⌫⌫ ⌫
“พระเยซูเจ้าทรงน้อมรับความตาย เพราะทรงรักเรา พระองค์สน้ิ พระชนม์ เพือ่ กอบกูเ้ ราให้พน้ บาป รอดพ้นจากความตายนิรนั ดร พระองค์ประทานความหวังใหม่ให้แก่เรา และผูท้ เ่ี ชือ่ ในพระองค์ทกุ คน” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสพิธนี มัสการกางเขน อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก วันศุกร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ วันศุกร์ท่ี 2 เมษายน 2010
25 ปีสงฆ์กรุงเทพฯ มองต่างวัยในชีวติ พระพร ในบ้านผ่านทาง
น.
2 3 4 8
ผูส้ งู อายุ น.
การถอดพระ
น.
ปัสกา
น.
สาสน์อวยพร ของพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสสมโภชปัสกา 2010 ปัสกาคือบทสรุปสูงสุดแห่งความรักของพระเจ้าผูท้ รงรักเราถึงเพียงนี้ และเป็นผลรวมสูงสุดแห่งความเชือ่ ของเราคริสตชน “พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมากจึงประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคน ทีม่ คี วามเชือ่ ในพระบุตรจะไม่พนิ าศแต่จะมีชวี ติ นิรนั ดร” (ยน. 3:16) พี่น้องที่รัก พ่อขอส่งความสุขและความปรารถนาดีโอกาสแห่งปัสกานี้มายังพี่น้องทุกคน ขอให้ความรัก ของพระเจ้าทีป่ รากฏแจ้งบนไม้กางเขนนี้ เป็นคำสอนทรงพลัง เป็นอานุภาพของพระเจ้า ปรากฎเป็นชีวติ จริงของ พีน่ อ้ งคริสตชน นักบวช และพระสงฆ์ทกุ องค์ ขอให้พระคริสตเจ้าผูก้ ลับคืนพระชนม์ชพี องค์ความรักของพระเจ้า ประทับท่ามกลางครอบครัวและชุมชนคริสตชนเสมอ เพื่อให้วัฒนธรรมแห่งความรักที่พระคริสตเจ้าทรงนำมาให้ โลกปรากฎเด่นชัดในพระศาสนจักรท้องถิ่นแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ยิ่งวันยิ่งมากขึ้นเสมอ สุขสันต์ปสั กาแด่พน่ี อ้ งทีร่ กั ทุกคน (พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช) ประมุขอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอร่วมโมทนาคุณพระเจ้าในโอกาส ฉลองหิรัญสมโภช 25 ปี พระสงฆ์จำนวน 4 ท่านที่รับศีลบวชเป็น พระสงฆ์ เมือ่ วันที่ 21 เมษายน ค.ศ.1985 ณ วัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน โดยพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู
คุณพ่อแอนโทนี บัณฑิตย์ ประจงกิจ สัตบุรุษลูกวัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ ปากลัด รับศีลล้างบาปวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ.1957 ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดนักบุญเทเรซา หนองจอก
คุณพ่อยวง บัปติสตา ชาญชัย ทิวไผ่งาม สั ต บุ ร ุ ษ ลู ก วั ด มารี ย ์ ส มภพ บ้ า นแพน รับศีลล้างบาป ปี ค.ศ. 1956 ปั จ จุ บ ั น เป็ น เจ้ า อาวาสวั ด พระบิ ด าเจ้ า (โรงเรียนเซนต์โยเซฟ ทิพวัล) พักประจำวัด พระกุมารเยซู กม.8
คุณพ่อยวง บัปติสตา ปรีชา รุจพิ งศ์ สัตบุรุษลูกวัดพระวิสุทธิวงส์ ลำไทร รับศีล ล้างบาป เมือ่ วันที่ 13 มิถนุ ายน ค.ศ. 1955 ปัจจุบนั เป็นเจ้าอาวาสวัดแม่พระประจักษ์แห่ง ภูเขาคาร์แมล สองพีน่ อ้ ง
คุณพ่อโทมัส ศิรพิ จน์ สกุลทอง สั ต บุ ร ุ ษ ลู ก วั ด ซางตาครู ้ ส กุ ฎ ี จ ี น รั บ ศี ล ล้างบาป ปี ค.ศ.1957 ปั จ จุ บ ั น เป็ น ผู ้ ช ่ ว ยเจ้ า อาวาสวั ด แม่ พ ระ ประจักษ์เมืองลูรด์ หัวตะเข้ ขอเชิญร่วมฉลอง 25 ปี คุณพ่อปรีชา รุจพ ิ งศ์ วันอาทิตย์ท่ี 25 เมษายน ค.ศ.2010 เวลา 09.00 น. วัดแม่พระประจักษ์แห่งภูเขาคาร์แมล สองพีน่ อ้ ง คุณพ่อชาญชัย ทิวไผ่งาม วันอาทิตย์ท่ี 25 เมษายน ค.ศ.2010 เวลา 10.00 น. วัดมารียส์ มภพ บ้านแพน คุณพ่อศิรพ ิ จน์ สกุลทอง วันอาทิตย์ท่ี 25 เมษายน ค.ศ.2010 เวลา 18.00 น. วัดซางตาครูส้ กุฎจี นี คุณพ่อบัณฑิตย์ ประจงกิจ วันอาทิตย์ท่ี 2 พฤษภาคม ค.ศ.2010 เวลา 09.30 น. วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ ปากลัด ⌫⌫ ⌫
อดีตของคนแก่ คือ อนาคตของวัยรุน่ อดีตของวัยรุ่น คืออนาคตของเด็ก และ อดีตของเด็กคือศูนย์ ซึง่ มีเพียงต้นทุนชีวติ ทีพ ่ ระเจ้าประทานให้ ยังไม่มกี ำไรหรือขาดทุน ใดในชีวิต แต่กับผู้สูงอายุนี่ซิ! มีกำไรชีวิต ทัง้ สติปญ ั ญา ปรีชาญาณทีพ่ ร้อมจะเป็น “ผูใ้ ห้” ผู้สูงอายุเป็นใครในบ้านของเรา ท่านไม่ใช่ บุคคลแปลกหน้าสำหรับเราอย่างแน่นอน ท่าน เป็นคุณตา คุณยาย คุณปู่ และคุณย่า ทีส่ ำคัญ ท่านเป็นคนทีร่ กั เรามากกว่าใครๆ ในโลกนี้ อย่างแน่นอนครับ ทำไมเด็กๆ และเยาวชน จึงรู้สึกว่าท่าน ห่วงใยมากไปหรือเปล่า? จากการพู ด คุ ย กั บ น้ อ งกรนริ น ทร์ นักเรียน ม.1 อายุ 13 ปี เติบโตในครอบครัว ที ่ ม ี ค ุ ณ ย่ า อยู ่ ใ นบ้ า น น้ อ งริ น เล่ า ให้ ฟ ั ง ว่ า “ครัง้ หนึง่ หนูเคยรูส้ กึ ว่า การได้ยนิ เสียงบ่นของ คุณย่า มักทำให้รสู้ กึ อึดอัดใจ เรือ่ งทีม่ กั จะโดน บ่นอยู่เป็นประจำ ก็เป็นเรื่องเพื่อน การออก นอกบ้านเพื่อไปทำกิจกรรมที่ได้รับมอบหมาย ให้ทำงานเป็นกลุม่ เรือ่ งการใช้โทรศัพท์ทน่ี าน เกินไป หนูไม่เข้าใจว่า ทำไมผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ ท่านน่าจะผ่านชีวิตวัยเด็กมาเหมือนอย่างหนู ทำไมท่านถึงพูดว่า การพูดคุยโทรศัทพ์นาน เป็นเรือ่ งของการเสียเวลา” ทัง้ ทีห่ นูเองก็อยาก พูดคุยกับเพื่อนๆ ตามประสาของเด็ก เพราะ ผู้ใหญ่บางทีก็คุยเหมือนสอนให้ทำโน่น ทำนี่ บางทีก็รู้สึกเบื่อที่ผู้ใหญ่ไม่เข้าใจ เคยคิดว่า อนาคตคงจะบ่ น แบบนี ้ ก ั บ น้ อ งของตั ว เอง หรือเปล่า มีหลายเรื่องที่คิดต่างกัน บางที การให้ เ ห็ น เหตุ ผ ลของหนู ผู ้ ใ หญ่ ก ็ ม องว่ า เป็ น เรื ่ อ งการเถี ย ง ซึ ่ ง หนู ค ิ ด ว่ า เมื ่ อ เรามี เหตุผลก็บอกให้ฟัง แต่ผู้ใหญ่ก็มักจะไม่ฟัง และเอาเหตุ ผ ลของตั ว เองเป็ น ที ่ ต ั ้ ง มี ร ู ้ ส ึ ก น้อยใจบ้างกับการไม่เข้าใจของผูใ้ หญ่ แต่วนั นี้ คุณย่าจากหนูไปแล้ว หนูกลับรูส้ กึ ว่า การมียา่ ที ่ ค อยห่ ว งใยหนู ตั ก เตื อ นสั ่ ง สอนหนู เรียกชือ่ หนูบอ่ ยๆ กลับทำให้รสู้ กึ ว่า หนูมี คุณค่า มีคนรักและห่วงใยแค่ไหนเวลา มี ป ั ญ หา การปรึ ก ษาผู ้ ใ หญ่ ใ นบ้ า นที ่ ม ี ประสบการณ์ดกี ว่าปรึกษาเพือ่ นรุน่ เดียวกัน เพราะเพือ่ นก็มปี ระสบการณ์ไม่ตา่ งกับเรา บางทีเวลาไม่กล้าพูดกับพ่อแม่ หนูกจ็ ะบอกกับ คุณย่า วันนีห้ นูไม่มคี ณ ุ ย่าแล้ว ไม่มคี นคอยบ่น อาจดูเหมือนว่าจะดี แต่ลึกๆ ในใจ มีคนบ่น ดีกว่าไม่มี เพราะมีคนห่วงดีกว่าไม่มคี นห่วง
สัมภาษณ์...ทีมสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ทำไมผู้สูงอายุบางคน “น้อยใจ(ได้ไหม)” “บ่นบ้าง(ได้เปล่า)” “เหงาใจ(ได้ตลอด)”? คงไม่เพราะ เด็กๆ หรือวัยรุน่ จะรูส้ กึ กับ ผูส้ งู อายุแต่ฝา่ ยเดียว แต่ผู้สูงอายุบางคนก็เข้าใจตัวเองดี ยอมรับว่าตัวเอง จู้จี้ ขี้บ่นกับ ลูกหลานก็เพราะเป็นห่วงทุกๆ เรือ่ งของทุกๆ คน รูส้ กึ กังวลใจแทน เมื่อลูกหรือหลานกลับบ้านไม่ตรงเวลา คนที่โดนบ่น คงไม่ใช่ เฉพาะกับเด็กๆ เท่านัน้ แม้ผใู้ หญ่ทท่ี ำงานแล้วบางท่านก็ยงั ไม่วาย ทีจ่ ะโดนบ่น เมือ่ กลับไม่ตรงเวลาในบางครัง้ ทำไมท่านเป็นห่วงอะไร กังวลอะไร กับลูกหลาน ทัง้ ทีท่ า่ นน่า จะใช้ ช ี ว ิ ต ผู ้ ส ู ง วั ย อย่ า งมี ค วามสุ ข โดยไม่ ต ้ อ งมาคิ ด ถึ ง สิ่งเหล่านี้แล้ว? คงเป็นธรรมชาติของมนุษย์ “ไม่รักจะห่วงทำไม” “ไม่รัก จะใส่ใจทำไม” “ไม่รักจะยอมให้คนอื่นเกลียดตัวเองทำไม” บ่นไป คนอื่นเขาก็ไม่ชอบ บ่นไปลูกหลานก็รู้สึกเบื่อหน่าย แต่ย ังไง ก็ต้องทำ ก็เพราะเขาเป็นลูกหลานของเรา คำพูดของคุณยาย ประนอมศรี ผู้สูงวัย อายุ 65 ปี ท่านเล่าชีวิตให้ฟังว่า “ใครก็ บอกว่าคนแก่ชอบพูดถึงอดีต ก็อยากมีอนาคตที่ดีก็ทำอดีต และปัจจุบนั ให้ดี คำสอนบางอย่างก็เป็นชีวติ ต่างยุคต่างสมัยก็จริง แต่ก็อยู่ในโลกใบเดียวกันนี้ เพียงแต่ต่างยุคต่าง พ.ศ. ลองเอา ไปใช้ดูบ้าง “กลับบ้านตรงเวลา” เกิดผลอย่างไร ไม่ใช้เวลากับ โทรศัพท์มากไป (เมือ่ ก่อนไม่ม)ี เขาเอาเวลาไปทำอะไรกัน ถามว่า รูไ้ หมว่า ลูกหลานรูส้ กึ อย่างไร รูซ้ ิ (อยากจะแกล้งไม่รบู้ า้ ง) แต่ถา้ ไม่รักก็ไม่สนใจหรอก (ไม่รู้เหมือนกันว่าทำไม) ก็ห่วงใยไปตาม ประสาคนแก่ สอนลูกหลานว่า อันนี้ดี อันนี้ไม่ดี ถามว่าเด็กๆ รู้หรือเปล่าว่าอันไหนดี อันไหนไม่ดี บางทีเด็กก็ไม่รู้หรอกนะ เราต้องสอนเขา เราเป็นผู้ใหญ่กว่าเขา ผ่านอะไรมามากกว่าเขา อย่างน้อยเราก็เห็นอะไรมาก่อนเขา แม้บางคนจะว่า เราหัวโบราณ สมัยนีม้ นั ต่างกัน เคยได้ยนิ คำว่า “กว่าจะรูเ้ ดียงสาหรือเปล่า” บางที เด็กๆ ก็คิดว่าสิ่งที่ตัวเองคิดถูกกว่าผู้ใหญ่คิด และบางทีผู้ใหญ่ ก็คดิ ว่าตัวเองถูกเสมอ ซึง่ ก็ไม่จริงเสมอไป “ต้นไม้ใหญ่อย่างยาย ไม่รู้ว่าวันไหนจะล้มลง แต่เพื่อให้ทุกคนได้ร่มเงา ก็ต้อง ยอมกันแดด กันฝนให้กับลูกกับหลาน” แต่สิ่งที่ยึดเหนี่ยว
ให้หัวใจเป็นสุขในฐานะที่เราเป็นคริสตชนก็คือ “ยายสวดทุกวัน สวดให้พระคุ้มครองลูกหลานของยาย สวดให้เขามีสุขภาพ ที่ดี มีงานทำที่ดี มีครอบครัวที่ดี” จะมีอะไรที่คนแก่อย่างยาย จะทำได้ดีกว่านี้ ยายก็อยากจะทำ แม้อะไรก็ดูจะเสื่อมสภาพ ตามอายุขัย แต่สิ่งที่ไม่เสื่อมเลยในชีวิตก็เห็นจะเป็น การไม่เสื่อม ศรัทธากับสิง่ ทีเ่ รายึดมัน่ ในคุณธรรมความดี ทำความดีไปเถอะลูก จนแก่เฒ่าสิ่งเหล่านี้ก็สอนกันต่อไปไม่รู้จบ อย่าโกรธคนแก่เลยนะ คนแก่นอ้ ยใจเก่ง พูดอะไรสะกิดใจก็จะร้องไห้แล้ว หัวใจเปราะบาง มาก เหงานะ เวลาลูกหลานไม่มาหา แต่สดุ ท้ายเมือ่ ไม่มาหา ก็ไป หาเขาเอง (ก็คดิ ถึงเขาหน่ะ) เขียนมาถึงตรงนี้ ก็ทำให้ผมรู้สึกไม่ได้ว่า “โชคดีแค่ไหนครับ ที ่ ม ี ผ ู ้ ส ู ง อายุ อ ยู ่ ใ นบ้ า น” ในวั น ที ่ 13 เมษายนของทุ ก ปี เป็ น “วั น ผู ้ ส ู ง อายุ แ ห่ ง ชาติ ” ผมจึงอยากเชิญชวนพี่น ้องทุกท่าน ลองกลับมาหาช่องว่างที่ทำให้ผู้สูงอายุกับคนในครอบครัวที่มอง ต่างมุมกัน กลับมามอง มาคิดในมุมเดียวกันบ้างบรรยากาศในบ้าน คงดีกว่านี่เยอะเลย ผมคิดว่า “คำอวยพรของผู้เฒ่า ผู้แก่ มีค่า มากกว่าทรัพย์สมบัติใดๆ” เพราะคำอวยพรนั้นนำความเจริญ รุ่งเรือง ความก้าวหน้า มาสู่ชีวิต” ขอยกคำจากหนังสือ บุตรสิรา มาชวนคิดสักนิดนะครับ “ลูกเอ๋ย จงเลี้ยงดูพ่อเจ้าในวัยชรา อย่าให้ท่านเศร้าโศกาตลอดอายุขัย” แม้สติปัญญาท่าน เสื่อมลง ก็จงอลุ้มอล่วยกับท่าน อย่าดูหมิ่นท่านในวัยที่เจ้า ยังแข็งแรง” ขอพระอวยพรทุกท่านครับ
⌫⌫ ⌫
เจาะลึกพิเศษ
⌫
ต้นเดือนเมษายนนี้เป็นการระลึกถึงพระทรมานของพระเยซูเจ้าและการสิ้นพระชนม์ของพระองค์ สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉบับนี้อยากให้ท่านผู้อ่านได้ทราบถึงความเป็นมาของ “การถอดพระ” ที่ยังคงมีอยู่ให้เห็นในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีด้วยกัน 3 วัด คือวัดคอนเซ็ปชัญ (คุณพ่อสุวนารถ กวยมงคล เจ้าอาวาส) วัดซางตาครูส้ (คุณพ่อวิทยา คูว่ ริ ตั น์ เจ้าอาวาส) และวัดแม่พระ ลูกประคำ กาลหว่าร์ (คุณพ่อไพฑูรย์ หอมจินดา เจ้าอาวาส) ซึง่ แต่ละวัดทีม่ กี ารถอดพระนัน้ มีประวัตทิ ย่ี าวนาน คุณพ่อทัง้ 3 ได้สรุป ความเป็นมาของการถอดพระและความเชื่อต่อเราคริสตชนไว้อย่างน่าสนใจติดตามอ่านได้เลยค่ะ
ความเป็นมาของพิธถี อดพระรูปพระมหาเยซูเจ้าวัดแม่พระผูป้ ฏิสนธินริ มล ชาวคอนเซ็ปชัญบางคน เห็นความสำคัญของวัน “พระตาย” มากกว่าการ มาวัดในวันอาทิตย์ ท่านต้องมาวัด วันพระตาย และต้องแบกบุษบก มีการเตรียมตัวอย่างดี ทั้งเสื้อผ้า และจิตใจ (น่าจะเป็นกุศโลบาย เรือ่ งการทำปัสกา) การถอดพระองค์ลงมาจากกางเขน สมัยก่อนทำในวัดบรรยากาศศักดิส์ ทิ ธิ์ ไม่มเี อ็ฟเฟคช่วยมากเหมือน สมัยนี้ จึงดูเป็นกิจศรัทธามากกว่าสมัยนี้ที่เหมือนการแสดงละคร กางเขนอยู่หน้าพระแท่น ม่านปิดด้านหน้า การบรรยาย การขับร้อง การดับเทียนทีละเล่มโดยผูท้ ำการดับเทียน แต่งกายแบบในพิธสี ดี ำ การขับร้องบรรยาย แต่ละตอนไพเราะ ประทับใจ (โดยสกุลโรดิเกส) (คุณเฉลีย่ อนงค์จรรยา) บรรยากาศศักดิส์ ทิ ธิ์ น่าฟืน้ ฟู จากการค้นคว้าทะเบียนวัด หมอหยง (เดไปวา Depaiva) ถึงแก่กรรมเมือ่ 2487 อายุ 75 ปี ถึงปัจจุบนั 140 ปี มีการถอดพระองค์ลงมาจาก กางเขน โดยมีหวั หน้า ดิโกแดมโม ชือ่ นายหยาด ดารุทยาน (เดออร์ตา) Dehorta และมีกลุม่ ทีส่ บื ทอดมา คือ สกุล โรดิเกส (Rodegues) (อนงค์จรรยา) คณะนักร้องในพิธจี ะเป็นสกุลเดียส (Dies) ฟรองเชกา (francega) และอีกหลายคณะทำงาน (ทุกๆ สกุลมีสว่ นร่วม) คำบอกเล่าจากคนเก่าแก่ ในสมัยทีย่ งั ไม่มีหนังสืออนุสรณ์บนั ทึก “วันพระตาย” เป็นวันที่ “ขอทาน” จะมาทีว่ ดั เพือ่ รับแจกทาน และการเลีย้ งอาหารตัง้ แต่หน้าวัดจนถึงท่าน้ำวัด สกุลผูม้ ฐี านะดีของบ้านเราจะแจกทานชาวบ้านจะทำอาหารจำพวก ขนมจีน–แกง–ขนมหวาน (มากชนิดทีเ่ รียกว่า ใส่โอ่ง–ใส่ไหมาเลีย้ งทัง้ วัน) พิธถี อดพระรูปพระมหาเยซูเจ้าวัดแม่พระผูป้ ฏิสนธินริ มล (คอนเซ็ปชัญ) พิธีถอดพระรูปฯ มิใช่การแสดง แต่เป็นการระลึกถึงพระมหาทรมานของพระเยซูเจ้าบนเขากัลวาริโอ ซึ่งทางวัดคอนเซ็ปชัญได้จัดให้มี พิธสี บื ทอดกันมาจากบรรพบุรษุ นับร้อยๆ ปี จากหนังสือ 300 ปี วัดคอนเซ็ปชัญ มีคำกล่าวเล่าว่า ในสมัยคุณพ่อกียาร์ด (ช่วงปี ค.ศ. 1904 – 1914) ได้สง่ั พระรูปองค์ทใ่ี ช้ในพิธที กุ ๆ ปี จนถึงปัจจุบนั นีเ้ ข้ามา มีขนาดใหญ่เกือบเท่าตัวคน ถอดพระกรได้สองท่า เพือ่ ให้แห่ในวันศุกร์ใหญ่ (วันศุกร์ ศักดิส์ ทิ ธิ)์ แทนพระรูปองค์เก่าทีป่ จั จุบนั เห็นอยูใ่ นสุสานวัดคอนเซ็ปชัญทุกวันนี้ ซึง่ ทำด้วยเหล็ก และคุณพ่อกียาร์ดเห็นว่าพระรูปองค์เก่านี้ เวลา นำออกแห่พระกรก็ยังกางเก้งก้างไม่น่าดู **พิธถี อดพระเป็นการส่งเสริมความเชือ่ ศรัทธาของชาวคอนเซ็ปชัญ และชุมชนใกล้เคียง เป็นภาพประทับใจในแต่ละปีทค่ี ริสตชน ได้มาร่วมพิธถี อดพระของทีน่ ่ี
ประวัตคิ วามเป็นมาของพิธรี ะลึกถึงพระมหาทรมานของพระเยซูคริสตเจ้า (พิธถี อดพระ) มีประวัตอิ นั ยาวนาน ซึง่ ไม่มกี ารบันทึกเป็นหลักฐานแน่นอน จากคำบอกเล่าของสัตบุรษุ ทีเ่ ป็น ลูกวัดซางตาครู้ส (กุฎีจีน) ดั้งเดิมนั้น ได้เล่าว่า ในสมัยพระคุณเจ้าหลุยส์ โชแรง ได้ประกาศให้ งดการทำพิธถี อดพระในวัด คุณพ่อ อังแซลม์ เสงีย่ ม ร่วมสมุห์ ซึง่ เป็นเจ้าอาวาสได้ไปขออนุญาต ให้กระทำพิธีถอดพระซึ่งเป็นประเพณีดั้งเดิมของวัดซางตาครู้ส และอาจจะนับได้ว่าเป็นวัดแรกที่มี การกระทำพิธีนี้ พระคุณเจ้าจึงอนุญาตให้ทำพิธีนี้ภายนอกบริเวณลานวัด เพราะมิใช่เป็นพิธีกรรมโดยตรง แต่เป็นประเพณีดั้งเดิมของทางวัด ถ้านับตัง้ แต่นน้ั อยูใ่ นช่วงปี ค.ศ.1942 จนถึงปัจจุบนั รวมเวลากว่า 68 ปีมาแล้ว ซึง่ ถ้ามีการกระทำพิธนี ก้ี อ่ นหน้านี้ ก็จะเป็นเวลาทีย่ าวนานกว่า ทีไ่ ด้กล่าวไว้ การกระทำพิธนี ้ี ถือว่าเป็นประเพณีประจำปีทส่ี ำคัญยิง่ ของวัด และมีผคู้ นมาร่วมกันมากมาย อาจจะมากกว่าการฉลองวัดก็วา่ ได้ ขั้นตอนของพิธีถอดพระ มีขั้นตอนที่ชวนศรัทธา โดยในวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ เริ่มเวลา 19.00 น. พระสงฆ์กล่าวนำถึงความสำคัญ ของการมาร่วมในพิธรี ะลึกถึงพระมหาทรมาน และการสิน้ พระชนม์ของพระเยซูคริสตเจ้า โดยเริม่ ด้วยการเดินรูปภาคที่ 1 จนถึงภาคที่ 11
ซึ่งจัดให้แต่ละกลุ่มมาร่วมแบกกางเขนในแต่ละภาค เพื่อมีส่วนร่วมในพระมหาทรมานของ พระเยซูคริสตเจ้า เมือ่ จบภาคที่ 11 พระสงฆ์กล่าวนำรำลึกถึงการสิน้ พระชนม์ การนำพระศพ ลงจากไม้กางเขน แม่พระรับพระศพของพระเยซูคริสตเจ้า และนำพระศพของพระองค์ไปไว้ในคูหา ซึง่ เป็นบุษบกใหญ่ทท่ี ำด้วยไม้สกั สวยงามมาก และจบลงโดยการนมัสการกางเขน พิธรี ะลึกถึงพระมหาทรมานและการสิน้ พระชนม์ของพระเยซูคริสตเจ้า (พิธถี อดพระ) มีความสำคัญต่อความเชือ่ ของคริสตชนอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิง่ ต่อสัตบุรษุ วัดซางตาครูส้ มิ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งประเพณี ส ื บ ทอดต่ อ กั น มาเท่ า นั ้ น แต่ เ น้ น ถึ ง บทบาทหน้ า ที ่ ข องสั ต บุ ร ุ ษ ใน ครอบครัวต่างๆ ที่เข้ามามีบทบาท มีส่วนร่วมในพิธีระลึกถึงพระมหาทรมาน เป็นการสืบทอด เหมือนกับสืบสายเลือดเลย ก็วา่ ได้ ทีส่ ำคัญซึง่ เน้นมากทีส่ ดุ คือ ผูท้ ร่ี บั บทบาทต่างๆ ไม่วา่ จะเป็นพระนางมารีย์ ยอแซฟชาวอริมาเทีย พวกยูเดว และพลทหาร ต่างก็มีจิตสำนึกที่จะเข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในความทุกข์ทรมานของพระเยซูคริสตเจ้า และเชิญชวนให้สัตบุรุษ มีความศรัทธามากยิ่งขึ้นจากการจำลองพิธีพระมหาทรมานและการสิ้นพระชนม์ของพระเยซูคริสตเจ้า ประกอบกับแสง สี เสียงที่นำความ ตื่นตาตื่นใจ มาให้กับผู้มาร่วมในพิธี บทสรุปคือ พี่น้องทุกท่านที่สนใจและศรัทธามาร่วมในพิธี มิใช่มาเพื่อชมการแสดง แต่มาเพื่อเข้าไป มีสว่ นร่วมในพระมหาทรมาน และการสิน้ พระชนม์ของพระเยซูเจ้า ทำให้เราเข้าใจว่า พระเยซูเจ้าต้องทนทุกข์ทรมานมากสักเพียงใด และเหตุใด พระองค์จึงต้องทนทุกข์ทรมานมากถึงเพียงนี้ คงมีคำตอบเดียวคือ เพราะรักเราซึง่ เป็นน้องของพระองค์นน่ั เอง และทีส่ ำคัญยิง่ อีกประการหนึง่ คือ ความตายของพระเยซูคริสตเจ้าทำให้เรามนุษย์ ได้รับการไถ่ให้รอดพ้นจากบาปมาสู่ชีวิตใหม่ในการกลับคืนพระชนมชีพของพระองค์ พิธนี ไ้ี ด้สบื ทอดต่อกันมาเป็นประเพณีทม่ี คี ณ ุ ค่าสำหรับชาววัดซางตาครูส้ และจะดำรงสืบต่อไปตราบนานเท่านาน
ประวัตคิ วามเป็นมาของรูปพระศพพระเยซูเจ้าของวัดกาลหว่าร์ รูปพระศพพระเยซูเจ้า หรือรูปพระตาย ตามคำเรียกขานของสัตบุรษุ วัดกาลหว่าร์ เป็นรูปไม้แกะสลัก ตามประวัตทิ ม่ี ใี นหนังสือ 100 ปีศรีกาลหว่าร์ มี ผูเ้ ขียนถึงรูปพระตายนีอ้ ยูบ่ า้ ง ผูเ้ ขียนได้ใช้นามปากกาว่า “เบนยามิน” และได้เขียนไว้ ว่าไม่มใี ครทราบแน่วา่ รูปนีม้ ตี น้ เดิมมาจากไหน มีแต่คำร่ำลือกันว่า “รูปนีล้ อยน้ำมาตัง้ แต่นานแล้ว ก่อนสร้างวัดปัจจุบนั เสียอีก” ซึง่ ในสมัยนัน้ ชาวโปรตุเกส มาตัง้ ถิน่ ฐานอยูท่ ค่ี า่ ยแม่พระลูกประคำ รูปนีจ้ งึ ได้อยูใ่ นความดูแลของผูส้ บื ทอดของชาวโปรตุเกสมาโดยตลอดระยะเวลา 200 กว่าปี ในอดีตนัน้ รูปพระตายจะถูกเก็บไว้ในลังไม้ และนำออกมาแห่เฉพาะในวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์เท่านั้น เมื่อเสร็จพิธีพระรูปก็จะถูกเก็บไว้ในลังไม้อีกจนถึงวันศุกร์ ศักดิ์สิทธิ์ในปีถัดไป การไม่มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลรูปพระลักษณะนี้กอรปกับการเก็บไว้ในลังไม้ตลอดเวลา พระรูปนี้จึงไม่ได้มีการบำรุงรักษา ุ ค่า เท่าทีค่ วรจึงชำรุดตามกาลเวลาจนมาถึงสมัยของคุณพ่อสุรสิทธิ์ ชุม่ ศรีพนั ธุ์ มาเป็นเจ้าอาวาสทีว่ ดั กาลหว่าร์ได้เล็งเห็นว่ารูปพระตายนีม้ คี ณ ต่อจิตใจและความเชื่อความศรัทธาของสัตบุรุษจึงเห็นควรที่จะเชิญพระรูปนี้ให้อยู่ประจำในที่ที่เหมาะสม และสามารถเปิดโอกาสให้สัตบุรุษ ทุกคนสามารถมาเยี่ยมชมและสวดได้ตลอดเวลาจึงได้เชิญพระรูปนี้ตั้งอยู่ในห้องซาคริสเตียบริเวณหลังวัดตั้งแต่นั้นมา อัศจรรย์นั้นอาจมิได้ เกิดจากการลอยน้ำมาของรูปพระตายแต่สามารถจะกล่าวได้วา่ อัศจรรย์ทไ่ี ด้เกิดขึน้ นัน้ คือการทีพ่ ระเป็นเจ้าได้ดลใจให้ชาวโปรตุเกสกลุม่ นัน้ เลือก ทีจ่ ะตัง้ ถิน่ ฐานอยูท่ ่ี “ค่ายแม่พระลูกประคำ1” ซึง่ ได้เป็นรากฐานความเชือ่ ให้แก่ลกู หลานวัดกาลหว่าร์สบื มาจนถึงปัจจุบนั ร่วมสองร้อยกว่าปีแล้ว พิธกี รรมวันศุกร์ศกั ดิส์ ทิ ธิแ์ ละการแห่พระศพพระเยซูเจ้า พิธกี รรมประจำวันศุกร์ศกั ดิส์ ทิ ธิข์ องวัดกาลหว่าร์ในปัจจุบนั มีแต่เพียงพิธเี ดียว คือพิธีระลึกถึงพระทรมานของพระคริสตเจ้า โดยจัดไว้ในตอนค่ำ และในตอนท้ายพิธีจึงเป็นการแห่และจูบรูปพระศพตามประเพณีปฏิบัติ รูปพระศพนี้จึงได้รับการตบแต่งและเชิญมาวางไว้ภายในวัดตั้งแต่ภาคบ่ายของวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ โดยมีผ้าคลุมไว้ เพื่อมิให้รูปพระศพนี้เข้ามา เกีย่ วข้องกับพิธจี นกว่าพิธรี ะลึกถึงพระทรมานของพระคริสตเจ้าจะเสร็จสิน้ แล้ว พระสงฆ์จงึ เปิดผ้าคลุมพระศพ ถวายกำยาน และแห่รปู พระศพ จากนัน้ จึงเป็นการจูบรูปพระศพในตอนท้าย รูปพระศพพระเยซูเจ้า ต่อความเชื่อความศรัทธาของเราคริสตชน อันเนื่องจากรูปพระศพนี้มีขนาดใหญ่เท่าคนจริงๆ มีรอยฟกช้ำ ดำเขียวตามแขนขา มีแผลเปรอะรอยเลือดไหลเป็นทางทัว่ สรรพางค์กาย ประหนึง่ ว่าเป็นพระศพจริงขององค์พระเยซูเจ้าทีถ่ กู ทรมานอย่างสาหัส จนสิน้ พระชนม์อยูต่ อ่ หน้าทุกคน ณ ขณะนี้ ดังนัน้ โดยรูปพระศพเองก็เป็นรูปทีส่ ามารถเตือนความเชือ่ ความศรัทธาของสัตบุรษุ ได้เป็นอย่างดี สัตบุรุษหลายๆ คนที่ได้มานมัสการและเห็นพระศพก็จะร้องไห้แบบไม่อายใครต่อหน้าพระศพของพระเยซูเจ้า และเชื่อได้ว่าสัตบุรุษทุกคน ต่างก็ได้รับการเตือนใจ ให้ตระหนักถึงความรักของพระที่มีต่อเราทุกคน เตือนใจให้เราสำนึกถึงการเป็นทุกข์ถึงบาปและการกลับใจ โดยที่ ไม่จำเป็นต้องมีคำกล่าวเตือนใดๆ จากพระสงฆ์อีกเลย นอกจากนี้แล้ว จากความเชื่อความศรัทธาของสัตบุรุษรุ่นแล้วรุ่นเล่าของชุมชน วัดกาลหว่าร์เอง และจากคำเล่าขานในความเชือ่ ความศรัทธาของสัตบุรษุ จากทีอ่ น่ื ทีเ่ คยมาวอนขอพระเมตตาและได้รบั อัศจรรย์จากรูปพระตายนี้ ก็ได้ทำให้ความเชื่อและความศรัทธาต่อรูปพระตายนี้ทวียิ่งๆ ขึ้น จนถึงขนาดว่าสัตบุรุษบางคนได้ตั้งใจและตั้งตารอให้ถึงวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อจะได้มีโอกาสมาพบพระเยซูเจ้าผู้เป็นที่รักในรูปพระศพที่วัดกาลหว่าร์อีกครั้ง พระศพนี้จึงเป็นเสมือนศูนย์กลางความรัก ความเชื่อ และความศรัทธาไม่เพียงแต่ของชุมชนวัดกาลหว่าร์ให้ยง่ั ยืนต่อไปชัว่ ลูกหลานเท่านัน้ แต่ยงั ของเราคริสตชนทุกคนอีกด้วย
บอกข่าวเล่าสาร
พิธปี ลงศพคุณพ่อยังมารี ดังโตแนล อธิการเจ้าคณะ MEP วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม 2010 พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธมี สิ ซาปลงศพ คุณพ่อยังมารี ดังโตแนล อธิการเจ้าคณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส พร้อมด้วยคณะสงฆ์และสัตบุรษุ จำนวนมาก
ฉลองวัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา วั น เสาร์ ท ี ่ 13 มี น าคม 2010 พระสั ง ฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รัตน์ เป็นประธานใน พิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณโอกาสฉลองวัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา พร้อมด้วยพระสงฆ์ทม่ี าร่วมงานกว่า 30 องค์ และบรรดาสัตบุรษุ จำนวนมาก
ฉลองบ้านเณรเล็กยอแซฟ วันอาทิตย์ที่ 14 มีนาคม 2010 เวลา 10.00 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานใน พิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสสมโภชนักบุญยอแซฟ และฉลอง 46 ปี สามเณราลัย นักบุญยอแซฟ ร่วมกับ พระสั ง ฆราช ยอแซฟ สั ง วาลย์ ศุ ร ะศรางค์ พระสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รัตน์ พระสงฆ์จำนวน 15 องค์ และบรรดาสามเณรและสัตบุรษุ
สูญเสียบิดา วันเสาร์ที่ 20 มีนาคม 2010 เวลา 10.00 น. คุณพ่อกิตติศักดิ์ กาญจนธานินทร์ เป็นประธานในพิธีมิสซาปลงศพ ฟรังซิสโก วิจิตร์ กาญจนธานินทร์ ผู้เป็นบิดา ร่วมกับบรรดาพระสงฆ์ และบรรดาญาติพี่น้องมาร่วมไว้อาลัย ณ วัดพระเยซูเจ้า เสด็จขึ้นสวรรค์ และเคลื่อนศพไปฝังยังสุสานศานติคาม ฟื ้ น ฟู จ ิ ต ใจชมรมคนหู ห นวก คาทอลิกแห่งประเทศไทย วันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ 2010 คุ ณ พ่ อ ถิ ร ลั ก ษณ์ วิ จ ิ ต รวงศ์ ผู้จัดการแผนกคริสตชนฆราวาส ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ จัดเข้าเงียบฟื้นฟูจิตใจ ชมรมคนหู ห นวกคาทอลิ ก แห่ ง ประเทศไทย ณ สว่ า งรี ส อร์ ท จ.เพชรบุรี
⌫⌫ ⌫
เปิดคอร์สการอบรมคำสอนภาคฤดูร้อน วันจันทร์ท่ี 15 มีนาคม 2010 เปิดคอร์สการ อบรมคำสอนภาคฤดูร้อนสำหรับครูจิตตาภิบาล ครู ค ำสอน ครู ค าทอลิ ก ฆราวาสแพร่ ธ รรม เยาวชนสามเณรและผู้ฝึกหัดคณะนักบวชต่างๆ ตัง้ แต่วนั ที่ 15 มีนาคม – 24 เมษายน 2553 ณ ห้องเรียนวิทยาลัยแสงธรรม ซึง่ มี 3 ชัน้ ปี คือ ปี 1 จำนวน 73 คน ปี 2 จำนวน 49 คน และปี 3 จำนวน 25 คน ซึ่งปีนี้เป็นปีที่ 25 (รุ่นที่ 25) โดยมีคุณพ่อวิรัช นารินรักษ์ คณบดีคณะศาสนศาสตร์ วิทยาลัยแสงธรรม เป็นประธานในพิธีมิสซาฯ ณ วัดบ้านเณรคณะพระมหาไถ่ ร่วมกับ คุณพ่อวัชศิลป์ กฤษเจริญ รองหัวหน้าสาขาวิชาคริสตศาสนศึกษา วิทยาลัยแสงธรรม และคุณพ่อชาย ขัณฑโฮม อธิการบ้านเณรพระมหาไถ่
พิธีพิจารณาความตั้งใจ อาสนวิหารอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ จัดพิธีพิจารณาความตั้งใจครั้งที่ 3 ในเทศกาลมหาพรต สัปดาห์ท่ี 5 วันอาทิตย์ท่ี 21 มีนาคม 2010 เวลา 08.30 น. มีผรู้ บั เลือกสรรฯ มาเข้าพิธฯี จำนวน 16 คน พร้อมกับพ่อแม่อุปถัมภ์ โดยคุณพ่อณรงค์ รวมอร่าม เป็นประธาน และคุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ร่วมในพิธีฯ และพวกเขาจะรับศีลล้างบาป ศีลกำลัง และศีลมหาสนิท ในวันเสาร์ ศักดิส์ ทิ ธิท์ ่ี 3 เมษายน 2010 จำนวน 21 คน รับศีลกำลัง 1 คนและศีลมหาสนิท 2 คน รวมทัง้ หมด 24 คน วันครอบครัวคาทอลิกโรงเรียนมาแตร์เดอีวทิ ยาลัย วันเสาร์ท่ี 6 มีนาคม ทีผ่ า่ นมา นักเรียนโรงเรียน มาแตร์เดอีวิทยาลัย จัดกิจกรรมวันครอบครัว คาทอลิก โดยมี คุณพ่อสุพจน์ ฤกษ์สจุ ริต ได้นำ คณะครูนกั เรียนและผูป้ กครอง เยีย่ มวัดทัง้ 3 วัด ครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ “เยซู...มารีอา...ยอแซฟ” คือวัดพระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ วัดมารียส์ มภพ และวัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา
ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนเมษายน 2010 1 เม.ย.
วันพฤหัสศักดิส์ ทิ ธิ์ พิธรี อ้ื ฟืน้ คำสัญญาของการเป็นสงฆ์ และเสกน้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ์ และร่วมฉลอง 25 ปีชวี ติ สงฆ์ เวลา 09.30 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ 2 เม.ย. วันศุกร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ มรรคาศักดิส์ ทิ ธิ์ 14.00 น. และพิธเี คารพกางเขน เวลา 15.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ 3 เม.ย. พิธีฟื้นฟูจิตใจและพบพระอัครสังฆราชสำหรับผู้เตรียมรับศีลล้างบาปและ พ่อแม่อปุ ถัมภ์ ณ ห้องประชุม โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา และในเวลา 11.00 น. พิธเี อฟฟาธาและเจิมน้ำมันศีลล้างบาป 6 เม.ย. ประชุมกรรมการบริหาร บ้านผูห้ ว่าน เวลา 09.30 น. 6-9 เม.ย. สัมมนาพระสงฆ์อคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำปี 2010 17 เม.ย. พิธปี ฏิญาณตนตลอดชีพ สุวรรณสมโภช หิรญ ั สมโภช ของคณะภคินพี ระหฤทัย ของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯพิธสี หบูชามิสซาขอบพระคุณ โดย พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชแห่งอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ณ อารามพระหฤทัย คลองเตย กรุงเทพฯ เวลา 10.00น. 19-23 เม.ย.ประชุมงานทิศทางระดับประเทศ บ้านผูห้ ว่าน
ค่ายปัสกา 2010 วันพฤหัสบดีท่ ี 18 เมษายน 2010 เวลา 17.00 น. คุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ผู้อำนวยการ ฝ่ า ยงานอภิ บ าล เป็ น ประธานในพิ ธ ี ม ิ ส ซา บูชาขอบพระคุณ โอกาสเปิดค่ายปัสกา ปี 2010 อย่างเป็นทางการ โดยมี คุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ ผู้จัดการแผนกเยาวชน พร้อมด้วยผู้ประสาน งานเยาวชนภายในค่าย จำนวน 45 คน และ เยาวชนจากวั ด ต่ า งๆ จำนวน 101 คน ณ บ้านสวนยอแซฟ ประชาสัมพันธ์...
“ศีลมหาสนิท ศูนย์กลาง ชีวติ ครอบครัวและชีวติ สงฆ์” อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอเชิญทุกท่าน ร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสปิดปี พระสงฆ์ พร้อมทัง้ บวชพระสงฆ์ “สังฆานุกร ยอแซฟ สุพฒ ั น์ หลิวสิร”ิ และรือ้ ฟืน้ ศีลสมรส ครบรอบ 50 ปี 40 ปี และ 25 ปี ในวันเสาร์ท่ี 12 มิถุนายน ค.ศ. 2010 เวลา 10.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน
⌫⌫ ⌫
เกร็ดความรู้คำสอน
สวัสดีพน่ี อ้ งทีร่ กั พระเยซูเจ้าทรงกลับคืนพระชนม์แล้ว อัลเลลูยา เราต่าง ก็รกู้ นั ดีวา่ การฉลองปัสกาเป็นวันฉลองทีส่ ำคัญทีส่ ดุ สำหรับ คริสตชน พระเยซูกลับคืนชีพ ชนะบาปและความตาย เราพบว่า มีคริสตชนจำนวนมากจริงๆ ทีม่ าขอรับศีลอภัยบาป ในช่วงนี้ และมีพน่ี อ้ งจำนวนไม่นอ้ ยทีไ่ ม่คอ่ ยได้มาวัดก็พากันมาเข้าวัด เป็นภาพทีน่ า่ ประทับใจไม่นอ้ ย ในช่วงนีเ้ รายังได้รบั สิง่ คล้ายศีล หลายอย่าง เช่น ใบลาน น้ำเสก ไฟเสก ไข่ปสั กาฯ ต้องขอบคุณ พระเป็นเจ้าที่ให้อุปกรณ์ช่วยเหลือเรา ให้ดำเนินชีวิตได้ อย่างดี บรรยากาศแห่งความสุข ความยินดีมที ว่ั ไป เราทักทาย สุขสันต์วนั ปัสกากันด้วยความสุข ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นการ แสดงออกถึงจิตสำนึกถึงความยินดีทเ่ี ราแต่ละคนมี พีน่ อ้ งทีร่ กั นอกเหนือจากนีก้ ารฉลองปัสกามีความหมาย อะไรกับชีวติ ประจำวันของเรา การทีพ่ ระเยซูเจ้ากลับคืนชีพ เป็นการก้าวข้ามจากสภาพหนึ่งมาสู่สภาพที่ดีกว่า จาก สภาพศพที่เน่าเปื่อย น่ารังเกียจ มาสู่สภาพที่น่าชื่นชม เราทิง้ สิง่ ทีเ่ น่าเหม็นในชีวติ การคดโกง การคิดร้ายต่อกัน อคติ ความจงเกลียดจงชัง การแก้แค้น การไม่ให้เกียรติกันฯ ไว้ข้างหลัง แล้วเริ่มที่จะสร้างสิ่งที่ตรงกันข้ามกับสิ่งไม่ดี ไม่งามในชีวติ นีค่ อื การกลับคืนชีพคือการฉลองปัสกาทีแ่ ท้จริง เราพบว่าหลายครัง้ ในชีวติ เรายังคงชอบทีจ่ ะอยูก่ บั ซากศพ กับสิ่งที่น่ารังเกียจ โดยเต็มใจที่จะประนีประนอมกับมัน รูท้ ง้ั รูว้ า่ มันเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ดี แต่เราก็พยายามหาเหตุผลทีจ่ ะอยู่ ร่วมกับมันถึงพระเยซูเจ้ากลับคืนชีพแล้วก็เรือ่ งของพระองค์ มีพี่น้องหลายคนถามว่าถ้าพิจารณาถึงสถานการณ์ บ้านเมืองของเราในขณะนีแ้ ละเมือ่ คิดถึงปัสกาของพระเยซูเจ้า เราคริสตชนควรวางตัวอย่างไร พีน่ อ้ งทีร่ กั เมือ่ ก่อนเราตำหนิ เด็กอย่างรุนแรงทีท่ ำร้ายกันเพียงเพราะใส่เสือ้ คนละสถาบัน แต่ปจั จุบนั เป็นผูใ้ หญ่เสียเองทีค่ ดิ จะประหัตประหารกันเพียง เพราะใส่เสื้อคนละสี ใครจะอยู่เสื้อสีอะไรมันเป็นสิทธิ์ ส่วนบุคคล เราอาจจะไม่ชอบอีกสีก็ไม่แปลก คนอื่นก็มี สิทธิ์นี้เช่นเดียวกับเรา แต่สิ่งที่คริสตชนทำไม่ได้ก็คือการ จงเกลียดจงชังในความเป็นบุคคลของคนที่เราไม่ชอบ อยากทำร้าย อยากฆ่าแกงฯ นี่เป็นผลของการเป็นทาส ของบาป เป็นซากศพ ที่เราคริสตชนต้องก้าวพ้นไปให้ได้ จริงอยู่ที่พระเยซูไม่ได้สอนให้ประนีประนอมกับความเลว แต่พระองค์ก็ไม่เคยสอนให้จงเกลียดจงชัง ทำร้ายคนที่ ไม่ดี คนทีค่ ดิ เห็นไม่ตรงกับเรา ศาสดาของเราชือ่ เยซู พวกเรา รูจ้ กั พระองค์ดี พระองค์สอนให้รกั ใครก็ตามไม่วา่ จะอยูส่ ไี หน ถ้าสอนนอกเหนือจากนี้ ก็ไม่ใช่ผทู้ เ่ี ราต้องติดตาม พีน่ อ้ งทีร่ กั ถ้าเราชอบฝ่ายหนึ่งและคิดทำร้ายอีกฝ่ายหนึ่ง ไม่วา่ ด้วย เหตุผลใดก็ตาม เรากำลังกอดซากศพสิง่ เน่าเหม็น และมองข้าม การกลับคืนชีพของพระเยซูเจ้า ทีส่ อนให้รกั กัน ถ้าเรารักใคร ไม่ว่าเขาจะทำอะไรผิด เราก็มีข้อแก้ตัวให้เขาได้ คนอื่นๆ ก็ทำเช่นนีเ้ หมือนกับเรา มิใช่หรือ พี่น้องที่รักเราสามารถสร้างสันติสุขได้ เริ่มจากตัวเรา ก่อน ในครอบครัวเราจะให้เกียรติกนั และกัน เคารพในความ เป็นบุคคลของกันและกันเขาอาจจะรักใครชอบสีไหนเป็น พิเศษไม่วา่ แต่จะมีประโยชน์อะไรถ้าพีน่ อ้ งต้องทะเลาะกัน พ่อแม่ก็ผิดใจกัน และไม่มีสันติสุขในครอบครัว สิ่งที่แย่ กว่านั้นก็คือบางทีเป็นตัวเราเองที่เป็นฉนวนความคิดเห็น ที่รุนแรงในบ้าน ขอให้เรากลับคืนชีพพร้อมกับพระเยซูเจ้า ทิ้งความอคติ ซากศพ ทั้งหลายไว้ข้างหลัง ก้าวเข้าสู่มิติ แห่งความรัก ให้อภัยคนทีอ่ ยูค่ นละสีกบั เรา ดังทีพ่ ระเยซูเจ้า ผูก้ ลับคืนชีพได้ทรงสอนอย่าให้พระเยซูเจ้าตายฟรี เสียดาย พระเยซูเจ้า ทรงกลับคืนชีพแล้ว อัลเลลูยา อัลเลลูยา อัลเลลูยา ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพีน่ อ้ งทุกท่านครับ
คำว่า “ปัสกา” ตรงกับภาษาฮีบรู ว่า “Paschal” และภาษาอังกฤษใช้คำว่า “passover” แปลว่า “ผ่านเว้น” เป็นเทศกาลที่ชาวยิวระลึกถึงการที่ พระเจ้าทรงนำพวกเขาออกจากการเป็นทาสในอียิปต์ ในช่วงประมาณ 1,500 ปี ก่อนคริสตกาล โดยในคืนก่อนทีฟ่ าโรห์จะยอมปล่อยชาวอิสราเอลให้ออกเดินทาง พระเจ้าทรงสำแดงอิทธิฤทธิใ์ ห้เกิดภัยพิบตั ปิ ระการที่ 10 หลังจากทีฟ่ าโรห์ปฏิเสธ ทีป่ ล่อยพวกอิสราเอล ตามคำบัญชาของพระเจ้ามาแล้ว 9 ครัง้ ภัยพิบตั ปิ ระการที่ 10 คือ ทูตสวรรค์จะเข้าไปในทุกครัวเรือนของชาวอียปิ ต์ เพื่อปลิดชีพของบุตรหัวปีของทุกครอบครัว ยกเว้นแต่ครอบครัวทีเ่ ชือ่ ฟังพระเจ้า โดยการ นำเอาเลือดของลูกแกะมาทาไว้ที่ประตูบ้าน ของตน “บ้านใดได้กระทำตามที่พระเจ้าทรง บัญชาทูตสวรรค์กจ็ ะไม่เข้าไปในบ้าน แต่จะ “ผ่าน เว้นไป” (Passover) และบุตรหัวปีของ ครอบครัวนัน้ ก็จะรอดตาย!” พิธปี สั กาในพระคัมภีร์ พิธปี สั กา เป็นพิธที ถ่ี กู กล่าวถึงครัง้ แรกในหนังสืออพยพ ซึง่ ระบุวา่ พระเจ้าทรง กำหนดให้ชาวอิสราเอลถือปฏิบตั ทิ กุ ปี เพือ่ เป็นการระลึกถึงเหตุการณ์เมือ่ พระองค์ ทรงนำอิสราเอลให้หลุดพ้นจากความเป็นทาสของอียิปต์ เป็นไทแก่ตนเอง ปัสกา เป็นเหมือนเครือ่ งหมายเพือ่ บอกถึง “ชนชาติอสิ ราเอล” แท้ เนือ่ งจาก ในหนังสืออพยพ เมือ่ อิสราเอลเป็นทาสอยูใ่ นอียปิ ต์นน้ั พระเจ้าทรงตัง้ พิธปี สั กาขึน้ เพื่อเป็นเครื่องหมายสำหรับพระเจ้าในภัยพิบัติครั้งสุดท้าย ที่พระเจ้าจะทรงพราก บุตรหัวปีแห่งอียปิ ต์ไป แต่จะทรงผ่าน (passover หรือ skip over) บ้านใดก็ตาม ทีท่ าเลือดแกะปัสกา อันเป็นเครือ่ งหมายของพิธปี สั กาติดไว้ทห่ี น้าบ้าน จึงเป็นทีม่ า ของชื่อเรียกของพิธีนี้ พิธปี สั กา มีชอ่ื เรียกอีกอย่างว่า เทศกาลขนมปังไร้เชือ้ เนือ่ งจากในเทศกาล ดังกล่าว มีขอ้ กำหนดทีใ่ ห้รบั ประทานขนมปังไร้เชือ้ เป็นเวลา 7 วัน ทัง้ นีเ้ พือ่ เป็น เครือ่ งรำลึกว่า พระเจ้าทรงเลือกอิสราเอลเป็นชนชาติบริสทุ ธิข์ องพระเจ้า ไม่ปะปน กับชนชาติ หรือ เชือ้ ชาติอน่ื และกำหนดให้ชาวต่างชาติทต่ี อ้ งการเข้าร่วมพิธปี สั กา ต้องผ่านพิธีเข้าสุหนัตก่อน เพื่อแสดงถึงการเป็นชนชาติของพระเจ้า ในหนังสืออพยพ พระเจ้าทรงให้ชาวอิสราเอลกินขนมปังไร้เชือ้ เป็นเวลา 7 วัน โดยเริม่ จากเย็นวันที่ 14 ของเดือนแรกไปจนกระทัง่ เย็นวันที่ 21 ของเดือนดังกล่าวจะต้องปัดกวาดบ้าน ให้ปราศจากเชื้อใดใด หากผู้ใดรับประทานขนมปัง ที่มีเชื้อในช่วงเวลาดังกล่าว จะถูกอัปเปหิออกจาก ชุมชน และในวันที่ 7 กำหนดให้เป็นวันเฉลิมฉลอง บริสุทธิ์ของพระเจ้า สำหรับคริสตชน “ปัสกา” มีความหมายว่า เป็น การผ่ า นความทุ ก ข์ สู ่ ค วามยิ น ดี โ ดยอาศั ย การ ทนทุกข์ทรมาน การสิน้ พระชนม์ และการกลับคืนชีพ ของพระเยซูคริสต์ ซึง่ แท้จริงแล้วก็คอื การฉลองการ ได้รบั ชีวติ ทีเ่ ป็นอิสระจากบาปและความตายนัน่ เอง ⌫⌫ ⌫ ⌦ ⌫ ⌫