สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือนเมษายน

Page 1

⌫⌫  ⌫   

 ทางเดียวเท่านั้น ที่เราจะทำให้กระสุนแห่งความ เกลี ย ดชั ง และเคี ย ดแค้ น ทำร้ า ยศั ต รู ข องเราได้ นั ่ น คื อ เราจะต้ อ งยอมให้ ม ั น ผ่ า นทะลุ ต ั ว เราก่ อ น ซึ่งหมายความว่าเราจะต้องยอมรับความเกลียดชัง และเคียดแค้นจากศัตรูของเราไว้ในชีวติ และดับมันให้ มอดไปด้วยการอภัยและการไม่โกรธตอบ และศัตรู จะพบว่า ความเกลียดชังและเคียดแค้นของเขานั้น “ไร้ผล” ไม่สามารถ “ทำร้าย” เราได้ และนีจ่ ะเป็นการ แก้แค้นทีเ่ จ็บปวดทีส่ ดุ ๆ แก่ศตั รูของเราเลยทีเดียว ÇҷоÃÐÍѤÃÊѧ¦ÃÒª ¿Ãѧ«ÔÊà«àÇÕÂÃì à¡ÃÕ§ÈÑ¡´Ôì â¡ÇÔ·ÇÒ³Ôª ¾ÃÐÍѤÃÊѧ¦ÃÒªÍѤÃÊѧ¦Á³±Å¡ÃØ§à·¾Ï โอกาสฉลองวัดธรรมาสน์นกั บุญเปโตร และพิธโี ปรดศีลกำลัง วันอาทิตย์ท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2011

วิถีชุมชนวัด

จากเป้าหมาย... และจะเดินไปด้วยกัน

น.

1

จากเทศกาลมหาพรต สู่ พิธีกรรมสัปดาห์ศักดิสิทธิ์ น.

2

ความหมายของ

8

“ปัสกา”

น.

à¨ÒÐÅÖ¡¾ÔàÈÉ...á¼¹¡ÇÔ¶ÕªØÁª¹ÇÑ´

พี่น้องที่รัก เมื่อวันเสาร์ที่ 26 มีนาคม 2011 พ่อได้มีโอกาส ไปประชุมแผนอภิบาล “จากเป้าหมาย สูก่ ารปฏิบตั ”ิ ทีอ่ คั รสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ได้จัดขึ้น โดยมีบรรดาสมาชิกสภาภิบาลของวัดต่างๆ ใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ กว่า 300 คน มาร่วมประชุมในครั้งนี้ ณ หอประชุมเซนต์ ไมเกิ้ล บ้านผู้หว่าน และวิถีชุมชนวัด ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ได้มีการบรรยาย พูดคุย ทำความเข้าใจ และแบ่งปันประสบการณ์ ในการประชุมครั้งนี้ พ่อจึงขอนำหลายเรื่องที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิถีชุมชนวัดจากการประชุมครั้งนี้มาแบ่งปันให้กับพี่น้อง สิง่ แรกทีน่ า่ ดีใจก็คอื พีน่ อ้ งส่วนใหญ่เข้าใจแล้วว่า วิถชี มุ ชนวัดไม่ใช่เป็นแค่กลุม่ แบ่งปันพระวาจา หรือเป็นกลุม่ ศรัทธากลุม่ ใหม่ แต่เป็นวิถีชีวิตของคริสตชนตามคำสอนของพระเยซูเจ้าในแนวทางของพระศาสนจักร ซึ่งมีองค์ประกอบสำคัญ 4 ประการ คือ 1.สมาชิกเป็นเพื่อนบ้านกัน 2.การแบ่งปันพระวาจาเป็นพื้นฐานของการพบปะกัน 3.การแสดงออกและทำสิ่งต่างๆ ร่วมกันของชุมชนคริสตชนย่อยออกมาจากความเชื่อ และ 4.ชุมชนคริสตชนย่อยต้องเชื่อมเข้ากับพระศาสนจักรสากล อย่างไรก็ดี การแบ่งปันพระวาจาถือเป็นองค์ประกอบที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งของวิถีชุมชนวัด เพราะเป็นการพบกับ พระเยซูคริสตเจ้า ฟังเสียงของพระองค์ และได้รับการหล่อเลี้ยงจากพระองค์ อาจจะถือได้ว่าเป็นจุดเริ่มต้นของวิถีชุมชนวัด ก็ว่าได้ และเป็นที่น่ายินดีว่า สิบกว่าปีแล้วที่อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ของเราได้มีกลุ่มแบ่งปันพระวาจาตามวัดต่างๆ หลายวัดด้วยกัน และตามองค์กรคาทอลิกต่างๆ อีกหลายองค์กร (¢éÍÁÙŨҡ¡ÒùÓàʹͧ͢¤Ø³¾èÍ»ÔÂÐªÒµÔ ÁСäÃÃÀì ¼ÙéªèǾÃÐÊѧ¦ÃÒª½èÒÂÍÀÔºÒÅ ÍѤÃÊѧ¦Á³±Å¡Ãا෾Ï) ÍèÒ¹µèÍ˹éÒ 4


º·¤ÇÒÁ...¤Ø³¾èÍ͹ØÊóì á¡éÇ¢¨Ã

ในการแข่งขันวิ่งระยะไกล ที่ต้องวิ่งหลายๆ รอบ เมื่อวิ่งมาถึงรอบสุดท้าย จะมีเสียงกระดิ่งหรือระฆัง ให้สัญญาณกับนักวิ่ง เพื่อเตือนให้รู้ว่าถึงรอบสุดท้ายแล้ว ใกล้จะถึงเส้นชัยแล้ว หากอยากจะเป็นผู้ชนะ หรืออยากจะไปให้ถงึ เส้นชัย คงจะต้องเพิม่ ความเร็ว ไม่ลม้ และก็ไม่หยุดวิง่ ซะก่อน เป้าหมาย หรือเส้นชัยของเทศกาลมหาพรต ก็คือการฉลองปัสกา ซึ่งเป็นวันฉลองที่สำคัญที่สุดสำหรับคริสตชน มีสัญญาณหรือ สัญลักษณ์ในพิธีกรรมที่จะเตือนเราเช่นกันว่า โค้งสุดท้ายของเทศกาลมหาพรตมาถึงแล้ว โค้งสุดท้ายทีว่ า่ นี้ (the last phase of Lent) เริม่ ตัง้ แต่ วันอาทิตย์สปั ดาห์ท่ี 5 ของเทศกาลมหาพรต ทีเ่ คยเรียกว่า “วาระแห่ง การระลึกถึงพระมหาทรมานฯ” (Passiontide) มีความพิเศษเกิดขึ้น 2 ประการในวันนี้ ก็คือ ใน “บทนำขอบพระคุณ” (บทภาวนา ของพระสงฆ์ก่อนบทเสกศีล) จะใช้บทนำขอบพระคุณ “พระคริสตเจ้าทรงรับทรมาน แบบที่ 1” และจะใช้บทนี้ไปตลอดทั้งสัปดาห์ ความพิเศษประการที่สอง ก็คือ มีธรรมเนียมดั้งเดิมที่วันนี้ จะเริ่มคลุมรูปไม้กางเขน รูปพระ และรูปนักบุญต่างๆ ด้วยผ้าสีม่วง (หรือถ้าไม่คลุมผ้าในวันนี้ ก็อาจจะคลุมในคืนวันพฤหัสศักดิส์ ทิ ธิ์ หลังจากเสร็จพิธตี า่ งๆ แล้วก็ได้) การคลุมผ้าก็เป็นอีกเครือ่ งหมายหนึง่ ที่ช่วยเราให้มุ่งตรงสู่การรำพึงถึงพระมหาทรมานของพระคริสตเจ้า

ผ่านจากสัปดาห์ที่ 5 ของเทศกาลมหาพรต ก็เข้าสู่สัปดาห์สุดท้าย ที่เรียกว่า “สัปดาห์ศักดิ์สิทธิ์” วันนี้ เราระลึกการเสด็จเข้า กรุงเยรูซาเล็มอย่างสง่าของพระเยซูคริสตเจ้า มีการเสกใบลาน ทีเ่ ราแต่ละคนถืออยูใ่ นมือ (เหมือนกับทีช่ าวยิวถือกิง่ มะกอก รับเสด็จ พระเยซูเจ้า) โดยมีพระสงฆ์สวมอาภรณ์สแี ดง ทีห่ มายถึงสีของกษัตริย์ เดินนำขบวนสัตบุรษุ เข้าสูพ่ ระวิหารของพระเจ้า วันนี้ เรายังจะได้ฟังบทพระมหาทรมาน ที่มีการบ้านให้เรานำกลับไปรำพึงต่อเนื่องในวันจันทร์ศักดิ์สิทธิ์ อังคารศักดิ์สิทธิ์ และ พุธศักดิส์ ทิ ธิ์ พอถึงวันพฤหัสศักดิ์สิทธิ์ ที่อาสนวิหารจะถูกจัดเตรียมไว้อย่างดี เพื่อการประกอบพิธีกรรมที่สำคัญ นั่นก็คือ “มิสซาเสก น้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ”์ วันนี้ เราจะเห็นภาพและความหมายสำคัญของ “สหบูชามิสซา” ทีพ่ ระสังฆราชและพระสงฆ์ จะถวายมิสซาร่วมกัน พร้อมกับมี “พิธีรื้อฟื้นคำสัญญาแห่งการเป็นพระสงฆ์” ไม่เพียงเท่านี้ ในตอนท้ายของพิธีดังกล่าว พระสังฆราชเองจะแสดงถึงความ ต่ำต้อย ขอให้บรรดาพระสงฆ์ นักบวช และมวลประชาสัตบุรุษทุกคนได้ภาวนาเพื่อท่าน เพื่อให้ชีวิตของท่านเอง เป็นภาพสะท้อน ทีช่ ดั เจนถึงชีวติ ของพระคริสตเจ้า ผูพ้ ร้อมจะรับใช้ทกุ ๆ คน ยังมี “พิธีเสกน้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ”์ ทีพ่ ระสังฆราช (พร้อมกับพระสงฆ์) จะเสก และพระสงฆ์จะนำกลับไปทีว่ ดั เพือ่ ใช้สำหรับอภิบาล ศี ล ศั ก ดิ ์ ส ิ ท ธิ ์ แ ก่ บ รรดาสั ต บุ ร ุ ษ คื อ น้ ำ มั น คริ ส มา น้ ำ มั น สำหรั บ คนไข้ และน้ ำ มั น สำหรั บ ผู ้ เ ตรี ย มตั ว เป็ น คริ ส ตชน จึ ง เป็ น โอกาสดียง่ิ ทีม่ สิ ซาในตอนเช้าของวันพฤหัสนี้ จะมีบรรดานักบวช สัตบุรษุ นักเรียนคำสอน และผูเ้ ตรียมตัวรับศีลล้างบาป อยูร่ ว่ มในพิธนี ้ี เพราะไม่เพียงแต่จะช่วยให้เข้าใจความหมายและความสำคัญของน้ำมันต่างๆ แล้ว ภาพของพระศาสนจักรก็จะปรากฏเด่นชัด อีกวันหนึ่ง ภายในอาสนวิหารของสังฆมณฑลของเรา ในวันเดียวกัน เมื่อพระอาทิตย์ตกดินแล้ว วัดแต่ละแห่งก็เตรียมพร้อมสำหรับพิธีมิสซาระลึกถึงการเลี้ยงของพระคริสตเจ้า เป็นการเริม่ “ตรีวารปัสกา” ทีไ่ ม่ได้มคี วามหมายแค่เพียงการเตรียมฉลองปัสกาเท่านัน้ แต่เป็นการฉลองธรรมล้ำลึกปัสกา (การทรมาน สิน้ พระชนม์ และกลับคืนพระชนมชีพฯ) อย่างต่อเนือ่ ง 3 วัน มิสซาค่ำวันนี้ ยังระลึกถึงการตั้งศีลมหาสนิท (พิธีมิสซา) และศีลบวช อีกทั้งจะเน้นย้ำ คำสอนเรื่องบัญญัติแห่งความรักที่ แสดงออกด้วยกิจการ ดังตัวอย่าง “การล้างเท้าอัครสาวก” ในค่ำคืนวันนี้ ยังมีการอัญเชิญศีล ไปยังทีพ่ กั ศีล ให้เราได้เฝ้าศีลมหาสนิท ใกล้ชดิ กับพระองค์เป็นพิเศษ ทัง้ โดยส่วนตัว และกับหมูค่ ณะ ทีจ่ ดั เป็นกลุม่ มีชว่ งเวลาทีร่ ะบุไว้ชดั เจน หากสังเกต จะพบว่า ในคืนวันนี้ บนพระแท่นทีเ่ คยมีผา้ ปูแท่น มีเทียน มีไม้กางเขน จะเหลือเพียงพระแท่นทีว่ า่ งเปล่า ต่อเนือ่ งไปถึง พิธใี นวันรุง่ ขึน้ “พระแท่นทีว่ า่ งเปล่า” นีแ้ หละ หมายถึง “องค์พระเยซูเจ้า” ผูพ้ ร้อมจะตอบรับน้ำพระทัยของพระบิดา มอบชีวติ ของพระองค์ เป็นค่าไถ่ เพือ่ ความรอดของเราทุกคน   ⌫⌫  ⌫   


เช้าวันศุกร์ จะยังคงพบบรรยากาศทีเ่ งียบสงบ เอือ้ อำนวยให้สตั บุรษุ มา “เดินรูป 14 ภาค” ทัง้ โดยส่วนตัว หรือเป็นหมูค่ ณะ ถือเป็น กิจศรัทธาพิเศษ ทีม่ คี วามหมายสอดคล้องกับบรรยากาศของวันศุกร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ อย่างไรก็ตาม พิธกี รรมทางการทีส่ ำคัญของวันนี้ (ซึง่ ไม่มี พิธมี สิ ซา) คือพิธรี ะลึกถึงพระทรมานของพระคริสตเจ้า ทีแ่ นะนำให้ประกอบพิธใี นตอนบ่ายสามโมง เป็นเวลาเดียวกันกับทีน่ กั บุญมัทธิว มาระโก และลูกา บันทึกไว้วา่ พระเยซูเจ้าได้สน้ิ พระชนม์ แต่เพือ่ ให้สตั บุรษุ มาร่วมได้อย่างพร้อมเพรียง อาจเลือกเวลาอืน่ ก็ได้ เมื่อเริ่มพิธี สิ่งที่เห็นโดดเด่นอยู่ต่อหน้าเราทุกคน คือพระแท่นที่ว่างเปล่า พระสงฆ์แห่ออกมาในความเงียบสงบ แล้วไปนอน หมอบราบที่หน้าพระแท่น (หรืออาจจะคุกเข่าแทนก็ได้) การหมอบราบนี้ มีความหมายเดียวกันกับการหมอบราบของผู้ได้รับการบวช เป็นสังฆานุกร หรือเป็นพระสงฆ์ ทีพ่ ร้อมจะมอบชีวติ ทัง้ หมดโดยสิน้ เชิงแด่พระเจ้า ซึง่ ผูเ้ ป็นแบบฉบับ ก็คอื องค์พระเยซูเจ้านัน่ เอง พระมหาทรมานตามคำเล่าของนักบุญยอห์น ถูกเล่าให้เราฟังและรำพึงอีกครั้งหนึ่งพร้อมกับมีบทภาวนาเพื่อมวลชน ในรูปแบบ ดัง้ เดิม ทีเ่ ปิดหัวใจของเราให้คดิ ถึงพระศาสนจักรสากล คิดถึงสังคมส่วนรวม พร้อมๆ กับคิดถึงสถานการณ์ปจั จุบนั ของเราเองด้วย พิธีนมัสการไม้กางเขน ที่เริ่มต้นถ้อยคำประกาศจากพระสงฆ์ “นี่คือไม้กางเขน...” และการตอบรับจากที่ชุมนุม ต่อด้วยการเปิด ผ้าคลุม และทีส่ ดุ การเข้ามานมัสการไม้กางเขนอย่างใกล้ชดิ ควบคูไ่ ปกับการอ่านบทรำพึงหรือขับร้องบทเพลง ทีป่ ราศจากเสียงดนตรี เพือ่ ให้อยูใ่ นบรรยากาศของการระลึกถึงการสิน้ พระชนม์ของพระองค์ (อาจจะมีเสียงดนตรี เฉพาะเพือ่ ช่วยประคองเสียงร้องนำของพระสงฆ์) แม้ไม่มพี ธิ มี สิ ซา ภาคทีส่ ามของพิธกี รรมวันนี้ คือภาครับศีลมหาสนิท ทีศ่ ลี มหาสนิทได้รบั การจัดเตรียมและเสกไว้อย่างเพียงพอ ตัง้ แต่คนื วันพฤหัส (มีศลี แผ่นใหญ่เผือ่ ไว้ เพือ่ ให้พระสงฆ์ ยกแสดงแก่สตั บุรษุ ในพิธวี นั ศุกร์ดว้ ย) เราคงไม่ลมื วันนี้ เป็นอีกวันหนึง่ ทีเ่ ราจะจำศีลอดเนือ้ และอดอาหาร ปีพธิ กี รรมเดินทางมาถึงวันทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือค่ำวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ด้วย “พิธตี น่ื เฝ้า” บนพระแท่นมีผา้ ปูดงั ทีเ่ คย มีเทียนตัง้ ไว้ (แต่ยงั ไม่จดุ ) ดอกไม้ทห่ี า่ งหายไปตลอดเทศกาลมหาพรตกลับมาอีกครัง้ หนึง่ พร้อมกับเสียงดนตรี บทเพลง พระสิรริ งุ่ โรจน์ และการขับร้อง “อัลเลลูยา” อย่างสง่า

พิธวี นั นี้ แบ่งออกเป็น 4 ภาค เริม่ ตัง้ แต่ พิธแี สงสว่าง ทีม่ กี ารเสกไฟและแห่เทียนปัสกา จบด้วยการประกาศสมโภชปัสกาอย่างสง่า และเข้าสู่ภาคที่สอง คือภาควจนพิธีกรรม ผ่านทางพระวาจาของพระเจ้า จากบทอ่าน หลายๆ บท จะช่วยเชื่อมโยงให้เราเข้าใจถึง ปัสกาของชาวยิว กับปัสกาของเราคริสตชน ภาคที่สาม คือ พิธีศีลล้างบาป เริ่มด้วยการเสกน้ำล้างบาป หรือเสกน้ำเสก ต่อจากนั้นจะเป็นช่วงเวลาที่สำคัญ และน่ายินดี ทั้งสำหรับผู้เตรียมตัวเป็นคริสตชน และพี่น้องคริสตชนทุกคนที่จะได้ต้อนรับสมาชิกใหม่ด้วยพิธีล้างบาป รวมทั้งจะได้กล่าวคำรื้อฟื้น คำสัญญาแห่งศีลล้างบาป ก่อนจะก้มศีรษะรับการพรมน้ำเสกจากพระสงฆ์ เตือนใจเราอีกครั้งหนึ่ง ให้คิดถึงพระพรแห่งศีลล้างบาป คิดถึงกระแสเรียกแห่งการเป็นคริสตชน และเตือนตนเองให้เจริญชีวิตสอดคล้องกับกระแสเรียกนี้ ภาคที่ 4 คือภาคศีลมหาสนิท ที่ทั้งคริสตชนใหม่และคริสตชนทั่วไปจะเดินออกมาสู่โต๊ะศักดิ์สิทธิ์ เพื่อรับองค์พระเยซูเจ้า ผู้เป็น อาหารแท้นิรันดร ตอนท้ายของพิธี พระสงฆ์จะกล่าวคำปิดพิธที ต่ี อ่ ท้ายด้วยคำว่า “อัลเลลูยา อัลเลลูยา” เช่นเดียวกับทีเ่ ราจะตอบว่า “ขอขอบพระคุณ พระเจ้า อัลเลลูยา อัลเลลูยา” (ซึง่ จะกล่าวเช่นนีต้ อ่ เนือ่ งตลอดอัฐมวารปัสกา)

วันรุ่งขึ้น คือวันฉลองอาทิตย์ปัสกา บรรยากาศแห่งการเฉลิมฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ยังคงปรากฏให้เห็น ด้วยพิธกี รรมทีส่ ง่างาม แม้จะไม่มพี ธิ พี เิ ศษใดๆ นอกจากการรับฟัง “บทเสริม” ก่อนพระวรสาร (ส่วนการเสกไข่ปัสกา เป็น “ธรรมเนียม” ที่เพิ่มเติมเข้ามา และใช้ไข่เป็นสัญลักษณ์หมายถึงการได้รับชีวิตใหม่นั่นเอง) ถึงแม้จะอธิบายพอจะให้เห็นภาพของการฉลองพิธีกรรมในช่วงที่สำคัญที่สุด แต่ ก ็ ย ั ง ไม่ เ ท่ า กั บ การที ่ เ ราได้ ไ ปร่ ว มอยู ่ ใ นการฉลองดั ง กล่ า วนี ้ จึ ง ขอเชิ ญ ชวน พี่น้องทุกท่านไปพบกับความหมายและได้รับคุณค่าที่แท้จริงของการสมโภชปัสกาฉลองการกลับคืนพระชนมชีพของพระเยซูเจ้า ด้วยการร่วมเป็นหนึง่ เดียวกันในทุกๆ พิธกี รรม ทีแ่ ต่ละวัดได้จดั เตรียมไว้สำหรับพีน่ อ้ งทุกๆ คน  ⌫⌫  ⌫    


µèͨҡ˹éÒ 1

ในตอนบ่าย เป็นโอกาสดีอย่างยิ่ง ที่พ่อได้ฟังการแบ่งปันประสบการณ์ ของตัวแทนจาก 6 วัด ในการ เริ่มก่อร่างสร้างวิถีชุมชนวัดให้เป็นจริงในวัดของพวกเขา เป็นประสบการณ์ที่ดี และมีความหลากหลายตามบริบท ของวัด ไม่ว่าจะเป็นจากวัดนักบุญเปโตร สามพราน วัดแม่พระประจักษ์เมืองลูร์ด บางสะแก วัดราชินีแห่งสันติสุข วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ วัดเซนต์หลุยส์ และ วัดนักบุญยวงบัปติสตา เจ้าเจ็ด ซึง่ พ่อเชือ่ ว่ายังมีอกี หลายวัดซึง่ ได้เริม่ แล้ว อาจจะด้วยการมีกลุ่มแบ่งปันพระวาจา ฯลฯ แต่ยังไม่มีโอกาสได้แบ่งปัน เนื่องจากเวลามีจำกัด ขอร่วมใจและเป็น กำลังใจให้ครับ คิดว่าพวกเราจะก้าวไปพร้อมๆ กันครับ จากประสบการณ์ตรงนีก้ ต็ อกย้ำแผนกวิถชี มุ ชนวัดว่า หลักการ วิถีชุมชนวัดจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องปรับให้เข้ากับบริบทของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทั้งในส่วนที่เป็นสังคมเมือง และในส่วนของชานเมือง เราจะเดินไปพร้อมๆ กันนะครับ ด้วยความเป็นหนึ่งเดียวกัน การไปพร้อมๆ กันอบอุ่นดี และเราจะได้ช่วยกันได้ยังไงละครับ มีพ ี่น ้องบางท่านถามพ่อว่า ทำไมวิถ ีชุมชนวัดจึงมี 4 องค์ประกอบที่สำคัญ และ 4 องค์ประกอบนี้ด ี และมีประโยชน์อย่างไร จึงขอตอบคำถามของพีน่ อ้ งจากคำบรรยายของคุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ดังนี้ ครับ 1. สมาชิกเป็นเพือ่ นบ้านกัน (ชุมนุมกันในละแวกบ้าน) ข้อดีกค็ อื เป็นการชุมนุมของคนทีอ่ ยูใ่ นพืน้ ฐานเดียวกัน มีปัญหาเฉพาะหน้า ปัญหาส่วนรวม ชะตากรรมเดียวกัน (ก็จะทำให้เข้าใจกันยิ่งขึ้นและช่วยกันได้มากยิ่งขึ้น) และ การชุมนุมกันในบ้านของสมาชิกสับเปลีย่ นกันเพือ่ ตอกย้ำความเป็นเจ้าของชุมชนซึง่ มีพน้ื ฐานและศักดิศ์ รีเท่าเทียมกัน ดังนัน้ ถ้าขาดข้อนีก้ เ็ ป็นกลุม่ แบ่งปันพระวาจา (สัญจร) เท่านัน้ 2. การแบ่งปันพระวาจาเป็นพื้นฐานของการพบปะกัน โดยการแบ่งปันพระวาจา (ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น 7 steps, Lectio Divina, Group Response, Amos Programme) สมาชิกได้รบั การหล่อเลีย้ งจากพระเจ้า เติบโต ฝ่ายจิต และเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนในฐานะคริสตชนที่แท้จริง ขาดข้อนี้ก็เป็นเพียงชุมชนเข้มแข็งเท่านั้น 3. การแสดงออกและทำสิ ่ ง ต่ า งๆ ร่ ว มกั น ของชุ ม ชนคริ ส ตชนย่ อ ยออกมาจากความเชื ่ อ (ร่ ว มกั น ทำกิจกรรมจากความเชือ่ เพือ่ รับใช้ผอู้ น่ื ) ในขัน้ ที่ 6 ของการแบ่งปันพระวาจา จะมีคำถามว่า “เราจะทำกิจกรรมอะไร ในสัปดาห์น”้ี เป็นการนำพระวาจาของพระมาปฏิบตั ิ ในฐานะทีเ่ ราเป็นสมาชิกในวัด ในละแวกบ้านทีเ่ ราอยู่ เป็นกิจการ ที่เราร่วมงานกับพระในการเปลี่ยนแปลงสังคมที่เราอยู่ให้เป็นพระอาณาจักรของพระเจ้า ขาดข้อนี้ก็เป็นกลุ่มศรัทธา พิเศษ เสริมความรักพระเท่านัน้ 4. ชุมชนคริสตชนย่อยต้องเชื่อมเข้ากับพระศาสนจักรสากล ผ่านทางบูชามิสซา และพระวาจา ชุมชนย่อย ต่างก็สัมพันธ์กัน โดยเฉพาะในวัดของตน เป็นสายสัมพันธ์ที่มั่นคงระหว่าง ชุมชนวัด และพระศาสนจักรสากล ที่มีความเชื่อเดียวกัน รับศีลล้างบาปเดียวกัน วิถีชุมชนวัดไม่สามารถตัดขาดจากทางวัด ชุมชนพื้นฐานของตน ขาดข้อนี้ก็เป็นกลุ่มเอ็นจีโอ คริสต์ศาสนานิกายต่างๆ กลุ่มพัฒนาอื่นๆ พ่อขอรายงานโดยสรุป ถึงกิจกรรมทีแ่ ผนกวิถชี มุ ชนวัดได้กระทำในเดือนทีผ่ า่ นมาครับ วันที่ 25- 26 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ที่บ้านผู้หว่าน แผนกฯ ได้จัดอบรมในโครงการเสริมทักษะการทำงานกลุ่ม เพื่อสร้างวิทยากรวิถีชุมชนวัด ทีเ่ ป็นฆราวาส มีผเู้ ข้ารับการอบรมจำนวน 40 ท่าน จาก 11 วัด 7 องค์กร วันที่ 5-6 มีนาคมทีผ่ า่ นมา ทีบ่ า้ นผูห้ ว่าน แผนกฯ ได้จัดอบรมในโครงการสร้างความเข้าใจจิตตารมณ์วิถีชุมชนวัด เป็นการทำความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับ หลักการและจิตตารมณ์ของวิถชี มุ ชนวัด รวมทัง้ การแบ่งปันพระวาจา 7 ขัน้ ตอน มีผเู้ ข้ารับการอบรมจำนวน 42 ท่าน จาก 10 วัด โดยมีฆราวาสอีก 6 ท่าน ที่ผ่านการอบรมในโครงการเสริมทักษะการทำงานกลุ่ม มาเป็นวิทยากรด้วย (อยากเชิญชวนคุณพ่อเจ้าอาวาสได้สง่ ผูท้ ผ่ี า่ นการอบรมในครัง้ นีท้ กุ ท่าน มารับการอบรมอีก 3 ครัง้ เพือ่ พัฒนาทุกท่าน เป็นผูน้ ำวิถชี มุ ชนวัด ซึง่ จะจัดครัง้ ที่ 1 ในวันที่ 7-8 พฤษภาคม 2011 ทีบ่ า้ นผูห้ ว่าน) และเมือ่ วันที่ 18 มีนาคมทีผ่ า่ นมา เวลา 10.00-12.00 น. แผนกฯ ได้ไปพูดเรือ่ งวิถชี มุ ชนวัดกับเยาวชนของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จำนวน 94 ท่าน ทีว่ ดั พระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ โดยเน้นทีค่ วามสำคัญของพระวาจาของพระเจ้า และให้บรรดาเยาวชนได้มโี อกาส สัมผัสกับพระวาจาของพระเจ้า   ⌫⌫  ⌫   


บอกข่าวเล่าสาร

⌫

ประชุมแผนอภิบาล วั น ที ่ 26 มี น าคม 2011 พระอั ค รสั ง ฆราชเกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็ น ประธาน ในวจนพิธีกรรมเปิดการประชุมแผนอภิบาล “จากเป้าหมาย สู่การปฏิบัติ” โดยมีบรรดาสมาชิก สภาภิบาลของวัดต่างๆ ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ กว่า 300 คน มาร่วมประชุมในครั้งนี้ ณ หอประชุมเซนต์ ไมเกิล้ บ้านผูห้ ว่าน ประชุม-สัมมนาบุคลากร แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว แผนกส่งเสริมชีวิตครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดประชุม-สัมมนาบุคลากร เมื่อ วันที่ 5-6 มีนาคม 2554 ทีบ่ า้ นสวน ยอแซฟ สามพราน เพื ่ อ ทบทวน การปฏิบตั งิ านในปีทผ่ี า่ นมา (2553) และวางแนวทางและพ ั ฒ นา การทำงานร่วมกันในปี 2554 นี้

ฉลองวัดนักบุญยอแซฟ หนองรี เมื ่ อ วั น ที ่ 12 มี น าคม 2011 เวลา 10.30 น. พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธาน ในพิ ธ ี ม ิ ส ซาโอกาสฉลองวั ด นั ก บุ ญ ยอแซฟ หนองรี พร้อมด้วยพระสงฆ์ และพีน่ อ้ งสัตบุรษุ ลูกวัด และวัดใน เขต 4 มาร่วมฉลองวัดในวันนีจ้ ำนวนมาก

áºè§»Ñ¹»ÃÐʺ¡Òóì วันที่ 24 มีนาคม 2011 เวลา 10.00 น. คุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ผู้อำนวยการฝ่ายงาน อภิบาล ร่วมกับคุณพ่อสมเกียรติ บุญอนันตบุตร ผู้อำนวยการฝ่ายงานธรรมทูต เชิญคุณพ่อ ถนอมศักดิ์ เลื่อนประไพ ผู้ช่วยผู้จัดการแผนกวิถีชุมชนวัดมาแบ่งปันประสบการณ์ให้กับเจ้าหน้าที่ ทัง้ 2 ฝ่าย ประจำเดือนมีนาคม

ค่ายคำสอนภาคฤดูรอ้ น ปีท่ี 20 เมื ่ อ วั น ที ่ 27 มี น าคม 2011 แผนกคริ ส ตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดย คุณพ่อ เอกรั ต น์ หอมประทุ ม และที ม คุ ณ ครู ค ำสอน จัดค่ายคำสอนภาคฤดูร้อน ปีที่ 20 ที่บ้านสวน ยอแซฟ สามพราน นครปฐม มีเด็กเข้าร่วมทั้งหมด จำนวน 60 คน เป็ น เด็ ก รั บ ศี ล ล้ า งบาปพร้ อ ม รับศีลมหาสนิทจำนวน 9 คน ศีลมหาสนิท จำนวน 25 คน ศีลกำลัง 20 คน และรื้อฟื้นคำสัญญาแห่ง ศีลล้างบาปจำนวน 6 คน

ค่ายปัสกา 2011 เมือ่ วันที่ 17-20 มีนาคม 2011 แผนกเยาวชนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดยคุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ ผู ้ จ ั ด การแผนก จั ด ค่ า ยปั ส กา สั ม ผั ส ชี ว ิ ต 2011 ในหั ว ข้ อ “สิ ่ ง สำคั ญ กว่ า สิ ่ ง ใดคื อ ความรั ก ซึ่งเรารวมไว้เป็นหนึ่งเดียวกันอย่างสมบูรณ์ (โคโลสี 3:14)” ณ วัดพระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ โดยมีคุณพ่อสุรพงษ์ ไม้มงคล เจ้าอาวาสพร้อมด้วยสัตบุรุษให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น มีเยาวชน เข้าร่วมค่ายจำนวน 124 คน

 ⌫⌫  ⌫    


ฉลองสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน วั น ที ่ 13 มี น าคม 2011 เวลา 10.00 น. พระอั ค รสั ง ฆราช เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็ น ประธานในพิธีบูชาขอบพระคุณโอกาสสมโภชนักบุญ ยอแซฟ ร่วมกับพระสงฆ์ และบรรดาสัตบุรษุ และสามเณร มาร่วมพิธใี นวันนีจ้ ำนวนมาก

บ้านหทัยการุณย์...รำลึกคุณ 17 ปี เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2011 บ้านหทัยการุณย์ ได้จัดงานชื่อ “บ้านหทัยการุณย์...รำลึกคุณ 17 ปี” ขึ้น โดยพระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ได้กรุณามาเป็นประธานในพิธี และได้มอบเกียรติบตั รให้ กับผูม้ พี ระคุณต่อบ้านหทัยการุณย์

ประชุมเรือ่ งการอภิบาลด้านครอบครัว แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดประชุมผูแ้ ทนจากสภาภิบาล แต่ละวัดของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เรือ่ ง “การอภิบาลด้านครอบครัว” เมือ่ วันที่ 12 มีนาคม 2011 ทีศ่ นู ย์อภิบาลบ้านผูห้ ว่าน สามพราน มีผเู้ ข้าร่วมจำนวน 36 ท่าน

พิธเี ลือกสรร อาสนวิหารอัสสัมชัญ ร่วมกับแผนกคริสตศาสนธรรม อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ นำโดยคุ ณ พ่ อ เอกรั ต น์ หอมประทุม ผู้จัดการแผนกฯ จัดพิธีเลือกสรรผู้เตรียม เป็นคริสตชน ในเทศกาลมหาพรต สัปดาห์ท่ี 1 เมือ่ วันที่ 13 มีนาคม 2011 โดยมีคณ ุ พ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ เป็น ประธานในพิธบี ชู าขอบพระคุณ เวลา 08.30 น. มีผเู้ ข้าพิธี พิธเี ลือกสรร จำนวน 24 คน พร้อมกับพ่อแม่อปุ ถัมภ์ ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ

สร้างความเข้าใจจิตตารมณ์ “วิถชี มุ ชนวัด” เมื่อวันที่ 5-6 มีนาคม 2011 แผนกวิถีชุมชนวัด ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยคุ ณ พ่ อ เชษฐา ไชยเดช ผู ้ จ ั ด การแผนก คุ ณ พ่ อ ถนอมศั ก ดิ ์ เลื ่ อ นประไพ ผู ้ ช ่ ว ย ผู้จัดการแผนก ร่วมกับแผนกองค์กรคริสตชนฆราวาส โดยคุณพ่ออภิเดช สุภาจักร์ ผู้จัดการ แผนก ได้จดั การอบรมสร้างความเข้าใจจิตตารมณ์ “วิถชี มุ ชนวัด” ณ บ้านผูห้ ว่าน สามพราน โดยมี คุ ณ พ่ อ ปิ ย ะชาติ มะกรครรภ์ คุ ณ พ่ อ เชษฐา ไชยเดช คุ ณ พ่ อ ถนอมศั ก ดิ ์ เลื ่ อ นประไพ และคุณอัมพร ศรีสกุล คุณแสงเดือน โพธิไ์ ทร คุณนิวตั ิ กิจเจริญ คุณกมลา สุรยิ พงศ์ประไพ คุณวราภรณ์ ปรี ์ เ ปรม และคุ ณ สุ พ รรณี บุ ญ ยะรั ต น์ เป็ น วิ ท ยากร มี ผ ู ้ ส นใจมาเข้ า ร่ ว มรั บ การอบรม จำนวน 42 คน

พลศีลทัว่ ถิน่ ไทย ครัง้ ที่ 15 คณะกรรมการพลศีลแห่งประเทศไทย โดย คุณพ่อณรงค์ รวมอร่าม ประธานพลศีลแห่ง ประเทศไทย กำหนดให้มีโครงการ “พลศีลทั่ว ถิ่นไทย ครั้งที่ 15” ในหัวข้อ “พลศีลประกาศ ความเชือ่ ด้วยชีวติ โดยการรับใช้และช่วยเหลือ” ซึ่งจัดเป็นประจำทุกปี เป็นพิเศษฉลอง 85 ปี ที่พลศีลเข้ามาในประเทศไทยด้วย (ค.ศ.19252010) ปีนส้ี มาชิกพลศีลเดินทางเยือนสังฆมณฑล นครราชสีมา ซึง่ เป็นเจ้าภาพจัดค่ายในครัง้ นี้ นำโดยคุณพ่อจักรี พันธ์สมบัติ จิตตาธิการพลศีลสังฆมณฑลนครราชสีมา ณ ไร่วนานุรกั ษ์ จ.นครราชสีมา เมือ่ วันที่ 11–13 มีนาคม ค.ศ. 2011

  ⌫⌫  ⌫   


แผนกวิถชี มุ ชนวัด ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ บาทหลวงอิกญาซีโอ อดิศกั ดิ์ สมแสงสรวง

วันเดือนปีบวช 18 พฤษภาคม 1986 ตำแหน่ง ผู ้ ช ่ ว ยพระสั ง ฆราชฝ่ า ยการเงิ น และ ทรัพย์สิน, ผู้จัดการแผนกงานอำนวยการ, ผู้จัดการแผนก บริการ, ผู้จัดการแผนกบัญชีและการตรวจสอบ, ช่วยงาน อภิบาลวัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ (ปากลัด)

บาทหลวงโยเซฟ ศุภศิลป์ สุขสุศลิ ป์ วันเดือนปีบวช ตำแหน่ง

18 พฤษภาคม 1986 เจ้าอาวาสวัดแม่พระประจักษ์เมืองลูร์ด หัวตะเข้

มงซินญอร์อนั ดรูว์ วิษณุ ธัญญอนันต์ วันเดือนปีบวช ตำแหน่ง

18 พฤษภาคม 1986 ปลั ด สมณสภาเสวนาระหว่ า งศาสนา ประจำทีก่ รุงโรม ประเทศอิตาลี

ขอเชิญผูส้ นใจเข้ารับการอบรม 1. โครงการสร้างความเข้าใจ จิตตารมณ์วิถีชุมชนวัด (BEC) รุน่ ที่ 1 วันที่ 5-6 มีนาคม 2011 รุน่ ที่ 2 วันที่ 4-5 มิถนุ ายน 2011 รุน่ ที่ 3 วันที่ 6-7 สิงหาคม 2011 รุน่ ที่ 4 วันที่ 8-9 ตุลาคม 2011 รุน่ ที่ 5 วันที่ 3-4 ธันวาคม 2011 2. โครงการพัฒนาผู้นำ ผูน้ ำ 1 วันที่ 7-8 พฤษภาคม 2011 ผูน้ ำ 2 วันที่ 9-1 กรกฎาคม 2011 ผูน้ ำ 3 วันที่ 3-4 กันยายน 2011 ผูน้ ำ 1 วันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2011 ผูน้ ำ 2 วันที่ 10-11 ธันวาคม 2011 ผูน้ ำ 3 วันที่ 7-8 มกราคม 2012

ขอเชิญรับชมการถ่ายทอดสด ผ่านทางเวบไซต์ www.catholic.or.th 21 เม.ย. วันพฤหัสศักดิ์สิทธิ์ พิธีรื้อฟื้นคำสัญญาของการเป็นพระสงฆ์ และเสกน้ำมันศักดิ์สิทธิ์ และร่วมฉลอง 25 ปี ชีวติ สงฆ์ เวลา 09.30น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ 22 เม.ย. วันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ มรรคาศักดิ์สิทธิ์ 14.00น. และพิธีเคารพกางเขน 15.00น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ 23 เม.ย. วันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ พิธตี น่ื เฝ้า และสมโภชปัสกา เวลา 19.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ 30 เม.ย. พิธปี ฏิญาณตนตลอดชีพ หิรญ ั สมโภช สุวรรณสมโภช ของภคินพี ระหฤทัยของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน ณ หอประชุมอาคารหนึ่งศตวรรษ โรงเรียน พระหฤทัยคอนแวนต์ *** ·èҹ㴷վè ÅÒ´ªÁ¡çÊÒÁÒöÃѺªÁÂé͹ËÅѧä´é·èÕ www.catholic.or.th ***

ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนเมษายน 2011 5 เม.ย. 5-8 เม.ย. 9-10 เม.ย. 21 เม.ย. 22 เม.ย. 23 เม.ย. 28 เม.ย. 30 เม.ย.

ประชุมกรรมการบริหารฯ ห้องประชุม 1 บ้านผูห้ ว่าน สัมมนาพระสงฆ์อคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำปี2011 ประชุมศาสนสัมพันธ์ ห้องประชุม 2 บ้านผูห้ ว่าน วันพฤหัสฯศักดิส์ ทิ ธิ์ พิธรี อ้ื ฟืน้ คำสัญญาของการเป็นพระสงฆ์ และเสกน้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ์ และร่วมฉลอง 25 ปี ชีวติ สงฆ์ เวลา 09.30 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ พิธมี รรคาศักดิส์ ทิ ธิ์ เวลา 14.00 น.และนมัสการกางเขน อาสนวิหารอัสสัมชัญ เวลา 15.00 น. วันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ พิธตี น่ื เฝ้า และสมโภชปัสกา เวลา 19.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ ประชุมคณะกรรมการจัดการศึกษา ฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พิธปี ฏิญาณตนตลอดชีพ หิรญ ั สมโภช สุวรรณสมโภช ของภคินพี ระหฤทัยของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน ณ หอประชุมอาคารหนึง่ ศตวรรษ โรงเรียนพระหฤทัยคอนแวนต์  ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรู้คำสอน  

ÊÇÑÊ´Õ¾Õè¹éͧ·ÕèÃÑ¡ ท่ามกลางข่าวภัยธรรมชาติตา่ งๆ ทีส่ ร้างความ เสียหาย ความทุกข์อย่างมากมายต่อเพื่อนพี่น้อง ของเรา ไม่ว่าจะเป็นที่เฮติ ญี่ปุ่น พม่า รวมทั้ง ในประเทศไทยของเรา ล้ ว นทำให้ เ ราเศร้ า ใจ ประกอบกับภัยสงครามซึง่ ดูเหมือนจะไม่มสี กั นาที ที่โลกใบนี้จะมีเวลาปลอดสงคราม ความขัดแย้ง ความเกลี ย ดชั ง ยั ง คงเกิ ด ขึ ้ น อย่ า งต่ อ เนื ่ อ ง แม้ในประเทศไทยของเรา สิ่งต่างๆ เหล่านี้คงจะ บั่นทอนความมั่นคงในจิตใจของเราไม่มากก็น้อย เราคาทอลิกเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่เกิดขึ้น อยู ่ ใ นสายพระเนตรของพระเจ้ า เสมอ นั ่ น คื อ ทุกสิ่งทุกอย่างเมื่อเราพิจารณาตามสายตาแห่ง ความเชื่อแล้วเราก็จะพบการพบปะกับพระเจ้า แม้ในเหตุการณ์ที่ดูเหมือนว่าแย่ที่สุดก็ตาม คงไม่ ยุติธรรมเท่าไรนักถ้าเราจะบอกว่าภัยธรรมชาติ ที่เกิดขึ้นเป็นเพราะพระเจ้าลงโทษมนุษย์ คนที่ เสี ย ชี ว ิ ต ก็ ไ ม่ ใ ช่ ว ่ า จะมี แ ต่ ค นไม่ ด ี และเราก็ ไม่แน่ใจว่าคนที่ยังอยู่จะดีมากกว่าคนที่ตายไป เราสามารถแยกแยะได้ว่ามีธรรมชาติ และมนุษย์ เกี่ยวข้องกัน ในตัวเองธรรมชาติไม่มีคำว่าถูก ผิด พระเจ้าสร้างและเห็นว่าทุกสิง่ ดี แต่สำหรับเรามนุษย์ เราตัดสินจากสถานการณ์ว่ามันเหมาะจะเกิด ในที่ใดที่หนึ่งไหม ถ้าแผ่นดินไหวในที่ห่างไกล ไม่ ก ระทบกั บ เรา เราก็ ค งไม่ ว ่ า อะไร แต่ ถ ้ า มี ผลกระทบทำให้คนตายมากๆ นั่นเป็นสิ่งที่ไม่ดี แต่ ธ รรมชาติ ไม่ ว ่ า น้ ำ ท่ ว ม ดิ น ถล่ ม สึ น ามิ ภูเขาไฟระเบิด ฯลฯ ต่างก็ดำเนินไปตามวิถีทาง ของมั น ในส่ ว นของมนุ ษ ย์ ก่ อ นอื ่ น เราต้ อ ง ยอมรับว่าทุกคนต้องตายไม่ว่าด้วยจากสาเหตุใด ก็ตาม เราตัดสินไม่ได้วา่ การจากไปของคนๆ หนึง่ เป็นเรื่องดีสำหรับเขากับพระหรือไม่ อาจจะเป็น สิ่งที่ดีสำหรับเขาก็ได้ แต่คนที่ยังอยู่ต่างหากที่จะ ต้องหาน้ำพระทัยของพระในเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ให้ได้ ทุกสิ่งมาจากพระเจ้าและที่สุดก็จะกลับไป หาพระอย่างแน่นอน ภัยพิบัติต่างๆ ที่เกิดขึ้นถ้าจะให้เราพลิกวิกฤต เป็นโอกาส โดยเฉพาะในเทศกาลมหาพรตนี้ เรามี ส่วนเกี่ยวข้องให้สิ่งที่ไม่ดีเกิดขึ้นในสังคมบ้างไหม เป็นโอกาสทีจ่ ะแสดงความเสียสละต่อคนทีป่ ระสบภัย เป็นโอกาสให้เราได้ตระหนักความจริงว่าชีวติ เรานี้ มันบอบบางจริงๆ พร้อมจะจบได้งา่ ยๆ บนเปลือก โลกบางๆ ที่ข้างในร้อนดังไฟนรก เราคงไม่คิดว่า มันเป็นที่พักพิงที่ถาวร ตรงข้ามพระเจ้าเท่านั้น ที่เป็นที่พักพิงที่ถาวร สวด ภาวนา พลีกรรม ร่วมบริจาคเพือ่ ผูป้ ระสบ ความยากลำบากเพือ่ ให้เขามีกำลังใจในการดำเนิน ชีวิตต่อไป ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกท่าน

ปัสกา (Pasqua) เป็นคำศัพท์ มาจากภาษาฮีบรูซง่ึ ในประวัตศิ าสตร์ ของชาวยิ ว ตามหนั ง สื อ “อพยพ” ในพระคั ม ภี ร ์ ภ าคพั น ธสั ญ ญาเดิ ม “ปัสกา” เป็นเทศกาลกินขนมปังไร้เชื้อ ของชาวยิว ในวันนี้เขาจะนำแกะมาฆ่า แล้วเอาเลือดมาทาที่วงกบประตูเพื่อว่าทูตสวรรค์ที่ผ่านมาเพื่อประหารลูกหัวปี ของชาวอียิปต์ จะผ่านบ้านที่ทาวงกบด้วยเลือดของลูกแกะไป ทั้งนี้เพื่อให้ ชาวอียปิ ต์ยอมให้อสิ รภาพแก่ชาวยิว วันนีก้ ลายเป็นวันสำคัญวันหนึง่ ทีม่ กี ารรำลึก ถึงทุกปี โดยกำหนดเป็นวันที่ 14 เดือนนิชานตามปฏิทนิ ยิว แต่ปฏิทนิ นีใ้ ช้เดือน ตามจันทรคติ ทำให้วันนี้กำหนดไม่แน่นอนในแต่ละปี สำหรับการฉลองของคริสตชน “ปัสกา” มี ค วามหมายว่ า “เป็ น การผ่ า นความทุ ก ข์ สู ่ ค วามยิ น ดี โดยอาศั ย การทนทุ ก ข์ ท รมาน การสิ้นพระชนม์และการกลับคืนพระชนม์ ช ี พ ของพระเยซู ค ริ ส ต์ ” ซึ ่ ง แท้ ท ี ่ จ ริ ง แล้ ว ก็ ค ื อ “การฉลองการได้ ร ั บ ชี ว ิ ต ที ่ เ ป็ น อิ ส รภาพจาก บาปและความตายนั ่ น เอง” มี ค นเปรี ย บเที ย บ ว่าโลหิตของพระเยซูคริสต์ทห่ี ลัง่ ออกมาในขณะถูกตรึงกางเขนก็เป็นเช่นเดียวกับ เลือดของลูกแกะปัสกาที่ทำให้ทุกคนที่เชื่อในองค์พระคริสต์ ได้รับชีวิตใหม่ ที่เป็นอิสระจากบาปทั้งปวง การฉลองปัสกา จึงมีสว่ นประกอบ 3 เหตุการณ์ คือ 1. การทนทรมานของพระเยซู ค ริ ส ต์ ตั ้ ง แต่ ท รงทราบว่ า จะต้ อ งถู ก ตรึงกางเขน จนกระทั่งพระองค์ถูกจับและถูกตรึงกางเขนทำให้สิ้นพระชนม์ พร้อมกับนักโทษประหารอีก 2 คน 2. การสิ้นพระชนม์ของพระเยซูคริสต์ เพื่อเป็นการพิสูจน์ถึงความรักที่ทรง มีต่อมนุษย์ทุกคน ทรงรักมนุษย์มากจนกระทั่งยอมสละพระชนม์ชีพเพื่อให้ มนุษย์ได้รอดพ้นจากกิเลสบาปต่างๆ 3. การกลับคืนพระชนม์ชีพ ซึ่งเป็นหัวใจของการฉลองและเป็นหัวใจของ คริสต์ศาสนาด้วย กล่าวคือ การกลับคืนชีพของพระเยซูคริสตเจ้า ซึ่งคริสตชน ถือว่าเป็นทัง้ ความจริงทางศาสนา (ข้อความเชือ่ ทางศาสนา) และเป็นสัญลักษณ์ แห่งการมีชยั ชนะเหนือบาปและความตายซึง่ จะหมายถึง “ชีวติ ใหม่” ทีค่ ริสตชน ได้รับโดยอาศัยความเชื่อในองค์พระเยซูคริสตเจ้า สุขสันต์วนั ปัสกา แด่พน่ี อ้ งทุกท่านครับ...Happy Easter Buona Pasqua ÊÃØ»¨Ò¡Ë¹Ñ§Ê×Í “»ÑʡҡѺ¤ÃÔʵª¹” ¨Ñ´¾ÔÁ¾ìâ´Âá¼¹¡¤ÃÔʵÈÒʹ¸ÃÃÁ¡ÃØ§à·¾Ï              ⌫⌫             ⌫ ⌦                   ⌫  ⌫                                 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.