Foodfocusthailand no 93 December 13

Page 1

FF#93_ad_Betagro_Pro3.ai

1

11/19/13

11:39 AM

December 2013

Sports

Nutrition

How to enhance hance athletic perform performance mance

The Rising

Asia

โอกาสของไทยสูการเปนครัวโลก

FF#93_Cover_Out_Pro3.indd 1

Toxic

Substance

ความเปนพิษของสารพิษ

Juice

Processing

คั้นคุณภาพความสด

11/21/13 3:39:48 PM


Ħ íĆîüćöĀćøćß ìĊÛć÷čēÖ ēĀêč öĀćøćßć

éšü÷đÖúšćéšü÷ÖøąĀöŠĂö ×Ăđéßą ךćóøąóčìíđÝšć ìĊöÜćîîĉê÷ÿćø ôĎŜé ēôÖĆÿ ĕì÷ĒúîéŤ FF#93_p2_Pro3.indd 2 R1_FF#93_Cover_In_Pro3.indd 1

11/23/13 10:59:56 PM

FF#93_ad FHA_Pro3.indd 5

11/13/13 11:28:10 5:14:26 PM 11/23/13


Machinery and Solutions for Primary and Further Food Processing • เครื่องลอกหนังไก • เครื่องแบงชิ้นสวนปก • เครื่องแบงครึ่งปกกลาง

• เครื่องฉีดน้ำเกลือ • เครื่องนวดสูญญากาศ

• เครื่องลางตะกรา • เครื่องลางถัง • เครื่องลาง pallet

ºÃÔÉÑ· ¿Íà ¿ÃŒÍ¹· ¿Ù‡´à·¤ ¨Ó¡Ñ´

4/46 ËÁÙ‹ 10 á¢Ç§ºÒ§¹Ò à¢μºÒ§¹Ò ¡ÃØ§à·¾Ï 10260

E-mail: somsuda@forefrontfoodtech.com

R1_FF#93_p3_Pro3.indd 3

â·ÃÈѾ· 0 2758 8445-6

â·ÃÊÒÃ 0 2758 8447

www.forefrontfoodtech.com

11/23/13 10:56:41 PM


Golden Jubilee Celebration:

Welcome to the World of

„πªï 2506 Dr.-Ing. Karl Busch ·≈– Ayhan Busch ¿√√¬“§Ÿà™’«‘μ ‰¥â°àÕμ—Èß ∫√‘…—∑ Dr.-Ing. K. Busch GmbH ¢÷Èπ„π‡¡◊Õß Schopfheim ª√–‡∑»‡¬Õ√¡π’ Ç®“°®ÿ¥‡√‘Ë¡μâπ∑’Ë™—Èπ„μ⥑π¢Õß∫â“π Dr.-Ing. Karl Busch ‰¥â∑ÿࡇ∑ÕÕ°·∫∫ √ââ“ß √√§å ·≈–∑¥ Õ∫ çHuckepacké ªíö¡ ÿ≠≠“°“»·∫∫„∫æ—¥À¡ÿπ∑’ËÀ≈àÕ≈◊Ëπ¥â«¬πÈ”¡—π ®π “¡“√∂«“ß®”Àπà“¬‰¥â‡ªìπ§√— π§√—Èß·√°... Dr.-Ing. Karl Busch and his wife, Ayhan Busch, founded the Dr.-Ing. K. Busch GmbH company in Schopfheim, Germany in 1963. The history of “Busch” actually started in the basement of their house where Dr. Busch designed, built, tested and sold “Huckepack”, the company’s first oil lubricated rotary vane vacuum pump.

ตนตำรับปมสุญญากาศ Huckepack นั บ เป น การปฏิ วั ติ ว งการป ม สุ ญ ญากาศ เนื่ อ งจากมี ข นาดกะทั ด รั ด ทนทาน ตอความชื้นและอนุภาคตางๆ ที่สามารถเล็ดลอดเขาสูปมไดในระหวางกระบวนการระบายอากาศ จากการพัฒนานวัตกรรมของปม Huckepack อยางตอเนื่อง ปม “R 5” ปมสุญญากาศ แบบใบพั ด หมุ น ที่ ห ล อ ลื่ น ด ว ยน้ ำ มั น ได ถู ก นวั ต กรรมขึ้ น ด ว ยขนาดที่ ก ะทั ด รั ด ขึ้ น ผู ผ ลิ ต เครื่องจักรบรรจุภัณฑสามารถใชปม R 5 ในเครื่องบรรจุไดอยางมีประสิทธิภาพ…อาจกลาวไดวา Huckepack และ R 5 เปนผลงานชิ้นโบวแดงซึ่งเปนตนตำรับของการใชปมสุญญากาศในวงการ อุตสาหกรรมอาหารเลยทีเดียว ปม R 5 เขยาวงการดวยการใชงานมากกวา 2.5 ลานตัวทั่วโลก ขายดีที่สุดเทาที่เคยมีมา และไดกลายเปนการสรางมาตรฐานใหกับวงการปมสุญญากาศ ต อ มา Busch ได พั ฒ นา “COBRA” ป ม สุ ญ ญากาศแบบเกลี ย วหรื อ แบบสกรู ส ำหรั บ การใชงานในอุตสาหกรรมยาและเคมีที่มีความตองการเฉพาะ ตลอดจนในอุตสาหกรรมเซมิคอน หรืออุตสาหกรรมสารกึ่งตัวนำที่มีการเคลือบพื้นผิวตางๆ สามารถใชกับกาซชนิดพิเศษ และ/หรือ งานที่ตองการประสิทธิภาพสูงสุด Busch ยังไดคิดคน “Mink” ปมสุญญากาศแหงแบบหมุนดวย Claw ซึ่งใชพลังงานต่ำและไมตองบำรุงรักษามากอีกดวย

เอกลักษณแหงนวัตกรรม ดวยทีมวิศวกรดานการออกแบบผลิตภัณฑและระบบกวา 100 ชีวิต Busch พรอมรังสรรค นวัตกรรมชั้นนำอยางตอเนื่อง โดยพัฒนาปมที่สามารถใชกับลักษณะการทำงานที่เฉพาะเจาะจง มุ ง เน น ประสิ ท ธิ ภ าพในการเดิ น ป ม เพิ่ ม ความทนทาน ตลอดจนลดการใช พ ลั ง งาน และ ลดความต อ งการในการบำรุ ง รั ก ษา นอกจากนี้ ยั ง ให ค วามสำคั ญ กั บ การพั ฒ นาการบริ ก าร เพื่อตอบสนองความตองการที่แตกตางกันไปในแตละอุตสาหกรรม ไมวาจะเปนการติดตั้งใน แท น ขุ ด เจาะน้ ำ มั น ในทะเล ไปจนถึ ง การบำรุ ง รั ก ษา โดยอยู ภ ายใต เ งื่ อ นไขของสุ ข อนามั ย เปนสำคัญ

พลังของธุรกิจครอบครัว จากจุดเริ่มตนที่ Dr. Busch ไดกอตั้งบริษัทขึ้น เพื่อสรางสรรคเทคโนโลยีปมสุญญากาศเพื่อ ตอบโจทยความตองการของลูกคา โดยเนนใหมีความงายขึ้น ประสิทธิภาพดีขึ้น และเปนมิตรกับ 4

The Prime Initiator of Vacuum Pump

Huckepack was revolutionary at the time in terms of its compact design and its robustness against moisture and particles carried into the pump during evacuation process. Following in the innovative footsteps of the Huckepack, the “R 5” oil lubricated rotary vane vacuum pump is yet another revolutionary development. With the more compact R 5, the manufacturers of vacuum packaging machines could incorporate a robust and reliable vacuum pump into their machines. These masterpieces have become the prime initiator of vacuum packaging applications in food industry. With more than 2.5 million vacuum pumps in operation, the Busch R 5 has positioned itself as the best-selling vacuum pump ever and has become the standard vacuum pump within the industry. Addressing the special requirements of the chemical and pharmaceutical industries as well as those of the coating and surface treatment industry or the Semicon industry, Busch developed the “COBRA”, a dry screw vacuum pump series type suiting for processes dealing with special gases and/or demanding the highest performance levels. Another milestone in the product development was the “Mink” dry running rotary claw vacuum pump which benefits low energy consumption and minimal maintenance need.

The Unique Innovation and Beyond

With currently more than 100 engineers in the product and system design departments, Busch continuously works on innovations. Busch has focused on improving the use of specific operation principles in specifics applications to extend durability and reliability even further as well as reducing energy consumption and lowering maintenance requirements. Busch also continuously works on improving service products, tailoring these to the specific needs of each industry, from offshore installations to maintenance under special hygiene conditions.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

R1_FF#93_p4-5_Pro3.indd 4

11/25/13 11:05:35 AM


ADVERTORIAL

คุณซามี บุช (ซาย) เจาของกิจการ บุช โฮลดิ้ง

Mr. Sami Busch (Left) Owner Member of Busch Holding

คุณวรวุฒิ ศุภสัจญาณกุล (ขวา) ผูจัดการทั่วไป บริษัท บุช แวค อิวอัม (ประเทศไทย) จำกัด

Mr. Woravuth Supasatjayankul (Right) General Manager Busch Vacuum (Thailand) Co., Ltd.

ผูปฏิบัติงานมากขึ้นนั้น ทุกวันนี้ Busch ยังคงใหความสำคัญกับลูกคาเปนหลัก ผลิตภัณฑ พันธะสัญญา และหลักการของการดำเนินธุรกิจตองสรางความพึงพอใจสูงสุดใหกับลูกคา ตั้งแตการเริ่มตนติดตอลูกคา ไปจนถึงการบริการหลังการขาย Busch เชื่อมั่นวาทีมงานในแตละประเทศสามารถดูแลลูกคาในทองถิ่นนั้นๆ ไดดีกวา ดวยเหตุผลที่วามีความเขาใจในความตองการของลูกคาอยางแทจริง และสามารถรายงาน ตรงมายั ง ผู บ ริ ห ารของ Busch ที่ ส ำนั ก งานใหญ ใ นเยอรมนี ไ ด อ ย า งทั น ที และด ว ย ขอไดเปรียบของธุรกิจครอบครัวที่กระบวนการตัดสินใจและการทำงานมีความกระชับและ ยืดหยุน ทำให Busch สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็ว

การเปดตัวของ Busch ในประเทศไทย ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไทยมีการพัฒนาอยางตอเนื่องมากวา 30 ป ไทยเปนศูนยกลาง การผลิ ต ที่ ส ำคั ญ ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นและเอเชี ย แปซิ ฟ ก มี ศั ก ยภาพการเติ บ โตสู ง และ มีความตองการโซลูชันของปมสุญญากาศมากขึ้น บริษัท บุช แวค อิวอัม (ประเทศไทย) จำกัด จึงไดกอตั้งขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2549 เพื่อสนับสนุนดานการขายและใหบริการระบบ ปมสุญญากาศแกลูกคาในประเทศไทยและเวียดนาม ดวยการเปนสวนหนื่งของเครือขายการบริการทั่วโลกของ Busch บริษัท บุช แวค อิวอัม (ประเทศไทย) จำกัด พรอมนำเสนอการใหบริการระบบปมสุญญากาศที่ทันสมัย ตั้งแต การติดตั้งปม การบำรุงรักษาปม ไปจนถึงการยกเครื่องและการติดตั้งปมใหมอยางรวดเร็ว ด ว ยที ม บริ ก ารที่ ผ า นการฝ ก อบรมมาเป น อย า งดี โดยสามารถให ก ารบริ ก ารเรื่ อ งป ม ไดทุกแบรนด ทุกประเภท รวมทั้งคอมเพรสเซอรความดันต่ำ และเครื่องเปา

มุงเนนพัฒนาอยางตอเนื่อง ในการฉลองครบรอบปที่ 50 นี้ Busch มีทีมงานมากกวา 2,600 คน เดินหนาพัฒนาธุรกิจ ใน 57 บริษัท จาก 39 ประเทศ และผูแทนจำหนายอีกมากกวา 30 ประเทศทั่วโลก นอกจากนี้ ยังมีฐานการผลิตในเยอรมนี สวิตเซอรแลนด สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐเช็ก เกาหลี และสหรัฐอเมริกา Busch ยังคงมุงมั่นขยายธุรกิจไปสูภาคพื้นตางๆ ทั่วโลก โดยพรอมขยาย เครือขายการบริการและผูแทนจำหนายในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกซึ่งเปนตลาดที่มีศักยภาพสูง ตลาดหนึ่ง Busch พรอมรวมสรางความสำเร็จกับกลุมลูกคาดวยการนำเสนอโซลูชันของระบบ ปมสุญญากาศที่มีประสิทธิภาพและคุมคากับการลงทุนสูงสุด…และนี่จะเปนการสราง คำนิยามใหกับโลกของปมสุญญากาศในอนาคต!

Power of Family-owned Business

From the beginning, Dr. Busch established the company with the objective of making industrial vacuum technology easier, better and more user-friendly. Until now, a customer-oriented approach has always been central to mom-and-pop firm’s thinking. The products, commitment, and cooperative business principles provide a high degree of customer satisfaction, from the initial contact to after-sales service and support. In Busch, we believe that local employees can better respond to customers in their region. This is because the locals truly understand what customers really need and can report directly to the management team in Germany HQ, instantly. Being a family business also gives Busch the quick response to consumers as working process and decision making is very concise.

Busch in Thailand

Thailand has developed the industry sector for over 30 years and has positioned herself as a production hub among other countries in ASEAN as well as for the Asia Pacific region. On top of that, Thailand’s industry still has major growth potential and a growing demand for vacuum solutions. Thus, Busch Vacuum (Thailand) Co., Ltd. commenced its business operation in May 2006 to locally support customers in Thailand and Vietnam with sales and services for vacuum pumps and systems. As part of the global Busch service network, Busch Vacuum (Thailand) also provides state-of-the-art vacuum services, ranging from installation and maintenance to overhaul and quick replacement service. With a specially trained service team, Busch Vacuum (Thailand) services all brands and types of vacuum pumps, low pressure compressors and blowers.

The Pursuit of Continuous Improvement

As of the 50th anniversary, there are more than 2,600 employees in 57 Busch companies in 39 countries and with sales agents in over 30 countries. In addition, Busch operates production plants in Germany, Switzerland, Great Britain, Czech Republic, Korea and the USA. Busch will continue to expand globally into more regional markets. The Asia Pacific region is a key area to keep investing into its service network and local representations. Busch today has dedicated to the customers success by providing the most efficient vacuum pump application and economical solutions. And this will define the vacuum world of the future!

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p4-5_Pro3.indd 5

5

11/21/13 9:45:49 PM


DECEMBER 2013 Vol. 8 No. 93

CONTENTS 23

BONUS ATTRACTIONS SPECIAL REPORT

23

Quality Development of Milk Supply Chain

26

Eyeing the RCEP Meeting in 2013 ASEAN Summit

32

Prosperity shift to Asia, Thailand’s Opportunities to become “Kitchen of the world”

แนวทางการพัฒนาคุณภาพน้ำนมโคทั้งระบบ SURF THE AEC

ติดตามความคืบหนาของการประชุมกรรมการเจรจา RCEP By: Kasikorn Research Center SCOOP

เมื่อโอกาสมาสูเอเชีย...สินคาอาหารจากไทยพรอมรับ การเปนครัวของโลกแลวหรือยัง By: Dr. Pornsri Laurujisawat 38

การปรับปรุงแกไขประกาศกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับซัยคลาเมต หญาหวาน และสตีวิโอไซด By: Bureau of Food, Food and Drug Administration, Ministry of Public Health

38 48

SPECIAL TALK BY FDA Amendment to the Notification of the Ministry of Public Health related to Cyclamate, Stevia, and Stevioside

REGULAR ATTRACTIONS 20 STAR ITEMS

ผลิตภัณฑดาวเดนประจำฉบับ

41 48

50

50

53

41 56

58

FF#93_p6,8_Pro3.indd 6

SPECIAL FOCUS Get Ready to Win

การเตรียมตัวทางดานโภชนาการ กอนการแขงขัน By: Dr.Orawan Puchaiwatananon

Branched Chain Amino Acid (BCAA), Nutrients for People who Exercise and Athletes

นวัตกรรมการผลิต BCAA สำหรับกลุมคนออกกำลังกายหรือนักกีฬา By: Tarin Naksriarporn Whey Protein and Sports Nutrition

โปรตีนเวยและโภชนาการสำหรับการกีฬา By: Kamonrat Apimahamontri STRONG QC & QA

Toxicants or Toxic Substances

เลือกใชสารพิษใหเกิดประโยชนหลีกเลี่ยงการเจ็บปวย By: Dr. Vinai Pitiyon SMART PRODUCTION Quality Approval in Juice Processing

การควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลิตน้ำผลไมแปรรูป ดวยเครื่องมือที่ไววางใจได By: Mettler-Toledo (Thailand) Limited Fruit Juice from the Desert

ปฏิวัติวงการเครื่องดื่มของอียิปตดวยการผลิตเครื่องดื่ม น้ำผลไมบรรจุแบบรอนในขวด PET By: Krones (Thailand) Co., Ltd.

11/23/13 10:49:23 PM


Fully Automatic Turnkey Packing Machine Auto Weigher System

By KOREA

Full automatic packing system »ÃСͺ´ŒÇÂ

• Feeder • Platform

• Conveyor • Vertical packing machine

By KOREA

Model: AWP-1040a08

Compact Packing Machine

By KOREA By KOREA Model: AR-60P-2-LQ

Rotary Type Autopacking Machine Model: ARS-350P

1 Line Rotary Hi - Speed Packing Model: FL-5545TBB ‚ª√‚¡™—Ëπ √“§“摇»… ‘π§â“√—∫ª√–°—π §ÿ≥¿“æ∑ÿ°¡â«π

Automatic L-Bar L Bar Sealing Machine Mac à¤Ã×่ͧˋÍÊÔ¹¤ŒÒÍÑμâ¹ÁÑμÔ ãªŒ¿ Å Á POF Ë‹ÍÊÔ¹¤ŒÒ à¾Ô่Á¤ÇÒÁàÃ็Ç ¡ÓÅѧ¡ÒüÅÔμμ‹ÍÇѹ䴌ÁÒ¡¢Ö้¹ SHRINK FILM & OTHER SPARE PART

INK ROLL & RIBBON

¿ Å ÁË´ ¾ÃŒÍÁÍÐäËÅ‹à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã

ÅÙ¡ËÁÖ¡áÅÐà·»¾ÔÁ¾ Çѹ·Õè

FOR PRINTER

"ÁÒμðҹ¡ÒüÅÔμ¨Ò¡»ÃÐà·Èà¡ÒËÅÕ Made in Korea" S.K.P. INTERPACK CO., LTD. 44/14 ËÁÙ‹ 9 μӺźҧ¾Ù´ ÍÓàÀͻҡà¡Ãç´ ¨Ñ§ËÇÑ´¹¹·ºØÃÕ 11120 44/14 Moo 9 Bangpood, Pakkred, Nonthaburi 11120 Thailand â·Ã/Tel. 0 2584 7085-7 á¿¡« /Fax. 0 2584 7099 R1_FF#93_p7_Pro3.indd 7

E-mail: contact@skpinterpack.com

www.SKPINTERPACK.com 11/23/13 10:44:16 PM


DECEMBER 2013 Vol. 8 No. 93

STRATEGIC R & D

CONTENTS 32

64

Natural Preservative from Citrus aurantium subsp. amara

สารสกัดจากแกนสม วัตถุกันเสียออรแกนิกไมเปนพิษตอผูบริโภค และสิ่งแวดลอม By: Bronson and Jacobs International Co., Ltd. 66

Lactic Acid Bacteria

สารกันเสียชีวภาพชวยเพิ่มอายุการเก็บรักษาของอาหาร By: Research and Development Institute of the Government Pharmaceutical Organization OCCASIONAL ATTRACTIONS SOMETHING ABOUT FOOD

61

61

Di-Peptide in Collagen

ไดเปปไทดในคอลลาเจนเปปไทดเปนสวนสำคัญที่สุดในการเสริมสราง สุขภาพของรางกายมนุษย By: Piraporn Thong-on SMOOTH DISTRIBUTION

68

Warehouse Operations

15 วิธีในการลดตนทุนดานสินคาคงคลัง By: Asst. Prof. Dr. Sataporn Amornsawadwatana EXHIBITION ATTRACTIONS SHOW TIMES

70

สุดยอดงานแสดงสินคาอาหารและเครื่องดื่มสไตลญี่ปุน ที่ยิ่งใหญที่สุดในอาเซียน

64 Our Activities

OCTOBER 2013

72

76

Post Show – Oishii Japan 2013

Post Show – Bangkok RHVAC 2013 & Bangkok E&E 2013

ผูประกอบการอิเล็กทรอนิกสไทย เตรียมพรอมการผลิตรับมือ AEC DEPARTMENTS

ª√–°“»√“¬™◊ËÕºŸâ‚™§¥’ ‰¥â√—∫√“ß«—≈ª√–®”©∫—∫μÿ≈“§¡ 2556

The Winners of U Share. V Care.

U Share. V Care.

10 Advertising Index รายชื่อผูลงโฆษณา 18 Schedule of Events ขอมูลงานนิทรรศการ การประชุม สัมมนา และฝกอบรมตางๆ 73 Surrounds อัพเดทขาวสารในวงการอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม

78

·∫∫ Õ∫∂“¡§«“¡§‘¥‡ÀÁπ æ√âÕ¡≈ÿâπ√—∫¢Õß√“ß«—≈ Share your comments and win a gift

FF#93_p6,8_Pro3.indd 8

11/23/13 10:34:00 PM


“Our ingredients in your foods and beverages” • Fermented & HVP Powder • Natural Meat & Seafood Powder • Natural Botanical Powder - Vegetables - Fruits & Juices - Grains - Herbs • Seasoning Powder for - Soup - Snack - Bakery - Canning & Frozen

Greetings of the New Year. Wishing you all success in the next 2014.

Contact: 6/10 Moo 6, Soi Bangpla 11, Theparak Road, Bangpla, Bangplee, Samutprakarn 10540 Tel: 0 2710 0888 Fax: 0 2710 0889 E-mail: sales@inthaco.com, exports@inthaco.com

R1_FF#93_p9_Pro3.indd 9

11/23/13 10:37:20 PM


DVERTISING INDEX December 2013 Service Page Info No. Company

Arcadia Foods Co., Ltd.

B299

27

Betagro Public Co., Ltd.

B142

BC

Beverage Markets in AEC 2014

B297

77

Bronson And Jacobs International Co., Ltd.

B274

65

Busch Vacuum (Thailand) Co., Ltd.

B204

4-5

Diversey Hygiene (Thailand) Co., Ltd.

B209

37

DPO (Thailand) Ltd.

B308

11

Food & Hotel Asia 2014

B179

IBC

Food Pack Asia 2014

B222

75

Forefront Foodtech Co., Ltd.

B082

3

Globetech Co., Ltd.

B319

77

Interpack 2014

B217

25

Intertek Industry and Certification Services (Thailand) Limited B076

29

Inthaco Co., Ltd.

B074

9

Krones (Thailand) Co., Ltd.

B104

31

Mettler-Toledo (Thailand) Ltd.

B010

57

Milford (Thailand) Co., Ltd.

B329

35

Nova Pacific Co., Ltd.

B268

55

Pangolin Safety Products Co., Ltd.

B146

43

Pure Chemicals Co., Ltd.

B337

63

S.K.P. Interpack Co., Ltd.

B182

7

SGS (Thailand) Limited

B017

45

Vicchi Enterprise Co., Ltd.

B096

51

Wacker Chemie AG

B320

33

World Steel Pallet Co., Ltd.

B160

47

Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 3/211 Moo-Ban Setthasiri-Prachachuen, Prachachuen Road, Ta Sai, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 T +66 2192 1250-2 F +66 2192 1315 E contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com

10

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

R1_FF#93_p10_Pro3.indd 10

11/23/13 10:40:46 PM


FF#93_p11_Pro3.indd 11

11/22/13 8:35:22 PM


THE COMPLETENESS OF 2013 FOOD FOCUS THAILAND ROADMAP

March 22, 2013 @ Challenger Hall, IMPACT

• ใหอำนาจ USFDA ในการระงับการจดทะเบียนสถานประกอบการ (Food facility registration) อาหารที่ผลิต แปรรูป บรรจุ หรือเก็บไว หากมีเหตุผลที่เชื่อ ไดวามีความเปนไปไดสูงที่จะกอใหเกิดอันตรายรายแรงตอสุขภาพหรือตอชีวิต ของมนุษยหรือสัตว ทั้งนี้ การระงับการจดทะเบียนจะสงผลใหสถานประกอบการนั้น ถูกหามในการนำเขาและสงออก มาตราที่ 202 การตรวจรับรองระบบงานหองปฏิบัติการวิเคราะหอาหาร กำหนดแนวทางการปฏิบัติที่สำคัญ ดังนี้ • กำหนดให USFDA ยอมรับและใหการรับรององคกรตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึง ความสามารถที่จะทำการทดสอบวิจัยผลิตภัณฑอาหาร • จัดทำแผนตรวจรับรองหนวยงานใหการรับรอง (Accredited Bodies; AB) ที่ใหการรับรองหองปฏิบัติการ (Accredited Labs) ภายในเวลา 2 ป หลังบังคับใช FSMA • จั ด ทำทะเบี ย นหน ว ยงาน AB ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ จาก USFDA และ หองปฏิบัติการที่ไดรับการรับรองภายในเวลา 2 ป หลังบังคับใช FSMA • หนวยงาน AB ในตางประเทศที่ไดรับการยอมรับและไดขึ้นทะเบียนกับ USFDA อาจใหการรับรองหองปฏิบัติการแทน USFDA ได อยางไรก็ตาม USFDA จะประเมินผลหนวยงาน AB ไมนอยกวา 5 ป/ครั้ง

20

SEA FOOD Edition

May 31, 2013 @ Challenger Hall, IMPACT

Food Safety Modernization Act (FSMA) หรือ Food Safety Bill ถูกจัดทำขึ้น เพื่อแกไขเพิ่มเติมสาระสำคัญหลายประการของกฎหมายความปลอดภัยอาหาร The Federal Food, Drug, and the Cosmetic Act of 1938 (FFDCA) โดยมุงปฏิรูป การควบคุมความปลอดภัยอาหารของประเทศและเพิ่มอำนาจการตรวจสอบการผลิต สินคาอาหารให USFDA เพื่อควบคุมและตรวจสอบกระบวนการผลิตสินคาอาหาร ทั้งในประเทศและสินคานำเขาใหมีความเขมงวดมากขึ้น มีความเชื่อมโยงกับกฎหมาย ฉบั บ อื่ น ที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น กฎหมายอาหารและยา (Federal Food, Drug, and Cosmetic) และกฎหมายการเตรียมความพรอมและการปองกันการกอการรายทาง ชีวภาพ (Bioterrorism Act) ตัวอยางสาระสำคัญที่ปรับปรุงเพิ่มเติม ไดแก มาตราที่ 102 การจดทะเบียนและเพิกถอนทะเบียนสถานประกอบการ • กำหนดใหสถานประกอบการทั้งภายในประเทศและตางประเทศตองตออายุ การจดทะเบียนทุก 2 ป โดยเริ่มตนตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม-31 ธันวาคม ของทุกปเลขคู ของป ค.ศ. (ครั้งแรกสำหรับสถานประกอบการไทย คือ วันที่ 1 ตุลาคม-31 ธันวาคม พ.ศ. 2555 หรือป ค.ศ. 2012)

FF#93_p12-15_Pro3.indd 12

11/25/13 9:09:30 PM


SCENE AND BRIEF SUMMARY FROM ALL 5

การสงออกสินคาสัตวน้ำของไทยในป 2556 คาดวามีปริมาณ 2.1 ลานตัน มูลคา 2.5 แสนลานบาท ไปยังกวา 160 ประเทศทั่วโลก โดยตลาดสงออกหลัก ไดแก สหรัฐอเมริกา (27%) ญี่ปุน (25%) สหภาพยุโรป (14%) อาเซียน (5%) และแอฟริกา (5%) ตัวอยางประเด็นเขมงวดของประเทศคูคา สหภาพยุโรป ไดออกกฎหมาย ควบคุมการจับสัตวน้ำ IUU Regulation (EC) 1005/2008 ซึ่งเริ่มบังคับใชเมื่อ 1 มกราคม 2553 กับการจับสัตวน้ำทุกชนิดที่จับจากธรรมชาติ ยกเวนที่ระบุใน Annex I เชน ปลาน้ำจืด หอยเชลล หอยแมลงภู หอยนางรม ทั้งนี้ สัตวน้ำที่มาจาก การทำประมงที่ผิดกฎหมาย ไมรายงาน และไรการควบคุม (IUU) มีประมาณ 10-25 พันลานเหรียญสหรัฐ โดยสหภาพยุโรปนำเขาประมาณ 1.1 พันลานยูโร (คิดเปน 7% ของการนำเขา) สหรัฐอเมริกา เนนการจัดทำแผน HACCP โดยใช Hazard & Control Guidance ของ USFDA เปนเอกสารหลัก เนนการตรวจสอบทางประสาทสั ม ผั ส และสิ่ ง แปลกปลอมซึ่ ง ไม เ ป น ที่ ย อมรั บ ที่ มี แ หล ง ที่ ม าจากสั ต ว (Filth) ในสินคานำเขา ญี่ ปุ น จี น และเกาหลี เนนการตรวจวิเคราะหสารปฏิชีวนะ ในสินคานำเขา ตัวอยางการถูกตีคืนสินคา ไดแก พบเชื้อซัลโมเนลลาในปลาแชแข็ง โคลิฟอรมในปลาหมึก ฮิสตามีนในปลาทูนากระปอง มาลาไคทกรีนและไนโตรฟูแรน ในกุง เปนตน

21

July 26, 2013 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT

FF#93_p12-15_Pro3.indd 13

SUCCESSFUL EVENTS

ความต อ งการของผู บ ริ โ ภค อาหารสุ ข ภาพ (Nutraceuticals and Functional foods) ไดขามพนคุณสมบัติพื้นฐานของอาหาร (ค้ำจุนชีวิต ดำรง รางกายใหเปนปกติ) แตเขาไปสูคุณสมบัติการสงเสริมสุขภาพเฉพาะเรื่อง ดังนั้น ขอมูลสนับสนุนทางวิทยาศาสตรจึงมีความจำเปน ทั้งนี้ ลักษณะของผลิตภัณฑอาหารเสริมสุขภาพที่ผูบริโภคตองการ ไดแก รสชาติตองเปนที่ยอมรับได ราคา ที่ผูบริโภครับได ซื้อไดที่รานสะดวกซื้อ มีประโยชนทางดานสุขภาพ มีบรรจุภัณฑ ที่ทันสมัยโดยมีขนาดเพียงหนึ่งหนวยบริโภคและพกพาติดตัวไปไดโดยสะดวก มีการลดสารอาหารที่ถูกมองวามีประโยชนตอสุขภาพนอยลง เชน น้ำตาล ไขมัน ฉลากโภชนาการ ผลสำรวจเรื่องฉลากโภชนาการในไทย พบวา 49.6% มี ความพอใจในฉลากโภชนาการแบบจี ดี เ อ 84.8% มี ค วามพอใจในฉลากโภชนาการแบบฉลากสัญญาณไฟจราจร เมื่อสอบถามวาหากมีการใชรูปแบบ ฉลากโภชนาการแบบใหม ไมวาจะเปนจีดีเอหรือสีสัญญาณไฟจราจรแลวจะตองใช รูปแบบฉลากโภชนาการแบบเดิมหรือไม พบวา 62.2% แสดงความคิดเห็นวา จำเปน แตตองปรับรูปแบบใหเขาใจงายขึ้น 33.5% แสดงความคิดเห็นวาไมจำเปน โดยใหเหตุผล 2 ขอ คือ ไมเคยอานฉลากโภชนาการรูปแบบเดิม 67.5% และ อานฉลากโภชนาการแบบเดิมไมรูเรื่อง 32.5%

11/25/13 9:09:44 PM


October 25, 2013 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT

อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม โครงสรางอุตสาหกรรมเครื่องดื่มที่ไมมีแอลกอฮอล ของประเทศไทย ในป 2556 คาดวามีมูลคารวม 217,200 ลานบาท แบงเปน ผลิตภัณฑนม (23.94%) น้ำอัดลม (22.51%) เครื่องดื่มใหพลังงาน (12.66%) น้ำดื่ม (9.21%) กาแฟพรอมดื่ม (5.99%) กาแฟสำเร็จรูป (5.52%) ชาเขียวพร อ มดื่ ม (5.52%) น้ ำ ผลไม (5.25%) เครื่ อ งดื่ ม สำหรั บ นั ก กี ฬ าและ ผูออกกำลังกาย (4.60%) โซดา (2.95%) และเครื่องดื่มฟงกชันนอล (1.84%) ผลิตภัณฑนม ประเทศไทยผลิตน้ำนมดิบได 2,800 ตัน/วัน ตลาดนมในไทย ป 2552 มียอดขายรวม 41,036 ลานบาท แบงเปน นมวัวพรอมดื่ม 16,310 ลานบาท (40%) นมเปรี้ยวพรอมดื่ม 10,636 ลานบาท (26%) นมถั่วเหลือง 10,053 ลานบาท (24%) และเครื่องดื่มธัญญาหาร 4,037 ลานบาท (10%) โดยตลาดนมถั่วเหลือง เติบโตขึ้นมาก โดยเฉพาะจีนซึ่งบริโภคนมถั่วเหลืองเปนอันดับ 1 ของโลก บรรจุภัณฑเครื่องดื่ม 28NC Flap Hot SB ไดรับรางวัล Packaging Idea Award ในป 2555 โดยเปนขวดน้ำดื่มของ JR East Water Business Co., Ltd. บริ ษั ท ผู ผ ลิ ต เครื่ อ งดื่ ม ในเครื อ ของ JR East Group ความพิ เ ศษอยู ที่ ฝ าขวด โดยฝาและขวด PET จะติ ด กั น อยู ต ลอดเวลา แม ว า ฝาจะถู ก เป ด แล ว ก็ ต าม ผูบริโภคจึงไมตองกังวลวาฝาจะหาย ทั้งนี้ ฝาขวดมีรูปรางปกติเหมือนฝาทั่วไป สามารถใชไดกับเครื่องบรรจุที่มีอยูในปจจุบัน

MEAT

22

POULTRY Edition

August 23, 2013 @ Jupiter Room, Challenger Hall, IMPACT

เรื่องของสุกร ประเทศผูผลิตสุกรที่สำคัญในป 2556 คือ จีนผลิตได 53,800 พันเมตริกตัน (50.09%) สหภาพยุโรป 22,550 พันเมตริกตัน (20.99%) สหรัฐอเมริกา 10,669 พันเมตริกตัน (9.93%) โดยไทยผลิตได 1,002 พันเมตริกตัน (0.93%) สำหรับ การบริโภคผลิตภัณฑจากสุกรพบวา จีนบริโภค 54,225 พันเมตริกตัน (50.69%) สหภาพยุโรป 20,310 พันเมตริกตัน (18.99%) สหรัฐอเมริกา 8,659 พันเมตริกตัน (8.09%) สวนไทยบริโภค 960 พันเมตริกตัน (0.90%) ประเทศผูนำเขาเนื้อสุกรที่สำคัญ คือ ญี่ปุน 1,230 พันเมตริกตัน (17.97%) รัสเซีย 1,080 พันเมตริกตัน (15.78%) เม็กซิโก 770 พันเมตริกตัน (11.25%) จีน 700 พันเมตริกตัน (10.23%) สำหรับประเทศผูสงออกเนื้อสุกรที่สำคัญ คือ สหรัฐอเมริกา 2,361 พันเมตริกตัน (32.59%) สหภาพยุโรป 2,260 พันเมตริกตัน (31.19%) แคนาดา 1,230 พันเมตริกตัน (16.98%) สวนไทยสงออก 17 พันเมตริกตัน (0.23%) เรื่องของไขไก ภาพรวมปริมาณการผลิตไขไกสดโลกในป 2554 อยูที่ 65 ลานตัน หรือ 1.2 ลานลานฟอง โดยการผลิตไขไกสดของอาเซียนคิดเปน 5% ของการผลิตโลก และการผลิ ต ไข ไ ก ส ดของไทยคิ ด เป น 1% ของการผลิ ต โลก ประเทศที่ ผ ลิ ต ไข ไ ก มากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก จีน 4 แสนลานฟอง (37%) สหรัฐอเมริกา 9 หมื่นลานฟอง (8%) อินเดีย 6 หมื่นลานฟอง (5%) ญี่ปุน 4 หมื่นลานฟอง (4%) เม็กซิโก 4 หมื่นลานฟอง (4%) สวนไทยอยูอันดับที่ 21 (1 หมื่นลานฟอง หรือ 1%) ทั้งนี้ เอเชียผลิตไขไกสด มากที่สุด ซึ่งจะกลายเปนภูมิภาคที่สำคัญตอการผลิตมากที่สุดแทนอเมริกาและยุโรป ที่ปริมาณการผลิตชะลอตัว เนื่องจากความตองการในประเทศที่คอนขางคงที่

FF#93_p12-15_Pro3.indd 14

11/25/13 9:00:28 PM


2013

Sincere thanks from

FF#93_p12-15_Pro3.indd 15

11/26/13 9:33:13 AM


EDITOR’S TALK

เศรษฐกิ จ ไทย ในชวงไตรมาส 3/2556 ชะลอตัว ต อ เนื่ อ งนั บ จากต น ป โดยมู ล ค า ผลิ ต ภั ณ ฑ ม วลรวม ภายในประเทศหรือจีดีพี ขยายตัวในอัตราที่ต่ำที่สุดในรอบ 6 ไตรมาสที่รอยละ 2.7 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันปกอน (YoY) ชะลอลงจากรอยละ 2.9 (YoY) ในไตรมาส 2/2556 ขณะที่จีดีพีที่ปรับฤดูกาลในไตรมาส 3/2556 ขยายตัว รอยละ 1.3 (QoQ, s.a.) ขยับขึ้นจากตัวเลขทบทวนใหม ที่รอยละ 0.0 (QoQ, s.a.) ในไตรมาส 2/2556 ทั้งนี้ ทิศทางกิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยคอนขางมีภาพ ที่ปะปนระหวางความซบเซาของการใชจายในประเทศ และทิ ศ ทางที่ ดี ขึ้ น ของการส ง ออกสุ ท ธิ ใ นภาคบริ ก าร การใชจายภาครัฐ และการเปลี่ยนแปลงสินคาคงคลัง สำหรับแนวโนมไตรมาสสุดทายของป 2556 นั้น การฟ น ตั ว ในกรอบจำกั ด ของการส ง ออก สั ญ ญาณ ซบเซาของการใชจายในประเทศ รวมถึงฐานเปรียบเทียบ ที่ สู ง ในช ว งปลายป 2555 ทำให ศู น ย วิ จั ย กสิ ก รไทย ประเมินวา อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในชวง ไตรมาสสุดทายของป 2556 จะชะลอตัวกลับมาอีกครั้ง มาอยู ที่ ร ะดั บ ประมาณร อ ยละ 1.0 (YoY) โดยหาก สถานการณทางการเมืองในประเทศไมไดพัฒนาไปถึง จุ ด ที่ มี ค วามรุ น แรงเกิ ด ขึ้ น คาดว า ตั ว เลขจี ดี พี ที่ ป รั บ ฤดู ก าลประจำไตรมาส 4/2556 น า จะสามารถรั ก ษา ทิศทางการเติบโตไวไดอยางตอเนื่อง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ฟนตัวลาชาและยังมีแนวโนม ซบเซาต อ เนื่ อ งในช ว งไตรมาสสุ ด ท า ยของป 2556 ทำใหศูนยวิจัยกสิกรไทยพิจารณาปรับลดประมาณการอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทยในป 2556 ลงมาที่ รอยละ 3.0 (จากคาดการณเดิมที่รอยละ 3.7) สวนแนวโนม ในป 2557 นั้น หากเศรษฐกิจในกลุมแกนหลักของโลก ฟนตัวตอเนื่อง และเงื่อนไขทางการเมืองไมเปนอุปสรรค ตอการดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในชวงปขางหนา แลว คาดวาเศรษฐกิจไทยในป 2557 นาจะมีจังหวะ การฟ น ตั ว ที่ ดี ขึ้ น โดยอาจสามารถขยายตั ว ในกรณี พื้นฐานที่ประมาณรอยละ 4.5

·ÕÁ§Ò¹¹ÔμÂÊÒà ¿Ù‡´ â¿¡ÑÊ ä·ÂᏴ

The Thai economy has declined steadily since the beginning of the year, with the 3Q13 GDP growth expanding at the slowest pace in six quarters at only 2.7 percent YoY, down from 2.9 percent YoY reported in 2Q13. The seasonally-adjusted 3Q13 GDP grew 1.3 percent QoQ, bettering the revised 2Q13 GDP that saw 0.0 percent growth QoQ. Mixed-signals were seen in overall economic indicators during 3Q13, with a decline in domestic spending, though there were recoveries seen in net service exports, public spending and inventories. For the 4Q13 outlook, a slow rebound in Thai outward trade and continuing sluggishness in domestic spending, along with a high 2012 base, lead KResearch to assess that Thai GDP growth during 4Q13 will decline again to perhaps 1.0 percent YoY. If domestic political tension does not escalate further or getting out of control, it is expected that the seasonally-adjusted GDP for 4Q13 will continue with some growth momentum. The slow recoveries foreseen for many economic activities into the final quarter of this year also lead KResearch to revise downward the growth forecast for the Thai economy for 2013 to 3.0 percent YoY, from 3.7 percent growth projected before. In 2014, if major global economies continue to recover and the implementation of our government’s policies is not impeded further by political issues, it is expected that the Thai economy next year will rebound to perhaps 4.5 percent YoY, in base-case scenario.

Food Focus Thailand Magazine

Sirintra Boonsumrej

Managing Editor Food Focus Thailand Magazine

Publisher Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 3/211 Moo-Ban Setthasiri-Prachachuen, Prachachuen Road, Ta Sai, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 T +66 2192 1250-2 F +66 2192 1315 E contact@foodfocusthailand.com W www.foodfocusthailand.com

ฝายบรรณาธิการ / Editorial Department บรรณาธิการบริหาร / Managing Editor ศิรินทรา บุญสำเร็จ / Sirintra Boonsumrej editor@foodfocusthailand.com, b.sirintra@foodfocusthailand.com ผูชวยบรรณาธิการ / Assistant Editor

อัครพล อนันตโชติ / Arkkrapol Anantachote a.arkkrapol@foodfocusthailand.com ผูสื่อขาวอาวุโส / Senior Journalist

พิมพชนก กนกลาวัณย / Pimchanok Kanoklawan ka.pimchanok@foodfocusthailand.com ฝายขายและการตลาด / Sales & Marketing Department ผูอำนวยการฝายธุรกิจ / Business Director เพ็ญแข ประวัติพัฒนากูล / Phenkhae Prawatphatthanakoon sales@foodfocusthailand.com, p.phenkhae@foodfocusthailand.com ผูจัดการฝายขาย / Sales Manager สิริวรรณ ขาวสะอาด / Siriwan Khaosaard kh.siriwan@foodfocusthailand.com เจาหนาที่ฝายขายโฆษณา / Advertising Sales Executive นิภาพร ละครอนันต / Nipaporn Lakornanan la.nipaporn@foodfocusthailand.com ฝายสมาชิก / Circulation Department เจาหนาที่ฝายสมาชิก / Circulation Officer จิตสุดา ทองปาน / Jitsuda Thongparn contact@foodfocusthailand.com ชาลินี จันทานนท / Chalinee Chanthanon contact@foodfocusthailand.com ฝายศิลปกรรม / Graphic Department ผูอำนวยการฝายศิลปกรรม / Graphic Director สุรีรัตน หลักบุตร / Sureerat Lukbud graphic@foodfocusthailand.com เจาหนาที่ฝายศิลปกรรม / Graphic Designer นภพงศ กรประเสริฐ / Npaphong Kornprasert graphic@foodfocusthailand.com

www.facebook.com/foodfocusthailand

ฝายบัญชีและการเงิน / Accounting & Finance Department ผูจัดการฝายบัญชีและการเงิน / Accounting & Finance Manager นาตยา พงษสัตยาพิพัฒน / Nataya Pongsatayapipat p.nataya@foodfocusthailand.com The texts and photos in Food Focus Thailand, as well as personal comments of contributors are all rights reserved. Reproduction of the magazine, in whole or in part, is prohibited without the prior written consent of the publisher.

FF#93_p16_Pro3.indd 16

11/21/13 10:26:12 PM


BOARD OF CONSULTANTS Sakchai Sriboonsue Secretary General National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards Ministry of Agriculture and Cooperatives

Veerachai Khuprasert, Ph. D.

Visit Limprana

Assoc. Prof. Visith Chavasit, Ph. D.

Executive Director Thailand Productivity Institute

Chairman Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries

Director Institute of Nutrition, Mahidol University

Sakkhee Sansupa

Assoc. Prof. Emorn Wasantwisut, Ph. D.

Director Thai Packaging Centre Thailand Institute of Scientific and Technological Research

Institute of Nutrition, Mahidol University

Chawan Svasti-Xuto

Darunee Edwards President Food Science and Technology Association of Thailand

Deputy Director General Acting on behalf the Director-General The Office of Small and Medium Enterprises Promotion

Assoc. Prof. Winai Dahlan, Ph. D.

Pravith Chotiprayanakul

Founder Director The Halal Science Center Chulalongkorn University

CEO GS1 Thailand The Federation of Thai Industries

Patcharee Tungtrakul

Poj Aramwattananont, Ph. D.

Director Institute of Food Research and Product Development Kasetsart University

President Thai Frozen Foods Association

Asst. Prof. Tanaboon Sajjaanantakul, Ph. D.

Jumrud Sawangsamud

Dean Faculty of Agro-Industry Kasetsart University

Director RFID Institute of Thailand The Federation of Thai Industries

Petch Chinabutr, Ph. D. President National Food Institute

ENDORSEMENT

Food and Drug Administration Ministry of Public Health

Institute of Food Research and Product Development Kasetsart University

National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards (ACFS) Ministry of Agriculture and Cooperatives

Faculty of Agro-Industry Kasetsart University

Food Processing Industry Club The Federation of Thai Industries

National Food Institute Ministry of Industry

Thailand Productivity Institute Ministry of Industry

Thailand Institute of Scientific and Technological Research

Office of Small and Medium Enterprises Promotion

Thai Packaging Centre Thailand Institute of Scientific and Technological Research

GS1 Thailand The Federation of Thai Industries

Food Science and Technology Association of Thailand

The Halal Science Center Chulalongkorn University

Thai Frozen Foods Association

RFID Institute of Thailand The Federation of Thai Industries

Upcoming Issue Attraction

JAN No. 94

Special Focus

Strategic R & D

Cere & Grain / ∏—≠æ◊™·≈–∏—≠™“μ‘ Cereal

Flavour & Aroma / √ ™“μ‘·≈–°≈‘Ëπ

Smart Production Sm

Smooth Distribution

Filling & Capping / °“√∫√√®ÿ·≈–ªî¥Ω“

Cold Chain System / √–∫∫°“√‡°Á∫√—°…“ ‘π§â“¥â«¬§«“¡‡¬Áπ

Strong QC & QA Stro Pathogen / ®ÿ≈‘π∑√’¬å°àÕ‚√§

FF#93_p17_Pro3.indd 17

11/22/13 12:02:44 AM


SH

W

JANUARY 16-17 BEVERAGE MARKET IN AEC 2014 @ Pullman Hotel Bangkok G, Silom, Bangkok E ideal.forum2010@gmail.com W www.idf-asian.com

16-17 ประชุมวิชาการแหงชาติดานอาหาร และโภชนาการเพื่อสุขภาพ ครั้งที่ 1 เรื่อง “ผักและผลไมเพื่อความมั่นคง ทางโภชนาการ” @ โรงแรมเอส 31 สุขุมวิท ซอย 31 กรุงเทพฯ By สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และภาคีเครือขาย T +66 2889 3489, +668 6571 9631 W www.inmu.mahidol.ac.th/NCFNH 23-25 @ E W

LIVESTOCK MYANMAR EXPO 2014 Yangon, Myanmar livestockmyanmar@ubm.com www.livestockmyanmar.com

FEBRUARY 5-7 @ E W

FRUIT LOGISTICA 2014 Messe Berlin, Germany info@gp-events.com www.fruitlogistica.de/en

16-20 @ E W

EUROSHOP 2014 Messe Düsseldorf, Germany euroshop@messe-duesseldorf.de www.euroshop.de

17-19 HOTEL SOLUTION FOOD & BEVERAGE AND TRAVEL TRADE SHOW 2014 (HFT 2014) @ Yangon, Myanmar E caroline@sphereconferences.com W http://mhft.sphereconferences.com

18

MARCH 3-5 @ E W

6-8 @ E W

SINO-PACK / PACK INNO 2014 Guangzhou, China pfp@adsale.com.hk www.ChinaSinoPack.com www.PackInno.com SWEETS & BAKES ASIA 2014 Marina Bay Sands, Singapore carine@cems.com.sg www.sweetsbakesasia.com.sg

31 MARCH – 3 APRIL ALIMENTARIA 2014 @ Barcelona, Spain E prensa@alimentaria.com W www.alimentaria-bcn.com

8-10 @ E W

HORTI ASIA 2014 BITEC, Bangkok, Thailand chinakit.vip@vnuexhibitionsap.com (Chinakit Viphavakit) www.hortiasia.net

13-15 SIAL CHINA 2014 Shanghai, China @ E mia.wang@comexposium-sh.com (Mia Wang) W www.sialchina.com 21-25 THAIFEX – WORLD OF FOOD ASIA 2014 @ IMPACT, Nonthaburi, Thailand E l.how@koelnmesse.com.sg W www.worldoffoodasia.com

JUNE APRIL 8-9 @ E W

VITAFOODS SOUTH AMERICA São Paolo, Brazil colin.williams@informa.com www.vitafoodssouthamerica.com

8-11 @ E W

FOOD&HOTELASIA2014 Singapore Expo, Singapore events@sesallworld.com www.foodnhotelasia.com

9-11 @ E W

WORLDFOOD WARSAW Warsaw, Poland biuro@lentewenc.com www.worldfood.pl

MAY 6-8 @ E W

VITAFOODS EUROPE 2014 Geneva, Switzerland colin.williams@informa.com www.vitafoods.eu.com

6-8 @ E W

FINISHED PRODUCTS EUROPE Geneva, Switzerland colin.williams@informa.com www.finishedproductseurope.com

8-14 @ E W

INTERPACK 2014 Messe Düsseldorf, Germany interpack@messe-duesseldorf.de www.interpack.com

11-13 FOOMA JAPAN 2014 @ Tokyo, Japan W www.foomajapan.jp 11-14 @ E W

PROPAK ASIA 2014 BITEC, Bangkok, Thailand piyaporn@besallworld.com www.propakasia.com

19 -21 @ E W

MIFB 2014 Kuala Lumpur, Malaysia mifb@sphereexhibits.com.my www.mifb.com.my

SEPTEMBER 3-4 @ E W

VITAFOODS ASIA 2014 AsiaWorld-Expo, Hong Kong colin.williams@informa.com www.vitafoodsasia.com

3-5 @ E W

ASIA FRUIT LOGISTICA 2014 AsiaWorld-Expo, Hong Kong info@gp-events.com www.asiafruitlogistica.com

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p18-19_Pro3.indd 18

11/22/13 8:38:39 PM


SEMINAR & TRAINING DECEMBER 2013 2 By 2-3 By 4

Aspect Identification INTERTEK ISO 9001:2008 Requirement INTERTEK Environmental & Safety Law Core Tool: FMEA By INTERTEK 9 Introduction and Awareness to ISO 9001:2008 By SGS (Thailand) Limited 12 สุดยอดหัวหนางาน การบริหารเวลาและจัดความสำคัญ เสริมสรางประสิทธิภาพการบริหารงานธุรการ อยางมืออาชีพ By Thailand Productivity Institute 11-12 Environmental Aspect Identification and Evaluation By SGS (Thailand) Limited 12 Introduction and Awareness to ISO 14001: 2004 By SGS (Thailand) Limited 12-13 ISO 9001:2008 Internal Quality Audit (English Version) FSSC 22000 Requirement & Interpretation (Food Safety System Certification) Requirements and Interpretation GMP for Flexible and Fibre Based Packaging for Food By SGS (Thailand) Limited 13 การสื่อสารอยางไดผล เจาหนาที่ฝกอบรมเชิงรุก การจัดเก็บเอกสารใหหางายและเปนระบบ By Thailand Productivity Institute 13 Basic Food Hygiene By SGS (Thailand) Limited

C

O

INTERTEK Please contact Khun Natthakan Singha T 08 9963 1169, 0 2248 1817 # 22 F 0 2248 5707 E natthakan.singha@intertek.com W www.intertek.co.th/training

16 Food Security By SGS (Thailand) Limited 16-17 ISO 9001:2008 Internal Quality Audit BRC Requirement and Interpretation By SGS (Thailand) Limited 16-20 ISO 9001:2008 Registered Lead Assessor/ Lead Auditor (English Version) By SGS (Thailand) Limited 17 การบริหารความขัดแยงอยางสรางสรรค เพิ่มศักยภาพการทำงาน ดวยความคิดแบบบวก ไคเซ็นเพื่อการปรับปรุงงาน By Thailand Productivity Institute 17-18 ISO 27001 Awareness and Interpretation BRC - IoP (BRC for Food Packaging) Internal Audit BRC IoP By SGS (Thailand) Limited 18-19 ความรับผิดชอบตอสังคมของธุรกิจ จากแนวคิดสูวิธีปฏิบัติ เทคนิคการแกปญหาและตัดสินใจ เสนทางสูการบริหารจัดการคุณภาพโดยรวม By Thailand Productivity Institute 19-20 QMR for ISO 9001:2008 By SGS (Thailand) Limited 19-20 OHSAS/TIS Internal Audit BRC Food (Issue 6) Requirement and Internal Audit By INTERTEK

FREE

DECEMBER

14 Investor Forum 2013 เจาะลึกเทคนิคการลงทุน AFET สำหรับผูลงทุน มืออาชีพ @ หอง 1104 ชั้น 11 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย By ตลาดสินคาเกษตรลวงหนาแหงประเทศไทย (AFET) T 0 2263 9888 W www.afet.or.th/2013/th/seminar/seminar.php 18 เจรจาธุรกิจเพื่อเพิ่มโอกาสเปดตลาดในชองทาง Duty Free และ Modern Trade ในอียิปตและประเทศอื่นๆ แถบแอฟริกาใต @ หอง Boardroom 3, 4 ชั้น 3 โซน C ศูนยการประชุมแหงชาติสิริกิติ์ By หนวยงานจับคูธุรกิจ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย T 0 2345 1117, 08 6329 1976 (คุณเอกพล) E aekaphonc@off.fti.or.th, aekaphon.fti@gmail.com W www.ftimatching.com 27 บริการใหคำปรึกษาดานนวัตกรรม @ สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (สสว.) By สำนักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (สสว.) T 0 2763 2717, 08 1457 1725 E clinic.sme.56@gmail.com W www.sme.go.th

APRIL 2014 8-11 @ By T E W

N

SEMINAR 2013

FHA 2014 International Conference Singapore Expo Singapore Exhibition Services Pte. Ltd. +65 6233 6623 cheryl@sesallworld.com www.foodnhotelasia.com

T

SGS (Thailand) Limited Please contact Khun Jiratchaya (Training Department) T 0 2678 1813 # 2053 F 0 2678 1548 E jitratchaya.chainate@sgs.com W www.th.sgs.com/training_th

A

C

T

Thailand Productivity Institute T 0 2619 5500 # 451-455 (คุณภัททิรา คุณชัยวัฒน คุณศิริชัย คุณดำรง และคุณปรัศนีย) F 0 2619 8098 E training@ftpi.or.th W www.ftpi.or.th

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p18-19_Pro3.indd 19

19

11/22/13 8:38:41 PM


STAR ITEMS

By: AMP International Co., Ltd.

1

2

3 FLEXLAB SCRUBBER HOOD

NOSTRA Dispatcher

rBST-Free Cheese Pastes First Choice Ingredients ผู เ ชี่ ย วชาญด า น การพั ฒ นาและผลิ ต วั ต ถุ แ ต ง กลิ่ น รสชี ส เนย ครีม นม และเบเกอรี่ชั้นนำของโลก ไดพัฒนา วั ต ถุ แ ต ง กลิ่ น รสชี ส ชนิ ด ไร ส าร rBST ซึ่ ง มี ใ ห เลือกตั้งแต เชดดาชีส พารมิซานชีส โรมาโนชีส และสวิสชีส ซึ่งลวนแตใหกลิ่นรสดีเยี่ยม และ ปลอดฮอรโมนเรงการเจริญเติบโต

หมดป ญ หาการบั น ทึ ก ข อ มู ล การขนส ง สิ น ค า ในสถานที่ ที่ ย านพาหนะเข า ไม ถึ ง ด ว ย NOSTRA Dispatcher โซลู ชั น การตอบรั บ งานผ า น Mobile application สำหรับสมารทโฟนและแท็บเล็ต โดยมี ฟ ง ก ชั น ที่ ร องรั บ กระบวนการจั ด ส ง สิ น ค า ตั้ ง แต งานวางแผนการขนสงสินคาจนถึงการอัพเดทสถานะ การส ง สิ น ค า อาทิ เ ช น การตรวจสอบแผนการสงสินคา การผนวกระบบนำทางรถยนต (FMI) การรายงานพิกัดตำแหนงกลับไปยังเซิรฟเวอร การยืนยัน การรับสินคาดวยลายเซ็นและรูปภาพ เปนตน

First Choice Ingredients specializes in developing and manufacturing some of the most exceptional cheese, butter, cream, dairy, and bakery flavors in the world. Fortunately, First Choice has created a wide selection of rBST-free cheese pastes including Cheddar, Sharp cheddar, Parmesan, Romano and Swiss with great taste and no added growth hormones.

By: IMCD (Thailand) Co., Ltd. www.imcdgroup.com

20

ตูดูดควันพรอมชุดกำจัดไอสารเคมี SCRUBBER HOOD จาก FLEXLAB สินคาที่ไดรับความนิยม อย า งสู ง จากผู ใ ช ด ว ยความพร อ มทางด า น วิศวกรรม และตอบสนองการใชงานที่ชวยใหงาย ตอการบำรุงรักษา จึงทำใหตูดูดควันพรอมชุด กำจั ด ไอสารเคมี SCRUBBER HOOD ได รั บ ความไว ว างใจในการใช ง านมากขึ้ น ทดแทน การกำจั ด ไอสารเคมี ร ะบบเดิ ม ที่ ต อ งใช งบประมาณสู ง ในการดู แ ล อากาศที่ ผ า นชุ ด ระบบกำจัดมีความสะอาดมากกวา 95% และ ปลอดภั ย สู ง ช ว ยรองรั บ ระบบการจั ด การทาง ดานสิ่งแวดลอม ISO 14001 มีรุนมาตรฐานให เลื อ กใช ต ามการใช ง าน 3 รุ น คื อ SH1.20, SH1.50 และ SH2.0 เมตร The popular product of FLEXLAB A new development SCRUBBER fume hood at

NOSTRA Dispatcher solution is designed to connect on-field worker via mobile application on smartphone and tablet to facilitate goods distribution process from initial state of planning to delivery status update. Available features such as review of product distribution plan, fleet management integration with navigation, sending current location to server, confirmation system with electronic signature and image capture etc.

low cost with high performance for more

By: Globetech Co., Ltd.

By: Official Equipment Manufacturing Co., Ltd.

www.nostramap.com

95% cleaned air. The range of SCRUBBER fume hoods is build-in fume SCRUBBER unit to safe time, space and economical at most comprehensive from simplest to most sophisticated aerodynamic design unit. The SCRUBBER fume hood can support the ISO 14001. 3 standard models to support all uses: SH1.20, SH1.50 and SH2.0 m. www.official.co.th

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p20-22_Pro3.indd 20

11/23/13 8:58:49 PM


5 6

4 The Very Big Energy-Saving Fan พัดลมขนาดใหญ สำหรับผลักและหมุนเวียนอากาศ ใหถายเทดวยระบบ High Volume Low Speed (HVLS) ซึ่งใหปริมาณลมจำนวนมากแตหมุนดวย ความเร็วต่ำที่คงที่เพียง 45 รอบ/นาที สามารถให ลมอ อ นๆ ในทุ ก มิ ติ ข องพื้ น ที่ ใช ท ดแทนพั ด ลม อุ ต สาหกรรมแบบทั่ ว ไปได ถึ ง 40 ตั ว และใช พลั ง งานไฟฟ า เพี ย ง 12 ยู นิ ต (กิ โ ลวั ต ต ชั่ ว โมง) สำหรับการใชงาน 8 ชั่วโมงตอวัน เพราะใชไฟแค 1.1-1.5 กิ โ ลวั ต ต ต อ ตั ว The Very Big Fan มี ข นาดเส น ผ า นศู น ย ก ลางสู ง สุ ด ถึ ง 7.3 เมตร พัฒนาดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยตามหลักอากาศพลศาสตร (Aerodynamic) เหมาะสำหรับใชงาน ในที่ที่มีพื้นที่กวาง เชน โรงงาน คลังจัดเก็บและ ขนสงสินคา หองประชุม โรงยิม ซูเปอรมารเก็ต และฟาร ม เป น ทางออกที่ ดี ส ำหรั บ การระบาย อากาศ และการทำความเย็นแกผูปฏิบัติงาน The Very Big Electric Ceiling Fan was designed to drive and ventilate the air mass with High Volume Low Speed-HVLS system, which provides a lot of air volume while spinning by fixed low speed at 45 cycles/min. and also creates smooth breeze wind in all dimension of space at the same time. Very Big Fan can replace 40 units of traditional industrial fans by consume electricity only 12 units (kWh) for 8 working hours per day (1.1–1.5 kW. per 1 unit). Very Big Fan diameter is up to 7.3 meters designed and developed by an Advance Technology and Aerodynamic Theory. The Very Big Fan is suitable for wide area, for example Factory, Warehouse, Distribution Center, Auditorium Hall, Exhibition Hall, Gymnasium, Supermarket, Farm and etc. sourcing for release humidity, lowering temperature and improve ventilation solution.

By: Material World Co., Ltd. www.materialworld.co.th

Mimasa Crate Washer Mimasa เปนเครื่องลางตะกราและภาชนะอุปกรณ ตางๆ จากสเปน ที่สามารถออกแบบไดตามความตองการการใชงาน ไมวาจะเปนสวนของ Pre-wash, Wash, Rinse และ Blowing สามารถเพิ่มสวนการทำงานเพื่ อ ให เ หมาะกั บ การล า งและเป า แห ง ได นอกจากนี้ ยั ง มี โ ปรแกรมควบคุ ม ความร อ นและ ระยะเวลาในการล า งเพื่ อ การฆ า เชื้ อ โรคอย า งมี ประสิทธิภาพ เครื่องลางตะกราและภาชนะอุปกรณ มี ใ ห เ ลื อ กทั้ ง แบบหนึ่ ง เลนและสองเลนที่ อั ต รา การลาง 100-6,000 ชิ้นตอชั่วโมง

SevenExcellence S470 การวัดคาทางไฟฟาในสารละลาย ทั้งคา pH และค า การนำไฟฟ า เป น ตั ว แปรที่ ห ลาย อุ ต ส า ห ก ร ร ม น ำ ม า ใ ช ใ น ก า ร ค ว บ คุ ม กระบวนการผลิ ต และคุ ณ ภาพผลิ ต ภั ณ ฑ ดั ง นั้ น ผลการวั ด ค า ที่ เ ที่ ย งตรงและแม น ยำ จึ ง เป น สิ่ ง สำคั ญ SevenExcellence S470 ตอบสนองความต อ งการนี้ ไ ด เ ป น อย า งดี ด ว ยความสามารถในการวั ด ค า pH และ ค า การนำไฟฟ า ได พ ร อ มกั น รวมถึ ง ช ว ยให การจั ด ข อ มู ล ตาม GLP เป น ไปอย า ง มีประสิทธิภาพและสามารถตรวจสอบได

Mimasa crate washers, products of Spain, are modularly designed, allowing multiple

The measuring of pH and conductivity

configurations and adjusting to each specific

value in solution is a key parameter

need, and can be customized with Pre-wash,

for quality control and process control

Wash, Rinse and Blowing section. The crate

in various industries. It’s necessary to

washers can be extended with a drying unit or a

have an accurate and precise result.

blow-off. With the specially developed software

SevenExcellence S470 is the best solution

to control temperature and time, the disinfection

for this demand. The new pH meter can

efficiency is well ensured. Depending on the

make simultaneously determination of

specific needs, the crates washer can equipped

pH and conductivity. It also has a data

with a single or double line with a production

management following the GLP to ensure

rate from 100-6,000 crates/hour.

data is secure and traceable.

By: Forefront Foodtech Co., Ltd.

By: Mettler-Toledo (Thailand) Limited

www.forefrontfoodtech.com

www.mt.com

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p20-22_Pro3.indd 21

21

11/23/13 9:00:55 PM


By: AMP International Co., Ltd.

7

8

9 FORPLEX MILLS LABLINE

Morinaga Food Allergen Test Kits

Graphicjet 18P เครื่องพิมพระบบ Graphicjet 18P จากประเทศ ฮอลแลนด พิ ม พ ไ ด ร ะหว า ง 1.5-18 มม. ความละเอียด 185 dpi พิมพไดเร็ว 40 เมตร/ นาที เหมาะอยางยิ่งสำหรับการพิมพวัน เดือน ป เวลา Batch/Lot ที่ขางกลองกระดาษ ทดแทน เครื่ อ งระบบวาล ว ทั่ ว ไปได เ ป น อย า งดี ราคา เครื่ อ งไม สู ง ประหยั ด ค า ใช จ า ยในการพิ ม พ ใชงานไดหลากหลาย

ชุดทดสอบสารกอภูมิแพในอาหาร จาก Morinaga สามารถตรวจวิเคราะหหาโปรตีนไดทั้งเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ดวยนวัตกรรมของสารทำละลาย ทำให ท ดสอบโปรตี น ที่ ผ า นและไม ผ า นกระบวนการผลิตได ซึ่งเปนการเพิ่มคา Recovery ใหสูงสุด นอกจากนี้ ชุ ด ทดสอบมี แ อนติ บ อดี้ จ ำเพาะ ที่ ส ามารถตรวจสอบโปรตี น เป า หมายหลั ง ผ า น กระบวนการผลิต ซึ่งสามารถตรวจสอบในผลิตภัณฑ อาหาร รวมทั้ ง การปนเป อ นสารก อ ภู มิ แ พ ในสายการผลิต (Swab test) ได

FORPLEX MILLS รุน LABLINE เปนนวัตกรรม ทางเทคโนโลยี ก ารบดและคั ด กรองขนาด สำหรับอุตสาหกรรมอาหารและยา การออกแบบ เน น ให เ หมาะกั บ สภาพการใช ง านเพื่ อ ความปลอดภัย การใชงานที่งาย ตนทุนที่ประหยัด ถอดทำความสะอาดไดรวดเร็ว หมดจด ทำให ประสิ ท ธิ ภ าพการเก็ บ รั ก ษาวั ต ถุ ดิ บ เพิ่ ม ขึ้ น และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม สเตนเลสตีล 316L รองรับมาตรฐาน FDA และ GMP Hygiene และปรั บ ใช ไ ด กั บ ระบบป อ งกั น การระเบิ ด ATEX The new generation LABLINE range of FORPLEX mills offers innovative,

Morinaga offers screening and quantitative food

personalized grinding and micronizing

allergen test kits which can effectively solubilize

solutions for the foodstuff and pharmaceutical

and extract proteins from processed and

industries. The ergonomic conception of

Graphicjet 18P printer from the Netherlands can print with a character height from 1.5 to 18 mm. With a resolution of 185 dpi and print speed 40 m/min, the printer is ideal for printing date (d/m/y) and Batch/Lot numbers at the side of the carton so it can well replace the use of a common valve system. The price is economical. Low cost of printing.

unprocessed food by using an innovative new

the line ensures safe, easy use and rapid

extraction solution; the recovery rate is extremely

dismantling for cleaning. Raw material

increased. The antibodies can detect the target

potential is maximized as product retention is

allergen protein even after the exposure to

virtually eradicated. Our use of 316L stainless

extreme processing condition. Accordingly,

steel guarantees that FDA/GMP hygiene

the kits can apply for the examination of highly

standards are safeguarded. FORPLEX

processed foods, as well as swab samples

mills can be adapted to conform to ATEX

collected in various point of food processing.

standards.

By: Q II S Co., Ltd.

By: Oskon Co., Ltd.

By: Poittemill Asia

www.qiis.co.th

22

www.oskon.co.th

www.poittemill.com

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p20-22_Pro3.indd 22

11/22/13 12:39:41 AM


SPECIAL REPORT

เอ็มโอยู…เพื่อการพัฒนา

MOU…Starting Point of the Development

เพื่อขยายขีดความสามารถในการแขงขันระยะยาวของเกษตรกรโคนมและอุตสาหกรรมนมไทยใหมีเสถียรภาพ สามารถแขงขันไดเมื่อมีการเปดเสรีทางการคา และเปนพลังขับเคลื่อน ใหอุตสาหกรรมนมไทยเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืนตอไปนั้น เมื่อเดือนพฤษภาคม 2556 ที่ผานมา ทางกลุมบริษัทดัชมิลลไดจับมือกระทรวงเกษตรและสหกรณ รวมลงนามในบันทึก ขอตกลงความรวมมือ (เอ็มโอยู) การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมโคทั้งระบบ ตั้งแต ตนน้ำจนถึงปลายน้ำใหทัดเทียมมาตรฐานตางประเทศ เพื่อเตรียมความพรอมสูประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน นำรองดวยการพัฒนากลุมเกษตรกรฟารมโคนม ผูเขารวมคอนแทรคฟารมมิ่งกับดัชมิลล รวมทั้งสิ้น 3,587 ฟารม จากศูนยรับน้ำนมดิบ 18 แหงทั่วประเทศ ทั้งใน เชิงการเพิ่มคุณภาพน้ำนมดิบที่ทัดเทียมมาตรฐาน ตางประเทศ และเพิ่มปริมาณผลผลิตน้ำนมดิบ เปน 15 กิโลกรัม/ตัว/วัน ภายในระยะเวลา 3 ป ในโอกาสนี้ คุ ณ พรชั ย สวั ส ดิ์ สุ ข สบชั ย รองประธาน กลุมบริษัทดัชมิลล ไดเปดเผยวา กลุมบริษัทดัชมิลลใหความสำคัญในการขับเคลื่อน พัฒนาอุตสาหกรรมนมของประเทศไทย ตลอดจน พัฒนาผลิตภัณฑนมคุณภาพอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งการสรางความตระหนักใหเกษตรกร-

For long-term competitiveness of Thai dairy farmers and industry in free trade environment, as well as to drive forward sustainable development of the Thai dairy industry further on, Dutch Mill Group signed a memorandum of understanding (MOU) with the Ministry of Agriculture and Cooperatives in May 2013 to jointly encourage dairy production efficiency across the system from upstream to downstream processes. With an aim to achieve international standard in preparation for ASEAN Economic Community (AEC), the collaboration is spearheaded by a dairy farming development programme for 3,587 contracted farms that supply raw milk to Dutch Mill through 18 Milk Collection Centers nationwide. The programme will help dairy farmers achieve the international quality standard o of raw milk a and increase ttheir raw milk o output to 15 kkg/cow/day w within three yyears.

Quality Development of

Milk Supply Chain แนวทางการพัฒนาคุณภาพน้ำนมโคทั้งระบบ

π—∫∂Õ¬À≈—߇¢â“ Ÿà°“√√«¡μ—«°—π‡ªìπª√–™“§¡‡»√…∞°‘®Õ“‡´’’¬π À√◊◊Õ‡ÕÕ’’´’„πªï ªï 2558 π’È’ π——∫«àà“‡ªì ªìπ ∑—È ß ‚Õ°“ ·≈–§«“¡∑â “ ∑“¬¢Õߪ√–‡∑»‰∑¬„π°“√‡ªì π »Ÿ π ¬å ° ≈“ߢÕß¿“§∏ÿ √ °‘ ®·≈ ® ·≈– ¿“§Õÿμ “À°√√¡μà“ßÊ „π¿Ÿ¡‘¿“§Õ“‡´’¬π √«¡∂÷ßÕÿμ “À°√√¡π¡´÷Ë߇ªìπÕ’°Àπ÷ËßÕÿμ “À°√√¡ ∑’˪√–‡∑»‰∑¬¡’»—°¬¿“æ The ASEAN Economic Community (AEC) in 2015 is not only an opportunity, but also the challenge of Thailand for being the business and industrial hub of ASEAN. The Thai dairy industry, therefore, can seize the great opportunity of the upcoming AEC.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p23-25_Pro3.indd 23

23

11/21/13 10:43:11 PM


โคนมไทยตื่นตัวในการปรับปรุงคุณภาพน้ำนมโคตั้งแตตนน้ำจนถึงปลายน้ำ เพื่อพัฒนายกระดับ คุณภาพน้ำนมดิบใหทัดเทียมกับมาตรฐานนมตางประเทศ รวมทั้งลดตนทุนการผลิตและพัฒนา ผลผลิตตอตัวตอวันใหไดสูงมากขึ้น ทำใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น ซึ่งจะชวยปกปองธุรกิจฟารมโคนม และผลักดันอุตสาหกรรมน้ำนมโคของไทยใหแขงขันไดเมื่อมีการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในป 2558 กลุมบริษัทดัชมิลลยังไดพัฒนาความรวมมือกับหนวยงานภาครัฐในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ ไดแก กรมปศุสัตว กรมสงเสริมสหกรณ และองคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย (อ.ส.ค.) ภายใตบันทึกขอตกลงความรวมมือการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมโคเพื่อเตรียม ความพรอมสูเออีซี ทั้งนี้ ขอตกลงตางๆ ไดเริ่มตนดำเนินการทันทีไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2558 ซึ่งเปนกำหนดเริ่มตนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีวัตถุประสงคของความรวมมือ คือ รวมกัน พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมในฟารมโคนมในดานปริมาณและคุณภาพ รวมทั้งมีมาตรฐาน การผลิตน้ำนมที่ดีใหสามารถแขงขันกับนมจากตางประเทศไดเมื่อเขาสูเออีซี

เปาหมายแหงการพัฒนาอยางยั่งยืน ขอตกลงความรวมมือในครั้งนี้ครอบคลุมการดำเนินการนำรองโครงการในกลุมเกษตรกรฟารมโคนมที่เขารวมคอนแทรคฟารมมิ่งกับดัชมิลลรวมทั้งสิ้น 3,587 ฟารม จากศูนยรับน้ำนมดิบ 18 แหง สหกรณ/ศูนยรวบรวมน้ำนมโคที่สงนมใหแกกลุมบริษัทดัชมิลล โดยไดกำหนดเปาหมายขอตกลง ความรวมมืออยางชัดเจนใน 4 ดาน ไดแก 1. พัฒนาปริมาณผลผลิตน้ำนมดิบ/ตัว/วัน ใหเพิ่มขึ้นจาก 13 กิโลกรัม เปน 15 กิโลกรัม ภายใน 3 ป 2. พั ฒ นาคุ ณ ภาพน้ ำ นมโคให มี จ ำนวนเซลล โ ซมาติ ก ไม เ กิ น 500,000 เซลล / มิ ล ลิ ลิ ต ร และแบคทีเรียไมเกิน 500,000 โคโลนี/มิลลิลิตร 3. ศูนยรวบรวมน้ำนมทุกศูนยในพื้นที่ดำเนินการผานการรับรองมาตรฐาน GMP 4. พัฒนาฟารมเกษตรกรที่ผานการรับรองมาตรฐาน GAP ใหเพิ่มขึ้นเปนไมนอยกวารอยละ 70 บันทึกขอตกลงความรวมมือการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตน้ำนมโคระหวางกระทรวงเกษตรและสหกรณและกลุมบริษัทดัชมิลลในครั้งนี้จะชวยเตรียมความพรอมใหกับเกษตรกรฟารมโคนม และยกระดับมาตรฐานศูนยรวบรวมน้ำนมใหสามารถแขงขันกับตางประเทศได สอดคลองกับ นโยบายสมารทฟารมเมอร (Smart Farmer) ซึ่งเปนนโยบายสำคัญที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ กำลังเรงขับเคลื่อนเพื่อใหเกษตรกรไทยเปนมืออาชีพและพึ่งตนเองไดอยางแทจริงจนสามารถ แขงขันกับประเทศเพื่อนบานไดเมื่อมี

Mr. Pornchai Sawadsuksobchai, Vice President of Dutch Mill Group, said that Dutch Mill Group has focused on empowering development of Thailand’s dairy industry and commit itself to continuous development of quality dairy products. In particular, the Group actively builds Thai dairy farmers’ awareness about the need for improvement of milk quality by promoting efficient production from upstream to downstream, which will ensure that the quality of raw milk is on par with international standard while farming cost is reduced and milk yields per day is increased. As a consequence, dairy farmers will enjoy higher income, resulting in strengthened dairy farming business overall and greater competitiveness of Thai dairy industry when AEC begins in 2015. In the most recent move, Dutch Mill Group today entered an MOU with three government agencies under supervision of the Ministry of Agriculture and Cooperatives the Department of Livestock Development, the Cooperative Promotion Department and the Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (DPO) - to jointly increase the efficiency of dairy farming production ahead of AEC. All agreements under this MOU take effect immediately and the works will be carried out towards the scheduled commencement of AEC on 31 December 2015. It is a collaborative effort to increase dairy farming efficiency both in terms of productivity and quality, as well as to facilitate high standard dairy production for greater competitiveness against imported dairy products when AEC begins.

The Aim of Sustainable Development The collaborative agreement includes implementation of a pilot project among 3,587 dairy farms that join Dutch Mill’s contract farming programme through 18 cooperatives Milk Collection Centers that supply raw milk to Dutch Mill Group. Four objectives of the collaboration are clearly stated in the MOU: 1. To increase raw milk productivity from 13 kg/cow/day to 15 kg/cow/day within 3 years 2. To improve milk quality by keeping somatic cell count below 500,000 cells/ml and bacterial colony count below 500,000 colonies/ml 3. To achieve GMP certification for all the milk collection centers 4. To achieve GAP certification for at least 70% of all the contracted dairy farms. The MOU for collaborative ve development of dairy production efficiency by the

Need to Know Tripartite Raw Milk Development Dutch Mill has set up a special unit called “Dutch Mill Dairy Farm” to provide farming support to dairy farmers. The unit has initiated a “Tripartite Raw Milk Development” programme to promote farming operation in three key areas: 1) support industry standardization of dairy farms; 2) support increase of raw milk productivity to more than 13 kg/cow/day; and 3) support quality improvement of raw milk.

24

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p23-25_Pro3.indd 24

11/21/13 10:43:13 PM


Need to Know The Cooperation Department of Livestock Development: Provide expert advice and training in forage management, prepare dairy herd management training (using DHI computer program), send mobile units to provide dairy farming support to farmers in coverage areas, and provide expert advice and training to dairy farmers to help their farm achieve GAP standard certification. The Cooperative Promotion Department: Plan the funding support for cooperatives to help dairy farmers upgrade their farming operation to GAP standard. The Dairy Farming Promotion Organization of Thailand (DPO): Hold training courses for new dairy farmers and

advanced training courses for existing dairy farmers. Dutch Mill Group: Ensure cooperatives that milk collection centers will have milk quality inspection at least four times a month, send company’s team to support farmer care activities, and involve in staff development of milk collection centers. In addition, Dutch Mill Group will also offer higher buy-in price for raw milk supplied by cooperative/milk collection centers that achieve the preset objectives.

การเป ด ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน “นอกเหนื อ จากการยก ระดับผลผลิตและเพิ่มปริมาณ การผลิ ต น้ ำ นมโคคุ ณ ภาพใน กลุ ม เกษตรกรฟาร ม โคนม ชาวไทย เพื่อพรอมแขงขันกับ นมจากตางประเทศแลว กลุม บริ ษั ท ดั ช มิ ล ล ยั ง ให ค วามสำคั ญ กั บ การส ง เสริ ม การบ ริ โ ภ ค แ ล ะ ใ ห ค ว า ม รู แ ก ประชาชนให ท ราบถึ ง ความแตกตางระหวางนมคุณภาพดี และนมสดทั่วไป เพื่อใหผูบริโภค สรางอุปสงคภายในประเทศใน การเลือกนมโคสดที่มีคุณภาพ สู ง ซึ่ ง เกษตรกรโคนมและ ทุ ก ฝ า ยที่ เ กี่ ย วข อ งจะได รั บ ประโยชน จ ากการยกระดั บ คุณภาพนม” คุณพรชัย กลาว ทิ้งทาย

Ministry of Agriculture and Cooperatives and Dutch Mill Group will help prepare dairy farmers and upgrade the standard of milk collection centers, which will empower them to compete against international peers. It conforms with the Smart Farmer policy implemented by the Ministry of Agriculture and Cooperatives as a key policy to equip Thai farmers with true professionalism and selfdependability so that they can compete with neighbouring countries when AEC begins in 2015. “In addition to our effort to increase productivity and milk quality of local dairy farmers for competitiveness against imported dairy products, Dutch Mill also prioritizes works to build public awareness about differences between quality milk and ordinary milk. This is to promote consumers’ preference and thicken the demand for quality milk, so dairy farmers and all the stakeholders will benefit from the upgraded milk quality.” Mr. Pornchai concluded.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013 FF#93_ad inter_Pro3.indd 25

FF#93_p23-25_Pro3.indd 25

25

11/23/13 8:51:41 PM

11/23/13 8:53:00 PM


SURF THE AEC

เอื้อเฟอขอมูลโดย: ศูนยวิจัยกสิกรไทย Information Courtesy By: Kasikorn Research Center

Eyeing the RCEP Meeting in 2013

ASEAN Summit

ASEAN Summit: เกาะติดความคืบหนา RCEP

„πªï 2556 π—∫‡ªìπªï·√°¢Õß°“√‡®√®“ ç°√Õ∫§«“¡μ°≈ßæ—π∏¡‘μ√∑“߇»√…∞°‘®√–¥—∫¿Ÿ¡‘¿“§ (Regional Comprehensive Economic Partnership; RCEP) ´÷Ëß≈à“ ÿ¥„π«“√–°“√ª√–™ÿ¡ ASEAN Summit 2013 √–À«à“ß«—π∑’Ë 9-10 μÿ≈“§¡ 2556 ≥ ª√–‡∑»∫√Ÿ‰π ‰¥â¡’°“√ª√–™ÿ¡ RCEP Summit ‡æ◊ËÕμ‘¥μ“¡§«“¡§◊∫Àπâ“¢Õß°“√ª√–™ÿ¡°√√¡°“√‡®√®“ RCEP ∑’Ë®—¥¢÷Èπ‰ª·≈â« 2 §√—Èß„πªïπ1’È The 2013 ASEAN Summit in Brunei Darussalam, 9-10 October, 2013, was the forum where the first “Regional Comprehensive Economic Partnership” (RCEP) Summit took place. Included on the agenda is a follow-up to the RCEP Trade Negotiating Committee (RCEP-TNC) that has met twice this year prior to the summit1.

ากผลการประชุ ม ความคื บ หน า ล า สุ ด สรุ ป ได ว า กรอบ RCEP จะมุ ง ไปสู ก ารเป ด ตลาดในขอบข า ยและเงื่ อ นไขเดี ย วกั น แก สมาชิ ก ทุ ก ประเทศ เน น หนั ก การเป ด ตลาดการค า ที่ ก ว า งขึ้ น กวาระดับการเปดตลาดระดับ ASEAN +1 ของทั้ง 6 คูเจรจา (ไดแก จีน ญี่ปุน เกาหลีใต อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด) โดยจะเรงสรุปผล การเจรจาภายในป 2558 เพื่อกาวสูการเปดเสรีในป 2559 แมกาวยาง การเจรจายั ง อยู ใ นระยะเริ่ ม แรก แต ต ลาด RCEP ในขณะนี้ มี บ ทบาท ตอไทยอยางมาก ทั้งในแงของการเปนตลาดและแหลงลงทุนที่สำคัญ และ ทวี ค วามสำคั ญ มากขึ้ น ด ว ยศั ก ยภาพด า นขนาดเศรษฐกิ จ ใหญ ถึ ง 26

T

he most recent meeting concluded that the RCEP framework would be aimed at achieving trade partnerships among participating countries within consistent scope and conditions to attain uniformly equitable practices. Focus will be on broader and deeper engagement into liberalization than previously discussed with ASEAN+1 dialogue partners (that comprise China, Japan, South Korea, India, Australia and New Zealand). Framework negotiations have been scheduled to wrap up by 2015 in time for liberalization scheduled for 2016. While negotiations are still in the early stages, RCEP markets are playing an important role in trade and investment for Thailand. Growing significance can be expected, given an aggregate economic size of 28 percent of global GDP and combined population of 3.3 billion, or one half of the world’s total. Thailand at

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p26-31_Pro3.indd 26

11/23/13 10:29:45 PM


ร อ ยละ 28 ของ GDP โลก เพิ่ ม น้ ำ หนั ก ความน า สนใจให แ ก ซี ก โลก ฝงตะวันออกมากขึ้น อีกทั้งยังเปนตลาดที่มีจำนวนประชากรราวครึ่งโลก ดวยจำนวนสูงถึง 3,300 ลานคน ซึ่งความคืบหนาในการโยงใยเศรษฐกิจ ระหว า งกั น ของ 16 ประเทศสมาชิ ก นั บ เป น โอกาสที่ ไ ทยควรติ ด ตาม ต อ เนื่ อ งเพื่ อ สร า งประโยชน จ ากกรอบการรวมกลุ ม เศรษฐกิ จ ใหญ อันดับตนๆ ของโลกนี้

RCEP…ปลายทางการสงออกครองสวนแบงสูงถึง รอยละ 57 ของการสงออกรวมของไทย หากเปรี ย บเที ย บกรอบการค า เสรี ข องไทยที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น จะพบว า กรอบการคาเสรีอาเซียนที่จะเขาสู AEC เปนการเปดตลาดครอบคลุมที่สุด ของไทย ขณะที่ ก รอบการค า เสรี อ าเซี ย น-จี น ก็ เ ป น อี ก ด า นที่ ช ว ย สานสัมพันธระหวางเวทีอาเซียนกับคูภาคีทั้ง 6 ไดแนบแนนที่สุดเชนกัน มี ก ารเป ด ตลาดสิ น ค า ได ค รอบคลุ ม มากกว า กรอบอาเซี ย นกั บ คู เ จรจา ทั้ง 6 ประเทศ โดยตอยอดเปน RCEP ไดผสานหลายมิติในการเขาถึง ตลาดเข า ร ว มเป น ประเด็ น การเจรจา อาทิ การลดอุ ป สรรคทางการค า การบริ ก าร การลงทุ น รวมถึ ง นโยบายการแข ง ขั น และประเด็ น ด า น ทรัพยสินทางปญญา จึงทำให RCEP มีนวัตกรรมการเปดเสรีการคาที่นาสนใจ สมาชิกทั้ง 16 ประเทศที่รวมเจรจา RCEP มีบทบาทชวยเกื้อกูลภาคการสงออกของไทยมาโดยตลอด ซึ่งคอยๆ ขยับน้ำหนักความสำคัญขึ้นมา จนสูงเกินกวาครึ่งหนึ่งของมูลคาการสงออกไทยที่ไปยังตลาดโลกตั้งแตป 2550 เปนตนมา และไดแรงหนุนการทยอยเปดเสรีระหวางอาเซียนกับ คูเจรจาแตละประเทศเปนนับตั้งแตป 2553 ผลักดันสัดสวนการสงออก เพิ่มขึ้นสูงแตะรอยละ 57 ในปจจุบัน ซึ่งการกระชับความสัมพันธในกรอบ การคา RCEP รวมกันอยางเปนทางการในระยะขางหนานาจะเอื้อประโยชน แกผูประกอบการไทยอยางนาจับตา โดยในภาพรวมการสงออกของไทยไป RCEP ในชวง 8 เดือนแรกของป 2556 มีมูลคา 87,312 ลานเหรียญสหรัฐ ขยายตัวรอยละ 3.0 เมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอน (YoY) ยังคง เติบโตคอนขางดีเมื่อเทียบกับภาพรวมของไทยเติบโตเพียงรอยละ 1.0 (YoY) เนนย้ำการเปนตลาดที่สำคัญยิ่งของไทยสำหรับสินคาสวนใหญท่ี ส ง ออกไป RCEP โดยเฉพาะรถยนต / ส ว นประกอบ น้ ำ มั น สำเร็ จ รู ป

this point should closely observe the progress of economic networking among 16 RCEP member states to explore new opportunities from this framework, which is one of the world’s largest economic blocs.

RCEP...Export Destinations that Occupy 57 Percent of Thailand s Outbound Trade Trade liberalization under the forthcoming AEC will be Thailand’s most comprehensive trade framework. Currently, the ASEAN-China FTA is the closest bond, among ASEAN FTAs with its six partners, with the largest coverage. These FTAs will serve as a strong foundation for advanced negotiations in various matters, particularly, the elimination of barriers for trade in goods; trade in services, and investments, as well as competition policy and intellectual property issues, which will be an innovative feature for RCEP. Participating RCEP countries are significant to Thailand in that they represent export markets and investment sources, tourism and particularly international trade, all of which are gaining momentum. The key to a brighter outlook will be a gradual liberalization between ASEAN members and their dialogue partners that began in 2010, currently boosting our exports to RCEP members to as much as 57 percent of our overall global trade. During 8M13, Thai shipments to these nations totaled USD 87.31 billion, growing 3.0 percent YoY – a relatively good performance compared to our overall outbound trade that gained only 1.0 percent YoY. Primary products to RCEP countries include autos and parts, petroleum products, plastic resins, computers and parts, rubber, rubber products, steel, machinery and circuit boards.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013 FF#93_ad Arcadia _Pro3.indd 2 FF#93_p26-31_Pro3.indd 27

27 11/13/13 5:03:11 PM

11/23/13 10:30:37 PM


เคมี ภั ณ ฑ เม็ ด พลาสติ ก คอมพิ ว เตอร / ส ว นประกอบ ยางพารา ผลิ ต ภั ณ ฑ ย าง เหล็ ก เครื่ อ งจั ก รกล และ แผงวงจรไฟฟา เปนตน แนนอนวา “อาเซียน” และ “จีน” ซึ่งเปนสมาชิกใน กลุม RCEP ลวนมีบทบาทสำคัญตอไทยอยางมาก ดวย ศั ก ยภาพการเป น ทั้ ง กลุ ม เศรษฐกิ จ และตลาดส ง ออก สำคัญอันดับ 1 ของไทยในปจจุบัน ซึ่งเมื่อมองยอนกลับ มาจะพบวากุญแจสำคัญที่ชวยหนุนนำการขยายการคา ในตลาดอาเซียนและจีน ลวนมาจากการเปดเสรีภายใต กรอบการคาอาเซียนและกรอบการคาเสรีอาเซียน-จีน เสริ ม ให ทั้ ง สองตลาดมี ค วามโดดเด น มากขึ้ น เรื่ อ ยมา ดังนั้น เมื่อกรอบ RCEP บรรลุเปาหมายในการเปดตลาด ระหวางกัน ก็นาจะเอื้ออานิสงสตอการคาของไทยกับ ประเทศเหลานี้เหนียวแนนยิ่งขึ้นดวย แมจะยังไมถึงป 2559 ที่เปนปเปาหมายของการ เปดตลาด RCEP แตในปจจุบันสินคาไทยหลายรายการ Source: Ministry of Commerce ก็ พึ่ ง พา RCEP เป น ตลาดส ง ออกหลั ก ที่ ส ำคั ญ Among participating RCEP countries, ASEAN and China are ดวยสัดสวนถึงกวารอยละ 80 ของการสงออกในแตละรายการ อาทิ น้ำมันplaying very important roles as the key economic bloc and also our top export destinations. Trade liberalization under the frameworks สำเร็ จ รู ป เคมี ภั ณ ฑ ผลิ ต ภั ณ ฑ มั น สำปะหลั ง เครื่ อ งปรั บ อากาศ/ of ASEAN and China-ASEAN FTA has held the key to spur trade สวนประกอบ เครื่องดื่ม ทองแดง ปูนซีเมนต เนื้อปลาสดแชเย็น/แชแข็ง performances of both sides. With the RCEP target achieved, Thailand’s trade with these countries will flourish further. แร ยิ ป ซั ม นม/ผลิ ต ภั ณ ฑ เป น ต น โดยมี ป จ จั ย สนั บ สนุ น หลั ก มาจาก Although the RCEP conclusion is scheduled for 2016, an array การเติบโตขององคประกอบเศรษฐกิจภายในของแตละประเทศ ทั้งจาก of Thai products are already dependent on these markets, for as การขยายตัวของการบริโภคและการลงทุนของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะ much as 80 percent of total value of various commodities, such as refined petroleum products, chemical products, tapioca products, air ตลาดอาเซียนที่เปนแรงดึงหลักในขณะนี้รวมถึงออสเตรเลียและนิวซีแลนด conditioners/parts, beverages, copper, cement, fresh chilled/frozen ที่ยังคงขยายตัวอยู แมวาบางประเทศจะชะลอตัวตามเศรษฐกิจโลกก็ตาม fish meat, gypsum, and milk/products. Key underlying factors include rising consumption and investment of these countries, in particular หากมองไปในระยะข า งหน า เมื่ อ รวมตั ว กั น เป ด ตลาดกว า งขึ้ น ในป the ASEAN bloc which is now the major driver, as well as Australia 2559 นอกจากประเด็ น ด า นการค า แล ว ประเด็ น ด า นอื่ น ๆ น า จะได รั บ and New Zealand where an economic uptrend has prevailed. These growing trends are witnessed amid some slowdown indicators in the อานิสงสจากการเปดตลาดลดอุปสรรคทั้งดานการลงทุน การคาสินคา global economy. บริการตางๆ ตามมา อันจะชวยขับเคลื่อนความสัมพันธทางเศรษฐกิจ Going forward, a greater scope of liberalization in 2016 will not only benefit the trade sector, certain trade in services and investment ระหวางไทยกับประเทศสมาชิกในกลุมไดสูงขึ้น ซึ่งขณะนี้ RCEP นับวา barriers will be lifted as well. These changes are expected to improve เป น ที่ ม าของเม็ ดเงิน ลงทุ น มหาศาลของไทย อี กทั้งยัง สรา งรายได จ าก Thailand’s economic relationships with the rest of the bloc, which will become an important source of revenues, as well as improving การทองเที่ยวแกไทยไมนอย tourism.

28

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p26-31_Pro3.indd 28

11/22/13 1:45:42 PM


NEED TO KNOW Negotiations within the RCEP initiative are aimed at achieving trade partnerships among participating countries which maintain a consistent scope and equitable conditions to attain uniform practices. Progress has been most satisfactory in areas concerning free trade with the launch of a working group overseeing regulations over product origins, customs procedures and trade facilitation. A more concrete basis for liberalization is expected to be reached in the third round of the RCEP Trade Negotiating Committee (RCEPTNC), to be convened in January 2014 in Malaysia.

เม็ ด เงิ น จาก RCEP สร า งทั้ ง การจ า งงานและ หนุนนำรายไดสูทองถิ่น การเปดตลาด RCEP ในระยะขางหนาจะเอื้อประโยชนแก นั ก ลงทุ น ต า งชาติ ส ามารถเดิ น หน า ขยายการลงทุ น ใน ประเทศสมาชิก เคลื่อนยายปจจัยการผลิตระหวางสมาชิก ในกลุมไดโดยสะดวก ผลักดันเครือขายการผลิตในภูมิภาค มีความแข็งแกรงมากยิ่งขึ้นจากปจจุบันที่ประเทศในกลุม RCEP ก็มีความสำคัญตอเศรษฐกิจไทยในฐานะนักลงทุน และแหลงรายไดจากการทองเที่ยวที่สำคัญไมนอย • การเจรจา RCEP มีแนวทางครอบคลุมการลงทุน อันจะชวยเสริมความสัมพันธกับไทยชัดเจนมากขึ้น จากที่ สมาชิ ก RCEP มี บ ทบาทการลงทุ น ในไทยสู ง ถึ ง ร อ ยละ 66.8 ของการลงทุนจากตางประเทศในไทย มีมูลคาสูงถึง 3.49 แสนลานบาท (จากยอดอนุมัติการลงทุนผานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ในชวง 8 เดือนแรก ของป 2556) โดยเฉพาะญี่ปุนที่เปนนักลงทุนรายสำคัญมา ชานาน ครองสัดสวนถึงรอยละ 55 จางแรงงานไทยกวา 6 หมื่นคน ตามมาดวยนักลงทุนอาเซียนครองสวนแบงถึง รอยละ 9.3 (มาเลเซีย และสิงคโปร ตามลำดับ) สำหรับ นั ก ลงทุ น จี น แม ว า จะมี สั ด ส ว นไม สู ง นั ก เพี ย งร อ ยละ 1.1 แตยอดการขอรับการสงเสริมการลงทุนที่เพิ่มขึ้นตอเนื่อง สะท อ นความสนใจของนั ก ลงทุ น จี น ในไทยที่ มี แ นวโน ม ขาขึ้น • การเดินทางทองเที่ยวมายังไทยคึกคัก สรางรายได กวา 3.8 แสนลานบาท ในชวง 8 เดือนแรกของป 2556 ขยายตัวรอยละ 28 (YoY) สอดคลองกับมียอดนักทองเที่ยว ที่เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 27 (YoY) จำนวนนักทองเที่ยวแตะกวา 11.7 ลานคน คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 63.5 ของนักทองเที่ยว ทั้งหมดที่เดินทางมายังประเทศไทย ซึ่งในระยะขางหนา นักทองเที่ยวจาก RCEP มีแนวโนมเติบโตตามภาพการคา และการลงทุ น ส ว นหนึ่ ง เป น การเดิ น ทางมาติ ด ต อ ธุ ร กิ จ ในไทยดวย ในระยะขางหนากลุมนักทองเที่ยวกลุมดังกลาว นาจะมีบทบาทตอการทองเที่ยวของไทยเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ นักทองเที่ยวจีนที่ขณะนี้คึกคักอยางนาจับตา ซึ่งไดอิทธิพล

Intertek is

A SQA Audit Provider Accepted By Our Service • • • • • • • • • •

Agricultural Testing Food Testing Food Inspection Food Certification Food Auditing Food Advisory Food Packaging Testing Food Physical Safety Analysis Food Service Equipment Food Training Service

Valu ue Quality y.

Deliivered. Intertek Industry and Certification Services (Thailand) Limited

539/2 Gypsum Metropolitan Tower, 11C Floor Sri Ayudhya Road, Tanon Phayathai Sub-district, Ratchathewi, Bangkok 10400 Tel.: (66 2) 248 1817 (auto) Fax.: (66 2) 248 5707 (auto) E-mail: weeraya.ponrat@intertek.com website: www.intertek.co.th Food Focus Thailand

FF#93_Intertek_Pro3.indd 35

FF#93_p26-31_Pro3.indd 29

29

DECEMBER 2013 5:22:11 PM 11/13/13

11/22/13 1:45:48 PM


NEED TO KNOW The RCEP member group is now Thailandûs largest trade partner bloc, holding 57 percent of our total exports, with ASEAN, China and Japan being our key trade allies. Going forward, successful RCEP negotiations for a broader market network will eventually benefit our commercial relationships with these countries.

จากกระแสวั ฒ นธรรมไทยผ า นทางละครและ ภาพยนตร น อกจากนี้ ทางการไทยอนุญาตให 10 ประเทศในกลุม RCEP เดินทางมาทองเที่ยว ในไทยโดยไมตองขอวีซา ก็อาจมีสวนชวยสนับสนุนการทองเที่ยวไดอีก ทางหนึ่ง อาทิ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ญี่ปุน เกาหลีใต บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปร และเวียดนาม เปนตน โดยสรุป การเจรจาการคา RCEP แมจะยังไมเปดเสรีอยางเปนทางการ แตในความเปนจริงแลวกรอบดังกลาวที่ตอยอดจากอาเซียนกับคูเจรจา ก็ไดเปดเสรีในดานการคาไปแลว จึงชวยเสริมภาพความสำคัญดานการคา ของไทยกับประเทศในกลุมประจักษชัดเจนเรื่อยมา ศูนยวิจัยกสิกรไทย มองว า ในระยะจากนี้ ไ ปประเทศกลุ ม RCEP จะทวี ค วามสั ม พั น ธ เ ชิ ง เศรษฐกิจกับไทยในลักษณะเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะในดานการคาคาดวา ในป 2556 นาจะเติบโตที่รอยละ 2.5 แตะมูลคากวา 1.31 แสนลานเหรียญสหรัฐ โดยมีกรอบประมาณการอยูที่รอยละ 1.7-3.2 มูลคาการสงออก 1.30-1.32 แสนลานเหรียญสหรัฐ

Job Creation and Income Distribution to Local Areas...Following RCEP Liberalization If this comprehensive agreement under RCEP can be reached, it will promote easier FDI flows and movements of production factors, further empowering the industrial networks within the bloc. Already important to Thailand, participating RCEP countries are active investors here and also tourism revenue sources. • Investment: The investment promotion of RCEP will promote FDIs in Thailand, given that investors from these countries are holding 66.8 percent of total FDIs in the country, registering an aggregate value of THB 349 billion (for BOI-approved projects over the first eight months of 2013). Among such investors, Japan has been at the top for a long time, with a share of 55 percent and hiring over 60,000 workers. ASEAN investors come second and third, representing 9.3 percent of the total: (Malaysia and Singapore, respectively). China has a minimal share of 1.1 percent only, but the number of BOI investment promotion applications has been on a constant rise, signifying an uptrend of Chinese investors’ interest in Thailand. • Tourism: The tourism revenues from this bloc amounted to THB 380 billion over the first eight months of this year, up 28 percent YoY, which was consistent with the number of visitors that surged 27 percent YoY to 11.7 million. These tourists made up for 63.5 percent of total foreign visitors to Thailand. In the future, more RCEP tourists and business persons coming to Thailand should be anticipated, following expanding trade and investment. This group of visitors should contribute more to Thailand’s tourism sector. Notably, more Chinese tourists are coming to Thailand, stimulated by exposure to Thai culture via TV dramas and films. In addition, visa requirements have been exempted for the ten RCEP member countries to travel in Thailand, namely Australia, New Zealand, Japan, South Korea, Brunei, Indonesia, Malaysia, the Philippines, Singapore and Vietnam.

Source: BOI, Department of Tourism

30

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p26-31_Pro3.indd 30

11/22/13 1:45:55 PM


NEED TO KNOW Although in an early stage of liberalization, the RCEP framework will become another significant economic arena for Thailand, in terms of trade and investment. For 2013, KResearch projects our exports to RCEP markets will reach USD 130-132 billion, or a growth rate 1.7-3.2 percent YoY that outpaces the overall exports of the country.

Although the RCEP liberalization is not yet realized, this framework is based on the existing FTAs between ASEAN and its partners, under which trade performances have been active. KResearch expects supportive partnerships between RCEP nations and Thailand, especially with respect to trade. Overall for 2013, our exports to these destinations are projected to rise 2.5 percent YoY to reach USD 131 billion, or within a range of 1.7-3.2 percent YoY and equivalent to a value of USD 130-132 billion. Looking ahead, the liberalization of investment, trade in services, etc., should proliferate in 2016, and would thus help fortify economic relationships between Thailand and RCEP countries in various aspects. Japan will likely continue to be our most substantial investor, while China, apart from its significant role in trade, will make sizable investments too, pushing for a closer economic and trade ties between RCEP and Thailand.

นอกจากนี้ในระยะขางหนาการขยายการเปดตลาด ไปในสวนของการลงทุน การบริการ และดานอื่นๆ จะ เปดกวางขึ้นตามมาในป 2559 เปนที่แนนอนวากรอบการคาที่มีขนาดใหญขึ้นยอมชวยกระชับความสัมพันธ ทางเศรษฐกิ จ ของไทยกั บ ประเทศสมาชิ ก ในหลาย แง มุ ม ที่ ยั ง คงต อ งติ ด ตามอย า งใกล ชิ ด โดยมี ญี่ ปุ น คงบทบาทด า นการลงทุ น ชั ด เจนสร า งเม็ ด เงิ น อย า ง ตอเนื่อง ในขณะที่จีนนอกจากจะมีความสำคัญดาน การค า แล ว ยั ง เร ง เครื่ อ งการลงทุ น อย า งน า จั บ ตา ผลักดันความสัมพันธทางเศรษฐกิจและการคาระหวาง ไทยกับสมาชิก RCEP เพิ่มสูงขึ้น

ขอมูลเพิ่มเติม/Additional Information 1 การดำเนินการเจรจาในกรอบ RCEP จะดำเนินผานการประชุม คณะกรรมการเจรจา RCEP (RCEP-TNC) ที่เปนคณะทำงานหลัก ซึ่งจัดขึ้นหลายครั้งในแตละป แลวจะมีการรายงานความคืบหนาในการประชุม RCEP Summit แตละป 1

RCEP negotiations are conducted in the RCEP-TNC, the core working group. Negotiations are held several times a year and their outcomes are reported at the annual RCEP Summit.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p26-31_Pro3.indd 31

31

11/22/13 1:46:02 PM


SCOOP

โดย: ดร. พรศรี เหลารุจิสวัสดิ์ รองกรรมการผูจัดการ บริษัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) pornsril@yahoo.com By: Dr. Pornsri Laurujisawat Vice President CPF (Thailand) Public Company Limited pornsril@yahoo.com

Prosperity shift to

Asia

Thailand’s Opportunities to become “Kitchen of the World”

ความเจริญกำลังเคลื่อนยายมาทางเอเชีย โอกาสที่ไทยจะเปนครัวของโลก °“√‡®√‘≠‡μ‘∫‚μμà“ßÊ °”≈—߬⓬¡“∑“ß·∂∫‡Õ‡™’¬¡“°¢÷Èπ ‡æ◊Ë Õ „Àâ ‡ ÀÁ π ¿“æ°“√‡ª≈’Ë ¬ π·ª≈ߥ— ß °≈à “ «®÷ ß ¢Õ«‘ ‡ §√“–Àå ºà “ πμ— « ™’È «— ¥ 2 √Ÿ ª ·∫∫ ‰¥â · °à μ— « ™’È «— ¥ ∑“߇»√…∞°‘ ® ¿“æ√«¡ ·≈–μ—«™’È«—¥º≈°“√¥”‡π‘π∏ÿ√°‘®

32

Business growth has been shifting to Asian region; more specifically, two indicators will be analyzed which are overall economic indicators and business operation indicators.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p32-37_Pro3.indd 32

11/22/13 1:21:29 AM


ตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจภาพรวม ในขณะที่ ส หรั ฐ อเมริ ก าและยุ โ รป ซึ่ ง มี ป ระชากรรวมกั น เพี ย ง 1,000 กวาลานคน กำลังเผชิญวิกฤติอยูนี้ เอเชี ย ซึ่ ง มี ป ระชากรกว า 4,300 ลานคน กำลังกาวเขาสูยุคเศรษฐกิจ ที่ เ ติ บ โตขึ้ น และมี โ อกาสดี ยิ่ ง กว า สหรั ฐ อเมริ ก าและยุ โ รป สำหรั บ เศรษฐกิ จ โลกในอนาคตคาดว า จะมีแนวโนมมุงมาทางเอเชียมากขึ้น Joseph E. Stiglitz นั ก เศรษฐศาสตร ผู ไ ด รั บ รางวั ล โนเบลสาขา เศรษฐศาสตร ประจำป พ.ศ. 2544 ไดกลาวถึง “ขั้วอำนาจใหม” วาจะ เคลื่ อ นย า ยมาที่ เ อเชี ย เนื่ อ งจาก เอเชี ย มี ก ลุ ม เศรษฐกิ จ ที่ ใ หญ เช น จีน อินเดีย ญี่ปุน จากฐานประชากร มาก รวมทั้งการเติบโตทางเศรษฐกิจ ที่ ผ า นมาอยู ใ นระดั บ ที่ น า พอใจ สวนทางกับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา และยุโรปที่การเจริญเติบโตถดถอย ลง นั บ ว า ประเทศในกลุ ม เอเชี ย มีศักยภาพการเติบโตในระดับสูง หากเปรี ย บเที ย บอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ (GDP Growth Rate) ในระยะ 10 ปมานี้ พบวากลุมประเทศยุโรปและสหรัฐอ เ ม ริ ก า อ ยู ใ น ช ว ง ช ะ ล อ ตั ว โดยเติ บ โตไม ถึ ง ร อ ยละ 3 สวนทาง กั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย โดยเฉพาะจี น ที่ขยายตัวสูงมากกวารอยละ 8-14 ตอป

เปรียบเทียบการเติบโต ทางเศรษฐกิจ การลงทุน – แมวาการไหลเขา-ออก ของเงินทุนยังคงอยูที่สหรัฐอเมริกา และยุ โ รปเป น ส ว นใหญ แต เ มื่ อ วิ เ คราะห ถึ ง การไหลเข า -ออกของ เงินทุนในป 2555 พบวา ในประเทศ ที่พัฒนาแลวมีอัตราเติบโตที่ลดลง อยางเห็นไดชัด แตกลับมีแนวโนม ที่ ดี ขึ้ น จากประเทศในเอเชี ย และ โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เมื่ อ วิ เ คราะห

Overall Economic Indicators Despite economic recession of the United States and Europe, with total population of 1,000 million citizens, Asia, with 4,300 million people, enjoys more promising economic growth and opportunities. World economy in the future is expected to shift to Asia. Joseph E. Stiglitz, the economist who won 2001 Nobel Prize in Economics has shared that “new power” is shifted to Asia according to extensive population base of major countries, including China, India, and Japan, as well as impressive economic growth. Unlike declining economic situation of the United States and Europe, Asian countries have shown significant growth potential. By comparing GDP Growth Rate of the last 10 years, the United States and Europe are in stagnation state with less than 3% growth, whereas Asia is growing continuously, especially China’s economy which grows more than 8-14% annually.

Economic Growth Comparison Investment – Major sources of world capital flow are the United States and Europe. However, capital flow of developed countries in 2012 was apparently declining while capital flow of Asia has been progressing. World investment is illustrated in Figure 1-2. Based on survey findings of 159 companies worldwide about potential for investment in 2013-2015, investors are most likely to settle in China at 46% and the United States at 45%. 5 Asian countries make their mark in top 10 and Thailand is in the 8th rank. (Figure 3) Consumer base – In 2013, there are about 4,300 Asian consumers, which account for Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p32-37_Pro3.indd 33

33

11/22/13 1:21:32 AM


In Flow

1

แนวโนมมูลคาการลงทุนเปรียบเทียบกับภาพการลงทุนทั่วโลก / Comparison of investment value and worldwide investment trend ที่มา/Source: UNCTAD survey, 2012 In Flow

2

Out Flow

Out Flow

แนวโนมสัดสวนการลงทุนเปรียบเทียบกับภาพการลงทุนทั่วโลก / Comparison of investment contribution and worldwide investment trend ที่มา/Source: UNCTAD survey, 2012

60% of world population (World and Asian consumers are likely to increase by 1% annually). Consumption demand – By using egg as indicator of consumption demand, supplies of world and Asian during last 10 years are increasing (approximately 2-3% per year). Asia contributes to 60% of world’s egg supplies and almost all are for domestic consumption. Purchasing power – Asian countries’ purchasing powers are rapidly increasing during last 10 years (Table 1 and Figure 4) and value of Thailand’s export to Asia or ASEAN countries is the key indicator of progress in purchasing power. Formerly, Thailand’s exports rely mainly on Europe and US markets but during last 10 years, Thailand apparently increases export volumes to ASEAN. (Figure 5)

$/person/year Singapore

Japan

China Thailand Indonesia India

3 34

ความนาสนใจที่จะเขาไปลงทุนในประเทศตางๆ ในป 2556-2558 / Potential for investment in each country, 2013-2015 ที่มา/Source: UNCTAD survey, 2012

4

แนวโนม GDP per Capita ของประเทศตางๆ ในเอเชีย ป 2534-2561 (หนวย $) / Trend of GDP per Capita in Asia, 1991-2018 (Dollar $) ที่มา/Source: IMF, 2013

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p32-37_Pro3.indd 34

11/22/13 1:21:32 AM


ตารางที่ 1 เปรียบเทียบกำลังซื้อของประเทศตางๆ ในเอเชีย ป 2556 / Table 1 Comparison of purchasing power in Asia, 2013 Countries

Singapore Japan Thailand China Indonesia India

Average purchasing power (Baht/person/month)

Population (million) GDP (billion$)

332 4,704 663 12,610 1,237 4,761

Total

Labor force

Total

Labor force

5.5 127 64 1,350 251 1,220

3.6 66 39 799 118 487

150,000 93,000 26,000 23,000 12,000 10,000

230,000 180,000 43,000 39,000 26,000 24,000

หมายเหตุ/Remark: กำลังซื้อเฉลี่ยเปนตัวเลขโดยประมาณ เพื่อใหเขาใจตัวเลขไดงาย / Average purchasing power is estimated to support analysis ที่มา/Source: CIA World Factbook, 2013

ตตั​ัวเลขข เปรี เปรี​ียบบเที เทียบบกักับภภาพการลงทุ าพการลงทุนททั​ั่วโโลกจะ ลกจะ เห เห็ห็นการเป การเปลี ปลี่ยนแปลงไดชัดเจน (รป (รูปทที​ี่ 1-2) จากการสำรวจธุ ร กิ จ ทั่ ว โลก 159 บริ ษั ท ตอความนาสนใจที่จะเขาไปลงทุนในประเทศตางๆ ในป 2556-2558 ขางหนาพบวานักลงทุนใหความสนใจประเทศจีนมากที่สุดรอยละ 46 รองลงมาคือ สหรัฐอเมริการอยละ 45 และเปนที่นาสังเกตวา 10 อันดับแรกนั้นเปนประเทศที่อยูในเอเชีย 5 ประเทศ และประเทศไทยเอง นักลงทุนยังใหความนาสนใจ อยูในลำดับที่ 8 (รูปที่ 3) จำนวนผูบริโภค – ป 2556 ประเทศในเอเชีย มีจำนวนผูบริโภคเอเชีย รวมเกือบ 4,300 ลานคน คิ ด เป น ร อ ยละ 60 ของประชากรทั้ ง โลก (ข อ มู ล ผูบริโภคทั้งของโลกและเอเชีย มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ทุกป เฉลี่ยรอยละ 1ตอป) ความตองการบริโภค – หากใชไขไกเปนตัวชี้วัด ปริ ม าณการบริ โ ภคจะพบว า ปริ ม าณการผลิ ต ไขไกทั้งของโลกและเอเชียในชวง 10 ปที่ผานมา มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกป (เฉลี่ยรอยละ 2-3 ตอป) โดยเอเชียมีปริมาณการผลิตไขไกประมาณรอยละ 60 ของการผลิ ต ไข ไ ก ข องโลก และเกื อ บทั้ ง หมด เปนการผลิตเพื่อบริโภคภายในประเทศ กำลั ง ซื้ อ – เมื่ อ เปรี ย บเที ย บกำลั ง ซื้ อ ของประเทศในเอเชียชวง 10 ปมานี้ พบวากำลังซื้อ ในเอเชียขยายตัวเร็วมาก (ตารางที่ 1 และรูปที่ 4) กำลั ง ซื้ อ ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อี ก มุ ม มองหนึ่ ง ดู ไ ด จ ากมู ล ค า การส ง ออกของไทยไปยั ง ประเทศในเอเชี ย หรืออาเซียน ในสัดสวนที่สูงขึ้นทุกป โดยในอดีต ไทยพึ่ ง พาตลาดในยุ โ รปและสหรั ฐ อเมริ ก า แต ใ นช ว ง10 ป มานี้ ไทยส ง ออกไปยั ง อาเซี ย น เพิ่มขึ้นอยางเห็นไดชัดจากรูปที่ 5

ÊÒÁÒö㪌 ã ¹§Ò¹à¡É º ÃÑ ¡ ÉÒÊÔ ¹ ¤Œ Ò ÃÐËÇ‹ Ò §ÃÍ¡ÒüÅÔ ÃÇÁ¶Ö § ¡Òâ¹Ê‹ § áÅСÒáÃШÒÂÊÔ ¹ ¤Œ Ò ·ÕÊ ¨ Ó໚ ¹ Œ Í §ä´Œ ÃÑ º ¡Òô٠á Š໚¹¾ÔàÈɼÅÔ ¨Ò¡ÇÑʴؤسÀÒ¾ÊÙ§´ŒÇ HDPE Grade & Hot Dip Galvanized «ÖʧÁÕ¤ÇÒÁÊÒÁÒö»‡Í§¡Ñ¹¡ÒÃà¡Ô´Ê¹ÔÁ áÅÐ »‡Í§¡Ñ¹ÊÔ¹¤ŒÒ¨Ò¡¤ÇÒÁàÊÕÂËÒ·ÕÊÍÒ¨à¡Ô´¢Ö˹ÃÐËÇ‹Ò§ÃÍ¡ÒüÅÔ ÍÕ¡·Ñ˧ÂѧÊÒÁÒöŴ Œ¹·Ø¹ÇÑÊ´Ø·ÕÊ㪌áŌǷÔ˧ ઋ¹ ¡Å‹Í§¡ÃдÒÉ ËÃ× Í ¾ÅÒÊ Ô ¡ Ë‹ Í ËØŒ Á ¹Í¡¨Ò¡¹ÕË ÂÑ § ÊÒÁÒö㪌 » ÃÐ⪹q ¨ Ò¡ »ÃÔ Á Ò Ã¤ÅÑ § ÊÔ ¹ ¤Œ Ò (Cubic Utilization) ä´Œ ÊÙ § ÊØ ´ ã¹·Ø ¡ ¡Ãкǹ¡Òâ¹Ê‹§¼ÅÔ ä´ŒÍ‹ҧ´ÕàÂÕÊÂÁÍÕ¡´ŒÇÂ

www.milfordibc.com

¢ŒÍ´Õ¢Í§ÊÔ¹¤ŒÒ 1. Å´¤‹Ò㪌¨‹ÒÂ㹡Òá‹ÍÊÌҧ Rack ËÃ×ͪÑ˹ÇÒ§ à¾ÃÒоÒàÅ·¢Í§àÃÒ ÊÒÁÒö«ŒÍ¹¡Ñ¹ä´Œà»š¹ªÑ˹Çҧ㹠ÑÇàͧ 2. ¾Ñº áÅЫŒÍ¹¡Ñ¹ä´Œ »ÃÐËÂÑ´¾×˹·ÕÊ ã¹¡ÒèѴ¡ÉºàÁ×ÊÍäÁ‹ä´ŒãªŒ§Ò¹ 3. Å´¤‹Ò㪌¨‹ÒÂÊÔ˹à»Å×ͧ¢Í§¾ÒàÅ·äÁŒ ¡Å‹Í§¡ÃдÒÉ à¾ÃÒаҹ໚¹¾ÒàÅ·ã¹ ÑÇ 4. Å´¤‹Ò㪌¨‹ÒÂÊÔ˹à»Å×ͧ¢Í§ Stretch Film ËÃ×Í ¿cÅqÁ¾ÅÒÊ Ô¡ãÊÂÖ´¾Ñ¹¾ÒàÅ· 5. â¿Å¤ÅÔ¿·q ËÃ×Í áι´qÅÔ¿·q ࢌÒä´Œ·Ñ˧ 4 ·ÔÈ·Ò§ 6. Å´¤ÇÒÁàÊÕʧ ‹Í¡ÒúҴà¨Éº¨Ò¡ ¡Òâ¹ÂŒÒ´ŒÇÂáç§Ò¹¤¹ 7. ἧ¡Ñ˹´ŒÒ¹¢ŒÒ§¨Ðá¡ÊÔ¹¤ŒÒÍÍ¡¨Ò¡¡Ñ¹ Å´¡ÒáÃÐá·¡ áÅзÓãËŒÁÑʹ㨠㹤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ¢ͧÊÔ¹¤ŒÒ·ÕÊÁÕ¤‹Ò 8. ¤Ø³ÊÁºÑ Ô㹡Òöʹá¡à¾×Ê;Ѻà¡Éºä´Œ (Collapsibility) ª‹ÇÂÅ´ Œ¹·Ø¹¤‹Ò à¡ÉºÃÑ¡ÉÒáÅФ‹Ò¢¹Ê‹§ ÊÒÁÒö»ÃСͺ ¢Ö˹ãËÁ‹ä´ŒÍ‹ҧÃÇ´àÃÉÇ 9. á»Å§¾ÒàÅ·ãˌ໚¹ ÙŒ¤Í¹à·¹à¹ÍÃq ËÃ×Í Rack ªÑ˹ÇÒ§à¡ÉºÊÔ¹¤ŒÒ 10. ÃͧÃѺ¡Òâ¹Ê‹§ÀÒÂã¹»ÃÐà·È áÅÐ ‹Ò§»ÃÐà·È

Milford (Thailand) Co., Ltd.

700/912 Moo 3 Amatanakorn Industrial Estate, Tambon Nongkhaka, Amphur Panthong, Chonburi 20160 Tel: 038-212 213 Fax: 038 212 212 Hot Line: 091 414 8770 Email: Salesth@milford.com FF#93_ad_Milford_Pro3.indd 57

Food Focus Thailand 11/23/13 9:31:09 PM

DECEMBER 2013

FF#93_p32-37_Pro3.indd 35

35

11/23/13 9:32:53 PM


Others EU USA Japan China Asian

2002

5

2007

2012

2013 (Jan-Jul)

สัดสวนการสงออกของไทยในรอบ 10 ป (2545-2556) / Contribution of Thailand’s export during last 10 years (2002-2013) ที่มา/Source: Ministry of Commerce, 2013 Electronics

Automative

Mass Communication

Bank

Petroteum Retail/Wholesale

6

อันดับ 1 ใน 4 ของ Top Brand ระดับโลก 2556 เปนแบรนดจากเอเชีย / One-fourth of world Top Brands in 2013 are Asian brands ที่มา/Source: The 100 most valuable brands (Brand Finance, 2013)

ตารางที่ 2 แบรนดติดอันดับในกลุมสินคาอาหารและเครื่องดื่มป 2556 Table 2 Top brands in 2013, Food and Beverage

36

United States (9)

United States (25)

United States (36)

Switzerland (40)

United Kingdom (41)

United States (100)

France (112)

Australia (113)

United States (116)

Belgium (134)

France (136)

United Kingdom (176)

United States (190)

United States (193)

United States (197)

Switzerland (229)

Japan (249)

Switzerland (268)

Switzerland (273)

United States (279)

United States (295)

United States (365)

United States (417)

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p32-37_Pro3.indd 36

หมายเหตุ/Remark: Number refers to ranking ที่มา/Source: World top brand (Brand Finance, 2013)

11/22/13 1:21:36 AM


ตัวชี้วัดผลการดำเนินธุรกิจ มี ค ำกล า วว า แบรนด (Brand) หรื อ ตราสิ น ค า ขององคกรตางๆ สามารถเพิ่มคาและลดคาได ขึ้นอยู กั บ ผลประกอบการต า งๆ ขององค ก รนั้ น ๆ ว า ได รั บ การยอมรับแคไหน ปจจุบันพบวา 1 ใน 4 ของ 100 แบรนดแรกของโลกเปนแบรนดของเอเชีย แสดงวา สิ น ค า และบริ ก ารต า งๆ จากองค ก รของชาวเอเชี ย เริ่มเปนที่ยอมรับของตลาดโลกเพิ่มขึ้น (รูปที่ 6) อย า งไรก็ ต าม เมื่ อ พิ จ ารณาถึ ง แบรนด ที่ อ ยู ในวงการสิ น ค า อาหารและเครื่ อ งดื่ ม (ตารางที่ 2) กลั บ เป น ที่ น า เสี ย ดายว า ยั ง ไม ป รากฏว า มี แ บรนด จากประเทศในเอเชียอยูในลำดับ 500 แบรนดแรก ของโลก ยกเวนแบรนด 7-eleven ซึ่งเปนผูจัดจำหนาย สินคาอาหารรายใหญในประเทศตางๆ ทั่วโลก ดังนั้นจึงเปนเรื่องนาสนใจที่จะหาคำตอบวาจาก แนวโนมการเปลี่ยนแปลงที่ดีดังกลาววาความเจริญ ต า งๆ กำลั ง เปลี่ ย นแปลงเคลื่ อ นย า ยมาทางเอเชี ย มากขึ้นนี้ ประเทศไทยซึ่งมียุทธศาสตรที่จะเปนครัวของ โลก จะไดรับประโยชนจากโอกาสนี้ไดอยางไร เรามี สินคาอาหารที่ตอบสนองพฤติกรรมผูบริโภคของชาวเอเชีย มากนอยเพิ่มขึ้นแคไหน และแบรนดของสินคาอาหาร จากไทยได รั บ การยอมรั บ จากชาวเอเชี ย ที่ อ ยู ใ น ประเทศตางๆ ของโลกแลวหรือยัง?

ขอมูลเพิ่มเติม / Additional Information บทความดั ง กล า วเป น บทความที่ ใ ช ป ระกอบการสอนวิ ช าสั ม มนาการตลาด Seminar in marketing หัวขอ International Marketing & Branding มหาวิทยาลัย เชียงใหม ซึ่งใครขอขอบคุณ รศ. ดร. จิราวรรณ ฉายสุวรรณ เปนอยางยิ่งที่กรุณา ให เ กี ย รติ แ ละโอกาสแก พ รศรี ใ นการมาสอนวิ ช าดั ง กล า ว และนำความรู ดั ง กล า ว มาถายทอดตอยังผูอานนิตยสาร ฟูด โฟกัส ไทยแลนด ทุกทาน The article is used for Seminar study in Marketing subject, International Marketing & Branding topic, Chiang Mai University. Highly appreciate opportunity from Assoc. Prof. Jirawan Chaisuwan that allows Pornsri to lecture this subject and share knowledge for readers of Food Focus Thailand.

Business Operation Indicators It is widely known that Brand values of products or companies can be increased or decreased depending on worldwide acceptance toward operating performance of such companies. Presently, one-fourth of top 100 brands of the world are Asian brands, representing strong recognition of products and services from Asian companies (Figure 6). By considering brands in Food and Beverage business (Table 2), however, Asian brands have no place in top 500 Brands of the world, except 7-eleven which is one of the key distributors of food supplies in the world. Based on the tendency that business developments have been driven to Asia region, it is widely discussed about how Thailand, as “Kitchen of the World”, deploys strategies to earn benefits from these opportunities, how efficiently food products of Thailand satisfy consumption needs of Asian people, and to what extent that Thai food brands are renowned by Asian people in each country worldwide.

is part of Sealed Air

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013 FF#92_ad_Diversey_Pro3.indd Sec1:24

FF#93_p32-37_Pro3.indd 37

37

10/11/13 2:27:07 PM

11/22/13 10:15:19 AM


SPECIAL TALK by FDA

โดย: สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข food@fda.moph.go.th By: Bureau of Food Food and Drug Administration Ministry of Public Health food@fda.moph.go.th

กฎระเบียบดานอาหารลาสุดที่มีผลบังคับใช… การปรับปรุงแกไขประกาศกระทรวงสาธารณสุขเกี่ยวกับ

ซัยคลาเมต หญาหวาน และสตีวิโอไซด Amendment to the Notification of the Ministry of Public Health related to Cyclamate, Stevia, and Stevioside μ“¡∑’˧≥–°√√¡°“√ºŸâ‡™’ˬ«™“≠«à“¥â«¬«—μ∂ÿ‡®◊ÕªπÕ“À“√¢ÕßÕߧ尓√Õ“À“√·≈–‡°…μ√·Ààß Àª√–™“™“μ‘ ·≈–Õߧ尓√Õπ“¡—¬‚≈° (The Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives, JECFA) ‰¥âª√–‡¡‘π ·≈–°”Àπ¥§à“§«“¡ª≈Õ¥¿—¬ (Acceptable Daily Intake; ADI) ¢Õß °√¥´—¬§≈“¡‘° ·≈–‡°≈◊Õ‚´‡¥’¬¡À√◊Õ‡°≈◊Õ·§≈‡´’¬¡¢Õß°√¥´—¬§≈“¡‘° ·≈– μ’«‘ÕÕ≈‰°≈‚§‰´¥å ·≈–μàÕ¡“§≥–°√√¡“∏‘°“√‚§‡¥Á°´å (CAC) ‰¥â °”Àπ¥ª√‘¡“≥ Ÿß ÿ¥∑’Ë„Àâ„™â„πÕ“À“√ ”À√—∫«—μ∂ÿ‡®◊ÕªπÕ“À“√¥—ß°≈à“« μ“¡¡“μ√∞“π∑—Ë « ‰ª ”À√— ∫ «— μ ∂ÿ ‡ ®◊ Õ ªπÕ“À“√ (GSFA) °√–∑√«ß “∏“√≥ ÿ¢ ‚¥¬ ”π—°ß“π§≥–°√√¡°“√Õ“À“√·≈–¬“®÷߇ÀÁπ§«√„Àâ¡’ °“√ª√— ∫ ª√ÿ ß ·°â ‰ ¢ª√–°“»°√–∑√«ß “∏“√≥ ÿ ¢ ‡°’Ë ¬ «°— ∫ ซั ย คลาเมต หญ า หวาน และสตี วิ โ อไซด ‡æ◊Ë Õ „Àâ Õ¥§≈â Õ ß°— ∫ ¡“μ√∞“π‚§‡¥Á ° ´å ‚¥¬ÕÕ°‡ªìπª√–°“»°√–∑√«ß “∏“√≥ ÿ¢ 3 ©∫—∫ §◊Õ

38

As the Joint FAO/WHO Expert Committee on Food Additives (JECFA) has evaluated and established the Acceptable Daily Intake (ADI) of cyclamic acid and sodium salt or calcium salt of cyclamic acid, and steviol glycoside, and Codex Alimentarius Commission (CAC) has subsequently endorsed the maximum levels (MLs) for the food additives as such in General Standard for Food Additives (GSFA). The Ministry of Public Health by the Food and Drug Administration, agreed to amend the Notification of the Ministry of Public Health related to Cyclamate, Stevia, and Stevioside to comply with Codex standards by issuing 3 notifications of the Ministry of Public Health;

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p38-40_Pro3.indd 38

11/21/13 11:03:42 PM


ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข (ฉบั บ ที่ 358) พ.ศ. 2556 เรื่ อ ง กำหนด อาหารที่ ห า มผลิ ต นำเข า หรื อ จำหน า ย ลงวั น ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และมีผลบังคับใชในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยมีสาระสำคัญ คือ • ยกเลิ ก ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข (ฉบั บ ที่ 292) พ.ศ. 2548 เรื่ อ ง กำหนดอาหารที่ ห า มผลิ ต นำเข า หรื อ จำหน า ย เพื่ อ ให ส ามารถอนุ ญ าตการใช กรดซั ย คลามิ ก และเกลื อ โซเดี ย มหรื อ เกลื อ แคลเซี ย มของกรดซั ย คลามิ ก และ สตี วิ อ อลไกลโคไซด เ ป น วั ต ถุ ใ ห ค วามหวานแทนน้ ำ ตาลในอาหารได แต ยั ง คง ห า มการผลิ ต นำเข า หรื อ จำหน า ยหญ า หวานซึ่ ง มี ชื่ อ ทางวิ ท ยาศาสตร ว า Stevia rebaudiana Bertoni ยกเวนการผลิต นำเขา หรือจำหนาย กรณีดังนี้ (1) ใบหญาหวานตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขวาดวยเรื่อง ชาสมุนไพร (2) สตีวิออลไกลโคไซด (Steviol glycosides) ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขวาดวยเรื่อง สตีวิออลไกลโคไซด (3) หญาหวาน หรือผลิตภัณฑจากหญาหวานที่ใชผลิต หรือนำเขา หรือ จำหนาย สำหรับการผลิตสตีวิออลไกลโคไซด ตามประกาศกระทรวง สาธารณสุขวาดวยเรื่อง สตีวิออลไกลโคไซด (4) หญาหวาน หรือผลิตภัณฑจากหญาหวานที่ผลิตเพื่อการสงออก

2

The Notification of the Ministry of Public Health (No. 358) B.E. 2556 (2013), Re: Prescribed Prohibited Food to be Produced, Imported or Sold dated 8 July B.E. 2556 (2013), which become effective on 1 August B.E. 2556 (2013). The followings are substantive amendments. • To revoke the Notification of the Ministry of Public Health (No. 292) B.E. 2548 (2005), Re: Prescribed Prohibited Food to be Produced, Imported or Sold, which allows the usage of cyclamic acid and sodium salt or calcium salt of cyclamic acid, and steviol glycoside as sweetener. However, this notification still prohibit the production, import, or sale of stevia, which is known by its scientific name as “Stevia rebaudiana Bertoni”, except for production, import or sale of (1) Stevia leaf pursuant to the Notification of the Ministry of Public Health, Re: Herbal Tea (2) Steviol glycoside pursuant to the Notification of the Ministry of Public Health, Re: Steviol Glycoside (3) Stevia or its products used for production or such imported or sold for production of Steviol glycoside pursuant to the Notification of the Ministry of Public Health, Re: Steviol Glycoside. (4) Stevia or its products produced for export.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข (ฉบั บ ที่ 359) พ.ศ. 2556 เรื่ อ ง ซัยคลาเมต ลงวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และมีผลบังคับใชในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยมีสาระสำคัญ คือ • กำหนดคุณภาพหรือมาตรฐาน และปริมาณสูงสุดที่อนุญาตสำหรับ การใช ก รดซั ย คลามิ ก และเกลื อ โซเดี ย มหรื อ เกลื อ แคลเซี ย มของกรดซั ย คลามิ ก ในอาหารประเภทต า งๆ โดยอ า งอิ ง ข อ กำหนดการใช วั ต ถุ เจือปนอาหารตามมาตรฐานทั่วไปสำหรับวัตถุเจือปนอาหารของโคเด็กซ (General Standard for Food Additives; GSFA) เป น แนวทางการพิ จ ารณาประกอบกั บ การประเมิ น การได รั บ สั ม ผั ส วั ต ถุ เ จื อ ปนอาหาร ดั ง กล า วโดยใช ข อ มู ล การบริ โ ภคอาหารของคนไทยเพื่ อ ให มี ค วามเหมาะสมและปลอดภัยสำหรับผูบริโภค • ให ค งการห า มใช ก รดซั ย คลามิ ก และเกลื อ โซเดี ย มหรื อ เกลื อ แคลเซี ย มของกรดซั ย คลามิ ก ในผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารที่ มี ป ระกาศกระทรวงสาธารณสุ ข กำหนดห า มใช วั ต ถุ ใ ห ค วามหวานแทนน้ ำ ตาล 7 ประเภท ได แ ก นมโค นมปรุ ง แต ง แยม เยลลี่ มาร ม าเลด ช็ อ กโกแลต และ เครื่องดื่มเกลือแร

The Notification of the Ministry of Public Health (No. 359) B.E. 2556 (2013), Re: Cyclamate dated 8 July B.E. 2556 (2013), and become effective on 1 August B.E. 2556 (2013). The followings are substantive amendments. • The quality or standard requirement, and the maximum levels (MLs) for cyclamic acid and sodium salt or calcium salt of cyclamic acid in various types of food have been established by referencing General Standard for Food Additives (GSFA) together with the exposure assessment of such food additive. Food consumption data of Thai people has been referred for appropriateness and safety of consumer. • Still maintain the prohibition on using cyclamic acid and sodium salt or calcium salt of cyclamic acid in 7 food products, which have specific Ministry of Public Health notifications prohibiting the uses of sweetener such as cow milk, flavored milk, jam, jelly, marmalade, chocolate, and electrolyte drink.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p38-40_Pro3.indd 39

39

11/21/13 11:03:42 PM


3 ป ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข (ฉบั บ ที่ 360) พ.ศ. 2556 เรื่ อ ง สตีวิออลไกลโคไซด ลงวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 และมีผลบังคับ ใชในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556 โดยมีสาระสำคัญ คือ • กำหนดคุ ณ ภาพหรื อ มาตรฐาน และปริ ม าณสู ง สุ ด ที่ อ นุ ญ าต สำหรับการใชสตีวิออลไกลโคไซดในอาหารประเภทตางๆ โดยอางอิง ขอกำหนดการใชวัตถุเจือปนอาหารตามมาตรฐานทั่วไปสำหรับวัตถุเจื อ ปนอาหารของโคเด็ ก ซ (General Standard for Food Additives; GSFA) เป น แนวทางการพิ จ ารณาประกอบกั บ การประเมิ น การได รั บ สั ม ผั ส วั ต ถุ เ จื อ ปนอาหารดั ง กล า วโดยใช ข อ มู ล การบริ โ ภคอาหารของคนไทยเพื่ อ ให มี ค วามเหมาะสมและปลอดภั ย สำหรั บ คนไทย และได ป รั บ ข อ กำหนดการใช ใ นอาหารบางประเภท ที่แตกตางไปจาก General Standard for Food Additives (GSFA) ดังนี้ - เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี น มเป น ส ว นประกอบหลั ก ทั้ ง ชนิ ด เหลว และ ชนิ ด ผง (ปรุ ง แต ง ) อาจผ า นการหมั ก หรื อ ไม ก็ ไ ด (รหั ส หมวดอาหาร 01.1.2) ไม ร วมถึ ง นมปรุ ง แต ง กำหนดปริ ม าณสู ง สุ ด ไม เ กิ น 70 มก./กก. - น้ ำ นมถั่ ว เหลื อ ง (รหั ส หมวดอาหาร 06.8.1) กำหนดปริ ม าณ สูงสุดไมเกิน 100 มก./กก. - เครื่ อ งดื่ ม แต ง กลิ่ น รส (รหั ส หมวดอาหาร 14.1.4) ไม ร วมถึ ง เครื่องดื่มเกลือแร กำหนดปริมาณสูงสุดไมเกิน 115 มก./กก. - หมากฝรั่ ง (รหั ส หมวดอาหาร 05.3) กำหนดปริ ม าณสู ง สุ ด ไมเกิน 1,100 มก./กก. • ให ค งการห า มใช ส ตี วิ อ อลไกลโคไซด ใ นผลิ ต ภั ณ ฑ อ าหารที่ มี ประกาศเฉพาะกำหนดห า มใช วั ต ถุ ใ ห ค วามหวานแทนน้ ำ ตาล 7 ประเภท ได แ ก นมโค นมปรุ ง แต ง แยม เยลลี่ มาร ม าเลด ช็อกโกแลต และเครื่องดื่มเกลือแร • กำหนดให ผู ผ ลิ ต หรื อ ผู น ำเข า อาหารตามที่ ไ ด รั บ อนุ ญ าตตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 262) พ.ศ. 2545 เรื่อง สตีวิโอไซด และอาหารที่ มี ส ว นผสมของสตี วิ โ อไซด ลงวั น ที่ 26 กั น ยายน พ.ศ. 2545 ขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหารใหถูกตองตามประกาศฉบับนี้ และประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ว า ด ว ยเรื่ อ ง วั ต ถุ เ จื อ ปนอาหาร ภายในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2557 • อาหารที่ มี ส ว นผสมของสตี วิ โ อไซด ที่ ใ ช เ ป น อาหารสำหรั บ ผู ที่ ต อ งการควบคุ ม น้ ำ หนั ก ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบั บ ที่ 121 (พ.ศ. 2532) เรื่อง อาหารสำหรับผูที่ตองการควบคุมน้ำหนัก ลง วันที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2532 ใหแกไขรายละเอียดอาหารใหถูกตอง ตามประกาศฉบับนี้ ภายในวันที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2557 40

The Notification of the Ministry of Public Health (No. 360) B.E. 2556 (2013), Re: Steviol Glycoside dated 8 July B.E. 2556 (2013), and become effective on 1 August B.E. 2556 (2013). The followings are substantive amendments. • The quality or standard requirement, and the maximum levels (MLs) for steviol glycoside in various types of food have been established by referencing General Standard for Food Additives (GSFA) together with the exposure assessment of such food additive. Food consumption data of Thai people has been referred for appropriateness and safety of Thai population. Apart from that, some maximum levels of following food categories which are different from Codex’s maximum levels (GSFA), have been established. - Dairy-based beverage in both liquid form and powder form (flavored) may either be fermented or not (food category 01.1.2) excluding flavored milk, maximum use level not exceeding 70 mg/kg. - Soybean milk (food category 06.8.1), maximum use level not exceeding 100 mg/kg. - Flavored beverage (food category 14.1.4), excluding electrolyte drink, maximum use level not exceeding 115 mg/kg. - Chewing gum (food category 05.3), maximum use level not exceeding 1,100 mg/kg. • Still maintain the prohibition on using steviol glycoside in 7 food products, which have specific Ministry of Public Health notifications prohibiting the uses of sweetener such as cow milk, flavored milk, jam, jelly, marmalade, chocolate, and electrolyte drink. • Provided that licensed food manufacturers or importers according to the Notification of the Ministry of Public Health (No. 262) B.E. 2545 (2002), Re: Stevioside and foods containing Stevioside dated 26 September B.E. 2545 (2002) shall apply for food registration according to this notification and the Notification of the Ministry of Public Health, Re: Food Additives within 1 August B.E. 2557 (2014). • Detail of foods containing Stevioside, which is used for weight control purpose according to the Notification of the Ministry of Public Health (No. 121) B.E. 2532 (1989), Re: Weight control food dated 23 May B.E. 2532 (1989) shall be corrected according to this notification within 1 August B.E. 2557 (2014).

กฎหมายที่เกี่ยวของ 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 358) พ.ศ. 2556 เรื่อง กำหนดอาหารที่หามผลิต นำเขา หรือจำหนาย ลงวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สืบคนไดจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2556/E/091/32.PDF 2. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 359) พ.ศ. 2556 เรื่อง ซัยคลาเมต ลงวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สืบคนไดจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/091/34.PDF 3. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 360) พ.ศ. 2556 เรื่อง สตีวิออลไกลโคไซด ลงวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 สืบคนไดจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/ 091/34.PDF Relevant Regulation 1. The Notification of the Ministry of Public Health (No. 358) B.E. 2556 (2013), Re: Prescribed Prohibited Food to be Produced, Imported or Sold dated 8 July B.E. 2556 (2013), Available from: URL: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/091/32.PDF 2. The Notification of the Ministry of Public Health (No. 359) B.E. 2556 (2013), Re: Cyclamate dated 8 July B.E. 2556 (2013), Available from: URL: http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2556/E/091/34.PDF 3. The Notification of the Ministry of Public Health (No. 360) B.E. 2556 (2013), Re: Steviol Glycoside dated 8 July B.E. 2556 (2013), Available from: URL: http://www.ratchakitcha. soc.go.th/DATA/PDF/2556/E/091/34.PDF

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p38-40_Pro3.indd 40

11/21/13 11:03:43 PM


SPECIAL FOCUS โดย: ดร. อรวรรณ ภูชัยวัฒนานนท

Get Ready

to

Win

นักวิทยาศาสตร ภาควิชาอายุรศาสตร คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี y-orawan-mhd@hotmail.com

By: Orawan Puchaiwatananon, D.Sc. Nutrition Scientist Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital y-orawan-mhd@hotmail.com

Õ“À“√·≈–‡§√◊Ë Õ ß¥◊Ë ¡ ∑’Ë ∫ √‘ ‚ ¿§„π™à « ß 1 ™—Ë « ‚¡ß°à Õ π °“√·¢àߢ—π √–À«à“ß°“√·¢àߢ—π ·≈–∑—π∑’À≈—ß°“√·¢àߢ—π ®– à ß º≈μà Õ ¡√√∂¿“æ∑“ß°“¬¢Õßπ— ° °’ à “ „π™à « ß√–À«à “ ß°“√·¢à ß ¢— π ·≈–¡’ º ≈μà Õ °“√øóô π μ— « ¢Õßπ— ° °’ à “À≈— ß °“√·¢à ß ¢— π ¥â « ¬ (Recovery) ´÷Ë ß ‡√◊Ë Õ ß¢Õß‚¿™π“°“√„π™à « ߥ— ß °≈à “ «π’È ¡’ π— ° °’ à “ À≈“¬§π∑’Ë ¡’ ° “√®— ¥ °“√·≈–«“ß·ºπ∑’Ë ¥’ Õ ¬Ÿà · ≈â « «à “ μâ Õ ß√— ∫ ª√–∑“πÕ–‰√„π™à « ß°à Õ π ·≈–√–À«à “ ß °“√·¢à ß ¢— π ∂÷ ß ®–‰¥â ‡ ª√’ ¬ ∫ ·≈–Õ“®π”¡“´÷Ë ß §«“¡ ”‡√Á®‰¥â ·μà°Á¬—ß¡’π—°°’ÓՒ°À≈“¬§π∑’ˉ¡à‡ÀÁ𠧫“¡ ”§— ≠ ¢Õß°“√∫√‘ ‚ ¿§Õ“À“√∑’Ë ∂Ÿ ° μâ Õ ß„π™à « ߇«≈“∑’Ë ‡ À¡“– ¡ °ÁÕ“®∑”„À⇰‘¥ªí≠À“À√◊Õ àߺ≈‡ ’¬μàÕ ¡√√∂¿“æ∑“ß°“¬·≈–°“√øóôπμ—« ¢Õßπ—°°’Ó‰¥â ∫∑§«“¡π’ÈÕ“®™à«¬„À⺟âº≈‘μÕ“À“√‡¢â“„®·≈–μ√–Àπ—°∂÷ß §«“¡ ”§—≠¢Õß‚¿™π“°“√∑’Ë®–™à«¬„Àâπ—°°’Óª√– ∫§«“¡ ”‡√Á®„π‡°¡ å °“√·¢àߢ—π

การเตรียมตัวทางดานโภชนาการกอนการแขงขัน

อาหารกอนการแขงขัน ก อ นที่ จ ะพู ด ถึ ง ในเรื่ อ งของลั ก ษณะรู ป แบบอาหารก อ นการแข ง ขั น ที่ เ หมาะสม อยากใหทำความเขาใจถึงพื้นฐานของกระบวนการทางกายภาพ และขอควรระวัง ในการรับประทานอาหารซึ่งประกอบไปดวย การยอยอาหาร การดูดซึมเขาสูกระแสเลือด และการสะสมเปนไกลโคเจนที่ตับ

กระบวนการยอยอาหาร สมรรถภาพทางกายของนั ก กี ฬ าขณะแข ง ขั น จะดี ต อ งไม มี อ าหาร หรื อ มี อ าหาร ปริมาณนอยอยูในกระเพาะอาหารหรือในลำไส ณ เวลาที่ทำการแขงขัน โดยทั่วไป อาหารจะถูกยอยในกระเพาะอาหารและลำไสเล็ก จากนั้นอาหารเหลานั้นจะถูก ดูดซึมจากลำไสเล็กเขาสูกระแสเลือดและระบบน้ำเหลือง ซึ่งระยะเวลาที่ใชในการ เกิ ด กระบวนการดั ง กล า วจนเสร็ จ สิ้ น นั้ น จะมี ค วามแปรผั น ไปขึ้ น อยู กั บ ป จ จั ย หลายอยาง1-3 ปจจัยหนึ่งซึ่งสงผลตอระยะเวลาที่ใชยอยและดูดซึม คือ สวนประกอบ ของสารอาหารที่อยูในอาหารมื้อนั้นๆ เชน คารโบไฮเดรตจะคอนขางที่จะยอยและ ดู ด ซึ ม ง า ย คาร โ บไฮเดรตโดยทั่ ว ไปจะถู ก ย อ ยที่ ก ระเพาะอาหารและดู ด ซึ ม ที่ลำไสใหญเสร็จภายในระยะเวลา 1-4 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับชนิดของคารโบไฮเดรตนั้นๆ ถาหากเปนคารโบไฮเดรตเชิงซอน เชน ขนมปง และพาสตา จะใชเวลาในการยอยหมด ประมาณ 3-4 ชั่ ว โมง แต ถ า หากเป น คาร โ บไฮเดรตเชิ ง เดี่ ย ว เช น น้ ำ ตาล ที่มักพบในเครื่องดื่มนักกีฬา จะใชเวลาในการยอยประมาณ 1 ชั่วโมงหรือนอยกวานั้น ส ว นพวกไขมั น และโปรตี น โดยทั่ ว ไปจะใช เ วลาในการย อ ยและดู ด ซึ ม นานกว า คารโบไฮเดรต ซึ่งสารอาหารเหลานี้จะตองใชเวลายอยถึง 7 ชั่วโมง กวาจะสามารถ ยอยหมดไปจากระบบทางเดินอาหารได ซึ่งไขมันและโปรตีนจะถูกยอยอยางชาๆ และคงอยูในระบบลำไสเปนเวลานาน และปญหาที่มักเกิดขึ้นอีกปญหาหนึ่ง คือ โปรตีนและไขมันจะทำใหเลือดและเนื้อเยื่อตางๆ มีภาวะเปนกรดมาก เกิดจาก การลดลงของ pH ในเนื้อเยื่อตางๆ ซึ่งปรากฏการณดังกลาวจะไปรบกวนการผลิต พลังงานที่ใชในการแขงขันแบบ High intensity aerobic1-3

Food and beverage consumption during the first hour before the match, during the match and immediately after the match will actually affect the physical performance of athletes during the match and affect the recovery of the athlete after the match. With regard to the subject of nutrition in these periods, there are many athletes who have managed and well planned on what to eat before and during the match who would have had advantages and may lead to success. However, there are many other athletes who do not realize the criticality of eating right at the right time. This could cause a problem or adversely affect physical performance and recovery of athletes. This article may help food manufacturers understand the importance of nutrition to help athletes succeed in the match.

Food Before The Match

Before talking about the proper style of food before the match, it is better to understand the fundamental physical processes and precautions in eating which consists of digestion, absorption into the bloodstream and accumulation of glycogen in the liver.

Digestive Process

The ideal physical fitness of athletes during the match must not have food or have a small amount of food in the stomach or intestines at the time of tournament. Generally food is digested in the stomach and small intestine. Then those foods are absorbed from the small intestine into the bloodstream and lymphatic system. The time it takes to complete such a process is a variable depending on several factors1-3. One factor which affects the time it takes to digest and to absorb is the component of the nutrients in the food. For instance, carbohydrates are relatively easy to digest and absorb. Carbohydrate is normally digested by the stomach and absorbed by the intestine within 1-4 hours depending on the type of carbohydrate. If it is a complex carbohydrate, such as bread and pasta, it takes about 3-4 hours to digest. But if it is a single carbohydrate, such as sugar typically found in sports drinks, digestion takes about 1 hour or less. In addition, most of the fat and protein take longer than carbohydrates to digest and absorb. These nutrients would take seven hours to digest and be excreted out of the digestive tract. Fat and protein are digested slowly and they remain in the intestinal tract for a long time. Another problem that often occurs is that protein and fat make the blood and tissues be more acidic conditions due to the decrease of pH in various tissues. This phenomenon is disturbing the energy generation in the match of high intensity aerobic exercise1-3. Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p41-47_Pro3.indd 41

41

11/23/13 8:32:52 PM


นอกจากนี้ปจจัยอื่นๆ ที่มีผลตออัตราการยอยอาหาร เชน ขนาดหรือปริมาณ ของมื้ อ อาหารที่ รั บ ประทาน มื้ อ อาหารหลั ก มื้ อ ใหญ (ปริ ม าณมาก) จะทำให ตองใชระยะเวลาในการยอยและดูดซึมมาก มื้ออาหารมื้อเล็กๆ (อาหารวาง) สามารถยอยและดูดซึมไดหมดภายใน 1-2 ชั่วโมง1-3 สุดทาย อาการวิตกกังวล ความเครียด ซึ่งอาจเกิดขึ้นไดบอยในขณะแขงขัน ทำใหระบบการยอยและดูดซึมอาหารผิดปกติไปดวย ซึ่งมีผลทำใหอาหารตกคาง อยูในระบบทางเดินอาหารนานขึ้น

การไหลเวียนเลือด ในชวงเวลาพักและในระหวางการยอยอาหาร เลือดจะไหลเวียนมายังกระเพาะอาหารและลำไส โดยเลื อ ดที่ ไ หลมานี้ จ ะช ว ยในกระบวนการการย อ ยอาหาร และดูดซึมอาหารที่เราบริโภคเขาไป แตในขณะที่รางกายออกกำลังในระดับ เบาหรือปานกลาง เลือดที่ไหลมาที่กระเพาะอาหารและลำไสจะลดลงจากปกติ รอยละ 60-70 ซึ่งในระดับนี้เลือดที่ไหลเวียนมายังคงทำใหเกิดกระบวนการยอย และดูดซึมอาหารไดในอัตราชาๆ อยางไรก็ตาม ในขณะที่มีการออกกำลังกาย อยางหนัก เลือดที่ไหลเวียนมาที่กระเพาะอาหารและลำไสจะลดลงอยางมาก เพราะเลือดจะไหลเวียนไปเลี้ยงในสวนของกลามเนื้อที่กำลังทำงานและผิวหนัง เพื่อผลิตเหงื่อและระบายความรอน ดังนั้น ความสามารถในการยอยและดูดซึม อาหารจึงลดลงมากเมื่อเราออกกำลังกายอยางหนัก ภายใตเงื่อนไขดังกลาว จะเปนประโยชนสำหรับนักกีฬาอยางมากถาจะทำใหกระบวนการยอยอาหารและ ดูดซึมเสร็จสิ้นกอนที่จะเริ่มการออกกำลังกาย นั่นหมายความวาขณะที่ทำการ ออกกำลังกายนั้นควรมีอาหารอยูในกระเพาะอาหารและลำไสปริมาณเล็กนอย หรือไมควรมีอยูเลย1-4

การสะสมไกลโคเจน ตับสามารถสะสมไกลโคเจนไวไดประมาณ 80-90 กรัม โดยไกลโคเจนจะถูก นำไปใชในกระบวนการกลูโคนีโอเจนิซีสระหวางการออกกำลังกายไดเปนน้ำตาลและ จะถูกปลอยออกมาในกระแสเลือดใชในการทำงานของกลามเนื้อและเนื้อเยื่อตางๆ ในระบบประสาทสวนกลาง (Central nervous system) ถาหากวาไกลโคเจนที่สะสมในตับลดลงหรือพรองไป ระดับน้ำตาลในเลือด จะตกลง ทำใหรางกายเขาสูภาวะน้ำตาลต่ำ กลามเนื้อที่กำลังทำงานอยูและ สมองจะไมไดรับพลังงานในปริมาณที่เพียงพอ ซึ่งเปนสาเหตุที่ทำใหการทำงาน ของกลามเนื้อและสมองทำงานไดนอยกวาปกติ และจะสงผลใหสมรรถภาพ ทางกายลดลงดวย1, 5, 6 ไกลโคเจนที่ถูกสะสมที่ตับสามารถนำมาใชเปนแหลงพลังงานสำหรับสมอง และกลามเนื้อขณะพักได 12-15 ชั่วโมง อยางไรก็ตาม กลามเนื้อที่กำลังทำงานจะใชกลูโคสที่ผลิตออกมาจาก ไกลโคเจนที่สะสมที่ตับไดในอัตราที่มากกวา ดังนั้น จะต อ งมั่ น ใจว า ตั บ ได ส ะสมไกลโคเจนไว ในปริมาณสูงสุดกอนที่จะมีการออกกำลังกาย อยางหนัก ซึ่งถือวาเปนสิ่งสำคัญสำหรับนักกีฬา ที่จะเขารวมการแขงขัน1,5,6

42

In addition, other factors that affect the rate of digestion are the size and quantity of meals having been taken. Heavy meals (plenty of food) will need a longer time to digest and absorb. Small meals (snacks) can be digested and absorbed within 1-2 hours1-3. Finally, anxiety and stress that may occur more frequently in the match will cause irregular digestion and absorption of food. As a result, food resides in the digestive tract longer.

Blood Circulation

During the rest period and during digestion, blood flows to the stomach and intestines. This allows blood to flow and assist in the process of digestion and absorption of the food we consume. But while light or moderate levels of physical exercise are given, blood flow to the stomach and intestines is reduced by 60-70% from the normal rate. In this level, the blood flows to the digestive process and absorption of food drops in a slow rate. However, while there is an intensive exercise, blood flows to the stomach and intestines is reduced significantly since the blood will flow to feed the working muscles and skin to produce sweat and exhaust the heat. Therefore, the ability to digest and absorb food is reduced when we exercise strenuously. Under such conditions, it is useful for many athletes to allow the process of digestion and absorption to complete before starting the exercise. This means that while they exercise, they should have food in the stomach and intestines in small amount or should never exist at all1-4.

Glycogen Accumulation

Liver glycogen accumulation can hold approximately 80-90 g. Glycogen will be used in the process of gluconeogenesis during exercise to gain sugar that is released into the bloodstream for functions of muscle and tissues in the central nervous system. If glycogen accumulation in the liver is decreased or diminished, blood sugar levels will drop. The body goes into the state of hypoglycemia. Working muscles and brain energy will not be sufficient. This causes the muscles and brain to function less and will result in reduced physical fitness1, 5, 6. Glycogen accumulated in the liver can be used as energy source for the brain and muscles under rest state of 12-15 hours. However, working muscles will consume glucose produced from glycogen stored in the liver at a greater rate. So it must ensure that hepatic glycogen accumulation is in the maximum amount before a strenuous exercise which is important for athletes to run for a match1, 5, 6.

Proper Component of Foods for Meals Before the Match

Of course, components of the right foods in a meal before the match is important for physical fitness of athletes. The meals have to be composed of easily digestible food and they digest it before starting the match. And they are supposed to help increase the accumulation of glycogen in the liver, to help prevent dehydration and to prevent hunger as well4, 6, 7.

Requirements for Proper Food Before the Match

Components for the meal before the match should be ingredients of high carbohydrate diet with low fat and protein. If this is liquid food, basically athletes should eat one hour before the event starts. In case of solid food, eat 3-4 hours before the match. It is better to choose soft and safe food diet and is familiar to the athletes who eat them regularly (not strange food that athletes never eat). Spicy foods, pepper hot foods, foods that cause gas and other foods that may cause gastrointestinal irritation should be avoided as well. In addition, foods one hour before the match should have lower energy than 1,000 kilo-calories. Consumption is typically about 300-500 kilo-calories which is a reasonable amount. In addition, in the meal before the match, it is better to avoid foods that contain high fiber and athletes should drink water and sports drinks frequently to maintain water balance in the body before the match.

Meal Time

Since all food should be digested by the stomach and intestines before starting the exercise, time to eat has become a major issue. Generally, the meal before the match should be about 1-4 hours before the tournament or before strenuous exercise. Larger meals or foods that are mixed or solid food should be eaten 3-4 hours before the exercise. While the small meals or liquid food should be eaten 1-2 hours before the exercise4, 6, 7. Eating small amounts of foods 30 to 60 minutes before the exercise may or may not cause adverse effects to physical performance. Several studies8-12 demonstrate that decreased physical fitness and/or potential of hyperinsulinism and hypoglycemia conditions can occur when people eat a meal or drink in one hour with large glucose content. However, there are many studies5, 13 which argue that eating a small amount in 30-60 minutes will neither cause hypoglycemia nor significant reduction in physical fitness. Therefore, it is possible that some athletes who are more sensitive to low sugar symptoms should be careful in eating or taking beverages with high glucose at 30-60 minutes before the exercise.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p41-47_Pro3.indd 42

11/22/13 2:00:34 PM


สวนประกอบของอาหารที่เหมาะสมสำหรับอาหารมื้อกอนแขงขัน แนนอนวาสวนประกอบของอาหารที่เหมาะสมในมื้ออาหารกอนที่จะทำการแขงขันสำคัญตอสมรรถภาพ ทางกายของนักกีฬา โดยอาหารมื้อนี้จะตองประกอบไปดวยอาหารที่ยอยงายและยอยหมดกอนที่จะเริ่ม ทำการแขงขัน อีกทั้งยังตองเปนอาหารที่ควรจะชวยเพิ่มการสะสมไกลโคเจนที่ตับ ชวยปองกันอาการขาดน้ำ และปองกันความรูสึกหิวไดดวย4, 6, 7

ขอกำหนดสำหรับอาหารที่เหมาะสมที่จะเปนอาหารกอนแขง สวนประกอบที่สำคัญสำหรับอาหารมื้อกอนแขงขันควรเปนอาหารที่มีสวนประกอบของคารโบไฮเดรตสูง มีไขมันและโปรตีนต่ำ ถาเปนอาหารเหลว โดยทั่วไปควรรับประทานใหเสร็จกอนการแขงขันจะเริ่ม 1 ชั่วโมง สวนกรณีอาหารที่เปนของแข็ง ควรรับประทานกอนแขงขัน 3-4 ชั่วโมง ควรเลือกอาหารที่เปนอาหารออน ปลอดภัย และเปนอาหารที่นักกีฬาคุนเคย เคยรับประทานเปนประจำ (มิใชอาหารแปลกๆ ที่นักกีฬาไมเคย รับประทาน) อาหารรสจัด อาหารที่มีรสเผ็ด อาหารที่ทำใหเกิดแกสและอาหารอื่นๆ ที่อาจกอใหเกิดการระคายเคือง ตอระบบทางเดินอาหารก็ควรหลีกเลี่ยงเชนกัน นอกจากนี้ อาหารที่รับประทานกอนการแขงขัน 1 ชั่วโมง ควรมีพลังงานต่ำกวา 1,000 กิโลแคลอรี โดยทั่วไปจะบริโภคอยูประมาณ 300-500 กิโลแคลอรี ซึ่งเปนปริมาณ ที่เหมาะสม นอกจากนี้ ในมื้ออาหารกอนแขงควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสวนประกอบของเสนใยสูง และควร ดื่มน้ำและเครื่องดื่มนักกีฬาใหบอยๆ เพื่อรักษาสมดุลน้ำในรางกายกอนการแขงขัน

ÿĜňÿĈėøĠĈēéĖĎüŇĕą ĐěþâĆöŋğìĂøĘĨ ĐěþâĆöŋüėĆăĔąčŇĊüýěååĈ åĆýĊèéĆøĕĄĄĕøĆòĕüčĕâĈ

เวลาในการรับประทานอาหาร เพราะว า โดยทั่ ว ไปแล ว อาหารทั้ ง หมดควรถู ก ย อ ยให ห มดไปจากกระเพาะอาหารและลำไส ก อ นที่ จ ะ เริ่มออกกำลังกาย เวลาที่จะรับประทานอาหารจึงกลายเปนประเด็นสำคัญ โดยทั่วไปอาหารมื้อกอนแขงขัน ควรรับประทานประมาณ 1-4 ชั่วโมงกอนการแขงขันหรือกอนออกกำลังกายหนัก อาหารมื้อใหญกวานี้หรือ อาหารที่มีการผสม (Mixed) หรืออาหารที่เปนของแข็งควรรับประทานกอนออกกำลังกาย 3-4 ชั่วโมง ขณะที่ อาหารมื้อเล็กกวานี้หรืออาหารเหลวควรรับประทานอาหารกอนออกกำลังกายประมาณ 1-2 ชั่วโมง4,6,7 การรับประทานอาหารปริมาณเล็กนอย 30-60 นาที กอนการออกกำลังกายอาจกอใหเกิดหรืออาจไมเกิด ผลเสียตอสมรรถภาพทางกาย มีงานวิจัยหลายชิ้น8-12แสดงใหเห็นวาสมรรถภาพทางกายลดลงและ/หรือ อาจเกิดภาวะอินซูลินในเลือดสูง และภาวะน้ำตาลต่ำ เมื่อมื้ออาหาร หรือเครื่องดื่มที่รับประทานภายใน 1 ชั่วโมงนั้นมีกลูโคสสูง อยางไรก็ตตาม าม 5,13 ยั ง มี ห ลายงานวิ จั ย ออกมา โต แ ย ง ว า การรั บ ประทานอาหาร หาร ปริมาณเล็กนอย 30-60 นาที ไมทำใหเกิดอาการน้ำตาลในเลือดต่ำ และหรือลดสมรรถภาพทางกายไดอยางมีนัยสำคัญ ดังนั้น เปนไปได ปได ว า นั ก กี ฬ าบางคนที่ มี ค วามไวต อ อาการน้ ำ ตาลต่ ำ ควรมี ค วามามระมั ด ระวั ง ในการรั บ ประทานอาหารหรื อ เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี ก ลู โ คสสู สสู ง กอนการออกกำลังกาย 30-60 นาที

Components of Proper Diet

Form or characteristics as well as the components of a meal before the match is very important whether they are components of carbohydrates, type of foods (tasteless food or spicy food), components of dietary fiber and water intake volume. As mentioned above, carbohydrate foods are easy to digest food. They are generally small and will not be left out in the digestive tract after 4 hours or less. And carbohydrate is also used as energy source to accumulate hepatic glycogen in high rate as well. Therefore, meals before the match should consist of foods that mainly contain carbohydrates with a small portion of protein and fat. For example, foods that are high in carbohydrates are listed in Table 1. The form of carbohydrates, whether it is solid or liquid, seems to be no difference in terms of their relationship to the physical fitness of athletes. Therefore, athletes should choose liquid meal, potatoes, pasta or cereal as meals before the match. And athletes should choose foods that are high in carbohydrates which the athletes are satisfied. In contrast, the foods that are high in protein and fat e.g. steak and eggs as well as dietary beans, sausage, hamburger, bacon and foods with butter and margarine components should be eaten minimally before the match.

BOOT PVC

Pangolin Safety Products Co., Ltd.

318/10-22 Soi Sukhumvit 22 (Sainamtip), Sukhumvit Road, Klongtoey, Bangkok 10110 Thailand Tel. 0 2259-0320-3 Fax. 0 2259-7504

www.pangolin.co.th Food Focus Thailand

DECEMBER 2013 FF#84_ad_Pangolin_Pro3.indd 25 FF#93_p41-47_Pro3.indd 43

43

2/11/13 10:12:24 PM 11/23/13 9:18:37 PM


สวนประกอบของมื้ออาหารที่เหมาะสม รู ป ร า งหรื อ ลั ก ษณะรวมทั้ ง ส ว นประกอบของอาหารมื้ อ ก อ นการแข ง ขั น มีความสำคัญมาก ไมวาจะเปนสวนประกอบของคารโบไฮเดรต ชนิดของอาหาร (เป น อาหารรสจื ด หรื อ รสจั ด ) ส ว นประกอบของใยอาหารและปริ ม าณน้ ำ ที่รับประทาน ดังที่กลาวไปแลวขางตน อาหารจำพวกคารโบไฮเดรตเปนอาหารที่ ยอยงาย โดยทั่วไปยอยหมดและไมหลงเหลือในระบบทางเดินอาหารใน 4 ชม.หรือ นอยกวา และคารโบไฮเดรตยังเปนแหลงพลังงานที่ใชสะสมเปนไกลโคเจนที่ตับ ได ใ นปริ ม าณสู ง อี ก ด ว ย ดั ง นั้ น อาหารมื้ อ ก อ นแข ง ขั น จึ ง ควรมี ส ว นประกอบ ของอาหารที่มีคารโบไฮเดรตเปนหลักและมีสวนของโปรตีนและไขมันเพียงเล็กนอย ตั ว อย า งอาหารที่ มี ค าร โ บไฮเดรตสู ง แสดงไว ใ นตารางที่ 1 รู ป แบบของ คารโบไฮเดรตไมวาจะเปนของแข็งหรือของเหลวดูเหมือนวาจะไมแตกตางกัน ในแงของความสัมพันธกับสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา ดังนั้น นักกีฬาควรเลือก มื้ออาหารที่เปนของเหลว พาสตา มันฝรั่ง หรือซีเรียล สำหรับอาหารมื้อกอนแขงขัน และนักกีฬาควรเลือกอาหารที่มีคารโบไฮเดรตสูง ซึ่งเปนอาหารที่นักกีฬาพอใจ สวนอาหารที่มีโปรตีนและไขมันสูง เชน อาหารจำพวกสเต็ก และไข รวมทั้งอาหาร จำพวกไส ก รอก ถั่ ว แฮมเบอร เ กอร เบคอน และอาหารที่ มี เ นยและมาการี น เปนสวนประกอบดวยควรรับประทานใหนอยที่สุดในชวงกอนการแขงขัน อาหารที่รับประทานในชวงหนึ่งชั่วโมงกอนออกกำลังกายควรเปนอาหารออน ไมควรเปนอาหารที่กอใหเกิดแกสหรือเปนสาเหตุที่ทำใหเกิดการเคลื่อนที่ของระบบ ทางเดินอาหารมากขึ้น เชน อาหารประเภทรสจัด หรืออาหารที่มีสวนผสมของพริก หรือพริกไทยก็ควรหลีกเลี่ยง และอาหารจำพวกหัวหอม ผักคะนา กะหล่ำปลี บร็อกโคลี่หรือถั่วตางๆ ดวย รวมทั้งอาหารที่มีสวนประกอบทางเคมี ซึ่งอาจทำให ระบบทางเดินอาหารปนปวนหรืออาจกอใหเกิดแกส เชน เครื่องดื่มที่มีสวนประกอบ ของก า ซคาร บ อเนตถ า ดื่ ม เพี ย งเล็ ก น อ ยอาจดื่ ม ได ใ นช ว ง 1 ชั่ ว โมงก อ น การออกกำลังกาย แตควรหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มประเภทนี้ในปริมาณมากๆ ดังนั้นอาหารกอนแขงควรประกอบดวยอาหารที่เหมาะสม ปลอดภัยและคุนเคยกับ นักกีฬา อาหารที่นักกีฬาไมเคยรับประทานควรหลีกเลี่ยงในชวงกอนการแขงขัน4,7,15,16 นั ก กี ฬ าบางคนอาจใช ก าเฟอี น เป น เครื่ อ งดื่ ม บำรุ ง กำลั ง ควรหลี ก เลี่ ย ง การบริโภคกาเฟอีนกอนการแขงขัน 1 ชั่วโมง เนื่องจากกาเฟอีนจะทำใหระบบ ทางเดินอาหารมีการเคลื่อนที่มากขึ้น ซึ่งเปนสาเหตุหนึ่งของอาการอึดอัดทอง ซึ่ ง จะทำให นั ก กี ฬ ารู สึ ก กั ง วล อี ก ทั้ ง ยั ง มี ฤ ทธิ์ ใ นการขั บ ป ส สาวะซึ่ ง อาจส ง ผล ตอภาวะสมดุลน้ำของนักกีฬากอนการแขงขันได เชนเดียวกับการดื่มแอลกอฮอล ที่ตองหลีกเลี่ยงในชวงของการแขงขัน แอลกอฮอลก็มีฤทธิ์ในการขับปสสาวะและ อาจรบกวนถึงสมรรถภาพทางกายของนักกีฬาได 4, 15 ปริ ม าณของอาหารที่ มี เ ส น ใยเป น อี ก จุ ด หนึ่ ง ที่ มี ค วามสำคั ญ ที่ ต อ งระวั ง เมื่อมีการจัดอาหารกอนการแขงขัน โดยทั่วไปเรามักเนนใหรับประทานอาหารที่มี เสนใยสูงเพื่อสงเสริมสุขภาพ หรือเพื่อใหมีสุขภาพดี อยางไรก็ตาม เสนใยบางชนิด สามารถกระตุนใหเกิดการขับถายได โดยอาจเกิดจากเสนใยอาหารไปกระตุน ใหเกิดการเคลื่อนที่ของลำไสขณะกำลังแขงขัน จึงไมเกิดผลดีกับนักกีฬา ดังนั้น การนำอาหารที่มีเสนใยสูงมาเปนสวนประกอบของอาหารกอนแขงขันใหนักกีฬา จึงเปนเรื่องที่ควรหลีกเลี่ยง4,7,15,16 การบริโภคน้ำอยางเพียงพอใน 1 ชั่วโมงกอนการแขงขันเปนปจจัยที่สำคัญ สำหรับการเตรียมตัวกอนแขงขัน การไดรับน้ำอยางเพียงพอจะทำใหแนใจวา 44

ตารางที่ 1 ตัวอยางอาหารที่มีคารโบไฮเดรตสูงที่ควรรับประทานกอนการแขงขัน Table 1 Foods that are high in carbohydrate ขนมปงปงและเยลลี่ ซีเรียลที่มีไฟเบอรต่ำ Toast and Jelly Low Fiber Cereal

ผลไมแหง Dried Fruits

วาฟเฟล Waffle

นมไขมัน 0% 0% Milk

น้ำแอปเปล Apple Juice

เครื่องดื่มเกลือแร Sport Drink

น้ำผลไม Juices

โยเกิรตไขมันต่ำ Low Fat Yogurt

แพนเคก Pancake

มักกะโรนี Macaroni

แครกเกอร Crackers

กลวย Banana

สปาเกตตี Spaghetti

ขนมปงขาวโพด Corn Bread

คุกกี้ขาวโอต Oat Cookies

ขนมปง Bread

ขาวโพด Corn

พุดดิ้ง Pudding

ลูกเกด Raisin

Food intake during one hour before the exercise should be soft foods. It is better to avoid foods that cause gas or cause more movement of the gastrointestinal tract e.g. spicy foods or foods containing chilli or pepper which should be avoided as well as onions, kale, cabbage, broccoli or beans including foods with chemical compositions which can cause gastrointestinal upset and may cause gas, such as beverage containing carbonate gas. Athletes may drink a little drink of those beverages in the first hour before the exercise but should avoid drinking in a large volume. Therefore, foods before the match should include a proper, safe and diet of familiarity with the athletes. Foods the athletes never eat before should be avoided before the match4, 7, 15, 16. Some athletes use caffeine as energy drink. It is better to avoid consuming caffeine one hour before the match since caffeine can cause more gastrointestinal movement which originates the abdominal discomfort. This will make the athletes anxious. It is also a potent diuretic which may affect the water balance of athletes prior to the match. In addition, athletes need to avoid alcohol during the tournament. Alcohol is a potent diuretic and may interfere with the physical performance of athletes4, 15. Quantity of fiber food is another point that is critical to be aware of when the food is taken before the match. Generally, we always focus on eating foods that are high in fiber to promote health or to keep healthy. However, some fibers can stimulate to excrete. This may be caused by fiber that stimulates bowel movement while on the race. Therefore, it has no benefit to athletes. That is, the foods with high dietary fiber before match should be absolutely avoided4, 7, 15, 16 Adequate water intake in one hour before the match is a significant factor for preparation for the tournament. Obtaining sufficient water is to ensure that the athletes would not be in a state of dehydration. Beverages should be drinking non-fat dairy/butter free milk or juices. Athletes can drink the beverages 2 hours before the match. It is recommended to drink water -2 hours before the match or later before the start of the and sports drink 1-2 ntioned above, it is better to avoid soft drinks, drinks with match. And as mentioned ol prior to the match4, 7, 15. caffeine and alcohol

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p41-47_Pro3.indd 44

11/23/13 8:35:13 PM


นักกีฬาจะไมอยูในภาวะที่ขาดน้ำ เครื่องดื่มที่ดื่มควรเปนนม ประเภทไรไขมัน/ขาดมันเนย น้ำผลไมสามารถดื่มไดกอนแขง 2 ชั่วโมง น้ำและเครื่องดื่มเกลือแรดื่มไดกอนแขง 1-2 ชั่วโมง หรืออาจนอยกวานั้นกอนเริ่มทำการแขงขัน และที่กลาวไว ขางตนแลววา ควรหลีกเลี่ยงน้ำอัดลม เครื่องดื่มที่มีกาเฟอีน และแอลกอฮอล ในชวงกอนทำการแขงขัน4,7,15

ขนาดของมื้ออาหาร อาหารมื้ อ หลั ก จะใช เ วลาในการย อ ยและดู ด ซึ ม นานกว า อาหารมื้อวาง โดยใชเวลาประมาณ 6-8 ชั่วโมง ดังนั้นจึงควร หลีกเลี่ยงอาหารมื้อใหญในวันที่จะทำการแขงขัน แตอาหาร มื้อใหญสามารถรับประทานไดในวันกอนที่จะเริ่มทำการแขงขัน 1 วัน การรับประทานอาหารมื้อใหญกอนเริ่มทำการแขงขัน จะทำใหอาหารยังคงคางอยูในกระเพาะอาหารและลำไส ขณะที่นักกีฬากำลังแขงขัน ซึ่งอาจกอใหเกิดอาการตางๆ กับ นักกีฬาไดตั้งแตอาการเล็กนอยจนกระทั่งถึงอาการที่รุนแรง โดยทั่ ว ไปแล ว ตามข อ กำหนด อาหารก อ นแข ง ไม ค วรให พลังงานเกิน 1,000 กิโลแคลอรี และอาหารดังกลาวควร รั บ ประทานก อ นแข ง ประมาณ 3-4 ชั่ ว โมง อาหารที่ ใ ห พลังงาน 300-400 กิโลแคลอรี ควรให 1-2 ชั่วโมงกอนแขง15 ตัวอยางเชน แซนวิชไกที่ทำจากขนมปงขาว มัสตารด และผักกาดหอม มะเขือเทศ เล็กนอย ใหพลังงาน 350 กิโลแคลอรี และเพิ่ ม ด ว ยน้ ำ แอปเป ล 120 กิ โ ลแคลอรี และ โยเกิรต 1 ถวย สวนอาหารเชา ควรเปนพวกแพนเคก 6 ชิ้น เนย 2 แผน น้ำผลไม 4 ออนซ (103 มล.) 100 กิโลแคลอรี และน้ำสม 8 ออนซ 120 กิ โ ลแคลอรี รวมแล ว ให พ ลั ง งานประมาณ 500 กิโลแคลอรี มี ง านวิ จั ย หลายชิ้ น พยายามศึ ก ษาถึ ง ปริ ม าณ คารโบไฮเดรตที่ควรไดรับกอนออกกำลังกายโดยจากการ ศึ ก ษาของ Sherman, et al. 5,6 แนะนำว า ควรได รั บ คาร โ บไฮเดรต 1.0-4.5 กรั ม /น้ ำ หนั ก ตั ว 1 กิ โ ลกรั ม ชวง 1-4 ชั่วโมงกอนทำการแขงขัน โดยแบงเปนกอนทำการ แขงขัน 3-4 ชั่วโมง ใหคารโบไฮเดรต 4.5 กรัม/น้ำหนักตัว 1 กิ โ ลกรั ม และให ค าร โ บไฮเดรต 1 กรั ม /น้ ำ หนั ก ตั ว 1 กิโลกรัม กอนแขงขัน 1 ชั่วโมง

ผลเสี ย จากการได รั บ อาหารก อ นการแข ง ขั น ที่ไมเหมาะสม การไดรับอาหารกอนการแขงขันที่ไมเหมาะสมจะกอใหเกิด อันตรายกับนักกีฬาไดหลายทาง ผลเสียแบงเปนปญหาที่เกิด จากระบบทางเดินอาหาร ปญหาที่เกิดจากความเขมขนของ ระดับน้ำตาลในเลือด ปญหาจากภาวะขาดน้ำ

Size of Meals

Heavy meals take longer to digest and absorb than snack foods. They take about 6-8 hours. It is better to avoid large meals in a day of the match. But the heavy meal can be eaten on the day before the start of the match. Eating a heavy meal before the start of the match will make the food to remain in the stomach and intestines while the athletes are on the race. This can cause various possible symptoms to athletes, from mild to severe symptoms. As general requirements, food before a match should not exceed energy of 1,000 kilo-calories. And such foods should be eaten about 3-4 hours before the match. The 300-400 kilocalories energy food should be allowed 1-2 hours before the match15. For example, chicken sandwich made with white bread, lettuce, tomato and slight mustard gives 350 kilo-calories of energy. It is added with the apple juice for 120 kilo-calories and 1 cup of yoghurt. The Breakfast should be 6 pieces of pan cakes, 2 pieces of butter and 4 oz of fruit juice (103 mL): 100 kilo-calories and 8 oz of orange juice: 120 kilo-calories. Total energy gain will be about 500 kilo-calories.

SURPASS FOOD INDUSTRY EXPECTATIONS Enhancing processes, systems and skills is fundamental to your ongoing success and sustained growth. We help you continuously improve, transforming your services and value chain by increasing performance, safety, quality and sustainability and managing risks. Our experts also support you in developing talent, so that you can make the most of every opportunity to further excellence. Visit www.sgs.com/foodsafety. SGS IS THE WORLD’S LEADING INSPECTION, VERIFICATION, TESTING AND CERTIFICATION COMPANY

For more information:

SGS (Thailand) Limited Systems & Services Certification Tel. (66 2) 678-1813 ext. 6 Fax. (66 2) 678-1508 (66 2) 678-0620-1 E-mail: ssc.thailand@sgs.com Website: www.sgs.co.th

FF#91_ad SGS_Pro3.indd 27

FF#93_p41-47_Pro3.indd 45

Food Focus Thailand 45 9/24/13 DECEMBER 2013 3:33:11 PM

11/22/13 2:00:57 PM


อาการไมพึงประสงคที่อาจเกิดจาก การรับประทานอาหารกอนแขงที่ไมเหมาะสม ปญหาสัมพันธกับระบบทางเดินอาหาร • คลื่นไส เรอ อาเจียน อาการทองอืด ทองเสียหรือกระตุนใหเกิดอาการผิดปกติ อาการอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นและตองระวัง • อาการน้ำตาลต่ำ (ออนเพลีย วิตกกังวล อาการสั่น) การขาดน้ำและรูสึกหิว ผลเสียหรือผลกระทบทั้งหมดของการไดรับอาหารกอนการแขงขันไมเหมาะสม มี ส ว นสั ม พั น ธ กั บ อาหารที่ ยั ง คงค า งอยู ใ นกระเพาะอาหารและลำไส เ มื่ อ มี การออกกำลังกายเพิ่มขึ้น ดังที่กลาวไปแลววาเมื่อมีการออกกำลังกายเริ่มขึ้น เลือด ที่ไหลเวียนไปที่ระบบทางเดินอาหารลดลงอยางมีนัยสำคัญ ซึ่งเปนสาเหตุใหมีการยอย การดูดซึม และการเคลื่อนที่ของอาหารลดลงเปนอยางมาก โดยมีผลตั้งแตกอใหเกิด การผลิตแกสมากเกินไปจนกระทั่งอาจเกิดการอาเจียนหรือทองเสียได ซึ่งผลเสีย ทั้งหมดอาจสงผลตอสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา โดยทำใหสมรรถภาพลดลง กวาปกติได ถึงแมวาอาการดังกลาวจะไมรุนแรงก็ตาม ปญหาอันดับสองสัมพันธกับการรักษาระดับความเขมขนของน้ำตาลในเลือด อาการน้ ำ ตาลต่ ำ อาจเกิ ด จากการได รั บ อาหารก อ นแข ง ขั น ที่ ไ ม เ หมาะสมได การรับประทานอาหารประเภทคารโบไฮเดรตที่มีคาดัชนีน้ำตาลสูงเพียงอยางเดียว ในชวง 30-60 นาทีกอนทำการแขงขัน อาจทำใหระดับน้ำตาลในเลือดและระดับ อินซูลินในเลือดสูง ซึ่งการที่อินซูลินถูกหลั่งออกมามากจะเปนสาเหตุที่ทำใหระดับ น้ำตาลในเลือดลดลง ซึ่งถาหากเกิดขึ้นในชวงที่นักกีฬากำลังออกกำลังกายอยางหนัก จะกอใหเกิดอาการน้ำตาลต่ำในระยะสั้นๆ หลังจากเริ่มมีการออกกำลังกายไปแลว ในขณะที่มีงานวิจัยหลายชิ้นแสดงใหเห็นวาเหตุการณดังกลาวอาจเกิดขึ้นในขณะ ออกกำลั ง กาย แต ไ ม ใ ช ทั้ ง หมดที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ อาการน้ ำ ตาลต่ ำ นอกจากนั้ น ยั ง พบว า การรั บ ประทานอาหารที่ มี ค าร โ บไฮเดรตที่ มี ค า ดั ช นี น้ ำ ตาลสู ง ทำให การตอบสนองของระดับน้ำตาลในเลือดเกิดขึ้นไดดีกวาและปองกันอาการน้ำตาลต่ำ ที่อาจเกิดขึ้นไดดวย17 อาการน้ำตาลต่ำยังอาจเกิดขึ้นไดจากการที่นักกีฬาเขารวมการแขงขันโดยไมได รับประทานอะไรเลยกอนแขง ซึ่งเหตุการณดังกลาวมักเกิดขึ้นเมื่อมีการแขงขัน ในเวลาเชาตรู ทำใหนักกีฬาตองงดอาหารมื้อกอนแขง และเขารวมการแขงขัน ด ว ยภาวะน้ ำ ตาลในเลื อ ดต่ ำ กว า ปกติ ในขณะที่ ก ารออกกำลั ง กายจะทำให ระดับกลูโคสตกลงอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนผลใหเกิดภาวะน้ำตาลต่ำไดในขณะแขงขัน ซึ่งการรับประทานอาหารประเภทคารโบไฮเดรตที่เหมาะสมกอนการแขงขันจะชวย ปองกันอาการดังกลาวที่อาจเกิดขึ้นได13 สุดทายภาวะสมดุลน้ำที่ไมปกติกอนการแขงขัน อาจสงผลกระทบตอสมรรถภาพ ทางกายของนักกีฬา ดังนั้น นักกีฬาจึงตองบริโภคน้ำใหเพียงพอในชวงกอนทำการ แขงขัน นักกีฬาควรดื่มน้ำในชวงกอนการแขงขันจนกระทั่งปริมาณปสสาวะเพียงพอ และปสสาวะมีสีใส การที่ปสสาวะนอยและมีสีเขมเปนอาการที่บงบอกถึงภาวะ ขาดน้ำ 4

Several studies have attempted to determine the amount of carbohydrate to be taken before the exercise. The study of Sherman, et al.5, 6 recommends that carbohydrates intake should be from 1.0-4.5 g/kg of body weight at 1-4 hours before the match. On 3-4 hours before the match, 4.5 g carbohydrate/ kg of the body weight, and carbohydrate 1 g/kg of body weight at 1 hour before the match.

Disadvantage of the Improper Diet before the Match

Improper food before the match will cause harm to the athletes in many ways. Adverse effects are categorized into gastrointestinal problems, problems caused by the concentration of glucose in the blood, problem of dehydration.

Adverse Events that may Occur from Eating Improper Food before the Match

ผลของการรับประทานอาหารกอนแขง ตอสมรรถภาพทางกายของนักกีฬา

Problems associated with the digestive system: • Burping, nausea, vomiting, flatulence, diarrhea or stimulus to induce physical irregularity. Other potential symptoms to be careful: • Symptoms of hypoglycemia (fatigue, anxiety, tremor), dehydration and hunger. Effect or impact of improper pre-race meal has relationship with food that is still remained in the stomach and intestines when athletes exercise more. As already mentioned, when the exercise begins, blood flow to the digestive tract decreased significantly. This causes the reduction in digestion, absorption, and the movement of food that is realized significantly. The effect can be from excessive gas production to vomiting or diarrhea. All of the results adversely affect physical performance of athletes by dropping the performance to below the normal rate. Although these symptoms are not severe, The second problem has relationship with the function to maintain the concentration of glucose in the blood. Low sugar symptoms may be caused by improper diet before the match. Eating carbohydrate with a high glycemic index alone during 30-60 minutes before the match may cause high blood sugar and insulin levels in the blood. Insulin which is secreted excessively is the cause of blood sugar levels drop. If it occurs during heavy exercise of athletes, this will cause low sugar in the short term after starting of the exercise. Several studies have demonstrated that although such symptom may occur during the exercise, not all of the symptoms are associated with low blood sugar. In addition, it is also found that eating carbohydrates with high glycemic index gives better response of blood sugar level and prevents symptoms of hypoglycemia that may occur17. Symptoms of hypoglycemia may also occur to the athletes in match without eating anything before. This event usually occurs when there is a match in the early morning. Athletes need to ignore meals before the match and join the tournament with low blood sugar than normal. At the same time, exercise keeps the blood sugar levels to drop continuously. As a result, it cause hypoglycemia during the tournament. If athletes eat carbohydrates properly before the match, this will help prevent such symptoms accordingly13. As a final point, bad equilibrium of water before the match may affect the physical performance of athletes. Therefore, athletes need to consume enough water before the event. Athletes should drink water before the tournament until there is sufficient amount of urine and the urine color is clear. If urine is dark with smaller volume, these are signs to indicate dehydration4.

มีผลงานศึกษาหลายชิ้นแสดงใหเห็นวา มีการเพิ่มขึ้นของสมรรถภาพทางกายของ นักกีฬาประเภททนทานหลังจากบริโภคอาหารกอนแขง Sherman, et al.5 ทดลองให กลุมตัวอยางปนจักรยานที่ระดับความหนัก 70%VO2max เปนเวลา 90 นาที หลังจาก

Numerous studies have demonstrated that there is an increase in the physical fitness of endurance athletes after the pre-match diet. Sherman, et al.5 conducted the experiment by having the sample group cycling with an

46

The Effect of Diet on Physical Performance of Athletes before the Match

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p41-47_Pro3.indd 46

11/22/13 2:01:04 PM


ได รั บ คาร โ บไฮเดรต 1.1-2.2กรั ม /น้ ำ หนั ก ตั ว 1 กิ โ ลกรั ม ก อ น การออกกำลังกาย 1 ชั่วโมง ผลการทดลองพบวาสมรรถภาพดีขึ้น รอยละ 12.5 หลังจากไดรับคารโบไฮเดรต เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมที่ ไดรับสารหลอก Sherman, et al.16 ยังรายงานอีกวาประสิทธิภาพ ของการป น จั ก รยานเพิ่ ม ขึ้ น หลั ง จากได รั บ อาหารที่ เ ป น คารโบไฮเดรต 312 กรัม เปรียบเทียบกับกลุมที่ไดรับสารหลอกกอน ทำการออกกำลังกาย 4 ชั่วโมง นอกจากนี้ศึกษาของ Schabort, et al. 17 ที่ ท ำการทดลองกั บ กลุ ม ตั ว อย า งที่ ไ ด รั บ อาหารเช า ที่ เ ป น คาร โ บไฮเดรต 100 กรั ม 3 ชั่ ว โมงก อ นทำการออกกำลั ง กาย เปรียบเทียบกับกลุมที่ทำการออกกำลังกายหลังจากอดอาหารมา ทั้ ง คื น พบว า เวลาที่ นั ก กี ฬ าใช ป น จั ก รยานจนกระทั่ ง เหนื่ อ ย ในกลุ ม ที่ ไ ด รั บ อาหารเช า (136 นาที ) ป น ได น านกว า กลุ ม ที่ อดอาหาร (109 นาที) อยางมีนัยสำคัญทางสถิติ Anderson, et al.14 ทำการศึกษาพบวา เวลาในการปนจักรยานจนกวาจะ เหนื่อยของกลุมที่ไดรับโอตมีล (Oatmeal) (84 นาที) นานกวากลุม ที่ไดรับสารหลอก (66 นาที) จากผลการศึกษาดังกลาวสามารถ สรุปไดวาการไดรับอาหารหรือโภชนาการในชวงกอนการแขงขัน ที่ เ หมาะสม จะส ง ผลดี กั บ สมรรถภาพทางกายของนั ก กี ฬ า อยางแนนอน

intensity of 70%VO2max for 90 minutes after intake 1.1-2.2 g/kg of body weight of carbohydrates at one hour before the exercise. The results showed that performance improved by 12.5 % after taking carbohydrate when compared to the group receiving placebo. Sherman et al16 also reported that performance of cycling increased after 312 grams of carbohydrates diet were taken as compared to the group receiving placebo four hours before the exercise. In addition, studies of Schabort, et al.17 was conducted to the sample group receiving 100 g carbohydrate breakfast at three hours before the exercise as compared with the exercise group after fasting all night. It is found that longer time athletes spent until exhausted in the group receiving breakfast (136 minutes) than the fasting group (109 minutes) as statistically significant. Anderson, et al.14 study found that cycling time until the oatmeal group was tired (84 minutes) was longer than those who received placebo (66 minutes). The results of such studies can conclude that getting proper food or nutrition before the match would certainly be beneficial to the athlete’s physical fitness.

เอกสารอ างอิง/References 1 Stamford B. When to eat and exercise. Phys. Sports med 1988; 16:184. 2 Clark N. Eating before competing. Phys Sports med 1998; 26:73. 3 Coleman EJ. Carbohydrate- the master fuel in Nutrition for Sport and Exercise. 2nd ed. Berning JR. and Steen SN, editor. Aspen Pub Inc: Gaithersburg; 1998. 4 Clark N. Sports Nutrition Guidebook. 2nd ed. Human Kinetics: Champaign IL; 1997. 5 Sherman WM, Peden MC, Wright DA. Carbohydrate feedings 1 h before exercise improves cycling performance. Am J Clin Nutr 1991; 54: 866. 6 Sherman WM. Pre-event nutrition. Sports Sci. Exch. Gatorade Sports Sci. Inst.: Barrington. IL; 1989. 7 Kanter M. What to eat before and after exercise in Endurance Training for Performance. Gatorade Performance Series. Gatorade Sport Sci. Inst: Barrington, IL; 1994. 8 Costill DL, Coyle EF, Dalsky G, Evans W, Fink W, Fink W, Hoopes D. Effects of elevated plasma FFA and insulin on muscle glycogen usage during exercise. J Appl Physiol 1977; 43: 695. 9 Foster C, Costill DL, Fink WJ. Effects of pre-exercise feedings on endurance performance. Med Sci Sports 1979; 11:1. 10 Keller K, Schwarzkopf R. Pre-exercise snacks may decrease exercise performance. Phys. Sports med 1984; 12: 89. 11 Coggan AR, Swanson SC. Nutritional manipulation before and during endurance exercise: effects on performance. Med Sci Sports Exerc 1992; 24: S331. 12 Koivisto VA, Karonen SL, Nikkila EA. Carbohydrate ingestion before exercise: comparison of glucose, fructose, and sweet placebo. J Appl. Physiol: Respirat. Environ. Exerc Physiol 1981; 51: 783. 13 Alberici JC, Farrell PA, Kris-Etherton PM. Effects of preexercise candy bar ingestion on substrate utilization and performance in trained cyclists. Med Sci Sports Exerc 1989; 21: S47. 14 Anderson M, Bergman EA, Nethery VW. Pre-exercise meal affects ride time to fatigue in trained cyclists. J Am Diet Assoc 1994; 94:1152. 15 Rankin JW. Glycemic index and exercise metabolism. Sports Sci Exchang Gatorade Sports Sci Inst: Barrington IL; 1997. 16 Sherman WM, Brodowicz G, Wright DA, Allen WK, Simonsen J, Dernbaugh A, Effects of 4 h pre-exercise carbohydrate feedings on cycling performance. Med Sci Sport Exerc 1989; 21:598. 17 Schabort EJ, Bosch AN, Weltan SM, Noakes TD. The effect a pre-exercise meal on time to fatigue during prolonged cycling exercise. Med Sci Sport Exerc 1999; 31: 464. Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p41-47_Pro3.indd 47

47

11/22/13 2:01:11 PM


SPECIAL FOCUS

Branched Chain Amino Acid

(BCAA) Nutrients for People who Exercise and Athletes

สารอาหารสำหรับผูออกกำลังกายและนักกีฬา ªí®®ÿ∫—π °“√ÕÕ°°”≈—ß°“¬‡ªìπ°“√¥Ÿ·≈ ÿ¢¿“æ∑’Ë°”≈—߉¥â√—∫§«“¡ π„®∑—Èß„π√Ÿª·∫∫¢Õß°“√‡≈àπ°’Ó°≈“ß·®âßÀ√◊Õ„πøîμ‡π ‡´Áπ‡μÕ√å “√Õ“À“√ ”À√—∫°≈ÿࡧπÕÕ°°”≈—ß°“¬À√◊Õ ”À√—∫π—°°’Ó°Á‰¥â√—∫§«“¡ π„®‡™àπ‡¥’¬«°—π ‚¥¬ “√Õ“À“√°≈ÿà¡À≈—°∑’Ë¡’∫∑∫“∑ ”§—≠„π°“√øóôπøŸ°≈â“¡‡π◊ÈÕ ·≈–°“√‰À≈‡«’¬π‡≈◊Õ¥¢ÕߺŸâÕÕ°°”≈—ß°“¬ ‰¥â·°à °≈ÿà¡‚ª√μ’π ·≈–°√¥Õ–¡‘‚π â´Â: ¤Ø³¸ÒÃÔ¹ ¹Ò¤ÈÃÕÍÒÀó Exercise is a method of healthcare currently attracting attention both in ¼Ù ª Œ Ç ‹ ¼٠¨ Œ ´ Ñ ¡ÒüÅÔ μÀѳ± ½†ÒÂà¤ÁÕÀѳ± ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ the form of playing field sports and in fitness centers. Nutrients for the ºÃÔ É · Ñ àºÍà ÅÕè Âؤà¡Íà ¨Ó¡Ñ´ (ÁËÒª¹) group of people who exercise or athletes have also attracted interest. TarinN@bjc.co.th The nutrients playing a key role in restoring muscles and circulation for people who exercise are proteins and amino acids.

B

ranched Chain Amino Acid (BCAA) ซึ่งประกอบดวยลิวซีน ไอโซลิวซีน และวาลีนจะชวยสงเสริมการสรางมวลกลามเนื้อหลัง ออกกำลังกาย ปจจุบันนี้ BCAA มีหลายชนิดแตกตางกันไป แตที่ ไดรับความนิยม คือ นวัตกรรมการผลิต BCAA ที่ทำใหละลายน้ำเย็นไดทันที หรือ Instantized BCAA สามารถละลายในน้ำไดรวดเร็ว ไมตองคน ไมเกาะกัน เปนกอน และไมเกิดฟองเมื่อละลาย (ดังรูปที่ 1) เหมาะสำหรับผลิตภัณฑ เครื่องดื่มโดยเฉพาะประเภทชงดื่ม (Instant drink) เปนอยางมาก

By: Ms. Tarin Naksriarporn

Asst. Product Manager (Specialties Division) Berli Jucker Public Company Limited TarinN@bjc.co.th

B

ranched Chain Amino Acid (BCAA) are composed of leucine, isoleucine and valine which helps promote muscle building following exercise. At present, there are numerous diverse types of BCAA. However, a currently popular innovation involves BCAA production which enables immediate cool water solubility or instantized BCAA capable of being rapidly dissolved with no stirring and no lumping or foam when dissolved (Figure 1). This makes it particularly suitable for beverage products in the instant drink category.

รูปที่ 1 การละลายของ Instantized BCAA ในน้ำ Figure 1 Water Solubility of Instantized BCAA

แอล-กลู ต ามี น (L-Glutamine) ชวยลดอาการออนลาของกลามเนื้อ โดยชวยทำลายกรดแลคติกที่เกิดขึ้นในกลามเนื้อระหวางการออกกำลังกาย ทำใหออกกำลังกายไดนานขึ้น และมีสวนชวยในการซอมแซมสวนที่สึกหรอ ไประหว า งการออกกำลั ง กาย จากรายงานการวิ จั ย พบว า นั ก วิ่ ง มาราธอน 48

L-Glutamine helps relieve muscle weakness by helping destroy lactic acid occurring in the muscles during exercise, so people can exercise longer. The nutrient also helps repair degeneration during exercise. According to reports on research findings, marathon runners who receive L-Glutamine after a marathon race have as much as 81% better resistance to infection than runners who do not receive L-Glutamine who have only 49% resistance to infection.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p48-49_Pro3.indd 48

11/23/13 8:40:38 PM


ที่ ไ ด รั บ แอล-กลู ต ามี น หลั ง จบการแข ง ขั น วิ่ ง มาราธอนมี ค วามต า นทาน ต อ การติ ด เชื้ อ ถึ ง ร อ ยละ 81 ดี ก ว า นั ก วิ่ ง ที่ ไ ม ไ ด รั บ แอล-กลู ต ามี น ซึ่งมีความตานทานตอการติดเชื้อรอยละ 49 อารจีนีน (Arginine) มีสวนชวยในเรื่องการไหลเวียนเลือด สงผลให สวนตางๆ ของรางกายไดรับออกซิเจนอยางเพียงพอในระหวางออกกำลังกาย ทำให ไ ม เ หนื่ อ ยง า ยและออกกำลั ง กายได น านขึ้ น มี ก ารวิ จั ย พบว า การทำงานรวมกันของ BCAA แอล-กลูตามิน และอารจีนีนชวยลดความเสียหายของกลามเนื้อและเพิ่มการจับออกซิเจนของเม็ดเลือดแดงได โปรตีนสกัดจากมันฝรั่ง (Isolated Potato Protein) ลักษณะเปนผง ละลายน้ำไดดี ใส ไมมีกลิ่น ใชในปริมาณนอยแตสามารถให BCAA (243 mg/g) กรดกลูตามิคและกลูตามีน (79 mg/g) อารจีนีน (48 mg/g) และ กรดอะมิโนจำเปนอีกหลายชนิดในปริมาณที่เขมขน และเพียงพอตอรางกาย เพื่อเปนแหลงพลังงานและฟนฟูกลามเนื้อหลังการออกกำลังกาย เหมาะกับ เครื่องดื่มชนิดชงดื่ม ทั้งยังถือวาเปนหนึ่งในสารอาหารที่ไมเปนสารกอภูมิแพ (Non allergen) อี ก ด ว ย นอกจากนี้ การใช ใ นปริ ม าณที่ ม ากขึ้ น จะช ว ย เพิ่ ม ลั ก ษณะเนื้ อ สั ม ผั ส ของอาหารให น า รั บ ประทานดี ขึ้ น โดยไม ต อ งใช สารใหความหนืดอื่นๆ จึงเหมาะกับเครื่องดื่มที่ตองการใหมี Mouth feel ไดดวย แอสตาแซนทีน (Astaxanthin) เปนสารตานอนุมูลอิสระที่มีประสิทธิภาพ มากกวาวิตามินอีถึง 1,000 เทา กระบวนการผลิตแอสตาแซนทีน โดยใชวิธี CO 2 Supercritical fluid extraction process เป น นวั ต กรรมการผลิ ต ที่ชวยใหไดแอสตาแซนทีนที่มีคุณภาพ มีความบริสุทธิ์สูง (High purity) เป น การสกั ด แบบไม ใ ช ตั ว ทำละลาย (Solvent) จึ ง ปราศจากสารตกค า ง จากตั ว ทำละลาย การสกั ด ด ว ยวิ ธี นี้ ท ำให ไ ม มี ก ลิ่ น (Odorless) ทำให เหมาะกั บ การใช ใ นผลิ ต ภั ณ ฑ ห ลากหลายชนิ ด เช น เครื่ อ งดื่ ม ทั้ ง แบบ พรอมดื่มหรือชงดื่ม นอกจากนี้ยังมีกลุมสารอาหารตานอนุมูลอิสระ (Antioxidant) สำหรับ ผูที่ออกกำลังกายแบบแอโรบิค ซึ่งชวยปรับสมดุลเพื่อปองกันความเสื่อม ไดตั้งแตระดับเซลล เชนเดียวกับกลุมวิตามินเอ อี ซี ที่มีความสำคัญในการปกปองเซลลจากสภาวะความเครียดออกซิเดชัน (Oxidative stress) ได สำหรับผูที่ออกกำลังกายโดยการวิ่งอาจตองระวังในเรื่องของขอเขาเสื่อม เนื่องจากการไดรับแรงกระแทกจากการวิ่ง โดยเฉพาะในผูสูงอายุซึ่งมีความเสื่อม ตามธรรมชาติสูงกวาหรือผูมีน้ำหนักมาก การปองกันปญหาดังกลาวอาจ รับประทานคอลลาเจนเสริม เนื่องจากคอลลาเจนมีสวนชวยในการปองกัน การเสื่อมของขอตอ

Arginine has a part in helping with blood circulation. As a result, various parts of the body are sufficiently oxygenated during exercise to prevent susceptibility to fatigue so people can exercise for longer periods of time. Studies have found BCAA, L-Glutamine and arginine to work together in minimize muscle damage and increase oxygen content in the red blood cells. Isolated Potato Protein is a powder form with good water solubility. The solution is clear and odorless. Although used in small amounts, isolated potato protein can provide BCAA (243 mg/g), glutamic acid and glutamine (79 mg/g), arginine (48 mg/g) and many other types of essential amino acids in concentrated and sufficient amounts for the body as a source of energy and muscle restoration following exercise. Isolated potato protein is suitable as an instant drink and considered a nutrient that is also a non-allergen. Moreover, isolated potato protein can enhance the sensory perception of food texture when used in larger amounts, so food becomes more appetizing without having to use other thickening agents. Thus, it is also suitable for beverages requiring “mouth feel”. Astaxanthin is an antioxidant featuring as much as 1,000 times the efficiency of Vitamin E. The astaxanthin production process uses a CO2 supercritical fluid extraction process, a production innovation yielding better quality astaxanthin with high purity. The extraction requires no solvents, so there is no residual solvent. Extracting by this method results in an odorless substance that makes it suitable for use in the production of many types of products like instant or mixed beverages. In addition, there is a group of antioxidant nutrients for people who exercise aerobically which will help adjust balance in order to prevent degeneration from the cell level in the same way as the Vitamin A, E and C groups that can be important in protecting the cells from oxidative stress. People who exercise by running might need to be careful about Osteoarthritis of the knee due to the impact received when running, especially in the elderly who already have more natural degeneration or in overweight people. Protection against the aforementioned problems might be found in collagen supplements because collagen contains helpful protection against joint degeneration.

เอกสารอางอิง/References L.M. Castell. et al. 1997. The effect of oral glutamine supplementation on athletes after prolonged exhaustive exercise. Nutrition 13:738. Sugita M., Ohtani M., Ishii N., Maruyama K., Kobayashi K. 2003. Effect of selected amino acid mixture on the recovery from muscle fatigue during and after eccentric contraction exercise training. Biosci Biotechnnol Biochem. Feb; 67(2):372-5. J Am Coll Nutr. 2006. Jun;25(3):188-94. J Int Soc Sports Nutr. 2012. May 8;9(1):20. Calder P. Branched-chain amino acids and immunity. Journal of Nutrition. 2006. 136(1 Suppl):288S-293S. D’Antona G, Ragni M, Cardile A, TedescoL, Dossena M, Bruttini F, Caliaro F, Corsetti G, Bottinelli R. Carruba MO, Balerio A and Nisoli E. 2010. Branched-chain amino acid supplementation promotes survival and supports cardiac and skeletal muscle mitochondrial biogenesis in middle-aged mice. Cell metabolism Oct 6; 12(4):362-72 Singh, Vishwa N. 2009 “A Current Perspective on Nutrition and Exercise.” Journal monkeys , AZ. 11 Mar. 2009. Keyword: Exercise Nutrition. Maughan, Ronald J., ed. 2001. “Sports Nutrition: What Is It?” Journal of Nutrition & Physical Activity 17 (2001). Elsevier Science Inc. 25 Mar. 2009. Lemon P. “Do athletes need more dietary protein and amino acids?”. International journal of sports nutrition 5: 39–61. Spada R. “Endurance sports nutrition”. Journal of Sports Medicine & physical Fitness 40 (4): 381–382. Delamere, Nicholas, and Claudia Stanescu. 2009. “Muscle Energetics.” Physiology 201. University of Arizona, Tucson. 25, 27, 29 Mar. 2009 Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p48-49_Pro3.indd 49

49

11/22/13 8:42:54 PM


SPECIAL FOCUS โดย: คุณกมลรัตน อภิมหามนตรี Market & Development Supervisor บริษัท วิคกี้ เอนเตอรไพรซ จำกัด rd@vicchienterprise.com By: Ms.Kamonrat Apimahamontri Market & Development Supervisor Vicchi Enterprise Co., Ltd. rd@vicchienterprise.com

Whey Protein and Sports Nutrition โปรตีนเวยและโภชนาการสำหรับการกีฬา ‡¡◊Ë Õ ‰¡à π “ππ’È º ≈‘ μ ¿— ≥ ±å ‡ «¬å ¢ Õß À√— ∞ Õ‡¡√‘ ° “‰¥â ° ≈“¬‡ªì π à « πº ¡Õ“À“√¬Õ¥π‘ ¬ ¡ „π‚¿™π“°“√ ”À√— ∫ π— ° °’ à “ „π™à « ß∑»«√√…∑’Ë ºà “ π¡“ª√–™“™π‰¥â À— π ¡“ π„®«‘ ∂’ ™’ «‘ μ ‡æ◊ËÕ ÿ¢¿“æ ‚¥¬°“√ÕÕ°°”≈—ß°“¬‡æ◊ËÕ à߇ √‘¡æ≈“π“¡—¬¡“°¢÷Èπ ∑”„Àâ¡’§«“¡μâÕß°“√ ‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡π—°°’Ó∑’Ë„À₪√μ’π·≈–º≈‘μ¿—≥±åÕ◊Ëπ∑’ËÕÕ°·∫∫¡“‡æ◊ËÕ‡ √‘¡ ¡√√∂π–¢Õßπ—°°’Ó ¡“°¢÷Èπ Recently U.S. whey products have become very popular ingredients in sports nutrition. The past decade has seen increasing popular interest in healthy lifestyles. This increase in the number of muscle and fitness enthusiasts has prompted a growing consumer demand for protein sports beverages, specialized nutritional drinks, nutritional snack bars and other products designed to optimize athletic performance.

ปรตีนเวยยอยงายและมีประสิทธิภาพในการเผาผลาญไดอยางดีเลิศ ทำให มี คุ ณ ค า ทางชี ว ภาพสู ง นอกจากนั้ น ยั ง มี อ นุ พั น ธุ ก รดอะมิ โ น (Branched Chain Amino Acids; BCAAs) ที่ความเขมขนสูงสุดซึ่งมีอยูในแหลงโปรตีน อาหารทั่วไป ในระหวางการออกกำลังกายรางกายจะสังเคราะหโปรตีนนอยลง และ โปรตีนจะถูกปลดปลอยออกมาในรูปของกรดอะมิโนอิสระ จากนั้นกลามเนื้อลาย จะรับอนุพันธุ BCAAs จากเลือดและยอยเปนกลูโคสเพื่อสรางพลังงาน ฉะนั้นอนุพันธุ ของ BCAAs จึงเปนกรดอะมิโนพิเศษเพราะเปนแหลงพลังงานในการออกกำลังกายนานๆ โปรตีนเวยเ หมาะเป น พิ เ ศษสำหรั บ ทำเครื่ อ งดื่ ม นั ก กี ฬ าและสู ต รอาหารแท ง บาร 50

W

hey proteins are both easily digested and have excellent metabolic efficiency, giving the protein a high biological value. They also contain the highest concentration of branched chain amino acids (BCAAs) available from any natural food protein source. During exercise, whole body protein synthesis is decreased, and proteins are mobilized into free amino acids. Skeletal muscle takes up BCAAs from the blood and breaks them down into glucose for energy. Therefore BCAAs are unique among amino acids in their ability to provide an energy source during endurance exercise. Whey proteins are specially suited to sports drink and bar formulations. They provide a high concentration of BCAAs (20-26 g per 100 g protein), a high quality, pure protein with little or no fat, cholesterol or lactose, and they have excellent bioavailable calcium.

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p50-52_Pro3.indd 50

11/21/13 11:21:37 PM


โปรตีนใหอนุพันธุ BCAAs เขมขน (20 – 26 กรัม/โปรตีน 100 กรัม) และให โปรตีนบริสุทธิ์คุณภาพสูงซึ่งมีไขมัน คอเลสเทอรอล และแล็กโทสนอยมาก หรือไมมีเลย อีกทั้งยังมีแคลเซียมชั้นดีที่มีประโยชนตอรางกาย

เวย พลังงาน และการกีฬา รางกายไดพลังงานจากคารโบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน แหลงพลังงานหลัก สำหรั บ การออกกำลั ง กายช ว งสั้ น และปานกลางคื อ คาร โ บไฮเดรต ที่ทำหนาที่เปนน้ำตาลไกลโคเจน แตเมื่อออกกำลังกายนานขึ้นพลังงาน จากคารโบไฮเดรตจะคอยๆ ถูกแทนที่ดวยไขมัน และโปรตีนจะถูกนำมาใช หลั ง จากออกกำลั ง กายที่ ย าวนานขึ้ น เมื่ อ กรดอะมิ โ นซึ่ ง ส ว นใหญ เ ป น อนุพันธุ BCAAs ทำปฏิกิริยาออกซิเดชันก็จะใหพลังงานรอยละ 10-15 ของพลังงานทั้งหมดที่ตองการใชในระหวางออกกำลังกาย

ความสัมพันธระหวางพลังงานโปรตีนกับการกีฬา กรดอะมิโนเปนพื้นฐานของโครงสรางเซลลซึ่งจำเปนตอการเผาผลาญ อาหารและใหพลังงานแกรางกายมนุษย รอยละ 15 ของพลังงานที่ใชไป ในระหวางการออกกำลังกายอาจมาจากโปรตีน ซึ่งสวนใหญไดจากกรดอะมิโน ชนิ ด หนึ่ ง ชื่ อ ลิ ว ซี น ก อ นที่ ก รดอะมิ โ นจะใช เ ป น พลั ง งานได นั้ น จะต อ ง มี ก ารแยกหรื อ เปลี่ ย นกรดอะมิ โ นเสี ย ก อ น เพื่ อ เอาไนโตรเจนออกไป การฝกซอมกีฬาอาจตองใชเอนไซมทรานสอะมิเนสเพิ่มขึ้นถึง 2 เทา ซึ่งจะ ไปเพิ่มการใชกรดลิวซีนและกรดอะมิโนอื่นเพื่อสรางพลังงาน มีงานวิจัย หลายชิ้นที่แสดงใหเห็นวามีการใชโปรตีนเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 20 ในชวง การออกกำลังกายแบบแอโรบิค โดยวัดจากปริมาณกรดลิวซีน นอกจากนี้ ความจำเปนตองใชโปรตีนเพิ่มในชวงออกกำลังกายยังมีขอมูลสนับสนุน จากงานวิจัยที่แสดงวามีการหลั่งสาร 3-เมธิลฮีสติดีนเพิ่มขึ้น มีการสูญเสีย ไนโตรเจนยู เ รี ย เพิ่ ม ขึ้ น และมี ก ารสั ง เคราะห โ ปรตี น น อ ยลง งานวิ จั ย หลายชิ้นชี้บงวามีการใชกรดอะมิโนเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะอนุพันธุ BCAAs ลิวซีน ไอโซลิวซีน และวาลีนในชวงออกกำลังกาย โดยอนุพันธุ BCAAs จะ ลดลงเนื่ อ งจากกล า มเนื้ อ ปล อ ยไนโตรเจนซึ่ ง ไปรวมกั บ กรดไพรู เ วต ในกลามเนื้อเพื่อสรางอะลานีน ตับจะแยกไนโตรเจนออกจากอะลานีน เพื่อสรางกลูโคสเปนแหลงพลังงาน อยางไรก็ตาม อัตราการใชกรดอะมิโน ตัวอื่น เชน ไลซีนอาจเพิ่มขึ้นหรือไมเพิ่มในระหวางการออกกำลังกายหรือ หลังการออกกำลังกายก็ได สวนมวลของกลามเนื้อจะไมมีการสูญเสีย ระหวางการออกกำลังกาย

Whey Energy and Sport

The body’s energy requirements are met by carbohydrate, fat and proteins. The main source of energy in short and medium term exercise is carbohydrate as glycogen. This is gradually replaced by lipid, as the exercise period becomes longer. Proteins can also be used as a source of energy particularly during prolonged exercise. The oxidation of amino acids, Mainly BCAAs, can provide 10 – 15% of the total energy required during exercise.

Protein Power and Sports Connection

Amino acids provide the building blocks of cellular structures, which are necessary for human metabolism and supply the body with energy. As much as 15% of the energy spent during exercise can come from proteins, with a large percentage coming from one amino acid, leucine. Before amino acids can be used for energy, deamination or transamination must occur to remove nitrogen. Athletic training can double the levels of important transaminases, and this significantly increases the body’s ability to utilize leucine and other amino acids for energy. Several studies using leucine turnover measurements show an increase of up to 20% in protein turnover during aerobic exercise. The case for increased protein needs during exercise is also supported by studies showing increased excretion of 3-methyl histidine, increased urea nitrogen losses, and depression of protein synthesis. Studies show an increased utilization of primarily the BCAAs, leucine, isoleucine and valine during exercise. The BCAAs are degraded by active skeletal muscles to release nitrogen, which is combined with pyruvate in muscles to form alanine. The liver removes nitrogen from alanine to form glucose as a source of energy. However, turnover rates for other amino acids, such as lysine, are unaffected by exercise. Nitrogen losses have been shown to increase or not change during and after exercise though no detectable amount of muscle mass is lost during exercise.

Whey Protein

concentrate 80 (WPC 80) provides unique high biological value that contains the material essential to;

• Promote efficient recovery • Boost antioxidant capacity • Maintain a strong immune system • Improve body composition • Build muscle strength and size • Delay fatigue • Weight loss

VICCHI ENTERPRISE CO., LTD. 16 Phatthanakan Soi 51, Suanluang, Bangkok 10250 THAILAND Tel: 66 (2) 320 0999 Fax: 66 (2) 320 5699 www.vicchienterprise.com Food Focus Thailand

DECEMBER 2013 FF#93_ad_Vicchi_Pro3.indd 27 FF#93_p50-52_Pro3.indd 51

51

11/15/13 10:12:49 PM 11/23/13 9:58:02 PM


คุณประโยชนของโปรตีนเวยในโภชนาการสำหรับนักกีฬา • โปรตีนคุณภาพสูงยอยงาย ใหพลังงานเพิ่มเติม ไมตองใช โปรตีนสำรองในรางกาย • มีอนุพันธุ BCAAs ในปริมาณสูง เชน ลิวซีน ไอโซลิวซีน และวาลีน ชวยใหเหนื่อยชาลง • เปนแหลงกรดอะมิโนที่มีเกลือซัลเฟอร เชน กรดซีสเตอีนและ กรดเมทไธโอนีน รักษาระดับสารแอนตี้ออกซิแดนทในรางกาย และเชื่อวาชวยทำใหเกิดความเสถียรของ DNA ระหวางแบงเซลล • มีกรดอารจนี ีนและไลซีนในระดับสูงอาจกระตุนใหขับฮอรโมน ที่ชวยการเจริญเติบโต จึงกระตุนการเพิ่มมวลกลามเนื้อและ ลดไขมันในรางกายลง • มีกลูตามีนชวยการทดแทนน้ำตาลไกลโคเจนในกลามเนื้อ ที่ใชหมดไป และปองกันไมใหหนาที่การสรางภูมิคุมกันลดลง เมื่อฝกซอมมากเกินไป • เปนแหลงแคลเซียมที่มีประโยชนตอรางกายที่ดีเลิศ ชวยลด อาการบาดเจ็บของขอตอและกลามเนื้อในระหวาง การออกกำลังกาย

อนุพันธุ BCAAs ชวยฟนกำลัง เชื่ อ กั น ว า อนุ พั น ธุ BCAAs สามารถลดการเสื่ อ มของโปรตี น กล า มเนื้ อ ในระหวางออกกำลังกายและทำใหนักกีฬาฝกซอมไดนานมากขึ้น มีหลักฐาน พิสูจนวาอนุพันธุ BCAAs สามารถชวยฟนกำลังนักกีฬาหลังออกกำลังกาย อย า งหนั ก และด ว ยคุ ณ สมบั ติ นี้ ก ำลั ง เป น จุ ด สนใจของการวิ จั ย ด า น เวชศาสตรการกีฬา ปจจุบันเชื่อวาระหวางการออกกำลังกายเปนเวลานาน อนุ พั น ธุ BCAAs จะได รั บ ออกซิ เ จนจากกล า มเนื้ อ ลาย ส ว นคาร บ อน จะถูกใชเปนเชื้อเพลิงและไนโตรเจนจะถูกนำไปใชเพื่อสรางกรดอะมิโนอะลานีนซึ่งจะสงไปยังตับเพื่อเปลี่ยนเปนน้ำตาลกลูโคสสำหรับพลังงาน ต อ ไป สำหรั บ นั ก กี ฬ าที่ ต อ งการรั ก ษามวลกล า มเนื้ อ ของตนนั้ น ต อ งใช ผลิตภัณฑเสริมโปรตีนที่อุดมดวยอนุพันธุ BCAAs ตามธรรมชาติทั้งกอน และหลังการออกกำลังกาย อาจถือวาเปน “ความเครียดอยางหนึ่งที่เกิด จากการทำปฏิกิริยาเมทาบอลิซึม” คลายกับอาการบาดเจ็บหรือเปนแผล ในสภาพเชนนี้เยื่อของกลามเนื้อจะถูกเผาทำลายอยางชาๆ เพื่อใหตับ มี ส ารตั้ ง ต น สำหรั บ ผลิ ต น้ ำ ตาลกลู โ คส ฉะนั้ น อนุ พั น ธุ BCAAs จึ ง มี ประโยชนมากในอาหารสำหรับนักกีฬาเนื่องจากชวยฟนสภาพรางกาย ใหเหมือนเดิม ชวยใหเหนื่อยชาลง งานวิจัยภาคสนามหลายชิ้นไดลองใช อาหารเสริมอนุพันธุ BCAAs กับนักวิ่ง นักฟุตบอล และนักสกีขามประเทศ พบวาสมรรถนะของนักกีฬาสูงขึ้น

Benefits of Whey Proteins in Sports Nutrition

• Easily digestible high quality protein provides additional energy, spares endogenous protein. • Contains high levels of BCAAs: leucine, isoleucine, and valine may increase time to exhaustion. • Good source of sulfur containing amino acids such as cysteine and methionine maintains antioxidant levels in the body, and are thought to stabilize DNA during cell division. • Contains high levels of arginine and lysine may stimulate growth hormone release, and thus stimulate an increase in muscle mass and a decline in body fat. • Contains glutamine helps muscle glycogen replenishment and prevents decline in immune function from overtraining. • Excellent source of bioavailable calcium reduces stress fractures during exercise and prevents bone loss in hypoestrogenic female athletes.

BCAAs Aid Recovery

BCAAs are thought to decrease muscle protein degradation during exercise and allow athletes to train more intensively for longer periods of time. There is evidence they can help revive athletes after intense exercise and aid recovery, and these topics have become active subjects for sports medicine research. The current theory is that during exercise, BCAAs are oxidized by skeletal muscle, the carbon part is used as fuel and the nitrogen part is used to make the amino acid alanine, which then goes to the liver where it is turned into glucose for energy. For athletes who want to protect their existing mass, the idea is to take whey protein fortified products naturally rich in BCAAs before and after the exercise. Exercise can be considered to be a “metabolic stress” like injury or trauma. Under these conditions, muscle tissue is progressively catabolized to provide the liver with precursors for glucose. Therefore BCAAs can be extremely beneficial in the diet of athletes as aid to recovery. Several field studies using BCAAs supplementation with runners, soccer players, and cross-country skiers have shown beneficial effects on performance.

เอกสารอางอิง/Reference คูมืออางอิงสำหรับผลิตภัณฑเวยและแล็กโทส สหรัฐอเมริกา Reference Manual for U.S. Whey and Lactose Products 52

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p50-52_Pro3.indd 52

11/23/13 10:16:14 PM


โดย: ดร. วินัย ปติยนต ที่ปรึกษาวิชาการ บริษัท หองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด vinai@centrallabthai.com

ç “√æ‘…é À¡“¬∂÷ß “√∑’Ë∑”„À⇰‘¥§«“¡‡ªìπæ‘… ‡¡◊ËÕ‡ªÑ“À¡“¬ ‡™àπ §π —μ«å æ◊™ ‘Ëß·«¥≈âÕ¡‰¥â√—∫ °“√ — ¡ º— ∑“ßμ√ß·≈–∑“ßÕâ Õ ¡ (Direct or indirect exposure) ∂â “ ‡ªÑ “ À¡“¬§◊ Õ ¡πÿ … ¬å ‡™à π ®“°°“√√— ∫ ª√–∑“π∑“ߪ“° ∑“ß°“√À“¬„® ∑“ß®¡Ÿ ° ·≈–°“√¥Ÿ ¥ ´÷ ¡ ºà “ πº‘ « Àπ— ß ∑”„Àâ ‡ °‘ ¥ §«“¡‡ªì π æ‘ … μ“¡¡“ μ—È ß ·μà √ –¥— ∫ ∑’Ë ‰ ¡à ∑ ”„Àâ ‡ °‘ ¥ °“√∫“¥‡®Á ∫ (NOEL) ∫“¥‡®Á ∫ ™—Ë « §√“«·≈â « À“¬ ‰¥â‡Õß (NOAEL) ·≈–∫“¥‡®Á∫∂“«√ (LOAEL) ®π∂÷ß ∑”≈“¬™’ «‘ μ (LD 50 ) ¥— ß π—È π §ÿ ≥ ¡∫— μ‘ ¢ Õß §«“¡‡ªìπæ‘…¢Õß “√æ‘…®÷ߢ÷ÈπÕ¬Ÿà°—∫μ—« “√æ‘…‡Õß √–∫∫∑’ˇ°’ˬ«¢âÕß ™àÕß∑“ß°“√‡¢â“ Ÿà‡ªÑ“À¡“¬π—ÈπÊ ·≈–§«“¡‡ªì π æ‘ … ∑’Ë ‡ °‘ ¥ ¢÷È π À≈— ß ®“°°“√‡¢â “ Ÿà √à“ß°“¬ ´÷Ë߇ªìπ‡√◊ËÕߢÕßæ‘…«‘∑¬“

STRONG QC & QA

ษวิทยา (Toxicology) เปนศาสตรแขนงหนึ่งที่ศึกษาถึงผลกระทบของสารเคมี

ตางๆ ที่กอใหเกิดอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดลอม พิษวิทยามีสวนสัมพันธกับ วิ ช าต า งๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง เช น อาหาร เภสั ช วิ ท ยา ชี ว เคมี สรี ร วิ ท ยา สาธารณสุ ข แพทยศาสตร สิ่งแวดลอม และนิเวศวิทยา รวมถึงมีบทบาทตอชีวิตประจำวันของมนุษย ปจจุบัน เทคโนโลยีตางๆ ทางวิทยาศาสตรไดกาวหนาไปมาก เชน การผลิต สังเคราะหยา มีสารเคมีชนิด ใหมๆ ไดเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ตลอดจนความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม สิ่งที่ตามมาก็คือผลกระทบจากวิทยาการใหมๆ ตอชีวิตและสุขภาพของมนุษย สัตว และพืช ตลอดจนสิ่งแวดลอม ผูที่ไดรับสารพิษโดยตรงหรือโดยออมมักเกิดอาการเปนพิษตางๆ คาความเปนพิษ (Toxicity) ของสารตางๆ มาจากการศึกษาคา LD50 (Lethal dose at 50%) คือปริมาณหรือความเขมขนของสาร (มิลลิกรัม) ที่ใหเพียงครั้งเดียวสามารถทำใหสัตว ทดลองตายลงครึ่งหนึ่ง ภายใน 24 ชั่วโมงหรือไมเกิน 7 วัน (ทางปาก หรือผิวหนัง) เพื่อใชเปน เกณฑตัดสินวาสารตางๆ จะมีความเปนพิษหรืออันตรายมากนอยเพียงไร ทดลองโดยใหขนาด ของสารเคมี (Dose) ตางๆ ซึ่งตองดำเนินการศึกษาตามวิธีการมาตรฐานทางหองปฏิบัติการ เชน OECD-GLP ในสัตวทดลอง เชน หนู กระตาย สุนัข แมว หรือลิง เปนตน คา LD50 จึงหมายถึงขนาดของสารเคมีซึ่งสัตวทดลองรับเขาสูรางกาย โดยการกิน หายใจ หรือถูกปาย ผานทางผิวหนังหรือฉีดใตผิวหนัง แลวทำใหสัตวทดลองตายไปรอยละ 50 จากสัตวทดลองที่ใช ทั้งหมด นอกจากนั้นระยะเวลาของการไดรับสัมผัสก็เปนปจจัยที่สำคัญ หากไดรับบอยๆ และ เปนเวลานานจะเกิดพิษที่สูงกวา ความเปนพิษแบงเปน 3 ลักษณะ คือ พิษเฉียบพลัน (Acute toxicity) โดยสิ่งที่มีชีวิต เมื่อไดรับจะแสดงอาการทันที พิษระยะปานกลาง (Sub-chronic toxicity) ซึ่งความเปนพิษ อาจถู ก หน ว ง ต อ งประเมิ น ในระยะ 90 วั น และพิ ษ ระยะยาวหรื อ พิ ษ เรื้ อ รั ง (Chronic toxicity) ซึ่งจะประเมินในระยะ 2 ป สำหรับสัตวทดลอง เชน หนู โดยทั่วไปกระบวนการทดสอบ ตองเปนไปตามหลักการของ GLP (OECD/US) สารเคมีที่จะนำมาใชจะตองไดรับการประเมิน ในทุกตัวแปรที่เกี่ยวของ คาที่ไดจากสัตวทดลอง หากนำมาใชโดยตรงกับคนปกติจะหาร

Toxicants

Fo Food ood o od o dF Foc Fo Focus ocu uss T Tha Thailand hail h ha ailiillan a and a nd nd

DEC DE DECEMBER CEMB CE CEM MBER ER 20 22013 0133

FF#93_p53-55_Pro3.indd 53

53 53

11/23/13 10:21:14 PM


ดวย 100 (ลดลง 100 เทา) เชนในสัตวทดลอง (หนู) มีคา Acceptable Daily Intake (ADI) หมายถึ ง ปริ ม าณสารที่ สั ต ว ท ดลองได รั บ ตลอดอายุ ขั ย โดย ไม ก อ ให เ กิ ด อาการใดๆ เท า กั บ 1 mg/kg bw. ค า ADI ในคนจะเท า กั บ 0.01 mg/kg bw. เปนตน

ชนิดของสารพิษ สารพิ ษ ถู ก สร า งมาจากหลายแหล ง (Sources) ซึ่ ง อาจมาจากทางกายภาพ จากการสังเคราะหเพื่อนำมาใชงาน สารพิษที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากปฏิกิริยาเคมี สารพิษที่จุลินทรียสรางขึ้น สารชีวภาพ และสารกัมมันตภาพรังสี ความเปนพิษ ดังกลาวสามารถออกฤทธิ์โดยผานชองทางหลัก 3 ทาง สารเหลานั้นประกอบดวย สารพิ ษ ด า นกายภาพ เช น สารก อ ให เ กิ ด การกั ด กร อ นเนื้ อ เยื่ อ ต า งๆ ความถี่เสียง หรือเสียง ความรอน/เย็น สารเคมีที่มนุษยสังเคราะหขึ้น เชน วัตถุอันตราย ตามกรอบของ พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 (ฉบับที่ 3) ปจจุบันมีการขึ้นทะเบียนแลว มากกวา 1,000 ชนิด ยาคน ยาสัตว สารเติมแตงอาหาร (Food additives) สารปองกันการหืน (Antioxidants) สีผสมอาหาร (Food coloring) ชนิดตางๆ จากการสังเคราะหหรือ สกัดจากสารธรรมชาติ สารที่ เ กิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงทางปฏิ กิ ริ ย าเคมี ทั้ ง ภายในและ นอกรางกายสิ่งมีชีวิต อาจเกิดภายในตัวเซลสหรือสรางแลวปลดปลอยออกมา นอกเซลส เชน กลุมชีวพิษ (Biotoxins) สารพิษที่จุลินทรียสรางขึ้นเพื่อปกปองตัวเอง (Self-defended compounds) จากศัตรู เชน กลุมไมโคท็อกซิน (Mycotoxins) สารที่สำคัญไดแก อะฟลาทอกซิน สารกัมมันตรังสีตางๆ ซึ่งสามารถสงรังสีเขาไปทำลายในระดับเซลสหรือ ดีเอ็นเอได

ตัวอยางของสารพิษ 1. วัตถุอันตราย • วั ต ถุ อั น ตรายทางการเกษตร อุ ต สาหกรรม สาธารณสุ ข และอื่ น ๆ ซึ่ ง โดยทั่ ว ไปจะต อ งมี ก ารขึ้ น ทะเบี ย นเพื่ อ ประเมิ น ตามกลุ ม และคุ ณ สมบั ติ เพื่อดูคุณประโยชนและความเสี่ยงที่เกิดจากการใชตามเปาหมายที่ตองระบุบน ฉลาก โดยหนวยงานที่รับผิดชอบของแตละกระทรวงขางตน • วัตถุเจือปนอาหารหรือสารเติมแตงอาหารเปนอีกกลุมใหญที่จำเปนตองมี การขึ้นทะเบียนกอนการนำมาใชงาน เชน กลุมสารปองกันการหืน กลุมปองกัน กำจัดจุลินทรีย เชน ไนไตรท ซัลเฟอรไดออกไซด รวมทั้งสีผสมอาหารตางๆ

54

• กลุ ม ยาคนและยาสั ต ว ที่ อ าจตกค า งในอาหาร เช น Nitrofuran และ

Nitrofuran metabolized, Chloramphenicol, Malachite green, กลุม Sulfa- และ Beta-agonist เปนตน • สารกลุมที่มีความคงทนในสิ่งแวดลอมสูง (Persistent Organic Pollutant; POP) สวนใหญเปนวัตถุอันตราย และสารเคมีในอุตสาหกรรมรวมทั้งสารที่เกิดจาก การเผาไหม เชน Dioxins, Furans, PCBs เปนตน 2. โลหะหนั ก เชน ตะกั่ว ปรอท อาซีนิค แคดเมี่ยม เปนสารพิษที่อาจมา จากมนุษยสรางขึ้น (ทำใหบริสุทธิ์) หรือมาจากการปนเปอนจากสิ่งแวดลอมจาก เกลือของโลหะหนักเหลานี้ เชน การทำเหมืองแรตางๆ สารเหลานี้ถูกชะลางและ เคลื่อนยายลงสูสิ่งแวดลอม เขาสูหวงโซอาหาร เขาสูมนุษย สัตว และพืชในที่สุด 3 สารชี ว พิ ษ เป น สารที่ พื ช หรื อ สั ต ว ส ร า งขึ้ น ส ว นหนึ่ ง เพื่ อ ปกป อ งตั ว เอง หรือเพื่อเปนสวนหนึ่งของการดำเนินชีวิตในวงจรชีวิตของสิ่งมีชีวิต เชน สารพิษจาก สัตวทะเลตางๆ เชน จากหอยทะเล (Shellfish) สารที่มีพิษสูงสุดคือ Paralytic Shellfish Poison (PSP), Amnesic Shellfish Poisoning (ASP) หรือ Domoic acid) และ Diarrhetic Shellfish Poisoning (DSP หรือ Okadaic acid) จาก ปลาปกเปา นอกจากนั้นยังมีแบคทีเรีย ไวรัสบางชนิดที่ทำใหเกิดการแพจนถึง ขั้นเสียชีวิตได 4. สารพิษจากจุลินทรีย เปนสารพิษกลุมใหญ เกิดจากเชื้อราในพืชกระจาย อยูในอาหาร ในกลุมธัญพืชกอน/หลังการเก็บเกี่ยว การขนสง และการเก็บรักษา กอนการแปรรูป การจำหนาย โดยหลายชนิดสามารถเหนี่ยวนำใหเกิดมะเร็งในสัตว ทดลองหรือในมนุษยได ซึ่งมีกลุมสารหลักอยูประกอบดวย • อะฟลาท็อกซิน (Aflatoxin) เปนสารพิษจากจุลินทรีย หรือเชื้อรา พบใน ธัญพืช พืชสมุนไพร อาหาร และอื่นๆ เกิดจากเชื้อราหลายชนิดในกลุม Aspergillus spp. มี 3 ชนิด ไดแก ชนิด B (Bis-furano-isocoumarin) คือ B1 และ B2 และ ชนิด G คือ G1 และ G2 และอะฟลาท็อกซิน M1 และ M2 (ในนม Codex กำหนด (M1) ไวเทากับ 0.05 ไมโครกรัม/กิโลกรัม) และ อย. ไทยกำหนดใหคา Maximum Limit (ML) ของอะฟลาท็ อ กซิ น รวมในตั ว อย า งอาหารต อ งพบได ไ ม เ กิ น 20 ไมโครกรัมตอกิโลกรัม (พีพีบี) • โอคราท็อกซิน เอ (Ochratoxin A) หรือ OTA เปนสารพิษที่เกิดจากเชื้อรา กลุม Penicillium spp. และ Aspergillus spp. โครงสรางทางเคมีของสารพิษนี้ แตกตางจากสารอื่นๆ ตรงที่มีคลอรีนอะตอมมาเกาะ พบในธัญพืช กาแฟ และ สามารถปนเปอนลงสูน้ำผลไม มีความเปนพิษตอไตสูง และเปนสารกอมะเร็งชนิดหนึ่ง ซึ่งมักจะมีการพบรวมกับอะฟลาท็อกซินซึ่งทำใหเกิด Okratoxicosis ในหมูและไก Codex กำหนดคา ML ของ OTA ไวที่ 5 ไมโครกรัม/กิโลกรัมอาหาร • พาทูลิน (Patulin) เปนสารพิษที่เกิดจากเชื้อรา Penicillium spp. และ Aspergillus spp. และ Bussochlamys เปนสารพิษที่เรียกวา Polyketide lactone ซึ่งมีโครงสรางโมเลกุลขนาดเล็ก (C7H6O4) ละลายน้ำไดดี พบมากในธัญพืช ผัก ผลไม และเนย ในน้ำผลไมโดยเฉพาะน้ำแอปเปลที่มีสภาพการเก็บไมเหมาะสม Codex กำหนดคา ML ไวที่ 50 ไมโครกรัม/กิโลกรัม เปนสารที่ถูกจัดวาสามารถ เหนี่ยวนำใหเกิดมะเร็งได (IARC) • ฟูซาเรียมท็อกซิน (Fusarium toxins) เปนสารพิษอีกกลุมหนึ่งที่กำลัง มีบทบาทมากขึ้น ประกอบดวย T-2 toxin, HT-2 toxin, Deoxynivalenol (DON), Nivalenol, Zearalenone และ Fumonisins พบปนเปอนในอาหารประเภทธัญพืช ขนมปง พาสตา สหภาพยุโรปกำหนดคา ML ไวบางชนิด เชน DON ในขนมปงตอง

Food Foc Focus oc cuss Th T Thailand ha hai h hail aiila ail and an n

DECEMBER 2013

FF#93_p53-55_Pro3.indd 54

11/22/13 12:44:57 AM


พบน อ ยกว า 500 ไมโครกรั ม /กิ โ ลกรั ม Zearalenone ตองนอยกวา 50 ไมโครกรั ม /กิ โ ลกรั ม เป น ต น สำหรั บ T-2 toxin, HT-2 toxin ไมมีคากำหนด แต ก็ ห มายถึ ง ไม ค วรพบ (Not detected) • เออร ก อตอั ล คาลอยยด (Ergot alkaloids) สารอั ล คาลอยด ผลิ ต จากเชื้ อ รา Claviceps purpurea ใน ธัญพืชมีสารหลายชนิดในกลุมนี้ ไดแก Ergometrine, Ergotamine, Ergosine, Ergocristine, Ergocryptine โดยรวม ไอโซเมอร ช นิ ด แอลฟาและบี ต า (α- & β-isomer), Ergocornine และสารพิษ Corresponding – inine epimers โดยเฉพาะ ขาวสารขาวที่สงออกไปประเทศรัสเซียจะกำหนดใหไมพบและเริ่มมีการศึกษา เพื่อกำหนดคาความปลอดภัยแตยังไมมีขอมูลในคนมากนักแตในสัตวมีการ กำหนด โดยเฉพาะในสหภาพยุโรป • อัลเทอนาเรียท็อกซิน (Alternaria toxins) เปนสารพิษที่เกิดจากเชื้อรา ตระกูล Alternaria spp. สารเหลานี้จะแสดงความเปนพิษตอเซลส (Cytotoxic) ในสั ต ว เ คี้ ย วเอื้ อ ง ค า LD 50 ในหนู ของ Alternariol monomethyl ether, Alternariol, Altenuene, และ Altertoxin I เทากับ 400, 400, 50 และ 200 mg/ kg b.w. โดยที่ Altertoxin I มีความเปนพิษสูงสุด • ไมโคท็อกซินอื่นๆ (Other mycotoxin) เปนสารพิษจากเชื้อราที่ยังไม เขากลุม รวมทั้งสารพิษที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงภายในรางกาย และธัญพืช มีมากกวา 100 ชนิด ซึ่งมีการศึกษามากขึ้นในปจจุบัน 5. สารกั ม มั น ตรั ง สี บางครั้ ง อาจจั ด อยู ใ นกลุ ม ทางกายภาพ ป จ จุ บั น คนทั่ ว ไปได รั บ รั ง สี ผ า นทางการฉายรั ง สี ข องร า งกายโดยตรง อย า งไรก็ ต าม การไดรับรังสีอาจมาจากอาหารบางชนิดที่ไดรับอนุญาตใหใชได เชน แหนม อาหารหมักดอง หรือเครื่องเทศบางชนิด ทั้งนี้ขนาดของรังสีหากใชตามเกณฑ กำหนดจะอยูในระดับที่ไมเปนอันตราย 6. สารพิ ษ อื่ น ๆ สารที่ ถู ก ชะจากภาชนะบรรจุ (Food contact material) เชน กลุมพลาสติไซเซอร (Plasticizer) ไดแก กลุมสารพทาเลท (Phthalates) เปนตน ซึ่งในอดีตไมใชสารพิษโดยตรง ปจจุบันมีการศึกษาอยาง กวางขวางโดยเฉพาะพิษระยะปานกลาง และระยะยาวหรือพิษเรื้อรังโดยเฉพาะ ในกลุมผูบริโภคที่มีความออนไหว เชน เด็ก สตรีมีครรภ และผูสูงวัย สารพิษเปนกลุมของสารที่มีผลตอความเปนอยูของมนุษย สัตว พืช โดยผาน ช อ งทางหลั ก ได แ ก ปาก ผิ ว หนั ง และหายใจ และสามารถเคลื่ อ นไหว เปลี่ยนแปลงอยูในระบบหวงโซอาหาร ดังนั้น บางสวนสามารถหลีกเลี่ยงได หรือ รางกายสามารถขจัดออกไดโดยธรรมชาติผานทางระบบขับถายตางๆ บางชนิด สามารถสะสมและกอใหเกิดพิษรุนแรงได หรือบางชนิดสามารถสงตอผานทาง พันธุกรรมได สารหลายชนิดเมื่อบริโภคในระดับที่เหมาะสมก็จะไมเปนอันตราย หรืออาจเปนประโยชน ในขณะที่บริโภคมากเกินไปจะเกิดความเปนพิษ ดังนั้น ควรเลือกใชสารพิษในสิ่งที่ควรเลือกใชและศึกษาอยางชัดเจน เพื่อกอใหเกิด ประโยชนและหลีกเลี่ยงการเจ็บปวย

Pure & Natural Juice Concentrates

• Berries • Superfruits • Tropical Fruits • Grape Juices (White & Red)

Flavors

• Beverage • Dairy Product • Savory Sauce • Savory Snack

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p53-55_Pro3.indd 55

55

11/23/13 9:51:55 PM


SMART PRODUCTION

โดย: บริษัท เมทเลอร-โทเลโด (ประเทศไทย) จำกัด MT-TH.CustomerSupport@mt.com

Quality Approval in

Juice Processing

การควบคุมคุณภาพของกระบวนการผลิตน้ำผลไมแปรรูปดวยเครื่องมือที่ ไววางใจได „πªí®®ÿ∫—π¡’‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡¡“°¡“¬À≈“¬™π‘¥„π∑âÕßμ≈“¥ ‰¥â√—∫§«“¡π‘¬¡‡æ‘Ë¡¢÷ÈπÕ—π‡π◊ËÕß¡“®“°°“√‚¶…≥“ §«“¡μâ Õ ß°“√ ‘Ë ß ·ª≈°„À¡à ¢ ÕߺŸâ ∫ √‘ ‚ ¿§ ·≈– § « “ ¡ μ √ – À π— ° √Ÿâ „ π ‡ √◊Ë Õ ß ¢ Õ ß ÿ ¢ ¿ “ æ ∑’Ë ¥’ ¢÷È π Àπ÷Ë ß „π‡§√◊Ë Õ ß¥◊Ë ¡ ∑’Ë ‰ ¥â √— ∫ §«“¡π‘ ¬ ¡„πμ≈“¥ §◊ Õ πÈ”º≈‰¡â™π‘¥μà“ßÊ ·≈–π”¡“´÷Ëß°“√¢¬“¬μ—«¢Õß Õÿ μ “À°√√¡°“√º≈‘ μ ·≈–°“√·ª√√Ÿ ª ‡§√◊Ë Õ ß¥◊Ë ¡ πÈ”º≈‰¡â¡“°¢÷Èπ

ผลไมแปรรูปที่มีอยูในตลาดนั้นมีหลายประเภท เชน น้ ำ ผลไม 100% น้ ำ ผลไม ผ สม รวมถึ ง น้ ำ ผลไม ประเภทผลิตภัณฑเสริมอาหาร โดยที่แตละประเภทนั้น มี ก ระบวนการผลิ ต ที่ แ ตกต า งกั น กระบวนการผลิ ต น้ ำ ผลไม 100% จะเริ่มตนจากการรับวัตถุดิบ คั้นเพื่อใหไดน้ำผลไมแลว กรองกากออก จากนั้นจึงปรุงแตงรสชาติ และฆาเชื้อกอนการบรรจุลงบรรจุภัณฑ กระบวนการผลิตตองมีการควบคุมคุณภาพทั้งรสชาติและลักษณะโดยทั่วไป ของสิ น ค า โดยเริ่ ม ตั้ ง แต ก อ นผลิ ต จนถึ ง การผลิ ต เสร็ จ สิ้ น เพื่ อ ให ไ ด คุ ณ ภาพ ที่เที่ยงตรงและสม่ำเสมอ เครื่องมือที่นำมาควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิต น้ำผลไมแปรรูป ไดแก 1. เครื่องวัดความเปนกรด-ดาง 2. เครื่องวัดปริมาณน้ำตาล 3. เครื่องวัดความหนาแนนของน้ำผลไม 4. เครื่องไทเทรตอัตโนมัติ

เครื่องวิเคราะหความเปนกรด-ดาง (pH Meter) ในการวัดคาความเปนกรด–ดาง โดยใชเครื่อง pH Meter จำเปนตองวัดตั้งแต การรั บ วั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ควบคุ ม คุ ณ ภาพผลไม ที่ เ ป น วัตถุดิบหลักในการผลิตน้ำผลไม ซึ่งคาความเปน กรด-ดางสามารถใชเปนตัวชี้วัดความสดใหมของ ผลไม ไ ด โดยหากมี ค า ความเป น กรดมากเกิ น กำหนดจะทำใหเกิดความเสี่ยงตอการเนาเสียของ วัตถุดิบได นอกจากนี้ เมื่อผานกระบวนการผลิต และไดผลผลิตออกมาเปนน้ำผลไมแลวก็ยังคงตอง 1 pH Meter ตรวจสอบคาความเปนกรด-ดางอีกครั้ง เนื่องจาก 56

คาความเปนกรด-ดางสามารถบงบอกรสชาติของน้ำผลไมไดวาตรงตามมาตรฐาน ที่กำหนดไวหรือไม

เครื่องวิเคราะหคาความหวาน (Refractometer) การวัดคาความหวานเปนการตรวจสอบคุณภาพของวัตถุดิบและน้ำผลไมซึ่งเปน ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ไ ด ม าในขั้ น ตอนสุ ด ท า ย ในขั้ น ตอนการรั บ วั ต ถุ ดิ บ จะต อ งวั ด ค า ความหวานเพื่อตรวจสอบความสดใหมของผลไม ซึ่งสงผลตอการปรับรสชาติใน ขั้ น ตอนการผลิ ต นอกจากนี้ หลั ง จากการผลิ ต เสร็ จ สิ้ น จนได ผ ลิ ต ภั ณ ฑสุ ด ท า ย ออกมาแลวก็ยังตองวัดคาความหวานอีกครั้ง เพื่อตรวจสอบรสชาติของผลิตภัณฑ วาตรงตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไมกอนสงออกเพื่อจำหนายใหผูบริโภคตอไป ในการวิเคราะหคาความหวานจะอาศัยการวัดดัชนีหักเหของแสง (Refractive index) ซึ่งมีเครื่องมือทั้งแบบที่ใชตาสอง หรือใชเครื่องอานแบบอัตโนมัติที่สามารถ อานคาและควบคุมอุณหภูมิไดอยางอัตโนมัติ ทำใหคาที่อานไดมีความนาเชื่อถือ มากยิ่งขึ้น โดยที่การวิเคราะหจะใชเวลาเพียงไมถึง 1 นาทีเทานั้น

อากาศ

2

น้ำ

น้ำเชื่อม

a) การหักเหของแสง

b) Refractometer

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p56-57_Pro3.indd 56

11/23/13 10:04:19 PM


เครื่องวิเคราะหความหนาแนนของน้ำผลไม (Density Meter) ในกระบวนการผลิ ต น้ ำ ผลไม ส ว นใหญ จ ะมี ก ารวั ด ค า ความหนาแน น ของน้ ำ ผลไม ใ นขั้ น ตอนก อ นการบรรจุ น้ ำ ผลไม ล งในบรรจุ ภั ณ ฑ เนื่ อ งจากค า ความหนาแนนนั้นสามารถใชเปนตัวบงชี้วาสวนประกอบตางๆ ในน้ ำ ผลไม ถู ก ต อ งตามมาตรฐานที่ ก ำหนดหรื อ ไม นอกจากนี้ ยั ง เป น ประโยชน ต อ การคำนวณปริ ม าณ น้ำผลไมที่บรรจุลงในบรรจุภัณฑเพื่อใหปริมาตรบรรจุ ถู ก ต อ งตามที่ ก ำหนดอี ก ด ว ย การวั ด ความหนาแน น ในป จ จุ บั น สามารถใช พิ ค โนมิ เ ตอร (Pycnometer) หรื อ ใช เ ครื่ อ งวั ด อั ต โนมั ติ โดยเครื่ อ งจะอ า นความถี่ ที่ เ ปลี่ ย นไปเมื่ อ มี ส ารตั ว อย า งเข า มา ซึ่ ง เครื่ อ ง สามารถควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ไ ด อั ต โนมั ติ ค า ที่ วั ด ได นั้ น จึ ง มี ค วามเที่ ย งตรงและแม น ยำ เนื่ อ งจากค า ความหนาแนนจะเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ หากอุณหภูมิ คลาดเคลื่อนจะทำใหคาที่อานไดเปลี่ยนแปลงไปดวย เชนกัน

3

เครื่ อ งไทเทรตอั ต โนมั ติ จึ ง เป น ทางเลื อ กที่ ดี ที่ ส ามารถวิ เ คราะห ก รดหรื อ วิ ต ามิ น ซี ใ นตั ว อย า ง ที่มีสีไดอยางแมนยำ ดวยความสามารถในการวิเคราะหสารในปริมาณที่นอยมากได จึงชวยให สามารถลดขนาดตัวอยางลงได ประหยัดทั้งเวลาและสารเคมีที่ใชในดำเนินงานไดอยางมาก ในการแปรรูปน้ำผลไมอยางมีประสิทธิภาพนั้นจะตองอาศัยเครื่องมือที่ชวยควบคุมคุณภาพ ในกระบวนการผลิตตั้งแตเริ่มตนรับวัตถุดิบไปจนถึงหลังจากไดน้ำผลไมในขั้นตอนสุดทายแลว โดยอาศัยเครื่องวัดความเปนกรด-ดาง เครื่องวัดปริมาณน้ำตาล เครื่องวัดความหนาแนน และ เครื่องไทเทรตอัตโนมัติ เพื่อใหมั่นใจไดในคุณภาพที่แนนอนและเปนไปตามมาตรฐาน แลวจึงบรรจุ ลงในบรรจุภัณฑเพื่อสงตอไปถึงผูบริโภคไดอยางไรกังวล

Density Meter

เครื่องไทเทรตอัตโนมัติ (Automatic Titrator) ในการหาคากรดสำหรับตัวอยางที่มีสีแทบจะเปนไป ไมไดเลยที่จะใชอินดิเคเตอร (Indicator) ในการวัดคา เนื่องจากจะมีการรบกวนจากสีของตัวอยาง ในน้ำผลไม ก็ เ ช น กั น ยิ่ ง ไปกว า นั้ น น้ ำ ผลไม บ างชนิ ด ยั ง จำเป น ตองวิเคราะหวิตามินซีดวย เพื่อใหไดคุณภาพตามที่ ต อ งการ แต ห าก น้ ำ ผลไม ที่ วิ เ คราะห มี สี การวิ เ คราะห จะยากยิ่ ง ขึ้ น และค า ที่ ไ ด จ ะ ไ ม ค ง ที่ การวิ เ คราะห ด ว ย

*<! =G3Ċ"+< :+E"")?55: =& Ċ/*/<0/ + =L)=#+82" :+ č + : F+ :!$AĊ$-< (:*G Ċ): + :! ISO 9001:2008 E-8 ISO/IEC 17025

4 Automatic Titrator FF#86_ad_Metter_Pro3.indd 57

FF#93_p56-57_Pro3.indd 57

Food Focus Thailand 6/25/13 11:55:04 AM 57

DECEMBER 2013

11/22/13 10:11:54 AM


SMART PRODUCTION

เอื้อเฟอขอมูลโดย: บริษัท โครเนส (ไทยแลนด) จำกัด แปลและเรียบเรียงโดย: อัครพล อนันตโชติ ผูชวยบรรณาธิการ นิตยสาร ฟูด โฟกัส ไทยแลนด a.arkkrapol@foodfocusthailand.com

Fruit Juice

from the Desert π—∫‡ªìπ§√—Èß·√°„π«ß°“√‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡¢ÕßÕ’¬‘ªμå∑’Ë¡’°“√º≈‘쇧√◊ËÕߥ◊Ë¡πÈ”º≈‰¡â∫√√®ÿ·∫∫√âÕπ„π¢«¥ PET „π√–¥—∫Õÿμ “À°√√¡ ·≈–¬—ß¡’°“√„™â ‡∑§‚π‚≈¬’Àÿàπ¬πμå ”À√—∫°“√«“ß°≈àÕßπÈ”º≈‰¡â∫π擇≈∑ (Palletising) ‡ªìπ§√—Èß·√°Õ’°¥â«¬ °“√ª√–¬ÿ°μå„™âπ«—μ°√√¡∑—Èß Õߥ—ß°≈à“«π’ȉ¥â‡°‘¥ ¢÷Èπ‚¥¬¡’∫√‘…—∑ Juhayna ‡ªìπºŸâ∫ÿ°‡∫‘° ‚¥¬Õ“»—¬‡∑§‚π‚≈¬’®“°ª√–‡∑»‡¬Õ√¡π’1 ·≈–‰¥â‡√‘Ë¡„™â„π°“√º≈‘μμ—Èß·μàªï 2553 „π‚√ßß“π¬à“π™“π‡¡◊Õß °√ÿ߉§‚√ ´÷Ëß∂◊Õ‡ªìπ®ÿ¥√‘‡√‘Ë¡¢Õßπ«—μ°√√¡∑—Èß Õß„πμ–«—πÕÕ°°≈“߇≈¬°Á«à“‰¥â

M

ในป 2526 Safwan Thabet ไดซื้อที่ดินกลางทะเลทราย และกอสรางโรงงานที่มีพนักงานเพียง 25 คน ขึ้ น ซึ่ ง ในขณะนั้ น นั บ ว า ตั้ ง อยู ไ กลจากเขตเมื อ งของ กรุงไคโรมากทีเดียว จากจุดเริ่มตนในตอนนั้น โรงงานแหงนี้ก็ไดเริ่มตนดวย การผลิตนม โยเกิรต และน้ำผลไม หลังจากนั้นเขาก็ไดพัฒนาเพิ่มความหลากหลายในผลิตภัณฑ เพราะมองวาในอนาคตจะเกิดการเปลี่ยนแปลง ครั้ ง ใหญ ข องอุ ต สาหกรรมเครื่ อ งดื่ ม ในอี ยิ ป ต อ ย า งแน น อน ซึ่ ง ที่ ผ า นมา นมบรรจุ ก ล อ งแทบจะไม มี ว างขายในอี ยิ ป ต เ ลย และมี ส ว นแบ ง การตลาด ไมถึงรอยละ 1 ผูบริโภคชาวอียิปตมีความเคยชินที่จะซื้อนมในภาชนะเปด และนำไปต ม ดื่ ม เองที่ บ า นมากกว า การดื่ ม นมจากภาชนะบรรจุ ป ด สนิ ท แต ด ว ยการทุ ม เทส ง เสริ ม ให ค วามรู แ ละการโฆษณาแบบเข ม ข น ถึ ง ขอไดเปรียบของนมในภาชนะบรรจุปดสนิทของ Safwan Thabet กระแส 58

ilk, Yoghurt and Fruit Juice:

ความนิยมในผลิตภัณฑนี้ก็ไดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทุกวันนี้ ประมาณรอยละ 15 ของนม ที่ บ ริ โ ภคทั้ ง หมดในอี ยิ ป ต อ ยู ใ นรู ป แบบบรรจุ ป ด สนิ ท “แต ทั้ ง นี้ ยั ง หมายถึ ง ว า ยังเหลือสวนแบงตลาดทีม่ ศี กั ยภาพอีกรอยละ 85 สำหรับผลิตภัณฑนมในบรรจุภณ ั ฑ ปดสนิท” Safwan Thabet กลาว อีกทั้งยังมีทารกเกิดขึ้นใหมอีกประมาณ 1.5 ลานคนตอป ซึ่งถือวาเปน “ผูบริโภคในอนาคต” ชาวอียิปตกวา 80 ลานคน มีอัตราการบริโภคนมเฉลี่ย 22 ลิตรตอคนตอป ซึ่งหมายรวมถึงการบริโภคผลิตภัณฑจากนมดวย “เรากำลังพยายามที่จะเพิ่ม สวนแบงตลาดของเราใหเปนตัวเลขสองหลักในแตละป” นมยูเอชทีในกลองกระดาษ มีสวนแบงกวารอยละ 95 ในตลาดนมที่บรรจุในภาชนะปดสนิทในอียิปต สำหรับ นมสดบรรจุขวด HDPE มีสวนแบงประมาณรอยละ 5 สวนนม ESL และนมบรรจุ ในขวดแกวหรือ ขวด PET ยังไมพบวามีจำหนายในตลาดอียิปต อยางไรก็ตาม นมบรรจุขวด PET คาดวาจะมีการปลอยออกสูตลาดในเวลาอันใกลนี้แนนอน

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p58-60_Pro3.indd 58

11/23/13 9:38:09 PM


C

โรงงานแหงแรกมีกำลังการผลิต เดิ ม ที่ 35 ตั น ต อ วั น และได พั ฒ นาขึ้ น เรื่ อ ยๆ จนสามารถเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง 600 ตันตอวันในชวงรอยตอการเปลี่ยนสหัสวรรษ ตอมาในป 2544 Juhayna เพิ่ ม กำลั ง การผลิ ต ขึ้ น อี ก ถึ ง สองเท า เป น 1,200 ตั น ต อ วั น และ หลังจากนั้นในป 2548 Juhayna ไดขยับขยายกิจการดวยการซื้อโรงงานนมและ น้ ำ ผลไม ข อง Domty ซึ่ ง ห า งจากโรงงานแรกไปเพี ย งไม กี่ น าที หลั ง จากนั้ น โรงงานแหงนี้ถูกปรับปรุงอยางละเอียด เพื่อใหสามารถเดินหนาผลิตไดอยาง มีประสิทธิภาพสูงสุด “ตอนที่เราเขามา Domty มีพนักงานอยู 700 คน กำลัง การผลิตอยูที่ 100 ตันตอวัน แตในวันนี้เรามีพนักงานเพียง 100 คน แตดวย เครื่องมือและความเชี่ยวชาญสำหรับผลิตนมขนาด 1 ลิตรในภาชนะปดสนิท เต็มรูปแบบ ทำใหสามารถผลิตนมไดถึง 600 ตันตอวันเลยทีเดียว ซึ่งสามารถ ซัพพลายตลาดในประเทศไดถึงรอยละ 60 และยังรองรับความตองการในตลาด ลิ เ บี ย ได ถึ ง ร อ ยละ 40 ของตลาดนมลิ เ บี ย อี ก ด ว ย” Safwan Thabet เน น ถึ ง ประสิทธิภาพของสายการผลิต ในทางกลับกันโรงงานแหงแรกของ Juhayna นั้น มี ส ายการผลิ ต ที่ ค อ นข า งเล็ ก และสามารถผลิ ต ได เ พี ย งผลิ ต ภั ณ ฑ น มและ เครื่องดื่มผสมนมบรรจุกลองขนาด 200 มิลลิลิตร เทานั้น apacities Massively Upsized:

„πªï 2552

Juhayna ‰¥â à«π·∫àßμ≈“¥‰ª ∂÷ߪ√–¡“≥√âÕ¬≈–

70 ¢Õßμ≈“¥π¡

„πª√–‡∑»Õ’¬‘ªμå ·≈–¬—߉¥â à«π·∫àßμ≈“¥

Õ’°√âÕ¬≈– 25 ¢Õßμ≈“¥πÈ”º≈‰¡â¥â«¬

ในป 2548 Juhayna มี โ รงงานทั้ ง หมด 6 แห ง ซึ่ ง ตั้ ง อยู ใ นบริ เ วณ นิคมอุตสาหกรรมเดียวกันทั้งหมด โดยแตละแหงมีความเชี่ยวชาญในการผลิต ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ แ ตกต า งกั น ไป เป น ผลให ส ามารถดำเนิ น การผลิ ต ได อ ย า ง มีประสิทธิภาพสูงสุดมากกวาแตกอนที่อาศัยโรงงานเพียงแหงเดียวในการผลิต ทุกผลิตภัณฑ โดยโรงงานแหงแรกมุงเนนผลิตนมไขมันเต็ม สวนโรงงานแหงที่สอง เนนเกี่ยวกับผลิตภัณฑโยเกิรต โรงงานแหงที่สามผลิตเฟตาชีส สวนแหงที่สี่ เนนการผลิตเครื่องดื่มนมผสม ในขณะที่อีกสองแหงที่เหลือมุงเนนการผลิต น้ำผลไมเขมขน และน้ำผลไม ตามลำดับ ตอมาในป 2552 Juhayna ไดจาง พนักงานเพิ่มกวา 3,000 คน โดยกวา 1,700 คน ไดทำงานในบริษัทในเครือ บริการดานโลจิสติกสที่กอตั้งใหมในป 2551 โดยมีรถบรรทุก 150 คัน และ ศู น ย ก ระจายสิ น ค า ทั่ ว ประเทศอี ยิป ต อี ก 22 แห ง ไกลไปจนถึ ง เมื อ งอั ส วาน ทางตอนเหนือของแมน้ำไนล ซึ่งหางออกไปกวาหนึ่งพันกิโลเมตร

ในป 2552 ผลิ ต ภั ณ ฑ ผ ลิ ต โดย Juhayna มีปริมาณรวมทั้งหมด 250,000 ตั น แบ ง เป น นม ผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากนม และ โยเกิ ร ต 190,000 ตั น น้ ำ ผลไม แ ละ เครื่ อ งดื่ ม ที่ มี เ นื้ อ ผลไม อี ก 60,000 ตั น ซึ่งชวยให Juhayna ไดสวนแบงตลาดไปถึง ประมาณร อ ยละ 70 ของตลาดนมใน ประเทศอียิปต ตลาดที่ตองแขงขันกับบริษัท จากตางประเทศ และยังไดสวนแบงตลาด อีกรอยละ 25 ของตลาดน้ำผลไม

Y

ellow Factory as a Greenfield

ขั้นตอนสุดทายในเวลานั้น ของ Juhayna คื อ การย า ย ฐานการผลิ ต น้ ำ ผลไม ไ ปยั ง โรงงานสี เ ขี ย ว ซึ่ ง ห า ง อ อ ก ไ ป เ พี ย ง ไ ม กี่ เ ม ต ร จ า ก สำนักงานใหญของบริษัท การยายศูนยกลาง การผลิ ต ครั้ ง นี้ ไ ม เ พี ย งแต เ ป น การกระจาย คัดแยกผลิตภัณฑอยางเดนชัด แยกระดับ อันตรายทางจุลชีววิทยา และเทคโนโลยีที่ แตกตางกัน รวมไปถึงการใชพื้นที่ที่มีอยาง เหมาะสมแลว ยังเปนการแสดงความปลอดโปรงทางการเงินอีกดวย โดยแตละอาคารใหม ยังคงไดรับการยกเวนจากภาษีเปนเวลาสิบป โรงงานแหงนี้ถูกเรียกขานวา “โรงงานสีเหลือง” เปนหนึ่งในสามอาคารใหมที่ถูกสรางขึ้นใน ชวงสามปที่ผานมา โดย “โรงงานสีฟา” จะ เนนการผลิตโยเกิรต สวน “โรงงานสีแดง” จะเนนการผลิตน้ำผลไมเขมขน กวา 20 ปแลวที่ Juhayna มีการผลิต เครื่ อ งดื่ ม น้ ำ ผลไม ใ นกล อ งกระดาษ และ ถึงแมวาโรงงานสีเหลืองจะยังมีสายการผลิต เครื่ อ งดื่ ม น้ ำ ผลไม ใ นกล อ งกระดาษ แบบปลอดเชื้ อ ถึ ง 5 ไลน ต อ จากนี้ โรงงานสีเหลืองที่ไดเพิ่มสายการผลิตใหม จะมี เ ครื่ อ งดื่ ม น้ ำ ผลไม ใ นขวด PET เป น เจาแรก ซึ่งไมเพียงแตเปนครั้งแรกสำหรับ Juhayna แต ยั ง เป น ไลน แ รกในประเทศอียิปตที่จะมีผลิตภัณฑน้ำผลไมและเครื่องดื่ม น้ำผลไมบรรจุขวด PET ในตลาดเครื่องดื่ม ซึ่งแตกอนมีการแบงสวนออกเปนเพียงแค เครื่ อ งดื่ ม น้ ำ ผลไม แ บบกล อ ง ร อ ยละ 40 แบบแก ว ร อ ยละ 30 และแบบถุ ง อี ก รอยละ 30 (สำหรับเครื่องดื่มที่มีน้ำผลไม Plant:

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p58-60_Pro3.indd 59

59

11/22/13 12:48:22 AM


ผสมชิ้นเนื้อผลไม) Safwan Thabet กลาวอยางมั่นใจวา “ขวด PET ชวยใหเรา สามารถขยายการสงออกผลิตภัณฑของเรา เพราะดวยการที่มีคอกวางถึง 38 มิลลิเมตร ทำใหผูบริโภคไดรับประสบการณใหมจากการดื่มที่แตกตางอยาง สิ้นเชิง นอกจากนี้ยังมีน้ำหนักที่เบากวาเดิม และปลอดภัยในการจัดการมากกวา ผลิตภัณฑที่บรรจุในขวดแกว”

H

Juhayna เลือกใช การบรรจุรอนที่ 84 ํC “เทคโนโลยีนี้สามารถประยุกตใชใหเกิดความชำนาญไดงายกวาการใชเทคโนโลยีแบบปลอดเชื้อ อีกทั้งยังมีการลงทุน ที่ ต่ ำ กว า ซึ่ ง ในอี ยิ ป ต ร าคาพลั ง งานก็ มี มู ล ค า ค อ นข า งต่ ำ อยู แ ล ว นอกจากนี้ ขวดสำหรั บ บรรจุ แ บบร อ นยั ง มี ค วามหนามากกว า เป น ผลให มี ค วามแข็ ง แรง ซึ่ ง เป น ข อ ได เ ปรี ย บ ช ว ยเพิ่ ม ความปลอดภั ย ของสิ น ค า ในการขนย า ยอี ก ด ว ย” Safwan Thabet อธิบาย ซึ่งขวดบรรจุรอน2 ขนาด 250 มิลลิลิตร ที่ใชนั้นมีน้ำหนัก 26 กรัม ot-Filling is the Technology of Choice:

Juhayna ‡ªìπ√“¬·√° „πª√–‡∑»Õ’¬‘ªμå∑’Ë¡º ’ ≈‘μ¿—≥±åπÈ”º≈‰¡â

·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡πÈ”º≈‰¡â∫√√®ÿ¢«¥ PET „πμ≈“¥‡§√◊ËÕߥ◊ ¥Ë¡

นอกจากนี้ Juhayna ยังติดตั้งเครื่องเปาขึ้นขวดแบบ 16 สเตชัน3 บริเวณ ชั้นลางของโรงงาน ซึ่งตัวเครื่องอยูหางจากสวนที่จายพรีฟอรมเพียง 200-300 เมตร ดังนั้น จึงเห็นไดวา เครื่องเปาขึ้นขวดนั้นถูกแบงสวนออกจากสวนการบรรจุ ที่อยูชั้นสองของโรงงานเพื่อสุขอนามัยในการผลิตที่ดี สำหรับการลำเลียงขวด ที่ ขึ้ น รู ป แล ว จะอาศั ย การใช ล มในการขนย า ยขวดเปล า ไปยั ง เครื่ อ งล า งและ ฆาเชื้อกอนการบรรจุ ซึ่งถูกออกแบบตามมาตรฐานดานสุขอนามัยอยางเครงครัด และหางจากสวนการบรรจุอยางชัดเจนเชนกัน

N

ขวด PET ที่บรรจุรอนเสร็จแลว จะถูกตรวจสอบระดับการเติมที่ถูกตองแลวจึงนำไประบายความรอน จนมีอุณหภูมิเทากับอุณหภูมิในตูเย็นเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดการควบแนน หลังจากนั้นจึงนำไปสูขั้นตอนการตกแตง หรือปดฉลากตอไป ซึ่ง Juhayna เลือก ใชเครื่องปดฉลากแบบพันรอบ4 “โดยเหตุผลที่ไมใชเทคโนโลยีการปดฉลากแบบ สวมก็เพราะตองการใหผูบริโภคสามารถเห็นผลิตภัณฑในขวดได” Seif Eldim Thabet ลูกชายของผูกอตั้งบริษัทอธิบาย นอกจากนี้ Juhayna ยังมีการประยุกตใช 60

ระบบหุนยนต5 ในการเรียงสินคาบนพาเลทที่ทันสมัยอีกดวย “ไลนการผลิตนี้มีหนาที่บรรจุและผลิตน้ำผลไม 100% ที่ผลิตมาจากน้ำผลไม เขมขนได รวมถึงผลิตน้ำผลไมเจือจาง 35-50% และเครื่องดื่มผสมน้ำผลไม 10% ขนาด 250 และ 500 มิลลิลิตร ยี่หอ Juhayna และ Bekhero ทั้งหมด 5 รสชาติ และในอนาคตก็จะมีการเพิ่มรสชาติใหมๆ อีก ทั้งนี้เปนเพราะไลน การผลิตที่ดี เอื้อประโยชนตอการผลิตไดอยางดี” Seif Eldim Thabet กลาว

ew Flavours Up Their Sleeves:

S

Separation: “โรงงานทั้ ง หมดถู ก ก อ สร า งและออกแบบ ตามหลักการของการแบงสวนพื้นที่ใชสอยตางๆ อยางเขมงวด รวมไปถึง การตรวจสอบกระบวนการที่เขมงวด การอนุมัติการเขาออกของพนักงาน และการปฏิ บั ติ ต ามเกณฑ สุ ข อนามั ย ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การผลิ ต ทั้ ง หมด” Niels Thomsen อธิบาย “เราตองการที่จะสามารถลางมือของเราดวยการใชน้ำเสียใน โรงงานนี้ เราตรวจสอบทุกอยางในแตละขั้นตอนของกระบวนการอยางละเอียด ตรวจไปจนถึงอากาศและพื้น ซึ่งไมตองบอกวาเราปฏิบัติตามหลักการของหวงโซ ความเย็นอยางเครงครัด แตมันเกิดขึ้นเองอยางเปนธรรมชาติ สายการผลิตตางๆ ถู ก แบ ง พื้ น ที่ แ ยกจากกั น อย า งชั ด เจนระหว า ง สาธารณู ป โภค และการผลิ ต / การบรรจุ แมแตระบบ CIP เองยังไดรับการออกแบบเปนสองสวนที่แยกจากกัน ชัดเจน สวนหนึ่งสำหรับวัตถุดิบ อีกสวนหนึ่งสำหรับผลิตภัณฑสุดทายอื่นๆ” Niels Thomsen กล า วเสริ ม ว า “โรงงานสี เ หลื อ งยั ง เป น โรงงานสี เ ขี ย ว อี ก ด ว ย เรากำลั ง ดำเนิ น งานด า นระบบบำบั ด น้ ำ เสี ย ของเราเองให ไ ด ต าม มาตรฐานยุโรป ซึ่งน้ำประปาที่ถูกนำมาใชในกระบวนการและทำความสะอาด จะไดรับการบำบัดโดยใชการวิธี Reverse Osmosis มาตรฐานยุโรปเหนือเปน พื้นฐานของความคิดของเราทั้งหมด” Safwan Thabet กลาวเพิ่มเติม “นั่นคือ เหตุผลที่เราชอบทำงานรวมกับผูผลิตจากประเทศเยอรมนี เดนมารก และสวีเดน เพราะนั่นคือมาตรฐานที่เราตองการบรรลุ” มันไมใชเรื่องไรประโยชน กวา 15 ป แล ว ที่ Juhayna เป น ผู ผ ลิ ต ไอศกรี ม และมิ ล ค เ ชครายหลั ก ของแมคโดนั ล ด ในอียิปต trict

A

ในช ว งต น ป 2553 Juhayna เป น ผู ผ ลิ ต รายแรกในอี ยิ ป ต ที่ น ำเสนอน้ ำ ผลไม ใ นขวด PET ขนาด 250 มิลลิลิตร สูตลาด ในราคาที่ยอมเยา 1.7 LE (Egyptian pounds) หรือประมาณ 25 ยูโรเซนต ถูกกวาน้ำผลไมบรรจุกลองกระดาษถึงรอยละ 20 นอกจากนี้ยังมีการสื่อสารไปยังตลาดดวยการเพิ่มแคมเปญทีวีขนาดใหญสำหรับ การเพิ่มยอดขายอีกดวย ทั้งนี้อาจเปนเพราะราคาตอหนวยของขวด PET นั้น ถูกกวากลองกระดาษ Juhayna ประสบความสำเร็จอยางมากในการขายน้ำผลไม ในขวด PET “การยอมรับของผูบริโภคอยูในระดับที่สูงมาก เราคาดวาจะสามารถ ผลิตไดถึงรอยละ 70 ของกำลังผลิตของไลน PET ในปแรกแลว และแนนอน เรากำลังวางแผนที่จะเพิ่มไลนที่สองในป 2554” Safwan Thabet อธิบาย ในขณะนี้ Thabet กำลั ง ทุ ม ลงทุ น ในการชั ก จู ง ชาวอี ยิ ป ต ใ ห เ ห็ น ถึ ง ข อ ได เ ปรี ย บด า นประโยชน ต อ สุ ข ภาพและรสชาติ ที่ ดี เ ยี่ ย มของผลิ ต ภั ณ ฑ น้ำผลไมของเขา ll Going According to Plan:

ขอมูลเพิ่มเติม 1 เทคโนโลยีดานการผลิตเครื่องดื่มจาก โครเนส 2 ขวดบรรจุรอน ขนาด 250 มิลลิลิตร พัฒนาขึ้นโดย โครเนส 3 เครื่องเปาขึ้นขวดแบบ 16 สเตชัน Contiform H16 จาก โครเนส 4 เครื่องปดฉลากแบบพันรอบ Contiroll จาก โครเนส 5 ระบบหุนยนต Modulpal

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p58-60_Pro3.indd 60

11/23/13 10:11:25 PM


SOMETHING ABOUT FOOD

เรียบเรียงโดย : คุณพิราภรณ ทองออน เจาหนาที่ฝายการตลาด Pure Chemicals Co., Ltd. piraporn@purechemicals.com

Di-Peptide in Collagen บทบาทสำคั ญ ในการเสริ ม สุ ข ภาพของร า งกายมนุ ษ ย ภายหลังจากการรับประทานไดเปปไทดในคอลลาเจนเปปไทด

„πªí®®ÿ∫—π §Õ≈≈“‡®π‰¥â¡’°“√æ—≤π“„ÀâÕ¬Ÿà„π√Ÿª·∫∫§Õ≈≈“‡®π‡ªª‰∑¥å ´÷Ëß®“° ß“π«‘®—¬æ∫«à“ ‰¥‡ªª‰∑¥å„π§Õ≈≈“‡®π‡ªª‰∑¥å‡ªìπ à«π ”§—≠∑’Ë ÿ¥„π°“√‡ √‘¡ √â“ß ÿ ¢ ¿“æ¢Õß√à “ ß°“¬¡πÿ … ¬å °“√¥Ÿ ¥ ´÷ ¡ §Õ≈≈“‡®π‡ªª‰∑¥å ® “°º≈ß“π«‘ ®— ¬ „πÕ¥’ μ · ¥ß„Àâ ‡ ÀÁ π «à “ §Õ≈≈“‡®π®–∂Ÿ ° ¬à Õ ¬‡ªì π °√¥Õ–¡‘ ‚ π ∂÷ ß ®–¥Ÿ ¥ ´÷ ¡ ‡¢â “ Ÿà √à “ ß°“¬‰¥â

·μà ® “°ß“π«‘ ®— ¬ ∑“ß«‘ ∑ ¬“»“ μ√å „ πªí ® ®ÿ ∫— π

(Japanese

Dermatological Association (2010)) ™’È „Àâ ‡ÀÁ π «à “ πÕ°®“°°√¥Õ–¡‘ ‚ π¬— ß æ∫ “¬‡ªª‰∑¥å∑’Ë¡’¢π“¥¡«≈‚¡‡≈°ÿ≈ 2.5-15 KDa (Osteoarthritis and Cartilage (2009)) ‡™à𠉥‡ªª‰∑¥å ∂Ÿ°¥Ÿ¥´÷¡‡¢â“ Ÿà√à“ß°“¬‰¥â‡™àπ°—π ´÷Ëߺ≈®“°°“√μ‘¥μ“¡ ‡≈◊Õ¥¢Õß¡πÿ…¬å æ∫«à“‰¥‡ªª‰∑¥å§Ÿà¢Õß Pro-Hyp ·≈– Hyp-Gly Õ¬Ÿà„π°√–· ‡≈◊Õ¥

ไดเปปไทดกับการเสริมสรางผิวหนังใหแข็งแรง จากงานวิจัยพบวา ไดเปปไทดคูของ Pro-Hyp และ Hyp-Gly มี บ ทบาทสำคั ญ ในการกระตุ น การสร า ง เซลล ไ ฟโบรบลาสต เ พื่ อ การผลิ ต คอลลาเจน และ สังเคราะหกรดไฮยาลูโรนิค สงผลใหผิวมีความชุมชื้น แข็ ง แรง และเรี ย บเนี ย นขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง ลดจุ ด ด า งดำ ที่ เ กิ ด จากการทำลายของแสงแดดให จ างลงได ภายหลังจากรับประทานคอลลาเจนเปปไทด 5 กรัม ตอวัน เปนระยะเวลา 4 สัปดาห (Health Sciences Vol.28 No.2 (2012))

„π√–¬–‡«≈“π“π ·≈–¡’∫∑∫“∑ ”§—≠∑’Ë ÿ¥„π°“√‡ √‘¡ ÿ¢¿“æ¢Õß¡πÿ…¬å‰¥â¥’°«à“ °√¥Õ–¡‘‚π∑—Ë«Ê ‰ª Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p61-63_Pro3.indd 61

61

11/23/13 10:08:41 PM


ไดเปปไทดกับการเสริมสรางขอตอใหแข็งแรง ขอตอมีโครงสรางแบงไดตามชนิดของเนื้อเยื่อ โดย อะไร คือ ไดเปปไทด? บริเวณผิวหนาของชวงขอตอจะมีกระดูกออนที่เต็มไป ‰¥‡ªª‰∑¥å §◊Õ °√¥Õ–¡‘‚π Õßμ—«¡“‡™◊ËÕ¡μàÕ°—π ดวยความชุมชื้นเคลือบอยู มีไวเพื่อกันกระแทก ´÷Ëß®“°ß“π«‘®—¬æ∫«à“ ‰¥‡ªª‰∑¥å§Ÿà‚æ√≈’π ·≈– ชนกันระหวางกระดูกสองชิ้น การชนกระแทกกัน ‰Œ¥√Õ°´’ ‚ æ√≈’ π (Pro-Hyp) À√◊ Õ P-O ·≈– ของกระดูกเกิดจากความหนาของกระดูกออน ‰°≈´’π·≈–‰Œ¥√Õ°´’‚æ√≈’π (Hyp-Gly) À√◊Õ O-G บางลง ซึ่งเมื่ออายุมากขึ้นการสรางสวนกระดูกออน ¡’ ∫ ∑∫“∑ ”§— ≠ „π°“√°√–μÿâ π °“√ √â “ ߇´≈≈å ระหวางขอตอจะสรางไดยากกวาเดิมและนั่นก็เปน เหตุที่ทำใหเรามีอาการเจ็บปวดตามขอ ‰ø‚∫√∫≈“ μå (‡´≈≈å º‘ « ∑’Ë § Õ¬º≈‘ μ §Õ≈≈“‡®π จ า ก ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร ·≈–Õ‘ ≈ “ μ‘ π ) ·≈– — ß ‡§√“–Àå ° √¥‰Œ¬“≈Ÿ ‚ √π‘ § (Osteoarthritis and Cartilage (2009)) พบว า °√–μÿâπ°“√∑”ß“π¢Õ߇´≈≈å°√–¥Ÿ° ไดเปปไทด (Pro-Hyp) ในคอลลาเจนเปปไทดจะชวย ป อ งกั น การเสื่ อ มของกระดู ก อ อ น และการบางลงของกระดู ก อ อ น ยั บ ยั้ ง การเสื่ อ มของคอนโดรไซต (Chondrocytes) และกระตุ น การสร า ง ไกลโคสะมิโนไกลแคน (GAG) ซึ่งมีคุณสมบัติดูดน้ำจึงทำใหเนื้อเยื่อสามารถ ทนทานตอแรงกดดันได ดังแสดงในรูปที่ 1 และ 2

ไดเปปไทดกับการเสริมสรางกระดูกใหแข็งแรง

รูปที่ 1 ไดเปปไทด Pro-Hyp เทานั้นที่ชวยลดการเปลี่ยนแปลงเซลลกระดูกที่ ผิดปกติในหนูทดลองที่เปนโรค OA แหลงที่มา: Osteoarthritis and Cartilage (2009)

รูปที่ 2 แสดงปริมาณ GAG ที่มากขึ้นภายหลังจากการรับ PO (Pro-Hyp) ของ AB และ ALP จะลดการเปลี่ ย นแปลงของเซลล ค อนโดรไซท (Chondrocyte) ที่ผิดปกติ สำหรับ AR จะพบการสะสมของหินปูนที่ผิดปกติ ลดลง แหลงที่มา: Osteoarthritis and Cartilage (2009) 62

เมตาบอลิซึมของกระดูกเกิดจากการทำงานรวมกันของ 2 เซลล ชนิดแรก มี ห น า ที่ ส ลายกระดู ก เรี ย กว า Osteoclasts และอี ก ชนิ ด มี ห น า ที่ ส ร า ง โปรตีน (รวมทั้งคอลลาเจน) มากอสรางเปนสวนของกระดูกใหม เรียกวา Osteoblasts ซึ่งเซลลทั้งสองตัวนี้ตองทำงานสมดุลและสอดคลองกัน ณ เวลาหนึ่งๆ จะเปนตัวบงชี้ถึง มวลกระดูก (Bone mass) ณ เวลานั้นๆ แตเมื่ออายุ 30-40 ป อัตราการสลายกระดูกจะเริ่มเพิ่มขึ้น และอัตรา การสรางกระดูกจะเริ่มลดลง อันจะนำไปสูภาวะกระดูกพรุนในวัยชรา (Senile osteoporosis) โดยเฉพาะในหญิ ง หมดประจำเดื อ น (Postmenopausal osteoporosis) จากงานวิจัยพบวา การรับประทานไดเปปไทด P-O (Pro-Hyp) และ O-G (Hyp-Gly) จะช ว ยป อ งกั น การเสื่ อ มของกระดู ก โดยทำงานตรง ตอเซลลสราง Osteoblasts และเซลลทำลาย Osteoclasts กลาวคือ ไดเปปไทด Pro-Hyp มีหนาที่กระตุนใหเซลล Osteoblasts เพื่อสราง ชิ้ น ส ว นใหม ข องกระดู ก และกระตุ น ให เ ซลล Osteoclasts เพื่ อ สลาย กระดู ก เก า แต เ มื่ อ เกิ ด ภาวะการสลายกระดู ก ที่ ม ากเกิ น Hyp-Gly ทำหนาที่เหมือนสัญญาณให Osteoclasts หยุดขบวนการสลายกระดูก การทำงานรวมกันเปนวงจรแบบนี้ทำใหกระดูกมีเมตาบอลิซึมดำเนินไป อย า งสมดุ ล มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและคอยปรั บ ปรุ ง สภาพของกระดู ก ให ดี (Functional Foods for Bone and Cartilage (2011))

การประยุกตใชไดเปปไทดในอุตสาหกรรมอาหาร คอลลาเจนเปปไทดผลิตจากปลาน้ำจืดสายพันธ Tilapia ที่ใหปริมาณ ไดเปปไทดสูงกวาปลาทะเล และมีลักษณะเปนผงสีขาว สามารถละลาย

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p61-63_Pro3.indd 62

11/21/13 11:37:28 PM


น้ ำ ได ง า ย ใสไม มี สี ไม มี ก ลิ่ น คาว และยั ง สามารถทนความร อ นได สู ง แ ล ะ ค ง ตั ว อ ยู ใ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ไ ด เปนระยะเวลานาน จึงสามารถใชได ในอุตสาหกรรมทุกประเภท เชน เครื่ อ งดื่ ม นม โยเกิ ร ต กาแฟ ผลิ ต ภั ณ ฑ ช งดื่ ม ทุ ก ประเภท และ ผลิตภัณฑเสริมอาหารทุกประเภท

º≈ß“π»÷ ° …“®“°§π‰¢â ∑’Ë ‡ ªì π ‚√§À—«‡¢à“ (Osteoarthritis) „Àâ ‰ ¥â √— ∫ ª √‘ ¡ “ ≥ § Õ ≈ ≈ “ ‡ ® 𠇪ª‰∑¥å 5 °√— ¡ ‡™â “ -‡¬Á 𠇪ì π √–¬–‡«≈“ 13 —ª¥“Àå º≈∑’ˉ¥â §◊ Õ ™à « ¬∑”„Àâ ∫ √‘ ‡ «≥À— « ‡¢à “ ¡’Õ“°“√‡®Á∫ª«¥∑’ËπâÕ¬≈ß

แหลงที่มา: Collagen Perfect Bible issued by Gento-sha

เอกสารอางอิง • อางอิงจากเอกสาร แบรนด WellnexTM Collagen Peptide, Nitta Gelatin Inc จาก Pure Chemicals Company Litmited สำหรับประยุกตใชในผลิตภัณฑอาหารและเครื่องดื่มที่ หลากหลาย • S.Nakatani, H.Mano, C.Sampei, J.Shimizu and M.Wada. Chondroprotective effect of the bioactive peptide prolylhydroxyproline in mouse articular cartilage in vitro and in vivo. Osteoarthritis and Cartilage(2009) 17,1620-1627 • Hiroki O,Satomi I,Hitoshi M. Collagen-derived dipeptide, proline-hydroxyproline,stimulates cell proliferation and hyaluronic acid synthesis in cultured human dermal fibroblasts.Japanese Dermatological Association (2010); 37:330-338, • Satomi Ichikawa., et al.Hydroxyproline-containing dipeptides and tripeptides quantified at high concentration in human blood after oral administration of gelatin hydrolysate. International Journal of Food Sciences and Nutrition,February; 61(1):1-9 • K.Sato,K.Iwai and M.arro-inoue.Identification of FoodDerived Bioactive Peptide in Blood and other Biological Samples.Kyoto Prefectural University,Deparment of Food Science and Nutrition Health Hangi-Cho1-5,Kyoto 606-8522, Japan. • Iwai K, Hasegawa T, Taguchi Y, Morimatsu F, Sato K, Nakamura Y,et al. Identification of food-derived collagen peptides in human blood after oral ingestion of gelatin hydrolysates. J Agric Food Chem 2005; 53(16):65316536. • Ohara H, Matsumoto H, Ito K, Iwai K, Sato K. Comparison of quantityand structures of hydroxyprolinecontaining peptides in human bloodafter oral ingestion of gelatin hydrolysates from different sources. • J Agric Food Chem. 2007; 55(4):1532-5. • Mizuno M, Kuboki Y. Osteoblast-related gene expression of bone marrow cells during the osteoblastic differentiation induced by type I collagen. J Biochem. 001;129(1):133-8. • Midori Tanaka et al., Effects of Collagen Peptide Ingestion on UV-B-Induced Skin Damage Biosci. Biotechnol BioChem. 73(4) 930-932, (2009) • Hiroki Ohara et al., Blood Transfer Volume of Peptides Including Hydroxyproline by the Oral Ingestion of New Collagen Peptide, Medicine and Pharmacy 60(3) 471-476 (2008)

The Leading Supplier of Food Chemicals, Ingredient and Supplement in Thailand Specialty: WellnexTM Fish Collagen Peptide, L-Glycine, Coenzyme Q10, Alpha Lipoic Acid, Lutein etc. Botanical Extract: Apple, Acai, Artichoke, Bilberry, Bee Pollen, Cranberry, Evening Primrose, Grape Seed, Green Coffee Bean, Goji Berry, Pomegranate, Mangosteen, Raspberry, etc. Natural Vitamin C: Acerola Cherry, Camu Camu Flavour Enhancer: Monosodium Glutamate, IMP Disodium 5’ – Inosinate, GMP Disodium 5’ – Gulnosine, I+G Disodium 5’ – Ribonucleotide (IMP+GMP), D-Xylose, Plus A Natural Food Colors: Red / Yellow / Blue / Green / Violet / etc.

Pure Chemicals Co., Ltd. 5 Soi Huamark 7, Huamark, Bangkapi, Bangkok, Thailand 10260 Tel: 0 2377 1499, 0 2378 2209, 0 2732 0693 Fax: 0 2732 0694

FF#93_Ad Pure Chemical_Pro3.indd 2

FF#93_p61-63_Pro3.indd 63

E-mail: Sales@purechemicals.com Web: http://www.Purechemicals.com Food Focus Thailand 11/15/13 9:58:02 PM 63

DECEMBER 2013

11/21/13 11:37:30 PM


STRATEGIC R&D

โดย: Food Division

บริษัท บรอนสัน แอนด จาคอบส อินเตอรเนชั่นแนล จำกัด sira@bjinter.co.th

วั ต ถุ ก น ั เสี ย จากสารสกัดธรรมชาติ จากสารสกดธรรมชาต

„π¬ÿ§ ¡—¬π’È ª√–™“°√ à«π„À≠àÀ—π¡“„ à„®·≈–¥Ÿ·≈μ—«‡Õß¡“°¢÷Èπ ‚¥¬®– —߇°μ‰¥â®“°°“√‡≈◊Õ°√—∫ª√–∑“πÕ“À“√ À√◊Õ°“√‡≈◊Õ°´◊ÈÕ ¢â“«¢Õ߇§√◊ËÕß„™âμà“ßÊ ®–‡πâπ∑’Ë«—μ∂ÿ¥‘∫®“°∏√√¡™“쑇ªìπÀ≈—° ´÷Ëß°Á‡ªìπ·√ߺ≈—°¥—πÕ¬à“ßÀπ÷Ëß∑’Ë∑”„À⺟âº≈‘μμâÕßÀ—π¡“„™â«—μ∂ÿ¥‘∫ ®“°∏√√¡™“μ‘·≈–ª√“»®“° “√‡§¡’ª√ÿß·μàß ‡æ◊ËÕ∑’Ë®–μ’μ≈“¥„À⇢â“∂÷ߺŸâ∫√‘‚¿§¡“°¢÷Èπ

นื่องดวยตลาดอุตสาหกรรมอาหารในปจจุบันมีการแขงขันคอนขางสูง ผลิตภัณฑใหมๆ เปดตัวเร็วและก็ปดตัวลงอยางรวดเร็วเชนเดียวกัน ดั ง นั้ น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ จ ะสามารถเกาะติ ด ตลาดผู บ ริ โ ภคได จ ะต อ ง มี คุ ณ ภาพสิ น ค า และการตลาดที่ ดี นอกเหนื อ จากสองป จ จั ย นี้ แ ล ว การที่ผลิตภัณฑมีอายุการเก็บรักษาที่ยาวนานขึ้นนั้นก็เปนอีกปจจัยสำคัญหนึ่ง ที่จะชวยใหผูผลิตมีเวลาในการทำกำไรมากขึ้น ซึ่งในการยืดอายุการเก็บรักษา นั้นสามารถทำไดหลายวิธี โดยทั่วไปจะใสวัตถุกันเสียที่ทำมาจากสารเคมี เชน กรดเบนโซอิก มักถูกเติมลงในน้ำผลไม ซอส แยม และเยลลี่ เนื่องจาก ไมมีผลกระทบตอรสชาติของอาหาร กรดโพรพิโอนิกใชปองกันการเจริญของ เชื้อราจึงนิยมใชในขนมปง เคก และเนยแข็งชนิดตางๆ กรดซิตริกสามารถ ปองกันแบคทีเรียและยีสตไดดีจึงเหมาะสำหรับใสในเครื่องดื่ม น้ำอัดลม เยลลี่ แยม โซเดียมเบนโซเอตใชยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียและ 64

เชื้อราบางชนิด โดยทั่วไปแลวจะคอนขางปลอดภัยแตก็พบวาทำใหเกิด อาการแพ ไ ด โดยเฉพาะคนที่ เ ป น โรคภู มิ แ พ เป น ต น ซึ่ ง สารเหล า นี้ จ ะมี ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญหรือทำลายจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคและทำใหอาหาร เนาเสีย การบริ โ ภคสารเคมี เ หล า นี้ ใ นปริ ม าณที่ ม ากเกิ น กำหนดหรื อ สะสม เป น เวลานานอาจก อ ให เ กิ ด ผลเสี ย ต อ ความปลอดภั ย ของผู บ ริ โ ภคได ดังนั้นจึงไดมีการศึกษาและพัฒนาวัตถุกันเสียจากธรรมชาติเพื่อทดแทน การใช ส ารเคมี เ พื่ อ นำมาใช ส ำหรั บ ยื ด อายุ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ต า งๆ โดยสารธรรมชาติจะตองไมมีผลกระทบตอรูปลักษณของผลิตภัณฑ ทั้งสี กลิ่น และรสชาติ และยั ง ต อ งมี ค วามปลอดภั ย ต อ สุ ข ภาพของผู บ ริ โ ภคและ สภาพสิ่ ง แวดล อ มอี ก ด ว ย ตลอดจนสามารถตี ต ลาดและเป น ที่ ย อมรั บ ของผูบริโภคได

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p64-65_Pro3.indd 64

11/21/13 11:41:20 PM


คุณประโยชนของวัตถุกันเสียจากสารสกัดจากธรรมชาติ สารสกัดจากธรรมชาติเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่นอกจากจะชวยยืดอายุการเก็บรักษาของผลิตภัณฑไดแลวยังปลอดภัยตอผูบริโภค และเปนจุดขาย ใหกับผูบริโภคที่สนใจหันกลับมารักษาสุขภาพ ซึ่งสารสกัดที่เปนที่สนใจอยู ในขณะนี้ คือ สารสกัดจากแกนสมสายพันธุ Citrus aurantium subsp. amara ที่ปลูกแบบอินทรีย และผานกระบวนการผลิตที่ปราศจากการใช สารเคมี สารสกัดจากแกนสมจึงไดการรับรองวาเปนผลิตภัณฑออรแกนิก (Organic products) ไมเปนพิษตอผูบริโภคและสิ่งแวดลอม ไมมีสารกอมะเร็ง ไมกอใหเกิดการกลายพันธุ ไมกอใหเกิดอาการแพ ไมกัดกรอน พื้นผิว และสารสกัดที่ไดนั้นสามารถนำไปใชในอาหารหรือเครื่องสำอางได โดยไมมีผลกระทบตอคุณลักษณะของผลิตภัณฑแตอยางใด เนื่องจาก สารสกัดจากแกนสมไมมีรส ไมมีสี แตมีคุณสมบัติในการลดปริมาณและ ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียทั้งแกรมบวก แกรมลบ ยีสต และ เชื้อรา รวมทั้งเชื้อจุลินทรียกอโรคซึ่งมักพบปนเปอนในอาหาร ดังตารางที่ 1

นอกเหนือจากอุตสาหกรรมอาหารแลว สารสกัดจากแกนสมยังเปนสาร ที่ใชในอุตสาหกรรมอื่นอยางแพรหลาย ไดแก อุตสาหกรรมเครื่องสำอาง โดยสามารถนำมาใช เ พื่ อ การปกป อ งผลิ ต ภั ณ ฑ จ ากเชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย แ ละ เพื่อปองกันการเกิดอนุมูลอิสระในผลิตภัณฑ เนื่องจากมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อ ที่กอใหเกิดความเสื่อมเสียในผลิตภัณฑเครื่องสำอาง และมีผลยับยั้งเชื้อ P. acnes ซึ่งเปนแบคทีเรียที่ทำใหเกิดสิวอีกดวย

“√ °—¥®“°·°π â¡„Àâº≈„π°“√¶à“‡™◊ÈÕ∑’ˬ“«π“π ∂÷ß 48 ™—Ë«‚¡ß

™à«¬≈¥°“√„™â “√‡§¡’¶à“‡™◊ÈÕ

´÷ËßÕ“®μ°§â“ß„πÕ“À“√ ‡π◊ËÕß®“° “√ °—¥®“°·°π â¡

“¡“√∂¬àÕ¬ ≈“¬‰¥âμ“¡∏√√¡™“μ‘ ‰¥â∂÷ß√âÕ¬≈– 99.99

ตารางที่ 1 ความสามารถในการฆาเชื้อแบคทีเรีย ยีสต และเชื้อรา โดยใชสารละลาย สารสกัดจากแกนสมความเขมขนรอยละ 2 Test Organism

% Kill

E. coli

>99.999 %

P. aeruginosa

>99.999 %

S. aureus

>99.999 %

Candida albicans

>99.999 %

Aspergillus niger

>99.999 %

Salmonella typhimurium

>99.999 %

Listeria monocytogenes

>99.999 %

จะเห็นไดวาการใชสารสกัดจากแกนสมถือเปนผลกำไรของผูบริโภค ที่ไดรับผลิตภัณฑที่ปราศจากสารกันเสียสังเคราะหและเชื้อแบคทีเรียที่กอให เกิดโรค และถือเปนการเพิ่มโอกาสทางการตลาดและผลกำไรของผูผลิต เนื่องจากสินคาสามารถวางจำหนายไดนานยิ่งขึ้น www.bjinter.co.th

สารสกัดจากแกนสมนี้มีคุณลักษณะเดน คือ สามารถทนตอสภาวะ pH ในชวงกวางตั้งแต pH 2 -12 ทนความรอนไดสูงถึง 130 ํC ไมมีสี ไมมีกลิ่น จึงไมสงผลตอรสชาติของผลิตภัณฑ สามารถนำไปใชเพื่อชวยยืดอายุ การเก็บรักษาของอาหารได เชน นำอาหารสด เนื้อสัตว ผัก หรือผลไม ไปลางในสารละลายที่ผสมสารสกัดจากแกนสม รวมถึงนำไปเปนสวน ประกอบในอาหารกลุ ม เบเกอรี่ เยลลี่ และซอส นอกจากการลดการปนเปอนของเชื้อโรคใหอาหารแลว สารสกัดจากแกนสมสามารถใชเปน สารฆาเชื้อในไลนผลิตและไลนบรรจุอาหาร การทำงานของสารสกัดจากแกนสมมีความแตกตางจากสารเคมีฆาเชื้อ ซึ่งลวนเปนสารกัดกรอนและมีพิษ เชน สารประกอบคลอรีน เพอรออกไซด อัลดีไฮด ควอเทอรนารี่แอมโมเนีย หรือฟนอล โดยสารสกัดจากแกนสม มี ส ารไบโอฟลาโวนอยด (Bioflavonoids) ที่ ท ำงานรวมกั บ วิ ต ามิ น ซี สามารถทำลายผนังเซลลของแบคทีเรียทำใหทำลายแบคทีเรียไดหมด สวนสารเคมีฆาเชื้อจะทำลายแบคทีเรียเพียงบางสวน แบคทีเรียที่ไมถูก ทำลายก็จะสรางไบโอฟลมยึดเกาะติดกับพื้นผิวของวัสดุซึ่งเปนสาเหตุ สำคัญของการปนเปอนของผลิตภัณฑในอุตสาหกรรมอาหาร

…the vital ingredient Your leading supplier to the food & nutrition, health & personal care industries.

Bronson and Jacobs International Co., Ltd.

4/11 Moo 8, Soi Watsrivareenoi, Bangna-Trad Road, Bangchalong, Bangplee, Samutprakan 10540 Email: sira@bjinter.co.th Tel: +66 (0) 2337 1537-1542 Fax: +66 (0) 2337 1543 Food Focus Thailand

DECEMBER 2013 FF#93_ad B&J_Pro3.indd 31 FF#93_p64-65_Pro3.indd 65

65

11/13/13 5:06:49 PM 11/23/13 10:19:23 PM


STRATEGIC R&D เอื้อเฟอขอมูลโดย: สถาบันวิจัยและพัฒนา องคการเภสัชกรรม

สารกันเสียชีวภาพจาก

Lactic Acid Bacteria

‡™◊ÈÕ√“·≈–¬’ μ凪ìπ®ÿ≈‘π∑√’¬å∑’Ëæ∫«à“‡ªì𠓇Àμÿ∑’Ë∑”„À⇰‘¥°“√‡πà“‡ ’¬¢ÕßÕ“À“√μà“ßÊ ‡™àπ º≈‘μ¿—≥±å®“°π¡ ™’ ¢π¡ªíß ‡¡≈Á¥∏—≠æ◊™ ·≈–Õ“À“√ —μ«å ‚¥¬æ∫«à“ª√–¡“≥√âÕ¬≈– 5-10 ¢ÕßÕ“À“√„π‚≈°π’È®– Ÿ≠‡ ’¬‰ª‡æ√“– “‡Àμÿ®“°‡™◊ÈÕ√“ „π¬ÿ‚√ªμ–«—πμ°æ∫«à“‡™◊ÈÕ√“∑”„Àâ ¢π¡ªí߇πà“‡ ’¬ ·≈–°àÕ„À⇰‘¥°“√ Ÿ≠‡ ’¬∑“߇»√…∞°‘®¡“°°«à“ 200 ≈â“πªÕπ¥å πÕ°®“°‡™◊ÈÕ√“®–∑”„ÀâÕ“À“√‡πà“‡ ’¬·≈⫬—ß √â“ß “√æ‘… (Mycotoxin) ∑’ˇªìπÕ—πμ√“¬μàÕ ÿ¢¿“扥â¥â«¬ ‚¥¬‡™◊ÈÕ√“∑’Ëæ∫«à“‡ªì𠓇Àμÿ¢Õß°“√‡πà“‡ ’¬¢ÕßÕ“À“√ ‰¥â·°à Penicillium spp., Aspergillus spp. ·≈– Fusarium spp.

จจุ บั น ผู บ ริ โ ภคต อ งการอาหารที่ มี คุ ณ ภาพ ปลอดภั ย ผ า นกระบวนการแปรรู ป น อ ยที่ สุ ด และมี ก ารใส ส ารเคมี เพื่อใชเปนสารกันเสียนอยที่สุด ดังนั้นจึงเปนการกระตุนใหมี การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสารตานเชื้อราจาก Lactic Acid Bacteria (LAB) เพื่อใชเปนสารกันเสียชีวภาพ (Biopreservative) สารกันเสียชีวภาพ หมายถึง สารตานจุลชีพที่จะไดจากเชื้อจุลินทรีย โดยสารนั้นจะชวยเพิ่มอายุการเก็บรักษาของอาหาร (Shelf life) ใหนานขึ้น และมีความปลอดภัยตอผูบริโภค LAB เปนเชื้อแบคทีเรียที่พบไดตาม ธรรมชาติ สามารถนำมาใชผลิตอาหารตางๆ ได เชน อาหารหมักดอง ผลิตภัณฑจากนม โยเกิรต ชีส นอกจากนี้ยังใชเปนสารเสริมชีวนะ (Probiotic) เพื่อปรับสมดุลของ จุลินทรียประจำถิ่น (Normal flora) ในลำไสของคนและสัตว LAB ถูกใช เป น สารกั น เสี ย ชี ว ภาพตามธรรมชาติ ใ นอาหารมนุ ษ ย แ ละอาหารสั ต ว

66

มานานแลว โดยไดมีการศึกษาถึงสารตานเชื้อราที่ผลิตโดย LAB พบวา มีหลายชนิด เชน Organic acid, Phenyllactic acid, Proteinaceous compounds และ Fatty acid

Organic Acid ในกระบวนการหมักของ LAB นั้นจะมี 2 แบบ คือ โฮโมเฟอร เ มนเทที ฟ (Homofermentative) และเฮเทอร โ รเฟอรเมนเททีฟ (Heterofermentative) โดยกรดแลคติก (Lactic acid) เป น สารหลั ก ที่ ไ ด จ ากกระบวนการหมั ก แบบโฮโมเฟอร เ มนเทที ฟ และ มีผลทำให pH ของอาหารลดลง ซึ่งก็ทำใหเชื้อจุลินทรียอื่นไมสามารถ เจริญเติบโตได เนื่องจาก ไฮโดรเจนอิออน (H+) จะซึมผานเยื่อหุมเซลลเขาสู ภายในเซลลของเชื้อราทำใหไซโตพลาสซึมมีสภาพเปนกรดสูง ซึ่งสงผลให แ ร ง ขั บ เ ค ลื่ อ น โ ป ร ต อ น ผ า น เ ยื่ อ หุ ม ชั้ น ใ น ข อ ง ไ ม โ ท ค อ น เ ด รี ย (Electrochemical proton gradient) ภายในเซลลจุลินทรียเสียไปดวย สำหรับกระบวนการหมักแบบเฮเทอรโรเฟอรเมนเททีฟของ LAB จะได กรดอะซิ ติ ก (Acetic acid) เป น สารหลั ก และผลิ ต กรดโพรพิ โ อนิ ก (Propionic acid) ในปริมาณเล็กนอย แตกรดทั้งสองชนิดจะมีคา pKa ที่ สู ง มากกว า กรดแลคติ ก โดยกลไกการออกฤทธิ์ ยั บ ยั้ ง เชื้ อ จุ ลิ น ทรี ย ก็จะเหมือนกับของกรดแลคติก คือจะมีผลตอแรงขับเคลื่อนโปรตอนผาน เยื่ อ หุ ม ชั้ น ในของไมโทคอนเดรี ย และไปยั บ ยั้ ง การนำเข า กรดอะมิ โ น (Amino acid uptake) ภายในเซลลของเชื้อรา โดยฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อรา จะใหผลดีที่ pH ต่ำกวา 4.5 นอกจากนี้ยังพบวาการใชกรดแลคติกรวมกับ กรดอะซิ ติ ก และกรดโพรพิ โ อนิ ก จะสามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ ของยี ส ต ไดดีกวาการใชกรดเพียงชนิดเดียว ซึ่งแสดงใหเห็นถึงการเสริมฤทธิ์กัน (Synergistic effect) ในการยับยั้งเชื้อรา นอกจากกรดอินทรียที่ไดจากกระบวนการหมักแลวยังมีผลิตภัณฑ สุดทายอื่นที่มีฤทธิ์ตานเชื้อราได คือ ไฮโดรเจนเพอรออกไซด (Hydrogen peroxide) และไดอะซิทิล (Diacetyl) LAB สวนใหญมีเอนไซมฟลาโวโปรตีนออกซิเดส (Flavoprotein oxidase) ทำใหสามารถผลิตไฮโดรเจนเพอรออกไซดไดซึ่งมีฤทธิ์ในการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา โดยจะทำใหเกิด

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

R2_FF#93_p66-67_Pro3.indd 66

11/25/13 11:01:06 AM


การออกซิ ไ ดซ (Oxidizing effect) ภายในเซลล และจะไปทำลาย โครงสรางโมเลกุลของเซลลโปรตีน (Cellular protein) สำหรับไดอะซิทิล หรือ 2,3-Butanedione ซึ่งเปนสารใหกลิ่นที่ไดจากการทำเนย โดย LAB ก็มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราไดแตพบวาการใชไดอะซิทิลสำหรับเปนสารตานเชื้อรานั้น ต อ งใช ใ นปริ ม าณสู ง (200 mM) จึ ง จะเห็ น ผล ซึ่ ง ก็ จ ะมี ผ ลต อ รสชาติ และกลิ่นของผลิตภัณฑ

Proteinaceous Compounds ไรโบโซมของ LAB สามารถ สังเคราะหเปปไทด (Peptide) หรือโปรตีนได จากการศึกษาฤทธิ์ใน การยั บ ยั้ ง เชื้ อ ราของ LAB พบว า จะสู ญ เสี ย ไปเมื่ อ มี ก ารบำบั ด ด ว ย Proteolytic enzyme ซึ่ ง ต อ มาพบว า สารที่ มี ฤ ทธิ์ ใ นการยั บ ยั้ ง เชื้ อ รา เปนพวก Proteinaceous compounds โดยจากการศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อรา Penicillium spp. ของ Lactobacillus casei พบวาฤทธิ์ จะลดลงเมื่อใสทริปซิน (Trypsin) หรือเปปซิน (Pepsin) ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ และจากการเลี้ยงเชื้อ Lactobacillus spp. ในหญาหมัก (Silage) พบวา มีสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อราและฤทธิ์ยับยั้งการสรางอะฟลาท็อกซิน (Aflatoxin) ตอ Aspergillus flavus โดยสารที่มีฤทธิ์นี้เปนสารกลุมเปปไทด (< 1 kDa) มี ฤ ทธิ์ ต า นเชื้ อ ได ก ว า ง ทนความร อ น และออกฤทธิ์ ไ ด ดี ที่ pH 3-6 แตจะถูกทำลายไดดวยเอนไซมที่ยอยโปรตีน (Proteinase)

ของ Candida albicans พบวาที่ความเขมขน 10 mM ของกรดไขมันมีเพียง Capric (C 10) acid และ Lauric (C 12) acid ที่ ส ามารถยั บ ยั้ ง การเจริ ญ ของเชื้ อ ยี ส ต นี้ ไ ด นอกจากนี้ ยั ง พบว า กรดไขมั น จะมี ฤ ทธิ์ ยั บ ยั้ ง การเจริ ญ ของยีสตไดดีกวาเชื้อรา โดยคา Minimum Inhibitory Concentration (MIC) ของ Hydroxylated fatty acid ตอเชื้อราและยีสตจะอยูในชวง 10-100 μg/ml ซึ่งถาเปรียบเทียบกับ Amphotericin B ซึ่งมีคา MIC อยูในชวงหนวย μg/ml เชนกัน

Phenyllactic Acid จากการเพาะเลี้ยง Lactobacillus plantarum 21 B ในอาหารเหลวพบวาเชื้อ LAB สามารถผลิต Phenyllactic acid และ 4-Hydroxy-phenyllactic acid ซึ่งมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของเชื้อราเสนใย หลายสายพันธุ โดย Phenyllactic acid มีคา MIC อยูในชวงหนวย mg/ml ได มี ก ารนำเชื้ อ L. plantarum มาเป น เชื้ อ เริ่ ม ต น สำหรั บ การผลิ ต ขนมป ง รวมกับ Saccharomyces cerevisiae พบวาชวยยืดอายุการเก็บรักษาและ ป อ งกั น เชื้ อ ราบนขนมป ง ได สำหรั บ การทดลองในอาหารสั ต ว โดยนำเชื้ อ L. plantarum เลี้ยงในหญาหมักพบวาจะชวยเพิ่ม Aerobic stability และ ลดปริ ม าณยี ส ต แ ละเชื้ อ ราได อย า งไรก็ ต ามพบว า Phenyllactic acid จะชวยเสริมการออกฤทธิ์ของสารตานเชื้อราอื่นๆ ที่ผลิตโดย LAB ดวย ดังที่ไดกลาวมาแลววาสารตานเชื้อราจาก LAB นั้นมีหลายกลุมดวยกัน โดยสวนใหญสารเหลานี้จะเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน ถามีการศึกษาเพิ่มเติม ถึ ง คุ ณ สมบั ติ ข องสารออกฤทธิ์ อื่ น และกลไกในการออกฤทธิ์ รวมทั้ ง ความปลอดภัยในการนำสารตานเชื้อราจาก LAB มาใชทดแทนสารเคมีซึ่งเปน สารกันเสียก็จะเปนประโยชนตอไปในอนาคต

Fatty Acid จากการแยกสารที่ ไ ด จ ากการเลี้ ย งเชื้ อ Lactobacillus plantarum MiLAB 14 ในอาหารเหลว พบว า มีกรดไขมัน คือ 3-Hydroxylated fatty acid ที่มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญ ของเชื้อราได โดยฤทธิ์ตานเชื้อราจะเพิ่มขึ้นตามความยาวของสายคารบอน ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น โดยพบว า Caprylic (C 8) acid และสายที่ ย าวกว า นี้ จะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อจุลินทรียไดสูงสุด มีรายงานการทดสอบ ฤทธิ์ของกรดไขมันและโมโนกลีเซอไรด (Monoglyceride) ตอการเจริญ

เอกสารอางอิง เยาวภา สุวัตถิ.สารกันเสียชีวภาพจาก Lactic Acid Bacteria. กลุมวิจัยอุตสาหกรรมเทคโนโลยี ลยีชีวภาพ. สามารถเขาถึงไดท่เี ว็บไซต www.gpo.or.th/rdi/html/LAB.html Magnusson J., Strom K., Roos S., Sjogren J. and Schnurer J. Broad and complex Antifungal activity amoung environmental isolates of lactic acid bacteria. FEMS Microbiology Letters. 2003; 219: 129-135. Schnurer J. and Magnusson J. Antifungal lactic acid bacteria as biopreservatives. Trends in Food Science & Technology. 2005; 16 (1-3): 70-78. Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p66-67_Pro3.indd 67

67

11/21/13 11:45:42 PM


SMOOTH DISTRIBUTION

โดย: รองศาสตราจารย ดร. สถาพร อมรสวัสดิ์วัฒนา รองอธิการบดีฝายวางแผนและพัฒนา มหาวิทยาลัยหอการคาไทย sataporn_amo@utcc.ac.th

15 ลดตนทุนดานสินคาคงคลัง วิธีในการ

°“√·¢àߢ—π∑’Ë√ÿπ·√ß∑“ß∏ÿ√°‘®¡’§«“¡®”‡ªìπ∑’Ë∫√‘…—∑μà“ßÊ ®–μâÕß¡’°“√ª√—∫μ—«‡æ◊ËÕ≈¥μâπ∑ÿπ„π°“√ª√–°Õ∫°“√ μâ π ∑ÿ π ¥â “ π ‘ π §â “ §ß§≈— ß ‡ªì π μâ π ∑ÿ 𠔧— ≠ ∑’Ë ¡— ° ®–∂Ÿ ° ¡Õߢ⠓ ¡·≈– à ß º≈Õ¬à “ ߬‘Ë ß μà Õ °“√¥”‡π‘π∏ÿ√°‘® °≈¬ÿ∑∏å„π°“√≈¥μâπ∑ÿπ¥â“π ‘π§â“§ß§≈—ß “¡“√∂∑”‰¥âÀ≈“¬«‘∏’¥â«¬°—π ‰¡à«à“®– ‡ªìπ°“√‡°Á∫√—°…“ ‘π§â“§ß§≈—ß„Àâ¡’ª√‘¡“≥πâÕ¬≈ß À√◊Õ°“√®—¥´◊ÈÕª√‘¡“≥ ‘π§â“„Àâ¡’§«“¡‡À¡“– ¡ ·¡â°√–∑—Ëß°“√º≈—°¿“√–¥â“π ‘π§â“§ß§≈—߉ª„Àâ´—ææ≈“¬‡ÕÕ√åÀ√◊ÕºŸâ„Àâ∫√‘°“√¥â“π‚≈®‘ μ‘° 凪ìπºŸâ∫√‘À“√ ‘π§â“§ß§≈—ß„Àâ

การลดตนทุนดานสินคาคงคลัง ปจจัยที่สำคัญในการลดตนทุนดานสินคาคงคลัง คือ การวัดประสิทธิภาพดาน การบริหารสินคาคงคลังอยางตอเนื่องและคนหาวิธีการในการปรับปรุงอยูเสมอ ในบทความนี้ไดนำขอเสนอแนะในการลดตนทุนดานสินคาคงคลังของนายราลฟ คอกซ (Ralph Cox) ดำรงตำแหนงผูอำนวยการบริษัท Tompkins Associates ซึ่ ง ได อ ธิ บ ายเทคนิ ค ในการลดต น ทุ น และปริ ม าณสิ น ค า คงคลั ง ไว ใ นหนั ง สื อ เรื่อง The Supply Chain Handbook โดยมี James A Tompkins และ Dale Harmelink เปนบรรณาธิการ และจัดพิมพโดย Tompkins Press ซึ่งสามารถ สรุปได ดังนี้ สร า งวั ฏ จั ก รของสิ น ค า คงคลั ง บนฐานด า นเศรษฐศาสตร (Base cycle stock on economics) สำหรับสินคาที่จัดซื้อใหบริหารตนทุน การจัดซื้อ (Acquisition transaction costs) ใหต่ำลง ซึ่งจะสามารถ ลดตนทุนดานการจัดซื้อและการรับสินคา หรือสามารถลดปริมาณสินคาคงคลัง โดยเฉลี่ยได สำหรับสินคาที่ผลิตนั้นหากตนทุนการติดตั้งหรือการเปลี่ยนเครื่องมือ (Equipment changeover costs) มีคาสูง การแกไขกิจกรรมนี้ใหมีเวลาการเปลี่ยน เครื่ อ งมื อ สั้ น ลงจะสามารถลดปริ ม าณสิ น ค า คงคลั ง ได และเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ การผลิตได

1

ควบคุมตนทุนการสั่งซื้อ (Control order transaction costs) ในการสั่งซื้อนั้นควรจะใชคอมพิวเตอรหรือระบบสารสนเทศในการสรางคำสั่งซื้อ (Purchase Orders; PO) การใชระบบ (Electronic Data Interchange; EDI) ในการสงผานขอมูลคำสั่งซื้อ (PO) การใชระบบแจงการขนสงสินคาลวงหนา (Advance Shipping Notices; ASNs) การใชระบบการประเมินซัพพลายเออร ในการจัดลำดับความสำคัญเพื่อทำการลดตนทุนการจัดซื้อในโรงงานอุตสาหกรรม การวางแผนความตองการใชวัตถุดิบหรือชิ้นสวนลวงหนา การใชเครื่องมือชนิดพิเศษ การปรับเปลี่ยนเครื่องมือหรือแมพิมพลวงหนากอนที่การผลิตล็อตเดิมจะสิ้นสุด การทำงานเป น ที ม และการบำรุ ง รั ก ษาเครื่ อ งมื อ จะสามารถลดปริ ม าณ สินคาคงคลังได

2

68

ลดตนทุนการเก็บสินคาคงคลั​ัง (Lower ( inventory costs)) โดยการโ เพิ่ ม การใช ป ระโยชน ข องพื้ น ที่ จ ากการให เ ช า พื้ น ที่ ที่ มี อ ยู หรื อ ลด การขยายพื้ น ที่ ค ลั ง สิ น ค า โดยใช เ ครื่ อ งมื อ ที่ ส ามารถขนถ า ยสิ น ค า ในชองแคบ การใชชั้นลอย หรือวิธีการเก็บสินคาที่เหมาะสมมากขึ้น

3

การตั้งระดับปริมาณสินคาเผื่อขาดบนพื้นฐานของความพึงพอใจ ของลูกคา (Base safety stock on customer service) การตั้งระดับ ปริมาณสินคาคงคลังเผื่อขาด (Safety stock) โดยแบงกลุมของสินคา (Class) ใหมีความเหมาะสมและชัดเจน ตรวจสอบขอมูลของระดับปริมาณสินคา เผื่ อ ขาดอย า งต อ เนื่ อ ง และตั้ ง ระดั บ ปริ ม าณของสิ น ค า คงคลั ง เพื่ อ ตอบสนอง ความพึ ง พอใจของลู ก ค า ในรู ป แบบของเป า หมายทางการเงิ น เพื่ อ เป น ตั ว วั ด ในการลดปริมาณสินคาคงคลังเผื่อขาด หรือลดเหตุการณที่สินคาคงคลังขาดแคลน และเปนการเพิ่มผลกำไร

4

พยากรณ ค วามต อ งการของลู ก ค า อย า งสม่ ำ เสมอ (Use routine demand forecasting) การใชประสบการณแกไขสมการพยากรณในการคำนวณความต อ งการของสิ น ค า เพื่ อ ลดความผิ ด พลาดจากการใช สู ต รพยากรณ เ พี ย งอย า งเดี ย วจะสามารถลดการเก็ บ สิ น ค า เกิ น ความจำเป น และสินคาขาดแคลนทำใหมีสินคาเพียงแคความตองการของลูกคา

5

คำนึ ง ถึ ง ผลกระทบของเหตุ ก ารณ (Forecast events) เหตุการณ บางเหตุการณทำใหเกิดความตองการของสินคาเพิ่มขึ้นในเวลาอันรวดเร็ว ทำใหตองคำนึงถึงเหตุการณนั้นในการจัดการสินคาคงคลัง อาทิ เทศกาล สงกรานตที่ทำใหความตองการตั๋วรถยนตโดยสารประจำทางหรือตั๋วเครื่องบิน เพิ่มสูงขึ้น ทำใหตองวางแผนสินคาคงคลังรองรับเหตุการณดังกลาว

6

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p68-69_Pro3.indd 68

11/21/13 11:49:48 PM


วางแผนการประกอบไวสวนทาย (Think postponement) สำหรับ สิ น ค า ที่ เ ป น ชิ้ น ส ว นที่ ส ามารถนำไปผลิ ต สิ น ค า ต อ เนื่ อ งได อี ก หลายชนิ ด (Parent products) ควรจะเก็ บ สิ น ค า คงคลั ง ไว ในรูปแบบของสินคากึ่งสำเร็จรูป (Semi-finished product) เพื่อลดปริมาณ สิ น ค า คงคลั ง ทั้ ง หมด เนื่ อ งจากสามารถลดปริ ม าณสิ น ค า คงคลั ง ของ ทุกรายการแตละแบบได

7

จัดรายการของสินคาใหเหมาะสม (Rationalize SKUs) กำจัด ผลิตภัณฑที่ไมสรางกำไรเพิ่มออกจากรายการสินคาทั้งหมด โดยอาจ แบงประเภทสินคาเปนสินคาที่สามารถสรางผลกำไร สินคาที่เทาทุน และสิ น ค า ที่ ข าดทุ น แล ว จั ด รายการสิ น ค า ให มี แ ต เ ฉพาะสิ น ค า ที่ มี ก ำไร หรือสินคาที่เทาทุนเพื่อลดภาระจากตนทุนการเก็บสินคาคงคลัง

8

ลดระยะเวลาในการสั่งซื้อ (Reduce lead times for product acquisition) การลดระยะเวลาในการสั่ ง ซื้ อ วั ต ถุ ดิ บ หรื อ ชิ้ น ส ว น ไมวาจะเปนระยะเวลาในการสั่งซื้อจากซัพพลายเออรหรือระยะเวลา ในการขนส ง สิ น ค า หรื อ ระยะเวลาในการรั บ สิ น ค า จะส ง ผลให ป ริ ม าณ ความตองการในการเก็บสินคาคงคลังลดลง นอกจากนี้ การลดความไมแนนอน ของระยะเวลาในการสั่งซื้อก็สามารถลดความตองการของการเก็บสินคาได

9

สร า งความร ว มมื อ ระหว า งซั พ พลายเออร ใ นการสั่ ง ซื้ อ สิ น ค า (Implement common supplier joint procurement for purchased parts) สรางความรวมมือของซัพพลายเออรหลักในการจัดซื้อสินคา หลายรายการ (Multiple SKUs) เพื่อลดตนทุนการจัดซื้อตอหนวยของสินคา ดั ง นั้ น ผู ป ระกอบการสามารถจั ด ซื้ อ สิ น ค า ได ถี่ ขึ้ น และลดความจำเป น ในการเก็บสินคาคงคลัง นอกจากนี้การสรางความรวมมือของซัพพลายเออรหลัก ที่ตั้งอยูในพื้นที่ใกลเคียงกัน สามารถเพิ่มการใชประโยชนของรถบรรทุกขนสงสินคา ใหสามารถขนสินคาไดเต็มน้ำหนักบรรทุกมากขึ้น

10

จั ด ส ง สิ น ค า ต อ ไปให ลู ก ค า เมื่ อ สิ น ค า มาถึ ง (Cross-dock customer shipments) การจัดสงสินคาตอไปใหลูกคาเมื่อสินคา มาถึ ง (Cross-dock) จะสามารถลดความต อ งการในการเก็ บ สิ น ค า คงคลั ง เนื่ อ งจากสิ น ค า สามารถนำส ง ต อ ไปยั ง ลู ก ค า ได ทั น ที โดยไม ต อ งจั ด เก็ บ สิ น ค า นอกจากนี้ ก ารรวมความต อ งการของสิ น ค า จากแหลงวัตถุดิบหรือสินคามารวบรวมไวในคำสั่งซื้อเดียว และการจัดสง สิ น ค า ต อ ไปให ลู ก ค า ปลายทางหลายแห ง เมื่ อ สิ น ค า มาถึ ง จะสามารถลด ตนทุนการจัดซื้อและลดปริมาณสินคาคงคลัง

11

ขอมูลเพิ่มเติม บทความนี้เปนลิขสิทธิ์ของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร ซึ่งไดเผยแพร ทางเว็บไซต http://www.dpim.go.th/ และนิตยสารฯ ไดรับอนุญาตใหเผยแพร บทความดังกลาวเปนที่เรียบรอยแลว

การให ซั พ พลายเออร เ ป น ผู บ ริ ห ารสิ น ค า คงคลั ง (Use VendorManaged Inventory; VMI) สรางแรงจูงใจที่เหมาะสมใหซัพพลายเออร เขามารับผิดชอบการบริหารสินคาคงคลัง เนื่องจากซัพพลายเออรสามารถ ทราบปริมาณสินคาคงคลังและแผนการผลิตสินคาของฝายตนเอง และสามารถ ทราบความตองการที่แทจริงของสินคาพรอมกับปริมาณสินคาคงคลังของลูกคา สงผลใหตนทุนสินคาคงคลังทั้งฝายซัพพลายเออรและลูกคาลดลง

12

รวมรายการสินคาระหวางการขนสง (Try merge-in-transit) กรณีที่ ลูกคามีความตองการรับสินคาหลายรายการในเวลาเดียวกันในระหวาง การขนสงอาจจะมีการรวมบางรายการที่มาจากสถานที่ตางกันมาขนรวมกัน เพื่ อ ความสะดวกในการรั บ สิ น ค า ของลู ก ค า ภายในครั้ ง เดี ย ว ทำให ก ารขนส ง มีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินคาคงคลังไดดีขึ้น เนื่องจากสามารถขนสงสินคาไดถี่มากขึ้น ตนทุนสินคาคงคลังจะลดลง

13

เก็ บ สิ น ค า คงคลั ง เฉพาะเท า ที่ จ ำเป น (Keep in stock, but not everywhere) ในสถานการณที่มีศูนยกระจายสินคาหลายแหง ในแตละแหง จะเก็บสินคาบางรายการที่ไมเหมือนกัน ในปริ ม าณน อ ยเท า นั้ น ไม จ ำเป น ที่ ทุ ก แห ง จะตองมีการเก็บสินคาคงคลังที่เหมือนกัน ดังนั้น ปริมาณสินคาคงคลังโดยรวมจะนอยลง

14

เคลื่อนยายสินคาคงคลัง (Transfer instead of purchase) เมื่ อ สิ น ค า คงคลั ง ของสิ น ค า บางรายการ ณ คลังสินคาแหงหนึ่งมีมากเกินไป อยางไรก็ตาม ได มี ค วามต อ งการสิ น ค า ประเภทเดี ย วกั น ณ คลังสินคาอีกที่หนึ่ง ดังนั้น ระบบในการเกลี่ย ปริ ม าณสิ น ค า คงคลั ง จากที่ ห นึ่ ง มาที่ ห นึ่ ง ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพจะส ง ผลดี ต อ การบริ ห าร สิ น ค า คงคลั ง ได ดี อย า งไรก็ ต าม ต น ทุ น ในการเคลื่ อ นย า ยสิ น ค า นี้ ต อ งอยู ใ นระดั บ ที่จูงใจดวย

15

เอกสารอางอิง หนังสือเรื่อง “The Supply Chain Handbook” บรรณาธิการโดย James A Tompkins และ Dale Harmelink และจัดพิมพโดย Tompkins Press บทความเรื่อง “15 Resolutions You Can Make To Reduce Inventory in 2005. นิตยสาร Inventory Management Report เดือนมกราคม 2548 Food Focus Thailand

DECEMBER C 2013 03

FF#93_p68-69_Pro3.indd 69

69

11/21/13 11:49:48 PM


SHOW TIMES

Post Show - Oishii Japan 2013

Oishii Japan 2013

The Platform for Sourcing Authentic Japanese Food and Drink

Oishii Japan 2013 ß“π· ¥ß ‘π§â“ ”À√—∫Õÿμ “À°√√¡Õ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡ ‰μ≈å≠’˪ÿÉπ∑’ˬ‘Ëß„À≠à∑’Ë ÿ¥„πÕ“‡´’¬π ‰¥â‡ªî¥μ—«¢÷Èπ∑’Ë»Ÿπ¬å°“√· ¥ß ‘π§â“ Suntec Singapore ‡¡◊ËÕ«—π∑’Ë 17-19 μÿ≈“§¡ 2556 ∑’˺à“π¡“ ‚¥¬¿“¬„πß“π‰¥â®—¥· ¥ß ‘π§â“Õ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡ ‡§√◊ËÕß®—°√ ”À√—∫Õÿμ “À°√√¡ °“√º≈‘μÕ“À“√ √«¡∂÷ßÕÿª°√≥凧√◊ËÕß„™â·≈–ß“π∫√‘°“√ ”À√—∫∏ÿ√°‘®Õ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡Õ¬à“ߧ√∫§√—π ‡æ◊ËÕμÕ∫√—∫°≈ÿࡺŸâ‡¢â“™¡ß“π Õ“∑‘ ºŸâ‡™’ˬ«™“≠ ¥â“πÕ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡ ºŸâ∑’ËÕ¬Ÿà„π∏ÿ√°‘®√â“πÕ“À“√·≈–‚√ß·√¡ ‡™ø ºŸâπ”‡¢â“·≈–μ—«·∑π®—¥®”Àπà“¬ ºŸâ§â“ª≈’° μ≈Õ¥®ππ—°≈ß∑ÿπ ·≈–‡®â“¢Õß∏ÿ√°‘® √“¬„À¡à ∑’Ë μ ∫‡∑â “ ‡¢â “ ™¡ß“π‡ªì π ®”π«π¡“° ”À√— ∫ ªï π’È ‰ ¥â ‡ ªî ¥ μ— « J-Food Tech ¢÷È π ‡ªì π §√—È ß ·√°‡æ◊Ë Õ ‡ªì 𠇫∑’ · Àà ß °“√· ¥ß‡∑§‚π‚≈¬’ ¢ ÕßÕÿ ª °√≥å ·≈–‡§√◊ËÕß®—°√ ”À√—∫Õÿμ “À°√√¡Õ“À“√·≈–‡§√◊ËÕߥ◊Ë¡®“°°«à“ 10 ∫√‘…—∑™—Èππ”Õ’°¥â«¬ Oishii Japan 2013, ASEAN’s first and largest dedicated showcase on Japanese F&B, opened at Suntec Singapore from 17 to 19 October, 2013 with a plenty of F&B products, technology and services for F&B professionals, chefs, restaurants, hoteliers, importers and distributors, retailers as well as new business owners and inventors in the food business. In addition, innovative products from 10 leading food machinery companies were converging at the show to present J-Food Tech, a firstof-its-kind showcase on Japanese F&B equipment and technology.

Let’s Celebrate Japanese Cuisine & Culture คนพบขาวคุณภาพดีจากญี่ปุน ดวยลักษณะภูมิประเทศญี่ปุนซึ่งตั้งอยูในเขตอบอุน มีแหลง น้ำสะอาดหอมลอมหลายพื้นที่ ประกอบกับไดรับแสงสวางและอิทธิพลจากฤดูกาลที่ผันเปลี่ยน ตลอดทั้งป จึงเปนความโชคดีของดินแดนแหงนี้ที่สามารถปลูกขาวไดอยางมีคุณภาพ ซึ่งขาว ที่ ป ลู ก เกื อ บทั้ ง หมดเรี ย กว า ข า วจาโปนิ ก า มี ลั ก ษณะความหวานจากธรรมชาติ หอมอ อ นๆ เมล็ดกลม และมีความชุมชื้น ไมวาจะนำไปหุงหรือใชเปนสวนประกอบในอาหารญี่ปุนจานใด ก็จะไดสัมผัสถึงรสชาติที่แสนอรอยและกลิ่นอายจากธรรมชาติ ความพิ ถี พิ ถั น และเทคนิ ค พิ เ ศษคื อ คุ ณ ภาพที่ เ หนื อ กว า ถ า เอ ย ถึ ง “เนื้ อ โคดำวากิ ว ” แนนอนวาตองเปนเนื้อโคดำคุณภาพเยี่ยมของญี่ปุน ซึ่งไดรับการเลี้ยงดูเปนอยางดีในพื้นที่โรงนา ซึ่งบุพื้นดวยขี้เลื่อย และมีอากาศถายเทตลอดเวลา โดยโคดำจะกินหญาแหงที่ผสมดวยสารอาหาร เพื่ อ บำรุ ง ร า งกาย เนื้ อ โคดำจึ ง มี ลั ก ษณะเนื้ อ สั ม ผั ส นุ ม ชุ ม ในปากและรสชาติ เ ข ม ข น ซึ่ ง ความเอร็ ด อร อ ยของรสชาติ เ หล า นี้ ม าจากไขมั น ที่ แ ทรกซึ ม อยู ใ นเนื้ อ แดง เนื้ อ ซี่ โ ครง และ เนื้อสันนอกหรือเรียกวาชิโมฟูริ แนนอนวาอาหารญี่ปุนจะมีความหลากหลายมากขึ้นหากไดนำ เนื้อโคดำที่พิเศษนี้มารวมปรุง น้ำขาวหมัก การผสมผสานวัตถุดิบล้ำคาตามแบบฉบับญี่ปุน เหลาสาเกไดขึ้นชื่อวาเปน เครื่องดื่มแอลกอฮอลที่มีตนกำเนิดมากวาพันป ความหลากหลายของรสชาติจะผันแปรตามแหลง วั ต ถุ ดิ บ หลั ก คื อ ข า ว และน้ ำ อย า งไรก็ ต าม ส ว นประกอบร อ ยละ 80 ของสาเกคื อ น้ ำ 70

Let’s Celebrate Japanese Cuisine & Culture

High quality rice is grown throughout Japan. Japan is located in a temperate zone, blessed with quality water, sunshine and four distinct seasons; all favorable condition for rice cultivation. The rice harvested in Japan is nearly all Japonica rice, which features a natural sweetness, mild fragrance and plump moistness. Being simple and mild, it makes a tasty food on its own and also complements a variety of side dishes. Special technique and care produce leads to unrivaled quality. The item “Wagyu beef cattle” refers to distinctive Japanese breeds. Wagyu beef cattle are raised to be healthy animals in well-ventilated barns spread with sawdust. They are fed with a mixture of hay and highly nutritious, safe compound feeds. A feature of Wagyu beef is its juiciness melt-in-the-mouth texture and a rich, luxurious taste derives from an abundance of fat. The beautiful pattern of fat through red flesh like the chuck, rib and sirloin is termed Shimofuri. Its flavor will delight you when used in various types of cuisine.

“In 2013, Japanese reastaurants in the world

reach 55,000, which are more double than in 2003.”

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p70-71_Pro3.indd 70

11/23/13 10:24:01 PM


Japanese F&B Imports in 2012

“ Singapore saw a 2.7% increase in

Japanese F&B imports to JPY 14.5 billion.” “ ASEAN led in Japanese F&B imports

rising by 9% to JPY 81 billion.”

Source: Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries (MAFF), Japan

Singapore’s F&B Market in 2012

“ Singapore’s F&B industry generated almost USD

9.4 billion or 3.5% of the country’s total GDP.”

“ Imports of F&B products to Singapore accounted

for over 8% of its GDP.”

“ Retail sales value of packaged foods is estimated

at USD 2.1 billion.”

Source: Ministry of Agriculture, Forestry and Fisheries (MAFF), Japan

Highlights of the Show

• Guide to Japanese food culture and functionality: Hokkaido Hakodate Seaweed • The art of freshness in Japanese cuisine • The anatomy of Japanese Wagyu • A warrior’s guide to Japanese liquor • Free tastings the signature and special ramen dishes @ J-Ramen Collection pavilion • Sanuki udon-making workshop for kids aged 10 to 12 years

ดังนั้น รสชาติของสาเกจึงขึ้นอยูกับคุณภาพของน้ำมากที่สุด และจะแตกตางกันไป ในแตละจังหวัดดวย วัฒนธรรมการดื่มเหลาสาเกมีทั้งการดื่มในขณะอุนและเย็น โดยใชแกวกระเบื้องหรือแกวใสใบเล็ก และหากจะใหเขากับอาหารจานตะวันตก คุณก็อาจเลือกใชแกวไวนเพื่อสรางสีสันในการดื่มไดเชนกัน รสชาติที่แทจริงจะสะกดทุกความสนใจจากนักดื่มและนักชิมทั่วโลก ชาเขียว หรือ “มัทฉะ” ขึ้นชื่อมากในพิธีการดื่มชาของญี่ปุน ซึ่งไดจากการเก็บยอดใบชา ที่เพาะปลูกบนพื้นที่แสงแดดออนๆ โดยธรรมชาติแลวชาเขียวจะอุดมไปดวยสารแคทีชินและอีกหลากหลายคุณประโยชนที่ดีตอสุขภาพ ปจจุบันมีการใชชาเขียว มากขึ้นทั้งในรูปแบบของอาหาร เครื่องดื่ม และขนมหวานชนิดตางๆ และเริ่มเปน ที่โปรดปรานของคนทั่วโลกมากขึ้นดวยรสชาติและกลิ่นหอมอันเปนเอกลักษณ ที่ชวนใหนาหลงใหล นอกจากซีรียความอรอยของอาหารและเครื่องดื่มสไตลญี่ปุนที่ไดเปดฉาย มาตลอดสามวันของการจัดงานในครั้งนี้แลว การขยายเครือขายทางธุรกิจพรอม แลกเปลี่ ย นประสบการณ แ ละความรู ข องผู เ ข า ร ว มชมงานก็ เ ป น อี ก หนึ่ ง สี สั น ที่ถูกบันทึกไวในครั้งนี้เชนกัน กาวตอไป Oishii Japan 2014 จะกลับมาอีกครั้ง ในวันที่ 16-18 ตุลาคม 2557 สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่เว็บไซต www.oishii-world.com แลวพบกัน!

“The number of Japanese restaurants in Singapore

has increased to reach 880 from 180 over the last five years.” A perfect marriage of rice and water in Japanese tradition; Sake is a unique Japanese alcoholic beverage that boasting over one thousand years of history. Varieties of sake from different areas of Japan have distinct flavors due to local variation in the quality of rice and water. 80% of sake is water and it has the greatest effect on quality. One unique aspect of Japanese sake is that it can be enjoyed both cold and warm in a small ceramic or glass cup, but you can also enjoy it in a wine glass.

“5,000 visitors from over 20 countries last year” A flavor with depth, attracting attention from gourmets worldwide; The tea used in Japanese tea ceremony is called Matcha; its leaves are grown without exposure to direct sunlight. Naturally, Matcha is full of catechin and provides health benefits. There has been an increase in the use of Matcha in confectionery and cooking overseas, so even more people are enjoying its depth of flavor. A series of highlights was organized to sharpen the business networking and educational experiences of participants. Absolutely Yes! for the 3rd edition of Oishii Japan 2014 will be from 16-18 October, 2014. For more information, please visit www.oishii-world.com

“4,000 square metres for 230 exhibitors from

26 prefectures” Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p70-71_Pro3.indd Sec1:71

71

11/22/13 2:11:02 PM


SHOW TIMES

Post Show - Bangkok RHVAC 2013 & Bangkok E&E 2013

s

nie a p m

co 0 7 m 1 3.é o r f s 01 h t 2 o C A bo V 5 H 2 R er 8 gkok v O ç an B d e join

Bangkok RHVAC 2013 Bangkok E&E 2013

ผูประกอบการอิเล็กทรอนิกสไทย เตรียมพรอมการผลิตรับมือ AEC ªî ¥ ©“°≈ß°— ∫ §«“¡ ”‡√Á ® ¥â « ¬º≈μÕ∫√— ∫ Õ¬à “ ߥ’ ® “°ºŸâ ¢â “ ™¡ß“π ∑—Èß„π·≈–μà“ߪ√–‡∑» æ√âÕ¡‚™«å»—°¬¿“æ°“√º≈‘μ ‘π§â“Õ‘‡≈Á°∑√Õπ‘° å ¥â « ¬Ωï ¡◊ Õ §π‰∑¬ §ÿ ≥ ¿“æ√–¥— ∫ ¡“μ√∞“π “°≈ ¡—Ë π „®ª√–‡∑»‰∑¬ æ√âÕ¡‡ªìπ»Ÿπ¬å°≈“ß°“√º≈‘μ ‘π§â“Õ‘‡≈Á°∑√Õπ‘° å„Àâ°—∫π—°≈ß∑ÿπ‰∑¬ ·≈–μà “ ߪ√–‡∑» μà Õ ¬Õ¥§ÿ ≥ ¿“æ ‘ π §â “ ¥â « ¬π«— μ °√√¡∑’Ë ‡ ªì π ¡‘ μ √ μàÕ ‘Ëß·«¥≈âÕ¡ §◊π∏√√¡™“μ‘°≈—∫ Ÿà‚≈° ’‡¢’¬«

Bangkok RHVAC 2013 & Bangkok E&E 2013 was a success and received a generous welcome from Thai and foreign visitors. Again, the fairs exhibited the strength of Thai manufacturers in producing international standards quality products. With confident, Thailand is ready to be the electronics production center for Thai and foreign investors who are interested in incorporating environmentally friendly and innovative technology to add value to their products.

นี้มีผูใหความสนใจเขาชมงานตลอดสามวัน กวา 8,200 คน ยอดเพิ่มขึ้น จากป 2555 กว า ร อ ยละ 31 ซึ่ ง ทำให เ กิ ด ยอดขายรวมภายในงาน มูลคากวา 72 ลานบาท คาดวาจะมียอดสั่งซื้อสินคาตามมาภายใน 1 ป มู ล ค า สะพั ด กว า 5,813 ล า นบาท ซึ่ ง ป นี้ ผู เ ข า ชมงานจากต า งชาติ ต า งชื่ น ชม การจัดงาน และมั่นใจในคุณภาพสินคาฝมือคนไทย

ver 8,200 people visited the fair during the 3 days. This considered 31% increase from 2012. The huge increase of visitor’s number was also reflected by the total sale of 72 million baht during the fair. Following the fair, orders worth of 5.813 billion baht are expected to be placed this year. Overall, the two fairs received great praise from foreign visitors who reiterated with confident that Thai products are with trusted quality.

Highlight of the Show นิทรรศการ Thailand’s Coolest Innovation ซึ่งเปนพื้นที่แสดงสินคานวัตกรรม ลดโลกรอนที่โดดเดน มีแนวคิดและผลิตขึ้นโดยคนไทย สินคาเหลานี้มีคุณสมบัติ ในการใช พ ลั ง งานได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพยอดเยี่ ย ม (Energy efficiency) มีเปาหมายและมุงมั่นเพื่อใหสินคารักษาสิ่งแวดลอม ลดมลภาวะ เปนมิตรกับ ธรรมชาติและโลกสีเขียว สั ม มนาโดยสมาคมวิ ศ วกรรมปรั บ อากาศแห ง ประเทศไทยและ สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย โดยมีผูใหความสนใจเปนอยางมาก รวมถึง นำเสนอ Hi-Light Product จากผู เ ข า ร ว มงาน ซึ่ ง เป น สิ น ค า นวั ต กรรมประหยัดพลังงานผานเวที Business Presentation

72

O

Highlight of the Show

A Special Exhibition which was very popular among visitors was Thailand’s Coolest Innovation which showcased outstanding products that are energy efficient, eco-friendly, and most importantly are designed and produced by Thai with goal in pollution minimization and environment conservation. There was also a seminar by the Air-Conditioning and Refrigeration Industry Club under the Federation of Thai Industries. The seminar attracted a lot of attention from participant as it also provided the floor for business presentation by exhibitors to talk about their Hi-Light Product which are innovative and energy efficient.

ç125 booths from 70 companies participated in Bangkok E&E 2013.é

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p72_Pro3.indd 72

11/21/13 11:52:32 PM


SURROUNDS

หองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย)

เมทเลอร-โทเลโด (ประเทศไทย) ®—¥ —¡¡π“„À⧫“¡√Ÿâ‡°’ˬ«°—∫

‡æ‘Ë¡π‚¬∫“¬®—¥∑”Àπ૬ CB

°“√ªØ‘∫—μ‘μ“¡¡“μ√∞“π USP „À¡à กรุ ง เทพฯ, บริ ษั ท เมทเล อ ร โทเลโด (ประเทศไทย) จำกั ด ไ ด จั ด ง า น สั ม ม น า เ กี่ ย ว กั บ มาตรฐาน USP & GMP ขึ้ น ณ หองประชุมชั้น 3 บริษัท เมทเลอรโทเลโด (ประเทศไทย) จำกัด ในหัวขอ “วิธีการปฏิบัติตาม มาตรฐาน USP บทที่ 41 และ 1251 รวมถึงแนวทาง การลดตนทุนในการดำเนินการทดสอบ (How to reach compliance with the New USP Chapters 41 and 1251 and save on testing costs)” ใหแกผูผลิตในอุตสาหกรรมยา เมื่อเดือน กั น ยายนที่ ผ า นมา เนื่ อ งจากมี ก ารเปลี่ ย นแปลงข อ กำหนดของ USP ด า น การชั่งน้ำหนักในบทที่ 41 และ 1251 ซึ่งจะเริ่มนำมาใชในวันที่ 1 ธันวาคม 2556 การสัมมนาครั้งนี้จัดขึ้นเพื่อใหผูที่สนใจไดเรียนรูเกี่ยวกับผลกระทบที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงขอกำหนดดังกลาว และสามารถนำเอาแนวทางการปฏิบัติ งานไปประยุกตใชใหสอดคลองกับมาตรฐานไดอยางเหมาะสม โดยอาศัย การทดสอบเครื่องชั่งในหองปฏิบัติการตามมาตรฐาน GWP® ของเมทเลอรโทเลโด ซึ่ ง จะช ว ยลดความยุ ง ยากและค า ใช จ า ยในการทดสอบ รวมถึ ง เพิ่มความมั่นใจในคุณภาพและความสอดคลองกับมาตรฐานไดอยางตอเนื่อง

กรุ ง เทพฯ - ด ว ยความต อ งการบริ โ ภค อาหารที่ ป ลอดภั ย เพิ่ ม ขึ้ น คุ ณ ภาพและ ความปลอดภัยอาหารจึงเปนปจจัยสำคัญ ที่ ผู บ ริ โ ภคและหน ว ยงานควบคุ ม ดู แ ล ของภาครั ฐ เรี ย กร อ งต อ ผู ผ ลิ ต ป จ จุ บั น หน ว ยงานของภาครั ฐ มี ม าตรการถ า ยโอน งานด า นการรั บ รองฟาร ม ในการผลิ ต ขั้ น ปฐมตามหลั ก ปฏิ บั ติ ที่ ดี ด า นการผลิ ต สินคาเกษตร (Good Agriculture Practices; GAP) ใหกับภาคเอกชนที่สนใจ เพื่อเปนการสนับสนุน พ.ร.บ. มาตรฐานสินคาเกษตร พ.ศ. 2551 ซึ่งกำหนดให ตองมีหนวยงานตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน ผูบริหารของ บริษัท หองปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด จึงไดกำหนด นโยบายเพื่ อ เพิ่ ม บทบาทของบริ ษั ท ฯ มาเป น หน ว ยตรวจสอบและรั บ รอง ระบบคุ ณ ภาพและผลิ ต ผล (CB) โดยทำหน า ที่ ต รวจสอบและรั บ รองว า ระบบคุณภาพและผลิตผลเปนไปตามมาตรฐานที่กำหนด บริษัทฯ มีความพรอม ที่ จ ะเป น หน ว ยรั บ รองตามมาตรฐาน ISO/IEC Guide 65 ภายใต ก ารรั บ รอง ของสำนั ก งานมาตรฐานสิ น ค า เกษตรและอาหารแห ง ชาติ (มกอช.) รวมทั้ ง การขอเปนหนวยรับรองระบบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17021 สาขา GMP/HACCP ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได มุ ง เน น ให ก ารบริ ก ารทดสอบคุ ณ ภาพและความปลอดภั ย ทางดานอาหารดวยความถูกตอง แมนยำ และรวดเร็ว ภายใตมาตรฐานสากล ISO/IEC 17025 ให กั บ ผู ป ระกอบการและผู ส ง ออกผลิ ต ภั ณ ฑ โ ดยบุ ค ลากร และระบบการทำงานที่ เ ป น มื อ อาชี พ และเชื่ อ ถื อ ได อั น เป น ส ว นในการผลั ก ดั น ใหอาหารไทยไปสูตลาดโลกอยางมีคุณภาพและเปนที่ยอมรับ www.centrallabthai.com

เอสจีเอส ¡Õ∫„∫√—∫√Õß√–∫∫¡“μ√∞“π ISO 50001 „Àâ°—∫ ¬“¡“Œ—∑ ÷ (ª√–‡∑»‰∑¬) กรุงเทพฯ, เมื่อเร็วๆ นี้ คุณภาวิณี สิทธิกรกุล แผนกรั บ รองระบบงานและระบบบริ ก าร บริ ษั ท เอสจี เ อส (ประเทศไทย) จำกั ด ไ ด ท ำ พิ ธี ม อ บ ใ บ รั บ ร อ ง ร ะ บ บ มาตรฐาน ISO 50001 ให กั บ บริ ษั ท ยามาฮั ท สึ (ประเทศไทย) จำกั ด โดยมี มร. ทัมโม ซาสเซน ผูจัดการ เปนตัวแทนผูรับมอบในครั้งนี้ มาตรฐานระบบการจัดการดานพลังงาน ISO 50001 จะเปนการมุงเนนการใช พลังงานใหเกิดประสิทธิภาพอยางสูงสุดและคุมคาที่สุดตอการใชงานขององคกร ไม ว า จะเป น พลั ง งานน้ ำ พลั ง งานลม พลั ง งานทดแทนหรื อ แม ก ระทั่ ง พลั ง งาน หมุ น เวี ย นอื่ น ๆ โดยในป จ จุ บั น นานาประเทศได ใ ห ค วามสนใจเกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง การรับผิดชอบตอสังคมในดานของการรักษา ทรั พ ยากรและใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน สู ง สุ ด เพื่อที่จะนำไปสูการพัฒนาที่ยั่งยืน บริษัท เอสจีเอส (ประเทศไทย) จำกัด จึงขอแสดงความยินดี มา ณ โอกาสนี้ www.sgs.co.th

www.mt.com

ซาโต ออโต-ไอดี (ประเทศไทย) àß∑⓬ªï¥â«¬ß“π —¡¡π“ ç New Generation of Logistics and Supply Chain Managementé §√—Èß∑’Ë 4 กรุงเทพฯ, 8 พฤศจิกายน 2556 - บริษัท ซาโต ออโต - ไอดี (ประเทศไทย) จำกั ด จั ด งานสั ม มนา New Generation of Logistics and Supply Chain Management ครั้ ง ที่ 4 ภายใต หั ว ข อ “Episode 4: Lean Thinking” ขึ้น ณ หองจูปเตอร 4-5 อาคาร ชาเลนเจอร อิ ม แพ็ ค เมื อ งทองธานี เพื่ อ เป น เวที ก ลางในการเผยแพร ข อ มู ล ความรู แ ละแลกเปลี่ ย นประสบการณ ด า นระบบโลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชน โดยไดรับเกียรติจาก ดร. วิทยา สุหฤทดำรง อาจารยประจำวิทยาลัยนานาชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง บรรยายเรื่อง “Lean Logistics & Supply Chain: คิ ด แบบลี น ลดต น ทุ น เพิ่ ม ผลกำไร” และ ผูชวยศาสตราจารย ดร. วิชัย รุงเรืองอนันต บรรยายเรื่อง “Green Logistics Management towards AEC: การจัดการดานกรีนโลจิสติสเพื่อรองรับการเขาสู ประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น” ร ว มด ว ย คุ ณ ณั ฐ วุ ฒิ แซ ห ลิ่ ม ผู จั ด การฝ า ยขาย บริษัท ซาโต ออโต-ไอดี (ประเทศไทย) จำกัด บรรยายเรื่อง “QR Code & How to Choose Labels for your Business” ทั้งนี้ ได รั บ ความสนใจมี ผู เ ข า ร ว มสั ม มนาจาก กลุ ม อุ ต สาหกรรมอาหารและเครื่ อ งดื่ ม เปนจำนวนมาก www.satothailand.co.th Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p73-76_Pro3.indd 73

73

11/22/13 8:48:34 PM


สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล ®—∫¡◊Õ Õ“¬‘‚π–‚¡–‚μä– ‡ªî¥μ—«Àπ૬«‘®—¬·≈–°“√»÷°…“ ç«‘∑¬“»“ μ√åª√– “∑ —¡º— ‡æ◊ËÕ‚¿™π“°“√∑’Ë¥’é §√—Èß·√°„πª√–‡∑»‰∑¬ นครปฐม - สถาบั น โภชนาการ มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ลเป ด “หน ว ยวิ จั ย และการศึ ก ษาวิ ท ยาศาสตร ป ระสาทสั ม ผั ส เพื่ อ โภชนาการที่ ดี (Research and Education Unit on Sensory Science for Better Nutrition)” เป น ครั้ ง แรกของประเทศไทย ภายใต ก ารลงนามบั น ทึ ก ข อ ตกลงความร ว มมื อ (MOU) ร ว มกั บ อายิ โ นะโมะโต ะ โค อิ น ค ประเทศญี่ปุน และ บริษัท อายิโนะโมะโตะ (ประเทศไทย) จำกัด หนวยวิจัยและการศึกษาวิทยาศาสตรประสาทสัมผัสเพื่อโภชนาการ ที่ดี มีวัตถุประสงคมุงเนนการศึกษาและงานวิจัยดานรสชาติอาหารตอ ภาวะโภชนาการ รสชาติอาหารถือวามีผลโดยตรงตอการไดรับสารอาหาร ซึ่งมีผลตอภาวะโภชนาการและสุขภาพ อยางไรก็ตาม ในปจจุบันยังมี ปญหาดานโภชนาการอีกดานหนึ่ง คือ ยังมีกลุมผูที่มีปญหาสูญเสียการรับรู รสชาติ เชน ผูปวย และผูสูงอายุ สงผลใหเบื่ออาหารและกินอาหารไดนอยลง หรื อ ต อ งเติ ม เครื่ อ งปรุ ง รสมากเกิ น ไป ซึ่ ง ล ว นส ง ผลกระทบต อ ภาวะโภชนาการ โดยเฉพาะผูที่มีภาวะโภชนาการผิดปกติอยูแลว จะมีผลให ภาวะโภชนาการแย ล งและเกิ ด ผลกระทบในระยะยาวต อ สุ ข ภาพและ คุณภาพชีวิต ทั้งนี้ หลายการศึกษาพบวา การรักษาโรคสวนใหญจะมี ประสิทธิภาพที่ดีขึ้นหากผูปวยมีภาวะโภชนาการที่ดี ผูที่มีภาวะโภชนาการ ไมดีเมื่อเจ็บปวยมักจะมีอาการรุนแรงกวาผูที่มีภาวะโภชนาการดี การศึกษาวิจัยดานวิทยาศาสตรประสาทสัมผัสของคนเราในการรับ รสชาติอาหารที่มุงเนนการสงเสริมภาวะโภชนาการยังมีนอย การเขาใจถึง กลไกการรั บ รู ร สชาติ ข องมนุ ษ ย อ ย า งลึ ก ซึ้ ง จะช ว ยให นั ก วิ ช าการด า น อาหารและโภชนาการรวมกับบุคลากรทางการแพทยสามารถจัดเตรียม หรือคิดคนรูปแบบอาหารที่มีความเหมาะสมกับสภาวะรางกายของผูปวย และผู สู ง อายุ ไ ด โดยเฉพาะผู ที่ มี ป ญ หาการปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรม การบริโภค เชน การจัดเตรียมอาหารที่มีคุณคาโภชนาการเหมาะสม โดยที่มี ลักษณะและรสชาติที่ผูปวยและผูสูงอายุรูสึกยอมรับได และเกิดความรูสึก อยากอาหาร ซึ่งเปนสิ่งที่ทาทายสำหรับนักโภชนาการที่ตองการใหเกิด การดูแลรักษาผูปวยและผูสูงอายุในเชิงปองกันและลดการใชยา ทั้งนี้ ความรูในดานนี้จะมีความสำคัญมากขึ้น เนื่องจากปญหาจำนวนผูปวย โรคไมติดตอเรื้อรัง รวมถึงผูสูงอายุในประเทศไทยและประเทศในกลุม อาเซียนมีเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว รองศาสตราจารย ดร. วิสิฐ จะวะสิต ผูอำนวยการสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล กลาววา สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็น ความสำคัญในการศึกษาดังกลาว จึงไดรวมมือกับศูนยวิจัยเพื่อความเปน เลิศทางนวัตกรรม (Institute for Innovation) อายิโนะโมะโตะ โค อินค ประเทศญี่ปุน และ บริษัท อายิโนะโมะโตะ (ประเทศไทย) จำกัด ในการกอตั้ง หน ว ยวิ จั ย วิ ท ยาศาสตร ป ระสาทสั ม ผั ส ขึ้ น เป น ครั้ ง แรกในประเทศไทย โดยอายิโนะโมะโตะไดใหทุนสนับสนุนงบประมาณปละ 30,000 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 900,000 บาท) ติดตอกันเปนเวลา 3 ป รวม 90,000 เหรียญสหรัฐ (ประมาณ 2,700,000 บาท) และสนับสนุนการแลกเปลี่ยน 74

อาจารยและนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยในเครือขายทั้งในประเทศไทยและ ประเทศญี่ ปุ น ตลอดจนให ทุ น การศึ ก ษาสำหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ เ ข า ร ว มใน โครงการวิจัยรวม นอกจากนี้ยังจะไดรวมกันเปดวิชาวิทยาศาสตรประสาทสัมผัสเพื่อโภชนาการ ในหลักสูตรการเรียนการสอนของสถาบันโภชนาการ อีกดวย นับวาเปนครั้งแรกของประเทศไทยเชนกันที่มีการเรียนการสอน วิชานี้ มร. โทชิฮิสะ คาโตะ ผูจัดการทั่วไป ศูนยวิจัยเพื่อความเปนเลิศทาง นวัตกรรม อายิโนะโมะโตะ โค อินค ประเทศญี่ปุน กลาวเพิ่มเติมวา ศู น ย วิ จั ย ฯ เป น หน ว ยงานชั้ น นำที่ มี ก ารศึ ก ษาวิ จั ย ด า นวิ ท ยาศาสตร ประสาทสั ม ผั ส ในภู มิ ภ าคเอเชี ย เพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษาและการวิ จั ย หลายดาน นอกจากนั้นยังมีเครือขายกับสถาบันชั้นนำหลายแหงทั่วโลก เพื่อพัฒนาและตอยอดองคความรูดานประสาทสัมผัสเพื่อโภชนาการที่ดี โดยได เ ล็ ง เห็ น ว า ประเทศไทยเป น ประเทศที่ มี ศั ก ยภาพ ความร ว มมื อ ระหวางสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล และอายิโนะโมะโตะครั้งนี้ จะเปนประโยชนอยางยิ่งในการพัฒนาการศึกษาทางดานวิทยาศาสตรประสาทสั ม ผั ส ของประเทศไทยและภู มิ ภ าคอาเซี ย นให ก า วหน า เพื่ อ สงเสริมภาวะโภชนาการ และคุณภาพชีวิตที่ดีแกประชาชนตอไป

www.inmu.mahidol.ac.th www.ajinomoto.com/en/rd/organization/innovation.html

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p73-76_Pro3.indd 74

11/23/13 10:26:50 PM


FF#93_ad_Foodpack_Pro3.indd 25

11/15/13 9:42:20 PM


ยูบีเอ็ม √ÿ°μ≈“¥‡¡’¬π¡“√å ‡ªî¥μ—«ß“π· ¥ß ‘π§â“ ”À√—∫Õÿμ “À°√√¡ª»ÿ —μ«å·≈–Õ“À“√ กรุงเทพฯ - ยูบีเอ็ม เอเชีย หนึ่งในผูจัดงานแสดงสินคาชั้นนำของเอเชีย พรอมรุกตลาดเมียนมาร เปดตัว “Livestock Myanmar 2014 Expo” งานแสดงสินคาสำหรับวงการปศุสัตวเปนครั้งแรกในเมียนมาร คุณรุงเพชร ชิตานุวัตร ผูอำนวยการฝายจัดการธุรกิจ บริษัท ยูบีเอ็ม เอเชีย (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเปนบริษัท ในเครือของยูบีเอ็ม เอเชีย ไดเปดเผยถึงงาน Livestock Myanmar 2014 Expo วาไดรับการสนับสนุนจากสภาปศุสัตว ประเทศเมียนมาร (Myanmar Livestock Federation) โดยพรอมเปนเวทีกลางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และประสบการณของนักอุตสาหกรรมปศุสัตวมืออาชีพ อาทิ เกษตรกร สัตวบาล สัตวแพทย ตลอดจนซัพพลายเออรในดานตางๆ อยางครบวงจร ผูรวมแสดงสินคามาจากหลากหลายสาขา ไดแก ธุรกิจดานสุขภาพสัตว สารผสมอาหารสำหรับอาหารสัตว อุปกรณและเครื่องจักรในการผลิตอาหารสัตว อุปกรณในฟารม อุปกรณในโรงฟก อุปกรณในโรงเชือด โรงเรือนและอุปกรณ สารทำความสะอาดและสารฆาเชื้อ ตลอดจนอุปกรณสำหรับอุตสาหกรรมนม เปนตน อันจะเปนการสรางเครือขายทางธุรกิจระหวางบริษัทตางๆ ในเมียนมารและบริษัทจากตางประเทศไดเปนอยางดี ทั้งนี้ งาน Livestock Myanmar 2014 Expo จะจัดรวมกับงานแสดงสินคาเครื่องจักรสำหรับการแปรรูปและบรรจุภัณฑอาหาร “Food Processing and Packaging Myanmar” ในวันที่ 23-25 มกราคม 2557 ณ ศูนยแสดงสินคาทัตมาดอว (Tatmadaw Exhibition Hall) กรุงยางกุง www.livestockmyanmar.com

ประกาศรายชื่อผูโชคดีประจำฉบับเดือนตุลาคม 2556 The Winners of U. Share V. Care – October 2013 ผูโชคดี 7 ทาน ที่รวมเสนอความคิดเห็นในคอลัมน U Share. V Care. และไดรับของรางวัลแทนคำขอบคุณ มีรายชื่อดังนี้ Winners of Winners of “Rainy Party” 1. Duangchan Tueanwiradet Production Manager Namchow (Thailand) Co., Ltd. Ratchaburi

2. Tonakan Pronsena QC Senior Supervisor CPF (Thailand) Public Company Limited Bangkok

“Rainy Party”

By: Kewpei (Thailand) Co., Ltd.

Winners of “Free Style with Stylus Pen” 1. Arisara Kamjinda Purchasing Section Manager Ete Company Limited Bangkok

4. Natkrita Nuntajinda Admin Officer Siam Daily Food Co., Ltd. Samut Sakhon

7. Tadsanee Yodkaew HR Department Chiangrai Frozen Food Co., Ltd. Chiang Rai

2. Janya Pingsuksaen QC Manager Srisiam Food Products Co., Ltd. Samut Sakhon

5. Sirirat Saktawornlert QA Assistant Manager Hi-Q Food Products Co., Ltd. Chachengsao

8. Titiya Chumpol DC Officer GFPT Nichirei (Thailand) Co., Ltd. Chon Buri

6. Suwanna Chaowawanich 3. Jaruwan Sombatsathit R&D GM QA Manager Bangkok Produce Merchandising Co., Ltd. CPF (Thailand) Public Company Limited Saraburi Bangkok

“Free Style with Stylus Pen”

By: Polytype Asia Pacific Co., Ltd.

ของรางวัลจะจัดสงใหทานทางไปรษณีย ขอขอบคุณ Kewpei (Thailand) Co., Ltd. และ Polytype Asia Pacific Co., Ltd. สำหรับการเอื้อเฟอของรางวัล 76

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p73-76_Pro3.indd 76

11/23/13 8:43:45 PM


P R O D U CT P R O F I L E FF#93_ad Bev_Pro3.ai

FF#87_ad Globe_Pro3.ai

1

1

11/13/13

5:11 PM

6/24/13

11:27 PM

Food Focus Thailand

DECEMBER 2013

FF#93_p77_Pro3.indd 77

77

11/20/13 4:04:14 PM


December 2013

We would like to know what you would like to read

We are Better Because of U.... Please Fill in the Form in English / ¡ÃسÒṺ¹ÒÁºÑμà ËÃ×Í¡ÃÍ¡¢ŒÍ¤ÇÒÁμÑǺÃè§à»š¹¿“…“Õ—ß°ƒ… ª×èÍ-¹ÒÁÊ¡ØÅ/Name-Surname μÓá˹‹§/Position

Please attach your name card

ºÃÔÉÑ·/Company ·ÕèÍÂÙ‹ºÃÔÉÑ·/Company address â·ÃÈѾ· /Phone

â·ÃÊÒÃ/Fax

ÍÕàÁÅ /E-mail

àÇçºä«μ /Website

A

ttractive Food Focus ¤ÇÒÁ¾Ö§¾Íã¨μ‹Í¹ÔμÂÊÒà Very Impressive ¾Íã¨ÁÒ¡·ÕèÊØ´ Great ¾Íã¨ÁÒ¡ Cool ¾Í㨻ҹ¡ÅÒ§ Dislike äÁ‹¾Íã¨

A A

rticles at the First Sight º·¤ÇÒÁ·Õèª×蹪ͺÁÒ¡·ÕèÊØ´

rticles Suit Your Job Function º·¤ÇÒÁ·Õè໚¹»ÃÐ⪹ 㹡ÒùÓä» ãªŒ§Ò¹ÁÒ¡·ÕèÊØ´

S

ay Hi to Food Focus Thailand Team ¾Ù´¤Ø á¹Ð¹Ó μÔªÁ áÅÐÊͺ¶ÒÁ·ÕÁ§Ò¹¹ÔμÂÊÒÃÏ

P

Other Í×è¹æ

ick Your Interest ÍÐä÷Õè¤Ø³Ê¹ã¨ãËŒÁÕã¹¹ÔμÂÊÒà Ingredient/Raw material Packaging/Technology Trend/Marketing Production/Machine Logistics/Warehouse etc.,

Service info Code Please enter service info code of interesting articles, products and advertisements

That’s very kind of you... Share your comments and win a gift

2

“Power Bank... r” External Battery Charger”

Sponsored By: Ohaus Instruments (Thailand) Co., Ltd.

3

“Lock & Lock Water Bottle”

SSponsored By: Interroll (Thailand) Co., Ltd.

Please feedback to: E-mail: editor@foodfocusthailand.com, contact@foodfocusthailand.com

Website: www.foodfocusthailand.com

Fax: 0 2192 1315

Air mail: Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd. 3/211 Moo-Ban Setthasiri-Prachachuen, Prachachuen Road, Ta Sai, Muang Nonthaburi, Nonthaburi 11000 Thailand

FF#93_p78_Pro3.indd 78

11/22/13 12:58:49 AM


Subscription Form Please fill in the subscription form in

ENGLISH

and/or attach your business card.

ชื่อ / Name

นามสกุล / Surname

ตำแหนง / Position เลขที่ / Address ซอย / Soi เขต / District โทรศัพท / Phone อีเมล / E-mail

ชื่อบริษัท / Company Name ชั้น / Floor ถนน / Road จังหวัด / Province โทรสาร / Fax เว็บไซต / Website

1

year

หมู / Moo

1,140 THB

2

years

Payment Pay in “Be Media Focus (Thailand) Co., Ltd.”, Saving

วันเกิด / Birthday (D/M/Y) อาคาร / Tower แขวง / Sub-district รหัสไปรษณีย / Postal Code

2,280 THB √—∫ø√’! 2 ©∫—∫

get 2 issues for free of charge starting from

No. of Issue

Account No: 737-2-26700-8, KASIKORN BANK, Prachanivet Branch

T: 0 2192 1250-2 F: 0 2192 1315 Core Business (¡ÅØ‹Á¸ØáԨ) 101 Food and Beverage Manufacturer (¼ÙŒ¼ÅÔμÍÒËÒÃáÅÐà¤Ã×èͧ´×èÁ) 102 Food and Beverage Supplier (¼ÙŒ¼ÅÔμ / ¨Ñ´¨Ó˹‹Ò ÊÔ¹¤ŒÒáÅкÃÔ¡ÒÃμ‹Ò§æ ãˌᡋâç§Ò¹¼ÅÔμÍÒËÒÃáÅÐà¤Ã×èͧ´×èÁ) 103 Food and Beverage Importer & Exporter (¼ÙŒ¹Óà¢ŒÒ / Ê‹§ÍÍ¡ ¼ÅÔμÀѳ± ÍÒËÒÃáÅÐà¤Ã×èͧ´×èÁ)

Job Function (º·ºÒ·Ë¹ŒÒ·Õè) 201 202 203 204 205 206

Corporate Management (਌Ңͧ¡Ô¨¡ÒÃáÅмٌºÃÔËÒÃÃдѺÊÙ§) General Management (½†ÒºÃÔËÒèѴ¡Ò÷ÑèÇä») Production (½†Ò¼ÅÔμ) Quality Control & Quality Assurance (½†Ò¤Ǻ¤ØÁáÅлÃСѹ¤Ø³ÀÒ¾) Research & Development (½†ÒÂÇÔ¨ÑÂáÅоѲ¹Ò¼ÅÔμÀѳ± ) Engineering, Technician & Maintenance (½†ÒÂÇÔÈÇ¡ÃÃÁ à·¤¹Ô¤ áÅЫ‹ÍÁºÓÃا)

Core Business “101 and/or 103”, please specify industry sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 101 áÅÐ/ËÃ×Í 103 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ) 301 302 303 304 305 306 307 308 309 310 311 312 313 314 399

Fishery & Seafood (¼ÅÔμÀѳ± »ÃÐÁ§ ÊÑμÇ ¹éÓ áÅÐÍÒËÒ÷ÐàÅ) Meat & Poultry (à¹×éÍÊÑμÇ áÅÐÊÑμÇ »‚¡) Fruit & Vegetable (¼Ñ¡áÅмÅäÁŒ) Dairy & Dairy Products (¹ÁáÅмÅÔμÀѳ± ¨Ò¡¹Á) Non-alcoholic Beverage (à¤Ã×èͧ´×èÁäÁ‹¼ÊÁáÍÅ¡ÍÎÍÅ ) Alcoholic Beverage (à¤Ã×èͧ´×èÁ¼ÊÁáÍÅ¡ÍÎÍÅ ) Bakery, Confectionery & Snack (àºà¡ÍÃÕè ¢¹ÁËÇÒ¹ áÅТ¹Á¢ºà¤ÕéÂÇ) Fat & Oil (¹éÓÁѹáÅÐä¢Áѹ) Spice & Herb / Sauce, Seasoning & Condiment (à¤Ã×èͧà·ÈáÅÐÊÁعä¾Ã / à¤Ã×èͧ»ÃاÃÊ) Starch & Flour (ÊμÒà ªáÅÐệ§) Cereal & Grain / Legume & Nut (¸Ñ޾תáÅиÑÞªÒμÔ / ¶ÑèÇμ‹Ò§æ) Ready-to-Eat Products (ÍÒËÒþÌÍÁÃѺ»Ãзҹ) Health Food & Dietary Supplement (ÍÒËÒÃà¾×èÍÊØ¢ÀÒ¾áÅмÅÔμÀѳ± àÊÃÔÁÍÒËÒÃ) Catering & Food Service (¨Ñ´àμÃÕÂÁáÅÐãËŒºÃÔ¡ÒÃÍÒËÒÃ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)

Core Business “104”, please specify your sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 104 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·Ë¹‹Ç§ҹ) 501 502 503 599

Association (ÊÁÒ¤Á) Chamber of Commerce (ËÍ¡ÒäŒÒ) Embassy (ʶҹ·Ùμ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)

R1_FF#82_Leaflet_p1-2_Pro3.indd 1

104 Association, Chamber of Commerce, Embassy and Other Organization (ÊÁÒ¤Á ËÍ¡ÒäŒÒ ʶҹ·Ùμ áÅÐͧ¤ ¡Ãμ‹Ò§æ) 105 University, Institute and Library (ʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒáÅÐˌͧÊÁØ´) 199 Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)

207 208 209 210 299

Environmental Management (½†Ò¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ) Procurement & Purchasing (½†Ò¨Ѵ«×éÍ ¨Ñ´¨ŒÒ§) Sales & Marketing (½†Ò¢ÒÂáÅСÒÃμÅÒ´) Consultant (·Õè»ÃÖ¡ÉÒ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)

Core Business “102”, please specify industry sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 102 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ) 401 402 403 404 405 406 407 408 409 410 411 499

Raw Material (ÇÑμ¶Ø´Ôºã¹¡ÒüÅÔμ) Processing Machinery (à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã㹡Ãкǹ¡ÒüÅÔμáÅÐá»ÃÃÙ») Packaging Machinery (à¤Ã×èͧ¨Ñ¡Ã㹡Ãкǹ¡ÒúÃèØ) Laboratory Measurement and Device (à¤Ã×èͧμÃǨÊͺÇÔà¤ÃÒÐË ã¹ËŒÍ§»¯ÔºÑμÔ¡ÒÃ) Monitoring & Inspection Measurement and Device (à¤Ã×èͧμÃǨÊͺμÔ´μÒÁ¤Ø³ÀÒ¾ã¹ÊÒ¡ÒüÅÔμ) Sanitation Device and Service (ÊÔ¹¤ŒÒáÅÐÍØ»¡Ã³ ´ŒÒ¹Êآ͹ÒÁÑÂ) Certified Body & Standard Regulatory (˹‹ÇÂμÃǨÊͺÃѺÃͧÃкº¤Ø³ÀÒ¾ÁÒμðҹ) Software & Information Technology («Í¿μ áÇà áÅÐà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È) Automation System (ÃкºÍÍâμŒàÁªÑ¹) Logistics & Supply Chain Service (ÃкººÃÔËÒèѴ¡ÒëѾ¾ÅÒÂહ) Traceability Technology and Service (ÍØ»¡Ã³ áÅкÃÔ¡ÒÃÊÓËÃѺÃкº¡ÒÃμÃǨÊͺŒ͹¡ÅѺ) Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)

Core Business “105”, please specify your sector (ÊÓËÃѺ¡ÅØ‹Á¸ØáԨ 105 â»Ã´¡ÃÍ¡¢ŒÍÁÙÅàÅ×Í¡»ÃÐàÀ·Ë¹‹Ç§ҹ) 601 University and Institute (ʶҺѹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ) 602 Library (ˌͧÊÁØ´) 699 Other, please specify (Í×è¹æ â»Ã´ÃкØ)

12/20/12 4:56:52 PM


ใบอนุญาตเลขที่ ปน.(น)/3471 ถาฝากสงในประเทศไมตองผนึกตราไปรษณียากร

บริการธุรกิจตอบรับ

ฝายสมาชิกนิตยสาร บริษัท บี มีเดีย โฟกัส (ประเทศไทย) จำกัด 3/211 หมูบานเศรษฐสิริ-ประชาชื่น ถนนประชาชื่น ตำบลทาทราย อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

We are you media partner and serve you no matter what your marketing will be:

FF#82_Leaflet_p1-2_Pro3.indd 2

12/19/12 10:49:39 AM


Ħ íĆîüćöĀćøćß ìĊÛć÷čēÖ ēĀêč öĀćøćßć

éšü÷đÖúšćéšü÷ÖøąĀöŠĂö ×Ăđéßą ךćóøąóčìíđÝšć ìĊöÜćîîĉê÷ÿćø ôĎŜé ēôÖĆÿ ĕì÷ĒúîéŤ FF#93_p2_Pro3.indd 2 R1_FF#93_Cover_In_Pro3.indd 1

11/23/13 10:59:56 PM

FF#93_ad FHA_Pro3.indd 5

11/13/13 11:28:10 5:14:26 PM 11/23/13


FF#93_ad_Betagro_Pro3.ai

1

11/19/13

11:39 AM

December 2013

Sports

Nutrition

How to enhance hance athletic perform performance mance

The Rising

Asia

โอกาสของไทยสูการเปนครัวโลก

FF#93_Cover_Out_Pro3.indd 1

Toxic

Substance

ความเปนพิษของสารพิษ

Juice

Processing

คั้นคุณภาพความสด

11/21/13 3:39:48 PM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.