สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

Page 1

⌫⌫  ⌫   

 พ่อแม่จะต้องเป็นแบบอย่างแก่ลกู ๆ และพร้อมจะปฏิบตั ติ ามพระประสงค์ ของพระเจ้ามากกว่าทำตามใจของตนเอง พ่อแม่ตอ้ ง "กล้าสอนลูก" "กล้าขัดใจลูก" เพือ่ ช่วยให้ลกู ๆ ทำในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง ทีเ่ ป็นไปตามพระประสงค์ของพระเจ้า และมิใช่การตามใจลูกอย่างผิดๆ วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสฉลองวัดนักบุญอันนา ท่าจีน วันอาทิตย์ท่ี 25 กรกฎาคม 2010

3 4 8

สังฆานุกร ผูช้ ว่ ยพิธกี รรม ผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ ปี 2010 น.

แนะนำสื่อดีๆ

ในวันสื่อมวลชนสากล น. การนำข่าวดี สูว่ ฒ ั นธรรม น.

สัมภาษณ์

⌫

อาแหมะ เป็ น คำเรี ย ก แม่ ภาษาจี น ที ่ ล ู ก ๆ 12 คน ในครอบครัวมธุรสสุวรรณ แสดงถึงความรักความผูกพันและ ความห่วงใยในครอบครัว อาแหมะ อันนา สุวรรณี มธุรสสุวรรณ ผู ้ ส ู ง อายุ อ ารมณ์ ด ี วั ย 81 ปี ถ่ า ยทอดคุ ณ ธรรมคำสอน ด้วยแบบอย่างชีวิตกับลูกๆ ให้สัมภาษณ์ด้วยสีหน้าที่มีแต่ รอยยิ้ม กล่าวถึงลูกๆ ว่า “ความภูมิใจในชีวิตของอาแหมะ ก็คือ การมีลูกๆ นี่แหละ” อาแหมะใช้เวลา 81 ปี สอนลูกด้วย คำสอนที่เรียบง่าย “ให้รักกันและกัน” “ขยัน” และหมั่นทำ แต่ความดี ชีวิตในวัยเด็กของอาแหมะ อยู่ในครอบครัวชาวจีน มีพี่น้อง 8 คน เป็นลูกคนโต เรียนจบชั้น ป.4 หาเลี้ยงชีวิต ด้วยการค้าขาย หลังจากแต่งงานกับเปาโล เป็งเฮง แซ่ฮ้อ เปลี่ยนวิถีชีวิตจากค้าขาย มาประกอบอาชีพทำนา ปลูกผัก อยู่แถวคลอง 12 พร้อมๆ กับเลี้ยงดูลูกจำนวน 12 คน (ชาย 5 คน หญิง 7 คน) การมีลูกมากไม่ได้รู้สึกว่า เป็นอุปสรรค ในชีวิตแต่อย่างไร ตรงกันข้ามกลับมองว่า “ลูกที่พระเจ้าประทานให้นั้นคือพระพรของชีวิต” การเลี้ยงลูกก็ตามแบบ ชาวนาทัว่ ไป เลีย้ งไก่ ปลูกผักไว้กนิ ลูกๆ แต่ละคนมีหน้าทีข่ องตัวเอง พีช่ ว่ ยดูแลน้อง และดูแลกันและกัน แม้จะจบเพียง ป.4 แต่อาแหมะกับมองว่าการศึกษาเป็นสิ่งสำคัญยิ่ง จึงส่งเสริมลูกทุกคนให้ได้รับการศึกษาสูงๆ และเพียรสอนลูก ทุกคนว่า ให้เป็นคนดี เพื่อจะได้มีงานทำที่ดี เพราะอาชีพชาวนา รายได้ไม่แน่นอน และไม่อยากให้ลำบากเหมือนแม่ ที่ผ่านมาในชีวิตก็มีความทุกข์ใจอยู่ไม่น้อยเมื่อคิดอยู่ว่า ไหนจะส่งลูกเรียน ไหนจะเรื่องการกินการอยู่ แต่ด้วยความ เป็นคริสตัง ก็เชือ่ ในพระ สวดภาวนา ดำเนินชีวติ แบบค่อยเป็นค่อยไป และก็อาศัยความอดทนรอคอยใช้ชวี ติ แบบไม่ประมาท


ในบทบาทแม่ อาแหมะก็ทำหน้าทีไ่ ม่เป็นรองใคร ตัง้ แต่ลกู ยังเล็กๆ ก็พาไปวัด และรวมกันภาวนาค่ำ โดยมอบหมาย ให้ลกู แต่ละคนทำหน้าทีเ่ ป็นผูน้ ำสวด คอยส่งเสริมและสนับสนุนลูกทุกคนสวดภาวนาร่วมกันภายในบ้าน จนถึงวันนีพ้ ระ ก็ได้เลือกลูกชายของอาแหมะให้เป็นพระสงฆ์ (คุณพ่อสมหมาย มธุรสสุวรรณ) เป็นซิสเตอร์จำนวน 2 ท่าน (ซิสเตอร์บงั อร และซิสเตอร์สมรัก มธุรสสุวรรณ) ครูคำสอน (คุณครูทศั นีย์ มธุรสสุวรรณ) รวมถึงอาชีพอืน่ ๆ อีกมากมาย ซึง่ ทุกวันนี้ อาแหมะ ก็อาศัยเวลาช่วงทีว่ า่ ง นัง่ สวดสายประคำ จำนวน 2 สาย สายแรกสวดขอบคุณพระ ที่ช่วยเหลือเราทุกวัน ให้เรามีวันนี้ และอีกสายสวดให้พลมารี รวมถึงสวดบทภาวนาต่างๆ จนทำให้ทุกวันนี้ ั นะ) ให้ทำทุกวัน ชีวติ ไม่เหงา ทีส่ ำคัญมีสขุ ภาพดีไม่มโี รคภัยทุกวันนี้ ก็เพราะมีงานบ้าน (เป็นยาอายุวฒ อาแหมะไม่ได้มเี คล็ดลับอะไรเป็นพิเศษในการสอนการใช้ชวี ติ ให้กบั ลูกๆ แต่เพราะการกระทำทีเ่ ป็นตัวอย่างดี รวมถึงคำพูดอบรมสั่งสอนที่สอนให้เป็นคนดี ทำความดีทุกๆ วัน ผสมผสานกับคำภาวนา ในแบบฉบับ ของอาแหมะ ทุกวันนีล้ กู หลานของอาแหมะ ได้มกี ารงานทำทีด่ ี และเมือ่ มีโอกาสเป็นต้นในวันที่ 12 สิงหาคมของทุกปี ซึ่งเป็นวันแม่แห่งชาติ ลูกๆ ของอาแหมะ ก็จะเลือกวันนี้มาหาแม่ ผู้เปรียบเสมือนต้นไม้ใหญ่ ให้ความร่มเย็น จากคำสอนแปรเปลีย่ นคำสอนเป็นคำพรทีใ่ ห้กบั ลูกๆ ของอาแหมะทุกคน อาแหมะปิดท้ายการให้สัมภาษณ์ว่า “อยากให้ลูกๆ ทุกคนได้คิดถึงแม่ ไปขอบคุณแม่ที่เลี้ยงดูเรามา ให้ความรักกับท่าน แม้จะบอกว่าไม่เคยเหงา แต่ก็รอคอย” อยากให้เดือนสิงหาคม เป็นเดือนที่มีความหมาย แม่คดิ ถึงเราทุกวัน เราคิดถึงแม่ทกุ วันบ้างหรือเปล่า

  ⌫⌫  ⌫   


มีคาแอล นัฏฐวี กังก๋ง วัดนักบุญอันนา ท่าจีน

บุตรของ ลูกา จำลอง และ เทเรซา จันทร์ฉาย กังก๋ง ผูส้ ง่ เข้าบ้านเณร คุณพ่อประยุทธ ชลหาญ ประวัตกิ ารศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนอันนาลัย มัธยมศึกษา โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญาและศาสนา) วิทยาลัยแสงธรรม ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2008 โดย พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล มีชยั กิจบุญชู ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยพิธกี รรม เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม 2009 โดย ฯพณฯ ฟิลปิ บรรจง ไชยรา แรงบันดาลใจทีเ่ ข้าบ้านเณร ได้เป็นพยานความรักขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้า ความในใจ ช่วงชีวติ ทีผ่ า่ นมาของผมเต็มเปีย่ มด้วยพระพรแห่งความรัก ผ่านครอบครัว คนรอบข้างทุกคน จึงอยากโมทนาคุณพระเจ้า และขอพระพรให้กับท่านเหล่านั้นเสมอไป ภาวนาเพื่อชีวิตกระแสเรียกของผมด้วย คติพจน์ ข้าพเจ้ายินดีทำตามพระประสงค์ (I’m delighted to do your will)

ยอแซฟ เชษฐ์ดนัย ไชยเผือก วัดนักบุญยวงบัปติสตา เจ้าเจ็ด

บุตรของ ร็อค สมชาย และอันนา ทิพวัลย์ ไชยเผือก ผูส้ ง่ เข้าบ้านเณร คุณพ่อยอห์น วิชชุกรณ์ เกตุภาพ ประวัตกิ ารศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนเซนต์จอห์นบัปติส (ประสาทศิลป์) มัธยมศึกษา โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญาและศาสนา) วิทยาลัยแสงธรรม ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2008 โดย พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล มีชยั กิจบุญชู ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยพิธกี รรม เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม 2009 โดย ฯพณฯ ฟิลปิ บรรจง ไชยรา แรงบันดาลใจทีเ่ ข้าบ้านเณร สำนึกในความใจดีจากพระเจ้าและเห็นแบบอย่างของพระสงฆ์รนุ่ พี่ ความในใจ ขอบคุณในความรักความเมตตาของพระเจ้าที่มีต่อผม แผนการของพระเจ้ายิ่งใหญ่จริงๆ คติพจน์ โปรดตรัสเถิดพระองค์ เพราะข้ารับใช้ของพระองค์คอยฟังอยู่ (1ซมอ 10)

เปโตร บุญชรัสมิ์ สุขสว่าง วัดธรรมาสน์นกั บุญเปโตร บางเชือกหนัง

บุตรของ นายบัณฑิตย์ สุขสว่าง และมารีอา มาลา ปิน่ รัตน์ ผู้ส่งเข้าบ้านเณร คุณพ่ออิกญาซีโอ อดิศกั ดิ์ สมแสงสรวง ประวัตกิ ารศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนตรีมติ รวิทยา มัธยมศึกษา โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ปรัชญาและศาสนา) วิทยาลัยแสงธรรม ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ เมือ่ วันที่ 16 สิงหาคม 2008 โดย พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล มีชยั กิจบุญชู ได้รบั การแต่งตัง้ เป็นผูช้ ว่ ยพิธกี รรม เมือ่ วันที่ 15 สิงหาคม 2009 โดย ฯพณฯ ฟิลปิ บรรจง ไชยรา แรงบันดาลใจทีเ่ ข้าบ้านเณร เห็นแบบอย่างทีด่ ขี องพระสงฆ์รนุ่ พีแ่ ละเพือ่ ตอบสนองความรักของพระทีม่ ใี ห้เสมอ ความในใจ “ข้าพเจ้าเป็นใคร พระองค์จงึ ทรงนำข้าพเจ้ามาไกลถึงเพียงนี”้ (เทียบ 2ซมอ 7:18) ขอบคุณพระเจ้าทีเ่ รียกและอยู่เคียงข้าง ผมเสมอ ให้ผมได้พบแต่คนดีๆ สิ่งดีๆ บนเส้นทางแห่งกระแสเรียกนี้ ขอบคุณทุกคนที่ผ่านเข้ามาในชีวิต...ภาวนาเพื่อกันและกันครับ คติพจน์ สิง่ ทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ดุ ก็คอื ความรัก (1คร 13:13)

ผูช้ ว่ ยพิธกี รรม 5 ท่าน

1. ยอแซฟ ทัศมะ กิจประยูร วัดนักบุญเปโตร สามพราน 2. เปโตร สมภพ เรืองวุฒชิ นะพืช วัดแม่พระลูกประคำ (กาลหว่าร์) 3. เปโตร กรณ์ อดิเรกวุฒกิ ลุ วัดนักบุญยอแซฟ (ตรอกจันทน์) 4. อัลเบิรต์ นฤพนธ์ แก้วหาวงษ์ วัดนักบุญอันนา ท่าจีน 5. ยอห์นบัปติสต์ สักรินทร์ ศิรบรรเทิง วัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน

ผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ 2 ท่าน

1. อันตน วิทยา เลิศทนงศักดิ์ วัดนักบุญหลุยส์มารีย์ กรีญอง เดอ มงฟอร์ต (บางแค) 2. ยออากิม ธนายุทธ ผลาผล วัดแม่พระประจักษ์แห่งภูเขาคาร์แมล (สองพีน่ อ้ ง)  ⌫⌫  ⌫    


เจาะลึกพิเศษ

⌫

เดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่มีว ันสื่อมวลชนสากล และในปีนี้ตรงกับวันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม 2010 ซึ่งโดย ปกติแล้วพระสันตะปาปาได้ทรงเห็นความสำคัญของ วั น สื ่ อ มวลชนนี ้ จ ึ ง ได้ ม ี ส าสน์ ว ั น สื ่ อ มวลชนสากล และครั้งนี้เป็นครั้งที่ 44 ความในของสารวันสื่อมวลชน ครัง้ ที่ 44 นีค้ อื “พระสงฆ์และงานอภิบาลในโลกดิจติ อล : สือ่ ใหม่เพือ่ นำเสนอพระวาจา” มีจดุ ประสงค์ให้ตรงกับ การเฉลิมฉลองปีพระสงฆ์ของพระศาสนจักร ที่มุ่งไปยัง ความสำคั ญ และความละเอี ย ดอ่ อ นของสื ่ อ ดิ จ ิ ต อล ในงานอภิบาล ซึ่งพระสงฆ์สามารถค้นพบแนวทางใน การนำเสนอพระวาจาของพระเจ้า ชุมชนพระศาสนจักร ได้ใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เพื่อใช้ในการสื่อสาร ในการ ให้ความสนใจกับสังคม และมีมากขึ้นในการส่งเสริม การเสวนาในวงจรที่กว้างขวางออกไป แต่ในช่วงเวลานี้ การก้าวหน้าอย่างกะทันหัน และผลกระทบของสือ่ สารต่างๆ เหล่ า นี ้ ต ่ อ สั ง คมยิ ่ ง ทำให้ ม ี ค วามสำคั ญ มากขึ ้ น ใน งานอภิบาลของพระสงฆ์ อี ก ทั ้ ง สมณสารพระศาสนจั ก รในเอเชี ย ของ พระสั น ตะปาปา ยอห์ น ปอลที ่ 2 ได้ ก ล่ า วถึ ง สื่อสารมวลชน ในยุคโลกาภิวัฒน์ว่า สื่อสารมวลชน มี ค วามสลั ก สำคั ญ มาก จนกลายเป็ น หนทางสำคั ญ ของการรับรู้และการศึกษาของการแนะนำและการจูงใจ ในความประพฤติในฐานะทีเ่ ป็นบุคคลคนหนึง่ ในครอบครัว และในสังคมโดยทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ บรรดาเยาวชน ที ่ ก ำลั ง เติ บ โตขึ ้ น ในโลก ที ่ ส ื ่ อ มวลชนตี ก รอบให้ โ ลก   ⌫⌫  ⌫   

กำลังเห็นวัฒนธรรมใหม่เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นมิใช่จากสิ่ง ทีแ่ สดงออกมาเท่านัน้ แต่จากความจริงทีว่ า่ ในปัจจุบนั มี วิธใี หม่ๆ ในการสือ่ สาร โดยการใช้ภาษาใหม่เทคนิคใหม่ และจิตวิทยาใหม่ บทบาทอันโดดเด่นของสื่อมวลชน ในการกำหนดรูปแบบของโลก ทั้งวัฒนธรรมและแนว ความคิด ได้นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว และมีผล กว้างไกลในสังคมต่างๆ ของเอเซีย พันธกิจการแพร่ธรรมของพระศาสนจักร ก็ได้รับ ผลกระทบอยากลึกซึง้ จากสือ่ มวลชน อย่างหลีกเลีย่ งไม่ได้ ในเมื่อสื่อมวลชนมีอิทธิพลมากขึ้น แม้ในพื้นที่ที่ห่างไกล ในเอเซีย สือ่ มวลชนจึงสามารถช่วยในการประกาศพระวรสาร ทัว่ ทุกมุมในทวีปได้ แต่การใช้สอ่ื มวลชนเพือ่ เผยแพร่คำสอน คริสตศาสนาและคำสอนอันถูกต้องของพระศาสนจักร เท่านัน้ ยังไม่เพียงพอ จำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องให้คำสอนนี้ แทรกซึ ม เข้ า ไปใน “วั ฒ นธรรมใหม่ ” ซึ ่ ง สื ่ อ มวลชน ในปัจจุบันได้สร้างขึ้น” ดังนั้น พระศาสนจักรจำต้อง เสาะแสวงหาหนทางที่จะทำให้สื่อมวลชน เป็นส่วนหนึ่ง ของการวางแผนและกิจกรรมด้านงานอภิบาล เพื่อว่า การใช้ ส ื ่ อ มวลชนอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพนี ้ พลั ง แห่ ง พระวรสารจะได้แผ่ขยายออกไปกว้างไกลขึ้น ไปสู่บุคคล และชนชาติตา่ งๆ ซึง่ จะช่วยให้วฒ ั นธรรมเอเซีย เปีย่ มไป ด้วยคุณค่าแห่งพระอาณาจักร ในปัจจุบนั นีส้ อ่ื มวลชนนับว่ามีบทบาทสำคัญอย่างยิง่ ในโลกยุค digital การนำเทคโนโลยีตา่ งๆมาประยุกต์ใช้กบั การประกาศพระวรสารนับว่าได้รับความสนใจอย่างมาก


ดังนัน้ สือ่ ต่างๆ มีอยูม่ ากมายหลายหลายรูปแบบ และทีน่ ยิ มกัน อยูอ่ ย่างแพร่หลายในขณะนีเ้ ห็นทีจะเป็น Facebook (เฟสบุค๊ ) คื อ บริ ก ารบนอิ น เทอร์ เ น็ ต บริ ก ารหนึ ่ ง ที ่ จ ะทำให้ ผ ู ้ ใ ช้ สามารถติ ด ต่ อ สื ่ อ สารและร่ ว มทำกิ จ กรรมใดกิ จ กรรม หนึ่งหรือหลายๆ กิจกรรมกับผู้ใช้ Facebook คนอื่นๆ ได้ สำหรั บ เราคาทอลิ ก หลายๆ หน่ ว ยงานได้ ม ี ก ารปรั บ ใช้ เทคโนโลยี ต ั ว นี ้ แ ล้ ว ซึ ่ ง ควบคู ่ ไ ปกั บ เวบไซต์ โอกาสนี ้ อยากจะขอแนะนำเวบไซต์ที่น่าสนใจมาให้ได้ลองเข้าไป ค้นหาข้อมูลกับดูครับ สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย http://www.cbct.net อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ http://www.catholic.or.th (สามารถดูลิงค์ต่างๆ ของทุกๆ สังฆมณฑลได้เวบไซต์นี้)

คาทอลิก เวิลด์ ทัวร์ http://catholicworldtour.spaces.live.com สภาการศึกษาคาทอลิกประเทศไทย http://www.e-catholic.au.edu สือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย http://lox2.loxinfo.co.th/~thcatcom สือ่ มวลชนคาทอลิกประเทศไทย ( อุดมสาร ) http://www.udomsarn.com อิสระ http://www.issara.com/newblog คณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ พระสงฆ์ http://thaipriest.cbct.net นอกจากเวบไซต์ที่กล่าวมีนี้แล้วข้างต้นยังมี เวบไซต์ ต่ า งๆ มากมายท่ า นผู ้ อ ่ า นที ่ ส นใจสามารถเข้ า ไปดู ไ ด้ ท ี ่ http://www.catholic.or.th/service/links/ เวบไซต์คาทอลิก ยั ง ได้ ร วบรวมเวบไซต์ อ ี ก มากมาย อาทิ คณะนั ก บวช ต่างๆ, โรงเรียน, วัด, มหาวิทยาลัย, บ้านเณร, ลิงค์คาทอลิก ต่างประเทศ ฯลฯ สื ่ อ ไม่ ไ ด้ ม ี เ พี ย งแค่ น ี ้ เ ท่ า นั ้ น ยั ง มี ส ื ่ อ ในรู ป แบบของ สื่อสิงพิมพ์ที่เราอยากจะแนะนำให้ทุกๆ ท่านได้รู้จักครับ เผื่อผู้อ่านหลายๆ ท่านอยากหามาให้คนที่รู้จักได้อ่านกัน ก่อนอืน่ อยากให้ทราบกันก่อนว่า สือ่ สิง่ พิมพ์คอื อะไร

ความหมายของสื ่ อ สิ ่ ง พิ ม พ์ พจนานุ ก รมฉบั บ ราช บัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายคำที่เกี่ยวกับ “สื่อสิ่งพิมพ์” มีความหมายว่า “สิ่งที่พิมพ์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นแผ่นกระดาษ หรื อ วั ต ถุ ใ ดๆ ด้ ว ยวิ ธ ี ก ารต่ า งๆ อั น เกิ ด เป็ น ชิ ้ น งานที ่ ม ี ลักษณะเหมือน ต้นฉบับขึ้นหลายสำเนาในปริมาณมาก เพื่อเป็นสิ่งที่ทำการติดต่อ หรือชักนำให้บุคคลอื่นได้เห็น หรือทราบข้อความต่าง ๆ” จากทีไ่ ด้ลองค้นหาข้อมูลสือ่ สิง่ พิมพ์ตา่ งๆ จากห้องสมุด ของศู น ย์ ค ริ ส ตศาสนธรรมอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ พอจะรวบรวมสือ่ สิง่ พิมพ์คาทอลิกทีม่ อี ยู่ ดังนี้ หนังสือพิมพ์อดุ มสาร โทร. 02-681-3900-1801, นิตยสารอุดมศานต์ โทร. 02-681-3900-1801 แม่พระยุคใหม่ โทร. 02-235-5778 อิสระ โทร. 02-256-6076 สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โทร. 02-237-5277 สารกระแสเรียก โทร. 02-4290816 จุลสารสภาการศึกษาแห่งประเทศไทย โทร. 02-300-4543-53 ต่อ 1133, 1161 ผูไ้ ถ่ โทร. 02-275-7783 หรือ 02-277-4625 ดอนบอสโก, มิตรสงฆ์, สงฆ์สมั พันธ์, เพือ่ นสงฆ์, สารพลศีล, จุลสารเพื่อนเยาวชน, แสงธรรมปริทัศน์, คริสตสายสัมพันธ์ ฯลฯ นอกจากนี้แล้วนิตยสาร วารสาร จุลสารที่กล่าวมานี้ แล้วยังมีอน่ื ๆ ทีน่ า่ สนใจในอีกมากมายทีท่ างแต่ละส่วนได้ผลิต สื่อสิ่งพิมพ์เหล่านี้ขึ้นมา เพื่อประกาศพระวาจาของพระเจ้า รวมไปถึงสารวัดตามวัดต่างๆ ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ก็ยงั ถือเป็นสือ่ สิง่ พิมพ์ดว้ ย ในช่วงสุดท้ายของสมณสาสน์หลังการประชุมสมัชชา ซึ ่ ง พยายามทำความเข้ า ใจกั บ พระวาจาของพระจิ ต เจ้ า ที่ตรัสกับพระศาสนจักรทั้งหลายในเอเซีย (ดู วว.1:11) ข้าพเจ้าขอส่งเสริมและเห็นด้วยกับพระสังฆราชผู้เข้าร่วม ประชุมสมัชชา ให้มีการจัดแผนอภิบาลเกี่ยวกับสื่อมวลชน ในระดับชาติ และในระดับสังฆมณฑล ตามแนวทางที่ให้ไว้ สาสน์อภิบาล “ยุคใหม่” (Aetatis Novae) โดยให้ความสนใจ เป็นพิเศษต่อสถานภาพต่างๆ ในเอเซีย

 ⌫⌫  ⌫    


บอกข่าวเล่าสาร     

ประชุมด้านศาสนสัมพันธ์ของสมณสภาเพื่อการเสวนาระหว่างศาสนา พิธีเปิดงานประชุมกับสมาชิกชาวเอเชีย, ทีป่ รึกษาและประธานสภาพระสังฆราชทีท่ ำงานด้าน ศาสนสัมพันธ์ในเอเชียอาคเนย์ ประเทศที่อยู่ ทางตะวันออกไกล รวมทั้งอัฟกานิสถานของ สมณสภาเพื่อการเสวนาระหว่างศาสนา โดยมี พระคาร์ดนิ ลั Jean-Louis TAURAN ประธาน สภาสมณกระทรวงว่าด้วยการเสวนาระหว่างศาสนา เป็นประธานเปิดงาน เมือ่ วันจันทร์ท่ี 12 กรกฎาคม 2010 เวลา 17.00 น. และงานประชุมนี้มีขึ้น ตั้งแต่วันที่12-18 กรกฎาคม 2010

ประชุ ม วางแผนประกาศข่ า วดี ข อง อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เมือ่ วันที่ 26-27 กรกฎาคม 2010 สภาภิบาลแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดการประชุมวางแผน ประกาศข่าวดีของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ณ บ้านผูห้ ว่าน สามพราน

รวมพลพลศีล ฉลอง 85ปีพลศีลในประเทศไทย เมื่อวันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2010 คุณพ่อ ณรงค์ รวมอร่าม จิตตาธิการพลศีล จัดงาน รวมพลพลศีล 2010 อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สัมมนาฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัวขัน้ ที่ 1 รุน่ ที่ 127 แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดสัมมนาฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัว ฉลอง 85 ปี พลศีลในประเทศไทย ณ ศาลาไมเกิล้ ขั้นที่ 1 (ฟฟ.1) รุ่นที่ 127 เมื่อวันที่ 16-18 กรกฎาคม 53 ทีบ่ า้ นสวนยอแซฟ สามพราน นครปฐม บ้านผู้หว่าน มีนักเรียนพลศีลจำนวนประมาณ 550 คน มาร่วมกิจกรรมในวันนี้ มีผเู้ ข้าร่วมสัมมนาฯ จำนวน 11 คู่ (เป็นคาทอลิก 3 คู,่ พุทธ 3 คู,่ ต่างคนต่างถือ 5 คู)่

สนทนาธรรมครั้งที่ 6 คุณพ่อเดชา อาภรณ์รัตน์ ผู้อำนวยการ ฝ่ า ยการศึ ก ษา อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ จั ด กิ จ กรรมสนทนาธรรม สำหรั บ เจ้ า หน้ า ที ่ ของฝ่ า ยการศึ ก ษา โดยมี ค ุ ณ พ่ อ เอกชั ย โสรัจจกิจ เป็นวิทยากร เมือ่ วันพุธที่ 21 กรกฎาคม 2010 ณ ห้องประชุม อาคารแม่พระรับเกียรติ ยกขึน้ สวรรค์ มีเจ้าหน้าทีเ่ ข้าร่วม 20 คน

  ⌫⌫  ⌫   

จิตตาภิบาลเขต 5 ฟืน้ ฟูจติ ใจและ แสวงบุญที่อาสนวิหารพระนาง มารีอาปฏิสนธินิรมล เมื่อวันที่ 16–17 กรกฎาคม 2553 คุ ณ พ่ อ เชษฐา ไชยเดช จิตตาภิบาล เขต 5 นำคณะกรรมการ จิ ต ตาภิ บ าลและคำสอน เขต 5 จากโรงเรียนนักบุญเปโตร โรงเรียน ยอแซฟอุ ป ถั ม ภ์ แ ผนกชายและ แผนกหญิ ง โรงเรี ย นอั น นาลั ย โรงเรียนบอสโกพิทกั ษ์ และโรงเรียน มารียอ์ ปุ ถัมภ์ จำนวน 8 คน ไปฟืน้ ฟู จิตใจและแสวงบุญที่อาสนวิหาร พระนางมารี อ าปฏิ ส นธิ น ิ ร มล จังหวัดจันทบุรี “ชุมชนความเชื่อ สามร้อยปี”


สัมมนาพระสงฆ์ 6 สังฆมณฑล สัมมนาฟื้นฟูจิตใจพระสงฆ์ 6 สังฆมณฑล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สังฆมณฑลราชบุรี สังฆมณฑลจันทบุรี สังฆมณฑลนครสวรรค์ สังฆมณฑลสุราษฎร์ธานี และสังฆมณฑลเชียงใหม่ วันที่ 6-9 กรกฎาคม 2010 ณ บ้านผูห้ ว่าน สามพราน อบรมการจัดทำเวบไซต์เขต 2 วันเสาร์ที่ 24 กรกฎาคม 2553 เขต การปกครองวัด 2 ร่วมกับ แผนกเทคโนโลยี สารสนเทศ อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ฝึ ก อบรมจั ด ทำเว็ บ ไซต์ ใ ห้ ก ั บ บุ ค ลากร ในเขต 2 ณ โรงเรียนแม่พระฟาติมา ดินแดง มีผเู้ ข้ารับการอบรมทัง้ สิน้ จำนวน 22 คน

โครงการคำสอนเด็กวันอาทิตย์ วัดนักบุญ เปโตร สามพราน วัดนักบุญเปโตร สามพราน จัดโครงการ คำสอนเด็ ก วั น อาทิ ต ย์ สำหรั บ นั ก เรี ย น คาทอลิกที่เรียนในโรงเรียนรัฐบาล ซึ่งได้รับ การส่งเสริมและสนับสนุนจาก คุณพ่อสำรวย กิจสำเร็จ คุณพ่อเจ้าอาวาส โดยมีคุณพ่อ เชษฐา ไชยเดช เป็นผู้รับผิดชอบโครงการ การเรี ย นคำสอนในวั น อาทิ ต ย์ ในปี น ี ้ ไ ด้ เริม่ ขึน้ ตัง้ แต่วนั อาทิตย์ท่ี 4 กรกฏาคม 2553 มีนกั เรียนเรียนคำสอนประมาณ 25 คน มีครู คำสอน 2 คน และฆราวาสที ่ อ าสาสมั ค ร มาช่วยสอนคำสอนอีก 3 คน

ประชาสัมพันธ์...

อบรมพระคัมภีร์วันเสาร์ภาคเช้า ปีที่ 21 พระคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม ประกาศก อิสยาห์ เยเรมีย์ เอเสเคียล แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยคุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผูจ้ ดั การแผนกฯ เจ้าหน้าทีใ่ นแผนกฯ และในฝ่ายงานฯ ร่วมกันจัดการอบรมคำสอนสำหรับ คริสตชนผูใ้ หญ่ โดยมีคณ ุ พ่อพงษ์เทพ ประมวลพร้อม เป็นวิทยากร ตัง้ แต่วนั เสาร์ท่ี 10 กรกฎาคม – 25 กันยายน 2010 เป็นเวลา 10 ครัง้ ณ ห้องประชุม ชัน้ 2 อาคารคาทอลิก แพร่ธรรม ฝ่ายงานอภิบาลและฝ่ายงานธรรมทูต ซึง่ มีผมู้ าอบรมครัง้ นี้ จำนวน 107 คน

แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ เปิดบริการสำหรับผูท้ ส่ี นใจ SMS BIBLE ข้อความพระคัมภีรบ์ นมือถือ อัตราค่าบริการคิดเป็น Massage ละ 1 บาท ต่อ 1 ข้อความ ท่านสามารถเลือกชำระเงินเป็น ระยะเวลา 3 เดือน ราคา 90 บาท ระยะเวลา 6 เดือน ราคา 180 บาท และระยะเวลา 12 เดือน (1ปี) ราคา 365 บาท ติดต่อสมัครรับ SMS พระวาจา ได้ที่แผนก เทคโนโลยีสารสนเทศ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โทร. 02-2375277 หรือเมล์แจ้งรายละเอียดได้ที่ webmaster@catholic.or.th

ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนสิงหาคม 2010 2 ส.ค.- 28 ต.ค. 7 ส.ค. 7 ส.ค. 9-10 ส.ค. 11ส.ค. 11-12 ส.ค. 11-12 ส.ค. 14 ส.ค. 15 ส.ค. 12-13 ส.ค. 13-15 ส.ค. 20-21 ส.ค. 28 ส.ค.

SUBBATICAL PROGRAMME FOR PRIEST ห้องประชุมเล็ก ณ บ้านผูห้ ว่าน พีธีบวชพระสงฆ์คณะคามิลเลียน เวลา 10.00 น. ณ วัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัวอบรมชีวติ โสด เวลา 07.30-16.30 น. ณ บ้านผูห้ ว่าน อบรมเสริมสร้างความเชื่อเพื่อการประกาศข่าวดี (โครงการอบรมคอร์สอัลฟ่า) ณ บ้านผู้หว่าน ประชุมจิตตาภิบาลฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เวลา 09.00-12.00 น. ณ บ้านผู้หว่าน ประชุม BUREAU ณ บ้านผูห้ ว่าน ฟื้นฟูจิตใจพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำเดือน ณ บ้านผู้หว่าน พิธีบวชสังฆานุกร พิธีแต่งตั้งผู้ช่วยพิธีกรรม พิธีแต่งตั้งผู้อ่านพระคัมภีร์ ที่อาคารมารดาพระผู้ไถ่ สามเณราลัยแสงธรรม เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน ฉลองอาสนวิหารอัสสัมชัญ เวลา 10.00น. พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน ประชุมคณะกรรมาธิการฝ่ายสภาพระสังฆราช ณ บ้านผู้หว่าน แผนกเยาวชนจัดโครงการเข้าเงียบชีวิตฝ่ายจิตของเยาวชน ณ บ้านสวนยอแซฟ อ.สามพราน จ.นครปฐม โดยคุณพ่อมหาร์โซโน โปรโบ, เอส.เจ. แผนกเยาวชนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัด “โครงการอบรมชีวิตการแพร่ธรรม” ณ บ้านผู้หว่าน งานรวมพลกองหน้าร่าเริง เวลา 08.30-16.00 น. ณ ศาลาเซนต์ไมเกิล้ บ้านผูห้ ว่าน  ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรูค้ ำสอน...คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม

สวัสดีพี่น้องที่รัก

เดือนสิงหาคมเป็นเดือนที่เราชาวไทย ร่วมใจกันถวายพรแด่สมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินนี าถในวันที่ 12 สิงหาคม เรา แสดงความรักความกตัญญูตอ่ คุณแม่ของเรา เนื่องในโอกาสวันแม่แห่งชาติ เรายังฉลอง แม่พระผู้ประทับอยู่กับพระเจ้าผู้ทรงคุ้มครอง ดูแลเราเสมอเป็นเวลาของการสำนึกถึงความรัก ความห่วงใยของคำว่า แม่ คำทีย่ ง่ิ ใหญ่ คำที่ ให้ชวี ติ ให้อนาคตแก่เรา ในสารฉบับนี้เราได้แนะนำสื่อที่อยู่ใน แวดวงคาทอลิก ที่ควรติดตามไม่ว่าจะเป็น เว็บไซด์ วารสาร ฯลฯ ในโลกของการสือ่ สาร ที ่ ร วดเร็ ว และกว้ า งขวางพระศาสนจั ก ร ไม่ ป ฏิ เ สธ ความก้ า วหน้ า ของเทคโนโลยี การสื่อสาร เพียงเตือนให้เรารู้จักเลือกเสพ เลื อ กใช้ เ ทคโนโลยี น ี ้ อ ย่ า งฉลาดรอบคอบ น่าดีใจทีเ่ รามีสอ่ื ดีๆ ในทุกแขนงของการสือ่ สาร ลองเข้าเยีย่ มชมเว็บไซด์ตา่ งๆ ทีเ่ ราได้แนะนำ น่าจะได้รับอะไรดีๆ จากสิ่งที่พี่น้องของเรา ตัง้ ใจทำอย่างแน่นอน เดือนนีเ้ องในโอกาสสมโภชแม่พระรับเกียรติ ยกขึน้ สวรรค์ 15 สิงหาคม พระศาสนจักรใน ประเทศไทยก็จะประกาศแผนอภิบาลคริสตศักราช 2010-2015 แผนงานเป็นสิง่ ทีส่ ำคัญ เป็นดัง เข็มทิศช่วยให้ผเู้ ดินทางไปในหนทางทีถ่ กู ต้อง คริสตชนไทยทุกคนจึงจำเป็นต้องรับรูแ้ ละศึกษา แผนนี้ ซึง่ เราก็จะนำเสนอเนือ้ หาในโอกาสต่อไป นอกนั้นยังมีพิธีบวชสังฆานุกร แต่งตั้ง ผูช้ ว่ ยพิธกี รรม แต่งตัง้ ผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ ซึง่ จัด เป็นประจำทุกปีทบ่ี า้ นเณรแสงธรรม สามพราน นครปฐม ต้องขอบคุณพระเป็นเจ้าที่เรายังมี ผู ้ ท ี ่ ต อบรั บ กระแสเรี ย กการเป็ น พระสงฆ์ นักบวช อยูเ่ สมอ ถึงแม้จำนวนอาจจะไม่มากมาย เหมือนก่อนเป็นหน้าที่ของเราทุกคนที่ต้อง ส่งเสริม สวดภาวนาให้พวกเขาเสมอๆ ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพีน่ อ้ งทุกท่าน

การเข้าสู่วัฒนธรรมได้รับการกล่าวถึงในเอกสารอย่างเป็นทางการ ครัง้ แรกในสารถึงประชากรของพระเจ้า ซึง่ ออกมาหลังจากสิน้ สุดสมัชชา พระสังฆราชเรือ่ งการสอนคำสอน ในปี ค.ศ. 1977 จึงกลายเป็นส่วนหนึง่ ของขบวนการสอนคำสอน สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ได้ทรงรวมไว้ในพระสมณสาสน์เตือนใจเรือ่ ง การสอนคำสอนในยุคปัจจุบนั (Catechesi Tradendae) (ข้อ 53) และในสมัชชาสมัยวิสามัญ ปี ค.ศ. 1985 ได้ ช ี ้ ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ความสำคั ญ ของการเข้ า สู ่ ว ั ฒ นธรรม (ข้ อ 4) เป็นสิง่ ทีค่ ดิ ไม่ถงึ ว่าเป็นการกล่าวถึงองค์รวมทัง้ ครบ ความสมบูรณ์ และ การพัฒนางานคำสอน โดยอาจไม่กล่าวถึงวัฒนธรรมและการเข้าสู่ วัฒนธรรม เป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงว่า ไม่ใช่เป็นแค่เพียง “ปรับให้เข้ากัน” กับวัฒนธรรมของคริสตชน แต่เป็นกระทำให้เจริญก้าวหน้า และช่วย ให้พฒ ั นาได้อย่างเต็มศักยภาพ ด้วยการนำทางของพระจิต เหตุนี้เองทางศูนย์คำสอนจึงจัดอบรมเรื่อง “การนำข่าวดี สูว่ ฒ ั นธรรม” ขึน้ ในวันที่ 27 สิงหาคม 2553 เวลา 09.00-15.00 น. ณ ห้องประชุมชัน้ 2 อาคารแพร่ธรรม ผูใ้ ดสนใจติดต่อคุณอมรรัตน์ พันธ์พานิช โทร. 02-237-5276              ⌫⌫             ⌫ ⌦                         ⌫  ⌫                         


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.