สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือนเมษายน 2012

Page 1

⌫⌫  ⌫   



พิธรี บั ผูใ้ หญ่

เข้าเป็นคริสตชน น.

วิถชี มุ ชนวัด...กับ

1

การไตร่ตรองคำสอนของ

4

ปัสกา...วันสมโภช

8

พระเยซูเจ้าและพระศาสนจักร น.

ที่ยิ่งใหญ่ของคริสตชน น.

เมือ่ คริสตชนรับศีลมหาสนิทแล้ว และออกจากวัดไป พวกเขา ก็มกั จะมิได้ปฏิบตั ติ ามในสิง่ ทีศ่ ลี มหาสนิทหมายถึง ไม่ได้รว่ มมือ กับพระหรรษทานของศีลมหาสนิททีต่ นรับ การรับศีลมหาสนิท จึงไม่เกิดผล คริสตชนจำเป็นจะต้องร่วมมือกับพระหรรษทาน ศักดิ์สิทธิกรของศีลมหาสนิท จึงจะทำให้พระหรรษทานนั้น เกิดผลในชีวติ ของตน ศีลศักดิส์ ทิ ธิจ์ ะไม่เกิดผล โดยปราศจาก ความร่วมมือของผู้รับ พระเจ้าไม่ปฏิบัติตอ่ เราเสมือนเราเป็น เครือ่ งจักร เราจำเป็นต้องยอมมอบอิสรภาพของเราให้พระองค์ และร่วมมือปฏิบัติตามความหมายของศีลศักดิ์สิทธิ์นั้น และนี่จะช่วยพวกเราทุกคนให้ดำเนินชีวิตตาม พระประสงค์ของพระเจ้าเสมอ ÇҷоÃÐÍѤÃÊѧ¦ÃÒª ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ บทเทศน์ วันอาทิตย์ท่ี 17 กรกฎาคม 2011

จากแผนงานอภิบาลอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ค.ศ. 2011-2015 “สนับสนุนให้สมาชิก ของพระศาสนจักรเข้าใจอย่างถ่องแท้ ถึงพันธกิจการประกาศข่าวดี การสร้างและพัฒนา ชุ ม ชนวั ด รวมทั ้ ง หน้ า ที ่ ต ้ อ นรั บ คริ ส ตชนใหม่ ใ นชุ ม ชนวั ด ของตน ซึ ่ ง มี ก ระบวนการ รับผูใ้ หญ่เข้าเป็นคริสตชน (RCIA) เป็นเครือ่ งมือสำคัญ” (ข้อ 21.3) ซึ ่ ง กระบวนการรั บ ผู ้ ใ หญ่ เ ข้ า เป็ น คริ ส ตชนนี ้ จะให้ ค วามสำคั ญ กั บ ชุ ม ชนเป็ น อย่ า งมากในการมี ส ่ ว นร่ ว มในการเริ ่ ม ต้ น เดิ น ในหนทางแห่ ง ความเชื ่ อ ของผู ้ ท ี ่ ส นใจ จะติดตามพระเยซูคริสตเจ้าทุกย่างก้าวในหนทางแห่งความเชื่อของพวกเขาจะมีพี่เลี้ยง (Sponsors) ที ่ ค อยให้ ค ำแนะนำ นอกจากนี ้ ก ็ จ ะมี บรรดาสัตบุรุษที่คอยให้ตัวอย่างของการดำเนินชีวิตคริสตชนแก่พวกเขา ซึ่งสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉบับนี้จะนำผู้อ่านเข้าไปในความรู้สึกของบรรดาพี่เลี้ยง และผู้เตรียมตัวเป็นคริสตชนใหม่ของ อาสนวิหารอัสสัมชัญ

คัธริน ลาบูเร ศิรวิ รรณ มณีเกษมสุข (ผูเ้ รียนคำสอนปัจบุ นั )

ดิฉันเป็นพุทธโดยกำเนิด มีครั้งหนึ่งปลายปี 2552 ได้ไปเที่ยวจังหวัดอุทัยธานี เพื่อนที่ไปด้วยกันมีคนหนึ่งนับถือคริสต์ และเป็น วันอาทิตย์ เพื่อนอยากไปวัดเพื่อร่วมมิสซา ได้ไปเจอวัดนักบุญเปโตร ท่าซุง เลยขอเข้าไปร่วมมิสซาเป็นเพื่อน และอยากรู้ว่ามิสซา คืออะไร วัดนีก้ เ็ ป็นวัดเล็กๆ วันนัน้ มีคณ ุ พ่อและสัตบุรษุ รวมกันประมาณ 8 คน พิธกี เ็ ป็นแบบเรียบง่าย ไม่มอี อแกนบรรเลง ร้องเพลง กันเอง ตัวดิฉันเอง ก็ฟังการอ่านพระวาจา ฟังคุณพ่อเทศน์ และร่วมร้องเพลงสรรเสริญพระ แล้วน้ำตาก็ไหลแบบอั้นไม่อยู่ ก็คงจะ เกิดจากความซาบซึ้งในบทเพลงที่ร้องสรรเสริญพระ หลังจากนั้นก็มีโอกาสได้ไปร่วมพิธีมิสซาอีก หลายครั้งน้ำตาไหลเกือบทุกครั้ง และเริ่มอยากจะรู้จักพระเยซู จึงเข้าไปศึกษาในเว็บไซต์ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ, ศูนย์คริสตศาสนธรรม, อาสนวิหารอัสสัมชัญ


แล้วก็เลือกมามิสซาที่วัดอัสสัมชัญ มีความสุขทุกครั้งที่ได้มาวัด ดังที่พระเยซูเจ้าตรัสกับโทมัสว่า “ท่านเชื่อเพราะได้เห็นเรา ผู้ที่เชื่อ แม้ไม่ได้เห็นก็เป็นสุข” ชีวิตของเราไม่ต้องเห็นอัศจรรย์ก็มีความสุขได้ ตราบใดที่เรารักษาความเชื่อเอาไว้ได้ (คัดมาจากสารวัด อาสนวิหารอัสสัมชัญ “บทสนทนาเจ้าอาวาส” วันที่ 1 พ.ค. 54) เมื่อวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ปีที่แล้ว ดิฉันได้มีโอกาสร่วมในพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์แห่งการรับเข้าเป็นคริสตชน ตื้นตันใจ ประทับใจมาก คริสตชนใหม่สง่างามมาก ทำให้ตอ้ งตัดสินใจแล้วว่าจะเลือกทางไหน จะรักพีเ่ สียดายน้องไม่ได้แล้ว จึงได้ตดั สินใจเข้ามาเรียนคำสอน ตลอดระยะเวลาที่ได้เรียน มีความประทับใจ อบอุ่น สนุกสนาน ได้ความรู้และการแบ่งปัน จากคุณพ่อเอกรัตน์ พี่เลี้ยง และเพื่อนๆ เวลาเรียนแต่ละครัง้ ผ่านไปเร็วมากค่ะ สุดท้ายขอถือโอกาสนี้ ขอบคุณคุณพ่อเอกรัตน์ พีเ่ ลีย้ งทุกท่าน ทีไ่ ด้มอบสิง่ ดีๆ และความงดงาม ให้แก่ดิฉัน และโอกาสหน้านี้เมื่อเป็นคริสตชนแล้วจะได้มาร่วมเป็นพี่เลี้ยงรุ่นต่อไปค่ะ

มารีอา มักดาเลนา พพาฬพิณญ์ เอ็งสุวรรณ์ (ผูเ้ รียนคำสอนปัจจุบนั )

“พระเจ้าเตรียมอนาคตแห่งสันติสขุ ไว้สำหรับท่าน ให้เรามีความมัน่ ใจลึกๆ ได้เลยว่า เราจะได้รบั สันติสขุ นัน้ อย่างแน่นอน ตอนนี้ ชีวติ ของเราเพียงแค่รอคอย และแสวงหาสันติสขุ ของพระองค์ สิง่ หนึง่ ทีเ่ ป็นเครือ่ งมือและได้ผลคือ การภาวนา... ซึง่ ดูเหมือนจะเล็กน้อย ดั่งแสงของดวงดาวยามค่ำคืน แต่กลับเป็นความสวยงามที่ยิ่งใหญ่ของจักรวาล” วันแรกของการเรียนคำสอนคริสตชน ฉันนักเรียนใหม่ทม่ี าเรียนคำสอนในช่วงเวลาคาบเกีย่ ว (9 ม.ค. 2011) รอยต่อของนักเรียน รุ่นเก่าที่กำลังจะได้รับศีลล้างบาปในไม่ช้า ฉันนั่งอยู่ท่ามกลางผู้คนมากมายต่างอายุและต่างที่มา ในขณะที่ฉันไม่รู้ว่าคนอื่นกำลัง พูดอะไรกัน ฉันกลับได้ยนิ เสียงของพระองค์ชดั เจนทีส่ ดุ “อย่ากลัวเลย เพราะเราจะอยูก่ บั เจ้า เราเป็นพระเจ้าของเจ้า เราจะหนุนใจเจ้า” ถ้านีค่ อื พระประสงค์ของพระองค์ ฉันก็จะตัง้ ใจและตอบรับให้ดที ส่ี ดุ ตลอดเวลาทีไ่ ด้เรียนคำสอน ฉันคิดเสมอว่านีเ่ ป็นโอกาสทีด่ ถี อื เป็นของขวัญจากพระเจ้า ถ้าวันนัน้ ฉันมัวแต่กงั วลว่าจะเกิดอะไรขึน้ จากการละทิง้ ความเชือ่ เดิมๆ มาติดตามพระเยซูเจ้า ฉันอาจจะพลาดโอกาสทีไ่ ด้เห็นรอยยิม้ และเสียงหัวเราะของผูค้ นรอบข้าง ถ้าวันนัน้ ดวงตาของฉันเต็มไปด้วยความกลัวกับกรณีพิพาทกับคุณแม่ของฉันเรื่องศาสนา (ในช่วงแรก) วันนี้ฉันอาจจะพลาดโอกาสที่ได้ชื่นชม ความงดงามของอาณาจักรสวรรค์... และขอขอบคุณคุณพ่อเอกรัตน์ บาทหลวงมาดฮาแต่นานาสาระทีท่ ำให้ฉนั รูว้ า่ ต้องทำอย่างไรกับการก้าวตามความรักของพระเจ้า อย่างไม่หลงทาง ขอบคุณครูเจี๊ยบ ที่เป็นทั้งเพื่อน พี่ ครู และตำแหน่งอย่างเป็นทางการ Mommy (แม่อุปถัมถ์) ที่ช่วยให้ฉันเติบโตในเส้นทาง ของคริสตชนและพร้อมจะติดตามพระเยซูเจ้าไปตลอดกาล... Jesus Christ our hope. You said: Come follow me, you will discover when you find with all your heart. Now l know the truth, Thank you God!

ยอห์น บอสโก พันทกานต์ ศรีวชิ ยั นนท์ (ผูเ้ รียนคำสอนปัจจุบนั )

ผมเองรู้จักพระเจ้ามาหลายปีแล้ว และได้เข้าวัดอัสสัมชัญมาปีกว่าๆ จากนั้นจึงตัดสินใจเรียนคำสอนเพื่ออยากรู้จักพระเจ้า ให้มากขึน้ สิง่ สำคัญทีผ่ มเชือ่ คือการทีพ่ ระเยซูสน้ิ พระชนม์บนไม้กางเขนเพือ่ ไถ่บาปให้กบั เรา มนุษย์เรานัน้ ไม่สามารถจะชำระล้างบาป ด้วยตัวเองได้ บาปของเราก็เปรียบเสมือนผ้าที่เปื้อนด้วยหมึก ถึงชะล้างอย่างไรก็ตาม มันก็ยังคงหลงเหลือคราบนั้นไว้ การได้รู้จัก พระเจ้าทำให้ชีวิตเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นอย่างมาก พระอวยพรผมทุกเรื่อง การเรียน การงาน และการใช้ชีวิตอย่างมีความสุข เวลาที่ทุกข์หรือสุขผมมักจะคิดถึงพระเสมอ เวลาทุกข์ก็จะสวดขอพร บางครั้งผมมองความทุกข์เป็นความสุข เพราะความทุกข์ บางครั้งถือเป็นบทเรียนที่สำคัญหากเราเลือกที่จะเรียนรู้ความทุกข์แล้วมันก็จะทำให้เราเป็นคนเข้มแข็งขึ้น และพร้อมที่จะ เผชิญกับปัญหาต่อไป ในขณะเดียวกันเวลาที่เรามีความสุข ก็ต้องไม่ลืมว่าการที่เรามีความสุขได้อย่างนี้เป็นเพราะพระ ยิ่งต้อง ขอบคุณพระหลายเท่า เพราะชีวติ ของเราได้ฝากให้กบั พระแล้ว การได้เรียนคำสอนกับคุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ถือเป็นความสุขอย่างหนึ่งที่พระอวยพรผมเช่นกัน การเรียนการสอน ของพ่อสนุกสนานมาก บรรยากาศเป็นกันเอง คุณพ่อมีวธิ กี ารทีอ่ ธิบายเข้าใจโดยง่าย และมักจะมีมกุ ตลกขบขันตลอดเวลา ทำให้เกิด ความรู ้ ส ึ ก ว่ า อยากมาเรี ย นคำสอนทุ ก ครั ้ ง เพราะทุ ก ครั ้ ง ที ่ ม าก็ จ ะได้ ค วามรู ้ แนวคิ ด เพื ่ อ ที ่ จ ะไปปรั บ ใช้ ก ั บ การดำเนิ น ชี ว ิ ต นอกจากนั้นยังได้รู้จักเพื่อน พี่ คุณลุง คุณน้า ในการเรียนคำสอนช่วงที่ผมชอบมากที่สุดคือ ช่วงแบ่งปันประสบการณ์ สิ่งที่แต่ละคน ได้พบเจอและเล่าออกมาโดยสอดคล้องกับหลักคำสอนนั้นมีหลายมุมมอง มุมมองของแต่ละคนน่าสนใจมาก บางครั้งยังเคยคิดว่า ถ้าเราเจอปัญหาอย่างที่คนอื่นเจอมา เราจะสามารถทำได้เช่นเขาหรือไม่ ประสบการณ์ของแต่ละคนที่ได้แบ่งปันออกมานั้น ถือเป็น บทเรียนทีม่ คี ณ ุ ค่าอย่างมาก เพราะต่อให้เนือ้ หาเดิมๆ แต่สง่ิ ทีไ่ ด้กลับมาไม่เหมือนเดิม สุดท้ายนี้ผมอยากจะบอกว่า พระเจ้าได้ประทานของขวัญชิ้นที่ดีที่สุดให้กับผม นั่นคือ “การได้รู้จักพระองค์”   ⌫⌫  ⌫   


มารีอา จิรภา ตุม้ กลีบ (พีเ่ ลีย้ ง)

เมื่อเดือนมิถุนายน 2551 หลังกลับจากแสวงบุญที่เยรูซาเล็ม มีความรู้สึกอยาก รู้จักพระเยซูมากขึ้น ดังนั้นเมื่อทราบว่าพระคุณเจ้าวีระ (ซึ่งตอนนั้นดำรงตำแหน่ง ผู้จัดการแผนกคริสตศาสนาธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ) มีการสอนคำสอนโดยใช้ กระบวนการรับผูใ้ หญ่เป็นคริสตชน (RCIA) ก็เลยขออนุญาตเข้าร่วม พระคุณเจ้าให้ชว่ ย แบ่งปันประสบการณ์ของเรากับพระให้ทุกคนในกลุ่ม จากวันนั้นจนถึงวันนี้ กว่า 4 ปี ทีไ่ ด้ทำหน้าทีช่ ว่ ยพระสงฆ์และครูคำสอน ในฐานะพีเ่ ลีย้ ง มีหน้าทีแ่ นะนำ ให้คำปรึกษา และเป็นเพื่อนในการก้าวไปด้วยกันกับพวกเขา สิ่งที่ประทับใจในการมาเป็นพี่เลี้ยงคือ เราไม่ได้ทำหน้าที่เพียงผู้ให้ โดยผ่านทางการแบ่งปัน ความเชื่อ ความศรัทธา และการดำเนินชีวิตประจำวันของเราที่มีพระอยู่เคียงข้าง แต่เราเอง ก็ยงั เป็นผูร้ บั อีกด้วย กล่าวคือ เราได้รบั กำลังใจกลับมาจากผูเ้ รียน โดยได้เห็นถึงความเข้มแข็ง อดทน และความยากลำบากของแต่ละคนในการฟันฝ่าอุปสรรคจากคนในครอบครัว รวมถึงคนรอบข้างใน การทีจ่ ะมาเป็นคริสตชน พวกเขามีความร้อนรนในการมาเรียน ร่วมมิสซา หรือพิธกี รรมต่างๆ ของวัด สิ่งนี้ทำให้เราต้องย้อนดูตัวเองว่าเราเองนั้นโชคดีเกิดมาเป็นลูกของพระ อยู่ในครอบครัวคริสตชน มาตัง้ แต่เกิด เราได้ทำหน้าทีแ่ ละดำเนินชีวติ ของเราให้เหมาะสมไหม หรือเราเพียงแต่ได้ชอ่ื ว่าเกิดมา เป็นคริสตชนเท่านั้น มีความสุขมากที่ได้ทำหน้าที่และพร้อมที่จะก้าวไปด้วยกันกับคริสตชนใหม่ เพื่อเสริมสร้างความรักซึ่งกันและกันตามแบบอย่างคำสอนของพระคริสตเจ้า

ร็อค สมเจตน์ วรวิทย์ไพศาล (พีเ่ ลีย้ ง)

ผมเข้ามาอยูต่ รงนีไ้ ด้อย่างไร เมือ่ 4 ปีกอ่ น หลังจากมิสซาเลิกทีอ่ ารามพระหฤทัย คุณพ่อวีรศักดิถ์ ามผมว่า “เลิกวัดแล้ว จะไปไหน” ก็ตอบไปว่ากลับบ้านดูทีวีครับ หลังจากนั้นคุณพ่อก็ถามอีก 3 ครั้ง ผมก็ตอบไปแบบเดิม จนครั้งสุดท้าย ผมรู้สึกสะกิดใจว่า มันหมายความว่าอย่างไร มันหมายความว่าผมไม่ได้ทำอะไรให้เกิดประโยชน์เลย จึงตัดสินใจทำอะไรที่เป็นประโยชน์บ้าง เลยได้มี โอกาสมาช่วยงานคำสอนที่วัดอัสสัมชัญ ได้อะไรจากงานนี้เหรอครับ ตอนแรกเข้าใจผิดอย่างแรง คิดว่าเราเป็นผู้ให้ มาช่วยพวกเขาค้นหาพระเจ้า แต่กลายเป็นว่า เราคิดผิดถนัด พวกเขาต่างหากทีส่ อนผม ดึงผมออกมาจากโลกแคบๆ ว่า เรารูแ้ ล้ว อ่านพระคัมภีรม์ าพอแล้ว ไปวัดทุกวันอาทิตย์กพ็ อ ทำดีประปรายน่าโอเค แต่พวกเขาดึงผมออกมาจากกะลา ให้รู้ว่าโลกที่แท้จริงเป็นอย่างไร ว่าพวกเขาต้องต่อสู้อย่างไรกว่าจะมา ถึงจุดนีไ้ ด้ กว่าจะมานัง่ เรียนตรงจุดนี้ ต้องต่อสูก้ บั ทางบ้านมามากเท่าไหร่ เพือ่ ให้ทางบ้านยอมรับพวกเขา บางคนมาร่วมมิสซาเป็นปีๆ ก่อนจะตัดสินใจมาเรียน แต่ละคนแต่ละเหตุการณ์เป็นอัศจรรย์ทั้งนั้น มีน้องคนนึง พ่อเป็นพุทธ แม่เป็นอิสลาม อยู่มาวันหนึ่งพ่อแม่ ให้เลือกข้างว่าจะเลือกศาสนาไหน สุดท้ายเลือกเป็นคริสเตียน แต่คืนที่กำลังตัดสินใจ เพื่อนที่เป็นคริสเตียนโทรมาชวน เลยลองไปดู แต่ไม่คลิ๊ก ท้ายที่สุดเลือกเป็นคาทอลิกเพราะมาแล้วรู้สึกสบายใจกว่า เป็นอัศจรรย์ชัดๆ รู้สึกว่าพระสอนเราจากชีวิตจริงของพวกเขา ว่าเราโชคดีมากๆ รูจ้ กั พระโดยไม่ตอ้ งออกแรง มีคนป้อนถึงปาก แต่พวกเขาบางคนสูจ้ นสุดกำลังเพือ่ ให้ได้เป็นคริสตชน ขอบคุณพระที่สอนผมจากชีวิตจริงๆ ของคริสตชนใหม่ ให้เห็นความกระตือรือร้น ความเชื่ออันเข้มแข็งศรัทธาแรงกล้า ได้เห็น แผนการของพระเจ้าในแต่ละบุคคล ได้เห็นอัศจรรย์ และได้รวู้ า่ พระรักพวกเราทุกคน

หลุยส์ มารี ยัค อรพินท์ ชมจินดา (ครูคำสอน)

“การสอนคำสอนผูใ้ หญ่” เมือ่ ได้ยนิ ครัง้ แรกรูส้ กึ ว่ามันเป็นเรือ่ งยาก เพราะมักมีคำกล่าวว่า “ผูใ้ หญ่เป็นผูม้ ปี ระสบการณ์มากกว่า มีวุฒิภาวะสูง และมีความเป็นตัวของตัวเอง” แต่เมื่อได้เรียนรู้กระบวนการขั้นตอนการรับผู้ใหญ่เข้าเป็นคริสตชน (Rite of Christian Initiation of Adults-RCIA) ทำให้รวู้ า่ การสอนคำสอนผูใ้ หญ่ไม่ใช่เรือ่ งยากอย่างทีค่ ดิ เพราะเรามีทมี คือ คุณพ่อ ครูคำสอน และพีเ่ ลีย้ ง (ที่เป็นคริสตชนแล้ว) มาเรียนคำสอนเพื่อฟื้นฟูความรู้ ข้อความเชื่อให้เข้มแข็งขึ้น การเรียนคำสอนของผู้ใหญ่จึงไม่ใช่แค่การเรียนในห้องเรียนแบบทั่วๆ ไป แต่เป็นการมา “พบปะกันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อฟัง คำสั่งสอน แบ่งปันประสบการณ์ความเชื่อ และเรียนรู้พระคัมภีร์ร่วมกัน” เพื่อพวกเขาจะได้เติบโตขึ้นทางความเชื่อและสามารถ ดำเนินชีวิตแบบคริสตชนตามเส้นทางที่พวกเขาตัดสินใจเลือก จากประสบการณ์ 7 ปีทไ่ี ด้ชว่ ยงานคำสอนผูใ้ หญ่ รูส้ กึ ประทับใจผูเ้ รียนคำสอนทุกรุน่ เพราะได้เห็นพัฒนาการของแต่ละคนทีจ่ าก เริม่ แรกไม่รจู้ กั กัน ไม่คอ่ ยกล้าพูดคุยกันเท่าไหร่ แต่เมือ่ ผ่านกระบวนการเรียนแบบ RCIA ไปได้สกั ระยะ จะเห็นว่าแต่ละคนเริม่ มีเพือ่ นสนิท พูดคุยกันมากขึ้น บ้างก็กลายเป็นกลุ่มเพื่อนสนิทที่คอยช่วยเหลือกันและเป็นกำลังใจให้กัน โดยมีบรรดาพี่เลี้ยงที่เป็นเพื่อนร่วม “ก้าวไปด้วยกัน” กับพวกเขาบนเส้นทางความเชื่อ  ⌫⌫  ⌫    


º·¤ÇÒÁ...á¼¹¡ÇÔ¶ÕªØÁª¹ÇÑ´

สุขสันต์วนั ปัสกาแก่พน่ี อ้ งทีร่ กั ทุกท่านครับ เชือ่ ว่าทุกท่านคงได้สมโภชปัสกาด้วยความชืน่ ชมยินดี หลายๆ ชุมชนย่อย คงได้มีโอกาสฉลองปัสกาในชุมชนย่อยของตน ในสารฯ ฉบับนี้ อยากทำความเข้าใจกับพี่น้องถึงกระบวนการของ วิถีชุมชนวัด จึงขอยกตัวอย่างการไตร่ตรองคำสอนของพระเยซูเจ้าและพระศาสนจักรในเรื่อง “ทุกคนเป็นผู้รับใช้ของ พระอาณาจักรพระเจ้า” ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการเป็นผู้นำวิถีชุมชนวัด และในการดำเนินชีวิตคริสตชน ซึ่งเราใช้ แนวทางนีใ้ นการอบรมผูน้ ำวิถชี มุ ชนวัด โดยเริม่ จากการอ่านคำสอนของพระเยซูเจ้าและพระศาสนจักร การไตร่ตรองร่วมกัน การแสดงความคิดเห็น หาแนวทางในการปฏิบตั ริ ว่ มกัน และจบด้วยการอ่านบทเสริม คำสอนของพระเยซูเจ้าและพระศาสนจักร “พระเยซูเจ้าทรงสอนเราว่า เรามีพระอาจารย์ พระผู้ช่วยให้รอดพ้น เพียงผูเ้ ดียว ดังนัน้ ผูอ้ น่ื จึงเป็นเพียงผูร้ บั ใช้ (มธ 23:8) อาศัยการรับใช้และพระพรทีแ่ ตกต่างกัน เรารับใช้พระเจ้าองค์เดียวกัน และการรับใช้พระเจ้าทุกอย่างมีศกั ดิศ์ รีเท่าเทียมกัน (พระสังฆธรรมนูญเรือ่ งพระศาสนจักร ข้อ 32)” การไตร่ตรอง “เรามีวธิ กี ารอย่างไรในการเป็นผูน้ ำพีน่ อ้ งคริสตชนในชุมชนย่อยของเรา?” (และหลังจากไตร่ตรองแล้ว เราจะมีแนวทางปฏิบตั ริ ว่ มกัน จากนัน้ เชิญชวนพีน่ อ้ งอ่านบทเสริม เราจะพบบางสิง่ ทีเ่ ป็นข้อเสนอแนะแก่เรา ความคิดเห็น ของพีน่ อ้ งหลังจากไตร่ตรองเป็นเรือ่ งสำคัญ บทเสริมเป็นเพียงคำแนะนำทีเ่ สริมเข้ามาเท่านัน้ จึงไม่ควรอ่านบทเสริมก่อน) บทเสริม 1.มีพฤติกรรมการเป็นผูน้ ำทีใ่ ห้จติ วิญญาณแก่สมาชิก เป็นผูร้ บั ใช้สมาชิก ผูน้ ำต้องหลีกหนีจากการแสวงหา หรือความต้องการทีจ่ ะได้รบั ความสำคัญกว่าคนอืน่ 2.ผูน้ ำต้องพยายามเติบโตไปพร้อมกับกลุม่ ด้วยความรักและความเชือ่ 3.ผู้นำต้องแบ่งปัน เกียรติ ความสำเร็จ ชื่อเสียง ความล้มเหลว และความรับผิดชอบกับสมาชิก 4.ชุมชนจะเข้มแข็ง เมือ่ ผูน้ ำตายจากตนเอง รับรูแ้ ละถวายเกียรติแด่พระเยซูเจ้าในฐานะผูน้ ำ และพระอาจารย์ จากทีก่ ล่าวข้างต้น พีน่ อ้ งจะเห็นได้วา่ กระบวนการของวิถชี มุ ชนวัดเป็นกระบวนการเรียนรูข้ องผูใ้ หญ่ ทีใ่ ห้เกียรติกบั ความคิดเห็นของสมาชิกทุกคน เราไม่เน้นที่การสอนแบบผู้รู้ที่ให้แก่ผู้ที่ไม่รู้ แต่เน้นการไตร่ตรองร่วมกันของสมาชิก โดยมีรากฐานในคำสอนของพระเยซูเจ้าและพระศาสนจักร และเป็นการไตร่ตรองทีน่ ำไปสูก่ ารปฏิบตั ริ ว่ มกัน เพือ่ ความดี ของแต่ละบุคคลและชุมชนย่อย สุดท้ายนี้ แผนกวิถีชุมชนวัดขอขอบคุณคุณพ่อชวลิต กิจเจริญ และเจ้าหน้าที่เซนาตุส คณะพลมารีย์ ที่ได้เปิด โอกาสให้เราได้ไปแบ่งปันเรือ่ งวิถชี มุ ชนวัดกับพวกท่าน เมือ่ วันที่ 16 มีนาคมทีผ่ า่ นมา และคณะพลมารียร์ บั ทีจ่ ะช่วยรณรงค์ โครงการอ่านพระคัมภีรใ์ นอัครสังฆมณฑลของเรา และในสังฆมณฑลอืน่ ๆ ด้วย ขอพระเป็นเจ้าอวยพระพรพีน่ อ้ งผูม้ นี ำ้ ใจดีทกุ ท่าน แม้ไม่ได้เอ่ยนามท่าน ณ ทีน่ ก้ี ต็ ามครับ

  ⌫⌫  ⌫   


บอกข่าวเล่าสาร

⌫

พิธมี สิ ซาปลงศพคุณพ่อธีรวัฒน์ เสนางค์นารถ

วันอังคารที่ 3 เมษายน 2012 เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธมี สิ ซาปลงศพคุณพ่อเรนาตุส ธีรวัฒน์ เสนางค์นารถ ร่วมกับพระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู พระสังฆราชยอแซฟสังวาลย์ ศุระศรางค์ พระสังฆราชยอแซฟ ชูศักดิ์ สิริสุทธิ์ คุณพ่อจำเนียร กิจเจริญพร้อมด้วยคณะสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นักบวชชายหญิง บรรดาญาติพี่น้อง มาร่วมอาลัยรักคุณพ่อเป็นครั้งสุดท้าย จำนวนมาก ณ วัดนักบุญเปโตร สามพราน

สัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่องโกงบ้างไม่เป็นไร แล้วประเทศไทยจะอยู่ได้หรือ วันเสาร์ท่ี 10 มีนาคม 2012 เวลา 08.30 - 17.00 น. ชมรมนักธุรกิจคาทอลิกจัดสัมมนาเชิงปฏิบตั กิ าร เรือ่ งโกงบ้างไม่เป็นไร แล้วประเทศไทย จะอยู่ได้หรือ ณ ห้องประชุมชั้น 4 โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา โดยมี คุณพ่อสานิจ สถะวีระวงส์ อุปสังฆราช วจนพิธีกรรมเปิด คุณประจวบ ตรีนิกร เป็นผู้ดำเนินการสัมมนา ช่วงท้ายของการสัมมนา ในวันนี้พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ได้เข้าร่วมฟังและให้ข้อคิดแก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา ทุกท่าน จากนัน้ ถ่ายภาพร่วมกัน

ฉลองสามเณราลัย ปีท่ี 48 วันอาทิตย์ที่ 11 มีนาคม 2012 เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธาน ถวายเกียรติแด่ท่านนักบุญยอแซฟ ฉลองสามเณราลัย ปีที่ 48 ณ วัดน้อยบ้านเณรเล็กพร้อมด้วยคณะสงฆ์กว่า 10 องค์ คณะสามเณรและญาติพี่น้องของบรรดาสามเณรมาร่วมใน การฉลองบ้านเณรด้วย

พิธโี ปรดศีลกำลังนักเรียนคาทอลิกเขต 3 วันเสาร์ท่ี 10 มีนาคม 2012 พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธโี ปรดศีลกำลังให้กบั นักเรียนคาทอลิกเขต 3 จำนวน 35 คน ณ วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ บางบัวทอง โดยมี คุณพ่อวิชชุกรณ์ เกตุภาพ และคุณพ่อบุญเสริม เนือ่ งพลี เป็นประธานร่วม

 ⌫⌫  ⌫    


พิธเี อฟฟาธา วันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิท์ ่ี 7 เมษายน 2012 อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดพิธฟี น้ื ฟูจติ ใจผูเ้ ตรียมรับศีลล้างบาปผูใ้ หญ่ (พิธเี อฟฟาธา) โดยพระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธาน ทีห่ อ้ งประชุมโรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา โดยมีผเู้ ตรียมตัวรับศีลล้างบาปผูใ้ หญ่ทง้ั สิน้ 160 คน พ่อ-แม่อปุ ถัมภ์ 63 คน พระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวช ครูคำสอน เจ้าหน้าทีศ่ นู ย์ฯ พีเ่ ลีย้ ง นักศึกษาภาคฤดูรอ้ น ปี 2 มีผเู้ ข้าร่วมครัง้ นีป้ ระมาณ 302 คน

ค่ายปัสกาสัมผัสชีวติ ปี 2012 วันที่ 23-25 มีนาคม 2012 แผนกเยาวชนอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ นำโดยคุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ ผู้จัดการแผนกฯ จัดค่ายปัสกาสัมผัสชีวิตปี 2012 ณ วัดนักบุญยอแซฟ หนองรี ในปีนม้ี เี ยาวชนสนใจเข้าร่วมจำนวน 113 คน และได้รบั การต้อนรับ อย่างอบอุน่ จากคุณพ่อวิจติ ร แสงหาญ และสัตบุรษุ วัดนักบุญยอแซฟ หนองรี

เปิดค่ายคำสอนภาคฤดูร้อน วันอาทิตย์ท่ี 1 เมษายน 2012 เวลา 15.00 น. คุ ณ พ่ อ เอกรั ต น์ หอมประทุ ม ผู ้ จ ั ด การแผนก คริสตศาสนธรรมกรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธี บูชามิสซาขอบพระคุณ เปิดค่ายคำสอน ร่วมใจกัน โมทนาคุณ และเปิดให้ผปู้ กครองได้มสี ว่ นร่วมใน บูชามิสซาครั้งนี้ วันนี้ ทุกคนได้แห่ใบลาน มายัง วัดน้อยของค่ายเพื่อร่วมส่วนกับพระมหาทรมาน ของพระเยซูเจ้า ณ บ้านสวนยอแซฟ

ประชุ ม คณะกรรมการดำเน ิ น งาน วิ ถ ี ช ุ ม ชนวั ด อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ครัง้ ที่ 3 เมื ่ อ วั น ที ่ 9 มี น าคม 2012 เวลา 10.00 น. คณะกรรมการดำเนิ น งาน วิถชี มุ ชนวัด อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดย คุ ณ พ่ อ ปิ ย ะชาติ มะกรครรภ์ คุ ณ พ่ อ เชษฐา ไชยเดช ซิสเตอร์กัลยา ตรีโสภา ซิ ส เตอร์ ส ุ ว รรณี พั น ธ์ ว ิ ไ ล และคุ ณ ครู สุพรรณี บุญยะรัตน์ ได้พร้อมใจมาประชุม ณ สักการสถานบุญราศีนโิ คลาส บุญเกิด กฤษบำรุง เพือ่ ติดตามและรายงานความก้าวหน้าของโครงการทีท่ ำในระยะเวลาทีผ่ า่ นมาสำหรับปี 2012

สร้างบุคลากรด้านพระคัมภีร์ คุ ณ พ่ อ พงศ์ เ ทพ ประมวลพร้ อ ม ได้เป็นวิทยากรศึกษาพระคัมภีร์หลักสูตร “สร้างบุคลากรด้านพระคัมภีร”์ สังฆมณฑล เชี ย งใหม่ ครั ้ ง ที ่ 11 ซึ ่ ง จั ด โดยแผนก พระคัมภีร์ของสังฆมณฑลเชียงใหม่ และ ในครั้งนี้ ทางศูนย์คำสอนกรุงเทพฯ ได้ส่ง คุณอมรรัตน์ พันธ์พานิช เจ้าหน้าที่ศูนย์ คำสอนไปเป็นผูช้ ว่ ยในการอบรมครัง้ นีด้ ว้ ย โดยเนื้อหาครั้งนี้เป็นการอบรมเกี่ยวกับ “พระวรสารนักบุญยอห์น” จัดอบรมทั้งสิ้น 5 วัน ตั้งแต่วันที่ 5-9 มีนาคม 2012 มีครูคำสอนและ นักบวชหญิงในสังฆมณฑลเชียงใหม่ เข้าร่วมอบรมทัง้ สิน้ จำนวน 60 ท่าน

  ⌫⌫  ⌫   


สัมมนาบุคลากร แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว แผนกส่ ง เสริ ม ชี ว ิ ต ครอบครั ว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดประชุม-สัมมนา บุ ค ลากรของแผนกส่ ง เสริ ม ชี ว ิ ต ครอบครั ว เมื่อวันที่ 3 - 4 มีนาคม 2012 ที่บ้านผู้หว่าน สามพราน เพือ่ ทบทวน แบ่งปันและวางแนวทาง การปฏิบัติร่วมกันในปี 2012 นี้ และเพื่อให้ สอดคล้องกับแผนงานของฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยคุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ผู้ช่วยพระสังฆราชฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มาให้ความรู้เรื่อง วิถชี มุ ชนวัด (BEC) มีผเู้ ข้าร่วมจำนวน 33 คน

กิจกรรมธรรมทูตสัญจร ฝ่ายงานธรรมทูต อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยแผนกหน่วยงานเคลื่อนที่ (Mobile Teams) ได้จัดกิจกรรมธรรมทูตสัญจรขึ้น ณ วัดนักบุญยอแซฟ หนองรี เนื่องในโอกาส ฉลองวัดประจำปี เมื่อวันเสาร์ที่ 17 มีนาคม ที่ผ่านมา การจัดกิจกรรมสัญจรในครั้งนี้ ได้มีการจัดนิทรรศการให้ความรู้ในเรื่องเกี่ยวกับงานด้านธรรมทูต ในขณะเดียวกันก็มี กิจกรรมตอบคำถามจากนิทรรศการ เพื่อให้ผู้เข้าชมงานได้รับความสนุกสนาน รวมทั้ง ได้รับความรู้เพิ่มเติมและเข้าใจในเนื้อหาของนิทรรศการง่ายยิ่งขึ้น

จัดสัมมนาฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัว (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 135 แผนกส่งเสริมชีวิตครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดสัมมนาฟื้นฟู ชีวติ ครอบครัว (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 135 เมือ่ วันที่ 16-18 มีนาคม 2012 ทีบ่ า้ นสวนยอแซฟ สามพราน นครปฐม มีผเู้ ข้าร่วมสัมมนาฯ 5 คู่

ตัวแทนสามเณรเล็กยอแซฟร่วมกิจกรรม สานสัมพันธ์กับพระภิกษุ และสามเณรวัดเสนหา พระอารามหลวง จ.นครปฐม เมื่อวันจันทร์ที่ 12 มีนาคม ที่ผ่านมา คุณพ่อ ไพศาล เต็มอรุณรุ้ง ได้เปิดโอกาสให้สามเณรชั้น ซีเนียร์ปที ่ี 1 และ 2 ร่วมกิจกรรมศาสนสัมพันธ์พบปะ พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดในมิติของคำสอนและ การใช้ชีวิตประจำวันของสามเณรของทั้ง 2 ศาสนา และเยี ่ ย มชมบริ เ วณในเขตวั ด เสนหา (เสน่ - หา) พระอารามหลวง โดยมีพระภิกษุ 3 รูปมาเป็นวิทยากร ในกิจกรรมครัง้ นีอ้ กี ด้วย โดย 2 ใน 3 รูปนัน้ เป็นนักศึกษา ร่วมคณะของคุณพ่อไพศาล คณะบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากรอีกด้วย หลังจากพูดคุยกันแล้ว สามเณรยังได้รว่ มรับประทานอาหารร่วมกันอีกด้วย

ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนเมษายน 2012 1-29 เม.ย. 7 เม.ย. 16 เม.ย. 17-20 เม.ย. 21 เม.ย. 26 เม.ย. 28 เม.ย.

ค่ายคำสอนภาคฤดูรอ้ น ปีท่ี 21 บ้านสวนยอแซฟ ส่งเสริมพิธีรับผู้ใหญ่เข้าเป็นคริสตชน (RCIA) ประชุมคณะกรรมการบริหารฯ ณ บ้านผูห้ ว่าน 14.30 น. สัมมนาพระสงฆ์อคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำปี 2012 เริม่ 10.00 น. ณ บ้านผูห้ ว่าน โครงการอบรมพระคัมภีร์ ครัง้ ที่ 4 ประชุมสภาสงฆ์ รับศีลกำลังเขต 3 วัดซางตาครูส้ กุฏจี นี  ⌫⌫  ⌫    


à¡Ãç´¤ÇÒÁÃÙ¤é ÓÊ͹...¤Ø³¾èÍàÍ¡Ãѵ¹ì ËÍÁ»ÃзØÁ

สุขสันต์วันปัสกาแด่พี่น้องที่รัก พระเยซูเจ้าสิน้ พระชนม์และทรงกลับคืนชีพ แล้ว สิ่งที่พระองค์ประทานให้บรรดาสาวก ภายหลั ง การกลั บ คื น ชี พ คื อ สั น ติ ส ุ ข แก่ พวกเขา หลังการสิ้นพระชนม์ บรรดาสาวก รู้สึกผิดหวัง สับสน ไม่มั่นใจว่าต้องทำอะไร ต่อไป จะเผชิญหน้ากับอุปสรรคได้อย่างไร แต่พระเยซูเจ้าปรากฎมาท่ามกลางพวกเขา และมอบสันติสุขให้แก่พวกเขา คำว่าสันติสุข ที ่ พ ระมอบให้ มั น เป็ น มากกว่ า ความสุ ข ความสงบ ความปลื้มปิติ แบบที่สามัญชน พยายามแสวงหา แต่สนั ติสขุ คือความสมดุลย์ ในความสัมพันธ์ที่พวกเขาพึงมี ซึ่งมี 3 มิติ คื อ ความสมดุ ล ย์ ท ี ่ พ วกเขามี ต ่ อ พระ ต่ อ เพื่อนมนุษย์ และต่อธรรมชาติ ซึ่งหากชีวิต เราขาดซึ ่ ง มิ ต ิ ใ ดมิ ต ิ ห นึ ่ ง เราก็ ไ ม่ ส ามารถ มี ส ั น ติ ส ุ ข อย่ า งครบถ้ ว นได้ เช่ น คนหนึ ่ ง มี สมดุลย์ที่ดีกับพระ สวดภาวนาประจำ มาวัด สม่ ำ เสมอ แต่ ข ี ้ โ กง ชอบนิ น ทาชาวบ้ า น เอาเปรียบคนอื่นร่ำไป ชีวิตของเขาก็ไม่อาจมี สั น ติ ส ุ ข ได้ หรื อ คนที ่ ม ี ส มดุ ล ย์ ด ี ก ั บ เพื ่ อ น พี่น้อง คอยช่วยเหลือเมื่อมีโอกาส มีน้ำใจ โอบอ้อมอารีย์ แต่ไม่เชือ่ ในศาสนา วัดวาไม่ไป ไม่สวดภาวนา ความสุขในชีวิตของเขาก็ยัง ไม่ใช่สนั ติสขุ ทีพ่ ระเยซูเจ้าได้มอบให้กบั บรรดา สาวกของพระองค์ หรือคนหนึ่งที่มีสมดุลย์ ทัง้ สองมิติ แต่ไม่รกั ษาธรรมชาติ ซึง่ เป็นสิง่ สร้าง ของพระ เช่นคนที่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย บริโภค เกิ น จำเป็ น แม้ เ งิ น ที ่ ห าได้ จ ะได้ ม าจากวิ ธ ี สุจริตก็ตาม หรือถึงแม้จะมาวัด สวดภาวนา สม่ำเสมอ เป็นคนดีช่วยเหลือผู้อื่น แต่เขา ก็ยังไม่มีสันติสุขแบบที่พระเยซูเจ้ามอบให้ เพื ่ อ ที ่ จ ะรั บ สั น ติ ส ุ ข ที ่ พ ระเยซู เ จ้ า มอบ เราจำเป็ น ต้ อ งมี ค วามสนิ ท สนมกั บ พระ มีทัศนคติที่ดีต่อเพื่อนพี่น้อง และใช้ทรัพยากร ในโลกอย่ า งมี ค ุ ณ ค่ า เราอาจจะมี จ ุ ด เด่ น ในบางมิติ จุดด้อยในบางมิติ แต่เป็นเรื่องที่ ต้องพยายามปรับปรุงชีวิตของเรา เพื่อจะได้ มี ส ั น ติ ส ุ ข ที ่ พ ระเยซู เ จ้ า ซึ ่ ง ยอมตายและ กลับคืนชีพมามอบให้ ขอสันติสุขจงอยู่กับพี่น้องเสมอ

วันสมโภชปัสกา เป็นวันสมโภชที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในปฏิทินของศาสนาคริสต์ คริสตชน จะฉลองการกลั บ คื น พระชนมชี พ ของพระเยซู เ จ้ า สำหรั บ พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก วั น อาทิ ต ย์ ป ั ส กาจะมี ข ึ ้ น หลั ง จาก 40 วั น ของการสวดภาวนา การถื อ ศี ล อดอาหาร และการทำทานที ่ เ รี ย กกั น ว่ า เทศกาลมหาพรต โดยอาศั ย การต่ อ สู ้ ฝ ่ า ยจิ ต ใจและ การปฏิ เ สธความต้ อ งการฝ่ า ยเนื ้ อ หนั ง คริ ส ตชนเตรี ย มตั ว เองเพื ่ อ ตายฝ่ า ยจิ ต กั บ พระคริสตเจ้าในวันศุกร์ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูเจ้าทรงสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน ดังนั้น เราจึงสามารถกลับคืนชีพกับพระองค์เพื่อรับชีวิตใหม่ในวันปัสกา การทำให้ความเชื่อของเราสมบูรณ์ วันปัสกาคือวันที่เฉลิมฉลองเพราะเป็นการทำให้ความเชื่อของคริสตชนสมบูรณ์ นั ก บุ ญ เปาโลเขี ย นว่ า “ถ้ า พระคริ ส ตเจ้ า ไม่ ก ลั บ คื น พระชนมชี พ จากบรรดาผู ้ ต าย ความเชื่อของเราก็ไร้ความหมาย” (1 คร 15.17) พระเยซูเจ้าทรงช่วยมนุษยชาติให้รอดจากพันธนาการแห่งบาปด้วยการสิ้นพระชนม์ ของพระองค์ และพระองค์ทรงทำลายแอกแห่งบาปในตัวเรา แต่การกลับคืนพระชนมชีพ ของพระองค์เป็นพระสัญญาเกี่ยวกับชีวิตใหม่ ทั้งในโลกนี้และในโลกหน้าสำหรับเรา การมาถึงของพระอาณาจักร ชีวติ ใหม่เริม่ ต้นในวันอาทิตย์ปสั กาในบทข้าแต่พระบิดา เราสวดภาวนาว่า “พระประสงค์ จงสำเร็จในแผ่นดิน เหมือนในสวรรค์” และพระคริสตเจ้ายังตรัสกับบรรดาศิษย์ของ พระองค์ว่า “บางท่านที่ยืนอยู่ที่นี่จะไม่ลิ้มรสความตายจนกว่าจะเห็นพระอาณาจักรของ พระเจ้ามาถึงพร้อมด้วยพระอานุภาพ” (มก 9.1) บรรดาปิตาจารย์ในสมัยเริ่มแรกเห็นว่า วันสมโภชปัสกาทำให้พระสัญญานีส้ ำเร็จ พร้อมกับการกลับคืนพระชนมชีพของพระคริสตเจ้า พระอาณาจักรของพระเจ้าได้รับการสถาปนาในโลกในรูปแบบของพระศาสนจักร ชีวิตใหม่ในพระคริสตเจ้า ตามธรรมประเพณีแล้ว คนที่นับถือศาสนาอื่นที่ต้องการกลับใจมานับถือนิกาย คาทอลิก จะรับศีลล้างบาปในวันตื่นเฝ้าของคืนสมโภชปัสกา ซึ่งเรียกว่าวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ (วันก่อนวันอาทิตย์ปัสกา) บางทีเริ่มตอนพระอาทิตย์ตก ปกติพวกเขาจะผ่านขบวนการ อันยาวนานแห่งการศึกษาและการเตรียมตัวที่เรารู้จักกันว่า “พิธีรับผู้ใหญ่เข้าเป็น คริสตชน” (RCIA)การล้างบาปของพวกเขาเปรียบเสมือนการสิน้ พระชนม์และการกลับคืน พระชนมชีพของพระเยซูเจ้า ขณะที่พวกเขาตายต่อบาปและกลับคืนชีพสู่ชีวิตใหม่ ในพระอาณาจักรของพระเจ้า ศีลมหาสนิท – กำหนดปัสกา เนื ่ อ งจากวั น สมโภชปั ส กามี ค วามสำคั ญ ยิ ่ ง ต่ อ ความเชื ่ อ ของคริ ส ตชน บางที พระศาสนจักรคาทอลิกต้องการให้คาทอลิกทุกคนที่ผ่านการเตรียมตัวรับศีลมหาสนิท ครั้งแรกแล้ว รับศีลมหาสนิทระหว่างเทศกาลปัสกา ซึ่งกำหนดเวลาจนถึงวันสมโภช พระจิ ต เจ้ า ซึ ่ ง ตรงกั บ 50 วั น หลั ง สมโภชปั ส กา (พระศาสนจั ก รยั ง เชิ ญ ชวนเราให้ รับศีลอภัยบาปก่อนรับศีลมหาสนิทในวันปัสกาด้วย) การรับศีลมหาสนิทคือเครื่องหมาย ที่เห็นได้ของความเชื่อของเราและการมีส่วนร่วมในพระอาณาจักรของพระเจ้า แน่นอน เราควรรับศีลมหาสนิทบ่อยครั้งเท่าที่ทำได้ เพราะถ้ากระทำตามบทบัญญัติพื้นฐานของ พระศาสนจักรทีว่ า่ “กำหนดปัสกา” นัน้ เป็นเพียงมาตรการขัน้ ต่ำสุดของพระศาสนจักร สุขสันต์วนั ปัสกา Happy Easter Bouna Pasqua แด่พน่ี อ้ งทีร่ กั ทุกท่าน ËÁÒÂà赯 “กำหนดปัสกา” ตามบทบัญญัติพื้นฐานของพระศาสนจักร - จงรับศีลอภัยบาปอย่างน้อยปีละครั้ง - จงรับศีลมหาสนิทอย่างน้อยปีละครั้งในกำหนดปัสกา              ⌫⌫             ⌫ ⌦                   ⌫  ⌫                                 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.