พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์
พระนารายณ์ราชนิเวศน์
ภายหลั ง การเสด็ จ สวรรคตของ
เมืองลพบุ ร ี จังหวัดลพบุร ี โดย
พระนารายณ์ร าชนิ เ วศน์ถ ู ก ทิ้ง
ตั้งอยู ่ ใ นเขตตำ�บลท่าหิน อำ�เภอ ชาวเมื อ งลพบุร ีเรียกกันติดปาก ว่า“วั ง นารายณ์”ปัจจุบันเป็นที ่ ตั้งของพิ พ ิ ธ ภัณฑสถานแห่งชาติ
สมเด็ จ พระนารายณ์ นิเวศน์ เป็ น พระราชวั ง ที่ส มเด็จพระนารายณ์ มหาราชโปรดให้ส ร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื ้ นที่ 41 ไร่ ณ เมือ ง ลพบุ ร ี เพื ่ อ ใช้เป็นที่ประทับล่าสั ตว์ ออกว่ า ราชการ และต้อนรับแขก เมือง พระองค์ทรงประทับ ณ พระราชวั ง แห่งนี้ประมาณ 8-9 เดือนในช่ วงปลายรัชกาลและเสด็ จ สวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อ วั น ที ่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2232
สมเด็ จ พระนารายณ์ม หาราช ร้ า ง จนถึ ง รั ช สมั ยของพระบาท สมเด็ จ พระจอมเกล้ า เจ้ า อยู่หัว พระองค์โ ปรดให้ บู ร ณะพระราชวัง ของสมเด็ จ พระนารายณ์ม หาราช และสร้ า งพระที ่ นั ่ ง ขึ ้ นใหม่ ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนาม ว่ า “พระนารายณ์ร าชนิ เ วศน์”
พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์
พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์
สถาปัตยกรรมและสิ่งก่อสร้าง พื้นที่ทั้งหมดภายในพระราชวังแบ่งออกเป็น 3 เขตคือหลังสิ้น รัชกาลพระราชวังแห่งนี้ก็ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่งพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ บูรณะซ่อมแซมพระราชวังแห่งนี้และโปรดให้สร้างพระที่นั่งขึ้น ใหม่ ปัจจุบัน พระนารายณ์ราชนิเวศน์ได้ใช้เป็นพิพิธภัณฑ์
พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์
อ่างเก็บน�้ำซับเหล็กหรือถังเก็บน�้ำประปา : เป็นระบบการจ่ายทดน�้ำผล งานของชาวฝรั่งเศส โดยการสร้างที่เก็บน�้ำในถัง ด้วยการก่อด้วยอิฐ ยกขอบเป็นก�ำแพงสูงหนาเป็นพิเศษ สร้างพื้นให้มีท่อดินเผาฝังอยู่เพื่อ จ่ายน�้ำไปใช้ตามตึกและพระที่นั่งต่าง ๆ โดยท่อดินเผา ซึ่งระบบการ จัดการน�้ำ ระบบการจ่ายน�้ำ และทดน�้ำ เป็นผลงานของชาวฝรั่งเศส และอิตาเลียน
อ่างเก็บน�้ำซับเหล็กหรือถังเก็บน�้ำประปา : เป็นระบบการจ่ายทดน�้ำ ผลงานของชาวฝรั่งเศส โดยการสร้างที่เก็บน�้ำในถัง ด้วยการก่อ ด้วยอิฐยกขอบเป็นก�ำแพงสูงหนาเป็นพิเศษ สร้างพื้นให้มีท่อดินเผา ฝังอยู่เพื่อจ่ายน�้ำไปใช้ตามตึกและพระที่นั่งต่าง ๆ โดยท่อดินเผา ซึ่ง ระบบการจัดการน�้ำ ระบบการจ่ายน�้ำ และทดน�้ำ เป็นผลงานของ ชาวฝรั่งเศสและอิตาเลียน