ด ใ นกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต แปงมันสำปะหลัง ตามปกติ ข อ 2. แป ง มั น สำปะหลั ง ประเภทสตาร ช ให แ บ ง มาตรฐานออกเป น 3 ชั้น ดังนี้ (1) แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ (Tapioca Starch Premium Grade) (2) แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช ชั้น 1 (Tapioca Starch First Grade) (3) แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช ชั้น 2 (Tapioca Starch Second Grade) ขอ 3. แปงมันสำปะหลังสตารชแตละชั้น ใหกำหนดมาตรฐานไว ดังตอไปนี้ ก. แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช ชั้นพิเศษ ตองมี (1) แปงไมนอยกวารอยละ 85 โดยน้ำหนัก (2) ความชื้นไมเกินรอยละ 13 โดยน้ำหนัก (3) เถาไมเกินรอยละ 0.20 โดยน้ำหนัก (4) เยื่อไมเกิน 0.2 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอน้ำหนักแปง 50 กรัม (5) ความเปนกรด–ดาง ตั้งแต 4.5 ถึง 7.0 (6) สวนของแปงที่สามารถผานตะแกรงขนาด 150 ไมโครเมตร ไมนอยกวารอยละ 95 โดยน้ำหนัก ข. แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช ชั้น 1 ตองมี (1) แปงไมนอยกวารอยละ 83 โดยน้ำหนัก (2) ความชื้นไมเกินรอยละ 14 โดยน้ำหนัก (3) เถาไมเกินรอยละ 0.30 โดยน้ำหนัก (4) เยื่อไมเกิน 0.5 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอน้ำหนักแปง 50 กรัม (5) ความเปนกรด–ดาง ตั้งแต 4.5 ถึง 7.0 (6) สวนของแปงที่สามารถผานตะแกรงขนาด 150 ไมโครเมตร ไมนอยกวารอยละ 95 โดยน้ำหนัก ค. แปงมันสำปะหลังประเภทสตารช ชั้น 2 ตองมี (1) แปงไมนอยกวารอยละ 80 โดยน้ำหนัก (2) ความชื้นไมเกินรอยละ 14 โดยน้ำหนัก (3) เถาไมเกินรอยละ 0.50 โดยน้ำหนัก (4) เยื่อไมเกิน 1.0 ลูกบาศกเซนติเมตร ตอน้ำหนักแปง 50 กรัม (5) ความเปนกรด–ดาง ตั้งแต 4.5 ถึง 7.0 (6) สวนของแปงที่สามารถผานตะแกรงขนาด 150 ไมโครเมตร ไมนอยกวารอยละ 95 โดยน้ำหนัก ข อ 4. มาตรฐานแป ง มั น สำปะหลั ง ประเภทโมดิ ไ ฟด ส ตาร ช แป ง มั น สำปะหลังประเภทโมดิไฟดสตารช ตองผลิตจากโรงงานที่มีเครื่องมือและอุปกรณ การผลิตที่เหมาะสมและเพียงพอตอการโมดิไฟดแปง โดยกระบวนการผลิตที่ไดรับ การรับรองมาตรฐานระบบบริหารคุณภาพในระดับสากล และผลิตภัณฑมีสมบัติ ทางเคมี ห รื อ ฟ สิ ก ส ซึ่ ง เปลี่ ย นแปลงไปจากแป ง มั น สำปะหลั ง ประเภทสตาร ช อันเนื่องจากผลของการโมดิไฟด ขอ 5. แปงมันสำปะหลังทุกประเภททุกชั้น ตองไมบูด เนา หรือขึ้นรา ไมมีกลิ่น และ/หรื อ สี ผิ ด ปกติ ไม มี แ มลงและไม มี วั ต ถุ อื่ น เว น แต วั ต ถุ ห รื อ สารอั น จะ พึงมีไดในกรรมวิธีการผลิตแปงมันสำปะหลังตามปกติเทานั้น ขอ 6. แปงมันสำปะหลังใหบรรจุในภาชนะที่เหมาะสม สะอาด และปดผนึก ภาชนะที่บรรจุใหเรียบรอยและตองแสดงขอความ Product of Thailand หรือ ชื่อผูผลิต หรือเครื่องหมายการคาที่ไดจดทะเบียนไวแลวในประเทศไทย เวนแต ผูซื้อไมตองการใหแสดงขอความดังกลาว ข อ 7. กรณี ผู ท ำการค า ขาออกมี ก ารซื้ อ ขายแป ง มั น สำปะหลั ง ตามตั ว อย า ง 48
หรือเงื่อนไขคุณภาพ ซึ่งไมเปนไปตามมาตรฐานกำหนด หรือแปงมันสำปะหลัง ประเภทโมดิไฟดสตารชซึ่งผลิตจากโรงงานที่ยังไมไดการรับรองมาตรฐานระบบ บริหารคุณภาพในระดับสากล ตองไดรับความเห็นชอบจากสำนักงานมาตรฐาน สินคา หรือสำนักงานสาขา และแปงมันสำปะหลังนั้นตองมีคุณภาพไมต่ำกวา ตัวอยาง หรือเงื่อนไขที่คูกรณีตกลงกันไว กรณีแปงมันสำปะหลังประเภทโมดิไฟดสตารชที่จะสงออก เปนแปงมันสำปะหลังที่ผลิตจากโรงงานที่กำลังดำเนินการเพื่อใหไดการรับรองมาตรฐาน ระบบบริหารคุณภาพในระดับสากล ตองไดรับความเห็นชอบจากสำนักงาน มาตรฐานสินคาหรือสำนักงานสาขากอนการยื่นขอใบรับรองมาตรฐานสินคา ที่ออกใหตามแบบที่กำหนดชวงเวลาการรับรองผลวิเคราะห ปจจุบัน มีการพัฒนาแปงที่มีความบริสุทธิ์สูงไปเปนสารอื่นๆ ไดรับการสงเสริมการลงทุนมากขึ้น ทำใหอุตสาหกรรมมันสำปะหลังเริ่มมีความยั่งยืนทั้ง ระบบ เชน เด็กซตริน กลูโคส แมนนิทอล และผลิตภัณฑอื่นๆ ทั้งทางตรงและ ทางออมโดยใชเทคนิคตางๆ ทางกายภาพ เคมี หรือชีวภาพ ซึ่งมีบทบาทมาก ในอุตสาหกรรมตอเนื่อง เชน สารใหความขน สารใหความคงตัว หรืออิมัลซิไฟเออร สารที่ทำใหเกิดการกระจายตัว (Disintegrators) ในการผลิตยา และ เปนสารเชื่อมในอุตสาหกรรมกระดาษ การพัฒนาสารคงทนตอกรด ความรอน ความเย็น สารปรับความหนืด หรือสรางเจลาติน นอกจากนั้นยังสามารถเปลี่ยน คุณสมบัติไปตามความตองการของผูใชได เปนตน ในสวนคุณภาพของแปงและสตารชจากพืชอื่นๆ มีการนำมาใชงาน แต ประเทศไทยมีการกำหนดรายละเอียดนอยกวามันสำปะหลัง ขอกำหนดหลักๆ ทั่วไป เชน หากเริ่มผลิตจากเมล็ด จะตองตรวจสอบ ปริมาณ โปรตีน แปง ความชื้น สิ่งปนปลอม (Filth) มีการตรวจสอบกายภาพ เชน เมล็ดแตกหัก เมล็ ด สี อื่ น เมล็ ด ที่ เ สี ย หายจากความร อ น และอื่ น ๆ ส ว นประกอบน้ ำ มั น ตรวจสอบการตัดตอทางพันธุกรรม GMO ตรวจการปนเปอนสารเคมี และ เชื้อราตางๆ เชน อะฟลาท็อกซิน โลหะหนัก เปนตน ขอกำหนดคุณภาพอื่นๆ เชน ปริมาณของสารประกอบอื่นๆ ที่อยูในสตารช หรือที่ภาคอุตสาหกรรมยอมรับวาเปนสตารช เชน โปรตีนตองนอยกวาหรือ เทากับรอยละ 0.5 ไขมันตองนอยกวารอยละ 1 เปนตน สวนการนำไปใชก็จะแตกตางกัน สวนแปงอีกชนิดหนึ่งแมมีการผลิตใน ประเทศนอย (ในรูปของผลิตผลขั้นปฐม สวนใหญนำเขามาผลิต) แตมีการใช เพิ่มมากขึ้นอยางตอเนื่อง ไดแก แปงขาวสาลี มีโรงงานผลิตแปงสาลีในประเทศ หลายแหง แตการปรับเปลี่ยนคุณภาพแปงไปเปนสตารชนอยกวามันสำปะหลัง
รูปที่ 2 เมล็ดขาวสาลีและแปงชนิดตางๆ จากขาวสาลี
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p46-49_Pro3.indd 48
9/25/13 10:46:27 AM
เนื่ อ งจากหลายป จ จั ย ส ว นใหญ น ำมาทำผลิ ต ภั ณ ฑ เบเกอรี่ตางๆ มีโปรตีนหลักๆ คือ โพรลามิน และกลูเตลิน กลู เ ตน ทำให ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ค งรู ป และมี ค วามเหนี ย วนุ ม ในรูปของแปงสาลี ในประเทศไทยมีมากกวา 500 ยี่หอ จากผูผลิตกวา 10 ราย กอนจะผานขั้นตอนตางๆ ตั้งแต ยังเปนเม็ดขาว กอนจะนำไปโมแลวกลายเปนแปง ขาวสาลีที่ผานกระบวนการโมและนำไปผสมตามสูตร ต า งๆ เพื่ อ การใช ง าน เช น แป ง ขนมป ง ชนิ ด โฮลวี ต มีปริมาณโปรตีนสูงรอยละ 13.5-14.5 แปงขนมปงทั่วไป มีปริมาณโปรตีนสูงรอยละ 13.0-14.0 ปริมาณกลูเตนสูง มีคุณสมบัติเหนียวและยืดหยุนดีมาก ทนตอการนวดและ หมักไดเปนอยางดี เนื้อละเอียด-นุม แปงบะหมี่สด ซึ่งมี หลายมาตรฐานตามความต อ งการของตลาดผู บ ริ โ ภค อาหารจีนและอาหารญี่ปุน เปนแปงที่มีปริมาณโปรตีนสูง รอยละ 10.0-12.5 มีคุณภาพเหนียวนุม ยืดหยุน สีสัน สวยงาม แปงอเนกประสงค มีปริมาณโปรตีนรอยละ 10.0-11.0 เหนียว ยืดหยุน ดูดซึมน้ำไดในระดับพอเหมาะ เหมาะสำหรั บ ทำขนมได ห ลากหลาย เช น ขนมไข ขนมเป ย ะ ขนมสาลี่ คุ ก กี้ วาฟเฟ ล พาย เป น ต น แปงบิสกิต ที่มีคุณสมบัติใกลเคียงกัน แปงสาลีที่ใชทำ ซาลาเปาโดยเฉพาะ มีปริมาณโปรตีนต่ำรอยละ 7.5-8.5 ผานกรรมวิธี ผลิตพิเศษ ทำใหเนื้อแปงมีสี ขาวละเอียด ปริ ม าณเถ า น อ ย แป ง เค ก มี ป ริ ม าณโปรตี น ต่ ำ เพี ย ง ร อ ยละ 7-8 ผ า นกรรมวิ ธี ผ ลิ ต พิ เ ศษเช น เดี ย วกั บ แป ง ซาลาเปา นอกจากจะทำให เ นื้ อ แป ง มี สี ข าวละเอี ย ด ปริมาณเถานอยแลว ยังดูดซึมน้ำ น้ำตาล และไขมันได มากกว า ปกติ แป ง ปาท อ งโก มี ป ริ ม าณโปรตี น สู ง รอยละ 11-13 มีคุณสมบัติ ดู ด ซึ ม น้ ำ ไ ด ดี ม า ก ทำให ป าท อ งโก ที่ ผ ลิ ต ออกมากรอบ ฟู ตั ว เหนี ย วกำลั ง พอดี แ ล ะ ไ ม อ ม น้ ำ มั น
แปงอาหารสัตว มีปริมาณโปรตีนสูง เหมาะสำหรับผลิตเปนอาหารสัตวประเภทตางๆ เชน อาหารกุง อาหารปลา หรืออาหารสุนัขเปนตน โดยทั่วไป ข าวสาลี 1 ตั น สามารถผลิ ตแป งต างๆ ได ประมาณรอยละ 75 ที่เหลือเปนรำและอื่นๆ คลายขาวเจา ขาวสาลีแตละสายพันธุมีคุณสมบัติ ที่แตกตางกัน ฉะนั้น การผลิตจึงจำเปนตองอาศัยความรูในการผสมแปงที่ผานการโม เพื่อใหได คุณสมบัติตรงตามการใชงาน แตละประเทศมีเกณฑมาตรฐานและการเรียกชื่อที่แตกตางกัน ซึ่ง แปงขาวสาลีเปนแปงที่มีมาตรฐานสากลเกาแกในกลุมประเทศที่บริโภคอาหารประเภทนี้ แปงอื่นๆ เชน แปงขาวเจา แปงขาวโพด แปงถั่วเขียว แปงถั่วเหลือง มีการผลิตนอยในรูปสตารช และอนุพันธุอื่นๆ เนื่องจากอาจจะมีตนทุนสูงกวาแปงมันสำปะหลัง รวมทั้งอาจมีขอชี้บงในการใช เฉพาะออกไปและตองมีการตรวจสอบตามมาตรฐาน ปจจุบัน มีประชากรโลกจำนวนมากที่รางกาย มี ค วามไวต อ โปรตี น ดั ง นั้ น การใช แ ป ง แต ล ะชนิ ด ในผลิ ต ภั ณ ฑ จ ำเป น ต อ งแจ ง ไว บ นฉลาก เพื่อปองกันกลุมผูบริโภคที่อาจแพโปรตีนจากพืชตางๆ ซึ่งอาจรุนแรงถึงเสียชีวิตได
เอกสารอางอิง มกอช. 2556. มกษ. 5901-2553 เรื่อง การปฏิบัติทางการ เกษตรที่ดีสำหรับมันสำปะหลัง. 15 หนา กระทรวงพาณิชย . 2549. ประกาศกระทรวงพาณิชย เรื่อง กำหนดใหแปงมันสำปะหลังเปนสินคามาตรฐานและ มาตรฐานสินคาแปงมันสำปะหลัง พ.ศ. 2549 ตามพระราชบัญญัติมาตรฐาน สินคาออก พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรฐานสินคาขาออก (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2522, 29 กันยายน 2549 สวทช. 2554. ยุทธศาสตรวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรม มันสำปะหลังประเทศไทย (พ.ศ. 2555-2559), 64 หนา Starch in http://en.wikipedia.org/wiki/Starch FAO. 2002. Cassava Flour and Starch in http://www.fao.org/docrep/x5032e/x5032e02.htm Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p46-49_Pro3.indd 49
49
9/25/13 10:46:27 AM
STRONG QC & QA
â´Â: ¤Ø³ÊØÃÕÂÊ â¤ÇÊØÃÑμ¹
Sales and Marketing Director ºÃÔÉÑ· ÍغÅà¡ÉμþÅѧ§Ò¹ ¨Ó¡Ñ´ sales@ubonbioethanol.com
ประโยชนของ
แปงมันสำปะหลัง ¡—𠔪–À≈—߇ªìπæ◊™∑’Ë¡’§«“¡ ”§—≠∑“߇»√…∞°‘®¢Õߪ√–‡∑»‰∑¬ ∂÷ß°—∫ ตารางที่ 1 คุณสมบัติของแปงมันสำปะหลังประเภทสตารชตามมาตรฐานสินคา แปงมันสำปะหลัง ‰¥â √— ∫ ©“¬“«à “ çæ◊ ™ ¢Õߢ«— ≠ é ¢Õ߇°…μ√°√‰∑¬ ‡π◊Ë Õ ß®“°‡ªì π æ◊ ™ ∑’Ë ª ≈Ÿ ° ßà “ ¬ ¡’ ªí ≠ À“„π°“√º≈‘ μ πâ Õ ¬ ª√–‡∑»‰∑¬¡’ æ◊È π ∑’Ë ª ≈Ÿ ° ¡— 𠔪–À≈— ß ‡ªìπÕ—π¥—∫ 3 ¢Õß‚≈°√Õß®“°ª√–‡∑»‰π®’‡√’¬ ·≈–∫√“´‘≈ ·μàª√–‡∑»‰∑¬‡ªìπ ºŸâ à ß ÕÕ°º≈‘ μ ¿— ≥ ±å ¡— 𠔪–À≈— ß Õ— π ¥— ∫ Àπ÷Ë ß ¢Õß‚≈°¡“Õ¬à “ ߬“«π“π √â“ß√“¬‰¥â‡¢â“ª√–‡∑»¡“°°«à“ªï≈– 5 À¡◊Ëπ≈â“π∫“∑
โ
ดยที่ประเทศไทยนั้นเปนประเทศที่นำมันสำปะหลังมาผลิตเปนแปงมากที่สุด และถื อ ได ว า เป น ผู ผ ลิ ต แป ง มั น สำปะหลั ง รายใหญ ที่ สุ ด ของโลก ป จ จุ บั น มี โ รงแป ง ทั้ ง หมด 90 โรงทั่ ว ประเทศ เป ด ดำเนิ น การมามากกว า 40 ป ซึ่ ง แปงมันสำปะหลังถูกนำไปใชบริโภค และใชในอุตสาหกรรมอาหารมากมาย แปงมันสำปะหลังประเภทสตารชสามารถแบงได 2 ประเภท คือ ประเภทอาหาร และประเภทอุ ต สาหกรรม โดยมี คุ ณ ภาพตามมาตรฐานสิ น ค า แป ง มั น สำปะหลั ง (ตารางที่ 1) ซึ่งจะเห็นไดวาพารามิเตอรหลักที่ควบคุมนั้นคือ ปริมาณแปงจะตอง มีคุณสมบัติไมนอยกวารอยละ 85 โดยน้ำหนัก ความชื้นไมเกินรอยละ 13 โดยน้ำหนัก ส ว นเถ า ไม เ กิ น ร อ ยละ 0.2 โดยน้ ำ หนั ก และเยื่ อ จะต อ งไม เ กิ น 0.2 มิ ล ลิ ลิ ต ร ต อ น้ ำ หนั ก แป ง 50 กรั ม นอกจากนี้ การที่ จ ะแยกประเภทอาหารและประเภท อุตสาหกรรมนั้นจะพิจารณาจากปริมาณซัลเฟอรไดออกไซด หรือ SO2 ซึ่งประเภท อาหารนั้นควบคุมที่สูงสุดไมเกิน 30 PPM และประเภทอุตสาหกรรมสูงสุดไมเกิน 100 PPM
50 50
การใชวัตถุดิบจากแปงมันสำปะหลัง • วั ต ถุ ดิ บ ของอุ ต สาหกรรมอาหารในครั ว เรื อ น (Household and Restaurant) แปงมันสำปะหลังมีคุณสมบัติทำใหอาหารเหนียว และสราง ลักษณะเงาวาวใหกับเนื้ออาหาร เมื่อผสมน้ำและใหความรอนจะเหนียวจน เป น กาวใส หรื อ อาจเรี ย กได ว า ขาวใส ไม มี สี ไม มี ก ลิ่ น ไม มี ร ส เหมาะสำหรั บ นำมาใช ป ระโยชน โดยเฉพาะในอาหารจะไม มี ก ลิ่ น หรื อ รสแปลกปลอม อาทิเชน อาหาร - เชน ราดหนา กระเพาะปลา ผสมแปงมันสำปะหลังเพื่อใหน้ำ มีความเหนียวหนืด ขนมและของหวาน - เช น ทั บ ทิ ม กรอบ เต า ส ว น ผสมเพื่ อ ให เ กิ ด ความเหนี ย วหนื ด และใส ส ว นขนมชั้ น ขนมกล ว ย และขนมฟ ก ทอง ขนมกุ ย ช า ย จะใช แ ป ง มั น สำปะหลั ง ผสมกั บ แป ง ชนิ ด อื่ น ๆ เพื่ อ ให เ กิ ด ความเหนียวนุม • เสนกวยเตี๋ยว (Noodle) ชวยเพิ่มความเหนียวและยืดหยุน ทำใหไมขาดงาย และทำใหเสนมีความเงาเพิ่มความนารับประทาน • ผลิตภัณฑแปงชุบทอด (Deep-Fried Flour) ชวยเพิ่มความกรอบและ ควบคุมการพองตัวไดดี • น้ ำ ส ม สายชู (Vinegar) เป น กรดอะซิ ติ ก ที่ ไ ด จ ากการหมั ก สารละลาย แอลกอฮอลซึ่งทำมาจากมันสำปะหลังโดยใชแบคทีเรีย Acetobactor เปน ตัวเปลี่ยนแอลกอฮอลใหกลายเปนกรดอะซิติ กแลวนำกรดที่ไดไปเจือจาง ด ว ยน้ ำ ให ไ ด ม าตรฐานที่ มอก. กำหนดจะได น้ ำ ส ม สายชู ซึ่ ง นำไปใช ประกอบอาหารในครัวเรือน
Fo Foo F Food ood oo o od o d Focus Foc Fo F ocu oc uss Thailand Th hai ha hail aiiilla a ail an and nd n d
OC O OCTOBER CTTO CTO OB BEER 2013 22001133
R2_FF#91_p50-51_Pro3.indd 50
9/26/13 11:43:12 AM
• ปลาเส น (Fish Snack) ใช แ ป ง มั น สำปะหลั ง เปนสวนประกอบในการขึ้นรูป และทำใหสวนประกอบอื่นๆ ผสมผสานเขาเนื้อปลาไดดี จะเห็นไดวาใชเปนสวนประกอบหลัก รองจากเนื้อปลา • อาหารแช แ ข็ ง (Frozen Food) ช ว ยรั ก ษาความคงตั ว แมผานการแชแข็งเปนเวลานาน หลังจากละลายแลว ลักษณะ FF#90_AD Ubon_Pro3.ai 1 ยังเหมือนเดิม เกิดความคงตัว อาทิเชน ติ่มซำแชแข็ง • ซอสปรุ ง รสและซุ ป (Seasoning Sauce and Soup) แปงมันสำปะหลังมีคุณสมบัติในการชวยเพิ่มความขนหนืด ใหกับผลิตภัณฑ ในซอสจะมีแปงดัดแปรประเภทแปงออกซิไดซ แป ง พรี เ จลลาติ ไ นซ แป ง คลอสลิ ง เป น ตั ว เพิ่ ม ความข น และทำให เ ป น รู ป ร า ง ส ว นในมายองเนสจะมี แ ป ง ฟอสเฟตโมโสเอสเทอร เ ป น สารอิ มั ล ซิ ไ ฟเออร ซึ่ ง ช ว ยให น้ ำ รวมตั ว กั บ น้ำมันได • ผงชูรส (Monosodium Glutamate) ผงชูรสที่ใชในการปรุงอาหารมีชื่อทางเคมี คือ โมโนโซเดียมกลูตาเมท ปริมาณ การนำแป ง มั น สำปะหลั ง มาใช ใ นอุ ต สาหกรรมผงชู ร ส สูงถึงประมาณรอยละ 20 ของปริมาณแปงมันที่ผลิตไดทั้งหมด ขั้นตอนการผลิต คือ ใชแปง หรือกากน้ำตาลที่เรียกวา โมลาส จากโรงงานน้ำตาล หรือทั้งสองอยางมาผสมกัน หลังจากนั้น ก็ เ ปลี่ ย นย อ ยแป ง ให เ ป น น้ ำ ตาลกลู โ คส โดยการหมั ก ด ว ย เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย เพื่ อ เปลี่ ย นน้ ำ ตาลกลู โ คสเป น กรดกลู ต ามิ ก หลังจากหมักไดที่ นำไปทำปฏิกิริยากับโซดาไฟจะไดโมโนโซเดียมกลูตาเมต แลวทำใหตกผลึกซึ่งเราเรียกกันวาผงชูรส • สาคู (Sago) ผลิตจากการเอาแปงมาขึ้นรูป โดยใชเครื่องจักร ในการเขยาใหจับกันเปนกอน พรอมผานการคั่วและอบแปง จึงทำใหเปนเม็ดๆ เรียกวาเม็ดสาคู • ไขมุก (Tapioca Pearl) ผลิตจากการนำแปงมันสำปะหลัง มาทำใหชื้น แลวนำตะแกรงมาลอนจนกลายเปนเม็ดสาคูสีดำ แปงมันสำปะหลังจะมีสวนชวยใหไขมุกเหนียวหนึบ • ลูกกวาด ช็อคโกแลต (Confectionary) มีสารใหความหวาน ประเภทกลูโคสหรือฟรุกโทสซึ่งผลิตจากแปงมันสำปะหลังผสมอยู ชวยทำใหมีรสหวานและทำใหกลิ่นรสของผลิตภัณฑดีขึ้น และ มี แ ป ง ดั ด แปรประเภทแป ง ไฮดรอกซี เ อทธิ ล แป ง เดกซ ท ริ น แป ง แปรรู ป ประเภทไฮดรอกซิ ล โพรไพเรท (Hydroxyl propylated starch) เพื่อใหลูกกวาดมีความแข็ง • ผลไม ก ระป อ ง แยม (Canned Fruit, Jam) มี ส าร ใหความหวานประเภทฟรุกโทสหรือกลูโคสซึ่งผลิตจากแปงมันสำปะหลั ง ผสมอยู ทำให ค วามหวาน สี รส และเนื้ อ สั ม ผั ส ดีขึ้น และกรดซิตริกซึ่งทำจากแปงมันสำปะหลังเปนตัวปรับ รสชาติและรักษาอาหาร • เครื่องดื่ม (Beverages) มีสารใหความหวานประเภทกลูโคส และฟรุกโทสเปนสวนผสมอยู ทำใหผูบริโภครูสึกสดชื่นเมื่อดื่ม เครื่องดื่ม และชวยเพิ่มกลิ่นรสของผลไม อีกทั้งมีกรดซิตริก เปนตัวปรับรสชาติและรักษาอาหาร
8/22/13
2:33 PM
• ครีมเทียม (Artificial Cremer) แปงมันสำปะหลังเปนวัตถุดิบผลิตสารใหความหวานประเภท มอลโตเดกซตริน ซึ่งเปนตัวเพิ่มปริมาตรและชวยในการละลายในครีมเทียม • ไอศกรีม (Ice Cream) มีสารใหความหวานประเภทกลูโคสหรือฟรุกโทสซึ่งผลิตจากแปงมันสำปะหลัง ผสมอยูและมีแปงดัดแปรประเภทกัม (Gum) เปนตัวทำคงสภาพโดยไมคืนตัว มั น สำปะหลั ง เมื่ อ นำไปแปรรู ป แล ว สามารถนำไปใช ป ระโยชน ไ ด ม ากมาย จากตั ว อย า ง ที่ ก ล า วถึ ง ข า งต น เป น เพี ย งการนำแป ง ที่ ผ ลิ ต จากมั น สำปะหลั ง ไปใช ป ระโยชน ใ นอุ ต สาหกรรม ที่เกี่ยวกับอาหาร ซึ่งมันสำปะหลังยังสามารถนำไปใชประโยชนในสวนตางๆ ไดอีกมากมาย ไมวา จะเป น ในอุ ต สาหกรรมอาหารสั ต ว อุ ต สาหกรรมการผลิ ต เอทานอล เป น ต น เพราะฉะนั้ น การที่มันสำปะหลังถูกขนานนามวา “พืชของขวัญ” ก็คงไมผิดไกลนัก
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R2_FF#91_p50-51_Pro3.indd 51
51
9/26/13 11:43:15 AM
SMOOTH DISTRIBUTION
â´Â: ¤Ø³ÍѨ©ÃÒ ÊØ¢ÊÔÃÔÇѲ¹
¼ÙŒ¨Ñ´¡Òý†Ò¡ÒÃμÅÒ´ ºÃÔÉÑ· â¡Åºà·¤ ¨Ó¡Ñ´ atchara.s@cdg.co.th
e-Logistics
บริหารการขนสงแบบเรียลไทม ลดตนทุน เพิ่มศักยภาพทางการแขงขัน °“√∫√‘ À “√®— ¥ °“√ß“π¢π à ß ‡ªì π Àπ÷Ë ß „πÀ— « „® ”§— ≠ ”À√— ∫ ∏ÿ √ °‘ ® ‚≈®‘ μ‘° åÀ√◊Õ∏ÿ√°‘®∑’Ë¡’¿“√°‘®¥â“π°“√¢π àß ‡π◊ËÕߥ⫬μâπ∑ÿπ§à“¢π àß ∂◊Õ‡ªìπμâπ∑ÿ𠔧—≠∑’Ë àߺ≈°√–∑∫°—∫μâπ∑ÿπ√«¡¢Õß ‘π§â“·≈–∫√‘°“√ ®÷ß∑”„ÀâÀπ૬ߓπμà“ßÊ ‡≈◊Õ°‡∑§‚π‚≈¬’‡¢â“¡“™à«¬®—¥°“√‡æ◊ËÕ§«∫§ÿ¡ ¥Ÿ · ≈ß“π¢π à ß „Àâ ¡’ ª √– ‘ ∑ ∏‘ ¿ “æμ≈Õ¥®π≈¥§à “ „™â ®à “ ¬∑’Ë ‰ ¡à ® ”‡ªì π „Àâ πâ Õ ¬≈ß ‚¥¬À≈— ° °“√¢Õß‚≈®‘ μ‘ ° å „ π√–∫∫¢Õß°“√¢π à ß §◊ Õ ‰ª„Àâ∂÷ß∑’ËÀ¡“¬Õ¬à“ß∂Ÿ°μâÕß √«¥‡√Á« ·≈–∑—π‡«≈“
ป
จจุบัน ระบบติดตามยานพาหนะแบบเรียลไทม (GPS tracking system) เปนระบบที่ใชกันอยางแพรหลายในสวนของงานขนสงสินคาของธุรกิจ ซึ่ ง ผู บ ริ ห ารหรื อ ผู ค วบคุ ม ดู แ ลสามารถตรวจสอบการทำงานของ เจาหนาที่ผูปฏิบัติงานไดผานระบบ เชน การจัดสงสินคาเปนไปตามแผนหรือไม การขับรถอยูในเสนทางที่กำหนดหรือไม พฤติกรรมการขับรถมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น หรื อ ไม เป น ต น อย า งไรก็ ต าม ระบบติ ด ตามยานพาหนะจะช ว ยสนั บ สนุ น การตรวจสอบติดตามในระหวางการขนสงเปนหลัก ดังนั้นเพื่อตอบโจทยองคกร ธุรกิจที่ตองการระบบไอทีที่เขามาชวยสนับสนุนงานขนสงอยางครบวงจร ผูประกอบการ ควรจะต อ งพิ จ ารณาระบบที่ มี ก ารพั ฒ นาเทคโนโลยี ใ นรู ป แบบบริ ห ารจั ด การ การขนสงตั้งแตการวางแผนการขนสง การติดตามและตรวจสอบระหวางการขนสง และการรายงานผลหลังจากงานขนสงเสร็จสิ้น จึงจะสามารถจัดการงานขนสง ไดอยางเต็มรูปแบบ ป จ จุ บั น ได มี ก ารพั ฒ นาระบบบริ ห ารการขนส ง แบบเรี ย ลไทม (Real-time shipment management1) ในรูปแบบบูรณาการบริการระบบสารสนเทศ (Service innovation) ซึ่งไดนำเอาจุดแข็งของผลิตภัณฑแผนที่และเทคโนโลยีดานการขนสง2 ผนวกกับเทคโนโลยีทางดาน GPS และ GIS เพื่อใชในการเพิ่มศักยภาพในการ แขงขันและการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานดานการขนสงขององคกรธุรกิจ ตางๆ ระบบบริหารการขนสงแบบเรียลไทม1 ถือวาเปนระบบติดตามยานพาหนะ ระบบแรกในประเทศไทยที่ บู ร ณาการเทคโนโลยี ชั้ น นำในด า นต า งๆ มาปฏิ วั ติ การติดตามยานพาหนะใหเปนระบบบริหารการขนสงอยางเต็มรูปแบบ ระบบ ติดตามยานพาหนะโดยทั่วไปจะสามารถติดตามรถขนสง ดูแผนที่ ดูสถานะของรถ และทำรายงาน แตระบบการบริหารการขนสง1 ชวยใหผูประกอบการสามารถ บริ ห ารการขนส ง ได ค รบวงจร ตั้ ง แต ก ารวางแผนการขนส ง ก อ นออกเดิ น ทาง การติดตามรถยนต การสั่งงานในระหวางทาง การนำทาง การควบคุมดูแล การทำ รายงาน และการช ว ยในการบำรุ ง รั ก ษารถยนต นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ ก ารพั ฒ นา ปรับปรุง (Customize) โปรแกรมใหเขากับความตองการเฉพาะของผูประกอบการ ในแตละรายดวย ทำใหระบบนี้เปนระบบที่ชวยผูประกอบการในการบริหารระบบขนสงในองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพและประหยัดคาใชจายไดในระบบเดียว 52
องคประกอบของระบบการขนสงแบบเรียลไทม1 1. อุปกรณติดตั้งภายในยานพาหนะ หรือ เครื่องคอมพิวเตอรพกพา ที่ มี อ งค ป ระกอบของตั ว รั บ สั ญ ญาณ GPS เพื่ อ การระบุ ต ำแหน ง และ การสื่อสารในระบบ ทำหนาที่สงตำแหนงและสถานะของรถยนตไปยังผูดูแล ระบบแบบเรียลไทม (Real-time) นอกจากนี้ยังรวมถึงอุปกรณเสริมตางๆ ที่ ติ ด ตั้ ง ในตั ว รถที่ ใ ช ใ นการวั ด หรื อ ตรวจจั บ การเปลี่ ย นแปลงสถานะอื่ น ๆ ในตัวรถ เชน การเปด-ปดประตู อุณหภูมิในตัวรถหรือภายในตูขนสงสินคา 2. ระบบสารสนเทศที่ใหบริการแอพพลิเคชัน (Application) และ ระบบขอมูลแบบ Cloud Service เพื่อใหผูบริหารหรือเจาหนาที่ที่รับผิดชอบ ระบบขนส ง สามารถติ ด ตามความคื บ หน า หรื อ รั บ แจ ง ความผิ ด ปกติ ข อง รถยนตที่กำลังปฏิบัติหนาที่ไดแบบเรียลไทม 3. ระบบการให บ ริ ก ารข อ มู ล สารสนเทศทางภู มิ ศ าสตร (GIS) เปนระบบที่ใชในการสนับสนุนแอพพลิเคชัน โดยจะเปนระบบที่ใชแสดงขอมูล แผนที่ฐานและตำแหนงรถทั้งในปจจุบันและในอดีต นอกจากนี้แลว องคกร สามารถนำไปใชในการวางแผนไดดวย เชน การวางแผนเสนทาง การเก็บ ตำแหนงลูกคาหรือจุดจอด ระบบฐานขอมูลแผนที่ ยังรวมถึงการใหบริการ ขอมูลเสริมอื่นๆ เชน สถานะจราจรแบบเรียลไทม เพื่อใชชวยในการตัดสินใจ 4. ระบบผูใชงานบริหารการขนสง (Client Application) เปนระบบที่ ผูบริหารงานขนสงสามารถตรวจสอบและจัดการยานพาหนะผานทางอินเทอรเน็ต จากที่ใดก็ไดผานทางระบบคอมพิวเตอรตั้งโตะ (Desktop Computer) หรือ ผานทางโทรศัพทแบบ Smart Phone หรือ Tablet ทำใหผูจัดการสามารถ สั่ ง งานและควบคุ ม ดู แ ลระบบขนส ง ได อ ย า งรวดเร็ ว ทั น ท ว งที แ ละ มีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนั้นยังพัฒนาระบบสั่ง-รับงาน (Dispatcher application) และ ระบบนำทางรถยนต (Navigator) ใหรองรับงานขนสงที่ตองการใหมีการสง-รับงาน ในระหว า งทางได เ พื่ อ ป อ งกั น ป ญ หาการวิ่ ง รถเที่ ย วเปล า เป น เทคโนโลยี การสื่อสารระหวางผูควบคุมและผูขับรถขนสงในแบบ 2 - Way Communication ทำใหสามารถแจงงานระหวางทาง ตอบรับหรือปฏิเสธการรับงาน ยกเลิก การสงสินคา รวมถึงบันทึก/เช็คอินการสงสินคา ณ จุดหมาย และยืนยันการรับ สินคาดวยระบบลายเซ็นและรูปภาพผาน Mobile application ทั้งยังสามารถ เชื่ อ มต อ ระบบนำทางรถยนต เ พื่ อ ให ผู ขั บ รถสามารถเดิ น ทางไปยั ง ที่ ห มาย ที่ไมรูจักถูกตอง รวดเร็ว และทันเวลานัดหมาย
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p52-53_Pro3.indd 52
9/25/13 10:56:24 AM
Cloud Shipment Management1
• การสง-รับงานระหวางทาง เพื่อปองกันการวิ่งรถเที่ยวเปลา • การวางแผนและปรับปรุงแผนงานขนสงและการบำรุงรักษารถขนสง จากขอมูลรายงานประวัติการเดินรถ • การควบคุมคาใชจาย ทั้งคาน้ำมันเชื้อเพลิงและคาซอมบำรุงรักษา • ความพึงพอใจของลูกคาจากการบริการขนสงที่มีมาตรฐาน และสามารถควบคุมคุณภาพได
โอกาสการขยายการบริการไปยังภูมิภาคอาเซียนและทั่วโลก ลดตนทุน เพิ่มประสิทธิภาพงานขนสง สรางความไดเปรียบ ในการแขงขันทางธุรกิจ จากองคประกอบของเทคโนโลยีตางๆ ที่นำมาบูรณาการรวมกัน ทำใหระบบ บริ ห ารการขนส ง แบบเรี ย ลไทม มี อ รรถประโยชน ม ากมายทั้ ง ด า น ความปลอดภัยและการบริหารงานขนสง อยางเชน • การวางแผนจั ด สรรการทำงานของรถขนส ง ทำให ใ ช ร ะยะทางและ เวลาในการกระจายสินคาที่นอยที่สุด • การติดตามตำแหนงปจจุบันของรถและพฤติกรรมการขับรถ เชน วิ่งรถ เร็วเกินความเร็วที่กำหนด วิ่งรถออกนอกเสนทางที่วางแผนไว หรือการติด เซนเซอรตรวจสอบระดับน้ำมัน ระบบอุณหภูมิภายในตูขนสงสินคาโดยสามารถ 1 ่ ม ความปลอดภั 6/24/13 11:27 PM แจงเตือFF#87_ad นมายังศูGlobe_Pro3.ai นยควบคุม ชวยเพิ ยในการขนส งและทำให สงสินคาไดภายในกำหนดเวลา
เนื่ อ งจากระบบบริ ห ารการขนส ง แบบเรี ย ลไทม 1 ที่ พั ฒ นาขึ้ น นี้ เ ป น ระบบที่ ใ ช เทคโนโลยีตามมาตรฐานอุตสาหกรรมจึงสามารถใชงานไดทั่วโลก อีกทั้งระบบ ดังกลาวก็ยังสามารถพัฒนาใหรองรับการขยายการบริการไปยังประเทศตางๆ ในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ทั่วโลก ไมวาจะเปนขอมูลแผนที่ตลอดจน อุปกรณที่ใชเพื่อการติดตามและติดตอสื่อสารขามประเทศ เพื่อใหองคกรธุรกิจไทย สามารถใช ร ะบบบริ ห ารจั ด การการขนส ง ให ส อดคล อ งกั บ แผนพั ฒ นาธุ ร กิ จ สูภูมิภาคอาเซียน ตามที่ประเทศไทยจะเปดเสรีการคาในอีกไมกี่ปขางหนา ทั้งนี้ การบริหารจัดการงานขนสงมีความสำคัญตอการบริหารโลจิสติกสในองคกรซึ่งจะ ชวยเพิ่มศักยภาพทางธุรกิจและสรางความไดเปรียบในการแขงขันที่เหนือกวา คูแขง ขอมูลเพิ่มเติม 1 ระบบบริหารการขนสงแบบเรียลไทม NOSTRA Logistics: Cloud Shipment Management พัฒนาโดยบริษัท โกลบเทค จำกัด 2 ผลิตภัณฑแผนที่และเทคโนโลยีดานการขนสงของบริษัท โกลบเทค จำกัด
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p52-53_Pro3.indd 53
53
9/25/13 10:56:24 AM
SAVE THE WORLD โดย: รองศาสตราจารย ดร. พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม นายกกิตติมศักดิ์ (กอตั้ง) / ประธานที่ปรึกษา สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย รองประธานกลุมอุตสาหกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย รางวัลวิทยาศาสตรสูความเปนเลิศ ดานพลาสติกชีวภาพ จากวุฒิสภาแหงชาติ อดีตรองคณบดี คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย drphietoon@gmail.com
การใชพลาสติกใหถูก และใหเปน (คุมคา) ‡ªìπ∑’Ë∑√“∫°—π‚¥¬∑—Ë«‰ª«à“°“√§â“ªí®®ÿ∫—π¡’°“√·¢àߢ—π°—π ÿ¥Ê ºŸâ∑’ËÕ¬Ÿà„π‡«∑’π’È ®–μâ Õ ß√Ÿâ ® √‘ ß ·≈–√Ÿâ ° «â “ ß ‚¥¬‡©æ“–§ß‰¡à ‡ æ’ ¬ ß·μà · ¢à ß ¢— π ·§à √ “§“ ·≈–§ÿ ≥ ¿“æ‡∑à “ π—È π ¥— ß ‡™à π øî ≈‘ ª §Õμ‡≈Õ√å „Àâ · 𫧑 ¥ à « πª√– ¡∑“ß °“√μ≈“¥ (Marketing mix = 4 Pûs) ´÷Ëߪ√–°Õ∫¥â«¬ Product Price Place ·≈– Promotion ·≈–¡’ ° “√¢¬“¬‰ªÕ’ ° ¡“°„π‡√◊Ë Õ ß°“√√— ∫ º‘ ¥ ™Õ∫μà Õ ‘Ë ß ·«¥≈â Õ ¡·≈– — ß §¡ (CESR / CSR) ‡™à π °“√Õπÿ √— ° …å ‘Ë ß ·«¥≈â Õ ¡·≈– ∑√—欓°√∏√√¡™“μ‘Õ¬à“߬—Ë߬◊π
54
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p54-57_Pro3.indd 54
9/25/13 11:21:09 AM
เ
รื่ อ งภั ย ธรรมชาติ ซึ่ ง เกิ ด จากการไร ส มดุ ล ทางด า นสิ่ ง แวดล อ มและเกิ ด ขึ้ น อยู เ นื อ งๆ และจะยิ่งเขาใกลตัวเรามากทุกที ปจจุบันจึงมี การตระหนั ก ถึ ง เรื่ อ งสิ่ ง แวดล อ มกั น มากขึ้ น คื อ เกิดการแขงกันผลิตสินคาที่กอใหเกิดผลกระทบ ตอสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะการปลดปลอยมลภาวะ ทางน้ำและอากาศที่สงผลกระทบนอยที่สุด ซึ่งจะ เปนที่นิยมและไดรับการสนับสนุนจากผูบริโภค ด ว ยเหตุ นี้ จึ ง จำเป น ต อ งมี ต ราสั ญ ลั ก ษณ บอกกลาวใหผูบริโภคไดสัมผัสงายและชัดเจนวา สินคาดังกลาวเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม หรือทำลาย ความสมดุ ล ของธรรมชาติ น อ ยสุ ด เพี ย งใด เนื่องจากพลาสติกธรรมดาทั่วไปที่ไดจากกระบวน การปโตรเคมีมีใชในประเทศเปนเวลากวา 50 ป แลว ซึ่งหลายๆ ครั้ง อาจจะยังใชไมถูกและใชไม เป น อย า งคุ ม ค า จึ ง ก อ ให เ กิ ด มลภาวะที่ ไ ม ดี ต อ สุ ข ภาวะของคนในสั ง คม โดยมี ป ญ หาต อ งเพิ่ ม งบประมาณด า นสาธารณะสุ ข ในการรั ก ษา พยาบาล ทั้งนี้ เนื่องจากพลาสติกดังกลาวมีความคงทนดี ม ากและกว า จะสลายต อ งรอถึ ง 400 ป จึ ง มี ผู พ ยายามคิ ด ที่ จ ะทำให มี ก ารย อ ยสลาย พลาสติ ก ได โดยคิ ด ค น วิ ธี ก ารใส ส ารเติ ม แต ง ตางๆ ที่สวนใหญเปนสารประกอบโลหะหนัก ซึ่ง เปนอันตรายตอสุขภาพภายหลัง และที่จริงแลว เปนการยอยสลายระดับหนึ่งเทานั้น โดยยังไมถึง ระดับมาตรฐานสากลที่ใหความปลอดภัยที่แทจริง ป จ จุ บั น โลกได พั ฒ นาไปถึ ง จุ ด ที่ มี น วั ต กรรม ล า สุ ด เกิ ด ขึ้ น เราเรี ย กว า พลาสติ ก ชี ว ภาพ (Bioplastics) ในที่นี้เราจะพูดถึงเฉพาะพลาสติก ที่สลายตัวได (Compostable plastics) ซึ่งเปน กุ ญ แจที่ ส ำคั ญ มากที่ จ ะช ว ยรั ก ษาสิ่ ง แวดล อ ม ดานลดมลภาวะตางๆ และการอนุรักษทรัพยากร ธรรมชาติ อ ย า งยั่ ง ยื น ในสั ง คมไทยมี ก ารใช พลาสติ ก ชนิ ด Oxo Biodegradable ซึ่ ง เป น พลาสติ ก ธรรมดาทั่ ว ไปที่ ผ สมสารเติ ม แต ง ดังที่กลาวไวขางตน โดยเปนพลาสติกแตกสลาย ทางชีวภาพ (Biodegradable plastics) บางสวน เทานั้น และยังไมพอที่จะกาวไปถึงขั้นที่สลายตัว ไดทางชีวภาพ (Compostable) ซึ่งเปนถึงระดับ ที่ เ ป น มาตรฐานสากลจริ ง ๆ โดยมี ก ารให ตราสั ญ ลั ก ษณ รั บ รองผลิ ต ภั ณ ฑ ว า ไม เ ป น พิ ษ ตอสิ่งแวดลอม และสลายตัวไดเปนปุยหมัก เพื่อใช ทำเป น ปุ ย อิ น ทรี ย ที่ เ ป น ประโยชน ม หาศาลกว า ปุยเคมี โดยปจจุบันไทยมีการนำเขาปุยเคมีเพิ่มขึ้น
is part of Sealed Air
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p54-57_Pro3.indd 55
55
9/25/13 11:21:11 AM
ทุกปทั้งๆ ที่ผลผลิตยังคงเดิม ตัวเลขการนำเขาปุยเคมีอาจสูงถึงแสนลาน บาท และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นเปนทวีคูณ ปจจุบัน สำนักงานมาตรฐานอุตสาหกรรม (สมอ.) ไดออกขอกำหนด มาตรฐานพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ มอก.17088-2555 ซึ่งไดประกาศ ใช แ ล ว ตามกฎหมาย เมื่ อ วั น ที่ 24 กรกฎาคม 2555 โดยข อ กำหนดนี้ ไมครอบคลุมถึงการใชงานของผลิตภัณฑนั้นๆ แตเพียงแจงวาสินคาดังกลาว สลายตัวไดทางชีวภาพตามขอกำหนดฯ จึงยังไมมีตราสัญลักษณ มอก. แสดง ใหผูบริโภคสามารถแยกแยะไดโดยงาย ดังนั้น สมาคมอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพไทย จึงไดจดทะเบียนกำหนดตราสัญลักษณนี้ ดังแสดงในรูปที่ 1
รูปที่ 1 เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑพลาสติกสลายตัวไดทางชีวภาพ
56
เพื่ อ ใช พิ ม พ เ ป น ฉลากติ ด กั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ซึ่ ง จะแสดงว า สิ น ค า นี้ ส ลายตั ว ไดทางชีวภาพตามขอกำหนดมาตรฐาน มอก.17088-2555 เปนการชวยให ผู บ ริ โ ภคสามารถเห็ น และเข า ใจชั ด เจนถึ ง ความเป น มิ ต รต อ สิ่ ง แวดล อ ม ในผลิตภัณฑนั้นๆ ผูประกอบการที่มีผลิตภัณฑที่สลายตัวไดตามมาตรฐานสากล ก็สามารถมาขอตราสัญญลักษณนี้ไปติดได โดยตองผานกระบวนการตรวจสอบที่เปนมาตรฐานสากล ตามขอบขาย 4 ประเด็นหลัก คือ 1. การแตกสลายทางชีวภาพ (Biodegradation test) 2. การแตกเปนสวนระหวางการหมัก (Disintegration test) 3. ผลเสียที่เกิดตอกระบวนการหมักและระบบที่เกี่ยวของ (Ecotoxicity test) 4. ปริมาณสูงสุดของโลหะและสารพิษในปุยหมักที่ได (Chemical characterization) ต อ จากนี้ เมื่ อ พบเห็ น ตราสั ญ ลั ก ษณ นี้ แ ล ว ก็ เ ป น ที่ เ ข า ใจและรู จั ก วาสินคาตัวนี้สามารถสลายตัวไดทางชีวภาพจนกลายเปนปุยหมัก เวลา แยกขยะก็จะสะดวกขึ้น สามารถแยกไวรวมกับขยะอินทรียหรือขยะเปยก เพื่อผูกำจัดขยะจะไดแยกไปโรงหมักปุยเพื่อทำเปนปุยหมักตอไป สำหรั บ การพั ฒ นามาตรฐานต อ ไปจะเจาะลึ ก ถึ ง การใช ง านแต ล ะ ผลิตภัณฑ ซึ่งจะมีตรา มอก. แสดงอยางชัดเจนใหกับสินคานั้นๆ และยังมี การกำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑพลาสติกที่ทำจากพืช (Biobased plastics) ผลิตภัณฑดังกลาวนี้ สวนใหญจะเปนพลาสติกชีวภาพ ชนิดสลายตัวไมได (Non-compostable) โดยสังเคราะหใหมีโครงสรางเดียวกับพลาสติกทั่วไป แตทำจากพืช ดวยวิธีการหมักแทนการกลั่น จึงไดคา Carbon Credit เพราะ ในกระบวนการหมั ก ใช พ ลั ง งานน อ ยกว า จึ ง ปลดปล อ ยก า ซเรื อ นกระจก
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p54-57_Pro3.indd 56
9/25/13 11:21:11 AM
(GHG) น อ ยกว า การกลั่ น เรามั ก เรี ย ก พลาสติ ก สีเขียว (Green Plastics) หรือ Non-compostable Bioplastics นั่นเอง ในที่นี้จะเนนเฉพาะ Thermoplastics คือ พลาสติกที่ขึ้นรูปไดจากการหลอมดวยความรอน จนเหลวแลวใชเครื่องจักรธรรมดาตามปกติที่ใชผลิต สินคาพลาสติกทั่วไปเทานั้น ทั้งนี้ไมรวมถึงผลิตภัณฑ ที่ ท ำจากพื ช แต ไ ม ใ ช Thermoplastics ซึ่ ง ต อ งใช กระบวนการขึ้นรูปดวยเครื่องจักรอื่น ๆ ดั ง นั้ น จึ ง ยั ง มี ก ารเอาพลาสติ ก ธรรมดามาเติ ม สวนที่เปนผลผลิตจากพืช อาทิ เชน พลาสติกเขียว หรื อ แป ง จากมั น สำปะหลั ง แป ง ข า วโพด เยื่ อ ไม หรื อ เส น ใยจากพื ช โดยจะต อ งมี ก ารผสมเติ ม แต ง กั บ พลาสติ ก ธรรมดาตั้ ง แต ร อ ยละ 25 เป น ต น ไป สุดแตความเหมาะสมของการใชงานในผลิตภัณฑนั้น เราเรี ย กผลิ ต ภั ณ ฑ พ ลาสติ ก ที่ ท ำจากพื ช ซึ่ ง มี หมายเลขเปอร เ ซ็ น ต ก ำกั บ เช น 25% แสดงว า มีสวนผสมจากพืชรอยละ 25 ทั้งนี้เปนการแสดงถึง การสนั บ สนุ น ให ใ ช พ ลาสติ ก จากป โ ตรเคมี น อ ยลง เพื่ อ ยื ด อายุ ก ารหมดไปของทรั พ ยากรธรรมชาติ ใหยาวนานขึ้น เปนการเขาขาย Reduce ในหลักการ 3R : Going Green ในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ อยางยั่งยืน จากรูปที่ 2 เปนการแสดงภาพสัดสวนของสวนผสมของวัสดุจากพืชในพลาสติก การตรวจสอบหา ส ว นผสมจากพื ช ได จ ากการวั ด ค า C-14 ที่ อ ยู ใ น ตั ว อย า งสิ น ค า และส ว นใหญ เ ป น C-12 ซึ่ ง เป น คาร บ อนเก า มี แ หล ง กำเนิ ด จากน้ ำ มั น ป โ ตรเลี ย ม นั่นเอง ดังนั้นจึงสำคัญอยางยิ่งที่จะตองรูจักคุณสมบัติ ของพลาสติ ก แต ล ะชนิ ด โดยกำหนดเครื่ อ งหมาย แสดงใหชัดเจน เพื่อผูบริโภคจะไดนำไปใชงานได ถู ก วิ ธี แ ละคุ ม ค า รวมทั้ ง การกำจั ด ขยะที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยให มี ผ ลกระทบต อ สิ่ ง แวดล อ มน อ ยที่ สุ ด อาทิ กรณี พ ลาสติ ก ชี ว ภาพชนิ ด สลายตั ว ได จึ ง ควร อยางยิ่งตองใชกับสินคาหรือบรรจุภัณฑที่ตองสัมผัส กั บ อาหาร เพราะทั้ ง บรรจุ ภั ณ ฑ กั บ ขยะอาหาร/ อินทรีย จะถูกแยกจากครัวเรือนเพื่อผูกำจัดขยะจะได นำสงโรงหมักปุยเพื่อทำปุยหมักและปุยอินทรียตอไป และจะไมมีการเผาขยะพลาสติกอีกซึ่งกอมลภาวะ เป น พิ ษ ทางอากาศ ภาวะโลกร อ น ทั้ ง ยั ง ช ว ยลด การนำเข า ปุ ย เคมี ส ง ผลประโยชน เ ชิ ง เศรษฐกิ จ อีกดวย
รูปที่ 2 สัดสวนของสวนผสมของวัสดุจากพืชในพลาสติก
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013 FF#91_ad_Thai Unique_Pro3.indd 1
R1_FF#91_p54-57_Pro3.indd 57
57
9/26/13 12:56:39 AM
9/26/13 12:58:16 AM
โดย: คุณวิมลศรี ดวงทอง Section Head of Project Engineering Department (Marketing) บริษัท อาควา นิชิฮารา คอรเปอรเรชั่น จำกัด engineer@aqua.co.th
SAVE THE WORLD
ปนขยะสด... ทดแทนกาซธรรมชาติ ม
1 °—𬓬π ∑’˺à“π¡“ «à“°—π«à“‡ªìπ«—π∑’褈Ҥ√Õß™’ææ√âÕ¡„®°—π¢÷Èπ√“§“ ∑—Èߧà“∑“ߥà«π §à“‰øøÑ“ ·≈–√“§“ °ä“´Àÿßμâ¡ ∑”„À⧓¥«à“πà“®–¡’Õ–‰√Õ’°À≈“¬√“¬°“√∑’Ëæ√âÕ¡®–¢¬—∫μ—« Ÿß¢÷Èπμ“¡‡™àπ°—π
องลงไปในส ว นค า พลั ง งานนั้ น คงต อ งถอนหายใจ และทำใจ ยอมรับกับการเปลี่ยนแปลงของราคาที่มีแนวโนมสูงขึ้นในทุกป เนื่ อ งจากร อ ยละ 60–70 ของพลั ง งานที่ ใ ช กั น ยั ง คงฝากไว กั บ เชื้ อ เพลิ ง ป โ ตรเลี ย มเป น หลั ก คำถามคื อ แล ว พลั ง งานทางเลื อ กไปอยู ไหน...เกิดขึ้นแลวบางหรือยัง...ใชไดจริงไหม...หนวยงานราชการหลาย หนวยงานสงเสริมและสนับสนุนพลังงานทางเลือกมากมาย ซึ่งผลของการดำเนินงานไปถึงไหนแลว... ในชวง 5-6 ปที่ผานมา การสนับสนุนในเรื่องพลังงานทดแทน ถือวา ประสบความสำเร็จและใหผลที่ดี ทั้งในดานการนำไปใชงานไดจริง ทำใหลด การนำเข า เชื้ อ เพลิ ง ป โ ตรเลี ย ม การลดผลกระทบสิ่ ง แวดล อ ม หนึ่ ง ใน โครงการพลังงานทดแทนที่ถือวาโดดเดน คือ เชื้อเพลิงชีวภาพ เชื้อเพลิงชีวภาพ หรือกาซชีวภาพ (Biogas) เปนกาซที่เกิดจาก กระบวนการเปลี่ ย นสารอิ น ทรี ย ทั้ ง ที่ อ ยู ใ นรู ป ของของแข็ ง และของเหลว ที่มีโครงสรางสลับซับซอน อันไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ฯลฯ 58
ดวยกระบวนการทางธรรมชาตินี้เกิดขึ้นภายใตสภาวะไรอากาศ (Anaerobic process) โดยอาศัยการทำงานของจุลินทรียจำพวกที่ไมชอบกาซออกซิเจน ยอยสลายสารอินทรียเหลานี้ใหเกิดเปนกาซ กาซชีวภาพที่ไดประกอบดวย กาซมีเทน (CH4) ประมาณรอยละ 45–70 และกาซคารบอนไดออกไซด ประมาณรอยละ 30–35 เปนหลัก โดยมีกาซ อื่นๆ ในปริมาณเล็กนอย เชน กาซไฮโดรเจนซัลไฟด หรือกาซไขเนา (H2S) และกาซไนโตรเจน (N2) ซึ่งกาซมีเทนเปนกาซเชื้อเพลิง ติดไฟได มีคุณสมบัติ เชนเดียวกับกาซมีเทนที่เปนกาซหลักของกาซธรรมชาติ (Natural gas) ที่จำหนายในเสนทอ หรือใชเติมในรถยนต โดยกาซชีวภาพ 1 ลูกบาศกเมตร ที่ มี เ ทนร อ ยละ 60 มี คา พลั ง งานความร อ นที่ ส ามารถทดแทนก า ซหุ ง ต ม (LPG) ได 0.46 กิโลกรัม หรือพลังงานไฟฟาได 1.20 กิโลวัตตตอชั่วโมง ปจจุบันมีเกษตรกรผูเลี้ยงหมู วัว ควาย และสัตวปก ไดใชกระบวนการนี้ ผลิตกาซชีวภาพมาใชในฟารม ทำใหลดการใชพลังงานปโตรเลียม เชน เป น เชื้ อ เพลิ ง เพื่ อ ต ม น้ ำ กกลู ก หมู หรื อ ผลิ ต ไฟฟ า ได เ ป น จำนวนมาก
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p58-59_Pro3.indd 58
9/25/13 2:30:24 PM
นอกจากนี้ยังรวมถึงของเสียอินทรียอื่นๆ เชน เปลือกผลไม เศษอาหาร เศษวัสดุเหลือทิ้งทาง การเกษตร รวมไปถึงน้ำเสียจากโรงงานแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร เชน แปงมัน น้ำมันปาลม และ น้ำตาลที่ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงงาน (รูปที่ 1)
ÿĜňÿĈėøĠĈēéĖĎüŇĕą ĐěþâĆöŋğìĂøĘĨ ĐěþâĆöŋüėĆăĔąčŇĊüýěååĈ åĆýĊèéĆøĕĄĄĕøĆòĕüčĕâĈ
รูปที่ 1 กระบวนการผลิตกาซชีวภาพที่นำมาใชในระดับฟารม ที่มา: http://sustainable.kmutt.ac.th/sustainability-at-kmutt/energy-and-climate-change/ climate-change-adaptation-and-migration-program/renewable-energy-usage-program/biogas/
ขยะสด เศษอาหารที่เหลือทิ้งในครัว รานอาหาร ตลาดสด โรงแรม หรือสถานประกอบการตางๆ เปนแหลงวัตถุดิบอยางหนึ่งที่นำมาหมักและผลิตไดกาซชีวภาพ เพียงแตวิธีการหรือเทคโนโลยีที่ใช จะแตกตางจากวัตถุดิบประเภทน้ำเสีย หรือของเสียในอุตสาหกรรม แตก็ยังอยูภายใตหลักการ เดียวกัน คือ ระบบชีวภาพแบบไรอากาศ ขั้นตอนที่สำคัญในการนำขยะมูลฝอยมาผลิตกาซชีวภาพ ประกอบดวย 1. การคัดแยกพวกเศษไมจิ้มฟน กระดาษทิชชู ถุงพลาสติก ฝาน้ำอัดลม กระดูกชิ้นใหญๆ ออกจากเศษอาหารที่จะเขาสูระบบหมัก เพราะมีผลตอการผลิตกาซชีวภาพ 2. การบดยอยเศษอาหารใหมีขนาดเล็ก ยิ่งเล็กเทาไรยิ่งดี เพราะจะทำใหจุลินทรียยอยงายขึ้น 3. การปอนเศษอาหารที่บดยอยแลวเขาสูบอหมัก 4. ในบอหมักควรจะมีการกวนผสม 5. เมื่อมีการปอนอาหารเขาก็ตองมีระบบนำเศษอาหารที่ยอยแลวออก โดยที่เรียกเจาสิ่งนี้วา ปุยชีวภาพ กอนหนานั้น เราอาจจะมองวาการดำเนินการนี้มีความยุงยาก ทั้งในขั้นตอนการดำเนินการ วิธีการเดินระบบ การดูแลรักษา เงินลงทุน ความปลอดภัย และที่สำคัญมีความเปนไปได คุมคา มากนอยแคไหน เพราะเรายังมีทางเลือก ราคาคากาซ คาครองชีพยังไมบีบรัดเรา อยางไรก็ตาม ในปจจุบันการยืนหยัดอยูไดดวยตัวเอง หรือความมั่นคงของชุมชน เปนสิ่งที่เรา แสวงหา พลังงานทางเลือกนี้จึงนาจะเปนคำตอบที่ดี เพราะนอกจากการประหยัดคาเชื้อเพลิง ยังได ปุยชีวภาพที่สามารถนำไปใชกับพื้นที่เกษตรกรรม หรือจำหนายแลวยังลดปญหาสิ่งแวดลอม ทั้งลด ปญหากลิ่นเหม็นเนาเสีย และยังชวยลดการปลอยกาซมีเทนที่เปนกาซเรือนกระจก (Green house gas) ทำให เ กิ ด ภาวะโลกร อ นอี ก ทางด ว ย ไม ใ ช แ ค เ ราที่ ไ ด ยั ง มี อี ก หลายคน หลายชี วิ ต ที่ ไ ด ประโยชนนี้ไปดวย…ขยะที่ทิ้งยังคงมีประโยชนอยูที่วาเรานำประโยชนนั้นมาใชไดอีกแคไหน…
MASK0001
Pangolin Safety Products Co., Ltd.
318/10-22 Soi Sukhumvit 22 (Sainamtip), Sukhumvit Road, Klongtoey, Bangkok 10110, Thailand Tel. 0 2259-0320-3 Fax. 0 2259-7504
www.pangolin.co.th Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p58-59_Pro3.indd 59
59
9/26/13 12:45:48 AM
& NUTRITION โดย: ดร. พรศรี เหลารุจิสวัสดิ์ รองกรรมการผูจัดการ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) pornsril@yahoo.com
‘ π §â “ ‡π◊È Õ — μ «å · ≈–‰¢à ¬— ß ‡ªì π à « πÀπ÷Ë ß ¢Õß‚¿™π“°“√∑’Ë ¡¥ÿ ≈ √— ∞ ∫“≈ „πμà“ߪ√–‡∑»®÷ß¡’π‚¬∫“¬ à߇ √‘¡°“√º≈‘μÕ“À“√‡æ◊ËÕ ÿ¢¿“æ¥â«¬°“√„™â ‡∑§π‘ § ©≈“° ‡æ◊Ë Õ ‡ªì π °“√ ◊Ë Õ “√°— ∫ ºŸâ ∫ √‘ ‚ ¿§„Àâ ‡ ¢â “ „®§«“¡·μ°μà “ ߢÕß ‘π§â“·μà≈–ª√–‡¿∑„π¥â“π§ÿ≥ ¡∫—μ‘¢Õߧ«“¡‡ªìπÕ“À“√‡æ◊ËÕ ÿ¢¿“æ„π√–¥—∫ ∑’Ë·μ°μà“ß°—π ‡æ◊ËÕ‡ªìπ¢âÕ¡Ÿ≈„À⺟â∫√‘‚¿§μ—¥ ‘π„®´◊ÈÕ
The Nutrition of
Meat and Poultry ระดับสารอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย Nutrition Label Stars คือ ฉลากที่แสดงใหเห็นวามีสารอาหารอะไรบาง และปริมาณ เทาไร ดีตอสุขภาพอยางไร โดยเลือกจากระดับของดาว กลาวคือ ใครที่หวงสุขภาพ อยากไดสารอาหารมากๆ ใหเลือกบริโภคอาหารสามดาว ดังรูปที่ 1 การใช ฉ ลาก ดั ง ก ล า ว ท ำ ใ ห ผู บ ริ โ ภคมี ข อ มู ล เพื่ อ การตั ด สิ น ใจ ไ ด ว า จ ะ เ ลื อ ก สิ น ค า ซ อ ง ไ ห น ที่เหมาะกับความตองการของตนเอง เ พ ร า ะ ผู บ ริ โ ภ ค จะทราบวาตัวเอง เ ห ม า ะ กั บ ส า ร รูปที่ 1 ฉลากแสดงสารอาหารตามระดับของดาว อาหารในระดับใด และเลือกบริโภคสินคาซองนั้น นั่นหมายความวาผูบริโภคยังคงบริโภคเพียงแตเลือกวา จะบริโภคแบบไหนที่เหมาะสมกับกรณีของตน เลือกใหเหมาะสมกับสถานการณของ ผูบริโภคที่แตกตางกันแตละราย ไมใชไมบริโภคเลยเพราะไมมีขอมูลใหตัดสินใจ ด ว ยเทคนิ ค ดั ง กล า ว นั ก โภชนาการในประเทศสหรั ฐ อเมริ ก าจึ ง นำมาส ง เสริ ม การบริโภคไข โดยการใชขอมูลเปรียบเทียบวาระหวางไขตม และไขดาว ผูบริโภคจะไดรับ สารอาหารที่เปนประโยชนหรือสงผลกระทบตอรางกายอยางไร (ตารางที่ 1) 60
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p60-63_Pro3.indd 60
9/25/13 1:22:08 PM
ตารางที่ 1 เปรียบเทียบสารอาหารระหวางไขตม และไขดาว
ไขตม - ใหพลังงาน 70 แคลอรี - มีไขมันรอยละ 8 - มีโซเดียม (เกลือ) 55 มิลลิกรัม จากเทคนิคการใหขอมูลดังกลาวนักโภชนาการ ได พ บข อ มู ล ที่ น า สนใจ คื อ ผู โ ภคที่ มี ทั ศ นคติ ไ ม ดี เช น กลั ว คอเรสเทอรอลจากการกิ น ไข เมื่ อ เห็ น การประชาสั ม พั น ธ แ บบนี้ แ ทนที่ จ ะไม รั บ ประทาน ไขเลย เพราะมีทัศนคติที่ไมดี กลับหันมารับประทาน ไขตม เพราะคิดวาไขตมมีสารอาหารที่เปนประโยชน ตอรางกาย และไมนากลัวอยางที่คิด โดยใหเหตุผลวา หากรับประทานไขดาวจะมีไขมัน และรางกายไดรับ แคลอรี ที่ ม ากกว า แต ส ำหรั บ ผู ที่ ชื่ น ชอบรสชาติ ของไข ด าวอย า งไร ก็ ยั ง คงรั บ ประทานไข ด าวอยู เชนเดิม
ปริมาณโปรตีนทั้งหมด ปริมาณแคลอรี จากโปรตีน เปนตน (รูปที่ 2) เนื่องจาก เชื่ อ ว า การให ข อ มู ล ปริ ม าณโปรตี น ใน กลุ ม สิ น ค า ประเภทเนื้ อ สั ต ว จ ะเป น จุ ด แข็ ง ของสิ น ค า ประเภทดั ง กล า ว นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารสื่ อ สารให ผู บ ริ โ ภคทราบว า ในเนื้ อ สั ต ว มี วิ ต ามิ น และแร ธ าตุ ที่ มี ป ระโยชน ตอรางกายมากมาย ดังตารางที่ 2
ไขดาว - ใหพลังงาน 90 แคลอรี - มีไขมันรอยละ 11 - มีโซเดียม (เกลือ) 94 มิลลิกรัม
สารอาหารโภชนาการในสินคาเนื้อสัตว สำหรั บ ทั ศ นคติ ข องผู บ ริ โ ภคแล ว สิ น ค า เนื้ อ สั ต ว ที่ อ าจกล า วได ว า เป น อาหารเพื่ อ สุ ข ภาพ มั ก ได คำตอบที่ตรงกันวา “เนื้อปลา” เนื่องจากผูบริโภค จะกังวลเรื่องไขมัน เกรงวาหากรับประทานเนื้อสัตว มากๆ แลวจะมีผลตอการเกิดโรคภัยตางๆ เปนตน เราลองมาศึกษากันวา ในตางประเทศเขาใชเทคนิค อะไรในการแกปญหานี้ รั ฐ บาลของประเทศสหรั ฐ อเมริ ก ากำหนดว า ผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารทุ ก ชนิ ด ต อ งแสดงข อ มู ล ทาง โภชนาการในฉลากสินคาของตน ดังนั้น ในกลุม ผลิ ต ภั ณ ฑ เ นื้ อ สั ต ว ผู ผ ลิ ต จึ ง เน น ให ข อ มู ล เรื่ อ ง คุณคาของโปรตีนที่มีอยูในเนื้อสัตว ไมวาจะเปน Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p60-63_Pro3.indd 61
61
9/25/13 1:22:09 PM
ตารางที่ 2 วิตามินและแรธาตุในกลุมอาหารประเภทเนื้อสัตวที่มีประโยชนตอรางกาย สารอาหาร แหลงที่พบ โปรตีน
เนื้อสัตว สัตวปก ปลา ไข นมและผลิตภัณฑจากนม
ธาตุเหล็ก
เนื้อสัตว สัตวปก ไต
สังกะสี
เนื้อสัตว สัตวปก หอยนางรม ผลิตภัณฑจากนม
วิตามินบี 12 วิตามินบี 6 ไนอะซิน ไรโบฟลาวิน ไทอามีน ซีลีเนียม ฟอสฟอรัส
เนื้อสัตว สัตวปก ปลา ไข นมและผลิตภัณฑจากนม เนื้อสัตว สัตวปก ผลิตภัณฑจากปลา เนื้อสัตว สัตวปก นมและผลิตภัณฑจากนม ตับ ไต เนื้อหมู เครื่องในสัตว อาหารทะเล เครื่องในสัตว เนื้อสัตว นมและผลิตภัณฑจากนม เนื้อสัตว สัตวปก
ประโยชน
• ชวยสรางกระดูก กลามเนื้อ ผิวหนัง เม็ดเลือด • ใหพลังงานแกรางกาย • ชวยนำออกซิเจนเขาสูเม็ดเลือด • ชวยในระบบภูมิคุมกัน • เสริมสรางพัฒนาการของสมอง • ชวยใหรางกายนำโปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมันออกมาใช • ชวยผลิต เสริมสราง และซอมแซมเซลลรางกาย • เสริมสรางเม็ดเลือดแดง • ชวยเสริมสรางเซลลรางกาย • ชวยในการเผาผลาญพลังงาน • ชวยในการเผาผลาญพลังงาน • ชวยเผาผลาญคารโบไฮเดรตมาเปนพลังงานแกรางกาย • ชวยใหเซลลเจริญเติบโต • ชวยในกระบวนการเผาผลาญอาหาร • เสริมสรางและซอมแซมเซลลรางกาย
การรับประทานเนื้อสัตว เพื่อประโยชนตอสุขภาพ และควบคุมน้ำหนัก
• เลือกเนื้อที่ไมมีชั้นไขมัน หรือถูกเฉือนไขมันออกแลว • เลือกบรรจุภัณฑที่ระบุวา “Choice” หรือ “Selected” = เนื้อที่มีไขมันนอย • หมักเนื้อดวยเครื่องปรุงไขมันต่ำ • เลี่ยงการทอด ใหใชการอบ ยาง ตม แทน • การใชกระดาษซับน้ำมัน • รับประทานเฉพาะสวนที่เปนเนื้อแดง
รูปที่ 2 ขอมูลบนฉลากของสินคาประเภทเนื้อสัตวในประเทศสหรัฐอเมริกา
จากผลการสำรวจ “Food & Health Survey” เมื่อป 2555 โดย The International Food Information Council Foundation ซึ่ ง เป น การสำรวจความคิ ด เห็ น ของชาวอเมริ ก าต อ อาหารและ สุขภาพ พบวาผูบริโภคพิจารณาขอมูลจากฉลากกอนตัดสินใจซื้อ ผู ต อบแบบสำรวจร อ ยละ 66 พิ จ ารณาส ว นประกอบและ สารอาหารที่ระบุไวในฉลาก เชน ปริมาณแคลอรี ธัญพืช ใยอาหาร น้ำตาล ไขมัน โซเดียมหรือเกลือ ตัวอยาง ขอมูลจากฉลากในไขไก 1 ฟอง (63 กรัม) (Egg Farmers of Ontario, 2007 และ NutritionData.com, 2012) สามารถพิจารณากอนตัดสินใจซื้อ ไดดังนี้ • ใหพลังงาน 70 แคลอรี • มีสารอาหารที่รางกายตองการ • โปรตีน ชวยใหรายกายแข็งแรง และมีสุขภาพดี • ธาตุเหล็ก ชวยนำออกซิเจนเขาสูเซลลเม็ดเลือด 62
• • • • • • • • • • •
วิตามินเอ ชวยปองกันมะเร็งบางชนิด และชวยชะลอความแก วิตามินบี 12 ชวยปองกันการเกิดโรคหัวใจ วิตามินดี ชวยเสริมสรางกระดูกและฟนใหแข็งแรง วิตามินอี ทำหนาที่เปนสารตานอนุมูลอิสระที่ชวยปองกันมะเร็ง บางชนิด สังกะสี ชวยในระบบภูมิคุมกัน โฟเลต ชวยสรางเซลลใหม โดยเฉพาะเซลลเม็ดเลือดแดง โคลีน เสริมสรางพัฒนาการของสมอง การทำงาน และความจำ ไนอะซิน ชวยในระบบประสาทและการเผาผลาญพลังงาน โอเมกา-3 สรางสมดุลคอเรสเทอรอลในเลือด และลดอาการอัลไซเมอร ไรโบฟลาวิน ชวยเยื่อหุมเซลลใหมีสุขภาพดี ลูทีน และซีแซนทีน ชวยในการมองเห็น และลดความเสี่ยง โรคตอกระจก ชวยปองกันอันตรายจากรังสียูวีที่จะเกิดกับตา
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p60-63_Pro3.indd 62
9/26/13 12:47:54 AM
รูปที่ 3 ฉลากสีบงบอกปริมาณสารอาหาร
การใหขอมูลสารอาหารตางๆ ทำใหผูบริโภค เขาใจมากขึ้นวาการบริโภคไขจะไดรับประโยชน อยางไร อยางไรก็ตาม มีผูบริโภคบางกลุมกังวล ในเรื่องคอเรสเทอรอล ดังนั้นจึงควรสรางความเขาใจ ที่ชัดเจนวา “ไขขาวไมมีคอเรสเทอรอล” และเพื่อให เกิ ด การจำหน า ยได ผู ป ระกอบการควรมี สิ น ค า ที่แยกไขขาว และไขแดง ใหเปนทางเลือกแกผูบริโภค ที่มีความตองการแตกตางกัน พรอมทั้งใหขอมูล กั บ ผู บ ริ โ ภคได เ ข า ใจในรายละเอี ย ดของสิ น ค า ที่หลากหลาย เปนตน
ฉลากสี เพื่อใหผูบริโภคเขาใจงาย และตัดสินใจซื้อไดเร็ว การสื่อสารใหผูบริโภคทราบถึงสารอาหารที่มีอยู ในไข นอกเหนือไปจากการระบุในฉลากแลวยังมี วิธีการอื่นๆ ที่ตางประเทศนิยมใชกัน เชน การใช กราฟแถบสีที่บงบอกถึงปริมาณสารอาหารที่มีอยู (NutritionData.com, 2012) ดังรูปที่ 3 การใชฉลากสีเปนการแจงผูบริโภคใหทราบวา เปนสินคาในกลุมโปรตีน มีไขมันเล็กนอย เปนตน นิยมใชสำหรับผูประกอบการที่ตองการสรางความแตกต า งให สิ น ค า ประเภทเนื้ อ สั ต ว ข องตนให ดู แตกต า งจากผู จั ด จำหน า ยรายอื่ น เช น ต อ งการ บอกผูบริโภควาเนื้อสัตวชิ้นนี้เปนชิ้นเนื้อที่มีไขมันต่ำ และแสดงขอมูลใหผูบริโภคเห็นวาชิ้นเนื้อดังกลาว มาจากเนื้อพันธุที่มีไขมันนอยจริงๆ ตามขอมูลที่แสดง บนฉลาก โดยระบุ Calories and the grams ประกอบ เพื่อใหผูบริโภคตัดสินใจเลือกซื้อไดงายขึ้น เอกสารอางอิง Egg Farmers of Ontario, 2007. The Benefits of Eggs. คนเมื่อ 24 มกราคม 2556 จาก http://www.getcracking.ca/dozenreasons.html USDA’s Food Safety and Inspection Service, 2012. Nutritional Labeling of Meat and Poultry. คนเมื่อ 24 มกราคม 2556 จาก http://www.ncchoices.com/nutritional-labelingof-meat-and-poultry
ĎĈĔèéĕâúĘħğþľ÷øĔĊğúåġüġĈąĘ 1DMaxTM úĘħģ÷ňĆĔýâĕĆé÷ čėúûėýĔøĆãĐèåĦĐâğüĦâìŋ ëŇĊąĢĎňğåĆĚħĐèĐŇĕüĆĎĔčãĐèğĆĕĐŇĕü ĆĎĔ č ģ÷ň úě â þĆēğăúëüė ÷ úĘħ ğ åĆĚħ Đ èĐĚħ ü ĥ ģĄŇ č ĕĄĕĆùğúĘ ą ý ğåĘąèģ÷ň ģĄŇĊŇĕĆĎĔčüĔĨüéēĄĘãüĕ÷ğúŇĕģĆ åěöăĕāĠýýģĎü āėĄāŋ÷ňĊąĊėûĘĐēģĆ ĎĆĚĐāėĄāŋĈèāĚĨüÿėĊĊĔč÷ěĢ÷âĦøĕĄ 1DMaxTM åĚĐ úĜĈčŋĢüâĕĆĐŇĕüĆĎĔčúĘħ÷ĘúĘħčě÷ĢüøĈĕ÷úĘħģ÷ň ĆĔýâĕĆþĆĔýþĆěèĢĎňčĕĄĕĆùĐŇĕüýĕĆŋġåň÷ģ÷ňĆĐýúėċ ĠĈē ĆĐèĆĔýâĕĆĐŇĕüĆĎĔčģ÷ňúěâĆĜþĠýý ģĄŇĊŇĕåěöăĕāãĐèĆĎĔč éēĠøâøŇ ĕ èâĔ ü ğāĘ ą èĢ÷âĦ ø ĕĄ ÷ň Ċ ąĐĔ ø ĆĕåĊĕĄğĆĦ Ċ Ģü âĕĆĐŇĕüĠýýğĎüĚĐëĔĨü ğúåġüġĈąĘ Cognex 2DMaxTM ëŇ Ċ ąéě ÷ þĆēâĕąâĕĆüĖ 2D Data Matrix ĠĈēĆĎĔ č QR Coding ĄĕĢëňĢüĎĈĕâĎĈĕąĐěøčĕĎâĆĆĄ
ğ ĄĚħ Đ ü Ė Ą ĕ Ć Ċ Ą Đ ąĜŇ Ģ ü đĕĆŋ ÷ ĠĊĆŋ åě ö ăĕāğąĘħ ą Ą úĘħ Ą ĕ Ģ ü ĆĜ þ Ġ ý ý ã Đ è Đě þ â Ć öŋ Ġđü÷ŋğđĈ÷ŋ ĠĈēĆĜþĠýýúĘħøė÷øĔĨèĐąĜŇâĔýúĘħ čŇ è ÿĈĢĎň ğ åĆĚħ Đ èĐŇ ĕ üýĕĆŋ ġ åň ÷ ãĐèåĦ Đ âğüĦ â ìŋ čĕĄĕĆùĐŇĕüĆĎĔčģ÷ňĐąŇĕèĆĊ÷ğĆĦĊĠĈēĠĄŇüąĖ ĠĈēüĔħüåĚĐ ğĎøěÿĈĊŇĕúĖģĄğåĆĚħĐèĐŇĕüĆĎĔč Cognex åĚĐ øĔĊğĈĚĐâúĘħ÷ĘĠĈēğĎĄĕēčĄúĘħčě÷ åň ü Ďĕãň Đ ĄĜ Ĉ ğāėħ Ą ğøė Ą ĎĆĚ Đ ÷ĕĊüŋ ġ ĎĈ÷ 10 ğĎøě ÿ ĈĢüâĕĆğĈĚ Đ â Image-based ģ÷ň úĘħ www.wecanreadit.com
øė÷øŇĐčĐýùĕĄãňĐĄĜĈğāėħĄğøėĄģ÷ňúĘħ
åĦĐâğüĦâìŋ þĆēğúċģúą
ġúĆ : +66 2219 1945, +66 86 301 6120 ĐĘğĄĈŋ: sales@cognex.com.sg www.cognex.com
Food Focus Thailand FF#91_ad Cognex_Pro3.indd 2
R1_FF#91_p60-63_Pro3.indd 63
63
OCTOBER 9/26/13 2013 12:48:48 AM
9/26/13 12:49:31 AM
โดย: ดร. กฤษกมล ณ จอม ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร fagikmn@ku.ac.th
SAFETY ALERT
º≈‘μº≈∑“ß°“√‡°…μ√À≈“°À≈“¬™π‘¥„πªí®®ÿ∫—π à«π„À≠à„™â‡æ◊ËÕ°“√∫√‘‚¿§ ”À√—∫‡≈’Ȭߪ“°∑âÕß ºŸâ§π∑—Ë«∑ÿ°¡ÿ¡‚≈°‡ªìπÀ≈—° º≈º≈‘μ∫“ß™π‘¥ “¡“√∂„™â∫√‘‚¿§‰¥â∑—π∑’‚¥¬‰¡àμâÕߺà“π°√–∫«π°“√ ·ª√√Ÿª„¥Ê ‡™àπ º—° º≈‰¡â ·μà∫“ß™π‘¥π—È𮔇ªìπμâÕߺà“π°√–∫«π°“√º≈‘μ¥â«¬«‘∏’°“√∑’ˇÀ¡“– ¡ ®÷ß®–𔉪∫√‘‚¿§‰¥â ‡™àπ ‡π◊ÈÕ —μ«åμà“ß Ê
สารกอมะเร็งจากกระบวนการผลิตอาหาร
Carcinogens from Food Processing
64
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p64-67_Pro3.indd 64
9/25/13 2:08:04 PM
ใ
นป จ จุ บั น มี ก ารถ า ยทอดการผลิ ต หรื อ ประกอบอาหารเมนู อันหลากหลายโดยพอครัวและแมครัวมืออาชีพผานทางสื่อตางๆ แทบทุ ก ชนิ ด ทั้ ง ระดั บ ชาติ แ ละนานาชาติ อ ย า งต อ เนื่ อ ง มี ก ารดัดแปลงและสรางสรรคเมนูอาหารที่มีรูปลักษณสวยงาม ทันสมัย พิถีพิถัน กลิ่นหอมยวนใจ และรสชาติอรอยล้ำ ซึ่งในอาหารบางชนิดเหลานี้อาจแฝง ไวดวยสิ่งที่ไมไดคาดคิดปนเปอนอยูในสวนประกอบ นั่นคือ “สารกอมะเร็ง” ซึ่งกอตัวขึ้นพรอมกันไปในระหวางกระบวนการผลิตหรือประกอบอาหาร เหลานั้น
สารกอมะเร็ง…ภัยรายแอบแฝง สารก อ มะเร็ ง (Carcinogens) คื อ สารหรื อ สิ่ ง ต า งๆ ที่ เ มื่ อ ร า งกายของ ผูหนึ่งผูใดไดรับจะเปนสาเหตุใหเกิดโรคมะเร็งกับผูนั้นได ซึ่งขึ้นอยูกับปริมาณสาร ระยะเวลาที่ไดรับสาร ชวงอายุและพันธุกรรมของผูไดรับสารนั้นๆ กระบวนการประกอบอาหารตางๆ เชน การหมักดอง ปง ยาง ตม ทอด หรือแมแตการเติมเครื่องปรุงเพื่อปรับแตงรส กลิ่น สี ใหดีขึ้น ชักนำใหเกิด การเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาทางเคมีหลากหลายชนิดในอาหารนั้นๆ อยาง หลีกเลี่ยงไมได เนื่องจากผลิตภัณฑทางการเกษตรที่ใชเปนวัตถุดิบสำหรับ การประกอบอาหารนั้ น เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ท างชี ว ภาพ ซึ่ ง มี อ งค ป ระกอบ สวนใหญเปนสารอินทรีย (Organic substances) จึงสามารถถูกนำไปใชเปน สารตั้งตนสำหรับการเกิดปฏิกิริยาเคมีตางๆ มากมายในสภาวะที่เหมาะสม ดวยปจจัยเกื้อหนุนตางๆ เชน ความรอน ความดัน จนกอใหเกิดสารประกอบ อนุพันธอื่นๆ มากมายตามมา ซึ่งยอมสงผลตอการเปลี่ยนแปลงไปของ รสชาติ สี กลิ่น และองคประกอบทางเคมีในอาหาร เชน เนื้อแกะ 1 ชิ้น นำมาหมักดวยเครื่องเทศหรือแอลกอฮอลประเภทตางๆ ดวยระยะเวลา ที่เหมาะสม จากนั้นนำไปรมควันจนสุก มีการเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาเคมี นานาชนิดอยูตลอดเวลาของกระบวนการประกอบอาหาร จนทำใหเนื้อแกะดิบ ที่ บ ริ โ ภคไม ไ ด กลายเป น สเต็ ก เนื้ อ แกะรมควั น หอมกรุ น น า รั บ ประทาน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงไปของปฏิกิริยาทางเคมีเหลานี้เปนสิ่งสำคัญสำหรับ กระบวนการผลิตอาหารเพื่อใหไดอาหารที่ถูกสุขลักษณะ สามารถบริโภคได มี ร สชาติ อ ร อ ย แต ใ นขณะเดี ย วกั น ปฏิ กิ ริ ย าเคมี บ างชนิ ด ระหว า ง การประกอบอาหารที่ เกิ ดขึ้ นนั้ นสามารถผลิ ตสารก อมะเร็ งขึ้ นในอาหาร ไดเชนกัน ป จ จุ บั น สารก อ มะเร็ ง ที่ ต รวจพบในระหว า งการประกอบอาหาร ไดแก • เอ็น-ไนโตรซามีน (N-nitrosamine) พบใน อาหารประเภทเนื้อสัตวแปรรูปที่ใชวิธีการถนอมอาหารดวยการหมักดอง เชน แฮม เบคอน ไสกรอก แหนม หมู ย อ กุ น เชี ย ง ซึ่ ง ในกระบวนการผลิ ต เนื้ อ สั ต ว แ ปรรู ป ที่ ก ล า ว ม า นั้ น จ ะ มี ก า ร เ ติ ม
สารประกอบไนไตรท (Nitrite; NO2) หรือ ไนเตรท (Nitrate; NO3) เชน ดินประสิว หรือโพแทสเฃียมไนไตรท (Potassium nitrite; KNO2) ลงไปใน เนื้อสัตวระหวางกระบวนการผลิต เพื่อเปนการยับยั้งการเจริญเติบโตของ เชื้อแบคทีเรียเปนสารกันบูด และถนอมสีของผลิตภัณฑใหดูสีสดอยูเสมอ ตามธรรมชาติ นั้ น เนื้ อ สั ต ว จ ะมี ส ารประกอบกลุ ม เอมี น (Amines) เป น องคประกอบอยูมาก เมื่อทำปฏิกิริยากับไนไตรทหรือไนเตรทที่เติมลงไปจะ เกิดสารไนโตรซามีนขึ้น ผลจากงานวิจัยหลายชิ้นยืนยันชัดเจนวาสารไนโตรซามีน กอใหเกิดมะเร็งตับและหลอดอาหารทั้งในสัตวทดลองและมนุษย • โพลี ไ ซคลิ ก อะโรมาติ ก ไฮโดรคาร บ อน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbons; PAHs) พบในอาหารที่ปงหรือยางกับเปลวไฟโดยตรง หรือ รมควัน เชน หมูปง ปลาแซลมอนรมควัน โดยสารกอมะเร็งกลุมนี้ประกอบด ว ย ว ง แ ห ว น อะโรมาติกเบนซีน ร ว ม กั น ตั้ ง แ ต 2 วงขึ้นไป ซึ่งเกิด จ า ก ป ฏิ กิ ริ ย า การเผาไหม ที่ ไ ม สมบูรณ หรือการสลายตัวทางเคมี ของสารอิ น ทรี ย
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013 FF#91_ad_Aerosia_Pro3.indd Sec1:24 FF#91_p64-67_Pro3.indd 65
65
9/6/13 1:57:07 PM 9/25/13 2:08:06 PM
¡Ãкǹ¡ÒûÃСͺÍÒËÒÃμ‹ Ò §æ ઋ¹ ¡ÒÃËÁÑ¡´Í§ » œ§ ‹ҧ μŒÁ ·Í´ Ë Ã× Í á ÁŒ á μ‹ ¡ Ò Ã à μÔ Á à ¤ Ã×่ Í § » ÃØ § à¾×่ Í »ÃÑ º áμ‹ § ÃÊ ¡ÅÔ่ ¹ ÊÕ ãËŒ ´Õ ¢Ö้ ¹ ªÑ ¡ ¹ Ó ã ËŒ à ¡Ô ´ ¡ Ò Ã à » ÅÕ่  ¹ á » Å § »¯Ô ¡Ô ÃÔ Â Ò·Ò§à¤ÁÕ Ë ÅÒ¡ËÅÒª¹Ô ´ ã¹ÍÒËÒùÑ้¹æ Í‹ҧËÅÕ¡àÅÕ่§äÁ‹ä´ ä´Œ
จากความรอน เชน ระหวางการปงหรือยางเนื้อสัตว มีน้ำมันจากเนื้อสัตว หยดลงไปบนถาน กอใหเกิดควันขึ้นมาปนเปอนบนเนื้อสัตวที่กำลังปงหรือ ยางอยู ถายิ่งมีเขมาดำติดอยูที่เนื้อสัตวมาก ก็ยิ่งมีปริมาณของสารกอมะเร็ง กลุมนี้อยูสูง แตรสชาติและกลิ่นหอมของอาหารจากกระบวนการประกอบอาหารแบบนี้มักเปนที่นิยมของผูคนสวนใหญ สารกอมะเร็งกลุมนี้ละลาย ไดดีในไขมัน ดังนั้น จึงสะสมในชั้นไขมันของรางกายไดนาน และไดรับ การยอมรับวาทำใหเกิดมะเร็งในคนได • เฮ็ตเตอโรไซคลิกเอมีน (Heterocyclic amines; HCAs) พบใน อาหารปงหรือยาง เชน บารบีคิว หรือการทอด หรือตุนเนื้อสัตว โดยใช ระยะเวลานาน โดยสารกอมะเร็งกลุมนี้เกิดจากปฏิกิริยาเมลลารด (Maillard reaction) ที่ไมเกี่ยวของกับเอนไซม ซึ่งสารตั้งตนที่สำคัญ คือ ครีเอติน (Creatine) หรื อครี เอตินีน (Creatinine) ซึ่ งพบในกรดอะมิโน (Amino acid) และกลามเนื้อของสัตว ท ำ ป ฏิ กิ ริ ย า กั บ น้ ำ ต า ล โ ม เ ล กุ ล เ ดี่ ย ว (Monosaccharide) และยัง พบวาเกิดสารกอมะเร็งกลุมนี้ ได จ ากการเปลี่ ย นแปลง โ ด ย ต ร ง ข อ ง ก ร ด อ ะ มิ โ น ในเนื้ อ สั ต ว ใ นขณะการประกอบอาหารที่ใชอุณหภูมิ สูงมากอีกดวย เชน การปง การยาง ซึ่งมีงานวิจัยที่ชัดเจนพิสูจนวาสารก อ มะเร็ ง กลุ ม นี้ ก อ ให เ กิ ด มะเร็ ง ในสั ต ว ท ดลอง แต ยั ง ไม มี ก ารอธิ บ ายที่ ชัดเจนวาสามารถกอมะเร็งในมนุษยได นอกจากนี้ยังพบวาเนื้อปลาและไก ที่ผานการปงหรือยางแลวนั้นตรวจพบสารกอมะเร็งกลุมนี้ในปริมาณที่ต่ำกวา ในเนื้อวัวหรือหมูที่ปงหรือยางในสภาวะควบคุมเดียวกันอยางมีนัยสำคัญ • อะครีลาไมด (Acrylamide) พบในผลิตภัณฑมันฝรั่งทอดหรืออบ คุกกี้ บิสกิต ขนมปงกรอบหรือปง ขนมอบกรอบ ขาวโพดคั่ว โดยพบวา อาหารที่มีแปงปริมาณสูงหรือแปงในพืชอาหารตางๆ เมื่อไดรับความรอน 66
ระหวางกระบวนการผลิตที่ใชอุณหภูมิสูงมากกวา 120 ํC ขึ้นไป จะเกิดสารกอมะเร็งชนิดนี้ข้ึน ซึ่งเกิดจากการทำปฏิกิริยาเคมีกันระหวางน้ำตาลรีดิวซ (Reducing sugar) โดยเฉพาะน้ำตาลกลูโคส (Glucose) และฟรุกโตส (Fructose) กับกรดอะมิโน โดยเฉพาะแอสพาราจีน (Asparagine) ผาน ปฏิกิริยาเมลลารดที่ไมเกี่ยวของกับเอนไซม โดยมีขอพิสูจนวาสารกอมะเร็ง ชนิดนี้สามารถทำใหเกิดมะเร็งและการกลายพันธุผานทางพันธุกรรมได ในสัตวทดลอง แตยังไมมีขอมูลยืนยันชัดเจนในคน • 3-โมโนคลอโรโพรเพนไดออล (3-monochloropropanediol; 3-MCPD) พบในผลิตภัณฑซอสปรุงรส เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาของสารคลอรีน กับแอลกอฮอลบางชนิดในสภาวะที่มีอุณหภูมิสูง ซึ่งในการผลิตซอสปรุงรส จะมี ขั้ น ตอนของการย อ ยสลายโปรตี น ของพื ช ผั ก โดยเฉพาะถั่ ว เหลื อ ง มีการนำถั่วเหลืองทั้งเมล็ดยอยกับกรดเกลือ (Hydrochloric acid; HCl) ที่ มี ค ว า ม เ ข ม ข น สู ง ในภาวะอุ ณ หภู มิ สู ง แตในเมล็ดถั่วเหลืองนั้น มี ส ว น ป ร ะ ก อ บ ข อ ง น้ ำ มั น อยู ด ว ย ทำให มี การย อ ยน้ ำ มั น จนเกิ ด เ ป น ก ลี เ ซ อ ร อ ล (Glycerol) ซึ่ ง เป น ส า ร ป ร ะ ก อ บ ก ลุ ม คารโบไฮเดรตแอลกอฮอลและจะทำปฏิกิริยากับกรดเกลือซึ่งมีคลอรีนอยู จนเกิดสารกอมะเร็งชนิดนี้ขึ้น โดยสาร 3-MCPD นี้เปนสารอนุพันธคลอรีน ตัวหนึ่งที่มีฤทธิ์เปนสารกอมะเร็งในสัตวทดลอง • 4-ไฮดรอกซี โ นเนนาล (4-Hydroxynonenal) พบในผลิตภัณฑ อาหารทอด เชน มันฝรั่งทอด โดยเปนการปนเปอนมาจากน้ำมันพืชที่ใช ในขณะทอดที่อุณหภูมิสูง ซึ่งน้ำมันพืชที่ไดรับความรอนจะเกิดปฏิกิริยา เพอรออกซิเดชันของไขมันที่ประกอบไปดวยกรดไขมันไมอิ่มตัวเชิงซอน จำพวกโอเมกา 6 (Omega-6) เชน กรดอะราคิโดนิก (Arachidonic acid)
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p64-67_Pro3.indd 66
9/25/13 2:08:06 PM
ไมควรรับประทาน ปรุง หรือผลิตอาหารดวยเมนูซ้ำๆ ปริมาณมากๆ เปนประจำติดตอกัน ควรเลือก บริโภคอาหารใหหลากหลาย รวมถึงใชความรอนต่ำหรือเวลาในการประกอบอาหารที่ไมนานเกินไป รวมทั้งรับประทานอาหารเหลานั้นเคียงคูกับผักหรือผลไมสดเปนประจำ นอกจากนี้ ควรเลือกใช การประกอบอาหารโดยใชความรอนต่ำ หรือไมใชความรอน หรือเมนูอาหารสุขภาพตางๆ เชน ยำ หรื อ สลั ด ที่ จ ะช ว ยลดการเกิ ด สารก อ มะเร็ ง ในระหว า งกระบวนการทำอาหารและช ว ย สงเสริมสุขภาพอีกดวย เอกสารอางอิง Agnieszka Bartoszek. 2006. Mutagenic, Carcinogenic and Chemopreventive Compounds in Foods in Zdzislaw E. Sikorski. Chemical and Functional Properties of Food Components.
หรือกรดไลโนเลอิก (Linoleic acid) ซึ่งพบมากใน น้ ำ มั น ดอกทานตะวั น น้ ำ มั น เมล็ ด คำฝอย และ น้ำมันถั่วเหลือง นอกจากนี้ พวกกรดไขมันโอเมกา 3 ในน้ำมันพืชก็สามารถถูกออกซิไดซขณะอุณหภูมิสูง ทำใหเกิดสารมัธยันตร (Intermediate) ของสารกอมะเร็งชนิดนี้ไดเชนกัน สารกอมะเร็งชนิดนี้เปน สารอั ล ดี ไ ฮด มี ผ ลการทดลองพิ สู จ น ว า ทำให เ กิ ด เนื้องอกและมะเร็งในสัตวทดลอง • เอทิลคารบาเมท (Ethyl carbamate) พบใน อาหารหมักและเครื่องดื่มแอลกอฮอล เชน ขนมปง ซีอิ๊ว โยเกิรต ไวน เบียร และสุรา โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในบรั่นดีจากผลไมจำพวกสโตนฟรุท (Stone fruit) คื อ ผลไม ที่ เ มล็ ด แข็ ง ข า งใน เช น เชอร รี่ พลั ม โดยผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารเหล า นี้ ใ นระหว า งกระบวนการผลิตจะมีสารตั้งตนของสารกอมะเร็งชนิดนี้เกิดขึ้น ไดแก กรดไฮโดรไซยานิก (Hydrocyanic acid) ยูเรีย (Urea) และเอทานอล (Ethanol) สามารถทำ ปฏิกิริยาเคมีกันตอไปในระหวางกระบวนการผลิต หรือเกิดขึ้นขณะบมหรือหมักผลิตภัณฑ ซึ่งสารเอทิลคารบาเมตไดรับการพิสูจนวา ทำใหเกิดการกลายพันธุและมะเร็งในสัตวทดลอง และถูกระบุวาเปน ส า ร ที่ อ า จ ท ำ ใ ห เ กิ ด ม ะ เ ร็ ง ไ ด ใ น ม นุ ษ ย โ ด ย คณะกรรมาธิการยุโรป ดูเหมือนวาจะเปนการยากที่จะหยุดยั้งปฏิกิริยาเคมี ข องการเกิ ด สารก อ มะเร็ ง เหล า นี้ ใ นระหว า ง กระบวนการประกอบอาหารโดยทั่วไป แตลักษณะ นิสัยในการเลือกบริโภคและการประกอบอาหารจะ สามารถชวยลดความเสี่ยงและปริมาณของการไดรับ สารก อ มะเร็ ง เหล า นี้ เ ข า สู ร า งกายได เ ช น กั น ทั้ ง นี้
Milford announces major breakthrough in UN certified folding IBC Milford IBC, a market leader in the design and manufacture of folding composite Intermediate Bulk Containers for more than 40 years has announced an exciting new breakthrough with the release of their UN certified 1000 litre folding IBC. This product, which also utilises Milford’s patented industry first, “screwless” panel retention system, has undergone a barrage of extreme testing to achieve a positive test result and earn the right to wear the coveted UN certified label. Manufactured in a 1200 x 1000 mm footprint, this product, which is manufactured in Milford’s brand new manufacturing facility, fills a void in the folding IBC market for the transportation of dangerous goods. The new addition to the Milford Qubit range, will be officially launched at the upcoming Materials Handling – Middle East Exhibition in Dubai U.A.E., September 10th – 12th 2013 For further information on this or any other Milford product, please visit the website, or contact your local Milford IBC Sales representative.
www.milfordibc.com
Milford (Thailand) Co., Ltd.
700/912 Moo 3 Amatanakorn Industrial Estate, Tambon Nongkhaka, Amphur Panthong, Chonburi 20160 Tel: 038 212 213 Fax: 038 212 212 Hot Line: 091 414 8770 E-mail: Salesth@milford.com FF#91_ad_Milford_Pro3.indd 57
Food Focus Thailand 9/26/13 1:03:46 AM
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p64-67_Pro3.indd 67
67
9/26/13 1:04:22 AM
SHOW TIMES
Pre Show - Food Week Korea 2013
Seoul, 6 – 9 November Korea 2 0 1 3
Coex Halls A – D (36,000 sqm)
Expand your Business at
Food Week Korea 2013 Real Food, Real Business ß“π Food Week Korea ‡ªì π ß“π· ¥ß ‘ π §â “ ¥â “ πÕ“À“√√–¥— ∫ π“π“™“μ‘ ∑’Ë ®— ¥ · ¥ß ‘ π §â “ Õ“À“√À≈“°À≈“¬ª√–‡¿∑·≈–∫√‘ ° “√μà “ ßÊ ®“°∑—Ë«∑ÿ°¡ÿ¡‚≈° ‚¥¬‡ªìπß“π· ¥ß ‘π§â“¥â“πÕ“À“√∑’Ë¡’¢π“¥„À≠à∑’Ë ÿ¥·≈–¡’™◊ËÕ‡ ’¬ß¡“°∑’Ë ÿ¥„πª√–‡∑»‡°“À≈’ ß“π Food Week Korea ∂◊Õ‡ªìπ‡«∑’°≈“ß ”§—≠„π°“√√«¡μ—« ·≈–æ∫ª–‡®√®“∏ÿ√°‘®√–À«à“ߺŸâ´◊ÈÕ·≈–ºŸâ¢“¬®“°∑—Ë«‚≈° Õ’°∑—È߇ªìπ°“√ √â“ߧ«“¡ —¡æ—π∏å∑“ß°“√§â“ ·≈– °“√À“æ—π∏¡‘μ√∑“ß∏ÿ√°‘®∑—Èß„πª√–‡∑»‡°“À≈’ ·≈–ª√–‡∑»Õ◊ËπÊ ´÷Ëßß“π· ¥ß ‘π§â“∑’˺à“π¡“„πªï∑’Ë·≈â« ¡’ºŸâ‡¢â“√à«¡®—¥· ¥ß ‘π§â“∑—Èß ‘Èπ 712 ∫√‘…—∑ ‚¥¬‡ªìπ∫√‘…—∑μà“ß™“μ‘ 134 ∫√‘…—∑ ®“° 32 ª√–‡∑»∑—Ë«‚≈° ·≈–¡’ºŸâ‡¢â“√à«¡™¡ß“π¡“°∂÷ß 90,000 §π ·≈–¥â«¬§«“¡ ”‡√Á®„πªï∑’˺à“π¡“ ∑“ߺŸâ®—¥ß“π®÷ߧ“¥À«—ß®”π«πºŸâ‡¢â“√à«¡®—¥· ¥ß ‘π§â“∑—Èß„π·≈–μà“ߪ√–‡∑»®”π«π¡“°°«à“ 1,000 ∫√‘…—∑ ´÷Ëß®–‡¢â“√à«¡®—¥· ¥ß ‘π§â“ ¡“°°«à“ 1,800 §ŸÀ“„πªï 2556 π’È Õ’°Àπ÷Ë߉Œ‰≈∑å ”§—≠°Á§◊Õ °“√∑’˪√–‡∑»≠’˪ÿÉπ‰¥â√—∫§—¥‡≈◊Õ°„À⇢â“√à«¡®—¥· ¥ß ‘π§â“‡ªìπ§√—Èß·√°„πß“ππ’È Food Week Korea 2013 is an international food exhibition featuring products and services from every sector of the global food industry. As the largest and most popular food exhibition in Korea, Food Week Korea allows buyers and sellers from all over the world to gather in one convenient location and forge crucial business relationships with partners both in Korea and abroad. Food Week Korea featured 712 companies(134 from overseas) from 32 countries and greeted more than 90,000 visitors at its 2012 edition, and the 2013 show is expected to expand to more than 1,000 domestic and international exhibitors who will display their products in more than 1,800 booths. Also, one of the special features of the 2013 edition is that the Japan has been specially selected as the country of honor for the first time at the Food Week Korea.
F
ood Week Korea ถือเปนงานแสดงสินคาที่รวมผูประกอบการ ทุ ก ส ว นในอุ ต สาหกรรมอาหารไว ด ว ยกั น ตั้ ง แต ป 2549 และ งานแสดงสิ น ค า ในป 2556 นี้ ก็ จ ะเป น การรวมตั ว กั น ของ ผู จั ด แสดงสิ น ค า ตั้ ง แต ต น ต น ถึ ง ปลายน้ ำ ไม ว า จะเป น ส ว นของการ จัดเตรียมอาหาร กระบวนการผลิต บรรจุภัณฑ อาหารสำเร็จรูปตางๆ ส ว นผสมอาหาร รวมไปถึ ง อาหารพื้ น เมื อ งเกาหลี ยิ่ ง ไปกว า นั้ น งานแสดงสินคาในปนี้ยังจัดขึ้นพรอมกันกับงาน SIBA ซึ่งเปนงานแสดง สิ น ค า ด า นเบเกอรี่ แ ละขนมอบที่ เ ป น ที่ รู จั ก กั น อย า งแพร ห ลายที่ สุ ด ในประเทศเกาหลีอีกดวย 68
S
ince 2006, Food Week Korea has allowed the representatives from every sector of the food industry to conduct food business under one roof. The 2013 exhibition will feature exhibitors from the food preparation, processing, and packaging sectors as well as a diverse array of cultivated and prepared food products and ingredients, including traditional Korean foods. In addition, Food Week Korea 2013 will be co-located with the SIBA (Seoul International Bakery Fair), which is the most well-known bakery show in Korea. Overseas buyers attending Food Week Korea 2013 will be able to participate in a business-matching program featuring one-on-one meetings between buyers and manufacturers that are designed to facilitate the full exploration everything on offer at the show. The hosted buyers may receive special benefits such as accommodation, airfare discounts, Seoul city tour, and more. In addition to this and other
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p68-69_Pro3.indd 68
9/25/13 9:55:56 AM
ผู ซื้ อ จากต า งประเทศที่ ส นใจเข า ร ว มชมงานแสดงสิ น ค า ในครั้ ง นี้ สามารถเข า ร ว มโปรแกรมจั บ คู ท างธุ ร กิ จ ซึ่ ง จั ด ขึ้ น เป น พิ เ ศษเพื่ อ อำนวยความสะดวกให ผู ซื้ อ และผู ผ ลิ ต ได มี โ อกาสเจรจาทางธุ ร กิ จ กั น แบบตัวตอตัว และผูซื้อยังมีโอกาสไดรับสิทธิพิเศษอื่นๆ เชน ที่พัก สวนลด คาโดยสารเครื่องบิน และทัวรชมเมือง เปนตน นอกจากนั้นภายในงาน ยังมีการจัดการประชุมวิชาการดานอาหาร งานสัมมนา เวิรกช็อปและ การสาธิตแบบอินเตอรแอคทีฟ รวมไปถึงการสาธิตการประกอบอาหาร จากเชฟระดับนานาชาติที่มีชื่อเสียงมากกวา 30 ประเทศ ทั้ ง หมดที่ ก ล า วถึ ง ข า งต น จะเกิ ด ขึ้ น บนพื้ น ที่ แ สดงสิ น ค า ระดั บ เวิ ล ด ค ลาสในกรุ ง โซล ซึ่ ง จะเป น ประตู ที่ จ ะเป ด สู ต ลาดที่ ก ำลั ง เติ บ โต อยางรวดเร็ว ทั้งในประเทศเกาหลีและประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ โอกาสทางธุรกิจครั้งสำคัญกำลังรอทานอยูในงาน Food Week Korea 2013 สำหรับผูที่สนใจเขารวมชมงานสามารถติดตอไดที่ Ms. Lynn Kwak โทรศั พ ท 82-2-6000-8160 โทรสาร 82-2-6000-8177 อี เ มล lynn.kwak@coex.co.kr หรือเยี่ยมชมเว็บไซต http://foodweek.info
attendee benefits, Food Week 2013 will also feature food symposiums, vendor seminars, interactive workshops and demonstrations, and even a global live cooking show featuring internationally-renowned star chefs from more than 30 countries. All of this and more will take place in a world-class venue in a world-class city like Seoul, providing visitors with unique access to rapidly growing markets in Korea and Northeast Asia. Be sure to take advantage of these exciting business opportunities and more by attending Food Week Korea 2013. For more details, please contact at Ms. Lynn Kwak T. 82-2-60008160 F. 82-2-6000-8177 E. lynn.kwak@coex.co.kr or visit http:// foodweek.info
Food Focus Thailand FF#90_ad Food Week_Pro3.indd 33
FF#91_p68-69_Pro3.indd 69
69
OCTOBER 2013 PM 8/13/13 1:57:46
9/25/13 9:55:57 AM
SHOW TIMES
Pre Show - Oishii Japan 2013
Oishii Japan 2013
to Showcase the Best of Japanese F&B 17 -19th October 2013 @ Suntec Singapore Oishii Japan ß“π· ¥ß ‘π§â“ ”À√—∫Õÿμ “À°√√¡Õ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡ ‰μ≈å≠’˪ÿÉπ∑’ˬ‘Ëß„À≠à∑’Ë ÿ¥„πÕ“‡´’¬π°”≈—ß®–‡°‘¥¢÷ÈπÕ’°§√—ÈßÀ≈—ߪ√– ∫ §«“¡ ”‡√Á®‰ª·≈â«„πªï∑’˺à“π¡“ ‚¥¬¡’«—μ∂ÿª√– ߧå‡æ◊ËÕ‡º¬·æ√àÕ“À“√ ‰μ≈å≠’˪ÿÉπ„À⇪ìπ∑’Ë√Ÿâ®—°∑—Ë«‚≈° ¿“¬„πß“πª√–°Õ∫¥â«¬æ◊Èπ∑’Ë°“√®—¥· ¥ß 3 ‚´π §◊Õ ‚´πÕ“À“√§≈“ ‘° ‚´πº≈‘μ¿—≥±åπ«—μ°√√¡ ·≈–‚´π∏ÿ√°‘® Õ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡ ‰μ≈å≠’˪ÿÉπ ´÷Ëßπ—∫«à“‡ªìπ‚Õ°“ ¥’∑’˺Ÿâ‡¢â“√à«¡ß“π®–‰¥â æ∫°—∫ºŸâ®—¥· ¥ß ‘π§â“°«à“ 230 √“¬ ®“° 26 ®—ßÀ«—¥
Oishii Japan, ASEAN’s first and largest dedicated showcase on Japanese food and beverage products, returns following its successful debut last year. The showcase is organized by Oishii Japan Executive Committee with the aim of promoting Japanese cuisine abroad. Oishii Japan consists of three core areas: classic foods, innovative products, and the Japanese F&B business. Trade visitors can explore business opportunities with some 230 exhibitors from 26 prefectures.
Familiar Favorites and New Surprises
Familiar Favorites and New Surprises
ดวยพื้นที่การจัดงานกวา 4,000 ตารางเมตร ผูรวมชมงานจะไดสัมผัสกับอาหาร และเครื่องดื่มสไตลญี่ปุนแบบพิเศษสไตลญี่ปุน เชน ผลิตภัณฑเนื้อสัตว สาเก ซอส และเครื่องปรุงแบบตางๆ เสนกวยเตี๋ยว และเครื่องใชสำหรับโตะอาหาร ตลอดจน อุปกรณสำหรับการผลิตอาหารที่ไดรับความนิยมมากจากงานครั้งที่ผานมา และเพื่อสรางความหลากหลายใหกับผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มที่นำมา จั ด แสดง ภายในงานได จั ด แสดงสิ น ค า นวั ต กรรมอี ก มากมาย รวมถึ ง สิ น ค า แบรนดใหมๆ ที่จะนำมาสรางสีสันภายในงาน นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมสัมมนา และ การจับคูเจรจาทางธุรกิจ ซึ่งจะเปนโอกาสที่ดีในการสรางความสัมพันธทางธุรกิจ และแลกเปลี่ยนความรูกันระหวางผูจัดแสดงสินคา ผูซื้อ และผูขายอยางใกลชิด
Special Activities for Public สำหรับวันสุดทายของงาน 19 ตุลาคม 2556 จะเปดใหผูสนใจทั่วไปเขาชมงานได ซึ่งผูที่ชื่นชอบคลั่งไคลอาหารสไตลญี่ปุนจะไดพบกับผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่ม ในแบบญี่ปุนแท ดื่มด่ำกับกิจกรรมเวิรกช็อปและการทำอาหารแบบสดๆ ในสไตล ญี่ ปุ น จากเชฟร า นอาหารชื่ อ ดั ง ของสิ ง คโปร นอกจากนี้ ไฮไลทข องงานยัง อยูที่ กิ จ กรรมการทำอุ ด ง สำหรั บ คนที่ ม าเป น ครอบครั ว ผู ป กครองและลู ก ๆ ที่ มี อายุระหวาง 10-12 ป จะไดสัมผัสประสบการณกันแบบเต็มอิ่ม แตทั้งนี้ จำกัด ที่ผูเขารวมเพียง 15 คู เทานั้น ผูที่สนใจสามารถลงทะเบียนลวงหนาไดที่บูทของ Kagawa Prefecture ภายในงาน Oishii Japan 2013 เปดใหเยี่ยมชมเพื่อการเจราธุรกิจในวันที่ 17-18 ตุลาคม 2556 สำหรับประชาชนทั่วไปสามารถเขาเยี่ยมชมงานไดในวันที่ 19 ตุลาคม 2556 ผูที่สนใจสามารถศึกษาขอมูลเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต www.oishii-world.com 70
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p70_Pro3.indd 70
Visitors to the 4,000 square metre showcase can look forward returning signature Japanese F&B products such as beef, sake, sauces and condiments, noodles, utensils and tableware as well as F&B equipment that have been very well-received last year. In addition, innovative products and new-to-market brands has been added to the show to introduce variety and raise awareness of the diversity in Japanese F&B products. Seminars and a business matching programme are planned to facilitate knowledge sharing and networking among the exhibitors and trade buyers.
Special Activities for Public
Oishii Japan is open to the public on the last day (19 October 2013). Japanese food enthusiasts can check out a wide gamut of Japanese F&B products and gain a deeper appreciation for one of Singapore’s favorite cuisines through live demonstrations and workshops. One of the popular highlights, Udon Experience is a hands-on udon-making workshop for parents and kids aged 10 to 12 years. It will be limited to 15 pairs of children with an accompanying parent each. Pre-registration can be done at Kagawa Prefecture booth. Oishii Japan 2013 is open only to trade visitors on 17 and 18 October. Members of the public can visit the expo on 19 October. For more information, please visit www.oishii-world.com.
ขอมูลเพิ่มเติม สำหรับผูเยี่ยมชมในวันเจรจาทางธุรกิจ 17 -18 ตุลาคม 2556 สามารถลงทะเบียน ลวงหนาไดที่เว็บไซต www.oishii-world.com ภายในวันที่ 11 ตุลาคม 2556 สวนผูที่สนใจทั่วไปสามารถเขารวมชมงานไดในวันที่ 19 ตุลาคม 2556 โดยมี คาเขาชมงาน $4 SGD เด็กที่มีอายุต่ำกวา 12 ปสามารถเขารวมชมงานไดฟรีโดย ไมเสียคาใชจาย สำรองบัตรเขาชมงานไดที่เว็บไซต http://oishiijapan.peatix.com Additional Information
For Trade Day: 17 and 18 October 2013, complimentary admission to trade visitors who register online at www.oishii-world.com by 11 October. For Public Day: 19 October 2013, $4 per person; admission is free for children 12 years and below. Tickets can be purchased at http://oishiijapan. peatix.com.
9/26/13 1:01:24 AM
SHOW TIMES Post Show – Thailand LAB 2013
Thailand LAB 2013 Thailand’s Next Step towards Lab Industry Success
กาวแหงความสำเร็จของวงการแล็บไทยสูความเปนสากล
Thailand LAB 2013 ‰¥â∫√√≈ÿ‡ªÑ“À¡“¬¢Õß°“√®—¥ß“π‡æ◊ËÕ„À⇰‘¥°“√√«¡μ—« ¢ÕߺŸâ ∑’Ë ∑ ”ß“π„πÀâ Õ ß·≈Á ∫ ·≈–°≈ÿà ¡ Õÿ μ “À°√√¡∑’Ë ¡’ Àâ Õ ß·≈Á ∫ √à « ¡·≈°‡ª≈’Ë ¬ 𠧫“¡√Ÿâ·≈–π«—μ°√√¡¥â“π‡§√◊ËÕß¡◊Õ·≈Á∫∑ÿ°ª√–‡¿∑ ‡æ◊ËÕª√– ‘∑∏‘¿“æ¥â“πß“π μ√«®«‘‡§√“–Àå ∑¥ Õ∫ ·≈–ß“π«‘®—¬¢Õ߉∑¬‡∑’¬∫°—∫Õ“‡´’¬π Thailand LAB 2013 was pronounced a success on all levels. The event’s objectives were to promote the lab community and industry in Thailand and the exchange of knowledge, innovation and investment. This resulted in more promotion, analysis and research for the laboratory industries within Thailand, to boost its competitive edge within ASEAN.
International Pavilion: มีผูนำนวัตกรรมตางๆ มาแสดงกวา 300 ราย จาก 700 แบรนดจากไทยและตางประเทศ ซึ่งมีผูชมงานกวา 5,422 คน จากกวา 20 ประเทศ ไดแก ญี่ปุน เวียดนาม จีน สิงคโปร อินเดีย มาเลเซีย ไตหวัน เกาหลีใต สหรัฐอเมริกา อังกฤษ และ ไทย โดยสวนใหญมีความสนใจในดาน Laboratory and Analytical Technique, Instrument and Technology Services รองลงมาเปนเรื่องเกี่ยวกับการวิจัยและนวัตกรรมตางๆ Lab Safety Forum: ในสวนของการประชุมสัมมนาที่ไดรับความสนใจสูงสุดจาก ผูเขารวมงาน คือ การสัมมนามาตรฐานและความปลอดภัยของแล็บ และ Aqua Business Forum จาก Aqua Biz Magazine โดยไดรับเกียรติจาก ศ. เกียรติคุณ ดร. พิชัย โตวิวิชญ กรรมการผูจัดการ มูลนิธิศาสตราจารย ดร. แถบ นีละนิธิ ใหขอคิดวา “งานแล็บทุกวันนี้ ทุกภาคสวนจะมุงเนนที่เครื่องมือ และการวิเคราะหทางวิทยาศาสตร สิ่งที่ถูกมองขามไปคือ สภาวะแวดลอมในหองแล็บ และสุขลักษณะของนักวิทยาศาสตรหรือบุคลากรที่ปฏิบัติงาน ในหองแล็บ ซึ่งงานสัมมนาครั้งนี้จะเปนโอกาสใหเกิดการพัฒนามาตรฐานหองแล็บของไทย ใหเทียบเทามาตรฐานสากล” Thailand LAB 2014 จะจัดขึ้นในวันที่ 17-19 กันยายน 2557 ณ ศูนยนิทรรศการและ การประชุ ม ไบเทค บางนา ผู ที่ ส นใจสามารถสอบถามข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได ที่ เ ว็ บ ไซต www.thailandlab.com
International Pavilion:
The event achieved 5,422 visitors from more than 20 countries – including Thailand, Japan, Vietnam, China, Singapore, India, Malaysia, Taiwan, South Korea, U.S.A, and UK. The International Pavilion held 300 booths with 700 brands represented from around the world. The popular issues are Laboratory and Analytical Technique, Instrument and Technology Services as well as research and technology. Thailand LAB 2013 also featured several successful forums, the most popular being the Standard & Safety in Laboratories Forum and the Aqua Business Forum by Aqua Biz Magazine. Speaking from the Lab Safety Forum at Thailand LAB 2013, Emer. Prof. Dr. Phichai Tovivich, President of Professor Dr. Tab Nilanidhi Foundation stated that science workplace safety must be improved. “Research was found that a large percentage of laboratory staff develop health problems due to chemical exposure and accidents. This years’ Thailand LAB created an opportunity to bring Thailand’s lab industry to meet with international safety standards.” Dr. Pichai explained. Thailand LAB 2014 will take place on 17–19th September 2014, at BITEC, Bangkok. For more information please visit www.thailandlab.com
Lab Safety Forum:
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p71_Pro3.indd 71
71
9/26/13 1:10:34 AM
SHOW TIMES
Post Show - Food & Hotel Thailand 2013
Food & Hotel Thailand 2013 (FHT 2013) ®— ¥ ¬‘Ë ß „À≠à ° «à “ ‡¥‘ ¡ ‚¥¬¡’ ºŸâ®—¥· ¥ß ‘π§â“®”π«π 341 √“¬ ®“° 26 ª√–‡∑»∑—Ë«‚≈° ‡æ‘Ë¡¢÷Èπ®“°ªï∑’Ë·≈â« ∂÷ß√âÕ¬≈– 25 ®“° 271 √“¬ „πªïπ’ȉ¥â¢¬“¬æ◊Èπ∑’Ë®—¥ß“π‡æ‘Ë¡¢÷Èπ‡ªìπ 3 ŒÕ≈≈å ®“°ŒÕ≈≈å 103 ∂÷ ß 105 §√Õ∫§≈ÿ ¡ æ◊È π ∑’Ë ° «à “ 18,500 μ“√“߇¡μ√¢Õß »Ÿπ¬åπ‘∑√√»°“√·≈–°“√ª√–™ÿ¡‰∫‡∑§ ∫“ßπ“ Food & Hotel Thailand 2013 (FHT 2013) was bigger. Growing to 341 participants from 26 countries, which is over a 25% increased from last year’s 271 participants. Now occupying three halls, 103 to 105 at BITEC and covering over 18,500 sqm.
Food & Hotel Thailand 2013 At the Heart of Thailand’s Appetite for Business
ตอบโจทยตรงใจธุรกิจอาหารและโรงแรม
F
HT 2013 งานแสดงสินคาพรีเมียมเพื่อธุรกิจบริการอาหารและ โรงแรมที่มีผูเขารวมจัดแสดงสินคาชั้นนำจากประเทศไทยและ ตางประเทศมาจัดแสดงสินคา ผลิตภัณฑ และเครื่องมืออุปกรณ ตางๆ โดยเปดเวทีใหผูจัดแสดงสินคาไดพบกับผูเขาชมงานจากประเทศ ไทยและทั่วภูมิภาค ซึ่งประเทศจากเอเชียที่เขาชมงานมากที่สุด 15 อันดับ ไดแก มาเลเซีย สิงคโปร ญี่ปุน พมา ฟลิปปนส จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย กัมพูชา ฮองกง อินเดีย ลาว บังคลาเทศ เกาหลี และไตหวัน นอกจากนี้ ยังมีพาวิลเลียนแสดงสินคาอีก 7 ประเทศ ไดแก อารเจนตินา บัลแกเรีย เยอรมนี อินเดีย ญี่ปุน สิงคโปร และสหรัฐอเมริกา สำหรับงาน Food & Hotel Thailand 2014 ในปหนาจะนำเสนอ แนวคิดธุรกิจใหมๆ ซึ่งจะจัดขึ้นในวันที่ 10–13 กันยายน 2557 ณ ไบเทค บางนา และจะเปนการจัดที่ยิ่งใหญกวาเดิม ผูที่สนใจสามารถสอบถาม ขอมูลเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต www.foodhotelthailand.com
F
HT 2013 is Thailand showcasing premium products and services from international and local suppliers. FHT2013 connected participants not only to visitors from across Thailand but also to the region. The top 15 Asian attendees came from Malaysia, Singapore, Japan, Myanmar, Philippines, China, Vietnam, Indonesia, Cambodia, Hong Kong, India, Laos, Bangladesh, Korea and Taiwan. Exhibiting at FHT 2013 were 7 international pavilions from Argentina, Bulgaria, Germany, India, Japan, Singapore and the USA. Food & Hotel Thailand (FHT) 2014 will return from 10-13 September 2014 at BITEC Bangna. For more information, please visit www.foodhotelthailand.com.
72
Exhibition Highlight
Pavilion Highlight
C
TS
Backed by years of experience at DIGI Weighing and receipt printing anywhere
“เรากำลั ง ทำโครงการร ว มกั น กั บ อี ยู เ พื่ อ สงเสริมไวนบัลแกเรียใหเปนที่รูจักในประเทศไทย ซึ่ ง เรามี ค วามยิ น ดี อ ย า งยิ่ ง ที่ ไ ด ม าร ว มงานใน ครั้งนี้ มีผูคามืออาชีพจำนวนมากแวะมาเยี่ยมชม บู ธ ของเรา และเราก็ ไ ด พ บกั บ กลุ ม ผู ซื้ อ ราย สำคั ญ อี ก มากมาย อาทิ ผู น ำเข า ผู แ ทนจำหน า ย รวมถึ ง ผู ป ระกอบการโรงแรมและ ภั ต ตาคารอี ก มากมายด ว ย” มาร ค แอนโทนี เชสเนอร Regional Vine and Wine Chamber, “TRAKIA” ประเทศบัลแกเรีย “We are working with the EU Project to promote Bulgarian wine in Thailand. We are very pleased with the event. Many professional trade visitors visited our booth and we met many groups of important buyers such as importers, distributors, hotels and restaurants.” Mark Anthony Chesner, Regional Vine and Wine Chamber, “TRAKIA” Bulgaria
T
JB
JBT the Perfect Squeeze - Really fresh, really good and really profitable
ai
th
Sous Vide vs. Cryogenic Cooking – The art of modern cuisine
b Gi
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p72_Pro3.indd 72
9/26/13 1:15:43 AM
SURROUNDS Business Update
ไสกรอกซีพี ¬Õ¥‡¬’ˬ¡√–¥—∫‚≈° §«â“√“ß«—≈„πß“π IFFA 2013 CPF Won Prestigious Awards from the International Sausage Quality Competition in IFFA 2013 กรุงเทพฯ, นายรอลฟ ชูลเซ (ที่ 3 จากซาย) เอกอัครราชทูตสหพันธสาธารณรั ฐ เยอรมนี ป ระจำประเทศไทย ร ว มแสดงความยิ น ดี กั บ นายสุขวัฒน ดานเสริมสุข (ที่ 3 จากขวา) รองกรรมการผูจัดการบริหาร สายธุรกิจอาหารสำเร็จรูป บริษัท เจริญโภคภัณฑอาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ในโอกาสผลิตภัณฑไสกรอกแบรนดซีพี คือ มินิคอกเทลสไปซี่ ชิคเกนแฟรงค และผลิตภัณฑไสกรอกแบรนดบีเคพี คื อ ฮอทดอกไก FM1 ได รั บ รางวั ล ไส ก รอกยอดเยี่ ย มระดั บ โลก รางวั ล “International Sausage Quality Competition” ระดั บ เหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทอง ตามลำดับ ในงานมหกรรม สินคานานาชาติดานอุตสาหกรรมเนื้อสัตว หรือ IFFA ณ ประเทศเยอรมนี โดยมีนายเยอรก บุค (ซายสุด) ผูอำนวยการบริหารหอการคา เยอรมัน-ไทย นายอัคเซล อารราส (ที่ 2 จากซาย) กรรมการผูจัดการ บริ ษั ท เอฟพี ที ฟู ด โพรเซสส เทคโนโลจี จำกั ด และนายณฤกษ มางเขี ย ว (ที่ 2 จากขวา) รองกรรมการผู จั ด การอาวุ โ ส ซี พี เ อฟ รวมแสดงความยินดี นายอัคเซล กลาวถึง IFFA วาเปนงานนิทรรศการแสดงสินคาระดับโลก ที่ แ สดงถึ ง ความก า วหน า ด า นเทคโนโลยี แ ละวิ ช าการในการผลิ ต ผลิตภัณฑเนื้อสัตว อาทิ ไสกรอก แฮม และเบคอน จัดขึ้นทุก 3 ป ณ เมื อ งแฟรงค เ ฟ ร ต เยอรมนี ตั้ ง แต ป 2492 ภายในงานได จั ด การประกวดรางวัลไสกรอกคุณภาพ โดยการตัดสินรางวัลประเมินจาก ลักษณะภายนอกของไสกรอก สี สวนผสม เนื้อสัมผัส กลิ่น และรสชาติ ด า นคุ ณ สุ ข วั ฒ น กล า วว า ซี พี เ อฟได ด ำเนิ น ธุ ร กิ จ ไส ก รอก มากวา 30 ป และมีการพัฒนาในดานกระบวนการผลิตอยางตอเนื่อง โดยใหความเชื่อมั่นกับเทคโนโลยีของเครื่องจักรจากเยอรมนี การไดรับ รางวัลในครั้งนี้นับเปนเกียรติและความภาคภูมิใจของทีมงานทุกคน ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ มี แ ผนที่ จ ะรุ ก ตลาดผลิ ต ภั ณ ฑ ไ ส ก รอกแบรนด ซี พี เพื่ อ เน น เจาะกลุ ม ตลาดบน และแบรนด บี เ คพี เ จาะตลาดกลุ ม บี โดยวางเปาหมายวาในปนี้ผลิตภัณฑไสกรอกของบริษัทฯ ทั้งแบรนด ซีพีและบีเคพีจะเติบโตรอยละ 30 และคาดวาสวนแบงตลาดโดยรวม ทั้งสองแบรนดของบริษัทฯ จะมีประมาณรอยละ 25 เพิ่มขึ้นจากปที่ แล ว ที่ มี ส ว นแบ ง ร อ ยละ 20 โดยจะมี มู ล ค า ส ว นแบ ง การตลาด ประมาณ 8,000 ลานบาท จากมูลคาตลาดรวม 40,000 ลานบาท สำหรั บ แผนการตลาดของบริ ษั ท ฯในอี ก 3 ป จ ากนี้ บริ ษั ท ฯ ตั้งเปาขยายปริมาณการผลิตไสกรอกโดยรวมทั้งจำหนายในประเทศ และสงออกที่ 140,000 ตัน และเพิ่มสวนแบงตลาดเปนรอยละ 35 ของตลาดรวมไสกรอกทั้งหมด
Bangkok, H.E. Mr. Rolf Schulze (3rd from left), Ambassador of the Federal Republic of Germany to Thailand, recently congratulated Mr. Sukhawat Dansermsuk (3rd from right), Executive Vice President - Food Business, Charoen Pokphand Foods Public Company Limited (CPF), on the occasion that CPF’s sausages under CP brand including spicy mini cocktail, chicken frank as well as sausage under BKP brand won the Gold, Silver and Gold Medal respectively of “International Sausage Quality Competition” during IFFA 2013, the world’s leading trade fair for the meat-processing industry, held in Germany. Jointly congratulation included Mr. Joerg Buck (left), Executive Director of German-Thai Chamber of Commerce, Mr. Axel Arras (2nd from left), Managing Director of FPT Food Process Technology Co., Ltd., Mr. Narerk Mangkeo (2nd from right), Senior Vice President of CPF. Mr. Axel explained that IFFA is held every three years in Frankfurt, Germany. IFFA has been the international platform for the meat processing industry since 1949. Nowadays, it is the leading international trade fair for processing, packaging, and sales in the meat industry. This year, “International Sausage Quality Competition” was held and the product entries are evaluated on the basis of their appearance, color, ingredients, texture, flavor and taste. In this regard, Mr. Sukhawat said that with 30 years history of sausage business, CPF has continually focused on processing technology and has relied on German machineries. These prestigious awards are a great pride for CPF team. The company has planned to penetrate sausage markets which are CP brand for premium market and BKP brand for “B” grade market. This year, CPF has targeted 30 percent growth of sausage products under these two brands. It is forecasted that the market share of the two brands will be 25 percent, increase from 20 percent in 2012. The total market value of sausage products will be THB 40 billion and CPF will share the market with THB 8 billion. The next three year plan of CPF has targeted to expand the production volume at 140,000 tons for both domestic and export markets. Moreover, the company has planned to increase the market share to 35 percent of the total sausage market. www.cpfworldwide.com Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p73-80_Pro3.indd 73
73
9/25/13 10:21:50 AM
นิวทรีชั่น เอสซี ®—¥ —¡¡π“·≈–‡«‘√å°™ÁÕª
กิบไทย
çπ«—μ°√√¡ “√º ¡Õ“À“√®“°∏√√¡™“μ‘é
®—¥ —¡¡π“ æ√âÕ¡ “∏‘μ°“√∑”Õ“À“√ ‰μ≈å‚¡‡¥‘√åπ
กรุงเทพฯ, 9-10 กันยายน 2556 - บริ ษั ท นิ ว ทรี ชั่ น เอสซี จำกั ด ไดจัดงานสัมมนาในหัวขอ Value Added by Ingredients Innovation ขึ้น ณ ศูนยการประชุมแห ง ชาติ สิ ริ กิ ติ์ โดยได รั บ เกี ย รติ จาก ดร. พัชร เอกปญญาสกุล ผูบริหาร บริษัท นิวทรีชั่น เอสซี จำกัด กล า วเป ด งานสั ม มนาดั ง กล า ว งานสั ม มนาวั น แรกมุ ง เน น เรื่ อ งการใช สารผสมอาหารจากธรรมชาติสำหรับอาหารคาว เชน ซุป ไกทอด เปนตน โดยได รั บ เกี ย รติ จ ากผู เ ชี่ ย วชาญด า นผลิ ต ภั ณ ฑ ส ารผสมอาหาร จากธรรมชาติรวมบรรยาย อาทิ Mr. Fritz Aeberhard จาก Haco Limited รวมดวย Mr. Gabriel Pappu จาก Haco Asia Pacific Shd ประเทศมาเลเซีย บรรยายเรื่อง Actual Trends in Europe (Savory Applications) และวิทยากรจากบริษัทผูผลิตสารผสมอาหารชั้นนำจากตางประเทศ เชน Mr. Stephen Berman จาก Butter Buds Inc. บรรยายเรื่อง Health Trend 2014 by Customers Choice or Government Regulations และ Mr. Ronny Platteeuw จาก Consucra บรรยายเรื่อง The Naturally Sourced Functional and Vegetable Solution for Processed Meat เทรนด อาหารสำหรั บป หน า ยั ง ค ง อ ยู บ น ป จ จั ย พื้ น ฐ า น ที่ ส ำคั ญ เช น ความเชื่ อ มั่ น ในความปลอดภั ย ของอาหาร การยอมรับในแหลงอาหารที่เปน ธรรมชาติ ไม มี วั ต ถุ เ จื อ ปน
กรุงเทพฯ, 29 สิงหาคม 2556 บริ ษั ท กิ บ ไทย จำกั ด ได จั ด งาน สัมมนาภายใตหัวขอ The Art of Modern Cuisine: Sous Vide vs Cryogenic Cooking by Chef Ian Chalermkittichai โดยเชฟ ได ส าธิ ต การปรุ ง อาหารโดยใช เครื่อง Sous Vide ที่ประกอบดวย อุปกรณ 3 สวน คือ Sous Vide Equipment หมอตมน้ำที่ตั้งเวลา ได อั ต โนมั ติ ซึ่ ง ใช เ ทคนิ ค การส ง ผ า นความร อ นจากน้ ำ ไปยั ง อาหารที่บรรจุในถุงพลาสติกชนิดพิเศษที่ซีลสุญญากาศไวแลว Vacuum Sealers เครื่ อ งซี ล ป ด ถุ ง พลาสติ ก และ Plastic Vacuum Pouches ถุงพลาสติกชนิดหนาพิเศษมีหลายขนาด สะอาด ปลอดภัย และไมฉีกขาด งาย อาหารที่เตรียมไวสามารถแบงใสถุงและซีลเก็บไวในหองเย็น หรือ เก็ บ แช แ ข็ ง ไว ก อ นได ข อ ดี ข องเครื่ อ ง Sous Vide คื อ มี ค วามสะดวก ในการเตรียมอาหารและสามารถทำไดครั้งละหลายชนิด เทคนิคดังกลาว เป น ประโยชน อ ย า งยิ่ ง ต อ กระบวนการผลิ ต อาหารขนาดใหญ และ การเตรียมอาหารนอกสถานที่ หรือโดยเฉพาะรานอาหารขนาดใหญที่มี การรับวัตถุดิบเขาจำนวนมาก ซึ่งสามารถแบงชิ้นเนื้อวัตถุดิบมาเตรียม ไวกอนเพื่อรอการปรุงและเสิรฟในเวลาที่ตองการ ภายในงานเชฟได ส าธิ ต การปรุ ง อาหารที่ ห ลากหลาย โดยใช เ พี ย ง เครื่ อ ง Sous Vide อาทิ เ ช น ปลาแซลมอน เนื้ อ แกะ เนื้ อ ไก ไข ต ม เป น ต น เทคนิ ค ต อ มาที่ เ ชฟได น ำเสนอ คื อ การทำให อ าหารเย็ น ลง อย า งรวดเร็ ว โดยใช ไ นโตรเจนเหลว เหมาะสำหรั บ การจั ด เตรี ย ม อาหารหวาน เช น ไอศกรี ม ผลไม แ ช แ ข็ ง สำหรั บ คอกเทล เป น ต น โดยอุณหภูมิไนโตรเจนเหลวที่ใชประมาณ -195.8 ๐C หรือ -320.4 ๐F ซึ่ ง สามารถทำให ข องเหลวกลาย เป น เกล็ ด น้ ำ แข็ ง ได เช น การทำ ท็อปปงจากน้ำผลไม เปนตน เนื่องในโอกาสงานแสดงสินคา Food & Hotel Thailand 2013 ที่ผานมาทางบริษัทฯ ไดนำนวัตกรรม การทำอาหารเหลานี้ไปสาธิตใหผูเขารวมชมงานแสดงสินคาไดชมและ ชิมอาหารกันอยางใกลชิด ซึ่งไดผลการตอบรับที่นาพอใจเปนอยางมาก
ไมมีวัตถุกันเสีย และความนิยมเรื่องอาหารเพื่อสุขภาพก็เติบโตมากขึ้น นอกจากนี้ยังใหความสำคัญกับสิ่งแวดลอม แนวคิดของวัตถุดิบอาหาร ที่ไดจากแหลงทรัพยากรที่มีการจัดการอยางเหมาะสมและยั่งยืน ทั้งนี้ ภาครัฐอาจมีบทบาทในการสนับสนุนแกผูประกอบการเพื่อใหผลิตอาหาร ที่ดีตอสุขภาพได คือ สนับสนุนใหผูผลิตลดปริมาณไขมัน ลดเค็ม และ ใหการสงเสริมการใชสินคาและวัตถุดิบออรแกนิกมากขึ้น เปนตน สำหรั บ การสั ม มนาในวั น ที่ ส องเน น เรื่ อ งการใช ส ารผสมอาหาร สำหรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ ครื่ อ งดื่ ม ซึ่ ง ยั ง คงนำเสนอสารผสมอาหารที่ ม าจาก ธรรมชาติและการนำไปประยุกตใชในเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพตางๆ โดย ได รั บ เกี ย รติ จ ากวิ ท ยากร Ms. Amandine De Santi จาก Naturex บรรยายเรื่อง Naturally Boosting Flavor Healthiness and Shelf Life นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมเวิรกช็อป คิดคนสูตรอาหารและเครื่องดื่มโดยใช สารผสมอาหารจากธรรมชาติ ซึ่งไดรับความสนใจอยางมากจากผูเขา รวมฟงสัมมนา www.nutritionsc.co.th
74
www.gibthai.com
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p73-80_Pro3.indd 74
9/26/13 1:06:57 AM
เอสจีเอส ¡Õ∫„∫√—∫√Õß√–∫∫¡“μ√∞“π ISO 20121
เมทเลอร-โทเลโด (ประเทศไทย) ®—¥ß“π —¡¡π“μàÕ‡π◊ËÕß
·°à‚√ß·√¡æ≈“´à“ ·Õ∑∏‘π’œ
æ√âÕ¡‡¢â“∂÷ß≈Ÿ°§â“∑—Èß¿“§°≈“ß ‡Àπ◊Õ ·≈–„μâ
กรุงเทพฯ - บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกั ด โดยคุ ณ มนตรี ตั้ ง เติ ม สิ ริ กุ ล ผูจัดการทั่วไป แผนกรับรองระบบงาน และระบบบริการ เปนผูมอบใบรับรอง ระบบมาตรฐาน ISO 20121 ให กั บ คุ ณ ชู เ ลง โก ผู จั ด การทั่ ว ไป โรงแรมพลาซา แอทธินี รอยัล เมอริเดียน และคุ ณ นิ ช าภา ยศวี ร ผู อ ำนวยการ ฝ า ยพั ฒ นาศั ก ยภาพอุ ต สาหกรรม ไมซไทย สำนักงานสงเสริมการจัดประชุม และนิทรรศการ หรือทีเส็บ เปนสักขีพยานในครั้งนี้ โรงแรมพลาซ า แอทธิ นี ฯ เป น โรงแรมแห ง แรกของโลกและในเครื อ สตารวูด โฮเต็ล แอนด รีสอรท เวิลดไวด อินคอรเปอเรชั่น ที่ผานการรับรอง มาตรฐาน ISO 20121 ระบบการจัดการงานอีเวนทและธุรกิจไมซอยางยั่งยืน ทั้งนี้ การผานการรับรองมาตรฐานดังกลาวนั้น แสดงใหเห็นถึงความมุงมั่น ของโรงแรมในเรื่องความรับผิดชอบตอสิ่งแวดลอมและการประหยัดพลังงาน โดยการนำทรัพยากรมาใชใหเกิดความคุมคาสูงสุด ควบคูไปกับการพัฒนา ดานเศรษฐกิจ เพื่อที่จะพัฒนาองคกรตามหลักการความยั่งยืนตอไป
สิงหาคม 2556 - บริษัท เมทเลอร-โทเลโด (ประเทศไทย) จำกั ด ได จั ด งานสั ม มนา เกี่ ย วกั บ การวั ด และการวิ เ คราะห ค า ที่ ส ำคั ญ ต า งๆ ในห อ งปฏิ บั ติ ก ารหลาย หั ว ข อ ด ว ยกั น เช น การลดข อ ผิ ด พลาด จากการไทเทรตเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ในการทำงาน ระบบการจัดการคุณภาพเครื่องมือที่ใชในกระบวนการวิเคราะห ความชื้น และระบบการจัดการคุณภาพของการวัดคา pH และ Conductivity เพื่อเพิ่มความเชื่อมั่นของผลการวิเคราะห เปนตน เพื่ อ เป น การขอบคุ ณ ลู ก ค า ที ม งาน เมทเล อ ร - โทเลโด จึ ง เดิ น ทางไปจั ด สั ม มนา ทั้ ง ภาคกลาง ภาคเหนื อ และภาคใต โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ สร า งความเข า ใจ เกี่ ย วกั บ หลั ก การและทฤษฎี ก ารหาค า ต า งๆ รวมถึงการใชงานและดูแลรักษาเครื่องมือที่ถูกตอง อันจะชวยใหผูปฏิบัติงาน มี ค วามเชื่ อ มั่ น ในความถู ก ต อ ง แม น ยำ และช ว ยลดโอกาสในการเกิ ด ข อ ผิดพลาด พรอมชมการสาธิตและลองปฏิบัติจริงดวยตัวเอง ภายใตการแนะนำ ของผู เ ชี่ ย วชาญอย า งใกล ชิ ด ทั้ ง นี้ การสั ม มนาในแต ล ะหั ว ข อ นั้ น มี ผูใหความสนใจลงทะเบียนมาเปนจำนวนมาก ทางบริษัทฯ จึงตองจัดสัมมนา เพิ่มเติมอีกหลายรอบดวยกัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ก็ยังมุงมั่นที่จะมอบความรู ที่เปนประโยชนใหกับลูกคาอยางตอเนื่องและทั่วถึงตอไป
www.sgs.co.th
US Embassy ®—∫¡◊Õ USDA ®—¥ª√–™ÿ¡ —¡¡π“ ‡ √‘¡§«“¡√Ÿâ¥â“π«—μ∂ÿ‡®◊ÕªπÕ“À“√
www.mt.com
กรุงเทพฯ, 19 กันยายน 2556 - สถานทูต สหรั ฐ อเมริ ก า ประจำประเทศไทย ร ว มกั บ กระทรวงเกษตร สหรั ฐ อเมริ ก า (USDA) ไดจัดงานประชุมสัมมนาภายใตหัวขอ “Food Additives: Southeast Asia Regional Scientific Exchange” ขึ้น ณ หองบอลรูม 1 โรงแรมโซฟเทล กรุงเทพฯ สุขุมวิท มีจุดประสงคเพื่อเผยแพรและเสริมความรู เกี่ ย วกั บ ความปลอดภั ย และกฎหมายด า นวั ต ถุ เ จื อ ปนอาหารของประเทศสหรัฐอเมริกาใหกับรัฐบาล ผูประกอบการ และนักวิชาการทั้งในประเทศไทยและ ประเทศกลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต พรอมดวยการอัพเดทขอมูลกฎหมายใหม ตางๆ เพื่อการดำเนินการดานการสงออกอยางมี ประสิทธิภาพ โดยงานประชุมครั้งนี้ไดรับเกียรติ จากวิ ท ยากรและนั ก วิ ช าการที่ มี ชื่ อ เสี ย งจาก ป ร ะ เ ท ศ ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า เ ข า ร ว ม บ ร ร ย า ย และให ข อ มู ล ซึ่ ง ได รั บ ความสนใจจากผู เ ข า รวมฟงบรรยายเปนอยางมาก www.usda.gov
ค็อกเน็กซ ‡¥‘𠓬‚√¥‚™«å พระนครศรีอยุธยา - ค็อกเน็กซ ประเทศไทย จัดงานสัมมนาในหัวขอ Optimising Processes and Reducing Cost with Vision Systems & ID Readers ขึ้ น ที่ โ รงแรมกรุ ง ศรี ริ เ วอร เพื่อใหผูเขารวมสัมมนาไดเรียนรูถึงประโยชน ในการนำระบบวิ ชั่ น ซิ ส เต็ ม ส และ ID Readers มาประยุกตใชในสายการผลิต เนื่องจากเทคโนโลยีแมชชีนวิชั่น มีบทบาทสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการควบคุมและตรวจสอบ คุ ณ ภาพสิ น ค า ส ง เสริ ม มาตรฐานด า นความปลอดภั ย เพิ่ ม ผลิ ต ภาพ และที่ ส ำคั ญ ช ว ยลดต น ทุ น ในการผลิ ต โดยมี ผู ส นใจจากโรงงานผลิ ต ชิ้ น ส ว นทางด า น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส แ ละอุ ต สาหกรรมยานยนต เขารวมรับฟงการบรรยาย www.cognex.com Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p73-80_Pro3.indd 75
75
9/25/13 10:21:52 AM
สถาบันรหัสสากล ®—¥ª√–™ÿ¡„À≠à “¡—≠ª√–®”ªï 2556 æ√âÕ¡©≈ÕßÕ“¬ÿ§√∫ 25 ªï กรุงเทพ, 27 สิงหาคม 2556 - สถาบันรหัสสากล หรือ GS1 Thailand จัดงานประชุมใหญสามัญประจำป 2556 ขึ้น ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา หองแกรนดฮอลล 201-202 ซึ่งการประชุมในครั้งนี้เปนการรายงาน การประชุมใหญสามัญประจำป 2555 ตลอดจนแจงใหทราบถึงผลการดำเนินงานประจำป 2555 และแผนการดำเนินงาน ประจำป 2556 นอกจากนั้น สถาบันฯ ยังไดถือใหวาระนี้เปนการเฉลิมฉลองครบรอบ 25 ป ของสถาบันฯ อีกดวย งานประชุมใหญสามัญประจำป 2556 ไดรับเกียรติจากนายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสถาบันรหัสสากลและ ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทยเปนประธานเปดงาน พรอมดวยนายประวิทย โชติปรายนกุล ผูอำนวยการ สถาบันรหัสสากล และคณะกรรมการสถาบันรหัสสากลเขารวม ซึ่งภายในงานครั้งนี้มีสมาชิกใหการสนับสนุนเขารวมงานกวา 500 คน อีกทั้งยังมีการออกบูธ จากหลายหนวยงานเพื่อใหสมาชิกไดรวมสนุกกับการเลนเกมสและเก็บสะสมแตม ลุนรับของรางวัลพิเศษจากสถาบันฯ โดยไดรับการตอบรับจากสมาชิก เปนอยางดี นอกจากนี้ยังมีวิทยากรรับเชิญพิเศษใหเกียรติรวมบรรยาย ไดแก มร. จอหน จี เคียว Global Advisor & Director, Product & Consumer Safety คุณจิรชัย มูลทองโรย เลขาธิการคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค คุณชัยโรจน จิตตแกว Co-Chairman จาก ECR Thailand รศ. ดร. ดวงพรรณ กริ ช ชาญชั ย ผู อ ำนวยการศู น ย Loghealth คุ ณ กำพล โชคสุนทสุทธิ์ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จำกัด ดร. ประพจน ศรีนุวัตติวงศ ที่ปรึกษาเลขาธิการ สภาผู แ ทนราษฎร สำนั ก งานเลขาธิ ก ารสภาผู แ ทนราษฎร คุ ณ นิ มิ ต ร หงษ ยิ้ ม Senior Operations Director บริษัท เอสเอส อารเอฟไอดี จำกัด และคุณจำรัส สวางสมุทร ผูอำนวยการสถาบันสงเสริมความเปนเลิศทางเทคโนโลยีอารเอฟไอดีแหงประเทศไทย มร. จอหน จี เคียว กลาวถึงความกาวหนาของ GS1 ที่ไดเขาไปมีบทบาทในหลายๆ ภาคสวน เชน ใน European Union - Traceability & Recall ที่ทาง GS1 ได เ ข า ไปมี บ ทบาทซึ่ ง ขณะนี้ ก ำลั ง อยู ใ นขั้ น สุ ด ท า ยของการปรั บ ปรุ ง การตรวจสอบย อ นกลั บ ในสหภาพยุ โ รปและวิ ธี ก ารในการปรั บ ปรุ ง การเรี ย กคื น ซึ่ ง จะ มีประโยชนสำหรับบริษัทจำนวนมากที่สงออกผลิตภัณฑไปยังสหภาพยุโรป โดยหวังวารายงานจะเสร็จสิ้นภายในสิ้นปนี้ www.gs1thailand.org
ไทย-จีน μÕ°≈‘Ë¡Àÿâπ à«π¬ÿ∑∏»“ μ√姫“¡ —¡æ—π∏å„π¿Ÿ¡‘¿“§®’π-Õ“‡´’¬π กรุงเทพ, 27 สิงหาคม 2556 - นางศรีรัตน รัษฐปานะ อธิบดีกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ เปดเผยถึงการเดินทางรวมคณะของกรมฯ ไปกับนางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พรอมดวย นายนิวัฒนธำรง บุญทรงไพศาล รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย ผูบริหารของ หนวยงานภาครัฐและเอกชน เพื่อรวมพิธีเปดงาน “งานแสดงสินคา China-ASEAN Expo (CAEXPO)” วาในปนี้ไทยคัดเลือกจังหวัดตราดเปน City of Charm โดยนำเสนอศักยภาพดานการทองเที่ยว ธุรกิจ สุขภาพและสปา อาหาร ผลไม ประมง และการแปรรูป รวมถึงศักยภาพดานการคาและการลงทุนรวมในภูมิภาคอาเซียน พรอมทั้งกิจกรรมตางๆ เชน การสาธิตสปาสุมไก การแปรรูปผลไม และการรอนพลอย การจำลองสถานที่ทองเที่ยวเชิงนิเวศ การชิมอาหารจากโรงแรม 5 ดาว อาหารทะเล และผลไม ที่มีชื่อเสียงในจังหวัดตราด โดยมีผูเขาชมงานทั้งจากจีนและอาเซียนประมาณ 100,000 คน/วัน คาดวามูลคาการสั่งซื้อสินคาในงานจะไมนอยกวาปกอน ที่มูลคา 35 ลานบาท และมูลคาที่คาดวาจะสั่งซื้อภายใน 1 ป อีก 184 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีการจัดประชุมระดับสูง (China-ASEAN Business & Investment Summit; CABIS) ซึ่งรัฐบาลจีนใหความสำคัญอยางมากเพื่อใหเกิด ความสัมพันธในภูมิภาคจีน-อาเซียน การแลกเปลี่ยนดานเศรษฐกิจ การคา การลงทุน การทองเที่ยว และศิลปวัฒนธรรม รวมทั้งเปนการสงเสริมและ พัฒนาการจัดตั้งเขตการคาเสรีจีน-อาเซียน (CAFTA) สำหรับการเขารวมงานของไทยอยูใน Pavilion of Commodity Trade (Thailand Pavilion) เปนการจัดแสดงสินคาเพื่อการเจรจาการคาในพื้นที่ อาคาร 4 ขนาด 2,160 ตารางเมตร จำนวน 122 คูหา สินคาที่จัดแสดงแบงออกเปนสินคาอาหารและเครื่องดื่ม (33 ราย) สินคาเพื่อสุขภาพและความงาม (29 ราย) สินคาแฟชั่น เครื่องแตงกายและเครื่องประดับ (29 ราย) ของใชตกแตงบาน (18 ราย) และสินคายาง ยานพาหนะ (1 ราย) ทั้งนี้ Pavilion of Cities of Charm เปนการจัดแสดงนิทรรศการภาพลักษณของจังหวัดในแตละประเทศใหสอดคลองกับแนวคิดของการจัดงาน ซึ่งแนวคิดในปนี้ คือ “Regional Cooperation and Development: New Opportunities, New Impetus and New Stage” โดยมีประเทศฟลิปปนส เปน Country of Honor ในพื้นที่ขนาด 270 ตารางเมตร www.ditp.go.th
76
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p73-80_Pro3.indd 76
9/25/13 10:21:53 AM
TILOG 2013
Palsgaard ‡ªî¥μ—«‚√ßß“πº≈‘μÕ‘¡—≈´‘‰ø‡ÕÕ√å·Ààß„À¡à
§π√à«¡ß“π§÷°§—° ªî¥©“°ª√–∑—∫„®
„πª√–‡∑»¡“‡≈‡´’¬Õ¬à“߇ªìπ∑“ß°“√
กรุงเทพฯ, 4–7 กันยายน 2556 นางดวงกมล เจียมบุตร รองอธิบดี กรมส ง เสริ ม การค า ระหว า งประเทศ เป ด เผยหลั ง พิ ธี เ ป ด งาน Thailand International Logistics Fair 2013 (TILOG 2013) ว า เ ป น ก า ร จั ด ง า น ค ร บ ร อ บ ครั้งที่ 10 ของกรมสงเสริมการคาระหวางประเทศ โดยสำนักธุรกิจบริการ และโลจิสติกส รวมกับสภาผูสงสินคาทางเรือแหงประเทศไทย และสมาคมผู ป ระกอบธุ ร กิ จ วั ต ถุ อั น ตราย โดยในป นี้ ไ ด รั บ ความร ว มมื อ จาก หน ว ยงานต า งๆ อาทิ สมาคมผู รั บ จั ด การขนส ง สิ น ค า ระหว า งประเทศ สมาคมตัวแทนขนสงสินคาทางอากาศไทย เปนตน ส ำ ห รั บ ง า น ใ น ป นี้ ไ ด จั ด กิจกรรมพิเศษ ประกอบดวย AEC Zone การจัดแสดงเสนทางเชื่อมโยง ภายในอาเซี ย น Logistics Innovation Zone จัดนวัตกรรมดาน โลจิ ส ติ ก ส ข องผู ป ระกอบการไทย ที่ประสบความสำเร็จในดานการบริหารจัดการโลจิสติกสการคา Green Logistics Zone จัดแสดงการเลือกใชบรรจุภัณฑและอุปกรณเกี่ยวของกับ การลำเลียงเคลื่อนยายสินคาที่สามารถนำกลับใชใหมได และเปนมิตรกับ สิ่ ง แวดล อ ม Knowledge Zone จั ด เสวนาให ค วามรู โ ดยกู รู ว งการ โลจิสติกส และ ELMA Zone จัดแสดงนิทรรศการผลงานผูชนะรางวัล ELMA 2013 กิจกรรมพิเศษที่นาสนใจภายในงาน ไดแก งานเฉลิมฉลองครบรอบ 10 ปของการจัดงาน TILOG การมอบรางวัลผูชนะการประกวด Best Container Liner Award การจัดประชุม The First Asia Supply Chain Management Forum และ 2013 ACSC Annual Meeting & ACSC Awards Presentation โดย Asia Council of Supply Chain (ACSC) จากเมื อ งเซี่ ย เหมิ น สาธารณรั ฐ ประชาชนจีน นอกจากนี้ยังมีการจัด ประชุม Symposium TILOG 2013 โดยได รั บ เกี ย รติ จ ากผู เ ชี่ ย วชาญ และมีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับในอุตสาหกรรมโลจิสติกสจากประเทศตางๆ ใน ASEAN+6 มารวมกันวิเคราะหประเด็นในแงมุมตางๆ ภายใตหัวขอ ASEAN Trade Logistics Connectivity และกลั่นกรองจนตกผลึก กอนนำ ขอสรุปและสาระที่ไดนั้นมานำเสนอแกผูที่สนใจ www.logisticsfair.com
มาเลเซี ย , 20 สิ ง หาคม 2556 Palsgaard บริ ษั ท ผู เ ชี่ ย วชาญด า น อิมัลซิไฟเออร ประเทศเดนมารก มีความยิ น ดี ที่ จ ะประกาศให ท ราบว า โรงงาน แ ห ง ใ ห ม ข อ ง บ ริ ษั ท ไ ด เ ป ด แ ล ะ พร อ มดำเนิ น การผลิ ต แล ว โดยสามารถ ผลิตอิมัลซิไฟเออรไดทั้งแบบชนิดเดี่ยวและแบบชนิดผสม ดวยกำลังการผลิตถึง ปละ 20,000 ลานตัน พิธีเปดโรงงานอยางเปนทางการจัดขึ้นโดยไดรับเกียรติจาก คุณ Nicolai Ruge เอกอัครราชทูตเดนมารกประจำประเทศมาเลเซีย คุณ Dtuk Haji Ir Hamim Samuri รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงการคาระหวางประเทศและอุตสาหกรรม ประเทศมาเลเซีย เขารวมในพิธีเปดรวมกับบุคลากรของ Palsgaard และบริษัท ผู แ ทนจำหน า ยในเอเชี ย รวมถึ ง สถาปนิ ก บริ ษั ท คู สั ญ ญา ซึ่ ง เป น ผู ส นั บ สนุ น การกอสรางโรงงานแหงใหมนี้ คุณ Nicolai Ruge เอกอัครราชทูตเดนมารกประจำประเทศมาเลเซีย ไดกลาว ถึ ง ความประทั บ ใจ และกล า วชื่ น ชม Palsgaard ในเรื่ อ งการนำนวั ต กรรม เครื่ อ งจั ก รที่ ทั น สมั ย ที่ จ ะอำนวยความสะดวกในแง ข องเทคโนโลยี ก ารผลิ ต การประหยัดพลังงาน และการอนุรักษสิ่งแวดลอมมาใชในโรงงานแหงใหมนี้ นอกจากนี้ ระหวางงานเลี้ยงฉลอง คุณ Dtuk Haji Ir Hamim Samuri ยังได กลาวเสริมวา “การเพิ่มความสำคัญดานความปลอดภัยของอาหารไดกลายเปน ขอตระหนักหลักของรัฐบาลในเกือบทุกประเทศทั่วโลก ไมวาจะเปนอาหารที่ผลิต ภายในประเทศหรื อ นำเข า ก็ ต าม สำหรั บ ประเทศมาเลเซี ย เองก็ ไ ม ไ ด รั บ การยกเวน ดังนั้นจึงกลาวไดวา การดำเนินงานอุตสาหกรรมการผลิตของ Palsgaard เปนไปอยางสอดคลองกับที่ไดรับปากไวภายใตหลักการ Hazard Analysis and Critical Control Points (HACCP) และในขณะเดียวกันก็ไดมาตรฐานตาม ขอกำหนดดานความปลอดภัยของอาหารที่เขมงวดที่สุดเพื่อที่จะคงไวซึ่งชื่อเสียง ของบริษัทที่ไดชื่อวามีความสะอาดและปลอดภัย” โรงงานแหงใหมนี้ตั้งอยูในเมือง Nusajaya รัฐ Johor ทางใตของมาเลเซีย ใช งบประมาณในการกอสรางประมาณ 36 ลานเหรียญสหรัฐ สถานที่ตั้งของโรงงาน ถู ก เลื อ กให อ ยู ใ กล แ หล ง วั ต ถุ ดิ บ เช น ปาล ม น้ ำ มั น และพื ช ทดแทนอื่ น ๆ นอกจากนั้นลักษณะโครงสรางของโรงงานยังพัฒนาใหงายตอการเชื่อมตอกับ ทาเรือและ Palsgaard Singapore’s Innovation Centre ศูนยคิดคนและพัฒนา ผลิ ต ภั ณ ฑ ส ำหรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ น ม ไอศกรี ม ถั่ ว เหลื อ ง ขนมป ง ขนมเค ก และ ขนมขบเคี้ยวอื่นๆ ทั้งนี้ โรงงานใหมมีพื้นที่ใชสอยประมาณ 7,300 ตารางเมตร ประกอบไปดวย สวนของโรงงานที่ประยุกตใชเทคโนโลยีขั้นสูง สวนของหนวยวิจัยและพัฒนา หองปฏิบัติการ คลังสินคา และสำนักงาน ซึ่งนับเปนโรงงานที่มีระบบบูรณาการ เปนระบบอัตโนมัติ เพื่อการประหยัดพลังงาน เปนไปตามการอุทิศตนตอสังคม อยางตอเนื่องของ Palsgaard www.palsgaard.com
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p73-80_Pro3.indd 77
77
9/25/13 10:21:53 AM
§√—Èß·√°„π‡¡◊Õ߉∑¬ “CHEMSPEC ASIA 2013” กรุงเทพฯ, 19-21 กันยายน 2556 - บริษัท ควอทซ บิสสิเนส มีเดีย จำกัด ผูจัดงาน CHEMSPEC ASIA 2013 ได เ ป ด ตั ว อย า งเป น ทางการขึ้ น เป น ครั้ ง แรกในภู มิ ภ าคเอเชี ย ที่ ป ระเทศไทย โดยได รั บ การสนั บ สนุ น จาก กลุมอุตสาหกรรมเคมี สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย ตอกย้ำศักยภาพของไทยในการเปนผูนำอุตสาหกรรมเคมี และการเปนศูนยกลางการจัดงานแสดงสินคาชั้นนำในอาเซียน CHEMSPEC ASIA 2013 ไดเปดตัวขึ้นโดยไดรับเกียรติจาก ทานเอคอัครราชฑูตอินเดีย ประจำประเทศไทย มร.อนิล วาธวา มาเปนประธาน พรอมดวยผูจัดงานและผูสนับสนุนงาน อาทิ นายสตีฟ ไดโพรส รองประธานบริษัท บริษัท ควอทซ บิสสิเนส มีเดีย จำกัด นายพยุงศักดิ์ ชาติสุทธิผล ประธานสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย นายอนนต สิ ริ แ สงทั ก ษิ ณ ประธานเจ า หน า ที่ บ ริ ห าร บริ ษั ท พี ที ที โกลบอล เคมิ ค อล จำกั ด (มหาขน) และ นางศุภวรรณ ตีระรัตน รองผูอำนวยการ สำนักงานสงเสริมการจัดประชุมและนิทรรศการ (องคการมหาชน) หรือ ทีเส็บ นายสตีฟ ไดโพรส รองประธานบริษัท บริษัท ควอทซ บิสสิเนส มีเดีย จำกัด กลาววา “ประเทศไทยเปนฐานการผลิตอุตสาหกรรมเคมีที่ใหญและ มีการเติบโตอยางรวดเร็ว ซึ่งมีวัฒนธรรมที่จะมุงสูการพัฒนานวัตกรรมและมีการแขงขัน ในขณะที่การผลิตและการพัฒนาทางดานเทคนิคของอุตสาหกรรมไทย มีสูงมากเมื่อเทียบกับมาตรฐานในภูมิภาค ดวยมูลคาการสงออก 1.65 แสนลานบาทและนำเขา 4.81 แสนลานบาท ทำใหไทยมีความนาสนใจที่จะ เปนศูนยกลางการจัดงานใหญในระดับภูมิภาคนี้” CHEMSPEC ASIA 2013 ถือเปนงานแสดงอุตสาหกรรมเคมีที่สำคัญ ของภูมิภาค และประเทศไทยเปนศูนยกลางการจัดงานในครั้งนี้ ผูประกอบการ อุตสาหกรรมเคมีของไทยสามารถใชโอกาสนี้ ในการสรางเครือขายทางธุรกิจ ของกลุ ม ผู ผ ลิ ต วั ต ถุ ดิ บ ผู จั ด จำหน า ย ตั ว แทนจำหน า ย และผู ใ ห บ ริ ก าร ด า นเทคโนโลยี พร อ มเป ด เวที เ จรจาการค า ทางธุ ร กิ จ เป ด โอกาสทาง ธุรกิจใหม นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหมๆ เพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ป 2558 อีกทั้งภายในงานยังไดจัดงานประชุมวิชาการ ที่เกี่ยวของกับอุตสาหกรรมเคมี โดยรวมมือกับสมาพันธเคมีแหงเอเชีย (FACS) สมาคมเคมีแหงประเทศไทย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร โดยครอบคลุมหัวขอสำคัญ ไดแก Green Chemistry, Safety and Responsible Care และ Preparing for AEC 2015 เปนตน www.chemspecevents.com/asia
IMCD ª√–°“»§«∫√«¡°‘®°“√°—∫ Capitol Ingredients ‡¥‘πÀπâ“√ÿ°μ≈“¥ “√º ¡Õ“À“√„πÕÕ ‡μ√‡≈’¬·≈–π‘«´’·≈π¥å เมืองรอตเตอรดัม, ประเทศเนเธอรแลนด, 1 สิงหาคม 2556 - IMCD Group B.V. ไดแถลงการณถึง การเขาควบรวมกิจการกับ Capitol Ingredients Australia ผูจัดจำหนายสารผสมอาหารพิเศษรายใหญ ในนครซิดนีย ที่มุงเนนตลาดผลิตภัณฑนูทราซูติคัล (Nutraceuticals) อาหาร ยา และผลิตภัณฑเพื่อการ ดูแลตนเอง (Personal care) ในประเทศออสเตรเลียและนิวซีแลนดเปนหลัก ทั้งนี้ Capitol Ingredients จะ ผนึกกำลังรวมกับทีมแผนกผลิตภัณฑเพื่อการดูแลตนเองของ IMCD และปฏิบัติงานแยกสวนจาก IMCD ANZ ทั้งนี้ Capitol Ingredients และ IMCD มีความมั่นใจวาการควบรวมกิจการกันครั้งนี้จะเอื้อประโยชน ตอลูกคาและซัพพลายเออรของทั้งสองบริษัทอยางมีนัยสำคัญ โดยจะสามารถนำเสนอผลิตภัณฑไดอยาง หลากหลายมากขึ้น ครอบคลุมตลาดในทองถิ่นมากขึ้น และยังสามารถสนับสนุนลูกคาในดานเทคนิคไดเปนอยางดี Mr. Fred Johnson ผูกอตั้ง Capitol Ingredients กลาววา “เรารูสึกยินดีมากที่ไดมีโอกาสเขารวมงานกับทีมงานที่มีชื่อเสียงในระดับนานาชาติอยาง IMCD ซึ่งจะชวยเสริมความแข็งแกรงใหกับเราไดเปนอยางดี” Mr. Rene den Hertog กรรมการผูจัดการ IMCD Australia New Zealand ใหความเห็นเพิ่มเติมวา “การผนึกกำลังความรวมมือในครั้งนี้เปนยางกาว ที่สำคัญของ IMCD เนื่องจากเปนการขยายคูคาหลักใหมๆ นอกจากนี้ยังเปนการสงเสริมดานการขายที่ชวยใหเราสามารถสนับสนุนกลุมลูกคาไดอยาง มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น” www.imcdgroup.com
78
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p73-80_Pro3.indd 78
9/26/13 1:07:59 AM
“ นาโนเทค” ©≈Õß 10 ªï ‡ªî¥μ—« 10 ß“π«‘®—¬ ¡ÿà߇ªÑ“·°âªí≠À“¿“§‡°…μ√ ÿ¢¿“æ Õÿμ “À°√√¡ æ≈—ßß“π ·≈– ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ ปทุมธานี, 13 สิงหาคม 2556 - นายนิรุตติ คุณวัฒน ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี ไดใหเกียรติเปนประธานเปดงานครบรอบการกอตั้ง 10 ป ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ (นาโนเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) ณ อาคารกลุมนวัตกรรม 2 อุทยานวิทยาศาสตรประเทศไทย โดยมี ศ. นพ. สิริฤกษ ทรงศิวิไล ผูอำนวยการศูนยนาโนเทค ผูบริหารศูนยฯ นักวิจัยและพนักงาน ใหการตอนรับ ในโอกาสครบรอบ 10 ป ของศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ นายนิรุตติไดแสดงความยินดีและชื่นชมที่ไดเห็น ความกาวหนาของนาโนเทคโนโลยีในประเทศไทย ทั้งนี้ ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติมีความตั้งใจที่จะวิจัยและพัฒนางานวิจัยมุงเปา (Flagship program) ซึ่ ง เป น งานวิ จั ย ที่ มุ ง เน น เรื่ อ งสำคั ญ และเป น ประโยชน กั บ ประเทศ และรั ฐ บาลอยากจะเห็ น ว า Flagship เป น งานวิ จั ย ที่ ช ว ยแก ป ญ หาสำคั ญ และ สามารถพัฒนาประเทศไทยไดจริง ซึ่งตนมีความเชื่อมั่นวาศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติเปนกำลังสำคัญที่จะทำเรื่องสำคัญยิ่งของประเทศ โดยมีโครงการ วิจัยมุงเปาเปนจุดมุงมั่น และชวยกันใชนาโนเทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศ โดยกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีจะใหการสนับสนุนการดำเนินการ เปนอยางดีตอไป ดาน ศ. นพ. สิริฤกษ กลาววา ศูนยนาโนเทคโนโลยีแหงชาติ มีความตั้งใจที่พัฒนางานวิจัย โดยเฉพาะ งานวิจัยมุงเปา เนื่องจากประเทศไทยมีโจทยในการแกไขปญหาใหญๆ หลายดาน ซึ่งศูนยนาโนเทค พยายามที่จะพัฒนางานวิจัยใหสามารถตอบโจทยความตองการหลักของประชาชนในประเทศ จึงเริ่ม 10 โครงการวิจัยมุงเปา แบงเปนงานวิจัยที่แกปญหาดานตางๆ ไดแก (1) ดานการเกษตร อาทิ โครงการ พัฒนาปุยนาโนควบคุมการปลดปลอยและวัสดุปรุงแตงดินจากการแปรรูปผักตบชวา หรือ Smart Soil and Fertilizer และโครงการใชนาโนเทคโนโลยีเพื่อสงเสริมการผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และเพียงพอ หรือ Q Delicious (2) ดานสุขภาพของประชาชน อาทิ โครงการวินิจฉัยและรักษาโรคมะเร็งปากมดลูก ซึ่งเปนมะเร็งลำดับตนของผูหญิงไทย หรือ Smart HEALTH โครงการใชนาโนเทคโนโลยีในการกรองน้ำ หรือ Clean Water และโครงการควบคุมปองกัน และกำจัดยุง หรือ Mosquito Control ที่จะชวยลดอัตราการเจ็บปวยจากโรคไขเลือดออกและมาลาเรีย (3) ดานพลังงานและสิ่งแวดลอม อาทิ โครงการ ผลิตพลังงานทางเลือกโดยใชนาโนเทคโนโลยี หรือ Green Energy และเรื่องการทำใหอากาศบริสุทธิ์ หรือ Clean Air และ (4) ดานการแขงขันดาน อุตสาหกรรมของประเทศและแนวโนมโลก อาทิ โครงการมาตรฐานและความปลอดภัยดานนาโนเทคโนโลยี หรือ Nano-mark โครงการนวัตกรรมการใช เครื่องสำอางและอาหารจากรังไหม หรือ Miracle of Thai silk และโครงการเพิ่มมูลคาสิ่งทอดวยนาโนเทคโนโลยี หรือ Nano Textile ซึ่งจะทำใหสินคา นาโนของประเทศไทยมีมาตรฐานและปลอดภัย และสามารถพัฒนาผลิตภัณฑใหมที่มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐานในระดับสากล เปนการนำนวัตกรรม ดานนาโนเทคโนโลยีตอยอดและปรับใชกับงานวิจัยดานตางๆ เพื่อใหเกิดนวัตกรรมที่จะชวยยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทยใหดีขึ้น โดยเฉพาะการรองรับ สังคมผูสูงอายุในประเทศไทยที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้นในอนาคตอันใกล ทั้งนี้ งานวิจัยมุงเปาทั้ง 10 ดาน มีการรวมนักวิจัยสาขาตางๆ ทั้งในศูนยนาโนเทค และมหาวิทยาลัยตางๆ กวา 20 คน ตอ 1งานวิจัย โดยมีระยะเวลา ในการดำเนินการ 3 ป ในระยะสั้นแตละงานวิจัยจะตองทำใหเห็นผลภายใน 1 ป ซึ่งในตนปหนาที่จะเห็นเปนรูปธรรม คือ งานวิจัยดานการเกษตร ไดแก โครงการพัฒนาปุยนาโนควบคุมการปลดปลอยและวัสดุปรุงแตงดินจากการแปรรูปผักตบชวา ซึ่งจะมีโรงงานเคลื่อนที่ในการผลิตวัสดุปรุงแตงดิน จากการแปรรูปผักตบชวากำลังการผลิตสามารถผลิตได 8 ตันตอวัน ชวยใหกำจัดผักตบชวาที่ขวางทางน้ำไดจำนวนมาก ขณะเดียวกัน ยังไดประโยชน ในการนำสารปรับปรุงดินจากผักตบชวาที่มีคุณสมบัติอุมน้ำไดดี กักเก็บธาตุอาหารไดดี น้ำหนักเบา ทำใหรากของตนกลาพืชกระจายตัวไดดีและ เจริญเติบโตไดงายขึ้น www.nanotech.or.th
Episode 4 :
Lean Thinking November 8, 2013
@ Jupiter Room 4-5, Challenger Hall, IMPACT Organized by:
Co-organized by:
For more infomation, please contact
T. 0 2192 1250-2 F. 0 2192 1315
Official Publication:
คุseminar@foodfocusthailand.com ณชาลินี ตอ 104 Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p73-80_Pro3.indd 79
79
9/25/13 10:21:54 AM
PHTIC ®—¥ß“π —¡¡π“‡∑§‚π‚≈¬’À≈—ß°“√‡°Á∫‡°’ˬ« เพชรบุรี, 22-23 สิงหาคม 2556 - ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว หน ว ยงานร ว มมหาวิ ท ยาลั ย เกษตรศาสตร (PHTIC) ได จั ด การประชุ ม วิ ช าการ วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแหงชาติ ครั้งที่ 11 (The 11th National Postharvest Technology Conference 2013) ณ โรงแรมโนโวเทล หั ว หิ น ชะอำบี ช รี ส อร ท แอนด ส ปา โดยมี ก ารบรรยายเชิ ง วิ ช าการโดยวิ ท ยากรผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ การจั ด แสดง เทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข อ ง พร อ มด ว ยการนำเสนอผลงานทางวิ ช าการจำนวน 176 เรื่ อ ง ซึ่งไดรับความสนใจจากผูเขารวมงานประชุมครั้งนี้เปนอยางมาก
2013
www.phtnet.org
October 25, 2013 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT
Secure
your
Seat Get Sp ecial O ffer Display:
Main Sponsor:
Official Publications:
Organized by:
Edition
√“¬≈–‡Õ’¬¥‡æ‘Ë¡‡μ‘¡·≈– ”√Õß∑’Ëπ—Ëß :
คุณชาลินี ตอ 104
SUPPLEMENT
T. 0 2192 1250-2, 08 6368 0506 seminar@foodfocusthailand.com
ประกาศรายชื่อผูโชคดีประจำฉบับเดือนสิงหาคม 2556 The Winners of U. Share V. Care – August 2013 ผูโชคดี 7 ทาน ที่รวมเสนอความคิดเห็นในคอลัมน U Share. V Care. และไดรับของรางวัลแทนคำขอบคุณ มีรายชื่อดังนี้ Winners of “Set Smart…Power of Light” 1. Patchareeya Kerdphol DCQ Supervisor C.M.Y.K. Ltd. Samut Sakhon
2. Vitita Aowcharoen Supervisor QC Department Songkla Canning Public Company Limited Songkhla
3. Worapoj Payap Preventive Maintenance Okeanos Food Co., Ltd. Samut Prakan “Set Smart…Power of Light” ht” By: Kimberly-Clark Professional
Winners of “Money Back…White Bag” 1. Audjima Jaingim 2. Naiyana Chittan R&D Supervisor QA Section Manager Panus Poultry Co., Ltd. CPF (Thailand) Chon Buri Public Company Limited Bangkok
3. Ranuka Junhom Admin Officer Tuna Paradise Co., Ltd. Phangnga
4. Dr. Vichien Leelawatcharamas Associate Professor Biotechnology, Kasetsart University Bangkok “Money Back…White White Bag”
By: Asia Modified Starch Co., Ltd.
ของรางวัลจะจัดสงใหทานทางไปรษณีย ขอขอบคุณ Kimberly-Clark Professional และ Asia Modified Starch Co., Ltd. สำหรับการเอื้อเฟอของรางวัล 80
Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
R1_FF#91_p80_Pro3.indd 80
9/26/13 1:13:14 AM
G-Series i-Tech Thermal Ink Jet Printer ad_Thai China_Pro3.indd 66
1/22/13 10:47:24 PM
The modular solution for difficult substrates
à¤Ã×Êͧ¾ÔÁ¾q G-Series i-Tech Thermal Ink Jet Printers (TIJ Printers) • • • •
ÊÒÁÒö¾ÔÁ¾q ÑÇàÅ¢ ÑÇÍÑ¡Éà ÀÒÉÒ ‹Ò§æ Çѹ·ÕÊ àÇÅÒ àÅ¢Ãѹ¹Ôʧ ÀÒ¾¡ÃÒ¿c¡ áÅÐ 2D Code ¡ÒþÔÁ¾qãËŒ¤ÇÒÁÅÐàÍÕ´ 60-600 dpi ¾ÔÁ¾qä´ŒàÃÉÇ 30-300 àÁ Ã/¹Ò·Õ ¤Ø³ÀÒ¾ ÑǾÔÁ¾qÊǧÒÁ ¤ÁªÑ´ ¿Í¹·qÁÒ Ã°Ò¹ Arial áÅÐÃͧÃѺ¿Í¹·q ÒÁ¤ÇÒÁ ŒÍ§¡Òà Ãкº Smart Cartridge ·ÕÊ»ÃѺÁÒ Ã°Ò¹¡ÒþÔÁ¾qãËŒÅËÓ˹ŒÒä»ÍÕ¡¢Ñ˹ÁÕ·Ñ˧»ÃÐàÀ· Water Base áÅÐ Alcohol Base ¼‹Ò¹¡Ò÷´Êͺ·Ø¡¾×˹¼ÔÇ »ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾¡ÒÃÂÖ´à¡ÒÐÊÙ§áÅТ¹Ò´Ë´ËÁÖ¡ ÊÁÊÓàÊÁÍ
ºÃÔÉÑ· ¤ÔÇ ·Ù àÍÊ ¨Ó¡Ñ´ ¼ÙŒàªÕÊÂǪÒÞà¤Ã×Êͧ¾ÔÁ¾qÇѹ à´×͹ »‚¼ÅÔ /ËÁ´ÍÒÂØ ÅÉÍ ¹ÑÁàºÍÃq ŧº¹ÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃèØÀѳ±q ãËŒºÃÔ¡Ò÷‹Ò¹ä´Œ´Õ¡Ç‹Ò ¾ÃŒÍÁ¡Ç‹Ò´ŒÇ»ÃÐʺ¡ÒóqÁÒ¡¡Ç‹Ò 10 »‚ áÅÐÃкº§Ò¹ÁÒ Ã°Ò¹ ISO 9001: 2008
Tel. 0 2203 0357
Fax. 0 2203 0245
E-Mail: marketing@qiis.co.th
ª‹Ç»ÃÐËÂÑ´àÇÅÒ áÅФ‹Ò㪌¨‹Ò www.qiis.co.th co.th Food Focus Thailand
OCTOBER 2013
FF#91_p81_Pro3.indd 81
81
9/25/13 3:55:23 PM
October 2013
We would like to know what you would like to read
We are Better Because of U.... Please Fill in the Form in English / ¡ÃسÒṺ¹ÒÁºÑμà ËÃ×Í¡ÃÍ¡¢ŒÍ¤ÇÒÁμÑǺÃè§à»š¹¿“…“Õ—ß°ƒ… ª×èÍ-¹ÒÁÊ¡ØÅ/Name-Surname μÓá˹‹§/Position
Please attach your name card
ºÃÔÉÑ·/Company ·ÕèÍÂÙ‹ºÃÔÉÑ·/Company address â·ÃÈѾ· /Phone
â·ÃÊÒÃ/Fax
ÍÕàÁÅ /E-mail
àÇçºä«μ /Website
A
ttractive Food Focus ¤ÇÒÁ¾Ö§¾Íã¨μ‹Í¹ÔμÂÊÒà Very Impressive ¾Íã¨ÁÒ¡·ÕèÊØ´ Great ¾Íã¨ÁÒ¡ Cool ¾Í㨻ҹ¡ÅÒ§ Dislike äÁ‹¾Íã¨
A A
rticles at the First Sight º·¤ÇÒÁ·Õèª×蹪ͺÁÒ¡·ÕèÊØ´
rticles Suit Your Job Function º·¤ÇÒÁ·Õè໚¹»ÃÐ⪹ 㹡ÒùÓä» ãªŒ§Ò¹ÁÒ¡·ÕèÊØ´
S
ay Hi to Food Focus Thailand Team ¾Ù´¤Ø á¹Ð¹Ó μÔªÁ áÅÐÊͺ¶ÒÁ·ÕÁ§Ò¹¹ÔμÂÊÒÃÏ
P
Other Í×è¹æ
ick Your Interest ÍÐä÷Õè¤Ø³Ê¹ã¨ãËŒÁÕã¹¹ÔμÂÊÒà Ingredient/Raw material Packaging/Technology Trend/Marketing Production/Machine Logistics/Warehouse etc.,
Service info Code Please enter service info code of interesting articles, products and advertisements
That’s very kind of you... Share your comments and win a gift
2
“Rainy Party”
Sponsored By: Kewpie (Thailand) Co., Ltd.
8
“Free Style with Stylus Pen”
Sponsored By: Polytype Asia Pacific Co., Ltd.
Please feedback to: E-mail: editor@foodfocusthailand.com, contact@foodfocusthailand.com
Website: www.foodfocusthailand.com
Fax: 0 2192 1315
Air mail: Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 3/211 Moo-Ban Setthasiri-Prachachuen, Prachachuen Road, Ta Sai, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 Thailand
FF#91_p82_Pro3.indd 82
9/25/13 1:12:59 PM
Subscription Form Please fill in the subscription form in
ENGLISH
and/or attach your business card.
ชื่อ / Name
นามสกุล / Surname
ตำแหนง / Position เลขที่ / Address ซอย / Soi เขต / District โทรศัพท / Phone อีเมล / E-mail
ชื่อบริษัท / Company Name ชั้น / Floor ถนน / Road จังหวัด / Province โทรสาร / Fax เว็บไซต / Website
1
year
หมู / Moo
1,140 THB
2
years
Payment Pay in “Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd.”, Saving
วันเกิด / Birthday (D/M/Y) อาคาร / Tower แขวง / Sub-district รหัสไปรษณีย / Postal Code
2,280 THB √—∫ø√’! 2 ©∫—∫
get 2 issues for free of charge starting from
No. of Issue
Account No: 737-2-26700-8, KASIKORN BANK, Prachanivet Branch
T: 0 2192 1250-2 F: 0 2192 1315 Core Business (¡ÅØ‹Á¸ØáԨ) 101 Food and Beverage Manufacturer (¼ÙŒ¼ÅÔμÍÒËÒÃáÅÐà¤Ã×èͧ´×èÁ) 102 Food and Beverage Supplier (¼ÙŒ¼ÅÔμ / ¨Ñ´¨Ó˹‹Ò ÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡ÒÃμ‹Ò§æ ãˌᡋâç§Ò¹¼ÅÔμÍÒËÒÃáÅÐà¤Ã×èͧ´×èÁ) 103 Food and Beverage Importer & Exporter (¼ÙŒ¹Óà¢ŒÒ / Ê‹§ÍÍ¡ ¼ÅÔμÀѳ± ÍÒËÒÃáÅÐà¤Ã×èͧ´×èÁ)
Job Function (º·ºÒ·Ë¹ŒÒ·Õè) 201 202 203 204 205 206
Corporate Management (਌Ңͧ¡Ô¨¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒÃÃдѺÊÙ§) General Management (½†ÒºÃÔËÒèѴ¡Ò÷ÑèÇä») Production (½†Ò¼ÅÔμ) Quality Control & Quality Assurance (½†Ò¤Ǻ¤ØÁáÅлÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾) Research & Development (½†ÒÂÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Ò¼ÅÔμÀѳ± ) Engineering, Technician & Maintenance (½†ÒÂÇÔÈÇ¡ÃÃÁ à·¤¹Ô¤ áÅЫ‹ÍÁºÓÃا)
Core Business “101 and/or 103”, please specify industry sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 101 áÅÐ/ËÃ×Í 103 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ) 301 302 303 304 305 306 307 308 309 310 311 312 313 314 399
Fishery & Seafood (¼ÅÔμÀѳ± »ÃÐÁ§ ÊÑμÇ ¹éÓ áÅÐÍÒËÒ÷ÐàÅ) Meat & Poultry (à¹×éÍÊÑμÇ áÅÐÊÑμÇ »‚¡) Fruit & Vegetable (¼Ñ¡áÅмÅäÁŒ) Dairy & Dairy Products (¹ÁáÅмÅÔμÀѳ± ¨Ò¡¹Á) Non-alcoholic Beverage (à¤Ã×èͧ´×èÁäÁ‹¼ÊÁáÍÅ¡ÍÎÍÅ ) Alcoholic Beverage (à¤Ã×èͧ´×èÁ¼ÊÁáÍÅ¡ÍÎÍÅ ) Bakery, Confectionery & Snack (àºà¡ÍÃÕè ¢¹ÁËÇÒ¹ áÅТ¹Á¢ºà¤ÕéÂÇ) Fat & Oil (¹éÓÁѹáÅÐä¢Áѹ) Spice & Herb / Sauce, Seasoning & Condiment (à¤Ã×èͧà·ÈáÅÐÊÁعä¾Ã / à¤Ã×èͧ»ÃاÃÊ) Starch & Flour (ÊμÒà ªáÅÐệ§) Cereal & Grain / Legume & Nut (¸Ñ޾תáÅиÑÞªÒμÔ / ¶ÑèÇμ‹Ò§æ) Ready-to-Eat Products (ÍÒËÒþÌÍÁÃѺ»Ãзҹ) Health Food & Dietary Supplement (ÍÒËÒÃà¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾áÅмÅÔμÀѳ± àÊÃÔÁÍÒËÒÃ) Catering & Food Service (¨Ñ´àμÃÕÂÁáÅÐãËŒºÃÔ¡ÒÃÍÒËÒÃ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)
Core Business “104”, please specify your sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 104 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·Ë¹‹Ç§ҹ) 501 502 503 599
Association (ÊÁÒ¤Á) Chamber of Commerce (ËÍ¡ÒäŒÒ) Embassy (ʶҹ·Ùμ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)
R1_FF#82_Leaflet_p1-2_Pro3.indd 1
104 Association, Chamber of Commerce, Embassy and Other Organization (ÊÁÒ¤Á ËÍ¡ÒäŒÒ ʶҹ·Ùμ áÅÐͧ¤ ¡Ãμ‹Ò§æ) 105 University, Institute and Library (ʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒáÅÐˌͧÊÁØ´) 199 Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)
207 208 209 210 299
Environmental Management (½†Ò¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ) Procurement & Purchasing (½†Ò¨Ѵ«×éÍ ¨Ñ´¨ŒÒ§) Sales & Marketing (½†Ò¢ÒÂáÅСÒÃμÅÒ´) Consultant (·Õè»ÃÖ¡ÉÒ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)
Core Business “102”, please specify industry sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 102 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ) 401 402 403 404 405 406 407 408 409 410 411 499
Raw Material (ÇÑμ¶Ø´Ôºã¹¡ÒüÅÔμ) Processing Machinery (à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã㹡Ãкǹ¡ÒüÅÔμáÅÐá»ÃÃÙ») Packaging Machinery (à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã㹡Ãкǹ¡ÒúÃèØ) Laboratory Measurement and Device (à¤Ã×èͧμÃǨÊͺÇÔà¤ÃÒÐË ã¹ËŒÍ§»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃ) Monitoring & Inspection Measurement and Device (à¤Ã×èͧμÃǨÊͺμÔ´μÒÁ¤Ø³ÀÒ¾ã¹ÊÒ¡ÒüÅÔμ) Sanitation Device and Service (ÊÔ¹¤ŒÒáÅÐÍØ»¡Ã³ ´ŒÒ¹Êآ͹ÒÁÑÂ) Certified Body & Standard Regulatory (˹‹ÇÂμÃǨÊͺÃѺÃͧÃкº¤Ø³ÀÒ¾ÁÒμðҹ) Software & Information Technology («Í¿μ áÇà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È) Automation System (ÃкºÍÍâμŒàÁªÑ¹) Logistics & Supply Chain Service (ÃкººÃÔËÒèѴ¡ÒëѾ¾ÅÒÂહ) Traceability Technology and Service (ÍØ»¡Ã³ áÅкÃÔ¡ÒÃÊÓËÃѺÃкº¡ÒÃμÃǨÊͺŒ͹¡ÅѺ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)
Core Business “105”, please specify your sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 105 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·Ë¹‹Ç§ҹ) 601 University and Institute (ʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ) 602 Library (ˌͧÊÁØ´) 699 Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)
12/20/12 4:56:52 PM
ใบอนุญาตเลขที่ ปน.(น)/3471 ถาฝากสงในประเทศไมตองผนึกตราไปรษณียากร
บริการธุรกิจตอบรับ
ฝายสมาชิกนิตยสาร บริษัท บี มีเดีย โฟกัส (ประเทศไทย) จำกัด 3/211 หมูบานเศรษฐสิริ-ประชาชื่น ถนนประชาชื่น ตำบลทาทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000
We are you media partner and serve you no matter what your marketing will be:
FF#82_Leaflet_p1-2_Pro3.indd 2
12/19/12 10:49:39 AM
FF#91_ad_Oishi Japan_Pro3.ai
1
9/6/13
2:14 PM
Fully Automatic Turnkey Packing Machine Auto Weigher System
By KOREA
Full automatic packing system »ÃСͺ´ŒÇÂ
• Feeder • Platform
• Conveyor • Vertical packing machine
By KOREA
Model: AWP-1040a08
Compact Packing Machine
By KOREA By KOREA Model: AR-60P-2-LQ
Rotary Type Autopacking Machine Model: ARS-350P
1 Line Rotary Hi - Speed Packing Model: FL-5545TBB ‚ª√‚¡™—Ëπ √“§“摇»… ‘π§â“√—∫ª√–°—π §ÿ≥¿“æ∑ÿ°¡â«π
Automatic L-Bar L Bar Sealing Machine Mac à¤Ã×ÊͧˋÍÊÔ¹¤ŒÒÍÑ â¹ÁÑ Ô ãªŒ¿cÅqÁ POF Ë‹ÍÊÔ¹¤ŒÒ à¾ÔÊÁ¤ÇÒÁàÃÉÇ ¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔ ‹ÍÇѹ䴌ÁÒ¡¢Ö˹ SHRINK FILM & OTHER SPARE PART
INK ROLL & RIBBON
¿ÌÅÐÁË´ ¾ÃŒÍÁÍÐäËÅ‹à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã
ÅÙ¡ËÁÖ¡áÅÐà·»¾ÔÁ¾ÐÇѹ·Õè
FOR PRINTER
"ÁÒ Ã°Ò¹¡ÒüÅÔ ¨Ò¡»ÃÐà·Èà¡ÒËÅÕ Made in Korea" S.K.P. INTERPACK CO., LTD. 44/14 ËÁÙ‹ 9 Ӻźҧ¾Ù´ ÍÓàÀͻҡà¡Ãç´ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¹·ºØÃÕ 11120 44/14 Moo 9 Bangpood, Pakkred, Nonthaburi 11120 Thailand â·Ã/Tel. 0 2584 7085-7 á¿¡«Ð/Fax. 0 2584 7099 FF#89_p11_Pro3.indd 1 FF#91_Cover_In_Pro3.indd 1
E-mail: contact@skpinterpack.com
www.SKPINTERPACK.com
7/17/13 9:04:15 PM
9/24/13 4:11:58 PM
FF#91_ad_DPO_Pro1.ai
1
9/17/13
4:11 PM
October 2013
Vegan New wave of health & well-being trends
Thailand
Starch & Flour
Care Concept
»Ÿπ¬å°≈“ß·ÀàßÕ“‡´’¬π
®“°¿“§‡°…μ√ ŸàÕÿμ “À°√√¡
ÿ¢¿“楒...μâÕߥŸ·≈
Welcome to
FF#91_Cover_Out_Pro3.indd 1
Health
9/24/13 4:13:38 PM