⌫⌫ ⌫
ครอบครัว กับพระคัมภีร์
น.
2
อ่านพระคัมภีร์ส่วนตัว
เพือ่ สันติสขุ ของ ตนเอง ครอบครัว น.
3
วิถชี มุ ชนวัด
4
ค่อยๆ ก้าวอย่างมัน่ คง น.
ครอบครัวคริสตชน
ครอบครัวแห่งความรัก น.
8
อันดับแรก ศิษย์พระคริสตเจ้าจะต้องวินจิ ฉัยว่า “สิง่ ใดดี” นีเ่ ป็น ระดับการวินิจฉัยระหว่างถูก-ผิด เป็นประเด็นทางศีลธรรมทั่วไป แต่ศษิ ย์พระคริสตเจ้าจะไม่เพียงแต่ทำดีเท่านัน้ ในระหว่างสิง่ ดีทง้ั หลาย ศิษย์พระคริสตเจ้าจะยังต้องเลือกทำในสิ่งที่เป็นพระประสงค์ของ พระเจ้าด้วย นีถ่ อื เป็นอีกขัน้ หนึง่ เป็นการวินจิ ฉัยเหนือระดับศีลธรรม ขึน้ ไปเป็นการเลือกระหว่างสิง่ ทีด่ แี ละสิง่ ทีด่ กี ว่า และในท้ายทีส่ ดุ ศิษย์พระคริสตเจ้า ซึง่ เป็นสงฆ์ผอู้ ภิบาลจะเลือกทำในสิง่ ที่ เป็นทีพ่ อพระทัยอันสมบูรณ์พร้อมของ พระองค์ นั่นคือ “พวกท่านจงรักกัน และกัน ดังทีเ่ รา (พระเยซู) รักท่าน” (ยน 13:34) ÇҷоÃÐÍѤÃÊѧ¦ÃÒª ¿Ãѧ«ÔÊà«àÇÕÂÃì à¡ÃÕ§ÈÑ¡´Ôì â¡ÇÔ·ÇÒ³Ôª ¾ÃÐÍѤÃÊѧ¦ÃÒªÍѤÃÊѧ¦Á³±Å¡ÃØ§à·¾Ï à»Ô´¡ÒÃÊÑÁÁ¹Ò¾ÃÐʧ¦ì ÇѹÍѧ¤Ò÷Õè 5 àÁÉÒ¹ 2011
º·¤ÇÒÁ...·ÕÁ§Ò¹ÊÑ¡¡ÒÃʶҹ
พีน่ อ้ งทีร่ กั อาจกล่าวได้วา่ หากมีอศั จรรย์ทพ่ี สิ จู น์ได้เพียงข้อเดียวก็เพียงพอ แล้วทีจ่ ะทำให้พระศาสนจักรประกาศสถาปนาคุณพ่อนิโคลาสของเราให้เป็นนักบุญ แต่เพื่อจะตอบคำถามของพี่น้องว่า ทำไมเพื่อจะได้เป็นนักบุญต้องมีอัศจรรย์? จึงขอคัดบางตอนจากบทความ “เพือ่ จะเป็นนักบุญ...ทำไมต้องมีอศั จรรย์?” โดย คุณพ่อสุรชัย ชุม่ ศรีพนั ธุ์ จากวรสาร “ข่าวสาร... คนรักพ่อนิโคลาส”ปีท่ี 1 ฉบับที่ 2 หน้า 5-6 มาตอบคำถามนีก้ นั ครับ “ตอบกันซือ่ ๆ เลยนะครับ เพือ่ จะได้เป็นนักบุญต้องมีอศั จรรย์กเ็ พราะว่า : 1. ความเชื่อในเรื่องสหพันธ์นักบุญ พระศาสนจักรสอน และเราเชื่อว่า สมาชิกของพระศาสนจักรที่อยู่ในสวรรค์แล้ว สามารถช่วยเหลือสมาชิกทีก่ ำลังต่อสูอ้ ยูใ่ นโลกนี้ ดังนัน้ พ่อนิโคลาสอยูบ่ นสวรรค์แล้ว ก็ตอ้ งสามารถช่วยเหลือเราได้ 2. พระเจ้า ทรงทำอัศจรรย์โดยผ่านทางคำเสนอวิงวอนของคุณพ่อนิโคลาส เราสวดขอพ่อนิโคลาส พ่อนิโคลาสสวดขอพระเป็นเจ้า และพระเจ้าทรงทำอัศจรรย์เพราะคำภาวนาของคุณพ่อ 3. พระศาสนจักรต้องการความแน่ใจว่าอัศจรรย์นี้เกิดจากคำเสนอ วิงวอนของคุณพ่อนิโคลาส ทำอย่างไรถึงจะแน่ใจได้ จะแน่ใจได้กต็ อ้ งพิสจู น์ให้ได้วา่ : เป็นอัศจรรย์จริงๆ และเป็นเพราะคำเสนอ วิงวอนของคุณพ่อนิโคลาส เพราะฉะนั้น หากพิสูจน์ได้ทั้ง 2 ประเด็นนี้ พระศาสนจักรก็สามารถแน่ใจ และประกาศให้พ่อ เป็นนักบุญได้” พี่น้องที่รัก ขอเชิญพี่น้องทุกท่านร่วมมิสซาและแห่พระธาตุบุญราศีนิโคลาส ประจำเดือนนี้ ในวันที่ 13 สิงหาคม เวลา 19.00 น. โดย คุณพ่อฉลองรัฐ สังขรัตน์ เป็นประธานในพิธี ในหัวข้อ “เชิญคุณแม่มาแห่พระธาตุ” (คุณพ่ออย่าลืมพาคุณแม่และ นำคุณลูกมาด้วยนะครับ)
บทความ...คุณพ่อพรศักดิ์ ชืน่ จิตอภิรมย์
เชื่อว่าทุกวันนี้ผู้คนในสังคมโดยรวมคงรู้จักเฟสบุ๊ค (facebook.com) ทุกบ้านทุกครอบครัวคงมีสมาชิกที่เล่น เฟสบุ๊ค กันหลายคน คูร่ กั แฟนหรือเพือ่ นหลายครัง้ ทะเลาะกัน งอนกัน ก็เพราะ เฟสบุค๊ นีแ่ หละ บางคนเข้าไปเปิดวันละสองสามชัว่ โมง บางคนเป็นวันๆ เลยก็มี ครอบครัวคริสตชนเราอย่าลืมว่า ไม่ใช่มแี ต่ เฟสบุค๊ (facebook) เท่านัน้ ทีเ่ ปิด แต่เรายังมี เฟธ บุค๊ (faith book) ด้วย หนังสือแห่งความเชือ่ ความศรัทธาของเราทีเ่ ราต้องเปิดอ่าน นัน่ คือพระคัมภีร์ พระวาจาของพระเจ้าพระคัมภีร์ หนังสือศักดิส์ ทิ ธิข์ องเราคริสตชน ถ้าหากเราคริสตชนเปิดเฟธบุค๊ มากพอๆ กับทีเ่ ปิด เฟสบุค๊ ก็คงจะดียอดเยีย่ มแน่ๆ ครอบครัวคือพระประสงค์ของพระเจ้า เป็นพระพรตั้งแต่แรกเริ่ม ครอบครัวคริสตชนมีสิทธิพิเศษในการเป็นรูปแบบ ของพระเจ้า พระเจ้าทรงเป็นความรัก ความรักนี้รวมสามีภรรยาให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อให้กำเนิดบุตร1 อันที่จริงแล้ว การแต่งงานและครอบครัวมีจุดเริ่มที่พระวาจา “พระวาจาของพระเจ้าอยู่ที่จุดเริ่มต้นของการแต่งงาน” (เทียบ ปฐก 2.24) และพระเยซูเจ้าเองก็ทรงประสงค์ให้รวมการแต่งงานไว้ในสถาบันของพระอาณาจักรของพระองค์ (เทียบ มธ 19.4-8) โดยทรง ยกฐานะขึ้นให้เป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ที่มีจารึกไว้ตั้งแต่แรกเริ่มในธรรมชาติมนุษย์ “ในการประกอบพิธีศีลศักดิ์สิทธิ์นี้ชายและหญิง กล่าววาจาพยากรณ์วา่ จะมอบชีวติ ให้แก่กนั จริงๆ เพือ่ ทัง้ สองคนจะได้เป็น “เนือ้ เดียวกัน”2 พระวาจาของพระเจ้าตัง้ แต่แรกเริม่ ได้กล่าวถึงความดีแรกเริม่ ของมนุษย์ ซึง่ พระเจ้าทรงสร้างมาให้เป็นชายและหญิง อีกทัง้ ทรงเรียกมาให้มคี วามรักทีซ่ อ่ื สัตย์ตอ่ กัน และบังเกิดผล บุญราศี พระสันตะปาปา ยอห์น ปอลที่ 2 ได้กล่าวไว้วา่ “ครอบครัวเอ๋ย จงเป็นในสิง่ ทีเ่ จ้าเป็นเถิด” (FC 17) เราจึงต้องทำให้การแต่งงานและครอบครัว เป็นความดีงามเหมือนพระวาจาแรกเริ่มนั้น เราจึงต้องฟื้นฟูเอกลักษณ์ และภาระกิจของการแต่งงานและครอบครัวให้เป็นครอบครัวแบบคริสตชน3 บิดามารดาจึงต้องมีความรับผิดชอบต่อบุตร อย่างไม่อาจจะละเลยได้ สามีภรรยาจึงเป็นคนแรกที่จะต้องประกาศ พระวาจาของพระเจ้าแก่บุตรของตน ชุมชนของพระศาสนจักรต้องค้ำจุนและช่วยเหลือให้มีการภาวนา ฟังพระวาจา และความรู้จากพระคัมภีร์มากยิ่งขึ้นในครอบครัว เพราะเหตุนี้จึงปรารถนาให้ทุกบ้านมีพระคัมภีร์ และเก็บรักษาไว้ ในที่เหมาะสมเพื่อจะอ่านและใช้พระคัมภีร์ได้ในการภาวนา สามีภรรยายังต้องระลึกไว้ด้วยว่า “พระวาจาของพระเจ้า ให้ความช่วยเหลือที่มีคุณค่ายิ่ง เมื่อเกิดมีความยากลำบากขึ้นในชีวิตคู่และครอบครัว”4 แผนกส่งเสริมชีวิตครอบครัว อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัดโครงการเล่าเรื่องพระเยซูเจ้าให้ครอบครัวฟัง และ กำลังจัดทำบทภาวนาสำหรับครอบครัว พี่น้องท่านใดหรือครอบครัวใดสนใจโครงการดังกล่าว สอบถามเพิ่มเติมได้ที่ แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โทร 0 2681 3837, 08 6546 2856 หรือติดตามข้อมูลข่าวสารได้ท่ี www.facebook.com/flpbkk, http://flpbkk2008.multiply.com สุดท้ายขอจบด้วยคำของพระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ที่เตือนพวกเราว่า “เราขอเรียกร้องให้คริสตชน นักบวช พระสงฆ์ แห่ ง อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ได้ เ ปิ ด ใจให้ ก ว้ า งที ่ ส ุ ด เพื ่ อ ต้ อ นรั บ พระวาจาของพระเจ้ า จากพระคั ม ภี ร ์ ศักดิ์สิทธิ์ ขอเรียกร้องให้ทุกคน และทุกภาคส่วนของอัครสังฆมณฑลฯ ได้มุ่งที่จะรักพระวาจา หมั่นที่จะอ่านศึกษา ไตร่ตรองพร้อมด้วยการภาวนาอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระดับครอบครัว”5 สมัชชาอัครสังมณฑลกรุงเทพ 2005 ข้อ 27 พระสมณลิขติ เตือน พระวาจาขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้า (VERBUM DOMINI) ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ท่ี 16 ข้อ 85 3 เทียบ สาสน์อภิบาลของสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย เรือ่ ง การอภิบาลครอบครัว ปี 2003 หน้า 6 4 พระสมณลิขติ เตือน พระวาจาขององค์พระผูเ้ ป็นเจ้า (VERBUM DOMINI) ของสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ท่ี 16 ข้อ 85 5 สารพระคาร์ดนิ ลั มีชยั กิจบุญชู โอกาสเปิดปีพระวาจา 2007 1 2
⌫⌫ ⌫
บทความ...แผนกองค์กรคริสตชนฆราวาส ฝ่ายธรรมทูต
ฝ่ายบุคลาภิบาล โดยแผนกพระคัมภีร์ ฝ่ายงานธรรมทูต โดยแผนกองค์กรคริสตชนฆราวาส ฝ่ายงานอภิบาล โดยแผนก วิถีชุมชนวัด ร่วมมือประสานใจกัน มุ่งสร้างเอกภาพและปลุกจิตสำนึกในความเข้าใจรวมทั้งสร้างผู้นำทุกระดับให้ใช้วิถีชุมชนวัด เป็นแนวทางเจริญชีวิตเป็นชุมชนแห่งความรักกันฉันพี่น้องเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน อันนำไปสู่การประกาศข่าวดีทุกมิติ...(แผนอภิบาล ข้อที่ 21.1) โดยจัดโครงการรณรงค์ส่งเสริมการอ่านพระวาจา สำหรับคริสตชนฆราวาสของอัครสังฆมณฑล เพื่อให้สัตบุรุษ รักการภาวนาและอ่านพระคัมภีร์อย่างสม่ำเสมอ มุ่งให้เกิดเป็นประสบการณ์กับพระเจ้า จนสามารถเป็นพลังขับเคลื่อนชีวิต คริสตชนทีเ่ ป็นประจักษ์พยานในทุกมิตขิ องชีวติ ในสังคม (แผนอภิบาลอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ค.ศ.2011-2015 ข้อ 11.1)
โครงการรณรงค์นี้ พี่น้องต้องทำอย่างไร ท่านใดอ่านพระวรสารจบทั้งสี่เล่ม (มัทธิว มาระโก ลูกา และยอห์น) ช่วงสิ้นเดือน พฤศจิกายนนี้ จะได้รับประกาศนียบัตร และของที่ระลึกในวันอาทิตย์ที่ 11 เดือนธันวาคม 2011 ซึ่งเป็นวันพระคัมภีร์ โดยทางผู้ดำเนินการโครงการจะจัดมอบตาม ความเหมาะสมของโอกาส และสถานที่
สำหรั บ บั น ทึ ก การอ่ า น : สามารถติ ด ต่ อ ได้ ท ี ่ ว ั ด ของท่ า น หรื อ สอบถาม
รายละเอียดมาที่ แผนกองค์กรคริสตชนฆราวาส (08 1914 4145) ผู้ลงชื่อรับรองเป็น ใครก็ได้ ทำไว้เพือ่ เป็นหลักฐานว่าท่านอ่าน ทางผูด้ ำเนินงานวางใจในมโนธรรมของทุกคน และบางท่านที่ไม่สะดวกเขียน ตามหลักการของการเขียนข้อพระคัมภีร์ ก็เขียนเป็น หัวข้อก็ได้ (อย่ากลัวว่าจะเขียนอ้างอิงผิด การอ่านพระวาจาพระเจ้าสำคัญกว่า)
วิธกี ารภาวนาด้วยพระคัมภีรแ์ บบง่ายๆ ทำอย่างไร?
àÃÔÁè ... หามุมสบายๆ ส่วนตัว ทำจิตให้สงบด้วยการหายใจลึกๆ ช้าๆ > ระลึกว่าขณะนี้ท่านกำลังอยู่ต่อหน้าองค์พระเจ้า มอบชีวิตและภารกิจทุกอย่างไว้ในพระหัตถ์ของพระองค์ > อ่านพระวาจาพระเจ้า (·Õàè µÃÕÂÁäÇé) ช้าๆ ขีดเส้นใต้คำทีโ่ ดนใจ ประทับใจ หรือสะกิดใจ > ทบทวนคำทีข่ ดี เส้นใต้ซำ้ ไปซ้ำมา (ËÅѺµÒãËé¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ôµã¨¨´¨èÍÍÂÙè¡Ñº¤Ó·Õèⴹ㨠»ÃзѺ㨠ËÃ×ÍÊСԴã¨) ** เขียนบันทึกสิง่ ทีแ่ ว่บหรือผุดขึน้ มาในขณะทีร่ ำพึง (¶éÒ·Óä´é¨Ð´ÕÁÒ¡ Åͧà¢Õ¹´Ù) > ภาวนา ขอโทษ สรรเสริญ วอนขอและขอบคุณด้วยคำพูดของตนเองตามความรูส้ กึ
เมือ่ เราภาวนาด้วยการสัมผัสกับพระคัมภีร์ อ่านแล้วมีความหมาย ต่อชีวติ ของเราอย่างไรบ้าง (ลองเขียนดู)
1. ขณะทีฉ่ นั กำลังอ่านพระคัมภีร์ ฉันคิดถึงเรือ่ งอะไรในชีวติ ……………. 2. พระวาจาพระเจ้านำให้ฉันทำอะไร……………………….. 3. ฉันพูดตอบพระวาจาพระเจ้าอย่างไร………..…………… การที่จะทำให้พระคัมภีร์เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ลองถามตัวเอง ดูกอ่ นว่า พระคัมภีรส์ ำคัญสำหรับฉันอย่างไร แล้วลองตัง้ ใจอ่าน เมือ่ เรา มีความตั้งใจที่จะอ่าน พระจิตเจ้าจะนำทางท่านเอง นักบุญเยโรม เขียนไว้วา่ “การไม่รจู้ กั พระคัมภีร์ คือการไม่รจู้ กั พระคริสตเจ้า” หากท่าน อยากรู้จักพระเจ้า พระคัมภีร์จะเป็นคำตอบในชีวิตของท่าน (¢Íº¤Ø³ ¢éÍÁÙŨҡἹ¡Í§¤ì¡Ã¤ÃÔʵª¹¦ÃÒÇÒÊ ½èÒ¸ÃÃÁ·Ùµ) ⌫⌫ ⌫
เจาะลึกพิเศษ...แผนกวิถีชุมชนวัด
พีน่ อ้ งทีร่ กั ระหว่างการสัมมนาพระสงฆ์ประจำปี ครัง้ ที่ 28 ในวันที่ 14 กรกฎาคม เวลา 20.00 น. - 21.10 น. ได้มกี ารประชุม ไตร่ตรองเพือ่ งานอภิบาลวิถชี มุ ชนวัดของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดย มีคณ ุ พ่อ สานิจ สถะวีระวงส์ อุปสังฆราช เป็นประธานใน การประชุมพร้อมกับคณะสงฆ์ ขอยกเอาบางประเด็นจากการประชุม นำเสนอต่อพีน่ อ้ งในสารสังฆมณฑลฯ ฉบับนีค้ รับ ที่ประชุมได้ตอบคำถามของคณะกรรมการจัดการสัมมนาฯ ที่ว่า “สิ่งสำคัญที่สุดที่ท่านได้เรียนรู้/ค้นพบจากการสัมมนาครั้งนี้ คืออะไร?” ดังนี้ ได้เห็นถึงความสำคัญและความจำเป็นในการรวมคริสตชนเป็นชุมชนย่อย ได้เห็นถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของฆราวาส ในงานของพระศาสนจักร โดยเป็นหนึง่ เดียวกับพระสงฆ์ในงานแพร่ธรรม ได้เรียนรูแ้ ละเข้าใจกระบวนการและวิธกี ารของ “กระบวนการ อภิบาลแบบบูรณาการ” (AsIPA) ได้ทบทวนการใช้เอกสารของ “กระบวนการอภิบาลแบบบูรณาการ” (AsIPA) มีประสบการณ์และ ได้เห็นรูปแบบการประชุมกลุม่ ย่อย เห็นได้ชดั ว่า “กระบวนการอภิบาลแบบบูรณาการ” (AsIPA) เป็นกระบวนการหนึง่ ทีท่ ำให้เราสัมผัส กับพระผ่านทางพระวาจาของพระองค์ เข้าใจยิ่งขึ้นว่าพระศาสนจักรคืออะไร ให้เราเป็นโฉมหน้าใหม่ของพระศาสนจักรและให้ ความสำคัญกับพระวาจาพระเจ้า เน้นการตั้งวิถีชุมชนวัดและกระบวนการในการจัดตั้ง วิถีชุมชนวัดสามารถทำได้ ต้องเริ่มต้นฝึกผู้นำ ให้เกิดความตระหนัก และการแบ่งปันของทีมงานวิทยากรทำให้เกิดแรงบันดาลใจที่จะทำวิถีชุมชนวัด ทีป่ ระชุมเห็นว่า การเริม่ ชุมชนคริสตชนย่อยเป็นนโยบายของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ซึง่ ตามวัดได้เริม่ นำไปปฏิบตั แิ ล้ว ซึง่ เริม่ จาก การอ่านพระคัมภีร์ตามบ้าน การแบ่งปันพระวาจา และหากชุมชนใดมีความพร้อมก็เริ่มรวมตัวกันในรูปแบบของชุมชนคริสตชนย่อย และจากการประชุมหัวหน้าเขต ระหว่างวันที่ 14-16 มิถนุ ายน หัวหน้าเขตแต่ละท่านได้กล่าวถึงการเริม่ ชุมชนย่อยตามวัดในเขตของตน โดยสรุป ดังนี้ งานนีต้ อ้ งทำแบบค่อยเป็นค่อยไป ซึง่ ต้องเป็นไปแบบธรรมชาติ เริม่ จาก 3-4 บ้าน โดยมีจติ ตารมณ์ รวมตัวกัน แล้วค่อยๆ ขยายออกไป เวลานีเ้ ราเริม่ จากฟืน้ ฟูชวี ติ คริสตชน ให้ความรู้ ปลูกฝังความเชือ่ ให้เข้มแข็ง มีชวี ติ ชีวา จัดเข้าเงียบ แสวงบุญ ให้วนั อาทิตย์ เป็นวันที่สำคัญ และมีความหมาย ให้พิธีกรรมมีชีวิตชีวา และพยายามหาอาสาสมัคร หาคนช่วยวัด ให้เริ่มมีผู้นำ ให้มีความเข้าใจ ส่งคนไปรับการอบรม แล้วบุคคลเหล่านีจ้ ะค่อยๆ รวบรวมคนขึน้ มาเป็นกลุม่ เอง เติบโตพร้อมๆ กันไป และเช่นเคยขอรายงานกิจกรรมที่ได้ดำเนินการในเดือนที่ผ่านมา ดังนี้ แผนกวิถชี มุ ชนวัดได้จดั การอบรมโครงการสร้างผูน้ ำวิถชี มุ ชนวัด (ผูน้ ำ 2) ระหว่างวันที่ 2-3 กรกฎาคม โดยมีผเู้ ข้ารับการอบรม จำนวน 67 ท่าน การอบรมในวันแรก คุณพ่อชวลิต กิจเจริญ ได้แบ่งปันเรือ่ งชีวติ จิตของผูน้ ำวิถชี มุ ชนวัด คุณพ่อชัยยะ กิจสวัสดิ์ แบ่งปัน ความรูด้ า้ นพระคัมภีร์ คุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ได้สรุปเอกสาร “กระบวนการอภิบาลแบบบูรณาการ” (AsIPA หรือ Asian Integral Pastoral Approach) ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการฝึกอบรมวิถีชุมชนวัด และในตอนค่ำ ผู้เข้ารับการอบรมทุกท่านได้แบ่งปัน ประสบการณ์ ข้อคิด ปัญหาที่เกิดขึ้นในการแบ่งปันพระวาจา ตลอดจนร่วมกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา และการพัฒนางาน วิถชี มุ ชนวัดต่อไป ในวันทีส่ องซิสเตอร์สวุ รรณี พันธุว์ ไิ ล และ คุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ได้อธิบายการแบ่งปันพระวรสารแบบ Group Response และได้มกี ารแบ่งปันพระวาจาพระเจ้าในรูปแบบนี้ การอบรมครัง้ นีจ้ บลงเวลา 10.00 น. เพือ่ เปิดโอกาสให้ผนู้ ำวิถชี มุ ชนวัด ที่เข้ารับการอบรมได้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบ่งปันเรื่อง “วิถีชุมชนวัด” สำหรับสภาอภิบาลวัดในเขต 5 ซึ่งประกอบด้วยวัดนักบุญเปโตร สามพราน วัดพระเยซูเจ้า เสด็จขึ้นสวรรค์ วัดนักบุญอันนา ท่าจีน วัดพระตรีเอกภาพ หนองหิน วัดพระคริสตกษัตริย์ นครปฐม และวัดนักบุญอันเดร บางภาษี จำนวน 50 ท่าน ในวันเสาร์ท่ี 9 กรกฎาคม เวลา 09.15 น. - 12.00 น. ทีส่ กั การสถานบุญราศีนโิ คลาส บุญเกิด กฤษบำรุง โดยแผนกวิถชี มุ ชนวัด และซิสเตอร์สุวรรณี พันธุ์วิไล ผู้อำนวยการศูนย์อบรมคริสตศาสนธรรม เป็นวิทยากร โดยในช่วงแรกเป็นการนำเสนอความเป็นมา และหลักการของวิถชี มุ ชนวัด ในช่วงทีส่ องเป็นกิจกรรมในกลุม่ ย่อยเรือ่ ง “ฟืน้ ฟูชวี ติ กลุม่ เพือ่ การแพร่ธรรม” ซึง่ แสดงให้เห็นถึงเป้าหมาย และจิตตารมณ์ของวิถีชุมชนวัดอย่างชัดเจน ที่สุด แผนกวิถีชุมชนวัดขอขอบพระคุณคุณพ่อของอัครสังฆมณฑลของเราทั้ง 10 ท่าน ที่ได้ไปร่วมทำหน้าที่ผู้ประสานงานใน การประชุมกลุ่มย่อย ตลอดการสัมมนาพระสงฆ์ประจำปี ครั้งที่ 28 ในหัวข้อ “พระสงฆ์ผู้อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์” ระหว่างวันที่ 11-15 กรกฎาคม ทีศ่ นู ย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล “บ้านผูห้ ว่าน” ⌫⌫ ⌫
บอกข่าวเล่าสาร
⌫
ฉลองครบรอบปีท่ี 6 แห่งสมณสมัยสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ท่ี 16
วันอาทิตย์ท่ี 3 กรกฎาคม 2011 เวลา 10.00 น. สภา พระสังฆราชคาทอลิกแห่ง ประเทศไทย จั ด พิ ธ ี บ ู ช า ขอบพระคุณ ฉลองครบรอบ ปีท่ี 6 แห่งสมณสมัยสมเด็จ พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ ที่ 16 ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ โดยมี พระอั ค รสั ง ฆราช โจวานนี ดานีแอลโล เป็น ประธาน ร่วมกับพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราช จำเนียร สันติสขุ นิรนั ดร์ และคณะพระสังฆราช พระสงฆ์ รวมทั้งยังมีสมาชิกของนักบวชคณะต่างๆ รวมทั้งสัตบุรุษทั้งชาวไทย และชาวต่างชาติ เข้าร่วมพิธี เพื่อร่วมขอพระพรเป็นพิเศษให้กับ องค์สมเด็จพระสันตะปาปา อันเป็นทีร่ กั ยิง่ ของคริสตชนชาวไทย
แผนอภิบาล 5 ปี สูก่ ารปฏิบตั ขิ ององค์กรฆราวาส วันเสาร์ท่ี 23 กรกฎาคม 2011 เวลา 09.00 - 17.00 น. คณะกรรมการบริหารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมกับสภาสงฆ์และสภาภิบาลอัครสังฆมณฑลฯ จัดการประชุมสำหรับตัวแทนสมาชิกองค์กรฆราวาสอัครสังฆมณฑลฯ ทุกกลุม่ ทุกองค์กร ในหัวข้อ องค์กรฆราวาสอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ กับการนำ แผนอภิบาล 5 ปีสกู่ ารปฏิบตั ิ ณ ห้องประชุม โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา
พัฒนาผูน้ ำ เมือ่ วันที่ 2-3 กรกฎาคม 2011 แผนกวิถชี มุ ชนวัด ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดย คุณพ่อเชษฐา ไชยเดช ผูจ้ ดั การแผนกวิถชี มุ ชนวัด ¤Ø³¾èͶ¹ÍÁÈÑ¡´Ôì àÅ×Íè ¹»ÃÐä¾ ผูช้ ว่ ยผูจ้ ดั การแผนกวิถชี มุ ชนวัด ร่วมกับแผนกองค์กรคริสตชนฆราวาส โดยคุณพ่ออภิเดช สุภาจักร์ ผูจ้ ดั การแผนก ุ พ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ คุณพ่อเชษฐา ไชยเดช คุณพ่อชัยยะ กิจสวัสดิ์ ได้จดั โครงการพัฒนาผูน้ ำ ณ ศูนย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล “บ้านผูห้ ว่าน” โดยมีคณ คุณพ่อชวลิต กิจเจริญ และซิสเตอร์สวุ รรณี พันธ์วไิ ล เป็นวิทยากร มีผเู้ ข้าร่วมจำนวน 67 คน
โครงการอบรมผูน้ ำนันทนาการ เมื่อวันที่ 9–10 กรกฎาคม 2011 แผนกเยาวชนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดย คุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่แผนกเยาวชน ได้จดั อบรมผูน้ ำนันทนาการ โดยมี นายณัฐคม จิตติรตั น์ เป็นวิทยากร นำการอบรม ณ บ้านสวนยอแซฟ สามพราน มีผเู้ ข้าร่วมจำนวน 41 คน
⌫⌫ ⌫
สัมมนาพระสงฆ์ประจำปีครัง้ ที่ 28 วันที่ 11-15 กรกฎาคม 2011 การสัมมนาพระสงฆ์ประจำปี ครัง้ ที่ 28 จัดขึน้ ณ ศูนย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล “บ้านผูห้ ว่าน” โดยมีพระสังฆราช และ คณะสงฆ์ จาก 10 สังฆมณฑล พระสงฆ์นกั บวชจากคณะต่างๆ ในประเทศไทย เข้าร่วมการสัมมนา ในหัวข้อ “พระสงฆ์ผอู้ ภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์ฯ” เน้นเรื่องวิถีชุมชนวัด (BEC) เนื้อหาการสัมมนาเพื่อรองรับแผน 5 ปีของสภาพระสังฆราช และในพิธีมิสซาปิดนั้นได้มีการร่วมแสดงความยินดีให้กับ พระสงฆ์ทค่ี รบรอบ 50 ปี และ25 ปี ณ สักการสถานคุณพ่อนิโคลาส
ÊÒÁà³ÃàÅç¡ÃèÇÁáÊ´§¤ÇÒÁÂÔ¹´Õ¡Ñº¾ÃÐʧ¦ìãËÁè เมือ่ วันที่ 12 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา เวลา 17.30 น. พระสงฆ์ใหม่แห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และสังฆมณฑลเชียงใหม่ ได้แก่ ¤Ø³¾èÍà»âµÃ ºØ-ªÃÑÊÁÔì ÊØ¢ÊÇèÒ§, ¤Ø³¾èÍÁÕ¤ÒáÍÅ ¹Ñ®°ÇÕ ¡Ñ§¡ë§, ¤Ø³¾èÍÂÍá«¿ àªÉ°ì´¹Ñ äªÂà¼×Í¡, ¤Ø³¾èÍÁÑ·¸ÔÇ ÈÈÔ¹ âËÁèâ¾ และ ¤Ø³¾èÍÂÍá«¿ ȵÇÃÃÉ ã½èËҤس¸ÃÃÁ ให้เกียรติมาร่วมในพิธบี ชู าขอบพระคุณ ณ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ
โครงการพักภารกิจฟืน้ ฟูชวี ติ สงฆ์ รุน่ ที่ 11 วั น ที ่ 18 กรกฎาคม 2011 พระอั ค รสั ง ฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธเี ปิดโครงการ พักภารกิจฟืน้ ฟูชวี ติ สงฆ์ รุน่ ที่ 11 พร้อมด้วยพระสังฆราช วีระ อาภรณ์รัตน์ โดยมี คุณพ่อประเสริฐ ตรรกเวศม์ กล่าวรายงาน มีพระสงฆ์ที่เข้าร่วมโครงการจำนวน 14 องค์ ณ บ้านผูห้ ว่าน ฟืน้ ฟูจติ ใจผูอ้ า่ นพระคัมภีร์
สัมมนาฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัว ขัน้ ที่ 1 (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 132 แผนกส่งเสริมชีวิตครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดสัมมนาฟื้นฟูชีวิต ครอบครัว ขัน้ ที่ 1 (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 132 เมือ่ วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2011 ทีบ่ า้ นซาวีโอ สามพราน นครปฐม มีคเู่ ข้าสัมมนาฯ ทัง้ สิน้ 13 คู่ กำหนดจัดฟฟ.1 รุน่ ต่อไป รุน่ ที่ 133 วันศุกร์ท่ี 16 – วันอาทิตย์ท่ี 18 กันยายน 2011 ณ บ้านสวนยอแซฟ สามพราน
เมือ่ วันที่ 9 กรกฎาคม 2011 แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดย คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผูจ้ ดั การแผนก ได้จดั เข้าเงียบฟืน้ ฟูจติ ใจผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ โดยมีคณ ุ พ่อเอกชัย โสรัจจกิจ เป็นวิทยากร มีผเู้ ข้าร่วมจำนวน 38 คน ณ ศูนย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล “บ้านผูห้ ว่าน”
⌫⌫ ⌫
ฟืน้ ฟูจติ ใจคณะกรรมการสภาภิบาล เขต 5 เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2011 คุณพ่อสำรวย กิจสำเร็จ หัวหน้าเขตปกครองวัด เขต 5 จัดฟื้นฟู จิตใจคณะกรรมการสภาภิบาลเขต 5 ทีส่ กั การสถาน ุ พ่อ บุญราศีนโิ คลาส บุญเกิด กฤษบำรุง โดยมีคณ เชษฐา ไชยเดช ผู้จัดการแผนกวิถีชุมชนวัด และ ซิสเตอร์สุวรรณี พันธ์วิไล ผู้อำนวยการศูนย์อบรม คริสตศาสนธรรม เป็นวิทยากร ให้ความรู้เรื่อง ความเป็นมาและหลักการของวิถีชุมชนวัด และจิตตารมณ์วิถีชุมชนวัด และยังมีคุณพ่อทัศนุ หัตถการกุล แบ่งปันเกี่ยวกับพระคัมภีร์กับชีวิต คริสตชน เรือ่ ง พระเยซูเจ้ากับหญิงชาวสะมาเรีย (ยน 4: 1-30)
อบรมพระคัมภีร์ ปีท่ี 22 วันเสาร์ท่ี 23 กรกฎาคม 2011 แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดยคุ ณ พ่ อ เอกรั ต น์ หอมประทุ ม ผู ้ จ ั ด การแผนกฯ จั ด การอบรมพระคั ม ภี ร ์ ภาคพันธสัญญาเดิม “สุภาษิต” ในวันเสาร์ภาคเช้า เป็นเวลา 10 ครัง้ โดยเชิญคุณพ่อ พงศ์เทพ ประมวลพร้อม เป็นวิทยากร มีผเู้ ข้าร่วมอบรมพระคัมภีรจ์ ำนวน 131 คน ณ ห้องประชุม ชัน้ 2 อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม
สัมมนาคณะกรรมการเยาวชน กรุงเทพฯ เมื ่ อ วั น ที ่ 15-16 กรกฎาคม 2011 แผนกเยาวชน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดยคุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ ผู้จัดการแผนก จัดสัมมนาคณะกรรมการเยาวชน ประกอบ ไปด้วยคณะกรรมการทัง้ 6 เขต จำนวน 24 คน ณ ชะอำปาร์ค ุ พ่อประจักษ์ บุญเผ่า เป็นวิทยากร รีสอร์ท เพชรบุรี โดยมีคณ ให้ความรูก้ บั เยาวชนเรือ่ ง “ตารูม้ อง สมองรูค้ ดิ จิตรูแ้ สวง”
โครงการประกาศนียบัตรครูจติ ตาภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เมือ่ วันที่ 22-23 กรกฎาคม 2011 กลุม่ งานจิตตาภิบาล ฝ่ายการศึกษาร่วมกับศูนย์คริสตศาสนธรรม ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมจัด โครงการ “หลักสูตรประกาศนียบัตรครูจติ ตาภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” การอบรมครั้งที่ 5 หัวข้อ “พิธีกรรมภาคปฏิบัติ” โดยมี คุณพ่ออนุสรณ์ แก้วขจร อาจารย์ประจำวิทยาลัยแสงธรรม เป็นวิทยากร ณ ศูนย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล “บ้านผูห้ ว่าน” มีโรงเรียนเข้าร่วม 16 โรงเรียน ครูฝา่ ยจิตตาภิบาล จำนวน 22 ท่าน
6-7 ส.ค. 10 ส.ค. 10-11 ส.ค. 13 ส.ค. 20 ส.ค. 26-27 ส.ค.
ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนสิงหาคม 2011 แผนกวิถีชุมชนวัดฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดการอบรมโครงการสร้างความเข้าใจจิตตารมณ์ วิถชี มุ ชนวัด (BEC) ณ บ้านผูห้ ว่าน ประชุมคณะกรรมการบริหาร เวลา 09.00 - 12.00 น. บ้านผูห้ ว่าน ฟื้นฟูจิตใจพระสงฆ์ประจำเดือน สิงหาคม บ้านผู้หว่าน สามเณราลัยแสงธรรมเชิญร่วมพิธีบวชสังฆานุกร พิธีแต่งตั้งผู้ช่วยพิธีกรรม และพิธีแต่งตั้งผู้อ่านพระคัมภีร์ โดยพระสังฆราชปัญญา กฤษเจริญ เวลา 10.00 น. ทีอ่ าคารมารดาพระผูไ้ ถ่ อบรมพระคัมภีร์ หอประชุมยวงนิตโย บ้านผูห้ ว่าน อบรมหลักสูตรประกาศนียบัตร ครูจติ ตาภิบาล ห้องประชุม 3 บ้านผูห้ ว่าน ⌫⌫ ⌫
เกร็ดความรูค้ ำสอน...คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม
สวัสดีพน่ี อ้ งทีร่ กั วันที่ 12 สิงหาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ วันที่ 15 สิงหาคมเป็นวันสมโภชพระนางมารีย์รับเกียรติ ยกขึ้นสวรรค์ทั้งกายและวิญญาณ ในโอกาสสำคัญอย่างนีพ้ อ่ ขอหยิบยกข้อความ จากแผนอภิบาลอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ค.ศ 2011-2015 มาอ้างอิง เพือ่ พีน่ อ้ งจะได้รบั ทราบกัน อย่างทัว่ ถึงว่า พระศาสนจักรได้หว่ งใยพีน่ อ้ งและ ร่วมดูแลท่านและบุตรหลานของท่านอย่างจริงจัง ในหน่วยงานทุกระดับทีเ่ กีย่ วข้อง อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ กำหนดงานอภิบาลหลักในการอภิบาล ครอบครัว เด็ก เยาวชน สตรี ผูส้ งู อายุ และคริสตชน กลุ่มพิเศษต่างๆ โดยให้มีสนามและฐานสำคัญ อยูใ่ นชุมชนวัดและโดยวิถชี มุ ชนวัด (ข้อที่ 35) - เน้นการอภิบาลครอบครัว เด็ก เยาวชน สตรี (ข้อที่ 37.1) เน้นให้แผนงานอภิบาลสนองต่อสิง่ ใหม่ ที่เกิดขึ้นในสภาพสังคมปัจจุบันที่ส่งผลกระทบ ต่อชีวิตคริสตชนเท่าทันการเปลี่ยนแปลงทั้งทาง ด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสิง่ แวดล้อม ซึ่งต้องการการอภิบาลอย่างพิเศษและทันต่อ เหตุการณ์ (ข้อที่ 37.2) - พระแม่ ม ารี ย ์ เ ป็ น แบบอย่ า งที ่ ว ิ เ ศษสุ ด สำหรับสตรีทง้ั หลาย พระนางเป็นแบบอย่างของ การเป็ น ศิ ษ ย์ ใ กล้ ช ิ ด พระคริ ส ตเจ้ า และอยู ่ ท่ามกลางบรรดาศิษย์ของพระคริสตเจ้า และ พระแม่ยงั เป็นแบบอย่างแก่สตรีทง้ั หลายในฐานะ ผูร้ บั ใช้ของพระเจ้า....( ข้อที3่ 2) - ครอบครัวคือพระศาสนจักรระดับบ้าน เป็น ที่ซึ่งบิดามารดาเป็นบุคคลแรกที่มีหน้าที่อบรม และถ่ายทอดความเชือ่ อาศัยการปฏิบตั ศิ าสนกิจ พระวาจา และชีวติ ภาวนา... โดยมีแบบอย่างคือ ครอบครัวศักดิส์ ทิ ธิอ์ นั ประกอบไปด้วยพระกุมารเยซู พระแม่มารีย์ และนักบุญโยเซฟ (ข้อที่ 30) ในโอกาสวันแม่นี้ พ่อขอเชิญชวนทุกท่าน ร่ ว มใจกั น ระลึ ก ถึ ง แม่ เ ป็ น พิ เ ศษ ทั ้ ง แม่ ท ี ่ อ ยู ่ ในโลกนี้และแม่ผู้ล่วงลับ รวมทั้งขอเชิญชวน ท่านร่วมสร้างพระศาสนจักรระดับบ้านและใน ละแวกบ้านให้มคี วามเข้มแข็ง ด้วยการเชิญชวนกัน อ่านพระคัมภีร์ ส่วนตัวอ่านร่วมกันในครอบครัว หรือในละแวกบ้าน เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ ตนเอง ครอบครัวและบุตรหลานต่อไป เรื่องดีๆ เริ่มต้นที่ครอบครัว เราที่เป็นผู้ใหญ่ต้องกล้า ทีจ่ ะนำสิง่ ดีๆ เข้ามาและขจัดสิง่ ทีช่ ว่ั ร้ายออกจาก ครอบครัวอันเป็นทีร่ กั ของเรา ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพีน่ อ้ งทุกท่าน
สถาบันครอบครัว ซึง่ ได้รบั การก่อตัง้ ด้วยความรักและดำรงอยูไ่ ด้ดว้ ยความรักนัน้ เป็นกลุ่มบุคคลที่ประกอบไปด้วย พ่อ แม่ และบุตร หน้าที่อันดับแรกของครอบครัว ก็ ค ื อ “การดำเนิ น ชี ว ิ ต ตามความสั ม พั น ธ์ อ ย่ า งถ่ อ งแท้ โดยพยายามเสมอว่ า จะส่งเสริมความสนิทสนมอันแท้จริงระหว่างบุคคล” (Familiaris Cconsortio 18) บทบาทนี้มีความรักเป็นหลักการ เป็นพลังถาวร และเป็นเป้าหมาย เพราะ ถ้ า ปราศจากความรั ก ครอบครั ว ก็ จ ะไม่ ส ามารถดำเนิ น ชี ว ิ ต ให้ เ จริ ญ ก้ า วหน้ า และบรรลุถึงความสมบูรณ์ในฐานะที่เป็นกลุ่มบุคคลได้ หรืออาจจะกล่าวได้ว่า “มนุษย์ไม่สามารถดำเนินชีวิตโดยปราศจากความรัก เขาคงจะเป็นคนที่ไม่สามารถ เข้าใจตนเองได้ ชีวิตของเขาก็จะไร้ความหมาย ถ้าความรักไม่เคยปรากฏเป็น รูปร่างให้เขาเห็น ถ้าเขาไม่เคยพบปะกับความรัก ถ้าเขาไม่เคยมีประสบการณ์ ในความรัก และไม่เคยยึดความรักเป็นองค์ประกอบของตนเอง” (Redemptor Hominis 10) ความรั ก ระหว่ า งชายกั บ หญิ ง ในชี ว ิ ต สมรส และความรั ก ระหว่ า งสมาชิ ก ของครอบครัว ซึง่ ได้แก่ความรักระหว่างพ่อแม่กบั ลูก ระหว่างพีๆ่ น้องๆ หรือญาติ ทั้งหมดนั้น ได้รับแรงดลใจและพลังชีวิตอย่างลึกซึ้งสม่ำเสมอซึ่งจะนำครอบครัว ไปสู่ความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นและแรงกล้านับวันแต่จะยิ่งทวีมากขึ้น นี่แหละคือ รากฐานและกำลังใจของชีวิตร่วมในการสมรสและครอบครัว สำหรับบิดามารดา หน้าที่อบรมบุตรนั้นถือเป็นหน้าที่ที่สำคัญ ดังสังคายนา วาติกันครั้งที่ 2 ได้ชี้แจงไว้ว่า “พ่อแม่ เมื่อให้กำเนิดลูกแล้ว มีพันธะอันหนักยิ่ง ที ่จ ะต้ องเลี ้ยงดูอบรมลูก เพราะเหตุน ี้ ต้องถือว่าพ่อแม่เป็นผู้ อ บรมที ่สำคั ญ อันดับแรกของลูก หน้าที่อบรมของพ่อแม่มีความสำคัญอย่างยิ่งยวดจนถึงกับว่า ถ้ า ขาดการอบรมของพ่ อ แม่ ก ็ จ ะยากที ่ จ ะหาการอบรมอื ่ น ใดมาทนแทนได้ พ่อแม่มีหน้าที่ต้องสร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความศรัทธาและความรัก ต่ อ พระเป็ น เจ้ า และต่ อ มนุ ษ ย์ ใ นลั ก ษณะที ่ จ ะส่ ง เสริ ม การอบรมลู ก ทั ้ ง ในแง่ ความเป็ น คนและในแง่ ท ี ่ เ ป็ น สมาชิ ก ของสั ง คมอย่ า งครบถ้ ว น เพราะฉะนั ้ น ครอบครั ว จึ ง เป็ น โรงเรี ย นแห่ ง แรกสำหรั บ สอนคุ ณ ธรรมทางสั ง คม ซึ ่ ง ไม่ ม ี สังคมใดจะขาดได้” (Gravissimum Educationis 3) ครอบครัวคริสตชนต้องตระหนักว่า มนุษย์ทั้งปวงเป็นบุตรของพระบิดาเจ้า สวรรค์องค์เดียวกัน ดังนั้นเขาก็จะสมัครใจต้อนรับบุตรของครอบครัวอื่น จุนเจือ และรักเขาไม่ใช่ในฐานะเป็นคนแปลกหน้า แต่เป็นสมาชิกในครอบครัวเดียวของบุตร ทั้งมวลของพระเป็นเจ้า ดังนั้นสำหรับครอบครัวคริสตชน ขอบเขตจิตตารมณ์ ของความเป็นพ่อแม่ขยายออกไปอย่างไม่มสี น้ิ สุด ความรักทีเ่ จริญผลทางจิตใจของ ครอบครัวเหล่านี้ ได้รับการท้าทายจากความยุ่งยากในยุคปัจจุบัน แต่กระนั้นก็ดี ทำให้เขาสำนึกอยู่เสมอว่า “พร้อมกับครอบครัวทั้งหลายและโดยทางครอบครัว พระคริสตเจ้ายังคงมีพระเมตตาต่อมหาชนอยูเ่ สมอ (Familiaris Consortio 41) .... เพราะที่ใดมีความรัก ที่นั่นพระเป็นเจ้าประทับอยู่.... ⌫⌫ ⌫ ⌦ ⌫ ⌫