Edu cmu

Page 1

VOCATIONAL and

EDUCATION

WELLNESS PROMOTION คณะศึกษาศาสตร์ อาชีวศึกษา และ การส่งเสริมสุขภาวะ

ภาควิชา

2015 EDUCATION CMU



VOCATIONAL and

EDUCATION

WELLNESS PROMOTION

2015 EDUCATION CMU


คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชา อาชีวศึกษา และ

การส่งเสริมสุขภาวะ

รายละเอียดเกี่ยวกับภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ

1.1 ชื่อหน่วยงาน ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 1.2 ที่ตั้ง ชั้น 2 อาคารอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ประวัติความเป็นมาภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ

คณะศึ ก ษาศาสตร์ ได้ เ ริ่ ม ด� ำ เนิ น การรั บ สมั ค รนั ก ศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี รุ ่ น แรก และเปิดสอนเมื่อวันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๑๑ โดยมีสาขาวิชาที่เปิดสอน ๗ สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิ ช าการสอนภาษาไทย สาขาวิ ช าการสอนภาษาต่ า งประเทศ (ภาษาอั ง กฤษ, ภาษาฝรั่งเศส) สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา สาขาวิชาการสอนธุรกิจศิลป์ สาขาวิชาการ สอนวิทยาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ และสาขาวิชาการสอนเกษตรศาสตร์ นอกจากนั้นคณะได้เริ่มด�ำเนินการเปิดรับนักเรียนโรงเรียนสาธิตมัธยม เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๑๑ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ด�ำเนินการเสนอเรื่องการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ต่อส�ำนัก นายกรั ฐ มนตรี เพื่ อ ด� ำ เนินการประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่ ง ส� ำ นั กนายกรั ฐมนตรี ไ ด้ ประกาศการจัดตั้งคณะศึกษาศาสตร์ในราชกิจจานุเบกษา ในวันที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๑ เป็นการประกาศสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อย่างเป็นทางการตั้งแต่ บัดนั้นเป็นต้นมา พ.ศ. 2514 มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรปริญญาตรี โดยแบ่งออกเป็น ๒ หลักสูตร คือ » หลักสูตร ๔ ปี ส�ำหรับนักศึกษาที่มีวุฒิ มศ.๕ หรือเทียบเท่า » หลักสูตร ๒ ปีครึ่ง ส�ำหรับผู้มีวุฒิ ป.กศ.สูง หรือเทียบเท่า (ปิดหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๔๙) พ.ศ. 2519 เปิดสอนระดับปริญญาตรีเพิ่มอีก ๗ สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการศึกษาผู้ใหญ่ สาขาวิชาคหกรรมศิลป์ สาขาวิชาพลศึกษา สาขาวิชาสุขศึกษา สาขาวิชาประถมศึกษา สาขาวิชาบริหารการศึกษา และสาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ 4 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


พ.ศ. 2520 มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการบริหารทางวิชาการได้มีการขยายจ�ำนวน ภาควิชาจาก ๕ ภาควิชาเป็น ๙ ภาควิชา ประกอบด้วย • ภาควิชาเดิมที่ได้รับอนุมัติพร้อมการสถาปนาคณะศึกษาศาสตร์และคงชื่อเดิม ได้แก่ ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา และภาควิชาส่งเสริมการศึกษา • ภาควิ ช าเดิ ม ที่ ไ ด้ รั บ อนุ มั ติ พ ร้ อ มการสถาปนาคณะศึ ก ษาศาสตร์ แ ละขอเปลี่ ย นชื่ อ ภาควิชาใหม่ ได้แก่ 1.ภาควิชาการวัดผลและระเบียบวิธีวิจัยการศึกษาขอเปลี่ยนแปลงเป็นภาควิชา ประเมินผลและวิจัยการศึกษา 2.ภาควิชาโสตทัศนศึกษาขอเปลี่ยนแปลงเป็นภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา 3.ภาควิชาระเบียบวิธีการสอนและหลักสูตรขอเปลี่ยนแปลงเป็นภาควิชามัธยมศึกษา • ภาควิชาที่ขอจัดตั้งใหม่ได้แก่ 1.ภาควิชาประถมศึกษา 2.ภาควิชาศิลปะปฏิบัติ (เปลี่ยนชื่อเป็น ภาควิชาอาชีวศึกษา ตั้งแต่เมษายน 2526) 3.ภาควิชาพลานามัย 4.ภาควิชาบริหารการศึกษา

พ.ศ. 2534 เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท ๓ สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการ ส่งเสริมสุขภาพ สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษและสาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา พ.ศ. 2538 เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาอาชีวศึกษา เปิดสอนหลัก สูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ภาคพิเศษ) ในโครงการความร่วมมือ ระหว่างคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กับสถาบันราชภัฏเชียงราย (ระยะเวลา ด�ำเนินการ ๕ ปี) จ�ำนวน ๔ รุ่น (ปีการศึกษา ๒๕๓๘-๒๕๔๑) เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญา โท สาขาวิชาการจัดการมนุษย์และสิ่งแวดล้อม สาขาวิชาร่วม (ศึกษาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์) ในโครงการของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2541 เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาอาชีวศึกษา (ภาคพิเศษ) ในโครงการของ บัณฑิตศึกษาสถาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และในพ.ศ. ๒๕๔๙ บัณฑิตศึกษา สถาน ได้ให้คณะศึกษาศาสตร์ จัดการเรียนการสอนเอง 5 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


พ.ศ. 2547 เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๕ ปี เพื่อให้สอดรับกับแนวทาง การจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๒๒ ที่ระบุว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” และของกระทรวงศึกษาธิการ โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา ต้องการส่งเสริมการด�ำเนินการยกระดับวิชาชีพครูให้เป็นวิชาชีพ ชั้นสูง ซึ่งหลักสูตรดังกล่าว ปรับปรุงจากหลักสูตรเดิม ๔ ปี เป็นหลักสูตร ๕ ปี ทั้ง ๑๔ สาขา วิชา ได้แก่ 1.สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ 2.สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส 3.สาขาวิชาเกษตรกรรม 4.สาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา 5.สาขาวิชาพลศึกษา 6.สาขาวิชาบริหารธุรกิจ 7.สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย 8.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 9.สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 10.สาขาวิชาประถมศึกษา 11.สาขาวิชาสุขศึกษาและการส่งเสริมสุขภาพ 12.สาขาวิชาภาษาไทย 13.สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 14.สาขาวิชาสังคมศึกษา

พ.ศ. 2551 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เปลี่ยนระบบการบริหารงาน เป็นมหาวิทยาลัย ในก�ำกับของรัฐเมื่อวันที่ ๗ มีนาคม ๒๕๕๑ และมีนโยบายให้คณะฯ ปรับโครงสร้างองค์กร ใหม่ให้มีความคล่องตัวในการบริหารจัดการ คณะฯ จึงได้มีการปรับโครงสร้างการบริหารงาน โดยแบ่ ง หน่ ว ยงานออกเป็ น ๓ หน่ ว ยงาน ได้ แ ก่ ส� ำ นั ก งานคณะ ส� ำ นั ก วิ ช าการศึ ก ษา (รวมภาควิชา ๙ ภาควิชาเข้าด้วยกัน) และโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามประกาศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานในส่วนงานวิชาการและส่วนงานอื่นๆ ฉบับที่ ๑ ลงวันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๑เปิดสอนหลักสูตรระดับปริญญาเอก สาขาวิชาหลักสูตร และการสอน (ภาคปกติ)

พ.ศ. 2557 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้มีประกาศมหาวิทยาลัยเชียงใหม่เรื่องการแบ่ง หน่วยงานในส่วนงานวิชาการและส่วนงานอื่น (ฉบับที่๑๒) เมื่อวันที่ ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗ ให้คณะศึกษาศาสตร์ แบ่งหน่วยงานเป็น ๕ หน่วยงานดังนี้ » ส�ำนักงานคณะ » ภาควิชาพื้นฐานและการพัฒนาการศึกษา » ภาควิชาหลักสูตร การสอนและการเรียนรู้ » ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ » โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


POLICY นโยบาย เป็นหน่วยงานหนึ่งของคณะศึกษาศาสตร์ ซึ่งท�ำหน้าที่และรับผิดชอบ ในการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของคณะศึกษาศาสตร์ ทั้ง 7 ประการ คือ 1 เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร มีสุขภาพดี เป็นความรับผิดชอบต่อสังคม สามารถ เป็นผู้น�ำในการจัดการศึกษาเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม และเพื่อรองรับ การก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2 เพื่ อ ผลิ ต และพั ฒ นางานวิ จั ย ของอาจารย์ แ ละบุ ค ลากรให้ได้นวัตกรรมและองค์ ความรู้ใ หม่ โดยมุ ่ ง เน้ น การจั ด การเรี ย นการสอนที่ เ น้ น ผู ้ เ รี ย นเป็ น ส� ำ คั ญ และ การศึกษาตลอดชีวิต เพื่อน�ำไปพัฒนาการจัดการเรียนการสอน การจัดการความรู้ การพัฒนางานและการพัฒนาสังคม 3 เพื่ อ บริ ก ารวิ ช าการและถ่ า ยทอดความรู ้ สู ่ ชุ ม ชนและสั ง คม ภายใต้ เ ครื อ ข่ า ย ความร่วมมือทั้งในระดับชุมชน ระดับชาติ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถและส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตแก่ศิษย์เก่า ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้สนใจทั่วไป 4 เพื่อท�ำนุบ�ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย ท้องถิ่นล้านนา และอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ 5 เพื่อส่งเสริมความเข้มแข็งและยกระดับคุณภาพทางวิชาการและงานวิจัย ร่วมกับสถาบันวิชาการต่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน เอเชีย และนานาประเทศ 6 เพื่อบริหารองค์กรที่เน้นความรับผิดชอบในการท�ำงาน ตามหลักนิติธรรม คุณธรรม โปร่งใส มีส่วนร่วมและตรวจสอบได้ วางแผนและจัดสรรงบประมาณในการใช้จ่าย ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 7 เพื่อด�ำเนินงานโรงเรียนสาธิตฯ ให้สนับสนุนวัตถุประสงค์ข้อ ๑-๖ และเพื่อส่งเสริม การพัฒนาเยาวชนให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ 7 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


STRUCTURE โครงสร้ า งขององค์ ก ร

ระดับปริญญาตรี 1 สาขาวิชาเกษตรกรรม 2 สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์ 3 สาขาวิชาบริหารธุรกิจศึกษา 4 สาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษา 5 สาขาวิชาพลานามัย 6 สาขาวิชาสุขศึกษาและ การส่งเสริมสุขภาพ

ระดับบัณฑิตศึกษา 1 สาขาวิชาอาชีวศึกษา 2 สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ

8 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


VISION วิสัยทัศน์ของภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ

เป็นสถาบันที่สร้างครูมืออาชีพผู้น�ำด้านอาชีวศึกษาและ การส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะมี คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม และพั ฒ นา วิชาชีพโดยใช้กระบวนการวิจัยสู่สากล

โครงสร้างของกิจกรรมตามพันธกิจ

• จั ด การศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาสาขาศึ ก ษาศาสตร์ ทุ ก ระดั บ ให้ ไ ด้ ม าตรฐาน ในระดับสากล โดยให้ความส�ำคัญและค�ำนึงถึงความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษา ความมีเสรีภาพและความเป็นเลิศทางวิชาการควบคู่ไปกับความมีคุณธรรม • ผลิ ต ผลงานวิ จั ย เพื่ อ สร้ า งนวั ต กรรมและองค์ ค วามรู ้ ใ หม่ ใ นการพั ฒ นาศาสตร์ ด้านการศึกษา • ให้บริการวิชาการแก่ชมุ ชนเพือ่ ตอบสนองความต้องการของสังคมและสร้างเครือข่าย ทางการศึกษาทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ • ท� ำ นุ บ� ำ รุ ง ศาสนา ศิ ล ปวั ฒ นธรรม ประเพณี ไ ทยและท้ อ งถิ่ น ล้ า นนา อนุ รั ก ษ์ และพัฒนา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • พัฒนาความสัมพันธ์และความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันวิชาการในต่างประเทศ ภูมิภาคอาเซียน เอเชีย และนานาประเทศ • พั ฒ นาการบริ ห ารจั ด การแบบมี ส ่ ว นร่ ว มโดยยึ ด หลั ก ธรรมาภิ บ าลและแนวทาง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • ด�ำเนินงานโรงเรียนสาธิตฯ เพื่อสนับสนุนพันธกิจของคณะ ข้อ ๑-๖และส่งเสริม พัฒนาเยาวชนให้ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีคุณภาพ

9 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ชรี รูปะวิเชตร์

รองศาสตราจารย์ ดร.กัญญา ก�ำศิริพิมาน

รองศาสตราจารย์ ปรีชา อินทรสมพันธ์

รองศาสตราจารย์ พลสิทธิ์ สิทธิชมพู

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา เกียรติมณีรัตน์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา สโรบล

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรัณย์ ปัญโญ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ พรปริญญา สุขวัฒนา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ บุญถิ่น อินดาฤทธิ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เสาวนิตย์ เจริญชัย

อาจารย์ ดร.นทัต อัศภาภรณ์

อาจารย์ ศิริกาญจน์ บวรวิศวยศ

อาจารย์ วราภรณ์ สิทธิวงศ์

อาจารย์ประกรณ์ ตุ้ยศรี

อาจารย์วรวุฒิ ค�ำด้วง

อาจารย์ณัชชาจารย์ โรจน์วัฒนดิษกุล

อาจารย์ ขวัญชัย แสงสุวรรณ

อาจารย์ศุภกร บัวหยู่

รองศาสตราจารย์ ดร.นิ่มอนงค์ งามประภาสม

10 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ

รองศาสตราจารย์ มนัส ยอดค�ำ


คณาจารย์ประจ�ำภาควิชาภาควิชาอาชีวศึกษา และการส่งเสริมสุขภาวะ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ระดับปริญญาตรี

1.สาขาวิชาเกษตรกรรม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรปริญญา สุขวัฒนา ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญถิ่น อินดาฤทธิ์

2.สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

4.สาขาวิชาอุตสาหกรรม

รองศาสตราจารย์ ดร.กัญญา ก�ำศิริพิมาน รองศาสตราจารย์ปรีชา อินทรสมพันธ์ รองศาสตราจารย์พลสิทธิ์ สิทธิชมพู

5.สาขาวิชาพลศึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา เกียรติมณีรัตน์ อาจารย์ ดร.นทัต อัศภาภรณ์ อาจารย์ศิริกาญจน์ บวรวิศวยศ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรัณย์ ปัญโญ อาจารย์ประกรณ์ ตุ้ยศรี อาจารย์ศุภกร บัวหยู่ อาจารย์วรวุฒิ ค�ำด้วง อาจารย์ณัชชาจารย์ โรจน์วัฒนดิษกุล

3.สาขาวิชาบริหารธุรกิจ

6.สาขาวิชาสุขศึกษา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เสาวนิตย์ เจริญชัย รองศาสตราจารย์ ดร.เพ็ชรี รูปะวิเชตร์ อาจารย์วราภรณ์ สิทธิวงศ์

รองศาสตราจารย์มนัส ยอดค�ำ รองศาสตราจารย์ ดร.นิ่มอนงค์ งามประภาสม อาจารย์ขวัญชัย แสงสุวรรณ

ระดับบัณฑิตศึกษา

1.สาขาวิชาอาชีวศึกษา

รองศาสตราจารย์ ดร.กัญญา ก�ำศิริพิมาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา เกียรติมณีรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา สโรบล รองศาสตราจารย์ปรีชา อินทรสมพันธ์ รองศาสตราจารย์พลสิทธิ์ สิทธิชมพู

2.สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ

รองศาสตราจารย์ ดร.กัญญา ก�ำศิริพิมาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา เกียรติมณีรัตน์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา สโรบล รองศาสตราจารย์ปรีชา อินทรสมพันธ์ รองศาสตราจารย์พลสิทธิ์ สิทธิชมพู

11 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


ข้อมูลเชิงปริมาณ (บุคลากร)

จ�ำแนกตามคุณวุฒิและต�ำแหน่งทางวิชาการ

ต�ำแหน่งทางวิชาการ/วุฒิ

ปริญญาเอก

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

รวม

ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2 4

3 3

-

5 7

อาจารย์

1

8

-

9

รวมทั้งสิ้น

21 บุคลากรสนับสนุน

ต�ำแหน่งทาง วิชาการ/วุฒิ -

ปริญญาโท

ปริญญาตรี

มัธยมฯปลาย

รวม

รวมทั้งสิ้น

1 1 1

-

1 1 1 3

ข้อมูลปัจจุบัน

ข้อมูลหลักสูตร มุ่งผลิตบัณฑิต มหาบัณฑิต ประกอบด้วย

ระดับ ปริญญาตรี

ปริญญาโท

สาขาวิชา 1. เกษตรกรรม 2. คหกรรมศาสตร์ 3. บริหารธุรกิจศึกษา 4. อุตสาหกรรมศึกษา 6. วิชาแกน 1.การส่งเสริมสุขภาพ 2.อาชีวศึกษา รวม 12 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ

รวม 1 1 1 1 1 1 1 8


กระบวนวิชาที่เปิดสอน

ในปีการศึกษา 2558 ได้ท�ำการเปิดสอนกระบวนวิชาทั้งระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท (ภาคปกติและภาคพิเศษ) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพครู ประกอบด้วย

สาขาวิชา 1. เกษตรกรรม 2. คหกรรมศาสตร์ 3. บริหารธุรกิจศึกษา 4. อุตสาหกรรมศึกษา 5. พลศึกษา 6. สุขศึกษาและ การส่งเสริมสุขภาพ 7. อาชีวศึกษา 8. การส่งเสริมสุขภาพ

ตรี 8 6 10 11

ระดับปริญญา โท -

เอก -

46 13

-

-

46 13

-

9 1

-

9 1

รวมจ�ำนวน กระบวนวิชา 8 6 10 11

งบประมาณ

ได้รบั จัดสรรเงินงบประมาณแผ่นดินจากต้นสังกัด คณะศึกษาศาสตร์ ในการจัดซือ้ วัสดุ และครุภณ ั ฑ์ และ ด�ำเนินการจัดกิจกรรมส�ำหรับนักศึกษา อาจารย์ และชุมชน

อาคารสถานที่

อยู่ภายใต้การบริหารงานของคณะศึกษาศาสตร์ ซึ่ ง มี อ าคารเรี ย นและห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารดั ง นี้ อาคาร อุตสาหกรรม, อาคารคหกรรม, อาคารอาชีวศึกษา, อาคารพลศึกษา 13 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


นักศึกษา

ในปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะมีจ�ำนวนนักศึกษารับเข้าศึกษา และส�ำเร็จการศึกษาดังนี้

จ�ำนวนนักศึกษา สาขาวิชา

1. เกษตรกรรม 2. คหกรรมศาสตร์ 3. บริหารธุรกิจศึกษา 4.อุตสาหกรรมศึกษา 5.พลศึกษา 6.สุขศึกษาและ การส่งเสริมสุขภาพ 7. อาชีวศึกษา 8. การส่งเสริมสุขภาวะ

ปี 2557 จานวนรับ นักศึกษา

ปี 2558 จ�ำนวนรับ นักศึกษา

จ�ำนวน นักศึกษา จบการศึกษา ปี 2557

29 -

30 22 -

23 21 26 19 32 -

10 -

12 -

5 13

14 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


โครงการวิชาการ/บริการชุมชน ปี 2558

ในปีการศึกษา 2558 ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะมีจ�ำนวนนักศึกษารับเข้าศึกษา และส�ำเร็จการศึกษาดังนี้

สาขาวิชา 1. เกษตรกรรม 2. คหกรรมศาสตร์ 3. บริหารธุรกิจศึกษา 4. อุตสาหกรรมศึกษา 5. พลศึกษา 6.สุขศึกษา 7. อาชีวศึกษา 8. ภาควิชาอาชีวศึกษาฯ

จ�ำนวนโครงการ

งบประมาณ

2 2 3 2 7 2 2 5

50,050.30,000.98,497.64,000.90,198.70,000.24,600.108,198.-

15 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สาขาวิชาเกษตรกรรมจัดโครงการ

อบรมติดตามประเมินผลและน�ำเสนองานวิจัยในชั้นเรียนนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ณ ห้องเรียนอาคารอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มช

การศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาประสบการณ์ตรงของนักศึกษาสาขาวิชาเกษตรกรรม ณ จังหวัดกรุงเทพมหานคร-ชลบุรี 16 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์จัดโครงการ

อบรมติดตามประเมินผลและน�ำเสนอผลงานวิจัยในชั้นเรียน ของนักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู ณ ห้องเรียนอาคารคหกรรม คณะศึกษาศาสตร์ มช.

17 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สาขาวิชาบริหารธุรกิจศึกษาจัดโครงการ

เสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้านธุรกิจศึกษา ณ จังหวัดกรุงเทพมหานคร-ชลบุรี

พัฒนาสมรรถนะการท�ำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน ณ ห้องเรียนอาคารอาชีวศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มช. 18 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สาขาวิชาอุตสาหกรรมจัดโครงการ

เสริมสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ด้านอุตสาหกรรมศึกษา ณ จังหวัดอยุธยา-เพชรบุรี

อุตสาหกรรมศึกษาพัฒนาชุมชน ณ โรงเรียนโป่งน�้ำร้อนวิทยา อ.สันก�ำแพง จ.เชียงใหม่ 19 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สัมมนาคณาจารย์ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ ณ โรงแรมปิยพร อ.แม่สาย จ.เชียงราย

การท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่น ประเพณีรดน�้ำด�ำหัวคณาจารย์ 20 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


ภาควิชาอาชีวศึกษา และการส่งเสริมสุขภาวะจัดโครงการ

จัดโครงการหล่อเทียนและถวายเทียนพรรษาประจ�ำปี 2558 ณ ลานหน้าอาคารคหกรรม และ วัดศรีโพธิ์ทอง อ.หางดง จ.เชียงใหม่ 21 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


พัฒนาหัวข้อวิจัยของนักศึกษาสาขาวิชาอาชีวศึกษา ณ โรงแรมเชียงใหม่ฮิลล์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่

ศึกษาดูงานต่างประเทศ ณ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี 22 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


จัดโครงการ ครูเพื่อศิษย์ ณ ภาควิชาอาชีวศึกษาและการส่งเสริมสุขภาวะ คณะศึกษาศาสตร์ มช.

23 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สาขาวิชาพลศึกษาและสาขาวิชาสุขศึกษา และการส่งเสริมสุขภาพ

จัดโครงการ การละเล่นพื้นบ้าน ณ สนามหน้าอาคาร 1 คณะศึกษาศาสตร์ มช. 24 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


โครงการสัมมนาอาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาพลศึกษาและสุขศึกษา ณ จังหวัดชลบุรี 25 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


สาขาวิชาพลศึกษาและสาขาวิชาสุขศึกษา และการส่งเสริมสุขภาพ

การบริการชุมชน อบรมความรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ณ ชุมชน 5 ธันวา ต.หายยา อ.เมือง จ.เชียงใหม่

26 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


ความร่วมมือทางวิชาการ รศ.ดร.เพ็ชรี รูปะวิเชตร์

ร่วมประชุมสัมมนา งานวิจัยนานาชาติ ด้าน Education Finance and Administration at School level in ASia and Africa กับ มหาวิทยาลัย Kobe วันที่ 8-12 ธันวาคม 2557

Dr Kawaguchi จาก มหาลัยโอซ้าก้า สอนเรื่อง TVET in Japan 27 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


ผศ.บุญถิ่น อินดาฤทธิ์

โครงการครูเกษตรเพื่อการพัฒนาสู่อาเซียน วันที่ 20-26 ธันวาคม 2557 ณ โรงเรียนเทคนิคกสิกรรมดงค�ำช้าง นครหลวงเวียงจัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

28 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


งานบริการวิชาการ

ผศ.ดร. นทัต อัศภาภรณ์

เป็นวิทยากรปฏิบัติการ เรื่อง “การฝึกอาชีพด้านการท�ำอาหารขนมและงานประดิษฐ์ ดอกไม้ใบตอง” วันที่ 15 พฤษภาคม 2557 ณ ศูนย์การเรียนรู้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว (ภาคเหนือ) ต�ำบลอินทขิล อ�ำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นวิทยากรปฏิบัติการ เรื่อง “นวัตกรรมการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ส�ำหรับศูนย์เด็ก เล็ก” วันที่ 22 สิงหาคม 2557 ณ โรงแรมฟูร่ามา จังหวัดเชียงใหม่ ได้รับเชิญเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง “การเตรียมการปฏิบัติงานวิชาชีพครู” ในวันพุธที่ 29 ตุลาคม 2557 เวลา 09.00-10.00 น. ณ ห้องประชุม 4210 อาคาร 4 ชั้น 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโดยหน่วยพัฒนาการปฏิบัติงานวิชาชีพครู

29 คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ


2015

EDUCATION CMU

ภาควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ



2015 VOCATIONAL EDUCATION AND WELLNESS PROMOTION

มหาวิ ท ยาลั ย เชี ย งใหม่ คณะศึ ก ษาศาสตร์ ภ าควิ ช าอาชี ว ศึ ก ษาและการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาวะ 239 ถนนห้ ว ยแก้ ว ต.สุ เ ทพ อ.เมื อ ง จ.เชี ย งใหม่ 50200 http://www.edu.cmu.ac.th/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.