Eแมกจริงบน7

Page 1


KING

NARAI’S PALACE

พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี


KING

NARAI’S PALACE พระนารายณ์ราชนิเวศน์

จังหวัดลพบุรี


ค�ำน�ำ ถ้าหากผู้อ่านมีโอกาสได้มาเที่ยวจังหวัดลพบุรีแล้ว คุณอาจจะได้พบ กับสถานที่ท่องเที่ยวขึ้นชื่อมากมายอย่างเช่น ศาลพระกาฬ พระปรางค์ สามยอดหรือเขื่อนป่าสัก เป็นต้น แต่ทั้งนี้เมืองลพบุรีถือได้ว่าเป็นอีกเมือง ที่มีความส�ำคัญทางประวัติศาสตร์มากมายและพระนารายณ์ราชนิเวศน์ก็ เป็นอีกหนึ่งสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ ด้วยเนื้อที่กว่า 41 ไร่ มีโบราณ สถาน โบราณวัตถุ และยังมีสถาปัตยกรรมที่งดงาม หลากหลาย และหา ดูได้ยากในเมืองไทยผู้จัดท�ำจึงอยากถ่ายทอดเรื่องราวของพระนารายณ์ ราชนิเวศน์ผ่านอีแมกกาซีนเล่มนี้ให้แก่ผู้สนใจหรือใครก็ตามที่ก�ำลังมอง หาสถานที่ท่องเที่ยวในจังหวัดลพบุรีให้ได้เห็นถึงความยิ่งใหญ่ของพระ นารายณ์ราชนิเวศน์ ลพบุรี แห่งนี้


สารบัญ พระนารายณ์ราชนิเวศน์ .........................................................................................1 สถาปัตยกรรมและสิ่งก่อสร้าง .............................................................................3 อ่างเก็บน�้ำหรือถังเก็บน�้ำประปา ..............................................................5 ตึกสิบสองท้องพระคลังหรือพระคลังศุภรัตน์ ....................................7 ตึกพระเจ้าเหา.......................................................................................................9 ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศ.................................................................11 โรงช้างหลวง......................................................................................................13 พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท ...........................................15 พระที่นั่งจันทรพิศาล.....................................................................................17 พระที่นั่งพิมานมงกุฎ ..................................................................................19 พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ .................................................................................21 บุคคลส�ำคัญที่เกี่ยวข้อง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ..................................................................23 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว .............................................26 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ......................................29 งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ..................................................31 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ .........................................43 พระที่นั่งพิมานมงกุฎ.....................................................................................45 พระที่นั่งจันทรพิศาล.....................................................................................63 หมู่ตึกพระประเทียบ.......................................................................................67


KING NARAI’S PA

vvvvv v v

พระนารายณ์ราชนิเวศน์

ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลท่าหิน อ�ำเภอเมืองลพบุรี จังหวัดลพบุรี โดยชาวเมืองลพบุรีเรียกกัน ติดปากว่า "วังนารายณ์" ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่ง ชาติ พระนารายณ์ราชนิเวศน์ เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระ นารายณ์มหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และ


ALACE

ต้อนรับแขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ พระราชวังแห่งนี้ประมาณ 8-9 เดือน ในช่วงปลายรัชกาลและเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธาสวรรค์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2232 ภายหลังการ เสด็ จ สวรรคตของสมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราช พระนารายณ์ราชนิเวศน์ถูกทิ้ง ร้าง จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดให้ บู ร ณ ะ พ ร ะ ร า ช วั ง ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ นารายณ์มหาราช และสร้างพระที่นั่งขึ้น ใหม่ในปี พ.ศ. 2399 และพระราชทาน นามว่า "พระนารายณ์ราชนิเวศน์”



สถาปัตยกรรมและสิ่งก่อสร้าง พื้นที่ทั้งหมดภายในพระราชวังแบ่งออกเป็น 3 เขต คือ เขตพระ ราชฐานชั้นนอก เขตพระราชฐานชั้นกลาง และเขตพระราชฐาน ชั้นใน หลังสิ้นรัชกาลพระราชวังแห่งนี้ก็ถูกทิ้งร้างไป จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้บูรณะซ่อมแซมพระราชวังแห่งนี้และโปรดให้สร้างพระที่นั่งขึ้น ใหม่ ปัจจุบัน พระนารายณ์ราชนิเวศน์ได้ใช้เป็นพิพิธภัณฑ์


พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์

อ่างเก็บน�้ำหรือถังเก็บน�้ำประปา อ่างเก็บน�้ำหรือถังเก็บน�้ำประปา : เป็นระบบการจ่ายทดน�้ำ ผลงานของชาวฝรั่งเศส โดยการสร้างที่เก็บน�้ำในถัง ด้วยการ ก่อด้วยอิฐยกขอบเป็นก�ำแพงสูงหนาเป็นพิเศษ สร้างพื้นให้มี ท่อดินเผาฝังอยู่เพื่อจ่ายน�้ำไปใช้ตามตึกและพระที่นั่งต่าง ๆ โดยท่อดินเผา ซึ่งระบบการจัดการน�้ำ ระบบการจ่ายน�้ำ และ ทดน�้ำ เป็นผลงานของชาวฝรั่งเศสและอิตาเลียน 5

เขตพระร าช


ฐ า น ชั้ น น อ ก

6


7

เขตพระร าช


ตึกสิบสองท้องพระคลังหรือพระคลังศุภรัตน์ ตึกสิบสองท้องพระคลังหรือพระคลังศุภรัตน์ : สันนิษฐานว่าเป็นคลังส�ำหรับเก็บสินค้าและ สิ่งของ เป็นตึกที่ตั้งเรียงรายอยู่ระหว่างอ่าง เก็บน�้ำและตึกเลี้ยงรับรองแขกเมือง สร้าง ด้วยอิฐเป็น 2 แถวยาว มีคูน�้ำล้อมรอบตึก ภายในคูน�้ำมีน�้ำพุขึ้นมาอีกด้วย ใช้เป็นคลัง ส� ำ หรั บ เก็ บ สิ น ค้ า หรื อ เก็ บ สิ่ ง ของที่ ใ ช้ ใ น ราชการ

ฐ า น ชั้ น น อ ก

8


ตึกพระเจ้าเหา ตึกพระเจ้าเหา : ตั้งอยู่ทางด้าน ใต้ของเขตพระราชฐานชั้นนอก ตึ ก ห ลั ง นี้ แ ส ด ง ใ ห ้ เ ห็ น ถึ ง ลั ก ษณะสถาปั ต ยกรรมสมั ย 9

สมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้อย่าง ชัดเจนมาก ตัวตึกเป็นรูปทรง ไทย ฐานก่อด้วยศิลาแลง และ จึ ง ก ่ อ อิ ฐ ขึ้ น ม า อี ก ชั้ น ห นึ่ ง

เขตพระร าช


ปัจจุบันเหลือแต่ผนังประตูหน้าต่าง ท�ำเป็นซุ้มเรือนแก้วฐานสิงห์ ปัจจุบันคงปรากฏลายให้เห็นอยู่ ด้วยเหตุว่าภายในตึกมีฐานชุกชี ปรากฏให้เห็นอยู่และชาวฝรั่งเศสได้ระบุว่าเป็นวัด จึงสันนิษฐานว่า เป็นหอพระประจ�ำพระราชวัง ตึกพระเจ้าเหาหรือ “พระเจ้าหาว”

ฐ า น ชั้ น น อ ก

10


ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศ ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศ : ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้น นอก ใกล้กับหมู่ตึกสิบสองท้องพระคลังเป็นสถาปัตยกรรม แบบฝรั่งเศส บันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า ตึกหลังนี้อยู่ กลางอุทยาน ซึ่งแบ่งเป็นช่องสี่เหลี่ยมจัตุรัส รอบตึกมีคูน�้ำ ล้อมรอบ ภายในคูน�้ำมีน�้ำพุเรียงรายเป็นระยะอยู่ 20 แห่ง จากเค้ า โครงที่ เ ห็ น แสดงว่ า ในสมั ย ก่ อ นคงจะสวยงามมาก ทางด้านหน้าตึกเลี้ยงรับรองมีรากฐานเป็นอิฐแสดงให้เห็นว่า 11

เขตพระร าช


ตึกหลังเล็ก ๆ คงจะเป็นโรงมหรสพ ซึ่งมี การแสดงให้แขกเมืองชมภายหลังการเลี้ยง อาหาร สมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้ พระราชทานเลี้ยงแก่คณะทูตจากประเทศ ฝรั่งเศส ณ สถานที่นี้ใน พ.ศ. 2228 และ พ.ศ. 2230

ฐ า น ชั้ น น อ ก

12


13

เขตพระร าช


โรงช้างหลวง โรงช้างหลวง : ตั้งเรียงราย เป็นแถวชิดริมก�ำแพงเขตพระ ราชฐานชั้นนอกด้านในสุด โรง ช้างส่วนใหญ่ปรักหักพังเหลือ แต่ฐานปรากฏให้เห็นประมาณ 10 โรง ช้างซึ่งยืนโรง

ฐ า น ชั้ น น อ ก

พระราชวังเป็นช้างหลวงหรือ ช้างส�ำคัญ ส�ำหรับใช้เป็น พ า ห น ะ ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ นารายณ์มหาราชหรือขุนนาง ชั้นผู้ใหญ่

14


พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท พระที่นั่งดุสิตสวรรค์ธัญญมหาปราสาท : เป็นพระที่นั่งท้องพระ โรง ส�ำหรับเสด็จออกคณะราชทูตในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช มียอดแหลมทรงมณฑปศิลปกรรมแบบไทยผสมผสานกับ ฝรั่งเศส ตรงกลางท้องพระโรงมีสีหบัญชรที่เสด็จออกเพื่อมี ปฏิสันถารกับผู้เข้าเฝ้าฯ ท้องพระโรงบริเวณประตูและหน้าต่าง สร้างรูปโค้งแหลมแบบฝรั่งเศส ตัวมณฑปซึ่งอยู่ด้านหลังทั้งประตู 15

เขตพระร าชฐ


และหน้าต่างเป็นซุ้มแบบไทย คือ ซุ้มเรือนแก้วฐาน สิงห์ จุดเด่นอยู่ที่ตรงกลางท้อง พระโรง โดย มี สีหบัญชรเป็นสถานที่เสด็จ ออกเพื่ อ มา ปฏิสันถารกับผู้เข้าเฝ้าในท้องพระ โ ร ง ต อ น หน้า ด้านในท้องพระโรงประดับ ด ้ ว ย ก ร ะ จ ก เ ง า ซึ่ ง น� ำ เ ข ้ า จ า ก ประเทศ ฝ รั่ ง เ ศ ส เ พ ด า น เ ป ็ น ช ่ อ ง สี่ เ หลี่ ย ม ประดับลายดอกไม้ทองค�ำและ ผลึกแก้ว ผนั ง ด้ า นนอกเจาะเป็ น ช่ อ ง เ ล็ ก ส� ำ หรั บ ใส่ ต ะเกี ย งในตอน กลางคืน

ฐ า น ชั้ น ก ล า ง


พระที่นั่งจันทรพิศาล พระที่นั่งจันทรพิศาล : หอประชุมองคมนตรีในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช พระที่นั่งจันทรพิศาลใช้เป็นที่ประทับของ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ที่สร้างทับลงไปบนรากฐานเดิมของ พระที่นั่งของพระราเมศวร โอรสองค์ใหญ่ของพระเจ้าอู่ทอง ได้

17

เขตพระร าชฐ


ฐ า น ชั้ น ก ล า ง

ทรงสร้ า งเมื่ อ ครั้ ง ครองเมื อ งลพบุ รี พระที่นั่งองค์นี้ถือเป็นสถาปัตยกรรมแบบ ไทยแท้ ภายหลังเมื่อได้สร้างพระที่นั่งสุทธ าสวรรย์ขึ้น สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงย้ า ยไปประทั บ ที่ พ ระที่ นั่ ง องค์ ใ หญ่ และโปรดให้ใช้พระที่นั่งจันทรพิศาลเป็นที่ ออกขุนนาง

18


หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฎ หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฎ : สร้างขึ้นเพื่อเป็นที่ประทับของรัชกาลที่ 4 เมื่อครั้งเสด็จบูรณะเมืองลพบุรี ประกอบด้วยพระที่นั่ง 4 องค์ คือ พระที่นั่งพิมานมงกุฎ เป็นที่ประทับ, พระที่นั่งวิสุทธิวินิจฉัย เป็นท้องพระโรงเสด็จออกว่าราชการแผ่นดิน,พระที่นั่งไชยศาสตรา กร เป็นที่เก็บอาวุธ และพระที่นั่งอักษรศาสตราคม เป็นที่ทรงพระ 19

เขตพระร าชฐ


อักษร ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ทรงพระราชทานให้เป็นศาลา กลางจังหวัด และเมื่อศาลากลางจังหวัดย้ายไปอยู่ที่เมืองใหม่ พระที่นั่งหมู่นี้จึงรวมกับพระที่นั่งจันทรพิศาลเป็นพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ในปัจจุบัน

ฐ า น ชั้ น ก ล า ง

20


พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ : เป็นที่ประทับส่วนพระองค์ของสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นใน บันทึกของชาว ฝรั่งเศสกล่าวไว้ว่า “พระที่นั่งองค์นี้ตั้งอยู่ในพระราชอุทยานที่ ร่มรื่น ทรงปลูกพรรณไม้ต่าง ๆ ด้วยพระองค์เอง หลังคาพระที่นั่ง

21

เขตพระร าช


ช ฐ า น ชั้ น ใ น

มุงด้วยกระเบื้องเคลือบสีเหลือง ที่มุมทั้งสี่ มีสระน�้ำขนาดใหญ่ 4 สระ เป็นที่สรง สนานของพระเจ้าแผ่นดิน” สมเด็จพระ นารายณ์มหาราชทรงเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งองค์นี้ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231

22


บุ ค คลส� ำ คั ญ ในอดี ต

สมั ย อยุ ธ ยา สมเด็จพระนารายณ์มหาราช

สมเด็จพระนารายณ์มหาราช เป็น พระราชโอรสในสมเด็ จ พระเจ้ า ปราสาท ทอง พระมหากษัตริย์ผู้ครองกรุงศรีอยุธยา ระหว่าง พ.ศ.2123 - 2198 ส่วนพระราช มารดานั้น เป็นพระราชธิดาในสมเด็จ พระเจ้าทรงธรรม ทรงพระราชสมภพวัน จันทร์ เดือนยี่ ปีวอก พ.ศ.2175 ท�ำพระ ราชพิธี เบญจเพศในเดือนยี่ พ.ศ. 2199 และเหตุที่มีพระนามว่า “ นารายณ ์” นั้น มีอ้างไว้ในพระราชพงศาวดารว่า เมื่อพระ ราชเทวีประสูตินั้น พระญาติวงศ์เหลือบ เห็นเป็นสี่กร สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง พระราชบิดาจึงพระราชทานนามว่า “ พระ นารายณ์ราชกุมาร “ แต่ในหนังสือ “ ค�ำ

23

ให้การชาวกรุงเก่า “ และ “ ค�ำให้การของ ขุนหลวงหาวัด “ ว่า เมื่อเพลิงไหม้พระที่ นั่งมังคลาภิเษก สมเด็จพระนารายณ์ ยังเป็นพระราชกุมารอยู่เสด็จขึ้นไปดับเพลิง บรรดาคนทั้งปวงเห็นเป็นสี่กร ครั้นขึ้น เสวยราชสมบัติข้าราชการทั้งปวงจึงถวาย พระนามว่า พระนารายณ์ สมเด็จพระ นารายณ์ มี พ ระอนุ ช าร่ ว มพระชนกหลาย องค์ แต่ต่างพระชนนีกัน คือ เจ้าฟ้าศรี สุวรรณ ซึ่งเรียกกันว่า พระราชกัลยา เมื่อ ทรงพระเยาว์สมเด็จพระนารายณ์ได้รับการ ศึกษาจากพระโหราธิบดี และทรงใฝ่พระทัย ศึกษาจาก พระอาจารย์พรหม พระพิมล ธรรม และจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์


เมื่อขึ้นเสวยราชย์ พ.ศ.2199 พระนาม เทิดทูนว่าทรงเป็นนักการค้าและนักการทูต ว่า “ สมเด็จพระรามาธิบดี ที่ 3 “ เป็น ที่ ยิ่งใหญ่ นอกจากนั้นยังทรงพระปรีชา พระมหากษัตริย์ล�ำดับที่ 27 แห่งกรุง ในด้านวรรณกรรมเป็นอย่างยิ่ง โดยทรง ศรีอยุธยา เมื่อวันพฤหัสบดี แรม 2 ค�่ำ พระราชนิพนธ์วรรณคดีไว้หลายเรื่อง เช่น เดือน 12 จุลศักราช 1018 ปีวอก ตรง โคลงทศรถสอนพระราม พาลีสอนน้อง กับวันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2199 พระ ราชสวัสดิ์ สมุทรโฆษค�ำฉันท์(ตอนกลาง) ชนมายุ 25 พรรษา ประทับเสวยราชย์ ณ ค�ำฉันท์กล่อมช้าง(ของเก่า) และพระราช กรุงศรีอยุธยา 10 ปี จึงโปรดให้สร้างเมือง นิพนธ์โคลงโต้ตอบกับศรีปราชญ์ และกวี มี ลพบุรีขึ้นเป็นราชธานีแห่งที่สอง ในปี พ.ศ. ชื่ออื่นๆ ทั้งยังทรงสนับสนุน งานกวีนิพนธ์ 2209 พระองค์เสด็จประทับที่ลพบุรีปีหนึ่ง ให้เฟื่องฟู เช่น สมุทรโฆษค�ำฉันท์ของพระ ๆ เป็นเวลาถึง 8-9 เดือน พระองค์สวรรคต มหาราชครู โคลงเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. พระนารายณ์มหาราช ของหลวงศรีมโหสถ 2231 รวมด�ำรงราชสมบัตินาน 32 ปี สิริ จิ น ดามณี ข องพระโหราธิ บ ดี ซึ่ ง นั บ เป็ น ต รวมพระชนมายุ 56 พรรษา มี พระราช ต�ำราเรียนหนังสือไทยเล่มแรก และ อนิ ธิดาพระองค์เดียวคือ กรมหลวงโยธาเทพ รุทธค�ำฉันท์ ของศรีปราชญ์ กวีเอกแห่ง สมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระ ราชส�ำนัก เป็นต้น จนยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคทอง มหากษัตริย์ล�ำดับที่ 27 ของกรุงศรีอยุธยา ของวรรณคดีไทย ครองราชย์ระหว่าง พ.ศ. 2199 - พ.ศ. การที่พระองค์โปรดให้สร้างเมือง 2231 พระองค์เป็น พระมหากษัตริย์ที่ ลพบุรีเป็นราชธานีที่สอง และโปรดประทับ ทรงพระปรีชาสามารถยิ่งจนได้รับการเทิด ที่เมืองลพบุรีปีละ 8 - 9 เดือนนั้นเป็นการ พระเกียรติเป็น “ มหาราช “ และทรงน�ำ น�ำความเจริญ รุ่งเรืองมาสู่เมืองลพบุรี ความเจริญรุ่งเรืองมาสู่กรุงศรีอยุธยา เป็น เพราะมี ก ารน� ำ เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ เ ข้ า สู ่ อย่ างมากทรงมีพระบรมเดชานุภาพที่ยิ่ง เมืองลพบุรี อาทิ ระบบประปา หอดูดาว ใหญ่ ท�ำสงครามกับอาณาจักรต่างๆ ใกล้ เคี ย งได้ รั บ ชั ย ชนะหลายครั้ ง มี ก ารเจริ ญ สัมพันธไมตรี กับประเทศต่างๆ อย่างกว้าง ขวาง เช่น จีน ญี่ปุ่น ฮอลันดา อังกฤษ อิหร่าน ที่ส�ำคัญที่สุดคือได้ส่งทูตไปเจริญ สัมพันธไมตรีกับราชส�ำนัก พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศสถึง 4 ครั้ง จนได้รับการ

24


พระองค์ พระบรมราชา- นุสาวรีย์นี้เป็น พระรูปปั้นประทับยืนบนแท่นฐานสี่เหลี่ยม

สร้างก�ำแพงเมือง ประตูเมือง และป้อมปืน เมืองลพบุรี จึงคึกคักมีชีวิตชีวา ตลอด รัชกาลของพระองค์ มีการคล้องช้าง มีชาว ต่างชาติ คณะทูตเข้ามาเจริญสัมพันธไมตรี มีบาทหลวงเข้ามาส่องกล้องดูดาว ดู สุริยุปราคา จันทรุปราคา เมื่อพระองค์ สวรรคต เมืองลพบุรีก็ถูกทิ้งร้างอยู่ระยะ หนึ่ง แต่ยังมีอนุสรณ์สถาน ของสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช ณ เมืองลพบุรี เป็น

หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ทรงเครื่องฉลอง พระองค์ เต็มยศ สวมพระพิชัยมงกุฎ พระหัตถ์ขวาทรงพระแสงดาบ มรดกตกทอด ให้ชาวเมืองลพบุรี ได้ภาค ภูมิใจ ซึ่งเป็นพระราชานุสาวรีย์ที่เริ่มสร้าง เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2502 สมัย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี แต่ด�ำเนินการเสร็จเรียบร้อยในปี พ.ศ. 2509 สมัยพลเอกถนอม กิตติขจร(ยศ ขณะนั้น) เป็นนายกรัฐมนตรี และท�ำพิธี เปิดเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2509 ซึ่ ง เป็ น วั น คล้ า ยวั น พระราชสมภพของ

25


บุ ค คลส� ำ คั ญ ในอดี ต

สมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ หั ว เป็ น พระราชโอรสในพระบาทสมเด็ จ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย และสมเด็จพระ ศรีสุริเยนทรามาตย์ พระบรมราชชนี เสด็จ พระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๓๔๗ มีพระนามเดิมว่า สมเด็จเจ้าฟ้า มงกุฎ พระองค์ทรงศึกษาวิชาการด้าน ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์แก่การปกครอง มากมายได้แก่ ต�ำราพิชัยสงคราม การฝึก อาวุธ วิชาคหกรรม โหราศาสตร์ และทรง โปรดวิชาภาษาต่างประเทศ เป็นพิเศษ เนื่องจากเห็นว่ามีความจ�ำเป็นในอนาคต สมเด็จเจ้าฟ้ามงกุฎยังทรงสนพระทัย

ในด้านพระพุทธศาสนาอยู่เสมอ โดยเมื่อ พระชนมายุ ค รบผนวชพระองค์ ไ ด้ ท รง ผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ พ.ศ.๒๓๖๗ ทรงได้รับพระฉายาว่า “วชิร ญาณภิกขุ” ประทับอยู่ ณ วัดมหาธาตุ ๓ วัน แล้วจึงเสด็จไปจ�ำพรรษาที่วัดสมอราย (วัดราชาธิราช) หลังจากทรงผนวชได้เพียง ๒ สัปดาห์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย พระบรมชนกนาถก็เสด็จ สวรรคต แต่มิได้ตรัสมอบพระราชสมบัติให้ กับผู้ใด พระบรมวงศานุวงศ์จึงประชุมลง มติ ใ นที่ ป ระชุ ม ว่ า ควรอั ญ เชิ ญ พระเจ้ า ลูกเธอกรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ขึ้นเถลิง

26


เมื่ อ สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราชเสด็ จ สวรรคต เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2231 เมืองลพบุรีจึงถูกทิ้งร้างลง และได้

ถวัลย์ราชสมบัติสืบแทน สมเด็จฟ้ามงกุฎจึง มิได้ทรงลาผนวช และทรงผนวชอยู่ตลอด รัชสมัยของรัชกาลที่ ๓ ท�ำให้ทรงมีเวลา มากมายในการศึกษาหาความรู้ในวิชาการ แขนงต่างๆ จนแตกฉาน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมี ความส�ำคัญอย่างไรกับพระนารายณ์ราช นิเวศน์ เมื่อครั้นอาณาจักรกรุงศรีอยุธยา ได้รับการสถาปนาขึ้นมาในปี พ.ศ.1893 เมื อ งลพบุ รี ถู ก ลดฐานะลงเป็ น เพี ย งเมื อ ง ลูกหลวง จนในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ทรงโปรดให้วิศวกรชาวฝรั่งเศส และอิตาลีร่วมกันออกแบบสร้างพระราชวัง เมืองลพบุรี ก�ำแพงเมือง และป้อมปราการ ต่าง ๆ ขึ้นในปี พ.ศ.2209 เพื่อใช้เป็นที่ ประทับว่าราชการงานเมือง ต้อนรับแขก เมือง พักผ่อน และล่าสัตว์ เสมือนเป็น ราชธานีแห่งที่สอง รองจากกรุงศรีอยุธยา

27

รับการบูรณะอีกครั้ง ในรัชสมัยพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ ทรงโปรดให้สร้างหมู่ พระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ใหม่เพิ่มขึ้น ในปีพ.ศ. 2399 เพื่อให้เป็นราชธานีชั้นใน และพระราชธานีชั้นใน และพระราชทาน ชื่อว่า “พระนารายณ์ราชนิเวศน์”ซึ่ง ประกอบด้วยกลุ่มอาคารสิ่งก่อสร้างภายใน พระราชวังดังนี้ 1. หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฎ เป็นที่ประทับ ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลั ก ษณะเป็ น อาคารทรงตึ ก แบบตะวั น ตก ด้านหน้าสูง 2 ชั้น ด้านหลังสูง 3 ชั้น หลังคามุงกระเบื้องกาบูแบบจีน ชั้นล่าง


เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและศิลปะโบราณ วัตถุสมัยต่าง ๆ

เป็นใต้ถุน มีประตูเป็นรูปโค้งครึ่งวงกลม ชั้นที่ 2 ประกอบด้วยพระที่นั่งไชยศาสตรา กร พระที่นั่งอักษรศาสตราคม พระที่นั่งวิ สุทธิวินิจฉัย ห้องเสวยพระกระยาหาร และ ชั้นที่ 3 เป็นห้องพระบรรทม ตรงจั่ว ประดับด้วยลวดลายปูนปั้น ตราลัญจกร แผ่นดิน รูปพระมหาพิชัยมงกุฎและรูป พระแท่ น ราชบั ล ลั ง ก์ ภ ายใต้ น พปฎลมหา เศวตฉัตร ปัจจุบันจัดแสดงห้อง

2. ทิมดาบ เป็นที่พักของทหารรักษาการณ์ พระราชวัง ตั้งอยู่ตรงมุมก�ำแพงด้านทิศ เหนือและทิศใต้ ลักษณะเป็นอาคารทรงตึก แบบตะวันตก ประตูเป็นรูปโค้งครึ่งวงกลม

3.หมู่ตึกพระประเทียบ มีทั้งหมด 10 หลัง เป็นที่ประทับของพระมเหสี พระชายา และ ช้าราชบริพารฝ่ายในของพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ลักษณะเป็นอาคาร ทรงตึกสูง 2 ชั้น ชั้นเดียวและศาลาเชิญ เครื่องเสวย 1 หลัง ชั้นล่างประตูเป็นรูป โค้งครึ่งวงกลม ปัจจุบันใช้จัดแสดง พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านและนิทรรศการชั่วคราว

28


บุ ค คลส� ำ คั ญ ในอดี ต

สมั ย รั ต นโกสิ น ทร์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ทรงเป็นพระราชโอรสในพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศิรินทราบรมราชินี พระราชสมภพ เมื่อวันที่ ๒๐ กันยายน พ.ศ. ๒๓๙๖ มีพระนามเดิมว่า เจ้าฟ้าจุฬาลงกรณ์ ก่อนขึ้นครองราชย์ทรงด�ำรงพระยศเป็น กรมขุน พินิตประชานาถ พระองค์ได้ทรงสร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ประเทศนานัปการ ทรง บริหารประเทศก้าวหน้าทัดเทียมนานาอารยประเทศ ทรงประกาศเลิกทาส ปรับปรุง ระบบการศาล ตั้งกระทรวงยุติธรรมปรับปรุงกฎหมายต่าง ๆ ส่งเสริมการศึกษาอย่าง กว้างขวางในหมู่ประชาชนทั่วไป ตั้งกระทรวงธรรมการ ตั้งโรงเรียนฝึกหัดครู ส่งนักเรียน ไทยไปศึกษาในยุโรป สร้างการรถไฟ โดยทรงเปิดเส้นทางเดินรถไฟสายกรุงเทพ ฯ ถึง นครราชสีมา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2421 สร้างโรงไฟฟ้าจัดให้มีการเดินรถรางขึ้น ในกรุงเทพ ฯ จัดตั้งการ ไปรษณีย์โทรเลข เมื่อ พ.ศ. 2421 สร้างระบบการประปา ฯลฯ

29


พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีความส�ำคัญอย่างไรกับพระนารายณ์ราชนิเวศน์ หลังจากได้รับการบูรณะ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และ ทรงโปรดให้สร้างหมู่พระที่นั่งและสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ใหม่เพิ่มขึ้นในปีพ.ศ. 2399 เพื่อให้ เป็นราชธานีชั้นใน และพระราชทานชื่อว่า พระนารายณ์ราชนิเวศน์แล้ว ต่อมา ในรัช สมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้พระราชทานหมู่พระที่นั่ง พิมานมงกุฎ เป็นศาลากลางจังหวัดลพบุรี ภายหลังได้จัดตั้งเป็นลพบุรีพิพิธภัณฑ์สถาน เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2467 และประกาศเป็น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระ นารายณ์ ในปี พ.ศ.2504

30


King Narai Reign

งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์มห


Fair

หาราช


งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ แต่เดิมชาวลพบุรีเรียกงานประเพณี นี้ว่า “งานในวัง” ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๑ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อจัดหา รายได้น�ำไปก่อสร้างอนุสาวรีย์สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ในสมัย จอมพล ป.พิบูลสงคราม ซึ่งมีด�ำริให้สร้างอนุสาวรีย์ในราวปี พ.ศ.๒๕๐๐ ต่อมาจึงได้มีการวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๕ และ ด� ำ เนิ น การก่ อ สร้ า งจนเสร็ จ เรี ย บร้ อ ยสมบู ร ณ์ โ ดยพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงประกอบพิธี เปิดในวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๐๙ งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช เกิดขึ้นจากแนวคิดของชมรมอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่ง แวดล้อม จังหวัดลพบุรี กับนายเชาวน์วัศ สุดลาภา ผู้ว่าราชการจังหวัด ลพบุรีในขณะนั้น ที่จะพัฒนาเมืองลพบุรีให้เป็นเมืองท่องเที่ยว เพื่อเทิด พระเกียรติสมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่ทรงสร้าง เมืองลพบุรีให้เจริญ รุ่งเรือง

33

ง า น แ ผ ่ น ดิ น ส ม เ ด็ จ พ


การจัดงานครั้งแรก ตั้งชื่องานว่า “นารายณ์ร�ำลึก” ต่อมาเปลี่ยนเป็น ชื่อ “งานแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์” และจัดงานครั้งแรก เมื่อวันที่ ๑๗๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๒ ซึ่งเดิมแล้วมีก�ำหนดจัดงานในวันที่ ๒๑-๒๒ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๒๑ แต่เกิดวิกฤตการณ์น�้ำท่วมใหญ่ในจังหวัดลพบุรี จึง ต้องเลื่อนมาเป็นวันที่ ๑๗-๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๒๒ แทน

ระนารายณ์มหาราช

34


35

ง า น แ ผ ่ น ดิ น ส ม เ ด็ จ พ


จุดมุ่งหมายในการจัดงาน เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระ นารายณ์มหาราช พระมหากษัตริย์ ผู้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณ ต่อแผ่นดินลพบุรีและประเทศชาติ อีกทั้ง ยังเป็นการส่งเสริมให้ ประชาชน สนใจในประเพณีและวัฒนธรรม อันเก่าแก่ของชาติ ไทยและยังส่งเสริมการท่องเที่ยวอีกด้วย

ระนารายณ์มหาราช

36


งานจะจัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกๆ ปี เพราะ ถือว่าเดือนกุมภาพันธ์ เป็นเดือนทรง "พระราชสมภพของ สมเด็จพระนารายณ์" รูปแบบการจัดงาน ได้เชิญชวนให้ ประชาชนผู้ร่วมงาน แต่งกายย้อนยุค ในสมัยสมเด็จ พระนารายณ์

37

ง า น แ ผ ่ น ดิ น ส ม เ ด็ จ พ


ระนารายณ์มหาราช

38


39

ง า น แ ผ ่ น ดิ น ส ม เ ด็ จ พ


มี ก ารจั ด ขบวนแห่ ร อบตั ว เมื อ งลพบุ รี ร� ำ ลึ ก เหตุ ก ารณ์ ประวัติศาสตร์ สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ซึ่งเรียกความสนใจและ ความประทับใจ ต่อผู้มาชมงานเป็นอย่างมาก

ระนารายณ์มหาราช

40


ภายในงานยังมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งกลางวันกลาง คืน เช่น มีการออกร้านขายของบริเวณเขตพระราชฐานชั้นนอก

41

ง า น แ ผ ่ น ดิ น ส ม เ ด็ จ พ


มีมหรสพ เฉลิมฉลองในงาน การแสดงแสง เสียง เกี่ยว กับแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ งานราตรีวังนารายณ์ มีการ ประดับประทีป โคมไฟ ตามช่องส�ำหรับวางประทีปรอบ ก�ำแพงด้านในพระราชวังได้สร้างความประทับใจให้กับผู้มา ร่วมงานเป็นจ�ำนวนมาก

ระนารายณ์มหาราช

42


พิพิธภัณฑสถานแห พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ เริ่มจัดตั้งขึ้นที่ พระที่นั่งจันทรพิศาล เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ.2467 ในอดีตชื่อ เรียกว่า “ลพบุรีพิพิธภัณฑสถาน” ผู้ที่มีส่วนส�ำคัญในการก่อตั้ง พิพิธภัณฑ์คือสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาด�ำรง ราชา นุภาพ สมเด็จกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ และศาสตราจารย์ ยอร์ช เซเดส์ นักปราชญ์ชาวฝรั่งเศสผู้มีชื่อเสียงในความรู้เกี่ยวกับ


ห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ปัจจุบันหมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฎ และหมู่ ตึ ก พ ร ะ ป ร ะ เ ที ย บ บ า ง ห ลั ง ใ ช ้ เ ป ็ น อ า ค า ร จั ด แ ส ด ง ข อ ง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสมเด็จพระนารายณ์ได้จัดแสดงศิลปะ โบราณวั ต ถุ แ ละนิ ท รรศการตามอาคารต่ า งๆในบริ เ วณพระ นารายณ์ราชนิเวศน์ ดังนี้


หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฏ สร้างขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นอาคารหลักของการจัดแสดง (อาคารสูง 3 ชั้น)

45

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ชั้น1 จัดแสดงนิทรรศการถาวร 2 เรื่อง 1.เรื่องศิลปโบราณวัตถุสมัยก่อนประวัติศาสตร์ภาค กลางของประเทศไทย โบราณวัตถุที่แสดงส่วนใหญ่ได้จากการ ขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้านท่าแค อ.เมือง จ.ลพบุรี เมื่อพ.ศ. 2523 และ2526 มีภาชนะดินเผา พร้อมด้วยโครงกระดูก มนุษย์จ�ำนวน 3 โครง ฯลฯ

ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

46


47

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

48


2.เรื่องอารยธรรมลุ่มแม่น�้ำเจ้าพระยา พ.ศ.700-1400 เป็นการจัดแสดงประวัติศาสตร์สังคมยุคกึ่งก่อนประวัติศาสตร์ ใช้ชื่อสมมติว่า "สมัยทวารวดี" น�ำเสนอเรื่องการตั้งถิ่นฐาน มี ภาพถ่ายทางอากาศ และแสดงรูปของการสร้างเมือง แสดง

49

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


โบราณวั ต ถุ ที่ ท� ำ จากต่ า งประเทศแต่ พ บในประเทศไทยเรื่ อ ง เทคโนโลยีและการด�ำเนินชีวิต เรื่องเครื่องประดับร่างกาย ฯลฯ

ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

50


51

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

52


หมู่พระที่นั่งพิมานมงกุฏ ชั้น2 จัดแสดงเรื่องสมัยอิทธิพล เขมร อายุราว พ.ศ.1500-1800 แสดงสถาปัตยกรรมท�ำด้วย หิ น ทรายแบบเขมรเช่ น ทั บ หลั ง สลั ก ภาพพระอิ น ทร์ ท รงช้ า ง เอราวัณ ศิลาจารึกอักษรและภาษาเขมรที่พบที่เมืองลพบุรี ใน ส่ ว นที่ เ คยเป็ น ท้ อ งพระโรงเล็ ก จั ด แสดงรู ป สลั ก หิ น ทรายที่ มี ขนาดใหญ่โดยมากเป็นพระพุทธรูปนาคปรกปางสมาธิขนาด ใหญ่ที่แสดงความเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นอย่างชัดเจน จึงเรียก ว่า ศิลปะแบบลพบุรี ฯลฯ

53

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

54


55

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

56


57

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ชั้ น 3จั ด แสดงเป็ น ห้ อ งที่ ร ะลึ ก เฉลิ ม พระเกี ย รติ พ ระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในฐานะที่พระองค์ทรงโปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่งองค์นี้และเคยประทับอยู่

ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

58


ทางพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ จึ ง ได้ จั ด แสดงพระราชประวั ติ แ ละ พระราชกรณี ย กิ จ ของพระองค์ ร วมทั้ ง สิ่ ง ของเครื่ อ งใช้ มี พระบรมฉายาลั ก ษณ์ ฉ ลองพระองค์ พ ระแท่ น บรรทม ตราประจ�ำพระองค์ฯล

59

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

60


61

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

62


พระที่นั่งจันทรพิศาล พระที่นั่งจันทรพิศาลภายในพระที่นั่งแบ่งเป็นท้องพระโรงหน้า และท้องพระโรงใน ในส่วนของท้องพระโรงหน้าได้จัดแสดง เรื่องราวสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีรูปวาดสีน�้ำมันใน เหตุการณ์เมื่อครั้งมีการเข้าถวายพระราชสาส์นของพระเจ้า หลุยส์ที่14 แห่งประเทศฝรั่งเศส ต่อสมเด็จพระนารายณ์ 63

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


มหาราช ณ ท้องพระโรงที่พระบรมราชวัง (อ.จ�ำรัส เกียรติก้อง วาดภาพจากต้นฉบับพ.ศ.2509)และภาพประวัติศาสตร์ที่ส�ำคัญ เช่นภาพออกพระวิสุทธิสุนทร(โกษาปาน) ภาพแผนที่แสดงเส้น ทางการเดิ น ทางไปและกลั บ จากฝรั่ ง เศสสู ่ ส ยามของราชฑู ต ภาพแผนที่กรุงศรีอยุธยา ภาพแห่เรือ

ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

64


65

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


นอกจากนี้ ยั ง มี โ บราณวั ต ถุ ที่ มี อ ายุ ใ นรั ช สมั ย สมเด็ จ พระ นารายณ์ ม หาราชและโบราณวั ต ถุ ส ่ ว นหนึ่ ง ที่ ขุ ด พบในบ้ า น เจ้าพระยาวิชาเยนทร์ส�ำหรับในส่วนท้องพระโรงด้านในจะพบตู้ พระธรรม ธรรมาสน์ที่มีอายุสมัยอยุธยาและรัตนโกสินทร์

ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

66


หมู่ตึกพระประเทียบ หมู่ตึกพระประเทียบ : (อาคารจัดแสดงของใช้พื้นบ้าน) เป็น บริ เ วณเขตพระราชฐานชั้ น ในรั ช สมั ย พระบาทสมเด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว บางตึกได้รับการปรังปรุงเป็นห้องจัด แสดงถาวรคือ อาคารที่เคยเป็นห้องเครื่อง ปัจจุบันแสดงเป็น ศิลปวัตถุพื้นบ้านของท้องถิ่นนี้ เป็นกระท่อมชาวนา เครื่องมือ 67

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห ่ ง


การเกษตร เครื่องมือจับปลา พร้อมทั้งยังได้ชมเทคโนโลยีใน ระดับ “ภูมิปัญญาชาวบ้าน” เช่นการตีเหล็ก การปั้นหม้อ การ ทอผ้าโดยใช้กี่แบบพื้นเมือง

ง ช า ติ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ ์

68


King Narai's Palace พระนารายณ์ราชนิเวศน์


King Narai's Palace พระนารายณ์ราชนิเวศน์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.