Eแมกจริงบน

Page 1


KING

NARAI’S PALACE พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี


KING

NARAI’S PALACE

พระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี


KING

NARAI’S PALACE พระนารายณ์ราชนิเวศน์

จังหวัดลพบุรี


KING

NARAI’S PALACE พระนารายณ์ราชนิเวศน์

จังหวัดลพบุรี


KING NARAI’S PA พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ตั้งอยู่ในเขตต�ำบลท่าหิน อ�ำเภอเมืองลพบุรี

จังหวัดลพบุรี โดยชาวเมืองลพบุรีเรียกกันติดปากว่า "วังนารายณ์" ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สมเด็จพระนารายณ์ นิเวศน์ เป็นพระราชวังที่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2209 บนพื้นที่ 41 ไร่ ณ เมืองลพบุรี เพื่อใช้เป็นที่ประทับล่าสัตว์ ออกว่าราชการ และต้อนรับแขกเมือง พระองค์ทรงประทับ ณ พระราชวัง


ALACE

แห่งนี้ประมาณ 8-9 เดือนในช่วงปลายรัชกาล และเสด็จสวรรคต ณ พระที่นั่งสุทธา สวรรค์ เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2232 ภายหลั ง การเสด็ จ สวรรคตของสมเด็ จ พระนารายณ์มหาราช พระนารายณ์ราชนิเวศน์ ถูกทิ้งร้าง จนถึงรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ โปรดให้ บู ร ณะพระราชวั ง ของสมเด็ จ พระ นารายณ์มหาราช และสร้างพระที่นั่งขึ้นใหม่ใน ปี พ.ศ. 2399 และพระราชทานนามว่า "พระ นารายณ์ราชนิเวศน์”



สถาปัตยกรรมและสิ่งก่อสร้าง


พระนารายณ์ ร าชนิ เ วศน์

อ่างเก็บน�้ำซับเหล็กหรือถังเก็บน�้ำประปา อ่างเก็บน�้ำซับเหล็กหรือถังเก็บน�้ำประปา : เป็นระบบการจ่ายทดน�้ำ ผลงานของชาวฝรั่งเศส โดยการสร้างที่เก็บน�้ำในถัง ด้วยการก่อ ด้วยอิฐยกขอบเป็นก�ำแพงสูงหนาเป็นพิเศษ สร้างพื้นให้มีท่อดินเผา ฝังอยู่เพื่อจ่ายน�้ำไปใช้ตามตึกและพระที่นั่งต่าง ๆ โดยท่อดินเผา ซึ่ง ระบบการจัดการน�้ำ ระบบการจ่ายน�้ำ และทดน�้ำ เป็นผลงานของ ชาวฝรั่งเศสและอิตาเลียน



ตึกสิบสอ


องท้องพระคลังหรือพระคลังศุภรัตน์ ตึกสิบสองท้องพระคลังหรือพระคลังศุภ รัตน์ : สันนิษฐานว่าเป็นคลังส�ำหรับเก็บ สินค้าและสิ่งของ เป็นตึกที่ตั้งเรียงรายอยู่ ระหว่ า งอ่ า งเก็ บน�้ ำและตึ กเลี้ ย งรั บรองแขก เมือง สร้างด้วยอิฐเป็น 2 แถวยาว มีคูน�้ำ ล้อมรอบตึก ภายในคูน�้ำมีน�้ำพุขึ้นมาอีกด้วย ใช้เป็นคลังส�ำหรับเก็บสินค้าหรือเก็บสิ่งของ ที่ใช้ในราชการ


ตึกพระเจ้าเหา ตึกพระเจ้าเหา : ตั้งอยู่ทางด้านใต้ ของเขตพระราชฐานชั้นนอก ตึก หลั ง นี้ แ สดงให้ เ ห็ น ถึ ง ลั ก ษณะ สถาปัตยกรรมสมัยสมเด็จพระนา

รายณ์ฯ ได้อย่างชัดเจนมาก ตัวตึก เป็นรูปทรงไทย ฐานก่อด้วยศิลา แลง และจึงก่ออิฐขึ้นมาอีกชั้น หนึ่ง ปัจจุบันเหลือแต่ผนังประตู


หน้าต่าง ท�ำเป็นซุ้มเรือนแก้วฐาน สั น นิ ษ ฐานว่ า เป็ น หอพระประจ� ำ สิงห์ ปัจจุบันคงปรากฏลายให้เห็น พระราชวัง ตึกพระเจ้าเหาหรือ อยู่ ด้วยเหตุว่าภายในตึกมีฐาน “พระเจ้าหาว” ชุ ก ชี ป รากฏให้ เ ห็ น อยู ่ แ ละชาว ฝรั่งเศสได้ระบุว่าเป็นวัด จึง


ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศ ตึกรับรองคณะทูตต่างประเทศ : ตั้งอยู่ในเขตพระราชฐานชั้นนอก ใกล้กับหมู่ตึกสิบสองท้องพระคลังเป็นสถาปัตยกรรมแบบฝรั่งเศส บันทึกของชาวฝรั่งเศสกล่าวว่า ตึกหลังนี้อยู่กลางอุทยาน ซึ่ง แบ่งเป็นช่องสี่เหลี่ยมจัตุรัส รอบตึกมีคูน�้ำล้อมรอบ ภายในคูน�้ำมี น�้ำพุเรียงรายเป็นระยะอยู่ 20 แห่ง จากเค้าโครงที่เห็นแสดงว่าในสมัย ก่อนคงจะสวยงามมาก ทางด้านหน้าตึกเลี้ยงรับรองมีรากฐานเป็น อิฐแสดงให้เห็นว่าตึกหลังเล็ก ๆ คงจะเป็นโรงมหรสพ ซึ่งมีการ


แสดงให้แขกเมืองชมภายหลังการเลี้ยงอาหาร สมเด็จพระนารายณ์ฯ ได้พระราชทานเลี้ยงแก่ คณะทูตจากประเทศฝรั่งเศส ณ สถานที่นี้ใน พ.ศ. 2228 และ พ.ศ. 2230



โรงช้างหลวง โรงช้างหลวง : ตั้งเรียงราย

ซึ่งยืนโรงพระราชวังเป็นช้างหลวง หรือช้างส�ำคัญ ส�ำหรับใช้เป็น เป็นแถวชิดริมก�ำแพงเขตพระ ราชฐานชั้นนอกด้านในสุด โรงช้าง พาหนะของสมเด็จพระนารายณ์ ส่วนใหญ่ปรักหักพังเหลือแต่ฐาน มหาราชหรือขุนนางชั้นผู้ใหญ่ ปรากฏให้เห็นประมาณ 10 โรง ช้าง






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.