สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือนธันวาคม

Page 1

⌫⌫  ⌫   



“พีน่ อ้ ง ถ้าเรานำพระวาจาของพระเจ้า มาปฏิบตั ใิ นชีวติ ของเรา ชีวติ ของพระเจ้า จะสะท้อนลงมาในการกระทำของเรา และใครก็ตามทีเ่ ข้ามาในชีวติ ของเรา เขาจะเข้าใจว่า พระเจ้าทรงเป็น องค์ความรักและความเมตตา” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสฉลองวัดราชินแี ห่งสันติสขุ ซอย 101 วันอาทิตย์ท่ี 18 พฤศจิกายน 2009

2 น.3 น.4 น.8

คนจนมีมาก แต่ของขวัญมีนอ้ ย น. จดหมายถึง “พ่อ” ผูเ้ ป็นทีร่ กั ของเรา น่ารูเ้ กีย่ วกับ นพวาร ปีแล้วปีเล่าของ

คริสต์มาส

สาสน์อวยพรโอกาสพระคริสตสมภพและสวัสดีปใี หม่ 2010 ของ

พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวานิช สุขสันต์วนั พระคริสตสมภพ – สวัสดีปใี หม่ คริสตสมภพเป็นเทศกาลแห่งการให้ “ของขวัญ” แก่กนั และกัน และของขวัญประเสริฐสุดทีม่ นุษย์ชาติได้รบั คือ พระกุมารเยซู องค์ความรักของพระเจ้า ที่พระบิดาเจ้าโปรดประทานแก่เราในค่ำคืนวันพระคริสตสมภพครั้งแรก ดังนั้น คริสตสมภพปีนี้ ขอให้พวกเราคริสตชนทุกคน เจริญชีวิตเป็น “ของขวัญ” แห่งความรัก เมตตาต่อ บุคคลรอบข้าง ในครอบครัว ในแวดวงการงานอาชีพ และในชุมชนทีเ่ ราอยู่ เพือ่ ทุกคนจะได้สมั ผัสความรักของพระเจ้า จากชีวิตและการกระทำของเรา เชื่อในความรักและตอบรับรักนั้น จนกลายเป็นความรักซึ่งกันและกัน ในครอบครัว ในชุมชน และดังนี้ “ที่ใด มีสองสามคน ชุมนุมกันในนามของเรา เราอยู่ที่นั่นท่ามกลางพวกเขา” (มธ.18,20) พระเยซูคริสตเจ้าได้ทรงสัญญาไว้เช่นนัน้ พระองค์ผเู้ ป็นองค์ความรักของพระเจ้า จะประทับท่ามกลางชุมชน ทีม่ คี วามรัก ความเอื้ออาทรและความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียวกัน ดังนี้ เราจะมีส่วนร่วมปลูกฝัง “วัฒนธรรมแห่งความรัก” ลงในโครงสร้างของชุมชนที่เราอยู่ ทีละเล็กทีละน้อย ชุมชนของเราจะกลับกลายเป็น “ของขวัญ” แก่สังคมรอบข้างในวงกว้างขึ้น ผู้คนในสังคมจะเชื่อและดำเนินชีวิตตาม แนวทางของวัฒนธรรมแห่งความรักมากขึ้น และสังคมไทยของเราจะมีแต่ความสงบสันติตลอดไป “สุขสันต์วันคริสตสมภพและปีใหม่ ค.ศ.2010” แก่พี่น้องที่รักในพระคริสตเจ้าทุกท่าน ขออำนวยพร (พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช) ประมุขอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ


สัมภาษณ์ คุณพ่ออนุชา ชาวแพรกน้อย ผูจ้ ดั การแผนกผูป้ ระสบภัย อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

คุณพ่ออนุชา ชาวแพรกน้อย ทำงานในด้านผูป้ ระสบภัยมาเป็นเวลา 6 ปี คุณพ่อเล่าให้ฟงั ถึง โครงการทีจ่ ดั ในปีนว้ี า่ “ในงาน ผู้ประสบภัย (โคเออร์) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นงานที่ให้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ลี้ภัย ผู้ประสบความ ยากลำบากต่างๆ หรือผู้ด้อยโอกาสต่างๆ พ่อทำงานในภาคสังฆมณฑล คอยประสานหาความช่วยเหลือไปยังผู้ประสบภัย ตามโอกาสต่างๆ และปีนี้ได้จัดโครงการหนึ่งชื่อว่า “คริสต์มาสบนดอย แด่น้องน้อยผู้ด้อยโอกาส” เพื่อเชิญชวนให้ทุกท่าน ได้มอบของขวัญ ให้กบั คนทีด่ อ้ ยโอกาส เป็นต้นผูท้ ป่ี ระสบภัยหนาว และอย่างทีท่ ราบกันดีวา่ คนจนนัน้ มีมาก แต่ของขวัญมีนอ้ ย พ่อเองคิดว่าจะมีแนวทางอย่างไรเพื่อช่วยเหลือกับผู้ที่ยังขาดแคลนที่มีจำนวนมาก เป็นต้น ผ้าห่มกันหนาว พ่อจึงคิดว่าอยากให้ ทำบุญกันตามกำลัง แต่เน้นนะครับว่า “ตามกำลังความศรัทธา” เท่าที่ทุกท่านพอทำได้ พ่อคิดว่า “เราก็จะสามารถช่วยคนจน ตามกำลังความสามารถได้”และได้พยายามให้ทุกคนมีส่วนร่วม ปีนพ ้ี อ่ รณรงค์ บอกบุญ ขอผ้าห่ม เพือ่ ให้กบั เด็กแรกเกิด – 2 ขวบ ได้รบั ของขวัญ พ่อคิดว่า “ลูกคือพระพรของพระเจ้า” ลูกนำพระพรมาสูค่ รอบครัว ในพระคัมภีร์ มีการพูดถึงทารก เหล่านีว้ า่ “กษัตริยเ์ ฮโรด ฆ่าเด็กตัง้ แต่ 2 ปีลงมา ตายแทนพระเยซูเจ้า” ดังนัน้ พ่อจึงอยากให้เด็กตัง้ แต่แรกเกิด – 2 ขวบได้รบั ของขวัญบ้าง ในปัจจุบนั นี้ เรายังคง เห็นคนที่พยายามจะฆ่าเด็ก เช่น การทำแท้งบ้าง เอาเด็กไปทิ้งตามกองขยะบ้าง พ่อจึงคิดว่า หากว่าเราได้ให้ของขวัญกับเด็กๆ เหล่านี้ เราจะได้เห็นพระเยซูเจ้ามาบังเกิด ท่ามกลางพวกเราอีกครั้ง แม่ชี ธรรมจารย์ เจิง้ เหยียน แห่งมูลนิธิ ทีไ่ ต้หวัน กล่าวว่า “เปลีย่ นขยะให้เป็นทอง เปลีย่ นทองให้เป็นความรัก และเปลีย่ นความรักให้เป็นความอบอุน่ ” ความรักของเรา ทีไ่ ปปฏิบตั ิ รักคือเมตตา เมตตาคือสงสารคนอืน่ เห็นใจคนอืน่ กรุณา คือไปลงมือปฏิบตั ิ รับใช้ เห็นใจคนอืน่ ให้คนอืน่ พ้นจากยากลำบาก มอบของขวัญด้วยการนำความรักให้เป็น ความอบอุน่ ไม่ใช่เป็นความรักทีล่ อยในโอกาส แต่เป็นความรักทีม่ กี ารปฏิบตั ิ เปลีย่ นความรัก เป็นผ้าห่ม ให้ความอบอุน่ เป็นของขวัญสำหรับพวกเขา ความรักต้องมีการปฏิบตั ดิ ว้ ย ในเทศกาลคริสตมาสนี้ พระเยซูเจ้าทรงบังเกิดอย่างยากจนในถ้าเลี้ยงสัตว์ เพื่อให้เรา ร่ำรวยในทางจิตใจ เป็นจิตใจแห่งการให้ เป็นจิตใจที่เสียสละ แบ่งปันให้อย่างกว้างขวาง ให้อย่างมีคณ ุ ค่า คือให้กบั คนทีย่ ากไร้ ลำบาก ให้คนทีไ่ ม่ได้รบั ของขวัญ เมือ่ เขา ได้รับ และสิ่งนั้นเป็นประโยชน์สุขกับชีวิตของเขา เขาก็จะขอบคุณพระเจ้า แทนเรา เขาจะได้มกี ำลังใจในการดำเนินชีวติ ต่อไป โลกนีย้ งั มีความหวัง โลกนีย้ งั มี การให้ เมื่อพระบิดาได้มอบพระเยซูเจ้ามาเป็นของขวัญให้กับเรามนุษย์ เราก็ให้ ของขวัญแก่กนั และกัน เพือ่ แสดงถึงความรักของพระเจ้ายังคงเป็นประจักษ์พยาน ท่ามกลางเราด้วยการกระทำ แห่งกิจการแห่งการให้ การรัก และรับใช้น้ี พ่อจึงขอเชิญชวนทุกท่าน มอบของขวัญให้กบั ผูท้ ป่ี ระสบภัยหนาว ที่มีมาก แต่ของขวัญนัน้ มีนอ้ ย ร่วมบริจาค สิง่ ของ ผ้าห่ม เสือ้ ผ้า ตุก๊ ตา ฯลฯ เพือ่ จัดงาน คริสต์มาสของวัดคาทอลิกบนดอย และศูนย์เลี้ยงเด็กไทย-ภูเขา ในเขตมิสซัง เชียงใหม่ และมิสซังนครสวรรค์ เชิญบริจาคได้ท่ี คุณพ่อเจ้าอาวาส/ สำนักงานวัด/ หรือ แผนกผูป้ ระสบภัยฯ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ คุณพ่ออนุชา ชาวแพรกน้อย 08-9918-3723 คุณวัลย์ลภา แซ่ลิ่ว (เจ้าหน้าที่) 08-1407-4042 และโคเออร์ รีไซเคิล (อาสาสมัครโคเออร์) คุณสุวรรณ เจาฑาฑิต 08-6021-7751 และ 08-7528-6251 คุณณัฐกฤตา กิจบำรุง 08-1314-5051 ขอพระกุมารเยซู ทีจ่ ะบังเกิดนี้ ได้มอบของขวัญทีบ่ นั ดาลความสุขให้กบั ทุกๆ ท่านด้วยเถิด “สุขสันต์วันพระคริสตสมภพและสวัสดีปีใหม่ค่ะ”   ⌫⌫  ⌫   


บทความ

เรื่อง มีบางคำ เพอ่ื แทนบางคำ เรียน พระคณ ุ เจา้ พระคารด์ นิ ลั ไมเกล้ิ มี ชยั กิจบุญชู “พระคุณเจา้ เหนือ่ ยหรือเปล่าครบั ” ผมถามหลังจากงานฯ กำลังจะจบ ดำเนนิ มาถึงช่วงทา้ ยๆ แลว้ “ออ้ ตอนนน้ั 3 ทุม่ กวา่ แลว้ กิจกรรมต่ ...ยงั หรอก งานแบบนีท้ ง้ั ที เหนือ่ างๆ ยไ ด้ ยงั ไงล่ะ” อาจจะเปน็ บทสนทนาธ แต่ผมคิดว่าถ้าคิดถึงคนที่จัดงาน รรมดาๆ และได้พูดคุยสนทนากับประธาน เปิดงาน หรือแขกคนสำคัญ ด้ว ลักษณะนั้น คงไม่มีผู้จัดงานคนไ ยคำพูดใน หนรู้สึกเฉยๆ เขาคงรู้สึกปลื้มนะคร ับ ผมก็รู้สึกเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน พระคณ ุ เจา้ พระคารด์ นิ ลั ไมเกล้ิ มีช ยั กิจบุญชู มักมีคำพดู ทีใ่ ห้กำลงั เสมอ และผมเชื่อว่าท่านปฏิบัติต ใจ ทักทายดว้ ยรอยยิม้ และไมตรี ่อทุกคนไม่เลือกว่าเขาเหล่านั้นจะ เป ็นใคร มันเหมือนภาพที่เราคุ้นเค จำภาพเดิมๆ สมยั เปน็ เดก็ อยทู่ บ่ี ย ผมยัง า้ นเณรเลก็ ยอแซฟ สามพราน คว าม รูส้ กึ ไกลหา่ งถงึ วัย ตำแหน่ง หนา้ เณรเลก็ ๆ คนหนง่ึ กับพระอคั รสงั ทีก่ ารงาน ฆราชของเขา ผมทำความสะอาดบ นั ได ฝัง่ ห้องพกั พระสงฆต์ กึ บ้านเ เมอ่ื ผมวางไมก้ วาดลงและสวสั ดีท ณรยอแซฟ า่ นแล้ว คำถามแรกก็คอื “มาจากวั ดไหน...?” ท่านไม่ลมื ทีจ่ ะพดู ถึงคุ ที่ส่งเรามา ถ้าท่านพอจะไล่เรียงญ ณพ่อเจา้ วัด าติพี่น้องของเราได้อีกท่านก็มักจะ ทำเสมอด้วยเช่นกัน จากวันสู่เดือน จากเดือนสู่ปี ภา พแห่งความรักและห่วงใย ไม่เคย เลือนหายไป มีแต่จะเพิ่มและคมช ผมยังจำไดถ้ งึ วันเวลาทอ่ี าจจะมีเ รือ่ งไมเ่ ข้าใจเกดิ ขึน้ ความผิดพลาด ัดขึ้น บกพรอ่ งทเ่ี ดินทางมาพร้อมกบั ภา มอบหมาย วันเวลาเหล่านัน้ พระค รกจิ ทีไ่ ด้รบั ุณเจา้ จะนัง่ ลงและเลอื กฟงั จากป ากของเรา พระคณ เป็นเรื่องที่แก้ไขได้ พระคุณเจ้าจึ ุ เจ า ้ มั ก มอ งความผดิ พลาด งเลือกที่จะให้โอกาสเสมอๆ สำหร ับทุกคน ในวันเวลาที่พระคุณเจ้าต้องเทศน ์สอน พูด หรือกล่าวในโอกาสต่า งๆ พวกเราเห็นถึงสำนวนโวหาร และการแก้ปัญหาเฉพาะหน้า จะ คำพูด มีสักกี่คนที่ใช้ช่วงเวลาเหล่านี้ได้ ยอดเยี่ยมและถึงใจคนทุกระดับ หมายถึงเรื่องราวที่ต่อยอด และฟ แต่นั่นย่อม ูมฟักอยู่ในคนๆ หนึ่ง จนสามารถ ที่จะนำแง่มุมไหนออกมาก็ใช้ได้เ อย่างมีประสิทธิภาพ มื่อถึงเวลา พระคณ ุ เจา้ ครบั ผมเข้าใจแลว้ ว่า คำทีพ่ ระคุณเจา้ เลอื กเป็นคตพิ จนน์ น่ั เองท จนถึงวันนี้ Per Crucem Ad Lu ท่ี ำให้พระคุณเจา้ ยืนยันด้วยชวี ติ cem (ผ่านทางไม้กางเขน สู่ค วามสุกใสรุ่งโรจน์) การออกแร ไม่ย่นย่อท้อต่ออุปสรรคด้วยควา งในชีวิตและ มเชื่อในองค์พระเป็นเจ้าต่างหาก คือเส้นทางที่จะพาเรามาถึงวันเว ความชื่นชมได้ 50 ปีแห่งสังฆภาพ ลาแห่ง ของพระคุณเจ้า เป็น 50 ปีที่พวก เราพระสงฆ์แห่งอัครสังฆมณฑล ภาคภมู ใิ จเป็นทีส่ ดุ ทีไ่ ด้รว่ มงาน กรุงเทพฯ ทีไ่ ด้เรียกพระคุณเจา้ ว่า “พอ่ ” ขอ งเราได้อย่างสนิทปากและสนทิ ใจ “เฉลิมศก สังฆภาพ สุวรรณสม โภชพระคาร์ดนิ ลั ” เปน็ กิจกรรมเล พร ะศ าส นจ ั ก รส าก ลข อง อั ค รส ก็ ๆ น้อยๆ เพอ่ื ร่วมฉลองปพี ระสงฆ์ ั ง ฆม ณ ฑล กร ุ ง เท พฯ พว กเ รา พร กบั ะส งฆ ์ จ ะไ ด้ ม ี โ อก าส เร ี ย นร ู ้ ป ระ 50 ปีชวี ติ พระสงฆจ์ ากพระคณ สบ กา รณ ์ ุ เจา้ และแนวคิดเกย่ี วกบั พระส งฆป์ จั จุบนั จากพระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ผู้สืบ ฟรังซิสเซเวียร์ ตำแหน่งจากพระคุณเจ้า พวกเรา จะได้มีโอกาสจัดให้เยาวชนได้ร่ว เกี่ยวกับกระแสเรียกและพิธีตื่นเฝ มกิจกรรม ้า พระคุณเจ้าคงมีอะไรจะพูดคุย สนทนาและให้กำลังใจพวกเขา การคนื ดีกบั พระสำหรับสัตบุรษุ ด้ มีกิจกรรม วย และเมอ่ื ถึงวันเสารท์ ่ี 19 ธันวา คม พวกเราจะร่วมกนั โมทนาคณ ในชีวิตสงฆ์ 50 ปีของพระคุณเจ ุ พระเปน็ เจา้ ้า และในวันถัดไปซึ่งเป็นวันอาทิ ตย์ ทุกวัดในอัครสังฆมณฑลจะ โมทนาคณ ุ พระเพอ่ื ขอพระพรพละกำลัง สุข ถือโอกาส ภาพแข็งแรงสมบรู ณ์ เพอ่ื พระคณ ุ เจา้ จะไดอ้ ยูเ่ ป็นกำลังใจ เปน็ ทีป่ และเป็นพ่อให้พวกลูกๆ ได้อบอุ่น รึกษา ใจตลอดไป “พยายามจัดอะไรให้เรียบง่า ยที่สุด” เป็นคำที่พระคุณเจ้าฝา กมา เพื่อให้พวกเราไม่รู้สึกเป็น หรือยากลำบาก แน่นอนครับ พว ภาระ กเราเชื่อเช่นนั้น และน้อมนำคำเห ล่านี้มาใส่ใจเสมอในการทำสิ่งใด แต่พระคุณเจ้าครับ กับความสา ก็แล้วแต่ มารถและความภ ูมิใจที่เอ่อล้น กับวันเวลาที่ไม่อาจย้อนคืนแล เริ่มใหม่ได้ พวกเราจึงเลือกทำให้ ะกลับไป ดีที่สุดและทำสิ่งเหล่านี้ด้วยใจ แท นคำบางคำเพื่อจะบอกกับพระค “พอ่ ” ผูเ้ ป็นทีร่ กั ของเรา ุณเจ้า ... จาก...ลกู พระสงฆอ์ งคห์ นึ ง่ ในอัครสงั ฆมณฑลกรุงเท พฯ  ⌫⌫  ⌫    


เจาะลึกพิเศษ

 

พี่น้องที่ร อีกหลายแบบ พ คำว่านพ ต่อเนือ่ ง ทัง้ การภ นพวารแ พิธีกรรม มีเพี ปฏิทินพิธีกรรม เป็นสามเท่าของ 9 วันที่แ เพื่อรอคอยกา เป็นรูปแบบจากพระคัมภีรข์ องนพวาร “บัดนี้ เรากำลังจะส่งพระผูท้ พ่ี ระบิดาทรงสัญญาไว้ (พระจิตเจ้า) มาเหนือท และขณะที่พระเยซูเจ้าทรงร่วมโต๊ะกับอัครสาวก พระองค์ทรงกำชับว่า “อย่าออกจากกรุงเยรูซาเล็ม แต่จงคอยรับ พิธลี า้ งเดชะพระจิตเจ้า” (กจ 1:4-5) นพวารในตอนแรกไม่ ไ ด้ ใ ช้ เ พื ่ อ เตรี ย มตั ว สำหรั บ วั น สมโภชสำคั ญ แต่ ไ ด้ ใ ช้ เ ป็ น ช่ ว งเวลาแห่ ง การไว ในการไว้ทุกข์ พร้อมกับมีการฉลองพิเศษในวันที่ 9 หลังจากความตายหรือหลังจากการฝังศพ การปฏิบัติ ปลงพระศพของพระสันตะปาปายอห์นปอลที่ 2 ได้มกี ารจัดให้สวดภาวนา เยีย่ มพระศพ และไว้ทกุ ข์เป็นเวลา 9 วัน) นพวารที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการสวดภาวนาเป็นพิเศษเพื่อจะได้รับพระหรรษทาน หรือเป็นการเตรียมสมโภ ในตอนต้นของสมัยกลาง ซึ่งเริ่มต้นในประเทศฝรัง่ เศสและสเปน เป็นการเตรียมสมโภชพระคริสตสมภพโดยใช้เวลา การทีพ ่ ระเยซูเจ้าอยูใ่ นครรภ์ของแม่พระเป็นเวลา 9 เดือน นพวารเพื่อเตรียมการฉลองยังเกี่ยวเนื่องกับวันฉลองของแม่พระและนักบุญ ซึ่งกระทำโดยชุมชนที่มีควา องค์อปุ ถัมภ์ เพือ่ ขอให้พวกท่านวอนขอพระเจ้าเพือ่ พวกเขา (ในประเทศไทย เช่น นพวารนักบุญอันนา นพวารนักบุญร พี่น้องที่รัก เนื่องจากในตอนนี้เราอยู่ในเทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า และในระหว่างวันที่ 16-24 เพือ่ เตรียมฉลองพระคริสตสมภพ ควบคูไ่ ปกับบูชามิสซาประจำวัน การสวดทำวัตร และการนมัสการศีลมหาสนิท อย่างไรก็ดนี พวารถือเป็นกิจศรัทธาทีส่ ง่ เสริมให้เราเข้าใจความหมายของการเสด็จมาบังเก พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณได้ดียิ่งขึ้น นอกจากการเตรียมตัวฉลองพระคริสตสมภพด้วยการทำน ให้เตรียมจิตใจของเราอย่างดี ก็คือการรับศีลอภัยบาป ซึ่งจะดีมากถ้าเราจะรับศีลอภัยบาป เพ และเหมาะสมที่จะรับพระกายของพระคริสตเจ้าในศีลมหาสนิท เป็นมัดจำและเป็นความหวังว่า เมือ่ พระองค์จะเสด็จกลับมาอีกครัง้ หนึง่

  ⌫⌫  ⌫   


รัก เราคงคุ้นเคยกับนพวารแม่พระนิจจานุเคราะห์ และนพวารศุกร์ต้นเดือน แต่จริงๆ แล้วนพวารยังมี พ่อจึงขอแบ่งปันเรือ่ งน่ารูเ้ กีย่ วกับนพวารแก่พน่ี อ้ ง พวาร (novena) มาจากคำว่า novem ในภาษาละติน ซึง่ แปลว่า 9 นพวาร คือ 9 วันแห่งการภาวนาอย่าง ภาวนาส่วนตัว และการภาวนาพร้อมกับชุมชน เพือ่ รับพระพรพิเศษจากพระเจ้า แตกต่างจากอัฐมวาร หรือ 8 วันแห่งการฉลองซึ่งต่อเนื่องจากวันสมโภชสำคัญ (ปัจจุบันในปฏิทิน ยงวันสมโภชคริสตสมภพและสมโภชปัสกาที่มีอัฐมวาร) เพราะอัฐมวารเป็นการฉลองที่อยู่ใน ม แต่นพวารซึ่งปกติทำก่อนการฉลองถือเป็นกิจศรัทธาและไม่อยู่ในปฏิทินพิธีกรรม นพวารถือได้ว่า งตรีวาร (3x3=9) แม่พระและบรรดาอัครสาวกภาวนาพร้อมกันที่กรุงเยรูซาเล็ม ตามคำสั่งของพระเยซูเจ้า ารเสด็จมาของพระจิตเจ้า (ระหว่างวันที่พระเยซูเจ้าเสด็จสู่สวรรค์ และวันที่พระจิตเจ้าเสด็จลงมา) านทัง้ หลาย เพราะฉะนัน้ ท่านจงคอยอยูใ่ นกรุงจนกว่าท่านจะได้รบั พระอานุภาพจากเบือ้ งบนปกคลุมไว้” (ลก 24:49) บพระพรที่พระบิดาทรงสัญญาไว้ ดังที่ท่านได้ยินจากเรา ยอห์นทำพิธีล้างด้วยน้ำ แต่ภายในไม่กี่วัน ท่านจะได้รับ

ว้ ท ุ ก ข์ ซึ ่ ง ชาวกรี ก และชาวโรมั น เช่ น เดี ย วกั บ ประเทศอื ่ น ๆ ในสมั ย โบราณ มี ค วามคุ ้ น เคยที ่ จ ะถื อ 9 วั น เช่นนี้ถูกนำมาใช้โดยคริสตชนด้วย แต่ในรูปแบบที่แตกต่างจากการปฏิบัติของคนต่างศาสนา (ก่อนมิสซา

ภชที่สำคัญ ปรากฏเป็นครั้งแรก า 9 วัน เลข 9 เปรียบเหมือน

ามศรัทธาต่อแม่พระและนักบุญ ร็อค ฯลฯ) ธันวาคม เราสามารถทำนพวาร

กิดของพระเยซูเจ้าทีแ่ สดงออกใน นพวารแล้ว สิ่งหนึ่งที่จะช่วยเรา พื่อทำให้วิญญาณของเราสะอาด า เราจะได้ร่วมสุขกับพระเยซูเจ้า

 ⌫⌫  ⌫    


บอกข่าวเล่าสาร     

ฉลองวัดนักบุญลูกา อูท่ อง จ.สุพรรณบุรี วั น เสาร์ ท ี ่ 14 พฤศจิกายน 2009 เวลา 10.30 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็ น ประธานในพิ ธ ี มิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสฉลองวัดนักบุญ ลูกา อูท่ อง จ.สุพรรณบุรี พร้ อ มด้ ว ยคณะสงฆ์ และบรรดาสั ต บุ ร ุ ษ จำนวนมาก

ฉลองวัดนักบุญอันเดร บางภาษี และวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียนใหม่ โรงเรียนเซนต์แอนดรูว์ เมือ่ วันเสาร์ท่ี 7 พฤศจิกายน 2009 เวลา 10.15 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานใน พิธเี สกและวางศิลาฤกษ์ อาคารเรียนหลังใหม่ โรงเรียน เซนต์แอนดรูว์ และฉลองวัดนักบุญอันเดร บางภาษี มีบรรดาสัตบุรษุ มาร่วมจำนวนมาก

พิธีมอบวุฒิบัตรคอร์สอบรมพระคัมภีร์ วันเสาร์ คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผูจ้ ดั การ แผนกคริสตศาสนธรรม ได้จดั พิธมี อบวุฒบิ ตั ร แก่ผู้สมัครเรียนพระคัมภีร์วันเสาร์ จำนวน 66 คน โดยพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธาน ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม เสกสุสานศานติคาม วันอาทิตย์ท่ี 8 พฤศจิกายน 2009 เวลา 09.00 น. พระสังฆราช ยอแซฟ สังวาลย์ ศุ ร ะศรางค์ อดี ต ประมุ ข สั ง ฆมณฑล เชียงใหม่ เป็นประธานในพิธีมิสซาระลึก ถึงผู้ล่วงลับ โอกาสเสกสุสานประจำปี “ศานติคาม” ร่วมกับ คณะสงฆ์กว่า 10 องค์ สั ง ฆานุ ก รจากสั ง ฆมณฑลต่ า งๆ และ บรรดาสัตบุรษุ มาร่วมงานกว่า 2,000 คน เขต 2 จัดงานปีพระสงฆ์เพือ่ สัตบุรษุ เมือ่ วันเสาร์ท่ี 31 ตุลาคม 2009 พระสงฆ์ นักบวชชาย-หญิง สภาภิบาล และสัตบุรุษ เขต 2 จัดงาน “ปีพระสงฆ์เพื่อ สัตบุรษุ ” ทีว่ ดั มารียส์ วรรค์ ดอนเมือง โดยพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธี มิสซาบูชาขอบพระคุณ และช่วงบ่ายเป็นการพบปะพระสงฆ์ ในรายการ “พ่อพบลูก” ตอบข้อซักถามศาสนา ปัญหาชีวิต โดยพระสงฆ์เขต 2

  ⌫⌫  ⌫   


ฉลองวัดนักบุญเทเรซา หนองจอก วันเสาร์ท่ี 14 พฤศจิกายน 2009 เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ ณ วัดนักบุญเทเรซา หนองจอก ร่วมกับ คณะสงฆ์ จำนวนกว่า 25 คน สัตบุรษุ จำนวนมาก

ฉลองวัดราชินแี ห่งสันติสขุ ซอย 101 วันอาทิตย์ที่ 15 พฤศจิกายน 2009 เวลา 09.15 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสฉลองชุมชน วัดราชินแี ห่งสันติสขุ ซอย 101 ร่วมกับ คณะสงฆ์กว่า 10 องค์ สัตบุรษุ กว่า 700 คน ปีนท้ี างวัดจัดงานฉลองชุมชนวัดปีท่ี 42

อบรมเพิม่ พูนความรูค้ รูคำสอนเขต 5 ครัง้ ที่ 2 เมือ่ วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน 2009 คณะกรรมการ คำสอนเขต 5 ได้จดั อบรม ให้แก่ครูคำสอน เขต 5 ณ หอประชุมโรงเรียนนักบุญเปโตร สามพราน โดยมี คุณครูเข้าร่วมอบรมจาก 6 โรงเรียน รวมจำนวน 68 คน และมีพธิ มี สิ ซาปิดการอบรม ณ สักการสถานบุญราศี คุ ประชุ ม ใหญ่ ส ามั ญ ณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง ประจำปี ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฝ่ายการศึกษา อัคร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ จัดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปีการศึกษา 2552 ครั้งที่ 2 เมื่อวันพุธที่ 11 พฤศจิกายน 2552 ณ ห้องประชุมยวงนิตโย ศูนย์ฝึก อบรมงานอภิบาล “บ้านผูห้ ว่าน” จ.นครปฐม เยาวชน เขต 1 ศึกษาศาสนสัมพันธ์และคริสต ศาสนจักรสัมพันธ์ เมื่อวันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2009 คุณพ่อ ณรงค์ รวมอร่าม พาเยาวชนเขต 1 จากวัดอัครเทวดา ราฟาแอล (วัดปากน้ำ) วัดนักบุญยอแซฟ (วัดตรอกจันทน์) และวัดแม่พระปฏิสนธินิรมลแห่งเหรียญอัศจรรย์ (วัดโรงหมู) รวมกว่า 20 ชีวติ ศึกษาด้านศาสนสัมพันธ์ และคริสตศาสนจักรสัมพันธ์ และได้พาไปทีม่ สั ยิดฮารูน และได้ไปวัดม่วงแค

ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนธันวาคม 2009 3-4 ธ.ค. 9 ธ.ค. 9 ธ.ค. 12 ธ.ค. 17 ธ.ค. 18 ธ.ค. 19 ธ.ค. 20 ธ.ค. 24 ธ.ค.

วันบุคลากร อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ บ้านผูห้ ว่าน ประชุมหัวหน้าเขตจิตตาภิบาล ฝ่ายการศึกษา เวลา 08.30-12.00 น. ห้องประชุม 3 บ้านผูห้ ว่าน ประชุมคณะกรรมการฝ่ายการศึกษา เวลา 13.00-16.00 น. ห้องประชุม 8 ประชุมแผนกงานพัฒนาวิถชี วี ติ คริสตชน (BEC) ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ห้องประชุม 5 ฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์ประจำเดือนธันวาคม ห้องประชุมยวงนิตโย บ้านผูห้ ว่าน เวลา 10.00-18.30 น. ชุมนุมเยาวชนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ “ชีวติ สงฆ์ เยาวชน และกระแสเรียก” ณ บ้านสวนยอแซฟ สุวรรณสมโภช (50ปี) ชีวติ สงฆ์ของพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู ณ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน มิสซาสุขสำราญสำหรับพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู พระสงฆ์ และสัตบุรษุ (ทุกวัดในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ) พิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณสมโภชพระคริสตสมภพ เวลา 24.00 น. อาสนวิหารอัสสัมชัญ  ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรู้คำสอน  

สวัสดีพน่ี อ้ งทีร่ กั สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ของเราฉบับนี้ เป็นฉบับส่งท้ายปี 2552 เดือนธันวาคมเป็นเดือนที่ เราคริสตชนเตรียมฉลองคริสต์มาส ซึง่ เป็นเทศกาลทีม่ ี ความสุขและความยินดี ในเดือนนี้เองเรายังมีโอกาส ฉลองครบรอบ 50 ปี แห่งการบวชเป็นพระสงฆ์ของ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู บิดาทีร่ กั ของเรา ในวันเสาร์ท่ี 19 ธันวาคม ศกนี้ ต้องยอมรับว่าชีวติ ของ พระสงฆ์องค์หนึง่ ทีร่ บั ใช้พระเป็นเจ้าเป็นเวลาเนิน่ นาน ย่อมมีสง่ิ ทีน่ า่ จดจำ ผิดหวัง สมหวัง รอยยิม้ น้ำตา ฯลฯ เราร่วมใจกันขอพระเป็นเจ้าได้โปรดอวยพรพระคุณเจ้า ให้มสี ขุ ภาพ พลานามัย ทีแ่ ข็งแรงทัง้ กายและใจเสมอ สิ่งดีๆ มากมายที่เกิดขึ้นในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และพระศาสนจักรในประเทศไทยทีพ่ ระคุณเจ้าได้ทำไว้ ยังคงอยูใ่ นใจของพวกเราเสมอไป ทุกๆ วัดต่างก็เตรียมฉลองวันคริสต์มาส ประดับ ประดาบริ เ วณวั ด ให้ ด ู ส วยงาม หรื อ แม้ แ ต่ ท ี ่ บ ้ า น ของเราเอง หลายๆ แห่ ง ก็ ท ำถ้ ำ พระกุ ม าร สร้ า ง บรรยากาศแห่งความยินดีถ้วนหน้ากัน นับว่าเป็น สิ่งที่ดีน่าส่งเสริม เพราะอย่างน้อยที่สุดก็เป็นการ เตือนใจบรรดาสมาชิกในครอบครัวถึงโอกาสแห่ง ความยินดีน้ี เรามีงานรืน่ เริงมากมาย ในช่วงนี้ ทางด้าน จิตใจ หลายวัดก็มีการเชิญรูปพระกุมารไปตามบ้าน มีการทำนพวารคริสต์มาส เตรียมของที่จะให้ผู้อื่น ทำบุญแก่ผยู้ ากไร้ฯลฯ พีน่ อ้ งทีร่ กั สิง่ ดีๆ ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในช่วงนี้ ล้วนเป็นการแสดงออกภายนอกถึงความยินดี และสำนึกถึงความรักทีพ่ ระเป็นเจ้ามีตอ่ เรา เทศกาลแห่งความยินดี เทศกาลแห่งการให้ หรือคำอื่นๆ แล้วแต่จะเน้นไปในมุมมองใด แต่หัวใจ ของการฉลองยังคงอยู่ พระเยซูเจ้ามาบังเกิดเป็นมนุษย์ เพื่อเรา มิใช่เพื่อตัวเอง ทั้งชีวิตของพระองค์ทำเพื่อ ประโยชน์สุขของมนุษย์ ถึงแม้จะนำความยินดีมาให้ แต่บางครั้งก็อาจจะทำให้ผู้อื่นทุกข์ใจบ้าง พระองค์ มาเพื่อให้ แต่บางครั้งพระองค์ก็ยินดีที่จะรับเพื่อเปิด โอกาสให้ผู้อื่นได้ให้บ้าง ทุกครั้งที่เราให้ของแก่ใคร ก็เตือนตัวเองด้วยว่าข้าวของที่เรามีที่จริงมันไม่ใช่ ของเราพระเป็นเจ้าฝากเราไว้เพื่อให้เกิดประโยชน์ แก่ตัวเราเอง และผู้อื่นที่จะได้ใช้สิ่งต่างๆ เหล่านั้น เพื่อเป็นอุปกรณ์ช่วยให้ได้ใกล้ชิดพระเป็นเจ้ามากขึ้น ขณะทีใ่ ห้ ผูใ้ ห้ไม่ได้เหนือกว่าผูร้ บั เมือ่ ผูร้ บั อยากจะให้ บ้างก็เปิดโอกาสให้เขาด้วย สุ ข สั น ต์ ว ั น คริ ส ต์ ม าส และปี ใ หม่ 2553 ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพีน่ อ้ งทุกท่านให้มคี วามสุข อยู ่ ใ นพระหรรษทานของพระเป็ น เจ้ า เสมอ สวัสดีครับ...

นับจากมีการเฉลิมฉลองเทศกาลคริสต์มาสครั้งแรกเป็นต้นมา ไม่มีปีใดเลยที่โลก จะหยุดฉลองวันคริสต์มาส แม้แต่ในช่วงสงคราม หรือวิกฤติทางเศรษฐกิจ หรือแม้วา่ ผูท้ ่ี ศรัทธาในพระคริสต์จะถูกพรากเอาปัจจัยต่างๆ หรือทรัพย์สนิ ไปจากเขาด้วยวิกฤติของชีวติ แต่ไม่มีผู้ใดสามารถพรากเอา “จิตใจ” หรือ “วิญญาณ” (Spirit) ที่กระตือรือร้นที่จะ เฉลิมฉลองวันสำคัญนีไ้ ปจากผูซ้ ง่ึ เข้าใจลึกซึง้ ถึงความหมายและคุณค่าของวันคริสต์มาส นับตั้งแต่คริสตศาสนาได้พลิกสถานภาพของศาสนาที่ผิดกฎหมาย และถูกโรม ไล่ล่าทำลาย มากลายเป็นศาสนาประจำชาติภายในชั่วข้ามคืน ในราวปี ค.ศ.330 การเฉลิมฉลองคริสต์มาสก็แพร่หลายไปทั่วกรุงโรม และประเทศต่างๆ ทั่วโลกอย่าง ต่อเนือ่ งปีแล้วปีเล่า (Year after year) โดยไม่เคยขาดตอน เราพอจะแบ่งวิวฒ ั นาการการเฉลิมฉลองวันคริสต์มาสหรือคริสตสมภพนีอ้ อกมาเป็น 4 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ค.ศ.330-1100 เป็นช่วงแรกของการเฉลิมฉลองคริสต์มาสทีค่ อ่ ยๆ ขยาย วงออกไปจากโรม เมื่อคริสตศาสนาได้เผยแพร่ออกไป โดยมีเทศกาลหรือองค์ประกอบ ศาสนพิธีค่อยๆ เพิ่มเติมเข้ามา เช่น มีเทศกาลเตรียมตัวรับเสด็จพระเยซูคริสต์ เป็นเวลา 4 อาทิตย์ก่อนวันคริสต์มาส ช่วงที่ 2 ค.ศ.1100-ศตวรรษที่ 1 เป็นช่วงเวลาที่มีการพัฒนาประเพณีต่างๆ ทีเ่ กีย่ วกับการเฉลิมฉลองคริสต์มาสเพิม่ เติมขึน้ เช่น การร้องเพลงคริสต์มาส (Christmas Carols) ละครหรือการแสดงเรือ่ งการประสูติ (Nativity) และการทำต้นคริสต์มาส (Christmas tree) ช่วงที่ 3 ศตวรรษที่ 16-19 เป็นช่วงเวลาที่การฉลองคริสต์มาสมีอุปสรรค เกิดขึ้นบ้าง เพราะเป็นช่วงที่มีการแยกคริ ส ตศาสนา ออกเป็น คาทอลิ ก และ โปรแตสแตนท์ ซึ่งต่างมีมุมมองต่อประเพณีปฏิบัติและพิธีกรรม รวมทั้งหลักข้อเชื่อ หลายอย่างที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในฝ่ายโปรแตสแตนท์นน้ั มีหลากหลาย คณะนิกายต่างๆ และบางนิกายไม่สนับสนุนให้มีการฉลองวันคริสต์มาส เพราะถือว่า ประเพณีทางโลกทีค่ ริสตจักรไปรับมาจากคนต่างความเชือ่ แต่คริสตจักรส่วนใหญ่ยงั คง เฉลิมฉลองเทศกาลนี้อย่างอบอุ่นต่อกันมา ช่วงที่ 4 ศตวรรษที่ 19-ปัจจุบนั เป็นช่วงเวลาทีก่ ารฉลองคริสต์มาสที่เลอะเทอะ ที่สุด เพราะมีการเพิ่มเติมเสริมแต่งตัวละครแปลกๆ ใหม่ๆ เข้ามาจนทำให้คริสต์มาส เกือบเหลือเพียงแต่ชื่อ แถมยังถูกสอดไส้ใหม่โดยอิทธิพลของฮอลลีวูด อย่างเช่น ซานตาคลอส และจินตนิยายต่างๆ ทีไ่ ม่เกีย่ วอะไรกับวันคริสต์มาสเลยแม้แต่นอ้ ยนิด! ในยุคนี้ คริสต์มาสเริ่มกลายเป็นความบันเทิง ธุรกิจ และผลประโยชน์มากขึ้น การให้ของขวัญ การส่งการ์ดอวยพร และการเฉลิมฉลองด้วยการกินดืม่ เหล้ายาปลาปิง้ และการขายสินค้าต่างๆ ทำให้คริสต์มาสเริ่มเหลือแต่เปลือก ประชาชนทั่วๆ ไปที่ไม่ได้ นับถือศาสนาคริสต์ อาจไม่รดู้ ว้ ยซ้ำว่า วันคริสต์มาส นัน้ คือ วันพระคริสตสมภพ หรือ วันเกิดของพระเยซูคริสต์เจ้า ผู้ทรงเสด็จมาบังเกิดเพื่อรับแบกโทษตายแทนพวกเรา คนส่วนใหญ่มวั แต่สาละวนกับการดืม่ กินและซือ้ ของขวัญทีช่ ว่ั คราวให้แก่กนั และกัน เท่านัน้ โดยเพิกเฉยต่อของขวัญแห่งชีวติ นิรนั ดร์อนั ถาวร ทีพ่ ระเป็นเจ้าทรงจัดเตรียม ให้แก่พวกเขาไปอย่างน่าเสียดาย ใช่ครับ การเฉลิมฉลองคริสต์มาสยังคงดำเนินต่อไปปีแล้วปีเล่า (Year after year) อย่างไม่มอี ะไรหยุดยัง้ ได้ (แม้จะมีการผิดเพีย้ นในการเฉลิมฉลองไปบ้างก็ตาม) จนกว่า พระคริสต์แห่งวันคริสต์มาส จะเสด็จกลับมาอีกครัง้ เพือ่ รับบรรดาผูท้ ศ่ี รัทธาในพระองค์ ไปอยูก่ บั พระองค์ และเมือ่ นัน้ เอง การฉลองคริสต์มาสทีด่ ำเนินต่อเนือ่ งมา ปีแล้วปีเล่า (Year after year) ในโลกนี้ จะสิ้นสุดลง และจะมีการเฉลิมฉลองกันใหม่ในแผ่นดิน สวรรค์แทน! ว่าแต่ว่า คุณจะไปร่วมด้วยหรือเปล่า? เท่านั้นเอง (จากหนังสือ ABC คริสต์มาสนีม้ ที ม่ี า)              ⌫⌫             ⌫ ⌦                         ⌫  ⌫              ⌫            


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.