มคอ.2 M.Arch ID ลง webคณะ

Page 1

1

มคอ. 2

หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา คณะ สาขาวิชา

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ การออกแบบ

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการออกแบบ อุตสาหกรรม (ภาษาอังกฤษ): Master of Architecture Programme in Industrial Design 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ) ชื่อย่อ (ภาษาไทย) (ภาษาอังกฤษ)

: สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การออกแบบอุตสาหกรรม) : Master of Architecture (Industrial Design) : สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) : M. Arch. (Industrial Design)

3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร (ถ้ามี) การออกแบบอุตสาหกรรม ประกอบด้วย การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบเครื่อง เรือน การออกแบบสิ่งทอ การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา การออกแบบงานโลหะ การออกแบบกราฟฟิก การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม 4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 40 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ  หลักสูตรปริญญาโท 5.2 ภาษาที่ใช้  หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


2

มคอ. 2

5.3 การรับเข้าศึกษา  รับเฉพาะนักศึกษาไทย 5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น  เป็นหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ 5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา  ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร  หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555 ได้พิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งที่ ....8..../...2554..... เมื่อวันที่.....30...... เดือน.......สิงหาคม............ พ.ศ. .....2554......... ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมครั้งที่ ....9..../...2554.... เมื่อวันที่......28...... เดือน......กันยายน........... พ.ศ. ......2554........ 7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา (1) นักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมในสาขาต่างๆ เช่น การออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบเครื่องเรือน การออกแบบสิ่งทอ การออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา การออกแบบงานโลหะ การออกแบบกราฟฟิก การออกแบบหัตถอุตสาหกรรม ฯลฯ (2) นักวิจัยและพัฒนาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (3) นักวิชาการด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (4) ผู้บริหารและ/หรือที่ปรึกษาด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


มคอ. 2

3

9. ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ชื่อ-สกุล (ระบุตาแหน่งทางวิชาการ) 1. รศ.บุญสนอง รัตนสุนทรากุล

คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา), ปีที่สาเร็จการศึกษา ศศ.ม. (พัฒนาสังคม), 2546

2. รศ.ดร.อุไรวรรณ ปิติมณียากุล

Ph.D. (Design, Housing, Apparel), USA, 2544 Ph.D. (Goldsmithing, Silversmithing, Metalwork & Jewellery), UK, 2545

3. ผศ.ดร.สมพิศ ฟูสกุล 4. อ.ดร.เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม

ค.ด. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา), 2546

เลขประจาตัว บัตรประชาชน x-xxxx-xxxx-xx-x x-xxxx-xxxx-xx-x x-xxxx-xxxx-xx-x x-xxxx-xxxx-xx-x

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1.1 ปรัชญา การสร้างองค์ความรู้เชิงลึกของสาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม ด้วยเนื้อหาการวิเคราะห์วิจัยที่เน้น องค์ความรู้หลัก 3 ด้าน คือ การออกแบบ การผลิต และการตลาด ซึ่งสามารถตอบสนองประโยชน์สงู สุดด้าน การใช้งาน และรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ในสภาวการณ์ปจั จุบัน 1.2 ความสาคัญ ภาวะการเปลี่ยนแปลงในโลกทางด้านสภาพแวดล้อม ภัยพิบัติ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร เศรษฐกิจและการแข่งขันภายใต้กรอบข้อตกลงเขตการค้าเสรี ส่งผลต่อวิชาชีพการออกแบบอุตสาหกรรม หลักสูตรจึงเล็งเห็นความจาเป็นต่อการพัฒนาบุคลากรให้มีความรูค้ วามสามารถและทักษะที่ทนั ต่อความ เปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับผลกระทบของความเปลี่ยนแปลงนั้น เพื่อสร้างโอกาสในการแข่งขันให้แก่นัก ออกแบบให้ก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรมและเทคโนโลยีรวมถึงวิถีชีวิตและพฤติกรรมของ ผู้บริโภค 1.3 วัตถุประสงค์ 1.3.1 ผลิตนักออกแบบและผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรมที่มีคุณภาพและเข้าใจ โครงสร้างของอุตสาหกรรมและสังคมไทย ซึง่ จะนาไปสู่การพัฒนาทางด้านออกแบบ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมที่เหมาะสมกับภาวะการเปลี่ยนแปลง 1.3.2 สนับสนุนการศึกษาค้นคว้าวิจัยเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางด้านการออกแบบทั้งในและ ต่างประเทศ

สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


4

มคอ. 2

1.3.3 ผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถประกอบอาชีพ และดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข นาความเจริญมาสู่ประเทศ ตระหนักในบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตนต่อสังคม ทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพ

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง 1 ภาค การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ และภาคฤดูร้อนกาหนดให้มีระยะเวลาโดย สัดส่วนเทียบเคียงได้กบั ภาคการศึกษาปกติ ข้อกาหนดต่าง ๆ เป็นไปตามข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระ จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก) 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน  ไม่มี 1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค  ไม่มี 2. การดาเนินการหลักสูตร 2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน  วัน – เวลาราชการปกติ ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนมิถุนายน – เดือนกันยายน ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนพฤศจิกายน – เดือนกุมภาพันธ์ 2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา  เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือกาลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ข้อกาหนดต่างๆ เป็นไปตามข้อบังคับของสถาบัน ว่าด้วยการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2553 (ภาคผนวก ก)  เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า หรือกาลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร ระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมในสาขาต่างๆ เช่น การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภัณฑ์ การออกแบบเครื่องเรือน การออกแบบสิ่งทอ การ ออกแบบเครื่องเคลือบดินเผา การออกแบบงานโลหะ การออกแบบกราฟฟิก การออกแบบหัตถ อุตสาหกรรม และสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ขึ้นอยู่กบั ดุลยพินิจของกรรมการสอบคัดเลือก  คุณสมบัติเพิ่มเติม แผน ก แบบ ก1 เป็นผู้ที่มปี ระสบการณ์ในการทาวิจัยหรือการทางานอย่างน้อย 2 ปีอยู่ในสาขาวิชาการออกแบบ อุตสาหกรรม การออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือสาขาวิชาการออกแบบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยมีหนังสือ รับรองการปฎิบัติงานจากผู้บงั คับบัญชา สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


มคอ. 2

5 3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 3.1 หลักสูตร 3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร  แผน ก แบบ ก1  แผน ก แบบ ก2

40 40

หน่วยกิต หน่วยกิต

3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร แผน ก แบบ ก1 ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ ข. หมวดวิชาการวิจัย (ไม่นับหน่วยกิต) ค. หมวดวิชาสัมมนา (ไม่นับหน่วยกิต)

40 40 3 1

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

แผน ก แบบ ก2 ก. หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ ข. หมวดวิชาบังคับ ค. หมวดวิชาเลือก ง. หมวดวิชาสัมมนา จ. หมวดวิชาการวิจัย

40 12 18 6 1 3

หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต หน่วยกิต

3.1.3 รายวิชา แผน ก แบบ ก1 จานวนหน่วยกิตทั้งหมด 40 หน่วยกิต หมวดวิชาการวิจัย (ไม่นับหน่วยกิต) 3 หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02257201 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (1 – 4 – 4) RESEARCH METHODOLOGY หมวดวิชาสัมมนา (ไม่นับหน่วยกิต) 1 หน่วยกิต 02047202

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 1 (0 – 2 – 0)

02257401

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 9 (0 – 18 – 0)

สัมมนาการออกแบบอุตสาหกรรม SEMINAR ON INDUSTRIAL DESIGN หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ 40 หน่วยกิต

02257402

วิทยานิพนธ์ 1 แผน ก1 THESIS 1 PLAN A1 วิทยานิพนธ์ 2 แผน ก1 THESIS 2 PLAN A1

สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

9 (0 – 18 – 0)


6 02257403 02257404

วิทยานิพนธ์ 3 แผน ก1 THESIS 3 PLAN A1 วิทยานิพนธ์ 4 แผน ก1 THESIS 4 PLAN A1

มคอ. 2 12 (0 – 24 – 0) 10 (0 – 20 – 0)

แผน ก แบบ ก2 จานวนหน่วยกิตทั้งหมด 40 หน่วยกิต หมวดวิชาบังคับ 18 หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02257101 การออกแบบขั้นสูง 3 (1 – 4 – 4) ADVANCED DESIGN 02257102 การตลาดเพื่อการออกแบบ 3 (3 – 0 – 6) MARKETING PRINCIPLE FOR DESIGN 02257103 นัยยะของสังคมและวัฒนธรรมต่องานออกแบบ 3 (3 – 0 – 6) SOCIAL AND CULTURAL IMPLICATIONS ON DESIGN 02257104 กลยุทธ์การออกแบบ 3 (1 – 4 – 4) DESIGN STRATEGY 02257105 โครงร่างการวิจัย 3 (1 – 4 – 4) RESEARCH PROPOSAL 02257106 มโนทัศน์ทางการผลิตและการออกแบบเชิงนิเวศน์เศรษฐกิจ 3 (3 – 0 – 6) MANUFACTURING CONCEPT AND ECO-DESIGN หมวดวิชาการวิจัย 02257201

ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY

หมวดวิชาสัมมนา 02257202

3 หน่วยกิต

1 หน่วยกิต

สัมมนาการออกแบบอุตสาหกรรม SEMINAR ON INDUSTRIAL DESIGN

หมวดวิชาเลือก

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ –ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (1 – 4 – 4)

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 1 (0 – 2 – 0)

6 หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 02257301 พื้นฐานการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 3 (1 – 4 – 4) INDUSTRIAL DESIGN BASICS 02257302 ความยั่งยืนและการออกแบบ 3 (1 – 4 – 4) SUSTAINABILITY AND DESIGN สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.


มคอ. 2

7 02257303 02257304 02257305 02257306

การออกแบบด้วยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง DESIGN WITH SUFFICIENCY ECONOMY PHILOSOPHY การออกแบบเพื่อภัยพิบัติ DESIGN FOR DISASTOR การออกแบบเพื่อผู้สูงอายุ DESIGN FOR AGEING POPULATION การศึกษาอิสระ INDIVIDUAL STUDY

3 (1 – 4 – 4) 3 (1 – 4 – 4) 3 (1 – 4 – 4) 3 (1 – 4 – 4)

หมวดวิชาวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต 02257405 02257406 02257407

วิทยานิพนธ์ 1 แผน ก2 THESIS 1 PLAN A2 วิทยานิพนธ์ 2 แผน ก2 THESIS 2 PLAN A2 วิทยานิพนธ์ 3 แผน ก2 THESIS 3 PLAN A2

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต–ิ ศึกษาด้วยตนเอง) 3 (0 – 6 – 0)

สถ.ม. (การออกแบบอุตสาหกรรม) สาขาวิชาการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล.

3 (0 – 6 – 0) 6 (0 – 12 – 0)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.