สารอัครสังฆมณฑล ฉบับเดือนธันวาคม 2011

Page 1

⌫⌫  ⌫     



Happy Birthday

Jesus

จิตภาวนาแบบคริสต์

2 น.4

น.

มหาอุทกภัย

6 วิถชี มุ ชนวัด... ความรักในภาคปฏิบัติ น.8 แม้นำ้ ท่วมมิดหัว... แต่ทว่ มไม่มดิ ใจ น.12 น้ำท่วมวัด

ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

น.

ด้วยตัวของเราคนเดียว เราอาจจะไม่สามารถแบกรับ กางเขนในชีวิตของเรา และผ่านข้ามความทุกข์ยาก เหล่านัน้ ไปได้ แต่โดยอาศัย “พลัง” แห่งความรักและ ความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันของพีน่ อ้ งร่วมความเชือ่ คนอืน่ ทีร่ ว่ มก้าวเดินไปพร้อมกับเราด้วย ซึง่ อาจจะมาจากกลุม่ คริสตชนย่อยๆ ทีร่ วมตัวกันโดยมีพระวาจาของพระเจ้า เป็นศูนย์รวมจิตใจของทุกคน (หรือทีเ่ ราเรียกกันว่า “วิถีชุมชนวัด”) ทำให้เรามีกำลังเพียงพอที่จะ ฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ให้ผา่ นพ้นไปได้ วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พิธปี ฏิญาณฯ คณะกลารีส กาปูชนิ สามพราน วันอาทิตย์ท่ี 8 พฤษภาคม 2011

สาสน์อวยพรโอกาสพระคริสตสมภพ และปีใหม่ 2012 ของ

พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช “คริสตสมภพ” เป็นช่วงเวลาแห่งความสุขของทุกคน ในบรรยากาศแบบครอบครัว และสือ่ สัญลักษณ์อย่างหนึง่ ที่ช่วยสร้างบรรยากาศการเฉลิมฉลองคริสตสมภพก็คือ สิ่งที่ชาวบ้านเรียกกันจนติดปากว่า “ถ้ำพระกุมาร” เป็น การจำลองสถานที่ประสูติของพระกุมารเยซูในสภาพยากจน ในรูป “คอก” หรือ “ถ้ำเลี้ยงสัตว์” ธรรมเนียมการทำ ถ้ำพระกุมารไว้ในครอบครัว และสถาบันต่างๆ จึงเป็นสิ่งดีที่ช่วยเสริมสร้างบรรยากาศความอบอุ่นแบบครอบครัว ในวันพระคริสตสมภพ ดังนั้น คำอวยพรของพ่อในปีนี้เผยแผ่ไปยังทุกครอบครัวของพี่น้องคริสตศาสนิกชนคาทอลิก และพีน่ อ้ งชาวไทยผูม้ นี ำ้ ใจดีทง้ั หลาย ขอให้ทกุ ครอบครัวเป็น “ถ้ำพระกุมาร” ทีม่ ชี วี ติ ในมิตฝิ า่ ยจิต ไม่วา่ จะยากดีมจี น ทุกคนทำได้ โดยปฏิบตั ิ “บัญญัตริ กั ” ของพระเยซูคริสต์ ทีก่ ล่าวว่า “พวกท่านจงรักกันและกันอย่างทีเ่ รา (พระเยซู) รักท่าน” (เทียบ ยน.13, 34) เพื่อให้พระเยซูบังเกิดมาในมิติฝ่ายจิต และประทับอยู่ท่ามกลางครอบครัวและชุมชน ของเรา อาศัยการมอบชีวติ ของตนเป็นความรัก ความเห็นอกเห็นใจ ความช่วยเหลือเกือ้ กูลกันและกัน ในครอบครัวและ ในละแวกบ้าน โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงเวลาแห่ง “อุทกวิกฤต” ของสังคมทีพ่ วกเราคนไทยกำลังเผชิญอยู่ และนีค่ งจะ เป็น “ของขวัญ” แห่งความบรรเทาใจสำหรับพีน่ อ้ งชาวไทยทุกท่าน ในโอกาสคริสตสมภพและปีใหม่นด้ี ว้ ย “สุขสันต์วนั คริสตสมภพ และปีใหม่ ค.ศ.2012” แด่พน่ี อ้ งชาวไทยทุกท่าน ขออำนวยพร

(พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช) ประมุขแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ


àÃÕºàÃÕ§¨Ò¡Ë¹Ñ§Ê×Í»ÃÐÇѵáÔ ÅлÃÐླդÃÔʵìÁÒÊ â´Â ¤Ø³¾èÍÁÕà¡Å ¡ÒäëҺÒÅ

คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูที่เราเฉลิมฉลองกัน ในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า “คริสต์มาส” เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึง่ มาจากคำภาษาอังกฤษโบราณว่า Christes Maesse ทีแ่ ปลว่า พิธมี สิ ซา ของพระคริสตเจ้า เพราะการร่วมมิสซาเป็นประเพณีสำคัญที่สุดที่ชาวคริสต์ถือปฏิบัติกันในวันคริสต์มาส คำว่า Christes Maesse พบครัง้ แรกในเอกสารโบราณเป็นภาษาอังกฤษในปี ค.ศ. 1038 และคำนีก้ ไ็ ด้แปรเปลีย่ นมาเป็น คำว่า Christmas ในภาษาไทย “คริสต์มาส” ก็มีความหมายเช่นกัน คำว่า มาส แปลว่า เดือน เทศกาลคริสต์มาส จึงเป็นเดือนที่เราระลึกถึงพระเยซูคริสตเจ้าเป็นพิเศษ อีกความหมายหนึ่งของคำว่า มาส คือ ดวงจันทร์ ฉะนั้น จึงตีความหมายเป็นภาษาไทยได้อกี อย่างหนึง่ คือ พระเยซูทรงเป็นความสว่างของโลก เหมือนดวงจันทร์เป็นความสว่าง ใน ตอนกลางคืน

ตามหลั ก ฐานในพระวรสาร (ลู ก า 2:1-3) มี ว ่ า พระเยซู บ ั ง เกิ ด ในสมั ย ที ่ จ ั ก รพรรดิ ซี ซ าร์ ออกั ส ตั ส ให้ จ ดทะเบี ย นสำมะโนครั ว ทั ่ ว ทั ้ ง แผ่ น ดิ น โดยมี ค ี ร ี น ิ อ ั ส เป็ น เจ้ า เมื อ งซี เ รี ย ซึ ่ ง ในพระวรสารไม่ ไ ด้ บ อกว่ า เป็นวันหรือเดือนอะไร สมัยก่อนคริสตชนคิดเอาว่าที่มีการฉลองคริสต์มาสในวันที่ 25 ธันวาคมนั้น ก็เพราะ เป็นวันเกิดของพระเยซูตามทะเบียนเกิดซึ่งเป็นเอกสารที่คีรีนิอัสเก็บไว้ แต่ที่จริงเอกสารนี้ได้สูญหายไปหมดแล้ว นักประวัตศิ าสตร์ไม่สามารถค้นพบได้ นักประวัติศาสตร์หาสาเหตุต่างๆ ว่าทำไมคริสตชนจึงเลือกเอาวันที่ 25 ธันวาคม เป็นวันฉลองคริสต์มาส ตัง้ แต่ศตวรรษที่ 4 เป็นต้นมา และก็ให้คำอธิบายต่างๆ กัน แต่คำอธิบายหนึง่ ทีส่ มเหตุสมผลหรือมีนำ้ หนักมากทีส่ ดุ คือ ในปี ค.ศ. 274 จักรพรรดิ AURELIAN ได้กำหนดให้วนั ที่ 25 ธันวาคม เป็นวันฉลองวันเกิดของสุรยิ เทพผูท้ รงพลัง กล่าวตามความรูท้ างวิชาดาราศาสตร์สมัยนัน้ เห็นว่า วันนัน้ เป็นวันทีด่ วงอาทิตย์อยูไ่ กลทีส่ ดุ จากเส้นศูนย์สตู รของโลก และเริม่ หมุนไปทางด้านเหนือของท้องฟ้า วันใหม่เริม่ ยาวขึน้ ชาวโรมันฉลองวันนีอ้ ย่างสง่า และถือเสมือนว่าเป็นวันฉลอง ของพระเจ้าจักรพรรดิไปในตัวด้วย เพราะพระเจ้าจักรพรรดิกเ็ ปรียบเสมือนดวงอาทิตย์ ทีใ่ ห้ความสว่างแก่ชวี ติ มนุษย์ ชาวคริสต์ที่อยู่ในจักรวรรดิโรมันรู้สึกอึดอัดใจที่จะฉลองวันเกิดของดวงอาทิตย์ตามประเพณีของชาวโรมัน จึงหันมา ฉลองการบังเกิดของพระเยซูแทน ในวันที่ 25 ธันวาคม ค.ศ.330 เริ่มมีการฉลองคริสต์มาสอย่างเป็นทางการ และอย่างเปิดเผย เนื่องจากก่อนนั้นมีการเบียดเบียนคริสตชนอย่างรุนแรง (ตั้งแต่ปี ค.ศ.64-313) ทำให้คริสตชน ไม่มโี อกาสฉลองอะไรอย่างเปิดเผย   ⌫⌫  ⌫     


เราจะเห็นได้วา่ วันคริสต์มาสเป็นวันสำคัญวันหนึง่ เนือ่ งจากเป็นการระลึกถึงวันทีพ่ ระบุตรของพระเจ้ามาบังเกิด เป็นมนุษย์ พระองค์เป็นพระเจ้าที่จะอยู่กับเราตลอดไป เป็นส่วนหนึ่งของมนุษย์ เป็นพี่หัวปีที่จะนำมนุษย์ทั้งมวล ไปสู่พระบิดาเจ้า พระองค์เป็นความสำเร็จบริบูรณ์ตามคำสัญญาของพระเจ้าที่จะดูแลป้องกันรักษาเราผู้เป็นประชากร ของพระองค์ เราเป็นเหมือนลูกแกะที่หายไป แต่พระเยซูเป็นชุมพาบาลใจดี ที่ตามหาเราจนพบ และจะไม่มีอะไรที่จะแยกเรา กับพระองค์ได้อกี เลย มนุษย์ทกุ คน ไม่วา่ จะเป็นชนชาติไหน จะรวยหรือจน คนศรัทธาหรือคนบาป ล้วนมีความสำคัญต่อหน้าพระเจ้าเสมอ เพราะตั้งแต่การเสด็จมาบังเกิดของพระเยซูเจ้านั้น พระเป็นเจ้าพระบิดาทรงเห็นพระฉายาลักษณ์ของพระบุตร ในมนุษย์ทุกคน เราก็เช่นเดียวกัน เราต้องรักซึ่งกันและกันเหมือนอย่างที่เรารักพระเจ้า นั่นหมายถึง เราต้อง เคารพศักดิ์ศรีของมนุษย์ทุกคน ไม่ว่าคนเหล่านั้นจะเป็นคนยากจน คนต่างชาติ หรือคนที่วางตัวเป็นศัตรูกับเรา “ผู้ที่ไม่รักพี่น้องที่เขาแลเห็นได้ ย่อมไม่รักพระเจ้าที่เขาแลเห็นไม่ได้ เราได้รับบทบัญญัตินี้จากพระองค์ คือให้ ผูท้ ร่ี กั พระเจ้ารักพีน่ อ้ งของตนด้วย” (1 ยอห์น 4:20-21)

หลังจากที่มนุษย์คู่แรกได้ทำเคืองพระทัยพระเจ้าแล้วบาปก็ได้แผ่กระจายออกไปทั่วโลก มนุษย์ดำเนินชีวิต ห่างจากพระเจ้าตกอยูใ่ ต้อำนาจของบาปทีห่ อ้ มล้อมไว้ทกุ ด้าน ความเกลียดชัง ความอยุตธิ รรม การกดขีก่ นั มีอยูท่ ว่ั ไป กระนั้นก็ดี พระเจ้าไม่ได้ทรงทอดทิ้งมนุษย์ให้ตกเป็นทาสของบาปตลอดไป พระองค์ได้ทรงดำริที่จะส่งพระบุตร เสด็จมากู้มนุษย์ให้พ้นบาป พระเจ้าทรงเรียกอับราฮัมให้เป็นต้นตระกูลของประชาชาติที่พระองค์ทรงเลือกสรร เมือ่ ชนชาตินท้ี วีจำนวนขึน้ ในประเทศอียปิ ต์พระองค์กท็ รงเรียกโมเสสให้นำพวกเขาออกจากต่างแดนไปทำพันธสัญญา กับพระองค์ในทะเลทราย และพาเข้าสู่ดินแดนที่พระองค์ทรงสัญญาจะประทานให้ ณ ที่นี้แหละองค์พระมหาไถ่ จะทรงบังเกิดมา พระเจ้าทรงเตรียมผูช้ อบธรรมทัง้ หลาย โดยทรงส่งประกาศกให้รอคอยพระมหาไถ่ดว้ ยความหวังทีแ่ น่นอน และคอยชำระจิตใจให้บริสุทธิ์ เพื่อจะได้ต้อนรับพระองค์อย่างเหมาะสม ประชากรอิสราเอลส่วนใหญ่ไม่ได้ซื่อสัตย์ ต่อพันธสัญญาทีไ่ ด้กระทำกับพระเจ้า มีคนเพียงจำนวนน้อยเท่านัน้ ทีซ่ อ่ื สัตย์ตอ่ พระองค์

ทำไมพระเยซูเจ้าจึงทรงพอพระทัยบังเกิดเป็นมนุษย์เหมือนเรา คำตอบก็คอื เพราะพระองค์ทรงต้องการให้แผนการ ช่วยมนุษย์ให้รอดนั้นบรรลุความสำเร็จ การที่ทรงบังเกิดเป็นมนุษย์นี้ พระเยซูเจ้าก็ทรงกลายเป็นผู้นำมนุษยชาติ คนใหม่ เพราะทรงยิ น ยอมรั บ ผิ ด ชอบแทนเราทุ ก คนถึ ง กั บ รั บ ทนทุ ก ข์ ท รมานและชดใช้ โ ทษบาปแทนเรา “มวลมนุษย์กลายเป็นคนบาปเพราะความไม่เชื่อฟังของ มนุ ษ ย์ ค นเดี ย วฉั น ใด มวลมนุ ษ ย์ ก ็ จ ะเป็ น ผู ้ ช อบธรรม เพราะความเชื่อฟังของมนุษย์คนเดียวฉันนั้น” (โรม 5:19) ด้วยเหตุนี้ ทูตสวรรค์คาเบรียลจึงได้บอกพระนางมารีย์ ให้ ต ั ้ ง ชื ่ อ ทารกที ่ จ ะเกิ ด มาว่ า “เยซู ” ซึ ่ ง หมายความว่ า “ผูช้ ว่ ยให้รอด”

 ⌫⌫  ⌫      


º·¤ÇÒÁ...·ÕÁÊÒÃÍѤÃÊѧ¦Á³±Å¡Ãا෾Ï

จากทีไ่ ด้มกี ารจัดโครงการสัมมนาการเรียนรูแ้ ละฝึกปฏิบตั ิ “จิตภาวนาแบบคริสต์” (Christian Contemplative prayer) สำหรับฆราวาส เมือ่ วันที่ 28 สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา ทีว่ ทิ ยาลัยแสงธรรมนัน้ มีฆราวาสผูส้ นใจเข้ามาเรียนรูเ้ กินความคาดหมาย ทางทีมสารฯ จึงขอนำบางส่วนเกีย่ วกับรูปแบบ ของจิตภาวนาแบบคริสต์มาให้อา่ นกัน พระสั น ตะปาปายอห์ น ปอลที ่ 2 ได้ ก ล่ า วว่ า “พระศาสนจั ก รได้ ร ั บ กระแสเรี ย กให้ เ ป็ น พระศาสนจั ก รที ่ อ ธิ ษ ฐานภาวนา มี ช ี ว ิ ต จิ ต ที ่ ล ึ ก ซึ ้ ง คริ ส ตชนทุ ก คนต้ อ งมี ช ี ว ิ ต จิ ต ของ ผู้เผยแผ่ธรรม มีชีวิตแห่งการรำพึงภาวนา” (E.A.23) “เครื่องหมายแห่งกาลเวลาประการหนึ่ง ในโลกปัจจุบันคือ การแสวงหาชีวิตฝ่ายจิตเพื่อการฟื้นฟูชีวิตคริสตชนโดยการภาวนา “คริสตชนทุกวันนี้มุ่งมาดปรารถนาที่จะเรียนรู้ การภาวนาเพื ่ อ ที ่ จ ะทำให้ เ กิ ด ประสบการณ์ ภ าวนาอย่ า งลึ ก ซึ ้ ง และแท้ จ ริ ง ทั ้ ง ๆ ที ่ ม ี อ ุ ป สรรคมิ ใ ช่ น ้ อ ยจากวั ฒ นธรรมสมั ย ใหม่ ซึง่ ในช่วงหลังนีไ้ ม่เปิดโอกาสให้พบความเงียบสงบและการรำพึงภาวนาได้งา่ ยนัก” (N.M.I.No.33) สำหรับจิตภาวนามีหลายรูปแบบ แต่ทท่ี างวิทยาลัยแสงธรรมจัดขึน้ นัน้ มี 5 รูปแบบ แบบที่ 1.จิตภาวนาตามแนวทางของคุณพ่อจอห์นเมน และคุณพ่อลอว์เรนซ์ ฟรีแมน, OSB. โดยคุณพ่อประเสริฐ โลหะวิรยิ ะศิริ และคุณเอมิล่ี เกตุทดั แบบที่ 2.จิตภาวนาแบบมีสติตน่ื รูอ้ ยูป่ จั จุบนั 7 ระดับของนักบุญเทเรซาอาวิลลา โดยบราเดอร์ชมุ พล ดีสดุ จิต แบบที่ 3.จิตภาวนาแบบพระหฤทัยพระเยซูเจ้า โดยซิสเตอร์กลั ยา ตรีโสภา แบบที่ 4.การภาวนาอาศัยพระคัมภีร์แบบเลคซีโอดีวีนา โดยพระสังฆราชประธาน ศรีดารุณศีล และแบบที่ 5.การฝึกจิตภาวนาตามแบบของนักบุญ อิกญาซีโอ โดยคุณพ่อวิชยั โภคทวี แบบที่ 1 จิตภาวนาตามแนวทางของคุณพ่อจอห์นเมนและคุณพ่อลอว์เรนซ์ ฟรีแมน,OSB. โดยคุณพ่อประเสริฐ โลหะวิริยะศิริ และคุณเอมิลี่ เกตุทัด ได้กล่าวถึงคุณพ่อจอห์นเมนและคุณพ่อลอว์เรนซ์ ฟรีแมน,OSB. ที่เป็นพระสงฆ์ชาวอังกฤษ คณะเบเนดิกติน คุณพ่อ จอห์นเมนมีการสนใจการศึกษา ท่านได้ไปมาเลเซียก่อนที่ท่านจะบวชเป็นพระสงฆ์ โดยไปทำงานอยู่ที่นั่นและไปเจอนักบวชฮินดูซึ่งได้สอน วิธกี ารภาวนาโดยใช้มนั ตราหรือบทภาวนาสัน้ ๆ คือคำว่ามารานาธา หรือเราจะใช้คำว่าเยซูกไ็ ด้ เป็นแนวตะวันออก ความจริงการภาวนาเช่นนี้ มีมาตัง้ แต่ศตวรรษที่ 2 หรือ 3 สมัยอวิแวนกรูส ปอนติกรูส หรือหลังจอห์นแคชเชน และก็ได้ใช้วธิ กี ารนีม้ าเรือ่ ยๆ จนกระทัง่ สังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2 ได้เชิญชวนสัตบุรุษให้กลับมาหาพระวรสารใหม่และถ้าเป็นนักบวชก็ให้กลับไปหาจิตตารมณ์ของผู้ตั้งคณะ และนิมิตหมายแห่งกาลเวลา ซึ่งเท่าที่ดูจากนิมิตหมายแห่งกาลเวลาในปัจจุบันนี้ ถึงเวลาที่เราต้องให้ความสำคัญแก่จิตภาวนา ซึ่งมีสัตบุรุษแสวงหาการภาวนาเช่นนี้ ค่อนข้างเยอะ เวลาไม่สบายก็ไปฝึกนัง่ สมาธิแบบทางพุทธบ้าง แม้บางทีจ่ ะรูส้ กึ มโนธรรมติเตียนอยูบ่ า้ งก็ตาม วิธีการของคุณพ่อลอว์เรนซ์ ฟรีแมน,OSB. ก็คือพยายามนั่งหลังให้ตรงเพราะการยกไหล่ขึ้นการหายใจจะคล่องและสะดวกกว่า จากนั้น ให้เริ่มด้วยการตั้งจิตอธิษฐานให้พระจิตเจ้านำ แล้วจึงกล่าวบทภาวนาสั้นๆ หรือมันตรา และขณะที่เราอ่านพระคัมภีร์ หากมีข้อความตอนใด กินใจเราก็พดู ตอนนัน้ ซ้ำๆ ไปเรือ่ ยๆ ในการภาวนาเช่นนี้ ควรจะใช้เวลาประมาณสัก 20–30 นาที ขณะทีใ่ ช้บทมันตราหรือบทภาวนาสัน้ ๆ ไปเรือ่ ยๆ จะอยู่ตรงนั้น จิตของเราจะนิ่ง พระจิตเจ้าจะสามารถให้ความกระจ่างเกี่ยวกับพระวาจาที่เราพูดอ่านและจะเกิดความหมายกับชีวิตของเรา ฝึกเป็นประจำเช้าเย็นวันละ20-30นาที ทีไ่ หนก็ได้ และสำคัญทีส่ ดุ อย่าคาดหวัง และอย่าประเมินว่าเราทำดีกว่าครัง้ ทีแ่ ล้ว หรือแย่กว่าครัง้ ทีแ่ ล้ว ปล่อยไปเรื่อยๆ ขอให้ทำเป็นประจำและการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นโดยไม่รู้ตัว เวลาของพระกับเวลาของเราไม่เหมือนกัน พระจะประทาน ในเวลาที่เหมาะสมที่สุด เราหวังได้แต่อย่ากำหนดเวลา จุดประสงค์ของการภาวนาแบบนี้เพื่อให้ใจเราสงบ ทำจิตให้ว่าง ปล่อยวางและ จะมี ท ี ่ ใ ห้ พ ระจิ ต เจ้ า ดลใจเรา ไม่ ใ ช่ ภ าวนาเพื ่ อ การวอนขอ จริ ง ๆ แล้ ว การวอนขอดี ท ี ่ ส ุ ด คื อ ขอน้ ำ พระทั ย ของพระ และเราจะมี ความสุ ข ใจ ยิ ่ ง ถ้ า เราคาดหวั ง มากเราจะมี ค วามทุ ก ข์ เอาน้ ำ ใจของเราเอาเป็ น ที ่ ต ั ้ ง นี ่ เ ป็ น สาเหตุ ข องความทุ ก ข์ การฝึ ก แบบนี ้ ตรงตามพระวรสารทีบ่ อกว่า สละน้ำใจตนเองและแบกกางเขนของตน แบบที่ 2 จิตภาวนาแบบมีสติตน่ื รูอ้ ยูป่ จั จุบนั 7 ระดับของนักบุญเทเรซาอาวิลลา โดยบราเดอร์ชมุ พล ดีสดุ จิต คณะเซนต์คาเบรียล กล่าวถึงว่ามนุษย์เรามีสองชีวิต ชีวิตหนึ่งคือชีวิตนิรันดร ชีวิตจิตเป็นจิตบริสุทธิ์ที่พระเจ้าประทานมาให้และอีกชีวิตหนึ่งคือชีวิตร่างกาย หรือชีวติ กายเนือ้ ทีเ่ รามีปจั จุบนั นี้ และพระให้พระพรแก่มนุษย์เราทีส่ ามารถจะมีสติตน่ื รูอ้ ยูป่ จั จุบนั มีสติระลึกรูอ้ ยูใ่ นใจเป็นกลาง สัมปชัญญะ และมีญาณปัญญารูแ้ จ้ง เราต้องสวดภาวนาเพือ่ ขยายสติ และเริม่ ละตัวตนของเรา การภาวนา 7 ระดับได้แก่ 1.บริกรรมภาวนา (ภาวนาด้วยคำพูด-วาจา เช่น สวดออกเสียงบทสวดต่างๆ) 2.รำพึงภาวนา (คิดรำพึงภาวนา) 3.รักและศรัทธาภาวนา ยกใจระลึกถึงพระบ่อยๆ และไม่ยึดติดสิ่งของในโลกนี้ 4.สำรวมจิตภาวนา ใจจดจ่ออยู่กับปัจจุบันที่ลมปราณ พระเจ้า เมือ่ สำรวมมากๆ แล้วจะตัดกิเลสได้ เราเป็นคนบาป เราต้องพึง่ พระเจ้าตลอดเวลา 5.ภาวนาฝึกจิตมีสติตน่ื รูอ้ ยูป่ จั จุบนั ภายใน และไม่สงสัย ปล่อยให้เป็นไปตามน้ำพระทัย 6.ภาวนาเพือ่ แสวงหาแต่นำ้ พระทัยพระเจ้า 7.ภาวนาเพือ่ ความเป็นหนึง่ เดียวกันกับพระเจ้า แบบที่ 3 จิตภาวนาแบบพระหฤทัยพระเยซูเจ้า โดยซิสเตอร์กลั ยา ตรีโสภา ความเป็นมาของจิตภาวนาแบบนีค้ อื Sr.Kwon Min Ja, RSJ ชาวเกาหลี คณะพระหฤทั ย ของพระเยซู เ จ้ า (Society of the Sacred Heart) ซิ ส เตอร์ ใ ช้ ก ารภาวนาแบบนี ้ ฝ ึ ก ฝนด้ ว ยตนเอง มาเป็นเวลา 20 ปีโดยมีพื้นฐานการเรียนรู้และปฏิบัติชีวิตจิตของนักบุญอิกญาซีโอและภายหลังท่านได้มาเน้นในเรื่องภาคของความเงียบ   ⌫⌫  ⌫     


ทีจ่ ะพบกับพระเยซูเจ้าในพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า เพราะท่านอยูใ่ นคณะพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า การภาวนาแบบนีเ้ ริม่ ในประเทศไทย ตัง้ แต่ ปี 2008 จนถึงปัจจุบนั โดยคณะพระหฤทัยฯ ได้เชิญท่านมาแบ่งปันและนำการเข้าเงียบ 8 วัน ให้กบั สมาชิกกลุม่ ผูอ้ บรมเป็นครัง้ แรก สมาชิก คณะพระหฤทัยได้ฝกึ ฝนจิตภาวนาแบบนีแ้ ละได้เชิญให้นกั บวช พระสงฆ์พระสังฆราช และฆราวาสให้มปี ระสบการณ์ดว้ ย ทัง้ ด้วยการเข้าเงียบ 3-8 วัน และ 40 วัน จิตภาวนาแบบนีเ้ ป็นหนึง่ ในรูปแบบของการภาวนาทีเ่ ป็นทีย่ อมรับจากพระศาสนจักรทีป่ ระเทศเกาหลี การภาวนาแบบนี้ เริ่มจากการใช้บทเร้าวิงวอนพระหฤทัยเป็นเครื่องมือในการเดินทางฝ่ายจิต และยอมให้พระเยซูเจ้าเป็นผู้สอนภายในจิตใจแบบเรา ในขณะที่ เรามุง่ มัน่ ให้จติ ของเราเป็นเช่นเด็กเล็กๆ ซือ่ ๆ จริงใจ ซึง่ จะนำเราให้พบกับพระเจ้าในจิตใจตามความเป็นจริง และเราสามารถนำเอาการวอกแวก ทีเ่ กิดขึน้ ในจิตใจระหว่างการภาวนามาใช้เป็นการภาวนาได้ดว้ ย เราสามารถภาวนาเช่นนีไ้ ด้ตลอดเวลา โดยเฉพาะในชีวติ ประจำวัน แม้ในยามที่ เราต้องเผชิญความยากลำบากของชีวิต การปฏิบตั ิ สิง่ สำคัญอยูท่ ค่ี วามเงียบและพระคัมภีร์ โดยเริม่ ต้นด้วยการนมัสการพระเจ้าด้วยบทพระสิรริ งุ่ โรจน์ 3 ครัง้ จากนัน้ จะนัง่ ทีเ่ ก้าอี้ หรือบนพืน้ เพือ่ ภาวนาบทเร้าวิงวอนพระหฤทัย 1 ตอนเท่านัน้ ช้าๆ ประมาณ 30 นาที เช่น “ลูกขอเป็นหนึง่ เดียวกับการนมัสการของพระองค์” เมื่อมีความวอกแวกเกิดขึ้นให้ปล่อยไปให้หมดยกเว้นความวอกแวกเกี่ยวข้องกับอดีต ในกรณีนี้ให้บอกเฉพาะความรู้สึกปัจจุบันที่เกี่ยวกับ อดีตนัน้ กับพระเป็นเจ้าด้วยใจซือ่ ๆ แบบเด็กๆ โดยไม่ตอ้ งคิดหาเหตุผล หาข้อสรุป หรือหาว่าใครถูกหรือใครผิดในเรือ่ งอดีตนัน้ ๆ หากกระบวนการ ภาวนาเช่นนีด้ ำเนินต่อไป ก็จะพบกับสภาวะของการรักษาของพระเจ้า การสำนึกสัมผัสได้ถงึ การเป็นทีเ่ ราเป็นบุตรของพระเจ้า การมอบถวายตัว และชีวติ แด่พระเจ้าอย่างสิน้ เชิง การแยกแยะจิตดีและจิตไม่ดจี ะตามมา และทีส่ ดุ จะประสบสัมผัสกับการอยูเ่ ป็นหนึง่ เดียวกับพระเจ้า หลังจากจบการภาวนาบทเร้าวิงวอนพระหฤทัยประมาณ 30-35 นาทีแล้ว ก็ให้อ่านพระคัมภีร์ 1 ตอนช้าๆ ซ้ำไปซ้ำมา 10 นาที โดยไม่ตอ้ งคิดวิเคราะห์ใดๆ ทัง้ สิน้ แล้วจบด้วยบทพระสิรริ งุ่ โรจน์

แบบที่ 4 การภาวนาอาศัยพระคัมภีรแ์ บบเลคซีโอดีวนี า โดยพระสังฆราชประธาน ศรีดารุณศีล การภาวนา คือการมีจติ เป็นหนึง่ เดียวกัน กับพระเจ้า จิตเรากับจิตพระเป็นหนึง่ เดียวกัน สัมผัสกับพระเจ้า ในสมัยก่อนมีการอ่านพระคัมภีรแ์ บบเลคซีโอดีวนี า ในสมัยชาวฮีบรู พระเยซูเจ้า ก็ทำเลคซีโอดีวนี าในศาลาธรรม แม่พระทำเลคซีโอดีวนี าขณะทีท่ ตู ของพระเจ้านำสารมาให้ เพราะฉะนัน้ แม่พระมีจติ เป็นหนึง่ เดียวกันกับพระเจ้า เพื่อเราจะได้เป็นจิตหนึ่งเดียวกับพระเจ้าและทำตามน้ำพระทัยของพระเป็นเจ้า โดยการที่เราตัด สละ และพระเจ้าต้องการอะไรเราทำสิ่งนั้น เช่นพระเยซูเจ้าพระบิดาต้องการอะไรพระองค์กท็ ำสิง่ นัน้ นบนอบจนถึงทีส่ ดุ และวิธกี ารให้บรรลุถงึ เป้าหมายนัน้ คือ เลคซีโอดีวนี า นักบุญอัมโบรสเขียนไว้วา่ เราพูดกับพระเจ้าเมือ่ เราภาวนา เราฟังพระองค์เมือ่ เราอ่านพระวาจา ฉะนัน้ ทุกครัง้ ทีเ่ ราอ่านพระวาจา พระเจ้า ตรัสกับเรา การอ่านพระวาจาต้องให้เสียงดังถึงหู เลคซีโอดีวนี าคือการอ่านช้าๆ ด้วยท่าทีของการภาวนา ก่อนจะอ่านก็ตอ้ งมีสถานทีๆ่ เหมาะสม มีเวลาที่เรากำหนดไว้สำหรับการภาวนา เป็นเช้า เป็นเที่ยง เย็นก็เลือกสักช่วงหนึ่ง เมื่อเราอ่านมีเสียงสิ่งนั้นมีชีวิตขึ้นมาทันที เมื่อเราอ่าน พระเจ้าตรัสกับเรา เราต้องเข้าใจด้วยว่าพระเจ้าตรัสอะไรกับเรา เราอ่านช้าๆ 2-3 ครัง้ อ่านแล้วพยายามทำความเข้าใจว่าพระเจ้าตรัสอะไรกับเรา และพยายามทำความเข้าใจโดยใช้ 5 คำถามคือ What Where When How Who คือการตั้งคำถามว่าพระเจ้าทำอะไรที่ไหนเมื่อไรอย่างไร และกับใคร นำเอาพระวาจาทีป่ ระทับใจมารำพึง ว่าพระบอกอะไรกับเราบ้าง และเราภาวนาคือพูดกับพระเจ้าง่ายๆ 3 ขอ คือ ขอโทษ ขอบคุณ ขอพร เราก็สวดขอโทษพระเจ้าที่เราไม่ได้ใส่ใจในการที่จะจริงจังกับชีวิต ขอบคุณพระเจ้าที่ยังตรัสสอนเราอยู่เสมอ ไม่ทิ้งเรา แต่ตักเตือนด้วย พระวาจาของพระองค์ และให้เราขอพรพระเป็นเจ้าเพือ่ แต่นต้ี อ่ ไปเราจะเจริญชีวติ ใหม่ ขอพระองค์สง่ พระจิตของพระองค์มายังเรา จากนัน้ อยูก่ บั พระวาจาสนทนากับพระรำพึงกับพระ และเราจะซึมซับเอาพระวาจามาเป็นพระวาจาทรงชีวติ แบบที่ 5 การฝึกจิตภาวนาตามแบบของนักบุญอิกญาซีโอ โดยคุณพ่อวิชัย โภคทวี การภาวนามีอยู่ในมนุษย์ทุกคน การภาวนา คือการทำให้จติ เป็นหนึง่ เดียวกับพระเจ้า มีสภุ าษิตอินเดียน่าสนใจมาก จะทำอย่างไรไม่ให้นำ้ 1 หยดหายไป วิธคี อื หยดน้ำนัน้ ลงไปในมหาสมุทร เปรียบเทียบได้กบั พระเป็นเจ้าคือมหาสมุทร และเรารวมเป็นหนึง่ เดียวกับพระเจ้า การภาวนาของนักบุญอิกญาซีโอ จริงๆ แล้วท่านเริม่ การภาวนา ขณะทีเ่ ป็นฆราวาส นักบุญอิกญาซีโอเริม่ ทีจ่ ะแสวงหาพระเยซูเจ้าแบบเข้มข้นนัน้ ตอนทีท่ า่ นเป็นอัศวิน และท่านก็มงุ่ มัน่ มากทีจ่ ะเอาชนะในสงคราม พอท่านบาดเจ็บท่านก็ได้อา่ นประวัตชิ วี ติ พระเยซูเจ้า ท่านเกิดมิตหิ นึง่ ในจิตใจ คือ เปลีย่ นมาเป็นทหารเสือของพระเยซูเจ้าดีกว่า และตรงนีเ้ องที่ พระจิตเริม่ ทำงานทำให้ทา่ นนักบุญอิกญาซีโอเห็นว่าทหารเสือราชินจี ะจบลงด้วยความเศร้า แต่พอคิดว่าเป็นทหารเสือของพระเยซูเจ้า จิตใจกลับ อิม่ เอิบ รูส้ กึ ว่าตัวเองเป็นวีรบุรษุ พอหลังจากท่านหายจากขาหัก และอาการบาดเจ็บสาหัส หลังจากทีร่ อดมาได้ ท่านก็เริม่ แสวงหาและเริม่ ภาวนา ขบวนการภาวนากำลังมาแรง ถ้าเรามองวิกฤตปัจจุบนั มากมาย สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม สิง่ เหล่านีส้ าเหตุมาจากคนทิง้ ศาสนา คนไม่สนใจ เรื่องจิตวิญญาณ คนทิ้งพระเจ้า คนกำลังเอาอย่างอื่นมาเป็นพระเจ้าแทน สาเหตุคือคนโลภ คนเห็นแก่ตัว คนหลงผิด บาป ในพระคัมภีร์ แปลว่าพลาดเป้า และถ้าถามว่าเมือ่ ไรเราทำบาปคือเมือ่ เรากำลังหลง เมือ่ เราไม่ได้รวมเข้าเป็นหนึง่ เดียวกันกับพระเจ้า เราจะอ่อนแอมากต่อบาป เมือ่ เราไม่ได้ภาวนา หาความสุขทีใ่ จแบบทีเ่ ราต้องการ ความสุขนัน้ ไม่ใช่ความสุขทีแ่ ท้จริง นักบุญอิกญาซีโอจับประเด็นตรงนีไ้ ด้คอื การแยกแยะ จิตดีและจิตไม่ดี ซึง่ จะช่วยทำให้เราพิจารณาได้เราอยูใ่ ต้อทิ ธิพลของจิตไหนบ้าง เช่น เรากำลังหลง นักบุญอิกญาซีโอบอกว่าให้เรามองว่าหากเรา ถูกจิตไม่ดดี งึ ไป เราก็จะได้กลับมาหาพระ การภาวนานักบุญอิกญาซีโอแนะนำให้เราสนิทกับองค์พระเยซูเจ้าคือเป็นเพื่อนกับพระ มิตรสหายกับพระเยซูเจ้า นักบุญอิกญาซีโอ ใช้จนิ ตนาการในการภาวนา คือ ท่านให้เรามองเข้าไปในบริบทตรงนัน้ เลย เช่น ขณะทีพ่ ระเยซูเจ้ากำลังถูกตรึงกางเขนมีบริบทอะไรบ้าง ทหารกำลัง หัวเราะเยาะ ประชาชนกำลังโหดร้ายก้าวร้าว แต่นักบุญอิกญาซีโอบอกว่าให้เราได้รู้ได้เห็น สิ่งเหล่านี้เป็นโอกาสที่พระเป็นเจ้าจะเผยแสดง และเป็นโอกาสให้เราชิดสนิทกับพระองค์ นักบุญอิกญาซีโอเน้นว่าในช่วงการเข้าเงียบนั้น ประสบการณ์ทางจิตวิญญาณจะเป็นเหมือนพลัง ทีใ่ ห้เรานำมาใช้ในชีวติ ประจำวันด้วย เน้นให้เรามีประสบการณ์ตรงกับพระเยซูเจ้า เราสามารถจะนำการภาวนาเช่นนีม้ าใช้ในชีวติ ประจำวันได้ ทำให้เราได้เห็นทุกอย่างเป็นการสัมพันธ์กบั องค์พระจิตเจ้าทัง้ หมด หลายคนคงได้รบั ข้อคิดในการใช้จติ ภาวนาตามรูปแบบต่างๆ นีแ้ ล้ว ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบไหน ขอให้เรามีความตัง้ ใจ ศรัทธา และมีความพยายาม จิตภาวนาเหล่านีก้ จ็ ะเกิดขึน้ ได้ เริม่ ได้แล้วตัง้ แต่วนั นี้  ⌫⌫  ⌫      


ÃÒ§ҹ¾ÔàÈÉ...·ÕÁÊÒÃÍѤÃÊѧ¦Á³±Å¡Ãا෾Ï

สถานการณ์นำ้ ท่วมในปัจจุบนั ส่งผลให้หลายวัดจากหลายเขตใน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้รบั ผลกระทบ กินวงกว้างออกไป เรื่อยๆ หลายวัด ณ ขณะนี้ กำลังประสบภัย และหลายวัดตอนนี้ระดับน้ำเริ่มลดลงแล้ว ทีมสารฯ ขอรายงานสถานการณ์ให้ทราบ เท่าที่ทางทีมงานจะพอรวบรวมข้อมูลได้ครับ

วัดในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีไ่ ด้รบั ผลกระทบมีดงั นีค้ รับ เริ่มจากวัดในเขต 6 : วัดมารีย์สมภพ บ้านแพน (น้ำล้นเข้าวัด แต่ช่วยกันแก้ไข ส่วนบ้านสัตบุรุษท่วมทุกพื้นที่ครับ ตอนนี้ เริม่ ทำการฟืน้ ฟูแล้ว) วัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา (ระดับน้ำสูงขึน้ ทุกวันจนทำให้วดั ถูกน้ำท่วมครับ โรงเรียน สุสาน และบ้านสัตบุรษุ ได้รับผลกระทบทุกพื้นที่ ณ ขณะนี้ได้เริ่มทำความสะอาดครั้งใหญ่แล้ว เนื่องจากทางวัดจัดทำเว็บไซต์ มีประมวลภาพน้ำท่วมให้ ดูย้อนหลังได้ครับ http://www.jsyutya.com) หมู่บ้านโปรตุเกส (ท่วมเข้าถึงชั้นใน เสียหายหนัก แต่ตอนนี้กลับสู่ภาวะปกติแล้ว) วัดนักบุญเทเรซา หน้าโคก (เป็นบ้านของสัตบุรุษที่ได้รับผลกระทบหนัก แต่วัดยังไม่ท่วมครับ เนื่องจากวัดสูงพอสมควร) วัดนักบุญ ยวงบัปติสตา เจ้าเจ็ด (รอบบริเวณวัดท่วมหมด ทางวัดกั้นน้ำอย่างเต็มความสามารถ แต่โรงเรียนเซนต์จอห์นบัปติส ได้รับ ความเสียหายหนัก เนื่องจากอาคารเรียนเป็นไม้ ต้องซ่อมแซมเป็นการด่วน) วัดพระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ (สัตบุรุษช่วยกัน เต็มความสามารถครับ แต่นำ้ ก็เข้าวัด เนือ่ งจากวัดติดกับแม่นำ้ และปีนป้ี ริมาณน้ำทีไ่ หลมาก็มจี ำนวนมาก แต่สตั บุรษุ ทีน่ ่ี ทำใจยอมรับ (บอกได้เลยครับว่ากำลังใจดีมากๆ) เพราะเข้าใจดีว่าบ้านติดแม่น้ำจะได้รับผลกระทบเกือบทุกปีที่น้ำเยอะ และได้รับความช่วยเหลือ จากพี่น้องเป็นจำนวนมาก มีแวะเวียนส่งกำลังใจ แต่เรียกได้ว่า หลังน้ำลดแล้วฟื้นฟู ยังคงต้องการทั้งกำลังทรัพย์ และ กำลังคน เพื่อการพลิกฟื้นใหม่ เป็นมหาอุทกภัยที่หนักกว่าทุกๆ ปี ท่านใดอยากร่วมบริจาคก็ติดต่อที่วัดได้เลยครับ) วัดแม่พระประจักษ์แห่ง ภู เ ขาคาร์ แ มล สองพี ่ น ้ อ ง (ได้ ร ั บ ผลกระทบจากบริ เ วณรอบนอก รั บ มื อ กั น สุ ด ความสามารถครั บ ) วั ด นั ก บุ ญ ลู ก า อู ่ ท อง (ผลกระทบไม่มากเท่ากับวัดอื่นครับ แต่ก็โดนผลกระทบบ้าง) วัดนักบุญบาร์โธโลมิว ดอนตาล (มีน้ำที่เอ่อล้นมา บ้านสัตบุรุษ ได้รับผลกระทบเป็นส่วนใหญ่) แต่ ณ ขณะนี้ สถานการณ์ค่อนข้างคลี่คลายลงทุกวัดแล้วครับ เนื่องจากปริมาณน้ำที่ลดลง ตอนนี้ ทำความสะอาดกันครั้งใหญ่ อย่างไร ก็อย่าลืมส่งความช่วยเหลือในการช่วยฟื้นฟูสภาพวัดและโรงเรียนให้กลับมาเหมือนเดิม โดยเร็ววันครับ สรุปความเสียหายที่ได้รับ วัดในเขตการปกครอง 6 เกือบทุกวัดได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม แต่ ณ ขณะนี้ น้ำลดลงจนอยู่ใน ภาวะปกติแล้ว และทำการฟืน้ ฟูครัง้ ใหญ่ ยังต้องการความช่วยเหลือในเรือ่ งกำลังทรัพย์เป็นจำนวนมาก เพือ่ ทำการบูรณะ สำหรับการส่ง ความช่วยเหลือ สามารถติดต่อไปที่วัดโดยตรง ถ้าไม่ทราบสามารถดูหมายเลขโทรศัพท์ได้ที่ สายด่วนพระสงฆ์ครับ http:// www.catholic.or.th/archive/archbkk/phone/ เขตการปกครอง 5 (เป็นวัดที่อยู่ทางฝั่งตะวันตกของกรุงเทพฯ) : วัดนักบุญอันเดร บางภาษี เป็นวัดแรกในเขต 5 ที่ได้รับ ผลกระทบก่อนเพื่อน เนื่องจากอยู่ในเขตบางเลน ผลกระทบอยู่ในระดับสูง พร้อมกับ วัดนักบุญมัทธิว ทุ่งลูกนก ก็ท่วมไปเรียบร้อย แล้วครับตอนนี้ วัดที่ได้รับผลกระทบจากน้ำทะเลหนุน คือ วัดนักบุญเปโตร นครชัยศรี (มีน้ำไหลเข้ามาตามถนนหน้าวัด แต่ไม่เข้า ตัววัด ผลจากแม่น้ำนครชัยศรี ที่ติดกับแม่ท่าจีน มีปริมาณน้ำที่มาก แต่ชาวบ้านก็ยังยืนยันว่า น้ำขึ้นลงตามระดับน้ำทะเลหนุน ไม่มีอะไรน่าเป็นห่วงครับ) ส่วนวัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ สุสานของญาติพี่น้อง โดนน้ำท่วมครับ เนื่องจากน้ำตลบหลัง เข้าทาง ดอนหวาย ทำให้นำ้ เข้าท่วมซอยหมอศรี โดนผลกระทบต้องพายเรือกันถ้วนหน้า น้ำสูงเกือบ 50 เซนติเมตร แต่ ณ ขณะนี้ กูส้ ถานการณ์ กลับมาเหมือนเดิมแล้วครับ และจะทำการเสกสุสานในวันอาทิตย์ท่ี 8 มกราคม 2555 มีมสิ ซา 2 รอบครับ เวลา 09.00 และ 16.30 น. ขอเชิญทุกท่านที่มีญาติพี่น้องไปร่วมภาวนาเพื่อท่านครับ วัดพระตรีเอกภาพ หนองหิน ไม่ได้รับผลกระทบเรื่องน้ำท่วมครับ วัดพระคริสตกษัตริย์ นครปฐม (น้ำท่วมตรงพระปฐมเจดีย์ คาดว่า น่าจะได้รบั ผลกระทบครับ ) ส่วนวัดนักบุญอันนา ท่าจีน แม้จะตัง้ หน้า ตั้งตารอน้ำที่ไหลมาจากทางฝั่งตะวันตก แต่การเตรียมการรับมือ ก็ถือว่าตอนนี้ยังไม่ได้รับผลกระทบ คาดการณ์ว่า เมื่อมวลน้ำ จากนครปฐม เข้าทางแม่นำ้ ท่าจีน เพือ่ ปล่อยลงทะเล ก็จะผ่านพ้นไปด้วยดี เพราะเป็นทีส่ ดุ ท้ายทีจ่ ะปล่อยน้ำลงทะเลครับ) สรุปว่า เขต 5 ก็ได้รบั ผลกระทบในภาวะน้ำท่วมเป็นบางวัดครับ   ⌫⌫  ⌫     


เขตการปกครอง 4 (เป็นวัดที่อยู่ทางฝั่งตะวันออกของกรุงเทพฯ) ตอนนี้ อยู่ในสถานการณ์ค่อนข้างปลอดภัยแล้วครับ เนื่องจาก ทางกรุงเทพฯ ได้ประเมินสถานการณ์แล้วก็ทำการปรับเปลีย่ น ทางเดินของน้ำบางส่วน ซึง่ เป็นไปในทิศทางทีด่ ี ทางฝัง่ ตะวันออกจึงไม่ได้รบั ผลกระทบจากน้ำ ทำให้วดั ในเขต 4 รอดพ้นจากวิกฤตการณ์ในครัง้ นีไ้ ด้ เขตการปกครอง 3 (อยูฝ่ ง่ั กรุงเทพฯ ด้านฝัง่ ธนบุรี ก็เขตตะวันตกครับ) วัดแรกออกข่าวน้ำท่วม วัดพระแม่สกลสงเคราะห์ บางบัวทอง โดนน้ ำ ท่ ว มหนั ก ครั บ (ได้ ร ั บ ผลกระทบเต็ ม พื ้ น ที ่ จากการสอบถามน้ ำ ท่ ว มหนั ก มาก น้ ำ เข้ า วั ด พร้ อ มทั ้ ง อพยพ สัตบุรุษอย่างเร่งด่วน และน้ำก็ขังนาน เป็นต้น บ้านของสัตบุรุษ สุดบรรยายครับ) วัดต่อมา คือ วัดนักบุญหลุยส์มารีย์ บางแค คงเหลือวัดเดียวครับ ที่ตอนนี้น้ำยังท่วมขังเป็นเวลานาน ทางกรุงเทพฯ ก็ใช้ความพยายามอย่างสุดความสามารถที่จะระบายน้ำ ให้เร็วทีส่ ดุ เนือ่ งจากวัดอยูใ่ นหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจ ได้รบั ผลกระทบกว่าสองเดือนแล้ว ตัง้ แต่ทางเข้าหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจ ผลจากคลองทวีวฒ ั นา ได้รับผลกระทบหนักครับ และหลังจากการฟื้นฟูคงใช้เวลานานกว่าจะดีขึ้น ก็ต้องเอาใจช่วยส่งความช่วยเหลือ ผ่านทางวัดของท่าน เพือ่ นำไปช่วยวัดในเขต 3 ก็ได้ครับ) วัดศีลมหาสนิท สวนผัก ตลิง่ ชัน (ท่วมเต็มพืน้ ที่ โดนไปเต็มๆ ครับ ต้องอพยพไปอยูศ่ นู ย์พกั พิง กันเป็นจำนวนมาก แต่วันนี้ก็คลี่คลายได้บางส่วนแล้ว น้ำลดลง แต่ก็ยังมีขังบางส่วน) วัดธรรมาสน์นักบุญเปโตร บางเชือกหนัง เห็นจากภาพข่าวคงทราบดีนะครับว่า น้ำสูงขนาดไหน เก็บของกันไม่ทัน แถวนั้นเป็นสวน น้ำมาเร็วมาก รอบๆ วัด ในหมู่บ้าน ส่งผล ให้ใช้ชวี ติ ลำบากมาก แต่ตอนนีก้ น็ ำ้ ลดแล้ว แต่ปญ ั หาทีต่ ามมาคือขยะครับ และคงทราบกันดีวา่ ตรงข้ามโรงเรียนเซนต์ปเี ตอร์ ธนบุรี ได้นำขยะมาทำการรีไซเคิลใกล้ๆ ก็ไม่รวู้ า่ จะได้รบั ผลกระทบอะไรกับชุมชนแถวนัน้ อีกหรือเปล่า ค่อยดูกนั ไปครับ วัดซางตาครูส้ กุฎจี นี แม้จะติดแม่น้ำก็จริงอยู่ แต่ก็อยู่ใกล้กับการระบายน้ำ ทราบว่ามีการระบายน้ำตลอด มีได้รับผลกระทบบ้าง แต่ไม่มากนักครับ วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ ปากลัด วัดติดแม่น้ำ แต่ก็ขึ้นลงตามระดับน้ำทะเลหนุน สูบออกทันเวลาครับ วัดแม่พระประจักษ์ เมืองลูรด์ บางสะแก มีผลกระทบบ้าง แต่กม็ าเร็วไปเร็วครับ สรุปสถานการณ์วัดในเขต 3 ตอนนี้น้ำลดลงจนอยู่ในภาวะปกติแล้วครับ ยกเว้น วัดนักบุญหลุยส์มารี บางแค ซึ่งอยู่ในหมู่บ้าน เศรษฐกิจ ตอนนีย้ งั คงต้องดูกนั ต่อไปว่า น้ำจะลดลงได้ทนั ก่อนคริสต์มาสหรือเปล่า หรือจะได้ฉลองปีใหม่ทา่ มกลางน้ำ ก็คงต้องดูกนั อีกที เขตการปกครอง 2 : วัดอัครเทวดามีคาแอล สะพานใหม่ ผลจากน้ำที่มาด้านฝั่งตะวันออก ส่งผลโดยตรงกับสะพานใหม่ ทำให้วดั ได้รบั ผลกระทบ เนือ่ งจากน้ำทะลักท่อระบายน้ำล้นออก ถ.พหลโยธิน เอ่อท่วมหน้าตลาดยิง่ เจริญ บิก๊ ซีสะพานใหม่ ใกล้ๆ กับ วัดสะพานใหม่ มีความช่วยเหลือมาจากบ้านเณรจอห์นปอล นครสวรรค์ เห็นภาพข่าวก็ขอบคุณในน้ำใจดีครับ วัดคอนเซ็ปชัญ (ติดแม่นำ้ น้ำเข้าถึงวัดครับ แต่ช่วยกันป้องกันเต็มที่ ขึ้นลงตามน้ำทะเลหนุนครับ) วัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน (เฝ้าระวังครับ ชุมชนช่วยกันเข้มแข็ง น้ำเข้ามาแต่ก็สูบออก วัดติดแม่น้ำ คอยดูน้ำขึ้นน้ำลง ดูน้ำทะเลหนุนครับ และก็ผ่านการฉลองวัดไปเป็น อย่างดี) วัดแม่พระฟาติมา ดินแดง (สถานการณ์ปลอดภัยดีจากน้ำท่วมครับ) วัดพระชนนีของพระเป็นเจ้า รังสิต (สอบถามไป ยังไม่ท่วมครับ ตอนนี้รอบนอกก็ท่วมหมดแล้วครับ แต่วัดยังท่วมไม่ถึง แม้จะได้รับข่าวเป็นวัดแรกๆ ที่น่าจะได้รับผลกระทบจาก น้ำท่วมในเขตพืน้ ทีร่ งั สิต แต่วดั ไม่ได้รบั ผลกระทบใดๆ ครับ) วัดพระแม่มหาการุณย์ เมืองนนท์ (อยูใ่ นพืน้ ทีป่ ระสบภัยครับ เป็นสถานทีๆ่ จัดงานวัดแพร่ธรรมทุกปี แต่ปีนี้ต้องเลื่อนไปจัดในวันที่ 3 ธันวาคม ซึ่งตอนนี้อยู่ในภาวะปกติแล้วครับ) วัดพระมารดานิจจานุเคราะห์ คลองจัน่ (ยังปลอดภัยดีครับ) วัดนักบุญมาร์โก ปทุมธานี (น้ำท่วมวัด รวมถึงสัตบุรษุ ตอนนีไ้ ด้รบั ผลกระทบจากน้ำท่วมมากๆ เป็นวัดเล็กๆ ครั บ แต่ ไ ด้ ช มภาพน้ ำ ท่ ว มจากผู ้ จ ั ด ทำเว็ บ ไซต์ เลยไม่ ต กข่ า ว อย่ า งไรก็ ด ี ส่ ง กำลั ง ใจ ส่ ง กำลั ง ทรั พ ย์ ไ ปช่ ว ยกั น หน่อยครับ) วัดเซนต์จอห์น ลาดพร้าว (วัดไม่ได้รบั ผลกระทบครับ) วัดแม่พระกุหลาบทิพย์ (ปลอดภัยครับ) ส่วนวัดมารียส์ วรรค์ ดอนเมือง เห็ น พายเรื อ ในโรงเรี ย นครั บ อยู ่ ใ นเขตดอนเมื อ ง ก็ ไ ด้ ร ั บ ผลกระทบจากน้ ำ ท่ ว มไปเรี ย บร้ อ ยแล้ ว แต่ ต อนนี ้ ก ลั บ มาใช้ ช ี ว ิ ต ได้อย่างปกติแล้ว สรุปว่า เขตการปกครอง 2 ก็มวี ดั และโรงเรียนบางส่วนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ จากสถานการณ์นำ้ ท่วม รอการฟืน้ ฟูครัง้ ใหญ่ครับ

 ⌫⌫  ⌫      


เขตสุดท้ายครับ เขตการปกครอง 1 (กรุงเทพฯ ชัน้ ใน) เริม่ ต้นจาก อาสนวิหารอัสสัมชัญ (ปลอดภัยดีครับ มีการป้องกันไว้อย่างดี มีการติดตามการขึน้ ลง การหนุนของน้ำทะเลทุกวัน คุณพ่อเลยใช้เครือ่ งสูบน้ำ ช่วยให้วดั รอดพ้นน้ำล้นตลิง่ ได้อย่างดี ทำให้อาคารเรียน รวมถึงอาคารคาทอลิกแพร่ธรรม รอดพ้นจากน้ำท่วมไปด้วยครับ) วัดแม่พระลูกประคำ กาลหว่าร์ (ใกล้ตลาดน้อย มีน้ำเข้ามาบ้าง แต่ทางวัดป้องกันเป็นอย่างดี ผลกระทบทีว่ ดั จะเป็นเรือ่ งการหนุนของน้ำทะเลเช่นกัน) วัดเซนต์หลุยส์ ในช่วงทีไ่ ด้ยนิ ว่า เซนต์หลุยส์ซอย 3 จะได้รับผลกระทบ ก็ทำให้ชุมชนในแถวนั้น ย้ายไปอยู่ข้างนอก แต่ตามจริงแล้วก็ขึ้นลงตามสถานการณ์น้ำทะเลหนุนครับ วัดไม่ได้ รั บ ผลกระทบอะไร วั ด นั ก บุ ญ ยอแซฟ ตรอกจั น ทน์ วั ด อั ค รเทวดาราฟาแอล ปากน้ ำ วั ด แม่ พ ระปฎิ ส นธิ น ิ ร มลแห่ ง เหรี ย ญ อัศจรรย์ วัดราชินแี ห่งสันติสขุ ซอย 101 วัดพระกุมารเยซู วัดพระมหาไถ่ (ไม่ได้รบั ผลกระทบครับ) จากสถานการณ์นำ้ ท่วมดังกล่าว ทางทีมงานก็ใช้ความพยายามสอบถามไปยังวัดต่างๆ ด้วยความห่วงใยครับ เชือ่ มัน่ อย่างยิง่ ว่า เหตุการณ์อทุ กภัยในครัง้ นี้ เป็นมหาอุทกภัยครัง้ ใหญ่ ทีไ่ ม่มใี ครอยากให้เกิด และหลายคนก็สญ ู เสีย จนรูส้ กึ ว่า เป็นการทดลองใจครัง้ ใหญ่ ถ้าจะเทียบความรู้สึกกับมหาบุรุษโยบ ที่เคยโดนทดลองใจ ก็อยากให้ทุกคนได้ผ่านพ้นไปให้ได้ครับ เหมือนมหาบุรุษโยบได้กล่าวด้วย ความเชื่อว่า “ข้าพเจ้าตัวเปล่าออกมาจากครรภ์มารดา ข้าพเจ้าก็จะตัวเปล่ากลับไป พระยาห์เวห์ประทานให้ พระยาห์เวห์ทรงเอาคืน ขอถวายพระพรแด่พระนามของพระยาห์เวห์” (โยบ 1:21) ผมเชื่อแน่ว่า เราในฐานะลูกของพระเจ้า เราเกิดมาพระเจ้าให้สิ่งที่ดี มีค่าที่สุดนั่นคือ “ชีวิต” ส่วนของภายนอกที่เราได้รับก็เป็น ของประทาน วันนี้ แม้เราจะต้องสูญเสียทุกอย่าง แต่สิ่งที่ยังคงอยู่คือชีวิต และมองไปข้างหน้าว่า จะบริหารชีวิตของเราต่อไปอย่างไร ในฐานะลูกพระคนหนึ่ง ความเชื่อ ความหวัง และความรัก จะทำให้ชีวิตของเรา ดำเนินไปในหนทางของพระองค์ เพียงเราเชื่อว่า พระเจ้าจะไม่ทิ้งลูกของพระองค์อย่างแน่นอน ขอส่งคำภาวนา เอาใจช่วยทุกท่านในผ่านพ้นวิกฤตของชีวิตไปให้ได้ครับ ขณะนี ้ มี ห ลายวั ด ส่ ง ภาพเกี ่ ย วกั บ น้ ำ ท่ ว มวั ด โรงเรี ย นและหมู ่ บ ้ า นมาให้ สามารถชมประมวลภาพน้ ำ ท่ ว มย้ อ นหลั ง ได้ที่เว็บไซต์ www.catholic.or.th ผมคิดว่า ในทุกๆ เหตุการณ์ของชีวิต ไม่ว่าจะเป็นมหาอุทกภัยในครั้งนี้ก็ดี หรือแม้แต่ปัญหาชีวิต ไม่มีใครรู้ดีไปกว่าพระเจ้า ผมได้แต่หวังว่า เมื่อเรายังคงภาวนา โลกนี้จะเป็นสวรรค์บนดิน และจะช่วยให้พี่น้องได้ผ่านไปด้วยดี ฝากทุกอย่างในชีวิตไว้กับพระ พระจะดูแลและจัดการให้กับเราทุกคน ขอพระอวยพรทุกท่านครับ รวบรวมข้อมูล 30 พฤศจิกายน 2011

á¼¹¡ÇÔ¶ÕªØÁª¹ÇÑ´

พี ่ น ้ อ งที ่ ร ั ก ในช่ ว งเวลาอั น ยากลำบาก ทีห่ ลายๆ วัดในอัครสังฆมณฑลฯ ของเรา ประสบ กับอุทกภัย การแบ่งปันพระวาจากลับเข้มข้น ยิ่งขึ้น แต่ไม่ใช่การแบ่งปันพระวาจา 7 ขั้นตอน ในกลุ่มย่อย แต่เป็นการแบ่งปันพระวาจาด้วยชีวิต ที่พี่น้องหลายท่านเสียสละแรงกายมากั้นน้ำ ไม่ให้ท่วมหมู่บ้าน ซ่อมกำแพงกั้นน้ำที่พังทลายลง พี่น้องหลายท่านที่เป็นพ่อค้า แม่ค้าก็ค้าขาย ด้วยความซือ่ สัตย์ ไม่กกั ตุน ไม่เก็งกำไร ไม่หาความสุขบนความทุกข์ของคนอืน่ หลายท่านสวดภาวนา หลายท่านบริจาค ทรัพย์เพื่อช่วยผู้ประสบภัย แม้สายน้ำจะนำมาซึ่งน้ำตาของพวกเรา แต่เราก็เห็นน้ำใจของคริสตชนเป็นจำนวนมาก ที่สายน้ำไม่อาจท่วมทับได้ ทำให้ระลึกถึงพระวาจาของพระเจ้าที่ว่า “น้ำมากหลายไม่อาจดับความรักให้มอดเสียได้ หรืออุทกธารทั้งหลายไม่อาจท่วมความรักให้สำลักตายเสียได้...” (พซม.8:7) สำหรับในเดือนตุลาคมที่ผ่านมาแผนกวิถีชุมชนวัดมีกิจกรรม ดังนี้ครับ วันที่ 10-12 ตุลาคม คุณพ่อปิยะชาติ คุณพ่อเชษฐา คุณสมใจ คุณกาญจนา และคุณจันทร์เพ็ญ ได้ไปช่วย ซิสเตอร์สุวรรณี พันธ์วิไล แบ่งปันเรื่องวิถีชุมชนวัดแก่นักศึกษาคริสตศาสนศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 ที่วิทยาลัยแสงธรรม วันที่ 27 ตุลาคม เวลา 9.00-15.00 น. คุณพ่อเชษฐา คุณครูกมลา คุณศุวโรจน์ คุณพิสมัย และคุณฉวีวรรณ ได้ไปแบ่งปันความเข้าใจพื้นฐานเรื่องวิถีชุมชนวัดแก่เจ้าหน้าที่เวชบุคคลคาทอลิก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ และสัตบุรุษ ทีส่ นใจ จำนวน 131 ท่าน ทีห่ อประชุมวิทยาลัยพยาบาลเซนต์หลุยส์   ⌫⌫  ⌫     


บอกข่าวเล่าสาร

⌫

พิธเี ปิด - เสก อนุสาวรียพ์ ระรูปพระเยซูเจ้าเสด็จขึน้ สวรรค์ วันอาทิตย์ท่ี 30 ตุลาคม 2011 ทีผ่ า่ นมา เวลา 09.00 น. คุณพ่อชัชวาล ศุภลักษณ์ ได้เชิญ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน ในพิธบี ชู าขอบพระคุณ โอกาสโปรดศีลเจิมสำหรับ ผู้สูงอายุวัดพระเยซูเจ้าฯ รวมทั้ง เป็นประธาน ในพิ ธ ี เ ปิ ด -เสกอนุ ส าวรี ย ์ พ ระรู ป พระเยซู เ จ้ า เสด็จขึ้นสวรรค์ มีคุณพ่อจากบ้านเณร บรรดา สามเณรและสัตบุรษุ มาร่วมจำนวนมาก

ฉลอง 25 ปี วัดแม่พระฟาติมา บางวัว วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม 2011 พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานใน พิธีบูชาขอบพระคุณ โอกาสฉลองวัดแม่พระฟาติมา บางวัว ครบรอบ 25 ปี และ 60 ปี ชุมชนแห่ง ความเชื่อกลุ่มคริสตชน บางวัว เวลา 10.30 น. พร้อมด้วยพี่น้องสัตบุรุษมาร่วมจำนวนมาก อีกทั้ง วันนี้ยังมีการสวดสายประคำโลก คาทอลิกไทยพร้อมเพรียง ไม่สิ้นเสียงสายประคำ เขต 4 นำโดย คุณพ่อชวลิต กิจเจริญ หลังจากสวดสายประคำ ได้มกี ารอวยพรศีลมหาสนิท

เยีย่ มอภิบาลวัดพระตรีเอกภาพ วันอาทิตย์ท่ี 16 ตุลาคม 2011 พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ได้เดินทางมาเยี่ยมเยียน และอภิบาลวัดพระตรีเอกภาพ หนองหิน โดยมี คุ ณ พ่ อ ไพริ น เกิ ด สมุ ท ร เจ้ า อาวาสพร้ อ มด้ ว ย คณะสภาภิบาลและสัตบุรษุ ให้การต้อนรับ พิธมี สิ ซาปลงศพ ร็อค เฉลิม เส็งเจริญ บิดาคุณพ่อสมพร เส็งเจริญ วั น จั น ทร์ ท ี ่ 10 ตุ ล าคม 2011 เวลา 10.00 น. คุ ณ พ่ อ สมพร เส็ ง เจริ ญ เป็ น ประธาน ในพิธีมิสซาปลงศพบิดา ร็อค เฉลิม เส็งเจริญ พร้อมด้วยคณะสงฆ์และบรรดาญาติมิตรมาร่วม อาลัยเป็นครัง้ สุดท้ายจำนวนมาก ณ วัดเซนต์รอ็ ค ท่าไข่ ท้ายพิธเี คลือ่ นศพไปยังสุสานวัดเซนต์รอ็ ค

อบรมเตรี ย มเยาวชนสู ่ ช ี ว ิ ต ครอบครั ว (ย.2) รุน่ ที่ 22 แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ จัดอบรม “เตรียมเยาวชนสูช่ วี ติ ครอบครัว” พิธมี สิ ซาปลงศพ เบเนดิก๊ ตา เมืย่ วเอ็ง แซ่เตียว มารดาคุณพ่อประวิทย์-คุณพ่อสุเทพ พงษ์วริ ชั ไชย (ย.2) รุ ่ น ที ่ 22 เมื ่ อ วั น ที ่ 7-9 ตุ ล าคม 2011 วันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม 2011 คุณพ่อประวิทย์ และคุณพ่อสุเทพ พงษ์วิรัชไชย เป็นประธาน ในพิธีมิสซาปลงศพเบเนดิ๊กตา เมื่ยวเอ็ง แซ่เตียว มารดา พร้อมด้วยคณะสงฆ์และบรรดาญาติมิตร ที่บ้านสวนยอแซฟ สามพราน นครปฐม มีเยาวชน มาร่วมอาลัยเป็นครัง้ สุดท้ายจำนวนมาก ณ วัดเซนต์หลุยส์ สาทร หลังพิธมี สิ ซาเคลือ่ นศพไปยังสุสาน อายุ 16-25 ปี เข้ า รั บ การอบรมทั ้ ง สิ ้ น 32 คน (ชาย 27 คน หญิง 5 คน) ศานติคาม

 ⌫⌫  ⌫      


คาทอลิกไทยพร้อมเพียงไม่สน้ิ เสียงสายประคำ เขต 1 วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม 2011 คาทอลิกไทยพร้อมเพียง ไม่สิ้นเสียงสายประคำ เขต 1 จัดขึ้นที่วัดพระมหาไถ่ (ร่วมฤดี) เวลา 09.00 - 15.00 น. และมีพิธีเคารพศีลมหาสนิท โดยคุณพ่อสุรสิทธิ์ ชุ่มศรีพันธุ์ และในเวลา 15.00 น. เป็ น พิ ธ ี บ ู ช าขอบพระคุ ณ โดยคุ ณ พ่ อ ไพบู ล ย์ อุ ด มเดช เจ้ า อาวาสวั ด พระมหาไถ่ ร่วมกับพระสงฆ์ในเขต 1 พร้อมด้วยสัตบุรษุ จำนวนมาก

สามเณราลัยจัดค่ายกระแสเรียกในหัวข้อ JESUS CHRIST SUPERSTAR เมื่อวันที่ 11-14 ตุลาคมที่ผ่านมา สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ นำโดย คุณพ่อประทีป กีรติพงศ์ อธิการสามเณราลัยฯได้จัดค่ายกระแสเรียกสำหรับน้องๆ เยาวชนคาทอลิกชาย ตัง้ แต่ระดับชัน้ ป.5 เป็นต้นไป ทีส่ นใจในชีวติ กระแสเรียกแห่งการเป็นสงฆ์ทศ่ี กั ดิส์ ทิ ธิข์ องพระเจ้า ซึ่งในปีนี้มีชื่อว่า JESUS CHRIST SUPERSTAR : จะมีอะไรดีมาจากนาซาเร็ท?...มาดูซิ! ในปีนม้ี นี อ้ งๆ ผูส้ นใจเข้าร่วมทัง้ สิน้ 71 คน จากวัดต่างๆ ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

ปิดคอร์สอบรมพระคัมภีร์ เมื่อวันเสาร์ที่ 15 ตุลาคม ที่ผ่านมา คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผู้จัดการแผนก คริ ส ตศาสนธรรม ฝ่ายงานอภิบาล อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ได้ จ ั ด พิ ธ ี ม อบวุ ฒ ิ บ ั ต ร ให้แก่ผู้มารับการอบรมพระคัมภีร์วันเสาร์ ปีที่ 22 โดยกราบเรียนเชิญพระอัครสังฆราช ฟรั ง ซิ ส เซเวี ย ร์ เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็ น ประธานในการมอบวุ ฒ ิ บ ั ต รร่ ว มกั บ คุณพ่อพงศ์เทพ ประมวลพร้อม วิทยากร และมีผู้เข้ารับมอบวุฒิบัตรจำนวน 92 ท่าน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก

  ⌫⌫  ⌫     

ค่ายยุวธรรมทูตและศาสนสัมพันธ์ เมือ่ วันที่ 8-10 ตุลาคม 2011 แผนกสนับสนุนงานธรรมทูต ร่วมกับแผนกศาสนสัมพันธ์ ฝ่ายงานธรรมทูต อัครสังฆมณฑล กรุ ง เทพฯ นำโดย คุ ณ พ่ อ สมเกี ย รติ บุ ญ อนั น ตบุ ต ร จัดค่าย “ยุวธรรมทูตและศาสนสัมพันธ์” ขึน้ ณ บ้านซาวีโอ อ.สามพราน จ.นครปฐม โดยมีนกั เรียนเข้าร่วมในโครงการนี้ จำนวน 46 คน และมีคณ ุ ครูจำนวน 11 คน มีการบรรยาย ให้ความรู้เรื่องศาสนาต่างๆ โดยศาสนาพุทธ พระมหา ปรกฤษณ์ กนฺตสีโล เป็นวิทยากร ศาสนาอิสลาม อ.มิตร ดาราฉาย เป็ น วิ ท ยากร และศาสนาคริ ส ต์ โ ดยคุ ณ พ่ อ สมเกียรติ บุญอนันตบุตร เป็นวิทยากร

แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว แจกถุงยังชีพ แผนกส่งเสริมชีวิตครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ นำโดยคุณพ่อพรศักดิ์ ชื่นจิตอภิรมย์ (ผู้จัดการ แผนกสชค.) พร้อมด้วยคณะกรรมการสชค. และสมาชิก สชค. แจกถุงยังชีพ น้ำดืม่ และของใช้ทจ่ี ำเป็นให้ผปู้ ระสบ อุทกภัยใน 2 พื้นที่ โดยแยกกลุ่มเป็น 2กลุ่ม คือ วัดพระ คริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ และวัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา เมือ่ วันที่ 19 พฤศจิกายน 2011


การอบรมวิถชี มุ ชนวัด SCC THEOLOGY COURSE วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน 2011 เวลา 17.00 น. พระอั ค รสั ง ฆราช เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็นประธานในพิธมี สิ ซาปิดการอบรมวิถชี มุ ชนวัด SCC THEOLOGY COURSE หลังจากทีไ่ ด้มกี าร อบรมต่อเนือ่ งเป็นระยะเวลา 1 เดือนเต็ม โดยเป็น ประธานร่วมกับ Fr.Thomas Vijay จากประเทศ อินเดีย คุณพ่อทินรัตน์ คมกฤส พร้อมด้วยพระสงฆ์ ซิสเตอร์ ผูเ้ ข้าร่วมอบรมวิถชี มุ ชนวัด กว่า 30 คน โอกาสนี้ร่วมแสดงความยินดีโอกาสฉลองศาสนนาม ฟรังซิสเซเวียร์ แด่พระคุณเจ้า และท้ายที่สุดเป็นพิธีมอบประกาศนียบัตร โดยพระอัครสังฆราชเกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นผูม้ อบ และ Fr.Thomas Vijay เป็นผูม้ อบถุงเมล็ดข้าวพร้อมพระวาจา

เยีย่ มอภิบาลวัดเซนต์แอนโทนี แปดริว้ วันอาทิตย์ที่ 6 พฤศจิกายน 2011 พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เยี่ยมเยียน อภิบาลสัตบุรุษวัดเซนต์แอนโทนี แปดริ้ว โดยมีคุณพ่อธนันชัย กิจสมัคร เจ้าอาวาส พร้อมด้วย คณะสภาภิบาล ให้การต้อนรับพระอัครสังฆราช หลังจากนั้นแล้วร่วมใจในพิธีบูชาขอบพระคุณ มีบรรดาสัตบุรษุ มาร่วมพิธใี นวันนีจ้ ำนวนมาก

เยีย่ มเยียนและให้กำลังใจผูป้ ระสบอุทกภัย วันเสาร์ท่ี 12 พฤศจิกายน 2011 พระอัครสังฆราช เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เยี ่ ย มเยี ย นและให้ กำลังใจผู้ประสบอุทกภัย วัดธรรมาสน์นักบุญเปโตร บางเชือกหนัง พร้อมด้วยคุณพ่อประยุทธ ศรีเจริญ เลขาฯสังฆมณฑล คุณพ่อศักดิ์ชัย ทรัพย์อัประไมย เจ้าอาวาสวัดเซนต์หลุยส์ และสภาภิบาลและตัวแทน โดยมีคณ ุ พ่อวิชชุกรณ์ เกตุภาพ เจ้าอาวาสวัดธรรมาสน์ นั ก บุ ญ เปโตร ซิ ส เตอร์ สภาภิ บ าล และสั ต บุ ร ุ ษ ให้การต้อนรับ

เยีย่ มอภิบาลวัดนักบุญอันนา ท่าจีน วันที่ 27 พฤศจิกายน 2011 พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ได้มาเยี่ยมสัตบุรุษ วัดนักบุญอันนา ท่าจีน โดยมีคุณพ่อธีรพล กอบวิทยากุล ซิสเตอร์ คณะสภาภิบาลและสัตบุรุษ ให้ ก ารต้ อ นรั บ โดยพระคุ ณ เจ้ า ได้ ม าเป็ น ประธานในมิ ส ซาและให้ ข ้ อ คิ ด ที ่ ด ี จ ากพระวรสาร และในโอกาสฉลองนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ ศาสนนามของพระคุณเจ้า ทางคุณพ่อเจ้าอาวาส สภาอภิบาล และสัตบุรษุ ทุกคนได้รว่ มแสดงความยินดีกบั พระคุณเจ้าด้วย

5 ศาสนาประกอบพิธมี หามงคลเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เมือ่ วันที่ 3 ธันวาคม 2011 ทางวัดนักบุญอันนา นำโดย คุณพ่อธีรพล กอบวิทยากุล พร้อมด้วย ตัวแทนสัตบุรุษ จำนวน 55 คน ได้เข้าร่วมโครงการพิธีทางศาสนามหามงคลเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เนือ่ งในโอกาสพระราชพิธมี หามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2011 โดยมี ศาสนาพุทธ ศาสนาพุทธ(อนัมนิกาย) ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์นกิ ายโรมันคาทอลิก ศาสนาคริสต์นกิ ายโปเตสแตนท์ เข้าร่วมพิธใี นครัง้ นี้ ซึง่ ประกอบด้วย 2 กิจกรรม กิจกรรม 1.การประกอบพิธที าง ศาสนาของทุกศาสนา กิจกรรม 2.การเสวนาหัวข้อ “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั กับงานศาสนา” ทีว่ ดั เจษฎาราม พระอารามหลวง ต.มหาชัย อ.เมือง จ.สมุทรสาคร

 ⌫⌫  ⌫      


à¡Ãç´¤ÇÒÁÃÙ¤é ÓÊ͹...¤Ø³¾èÍàÍ¡Ãѵ¹ì ËÍÁ»ÃзØÁ

ÊÇÑÊ´Õ¾Õè¹éͧ·ÕèÃÑ¡ สารฉบับนี้เป็นฉบับรวมเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคม เนือ่ งจากมีเรือ่ งติดขัดหลาย ประการ ซึ่งเป็นผลกระทบจากภาวะน้ำท่วม ช่วงเวลาที่ผ่านมาเราต่างได้รับผลกระทบจาก ภาวะน้ำท่วมมากบ้างน้อยบ้าง แต่สิ่งนี้เป็น ความจริงที่เราต้องยอมรับในที่สุดว่า เราเป็น เพี ย งมนุ ษ ย์ ต ั ว เล็ ก ๆ ซึ ่ ง อยู ่ ภ ายใต้ ก ฎของ ธรรมชาติ เราอาจจะมีความสามารถมาก แต่ก็ ทำได้เพียงทุเลาบรรเทาสิ่งที่เราไม่พึงประสงค์ เราไม่ได้อยู่เหนือธรรมชาติแต่ต้องเรียนรู้ที่จะ อยู่กับมัน นอกนั้นเรายังพบความจริงอีกข้อว่า ทรัพย์สินที่เรามี ที่เราเพียรสะสม คิดว่าจะ สามารถสร้างความมั่นคงให้แก่ชีวิตของเราได้ เมื่อถึงเวลาเพียงข้ามคืนมันก็จากไป เราไม่ สามารถฝากชะตากรรมของเราไว้กับสิ่งที่เรา คิดว่ามั่นคง หลายคนสูญเสียครั้งใหญ่แทบ สิ ้ น เนื ้ อ ประดาตั ว อี ก ทั ้ ง ยั ง มี เ รื ่ อ งที ่ ท ำให้ เป็นทุกข์ตามมาอย่างต่อเนื่อง แต่สำหรับเรา คริสตชนแล้ว เรามั่นใจว่าพระเจ้าอยู่กับเรา พระองค์ใจดีและดูแลลูกของพระองค์อย่างดี เสมอมา เรากำลังเตรียมฉลองพระคริสตสมภพ เป็น การระลึกถึงเหตุการณ์ที่พระเจ้าแสดงความรัก ทีม่ ตี อ่ มนุษย์อย่างคาดไม่ถงึ พระของเราไม่ตอ้ ง ให้มนุษย์มาคอยเอาใจ ไม่จอ้ งจับผิด ไม่ขโ้ี มโห ฯลฯ แต่ตอ้ งการแสดงให้มนุษย์เห็นว่าพระองค์ ใจดีเพียงใดจึงลงมาเกิดเป็นมนุษย์เสียเอง เกิดแบบคนที่ตกระกำลำบาก เจริญชีวิตแบบ คนจน และตายแบบน่าอับอาย นีเ่ ป็นการแสดง ความรักอย่างสูงสุด พระองค์มารับรู้ความ ยากลำบากเหมื อ นกั บ เราที ่ ป ระสบปั ญ หา ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับเรา จึงเป็นพระเจ้าที่เข้าใจ พวกเราอย่ า งที ่ ส ุ ด พระเยซู เ จ้ า มาบั ง เกิ ด เพือ่ นำความยินดีมาสูพ่ วกเรา ชีวติ ของพระองค์ เป็นพยานว่า พระเจ้ารักเรา และทัง้ ๆ ทีพ่ ระองค์ เองเป็นมนุษย์ที่ยากลำบาก ก็ยังสามารถนำ ความสุขไปสูผ่ อู้ น่ื ได้ ขอให้การฉลองคริสตสมภพ ปี น ี ้ เ ป็ น โอกาสให้ เ ราคริ ส ตชนแสดงออกซึ ่ ง ความรักต่อผู้อื่น เป็นต้นผู้ที่ได้รับผลกระทบ จากภัยธรรมชาติ แม้วา่ เราเองก็ประสบภัยเช่นกัน เพราะความรักของพระเจ้าเป็นตัวอย่างแก่เรา ผ่านทางการบังเกิดของพระเยซูเจ้านั่นเอง สุ ข สั น ต์ ว ั น พระคริ ส ตสมภพและปี ใ หม่ 2555 ด้วยครับ

ขณะนัน้ นักกฎหมายคนหนึง่ ยื น ขึ ้ น ทู ล ถามเพื ่ อ จะจั บ ผิ ด พระองค์วา่ “พระอาจารย์ ข้าพเจ้า จะต้องทำสิง่ ใดเพือ่ จะได้ชวี ติ นิรนั ดร” พระองค์ตรัสถามเขาว่า “ในธรรมบัญญัตมิ เี ขียนไว้ อย่างไร ท่านอ่านว่าอย่างไร” เขาทูลตอบว่า “ท่านจะต้องรักองค์พระผูเ้ ป็นเจ้า พระเจ้าของ ท่านสุดจิตใจ สุดวิญญาณ สุดกำลัง และสุดสติปญ ั ญาของท่าน ท่านจะต้องรักเพือ่ นมนุษย์ เหมือนรักตนเอง” พระองค์ตรัสกับเขาว่า “ท่านตอบถูกแล้ว จงทำเช่นนี้ แล้วจะได้ชวี ติ ” คำถามต่อมาคือแล้วใครเล่าคือเพือ่ นมนุษย์ของเรา พระเยซูเจ้าจึงตรัสสอนต่อไปว่า “ชายคนหนึง่ กำลังเดินทางจากกรุงเยรูซาเล็มไปยังเมืองเยรีโค เขาถูกโจรปล้น พวกโจร ปล้นทุกสิ่ง ทุบตีเขา แล้วก็จากไป ทิ้งเขาไว้อาการสาหัสเกือบสิ้นชีวิต สมณะผู้หนึ่ง เดินผ่านมาทางนัน้ โดยบังเอิญ เห็นเขาและเดินผ่านเลยไปอีกฟากหนึง่ ชาวเลวีคนหนึง่ ผ่านมาทางนัน้ เห็นเขาและเดินผ่านเลยไปอีกฟากหนึง่ เช่นเดียวกัน แต่ชาวสะมาเรีย ผูห้ นึง่ เดินทางผ่านมาใกล้ๆ เห็นเขาก็รสู้ กึ สงสาร จึงเดินเข้าไปหา เทน้ำมันและเหล้าองุน่ ลงบนบาดแผลแล้วพันผ้าให้นำเขาขึน้ หลังสัตว์ของตนพาไปถึงโรงแรมแห่งหนึง่ และช่วย ดูแลเขาวันรุ่งขึ้นชาวสะมาเรียผู้นั้นนำเงินสองเหรียญออกมามอบให้เจ้าของโรงแรมไว้ กล่าวว่า “ช่วยดูแลเขาด้วย เงินทีท่ า่ นจะจ่ายเกินไปนัน้ ฉันจะคืนให้เมือ่ กลับมา” แน่นอน เราทราบว่าชาวสะมาเรียผูน้ น้ั คือเพือ่ นมนษย์ของคนทีถ่ กู โจรปล้น ซึ่งสมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ที่ 16 ก็ได้แสดงตนว่าเป็นเพื่อนมนุษย์กับ คนไทยทุกคน และผูป้ ระสบอุทกภัยทีป่ ระเทศอิตาลี กล่าวคือเมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 30 ตุลาคม ที่ผ่านมาพระองค์ตรัสว่า “ขอแสดงความเห็นใจต่อประชาชนชาวไทยที่ประสบภัย น้ำท่วมอย่างรุนแรง เช่นเดียวกับชาวอิตาลี ในแคว้นลิกูเรียและทัสคานี่ ที่เพิ่งจะ เผชิญฝนตกหนักไปเมือ่ ไม่กว่ี นั มานี”้ ซึ่งเป็นคุณลักษณะเดียวกันกับคุณแม่เทเรซาและสมาชิกของคณะ โดยที่ท่าน และบรรดานักบวชในคณะของท่านออกไปรวบรวมคนเจ็บป่วยและผู้หิวโหยตามถนน ในเมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย และนำพวกเขาเข้ามาอยู่ในบ้านที่พวกเขาสามารถ สิน้ ชีวติ อย่างสงบ บรรดานักบวชเหล่านีเ้ อาใจใส่พวกเขาด้วยความรัก ดัง่ แม่ทเ่ี อาใจใส่ ลูกๆ ที่กำพร้าทนทุกข์ คนที่ไปเยี่ยมต่างก็แปลกใจเมื่อเห็นบรรดานักบวชทำสิ่งเหล่านี้ ด้วยใบหน้าทีย่ ม้ิ แย้มและใจเบิกบาน ในบ้านอีกหลังหนึ่ง คุณแม่เทเรซาและนักบวชของท่านได้ดูแลพวกคนโรคเรื้อน และรักษาแผลทีส่ ง่ กลิน่ เหม็น ดูแลพวกเขาด้วยความรักและเอาใจใส่ วันหนึ่งนักบวชสาวคนหนึ่งมาขออนุญาตคุณแม่ว่า “คุณแม่คะ โปรดให้ดิฉัน ออกไปหาคนยากจนและทุกข์ทรมานในถนนด้วยเถอะ” คุณแม่เทเรซาจึงมองดูหน้า นักบวชสาวคนนัน้ พอเห็นสีหน้าโศกเศร้าของเธอ คุณแม่จงึ บอกเธอว่า “อย่าเลยลูก กลั บ ไปพั ก ผ่ อ นก่ อ นเถอะ เธอไม่ ส ามารถดู แ ลคนยากจนด้ ว ยหั ว ใจที ่ ห ดหู ่ เช่นนีไ้ ด้ เราต้องนำความปิตยิ นิ ดีไปให้คนยากไร้” และเมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 6 พฤศจิกายน ทีผ่ า่ นมา ผมและ มาเซอร์ จ ากโรงเรี ย นเซนต์ โ ยเซฟคอนเวนต์ ก ็ ไ ด้ ไ ป มอบถุงยังชีพให้กบั สัตบุรษุ วัดนักบุญยอแซฟ (อยุธยา) เพราะนัน่ เป็นโอกาสให้พวกเราได้ชว่ ยเหลือทุกคนทีเ่ ป็น เพือ่ นมนุษย์ของเราตามคำสอนของพระเยซูเจ้า พีน่ อ้ งทุกท่านล่ะครับ ท่านได้ทำอะไรในช่วงน้ำท่วมนี้ ที่แสดงให้เห็นว่า เราได้แสดงความรักต่อเพื่อนพี่น้อง ของเราบ้าง และก็ต้องไม่ลืมว่า ใครที่ได้ช่วยเหลือเพื่อนพี่น้องที่กำลังประสบภัย ก็เท่ากับว่ากำลังช่วยเหลือองค์พระเยซูเจ้าเอง              ⌫⌫             ⌫ ⌦                   ⌫  ⌫                                 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.