ปีท่ี 13 ฉบับที่ 12 ประจำ�เดือนธันวาคม 2015
5
พระเยซู เ จ้ า ได้ ท รงยอมสิ้ น พระชนม์ เ พื่ อ มนุ ษ ย์ ทุกคน ดังนั้น ลักษณะประการแรกของความรักแท้ คือ รักทุกคน ความรักแท้ที่พระเยซูเจ้าต้องการ ไม่มีการ แบ่งเขา แบ่งเราต้องไม่มองว่าคนอื่นจะเป็น คนใจดี ใจร้าย สวย ไม่สวย เป็นผู้ใหญ่ หรือ เป็นเด็ก เป็นเพื่อนร่วมชาติ หรือต่างชาติ เป็นวัดเดียวกัน หรือต่างวัด ถือศาสนา เดียวกัน หรือถือศาสนาอื่น
8
วาทะพระคาร์ดินัล ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช บทเทศน์ฉลองวัดอัครเทวดาราฟาแอล ปากน้ำ� วันศุกร์ที่ 23 ตุลาคม 2015
การปรับปรุง
4
อาสนวิหารอัสสัมชัญ น.
วิถชี มุ ชนวัด...
"การมีสว่ นร่วมของ คริสตชนฆราวาส"
น.
เทศกาลเตรียมรับเสด็จ พระคริสตเจ้า น.
เจาะลึกพิเศษ... คุณพ่อวุฒิเลิศ แห่ล้อม
เ
มื่อวันที่ 12 เมษายน ค.ศ.2015 สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิส ทรงประกาศให้ช่วง เวลาตั้งแต่ วันที่ 8 ธันวาคม ค.ศ.2015-20 พฤศจิกายน ค.ศ.2016 เป็นช่วงเวลาแห่ง การระลึกถึงพระเมตตากรุณาของพระเป็นเจ้า โดยถือเป็น “ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม” โดย ทรงประกาศเป็นพระสมณโองการชื่อ “พระพักตร์แห่งความเมตตา” (Misericordiae Vultus) เมื่อพิจารณาดูเหตุผลที่พระองค์ทรงประกาศปีศักดิ์สิทธิ์ ก็พอจะสรุปได้ว่า พระองค์ทรงประสงค์จะให้บรรดาคริสตชนทุกคน หันมาทบทวนอย่างเป็นขั้นตอนถึงการดำ�เนินชีวิตของแต่ละคนว่า : ก. ณ เวลานี้ตนเองมีชีวิตเป็นอย่างไร เหมาะสมตรงกับความหมายของคำ�ว่า “คริสตชน” มากน้อยเพียงใดคริสตชนคือเป็น คนของพระคริสตเจ้า เป็นกันจริงๆ หรือเป็นเพียงแต่ชื่อ ข. เมื่อคิดพิจารณาไตร่ตรองอย่างถ่องแท้แล้ว มีอะไรบ้างที่เราต้องปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตนเอง เพื่อจะได้กลับมาเป็น คริสตชนที่แท้จริง ค. สมเด็จพระสันตะปาปาจึงทรงแนะให้ทุกคนหันกลับมามองถึงความรักและเมตตาขององค์พระผู้เป็นเจ้า ที่ทรงรอคอย การกลับมาของลูกๆ ของพระองค์ที่หลงทาง ออกนอกลู่นอกทาง พระศาสนจักรส่วนกลาง (สันตะสำ�นัก) จึงได้นำ�เจตนาของสมเด็จพระสันตะปาปาไปดำ�เนินการให้เป็นรูปธรรรม เป็นแนวทาง สำ�หรับคริสตชนทั่วโลก ซึ่งเราสามารถสัมผัสได้ดังต่อไปนี้ : 1. ตราสัญลักษณ์โอกาสปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม ซึ่งมีคำ�ขวัญโดยนำ�มาจากพระวรสารนักบุญลูกา บทที่ 6 ข้อ 36 ที่ว่า “จงเป็นผูเ้ มตตากรุณาดังพระบิดาของท่านทรงพระเมตตากรุณาเถิด” ส่วนรูปของตราสัญลักษณ์ดงั กล่าวเป็นรูปของพระเยซูเจ้า
ทรงแบกชายคนหนึง่ ไว้บนบ่า และทีส่ �ำ คัญคือ นัยน์ตาข้างซ้ายของชายคนนัน้ เป็นนัยน์ตาเดียวกับพระเนตร ข้างขวาของพระเยซูเจ้า รูปนีจ้ งึ มีความหมายถึงความเป็นหนึง่ เดียวขององค์พระเยซูเจ้ากับมนุษย์ เตือนให้ มนุษย์ต้องดำ�เนินชีวิตเป็นหนึ่งเดียวกับพระเยซูเจ้าให้ได้ ส่วนการที่พระเยซูทรงแบกชายคนนั้นไว้บนบ่า บ่งบอกถึงความรักความห่วงใยต่อมนุษย์ประดุจนาย ชุมพาที่มีความรักและห่วงใยฝูงแกะของตน จะเที่ยวตามหาแกะที่หายไป เมื่อพบแล้วจะทรงนำ�มันขึ้นบ่า แบกมันกลับไปยังฝูงของมันอีกครั้งหนึ่งด้วยความยินดี ตราสัญลักษณ์นี้เป็นผลงานของคุณพ่อ Marko I. Rupnik พระสงฆ์เยสุอิต นับเป็นผลงานอันทรง คุณค่าและรวมความคิดทางเทววิทยา ในเรื่องความเมตตากรุณาของพระเจ้าได้อย่างลึกซึ้งจริงๆ 2. สันตะสำ�นักได้ออกปฏิทินกิจกรรมปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรมตลอดทั้งปีของส่วนกลางขึ้นด้วยจุดประสงค์เพื่อเชื้อเชิญ ให้คริสตชนจะได้ร่วมพิธีอย่างพร้อมเพรียงกัน อีกทั้งยังเป็นแนวทางให้พระศาสนจักรท้องถิ่นนำ�ไปปรับใช้ตามสภาพความเหมาะสม อีกด้วย ดังมีกำ�หนดการดังนี้ เดือนธันวาคม 2015 วันอังคารที่ 8 สมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล / เปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ที่มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม วันอาทิตย์ที่ 13 วันอาทิตย์สัปดาห์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า / เปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ที่มหาวิหารนักบุญยอห์น ลาเตรัน และเปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ที่อาสนวิหารทั่วโลก เดือนมกราคม 2016 วันศุกร์ที่ 1 สมโภชพระนางมารีย์พระชนนีพระเจ้า (วันสันติภาพสากล) / เปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ที่มหาวิหารแม่พระ กรุงโรม วันอังคารที่ 19-วันพฤหัสที่ 21 ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับผู้ที่จัดการแสวงบุญ วันจันทร์ที่ 25 ฉลองการกลับใจของนักบุญเปาโล อัครสาวก/ เปิดประตูศกั ดิส์ ทิ ธิท์ มี่ หาวิหารนักบุญเปาโลนอกกำ�แพงเมือง / เครือ่ ง หมายที่พระสันตะปาปาทรงกำ�หนดสำ�หรับ “ปีศักดิ์สิทธิ์” คือ การเป็นพยานด้วยการประกอบกิจการเมตตาธรรม เดือนกุมภาพันธ์ 2016 วันอังคารที่ 2 ฉลองการถวายพระกุมารในพระวิหาร และวันผู้ถวายตนแด่พระเจ้า / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับผู้ถวายตนแด่พระเจ้า และปิดปีผู้ถวายตนแด่พระเจ้า วันพุธที่ 10 วันพุธรับเถ้า /การส่งธรรมทูตแห่งความเมตตา มหาวิหารนักบุญเปโตร วันจันทร์ที่ 22 ฉลองธรรมาสน์นักบุญเปโตร / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับองค์การปกครองส่วนกลางของพระศาสนจักรคาทอลิก (Roman Curia) / เครื่องหมายที่พระสันตะปาปาทรงกำ�หนดสำ�หรับ “ปีศักดิ์สิทธิ์” คือ การเป็นพยานด้วยการ ประกอบกิจการเมตตาธรรม เดือนมีนาคม 2016 วันศุกร์ที่ 4 - วันเสาร์ที่ 5 “24 ชั่วโมงสำ�หรับองค์พระผู้เป็นเจ้า” พิธีกรรมขอสมาโทษ (วจนพิธีกรรมและรับศีลอภัยบาป) ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร โดยเริ่มตั้งแต่บ่ายของวันที่ 4 มีนาคม วันอาทิตย์ที่ 20 อาทิตย์มหาทรมาน (แห่ใบลาน) / วันชุมนุมเยาวชนระดับสังฆมณฑล ณ กรุงโรม/เครื่องหมายที่พระสันตะปาปา ทรงกำ�หนดสำ�หรับ “ปีศักดิ์สิทธิ์” คือ การเป็นพยานด้วยการประกอบกิจการเมตตาธรรม เดือนเมษายน 2016 วันอาทิตย์ที่ 3 ฉลองพระเมตตา / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับผู้ที่มีความศรัทธาต่อพระเมตตาของพระเจ้า วันอาทิตย์ที่ 24 วันอาทิตย์สัปดาห์ที่ 5 เทศกาลปัสกา / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับเด็กชายและเด็กหญิง (อายุ 13-16 ปี) / เพื่อที่จะ ประกาศความเชื่อและเสริมสร้างวัฒนธรรมแห่งความเมตตา / เครือ่ งหมายที่พระสันตะปาปาทรงกำ�หนดสำ�หรับ “ปีศักดิ์สิทธิ์” คือ การเป็นพยานด้วยการประกอบกิจการเมตตาธรรม เดือนพฤษภาคม 2016 วันศุกร์ที่ 27 - วันอาทิตย์ที่ 29 สมโภชพระวรกายและพระโลหิตพระคริสตเจ้าในประเทศอิตาลี / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับสังฆานุกร 2 สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีที่ 13 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2015
เดือนมิถนุ ายน 2016 วันศุกร์ที่ 3 สมโภชพระหฤทัยของพระเยซูเจ้า / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับพระสงฆ์ / (ครบ 160 ปีที่พระสันตะปาปาปีโอที่ 9 นำ�การสมโภชนี้เข้ามาในปฏิทินพิธีกรรมของพระศาสนจักรสากลเมื่อ ค.ศ. 1856) วันอาทิตย์ที่ 12 วันอาทิตย์สัปดาห์ที่ 11 เทศกาลธรรมดา / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับผู้ป่วย และผู้พิการ / เครื่องหมายที่ พระสันตะปาปาทรงกำ�หนดสำ�หรับ “ปีศักดิ์สิทธิ์” คือ การเป็นพยานด้วยการประกอบกิจการเมตตาธรรม เดือนกรกฎาคม 2016 วันอังคารที่ 26 - วันอาทิตย์ท่ี 31 ปีศกั ดิส์ ทิ ธิส์ �ำ หรับเยาวชน / งานเยาวชนโลก ณ เมืองคราคูฟ ประเทศโปแลนด์ (ปิดงานในวันอาทิตย์สปั ดาห์ท่ี 18 เทศกาลธรรมดา) เดือนกันยายน 2016 วันอาทิตย์ที่ 4 วันอาทิตย์สัปดาห์ที่ 23 เทศกาลธรรมดา / ระลึกถึงบุญราศีเทเรซาแห่งกัลกัตตา (วันที่ 5 กันยายน) / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับผู้ที่ทำ�งานและอาสาสมัครในงานเมตตาธรรม วันอาทิตย์ที่ 25 วันอาทิตย์สัปดาห์ที่ 26 เทศกาลธรรมดา / ปีศักดิ์สิทธิ์สำ�หรับครูคำ�สอน
เดือนตุลาคม 2016 วันเสาร์ที่ 8 - วันอาทิตย์ที่ 9
วันเสาร์และวันอาทิตย์หลังระลึกถึงแม่พระแห่งลูกประคำ� / ปีศักดิ์สิทธิ์ของพระนางมารีอา
เดือนพฤศจิกายน 2016 วันอังคารที่ 1 วันอาทิตย์ท่ี 6 วันอาทิตย์ท่ี 13 วันอาทิตย์ท่ี 20
สมโภชนักบุญทัง้ หลาย/ พิธบี ชู าขอบพระคุณเพือ่ ระลึกถึงผูล้ ว่ งลับโดยพระสันตะปาปาเป็นประธาน วันอาทิตย์สปั ดาห์ท่ี 32 เทศกาลธรรมดา / ปีศกั ดิส์ ทิ ธิส์ �ำ หรับนักโทษ ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร วันอาทิตย์สปั ดาห์ท่ี 33 เทศกาลธรรมดา / พิธปี ดิ ประตูศกั ดิส์ ทิ ธิข์ องมหาวิหารในกรุงโรม และพิธปี ดิ ประตู ศักดิส์ ทิ ธิข์ องสังฆมณฑลต่างๆ ทัว่ โลก สมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริยแ์ ห่งสากลจักรวาล / พิธปี ดิ ประตูศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร และปิดปี ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งเมตตาธรรม
3. และเพื่อเป็นการอำ�นวยความสะดวกให้บรรดาคริสตชนที่มีจิตสำ�นึก ต้องการคืนดีกับพระเป็นเจ้า สมเด็จพระสันตะปาปา ยังทรงประกาศมอบอำ�นาจการยกโทษบาปทำ�แท้งให้กับพระสงฆ์คาทอลิกทุกองค์ตลอดปีศักดิ์สิทธิ์นี้ ซึ่งปกติแล้วอำ�นาจนี้จะ สงวนไว้ส�ำ หรับพระสังฆราชเท่านัน้ ทัง้ นี้ เพือ่ ผูท้ ตี่ อ้ งการจะคืนดี เป็นหนึง่ เดียวกับพระศาสนจักรจะได้สามารถกระทำ�ได้โดยสะดวกขึน้ นอกจากนี้ยังทรงแต่งตั้งพระสงฆ์ธรรมทูตในกรณีพิเศษให้มีหน้าที่อภิบาลดูแลคริสตชน เตือนจิตใจให้เห็นถึงความรักและ พระเมตตาของพระและกลับใจอย่างแท้จริง โดยจะทรงประกาศแต่งตั้งพระสงฆ์ที่ได้รับการคัดเลือกจากทั่วโลกในวันพุธรับเถ้า 10 กุมภาพันธ์ 2016 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม สำ�หรับในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ของเรา หลังจากที่ได้มีการประชุมคณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ไปบ้างแล้ว ก็พอ จะสรุปประเด็นกว้างๆ ได้ดังนี้ 1. เพื่อให้การเฉลิมฉลองปีแห่งเมตตาธรรมนี้เป็นไปอย่างทั่วถึง จึงขอให้ทุกส่วนที่เกี่ยวข้องให้ความสำ�คัญกับ “การกลับใจ อย่างแท้จริง” คือเน้นเรื่องของจิตใจเป็นอันดับแรก 2. การจัดกิจกรรมต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นเราจะยึดปฏิทินปีศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักรสากลเป็นหลัก โดยเน้นกิจกรรมต่างๆ ที่ เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นให้ความสำ�คัญในระดับวัด และระดับเขตเป็นหลัก ส่วนในระดับสังฆมณฑลจะเป็นมีกิจกรรมรวม 2-3 อย่างเท่านั้น ดังนั้น ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯของเราจึงขอให้พยายามที่จะทำ�การรณรงค์เพื่อให้ความรักและพระเมตตาของพระเป็นเจ้า เป็นที่ประจักษ์ด้วยการมีการติดต่อพูดคุยเชื้อเชิญและปฏิบัติกิจศรัทธาต่างๆ พูดแบบการค้าคือใช้ระบบ “ขายตรง” นั่นเอง ซึ่ง แน่นอนว่า ผู้ที่จะต้องมีส่วนร่วมในการรณรงค์นี้ คือ พวกเราทุกคน ทั้งพระสงฆ์ นักบวช พี่น้องฆราวาส โดยการเริ่มที่พระสงฆ์ นักบวช และที่สำ�คัญสภาภิบาลของแต่ละวัดนั่นเอง รายละเอียดและกำ�หนดการต่างๆ จะค่อยๆ ประกาศให้ทราบกันต่อไป สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีที่ 13 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2015 3
เดือนธันวาคมนีอ้ คั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เตรีย มีพธิ เี ปิดประตูศกั ดิส์ ทิ ธิข์ องมหาวิหารในกรุงโรม แ ต่างๆ ทัว่ โลก รวมทัง้ ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ผูจ้ ดั ทำ�จึงขอรายงานถึงอาสนวิหารอัสสัมชัญทีม่ กี า สาเหตุของการปรับปรุงอาสนวิหารอัสสัมชัญ เนื่องจากตัวอาสนวิหารฯหล ตั้งแต่ปี ค.ศ.1919 มีการปรับปรุงบูรณะบ้างหลายครั้งตามกาลเวลา แต่เป็นกา หลังๆ นี้ ตัวอาสนวิหารฯ มีการชำ�รุดหลายแห่ง และมีการทรุดตัวบ้างดังที่เห็นอ เป็นการเตรียมการฉลองครบ 100 ปีอย่างเหมาะสม ในปี ค.ศ.2019 ที่จะมาถึง ธรรม จะมีพิธีเปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ด้วย ซึ่งก็ต้องถือว่าเป็นโอกาสเหมาะพอดี คณะกรรมการจึงกำ�หนดกรอบเวลาสำ�หรับการบูรณะซ่อมแซมไว้ประม ค.ศ. 2013 - สิงหาคม ค.ศ. 2015 โดยระยะแรกก็ได้ทำ�การสำ�รวจและซ่อมแซม ใช้อาสนวิหารฯตามปกติ จนกระทั่งหลังจากฉลองอาสนวิหารฯ ประจำ�ปี 2014 และบูรณะในส่วนโครงสร้างทั้งภายในและภายนอก ทำ�ให้ต้องปิดการใช้อาสนว
ภายในอาสนวิหารฯ มีการปรับปรุงบูรณะเกือบทั้งหมด กล่าวคือ
- บริเวณพระแท่นประกอบพิธี มีการเปลีย่ นพระแท่นกลางและทีอ่ า่ นพระ พระสังฆราช และบริเวณที่นั่งของพระสงฆ์ผู้เข้าร่วมพิธี ทำ�การย้ายตู้ศีลไปไว้ด้า - พระแท่นใหม่ ที่อ่านพระคัมภีร์ และอาสนะของพระสังฆราชทำ�จากหิน 1.60 เมตร ยาว 3.00 เมตร สูง 0.98 เมตร รอบๆ ของพระแท่นเป็นช่องประดิษ ทั้ง 12 องค์ ซึ่งหมายถึงรากฐานของความเชื่อ และความมั่นคงของพระศาสนจ - ชั้นใต้พระแท่นซึ่งเป็นที่บรรจุศพของบรรดาพระสังฆราชและพระสง วัดน้อย และนำ�พระธาตุของบุญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำ�รุง ลงไปบรรจุไ สามารถที่จะถวายบูชาขอบพระคุณได้ แม้จะมีความสูงของเพดานไม่มากก็ตาม - ทำ�การปรับพื้นใหม่ทั้งหมด โดยเสริมให้มีระดับเดียวกัน เพราะก่อน ต่างกันมาก พร้อมทั้งปูพื้นใหม่ด้วยหินแกรนิตและพยายามที่จะรักษาสีสันและล - จัดทำ�ม้านั่งในวัดใหม่ทั้งหมดให้เข้ากับศิลปะตัวอาสนวิหาร ซึ่งมีทั้งหมด 320 คน และสามารถเสริมเก้าอี้บริเวณด้านข้างของวัดได้อีกประมาณ 200 คน - ระบบไฟฟ้าจัดทำ�ให้เหมาะสมกับศิลปะของวัด โดยโคมไฟเลียนแบบ ยังคงประดิษฐานอยู่ในอาสนวิหารนั่นเอง - ปรับปรุงชั้นลอยทั้ง 2 ข้างให้เป็นที่นั่งสำ�หรับผู้เข้าร่วมพิธีได้อีกประมาณ - ติดตั้งระบบปรับอากาศทั้งหมด เพื่อความสงบจากเสียงรบกวนขณะมีพ ได้อย่างดี - ปรับปรุงระบบเสียงใหม่ให้ดีขึ้น - สำ�หรับกระจกสีและลวดลายฝาผนังคงจะต้องใช้เวลาอีกนานพอสมควร
ภายนอกอาสนวิหารฯ
- ติดตั้งระฆังชุด จำ�นวน 12 ใบ สำ�หรับตีเป็นเสียงเพลงตามเทศกาลต่าง - ปรับภูมทิ ศั น์รอบๆ อาสนวิหาร ด้วยการปรับระดับพืน้ ใหม่ทงั้ หมดพร้อ ด้วย พร้อมทั้งจัดต้นไม้บริเวณลานหน้าอาสนวิหารทั้งหมด 12 ต้น - ทำ�ระบบระบายน้ำ�ให้คล่องตัวยิ่งขึ้น - ติดตั้งเสาไฟรอบวัด และไฟส่องตัวอาสนวิหารในเวลากลางคืน สุดท้ายขอยืนยันว่าวัดหรืออาสนวิหารที่เป็นวัตถุตัวอาคารแม้จะสวยงามอย่างไร ก็คงจะไม่เทียบเท่าการทำ�ให้ตัวเราแต่ละค พระเป็นเจ้า เพราะพระองค์จะทรงพอพระทัยในชีวิตที่เป็นวิหารของเรามากกว่า... แต่อย่างไรก็ดี มนุษย์เราก็พยายามอย่าง ภายนอก สวยงามเหมาะสมกับเป็นที่ประทับของพระองค์ 4 สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีที่ 13 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2015
ยมเปิดปีศกั ดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งเมตตาธรรม และจะ และพิธเี ปิดประตูศกั ดิส์ ทิ ธิข์ องสังฆมณฑล ฯ ด้วย ในวันที่ 13 ธันวาคม ดังนัน้ คณะ ารปิดปรับปรุงไปได้ประมาณสองปีแล้ว ลังนี้มีอายุการใช้งานมาเกือบ 100 ปี คือ ารบูรณะตามความจำ�เป็น ต่อมาในระยะ อยู่ ทำ�ให้เกิดการแตกร้าวหลายแห่ง เพื่อ ง ประกอบปีนี้เป็นปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตา
มาณ 2 ปี คือตั้งแต่เดือนสิงหาคม มเล็กๆ น้อยๆ เท่าที่ทำ�ได้ และยังคงเปิด (วันที่ 15 สิงหาคม 2014) จึงทำ�การซ่อม วิหารฯทั้งหมด
ะคัมภีรใ์ หม่ทงั้ หมด พร้อมกับอาสนะของ านข้าง นอ่อนทั้งหมด ตัวพระแท่นมีขนาด กว้าง ษฐานรูปพระเยซูเจ้าและนักบุญอัครสาวก จักร งฆ์หลายท่านได้ทำ� การปรับปรุงให้เป็น ไว้ที่พระแท่นในวัดน้อยนี้ด้วย วัดน้อยนี้ ม นหน้านี้มีการทรุดตัวของพื้นทำ�ให้ระดับ ลวดลายของเดิมให้มากที่สุด ด 80 ตัว สามารถนั่งได้ตัวละ 4 คน รวม
บจากธรรมาสน์ที่ใช้เทศน์ของพระสงฆ์ซึ่ง
ณ 200 คน พิธี ที่จะมีสมาธิในการร่วมพิธีกรรมต่างๆ
ร
งๆ อมทัง้ ทำ�การพิมพ์ลายและสีในพืน้ ทัง้ หมด
คนเป็นวิหารเป็นวัดเป็นที่ประทับของ งเต็มที่เหมือนกันที่จะทำ�ให้วัดหรือวิหาร
บทความ...ทีมงานวิถีชุมชนวัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ใ
นกระบวนการวิถีชุมชนวัดที่เน้นการมีส่วนร่วมของคริสตชน เรามั่นใจว่า ฆราวาสเป็นพลังหนึ่งที่สำ�คัญอย่างมากในการขับเคลื่อนวิถีชุมชนวัด ในปี ค.ศ. 2015 คณะกรรมการดำ�เนินงานวิถีชุมชนวัดตั้งใจที่จะให้ทุกเขตได้มีส่วนร่วม ในการดำ�เนินงานวิถีชุมชนวัดให้มากที่สุด คณะกรรมการฯ จึงเชิญคุณพ่อหรือ ผูแ้ ทนทีร่ บั ผิดชอบงานวิถชี มุ ชนวัดในแต่ละเขตเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการดำ�เนินงาน วิถชี มุ ชนวัด ซึง่ ได้รบั การตอบรับและความร่วมมืออย่างดียงิ่ จึงขอขอบคุณทุกท่านไว้ ณ ที่นี้ด้วยครับ คณะกรรมการฯ มุ่งมั่นที่จะให้มีคณะกรรมการวิถีชุมชนวัดในแต่ละเขต โดย ประกอบด้วยคุณพ่อผูร้ บั ผิดชอบวิถชี มุ ชนวัดในระดับเขตและผูป้ ระสานงานฆราวาส ของแต่ละวัดในเขต ซึง่ ณ ปัจจุบนั นีผ้ ปู้ ระสานงานในทุกๆ เขตได้พยายามรวมตัวกัน โดยมีคุณพ่อผู้รับผิดชอบงานวิถีชุมชนวัดเขตเป็นจิตตาธิการ หลายๆ เขตเริ่มจัดการ ประชุมผู้ประสานงานฯ ทำ� line กลุ่ม ซึ่งทำ�ให้ผู้ประสานงานในแต่ละเขตสามารถ ส่งข่าวการประชุม กิจกรรม นัดประชุม ให้กำ�ลังใจแก่กันและกันในการดำ�เนินงาน วิถีชุมชนวัด ฯลฯ ขอเป็นกำ�ลังใจให้แก่ผู้ประสานงานวิถีชุมชนวัดในแต่ละเขตครับ คณะกรรมการดำ�เนินงาน ฯลฯ ตั้งใจว่าในการจัดกิจกรรมตามโครงการปีหน้า จะเน้นการมีส่วนร่วมของผู้ประสานงานในแต่ละเขตมากขึ้น ซึ่งผู้ประสานงานฯ ในหลายๆ เขตได้นำ�เสนอโครงการการทำ�งานวิถีชุมชนวัดร่วมกันในเขต เช่น การ ประชุมผูป้ ระสานงาน การจัดการทำ�งานเป็นเครือข่ายเพือ่ ช่วยเหลือกัน การไปเยีย่ ม ให้ก�ำ ลังใจกัน การจัดการอบรมทีฆ่ ราวาสผูป้ ระสานงานจะมีสว่ นในการนำ�การอบรม ไปพร้อมๆ กับพระสงฆ์ นักบวชมากขึ้น ฯลฯ เชือ่ ว่าพีน่ อ้ งทุกท่านคงทราบแล้วว่า สมเด็จพระสันตะปาปาฟรังซิสทรงประกาศ ปีศักดิ์สิทธิ์พิเศษแห่งเมตตาธรรม ด้วยสมณโองการชื่อ “พระพักตร์แห่งความ เมตตา” (Misericordiae Vultus) เพื่อเป็นช่วงเวลาให้คริสตชนทุกคนได้สัมผัสพระ เมตตาของพระเจ้า เพื่อจะมีความเชื่อเข้มแข็ง และเป็นพยานชีวิตถึงพระเจ้าอย่างมี ประสิทธิภาพในสมัยปัจจุบันวันเปิดปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรมคือ วันที่ 8 ธันวาคม 2015 วันสมโภชพระนางมารีย์ผู้ปฏิสนธินิรมล และมีการเปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ของ มหาวิหารนักบุญเปโตร การที่ทรงเลือกวันนี้เพราะเป็นโอกาสครบ 50 ปีแห่งการ ปิดประชุมสังคายนาวาติกันที่ 2 พระศาสนจักรรู้สึกมีความจำ�เป็นที่จะรักษาความมี ชีวิตชีวาของเหตุการณ์นี้ เพื่อการประกาศพระวรสารครั้งใหม่ และวันอาทิตย์ถัดไป คือวันอาทิตย์ที่ 3 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้า ซึ่งตรงกับวันที่ 13 ธันวาคม 2015 จะมีพิธีเปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ของอาสนวิหารแห่งกรุงโรมคือ พระมหาวิหาร นักบุญยอห์นลาเตรัน ในวันเดียวกันนี้จะมีการเปิดประตูศักดิ์สิทธิ์ของอาสนวิหาร ของพระศาสนจักรท้องถิ่นทุกแห่ง วัดที่มีความสำ�คัญ หรือสักการะสถานที่มีผู้มา แสวงบุญจำ�นวนมาก ซึง่ กำ�หนดตามดุลยพินจิ ของพระสังฆราชของท้องถิน่ นัน้ วันปิด ปีศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักรท้องถิ่นคือ วันที่ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 และ วันปิดปีศกั ดิส์ ทิ ธิข์ องพระศาสนจักรสากลคือวันสมโภชพระเยซูเจ้ากษัตริยแ์ ห่งสากล จักรวาล วันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2016 และจะมีพิธปี ิดประตูศักดิ์สิทธิ์ทมี่ หาวิหาร นักบุญเปโตรในวันนั้นด้วย คณะกรรมการฯ ตั้งใจจะจัดวันพิเศษในปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรมนี้สำ�หรับ ผู้ประสานงานและสมาชิกวิถีชุมชนวัด เพื่อเราจะได้รวมพลังกัน และรับพระคุณ การุณย์ครบบริบูรณ์แห่งปีศักดิ์สิทธิ์นี้ ส่วนรายละเอียดจะประชาสัมพันธ์ให้ทราบใน โอกาสต่อไปครับ สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีที่ 13 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2015 5
บอกข่าวเล่าสาร
แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหกรรมการศึกษาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
วันที่ 13-14 พฤศจิกายน 2015 พระคาร์ดินัล เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานวจนพิธีกรรมและพิธีเปิดงาน "มหกรรมการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ : พัฒนาคุณภาพสู่ศตวรรษใหม่ 2015" และเป็นที่น่ายินดีที่ในปี 2015 นี้ พระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทย ก่อตั้งมาครบ 350 ปี และ 50 ปี โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ ณ โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ สามพราน นครปฐม
เปิด-เสกอารามนักบุญราฟาแอล คาลินอฟสกี วันเสาร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2015 พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู พร้อมด้วย พระอัครสังฆราช พอล ชาง อิน-นัม คณะพระสังฆราช ร่วม เปิด-เสกอารามนักบุญราฟาแอล คาลินอฟสกี และปิดปีสมโภช 500 ปี ชาตกาล นักบุญเทเรซาแห่งพระเยซู มีบรรดาพระสงฆ์นักบวชชาย หญิงมาร่วมพิธีในวันนี้จำ�นวนมาก
ผู้นำ�ศาสนาภาวนาเพื่อสันติภาพและผู้เสียชีวิตจากภัยก่อการร้าย วันที่ 19 พฤศจิกายน 2015 ผู้แทนจากศาสนาต่างๆ 5 ศาสนา ได้แก่ พุทธ อิสลาม คริสต์ พราหมณ์-ฮินดู ซิกซ์ ร่วมเดินเท้าจากอาสน วิหารอัสสัมชัญ มายังหน้าสถานทูตฝรั่งเศสประจำ�ประเทศไทย เพื่อร่วมวางดอกไม้และภาวนาไว้อาลัยแก่ผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ความรุนแรง ในประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2015 ที่ผ่านมาและรวมพลังเป็นหนึ่งเดียวกัน ในการแสดงออกถึงความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อ สันติภาพกับทุกๆ คน สำ�หรับของศาสนาคริสต์ นำ�โดยพระสังฆราชชูศกั ดิ์ สิรสิ ทุ ธิ์ ประธานคณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ ศาสนสัมพันธ์และคริสต ศาสนจักรสัมพันธ์ พร้อมด้วยมงซินญอร์วิษณุ ธัญญอนันต์ คุณพ่อสมเกียรติ บุญอนันตบุตร และผู้ร่วมอีกจำ�นวนหนึ่งมาร่วมไว้อาลัยด้วย ฉลองวัดนักบุญเทเรซา และชุมนุมองค์กร คริสตชนฆราวาส วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน 2015 คุณพ่ออภิเดช สุภาจักร์ เจ้าอาวาสวัด นักบุญเทเรซา หนองจอก และผูจ้ ดั การแผนก แผนกองค์ ก รคริ ส ตชนฆราวาส ฝ่ า ยงาน ธรรมทูตฯ ร่วมด้วยคณะพลมารีย์ วินเซน เดอ ปอล แม่พระแห่งฟาติมา คูร์ซิลโลฯ อัศวินแห่งศีลมหาสนิท เทเรเซียน เซอร์ร่า พระเมตตา ร่วมกันเฝ้าศีลมหาสนิทที่วัดนักบุญเทเรซา (หนองจอก) เนื่องในโอกาสฉลองวัด ชุมนุมองค์กรคริสตชนฆราวาส เคารพศีลมหาสนิท รวมทั้งจัดกิจกรรมส่งเสริมให้สมาชิกรักการอ่านพระวาจา โดยได้รับความร่วมมือจากจิตตาธิการ และประธานองค์กรต่างๆ เป็นอย่างดีโดย ผู้ที่อ่านจบทางแผนกให้รางวัลเป็นหนังสือสดุดี ในช่วงเช้ากิจกรรมก่อนฉลองวัด มีผู้ให้ความสนใจเข้าร่วมเป็นจำ�นวนมาก 6 สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีที่ 13 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2015
การประชุมคนหูหนวกคาทอลิกภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 1 วันที่ 14 พฤศจิกายน 2015 พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธานพิธีบูชาขอบพระคุณเปิดการประชุมคนหูหนวกคาทอลิก ภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 1 ณ หอประชุมยวงนิตโย ศูนย์ฝึกอบรมงานอภิบาลบ้านผู้หว่าน ซึ่งการประชุมคนหูหนวกคาทอลิกภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 1 ASIA DEAF CATHOLIC CONFERENCE 2015 จัดระหว่าง วันที่ 13 - 19 พฤศจิกายน 2015 พิธีต้อนรับผู้สมัครเรียนคำ�สอน อาสนวิหารอัสสัมชัญได้เปิดคอร์สการ เรียนคำ�สอนผู้ใหญ่ สำ�หรับผู้ใหญ่ที่เตรียม จะเป็นคริสตชน ทุกวันอาทิตย์ตั้งแต่เวลา 10.10 - 11.30 น. เริ่มเรียนตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม 2015 ถึ ง ปั จ จุ บั น เป็ น เวลา ประมาณ 5 เดือน ซึง่ มีผสู้ นใจเรียนประมาณ 25-30 คน ดังนั้น แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมกับอาสน วิหารอัสสัมชัญ จึงได้จัดพิธีต้อนรับผู้สมัครเรียนคำ�สอน เมื่อวันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน 2015 (สัปดาห์ที่ 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จพระ คริสตเจ้า) ในพิธีบูชาขอบพระคุณ เวลา 08.30 น. โดยคุณพ่อสานิจ สถะวีระวงส์ เป็นประธาน ณ หอประชุมชั้น 4 ร.ร. อัสสัมชัญศึกษา
ประชุมคณะกรรมการผู้สูงอายุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ วันที่ 10 พฤศจิกายน 2015 แผนกอภิบาลผูส้ งู อายุ ฝ่ายสังคม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยคุณพ่อธนันชัย กิจสมัคร ผูจ้ ดั การแผนก พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ ร่วมประชุมคณะกรรมการ ผู้สูงอายุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ณ วัดธรรมาสน์นักบุญเปโตร บางเชือกหนัง มีหัวข้อ หลักการประชุม เรื่อง กิจกรรมและความเคลื่อนไหวของแต่ละเขต เลือกตั้งคณะกรรมการ ผู้สูงอายุ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ชุดใหม่ เป็นเจ้าภาพร่วมงานชุมนุมผู้สูงอายุระดับชาติ ครั้งที่ 11 เตรียมความพร้อมสถานที่ กิจกรรมต่างๆ เพื่อดำ�เนินการจัดเตรียม
ปฏิทินกิจกรรม เดือนธันวาคม 2015 อบรมผู้อ่านพระคัมภีร์ วันเสาร์ท่ี 7 พฤศจิกายน 2015 แผนก พิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ ฝ่ายบุคลาภิบาลฯ จัดอบรม ผูอ้ า่ นพระคัมภีรร์ ะดับสังฆมณฑล โดยมีคณ ุ พ่อ อนุสรณ์ แก้วขจร เป็นวิทยากร ให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพิธีกรรมและการเป็นผู้อ่าน พระคัมภีร์ และคุณพ่อเชษฐา ไชยเดช ได้ให้ ความรู้ เ กี่ ย วกั บ บทบาทของผู้ อ่ า นพระคั ม ภี ร์ ในพิธีกรรม มีผู้มารับการอบรมจากวัดต่างๆ จำ�นวน 181 คน ณ สักการสถานบุญราศีนโิ คลาส
10-11 ธ.ค. เข้าเงียบพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ บ้านผู้หว่าน 11 ธ.ค. ฉลอง 50 ปี สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ ชุมนุมเยาวชน และพบปะสังสรรค์ ณ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ 12 ธ.ค. ฉลอง 50 ปี การสถาปนาอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉลองศาสนนามฟรังซิส เซเวียร์ ประกาศปิดปีศักดิ์สิทธิ์แห่งพระคุณการุณย์ ณ โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ 13 ธ.ค. เปิดปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรม เปิดประตูปีศักดิ์สิทธิ์ พิธีเสกอาสนวิหารอัสสัมชัญ 18 ธ.ค. วันบุคลากร บ้านผู้หว่าน 19 ธ.ค. ชุมนุมครูคำ�สอน ครั้งที่ 10 ณ โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีที่ 13 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2015 7
เกร็ดความรูค้ �ำ สอน...คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม
สวัสดีพน่ี อ้ งทีร่ กั
สารฉบับนีเ้ ป็นฉบับส่งท้ายปี 2015 ใน เดือนธันวาคมนี้อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีเฉลิมฉลอง 50 ปีสามเณราลัยนักบุญ ยอแซฟ สามพราน ในวันศุกร์ที่ 11 ธันวาคม 50 ปี การสถาปนาอั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ ในวันเสาร์ที่ 12 และวันอาทิตย์ ที่ 13 ธันวาคม 2015 เปิดปีศักดิ์สิทธิ์แห่ง เมตตาธรรม 2016 และร่วมกันเปิดประตู ศักดิ์สิทธิ์ ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ ร่วม ฉลองในโอกาสเปิ ด อาสนวิ ห ารอี ก ครั้ ง หลั ง จากที่ ปิ ด ซ่ อ มแซมมานานพอควร นอกนั้นยังมีงานฉลองคริสต์มาสปีใหม่ใน วัดต่างๆ ของพี่น้องอีก การเฉลิ ม ฉลองเป็ น สิ่ ง ที่ จำ � เป็ น สำ � ห รั บ ทุ ก ชุ ม ช น เ ป็ น ร า ก ฐ า น ข อ ง วัฒนธรรมอันดีงามที่สังคมใดสังคมหนึ่ง ปฏิ บั ติ สื บ ทอดกั น มามั น ไม่ เ ป็ น เพี ย งแค่ เป็ น งานประจำ � ปี ห รื อ เป็ น อี เวนท์ ที่ โ ดน แกมบังคับให้ท�ำ เราไม่ฉลองเพียงภายนอก แต่นี่คือสายสัมพันธ์ของคนที่มีรากเหง้า เดียวกันมีความเชื่อเดียวกันและมีพระเจ้า เดี ย วกั น ความเชื่ อ ความศรั ท ธาสำ � หรั บ เราคาทอลิกไม่ใช่เรื่องส่วนตัวแต่มีมิติของ ชุมชนกับพระเจ้าเสมอ ปีศักดิ์สิทธิ์แห่งเมตตาธรรมเป็นห้วง เวลาที่พระศาสนจักรอยากให้เราทบทวน เรื่องความเมตตาที่พระมีต่อเราและที่เรา จะต้องมีต่อกันและกันเป็นพิเศษเป็นห้วง เวลาที่เปิดโอกาสให้เราแสดงความสำ�นึก ถึงความเมตตาที่พระมีต่อเราออกมาเป็น รูปธรรมในประเทศไทยของเราสภาพระ สังฆราชได้ออกจดหมายอภิบาลในโอกาส นี้โดยเน้นสองข้อคือการรับศีลอภัยบาป อย่ า งดี แ ละการปฏิ บั ติ กิ จ เมตตาอย่ า ง จริงจังตลอดปีใหม่นี้ขอให้เราเน้นสองเรื่อง นี้ ทั้ ง กั บ ตั ว เราเองและผู้ ที่ เราพบปะด้ ว ย และนี่น่าจะเป็นของขวัญที่ดีที่สุดที่เราจะ มอบให้พระกุมารในวันคริสต์มาสนี้ ขอพระเจ้าอวยพรพี่น้องทุกท่าน
A
dventus ในภาษาละติน หมายถึงการเสด็จมาเยี่ยมเยียนประจำ�ปี ของเทพเจ้าที่วัดของพระองค์ เพื่อทรงเยี่ยมประชากรของพระองค์ ในศตวรรษที่ 3-4 คำ�นี้ถูกใช้ในความหมายถึง บุตรพระเจ้ากำ�ลังเสด็จมารับ เอากายและประทับอยู่ท่ามกลางประชากรของพระองค์ใน Sacramentary โรมัน ฉบับเก่าแก่เน้นทัง้ สองอย่าง คือ 1. การรับเอากายของพระคริสตเจ้า 2. การเสด็จ มาครั้งที่ 2 ของพระองค์ โดยให้ความหมายว่าการรับเอากายของพระคริสตเจ้า เป็นการเริ่มความรอดพ้นของเรา และสิ่งนี้สมบูรณ์ในการเสด็จมาครั้งที่สอง ของพระองค์ ปลายศตวรรษที่ 4 ในพระศาสนจักรตะวันออกเริ่มมี 3 สัปดาห์ เพื่อเตรียม Epiphany ที่ Gaul และสเปน เน้นเรื่องการพลีกรรม จำ�ศีล ไม่มี พิธกี รรมอะไรเป็นพิเศษ ดูเหมือนเป็นช่วงเตรียมคริสตังสำ�รองเพือ่ รับศีลล้างบาป (ตามธรรมเนียมของจารีตตะวันออกจะมีการโปรดศีลล้างบาปในวันพระคริสต์ แสดงองค์) ศตวรรษที่ 5 ใน Gaul เริ่มเตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้าหลังวันฉลองนักบุญ มาร์ติน (Lent of St. Martin) (56 วัน 8 สัปดาห์ / ตะวันออกอดอาหาร 5 วันต่อ สัปดาห์ จึงเท่ากับอดอาหาร 40 วันพอดี) ในโรมไม่มธี รรมเนียมล้างบาปในวันพระคริสต์แสดงองค์ และไม่มกี ารเอ่ยถึง ธรรมเนียมเตรียมคริสต์มาสจนถึงครึ่งหลังศตวรรษที่ 6 พระสันตะปาปา Gregory the Great (เป็นพระสันตะปาปาระหว่างปี ค.ศ. 590-604) พูดถึงเทศกาลเตรียม รับเสด็จพระคริสตเจ้าว่ามี 4 สัปดาห์ (ที่โรมเน้นเตรียมการบังเกิดของพระเยซู เจ้า) ธรรมเนียมการใช้โทษบาปเพื่อเตรียมการเสด็จมาครั้งที่ 2 ของพระเยซูเจ้า เริ่มขึ้นที่ Gaul (โดยได้รับอิทธิพลจากมิชชันนารีชาวไอริช นักบุญ Columbanus ปี 530-615 เน้นการเสด็จมาครั้งที่สอง การตัดสินของพระเจ้า จึงต้องมีการใช้ โทษบาป ในพิธีกรรมไม่ร้องกลอรีอา อัลเลลูยา ไม่ขับร้องเตเดอุม และอาภรณ์ ของพระสงฆ์เป็นสีม่วง) และมาถึงโรมในศตวรรษที่ 12 เราเห็นได้ชดั ในศตวรรษที่ 12 ทีโ่ รม งดขับกลอรีอา และกาซูลาของพระสงฆ์ ในมิสซาเป็นสีม่วง แต่อย่างไรก็ดี การใช้โทษบาปในเทศกาลเตรียมรับเสด็จพระ คริสตเจ้าไม่ได้เน้นที่การใช้โทษบาปอย่างเข้มข้น แต่มีลักษณะที่ยินดีกว่าเทศกาล มหาพรต คือ ยังมีการขับร้องบทเพลงอัลเลลูยาในพิธมี สิ ซา (จะเห็นว่าในเทศกาล เตรียมรับเสด็จพระคริสตเจ้าไม่มีวันบังคับให้อดอาหาร) และการงดขับร้องบทพระสิริรุ่งโรจน์ ไม่ได้เป็นการงดโดยมีเหตุผลเดียวกับ การงดขับร้องบทเพลงนี้ในเทศกาลมหาพรต แต่เป็นการงดเพื่อให้การขับร้องบท พระสิรริ งุ่ โรจน์ในคืนคริสต์มาสเป็นแบบ newness อย่างแท้จริง (คำ�แนะนำ�ทัว่ ไป เกี่ยวกับปีพิธีกรรม) สรุปจากงานเขียนของคุณพ่อเชษฐา ไชยเดช วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประชาสัมพันธ์กิจกรรมและข่าวต่างๆ ในระดับวัด เขตและสังฆมณฑล ให้กับสัตบุรุษและบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ 2. เพื่อช่วยฟื้นฟูบทบาทการเป็นผู้มีส่วนร่วมในงานอภิบาลและธรรมทูตในชีวิตของสัตบุรุษ และบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ ของอัครสังฆมณฑล 3. เพื่อนำ�เสนอเครื่องมือ และแนวปฏิบัติในงานอภิบาลและธรรมทูตให้กับสัตบุรุษและบุคลากรในหน่วยงานต่างๆ ของอัครสังฆมณฑล สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ผู้รับผิดชอบ : ฝ่ายงานอภิบาลของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ที่ปรึกษา : คุณพ่อพงศ์เทพ ประมวลพร้อม, คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม บรรณาธิการ : คุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ กองบรรณาธิการ : นาทลดา ทองตีบ, พฤกษา กิจเจริญ, มัลลิกา กิจบำ�รุง, เพชรี ชาวแพรกน้อย พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์อัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ โทร. 0 2233 0523 โทรสาร. 0 2235 1405 สำ�นักงาน : อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม 57 ซอยเจริญกรุง 40 เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทร. 0 2237 7315 โทรสาร. 0 2233 8159 E-mail : webmaster@catholic.or.th