สารสังฆมณฑล

Page 1

⌫⌫  ⌫   

 บทความ

 

⌫ ⌫  “ไม่มกี ลุม่ คริสตชนกลุม่ ใดเติบโตขึน้ ได้ถา้ ไม่ฝงั ราก และติดอยูก่ บั การเฉลิมฉลองพิธบี ชู าขอบพระคุณ” นีเ่ ป็นถ้อยคำทีพ่ ระศาสนจักร ผ่านทางเอกสารสำคัญ ๆ ได้หยิบยกมาบอกกล่าวแก่เราเป็นระยะๆ อย่างน้อย 3 ครัง้ ในห้วงเวลาสีส่ บิ ปี เพือ่ กระตุน้ เตือนเราให้ตระหนักถึงคุณค่า และความสำคัญของการฉลองพิธศี ลี มหาสนิท หรือพิธมี สิ ซา ของประทานอันล้ำค่าทีพ่ ระเยซูเจ้าได้ทรงมอบให้กบั เรา “รับปังนีไ้ ปกินให้ทว่ั กัน นีค่ อื กายของเรา... รับถ้วยนีไ้ ปดืม่ ให้ทว่ั กัน นีเ่ ป็นถ้วยโลหิตของเรา... ... จงทำการนี้ เพือ่ ระลึกถึงเราเถิด” พระวรสารของนักบุญมัทธิว 26:26-29 มาระโก 14:22-25 ลูกา 22:14-20 รวมทัง้ บทจดหมายของนักบุญเปาโล 1คร 11:23-26 ได้บันทึกพระดำรัสนี้ และบรรยายเหตุการณ์ ทีเ่ กิดขึน้ ในค่ำวันพฤหัส ทีบ่ รรดาอัครสาวกมีโอกาสได้รว่ ม โต๊ะรับประทานอาหารมือ้ พิเศษกับพระเยซูเจ้า เหตุการณ์วันนั้นผ่านไป บรรดาอัครสาวกไม่ได้ลืม พระบัญชาของพระองค์ “จงทำการนี้ เพือ่ ระลึกถึงเราเถิด” หนังสือกิจการอัครสาวก 2:42-47 บันทึกไว้ให้เราได้รบั รู้ “คนเหล่านัน้ ประชุมกันอย่างสม่ำเสมอเพือ่ ฟังคำสัง่ สอน ของบรรดาอัครสาวก ดำเนินชีวติ ร่วมกันฉันพีน่ อ้ ง ร่วม พิธบี ขิ นมปัง และอธิษฐานภาวนา พระเจ้าทรงบันดาล ให้บรรดาอัครสาวกทำปาฏิหาริยแ์ ละเครือ่ งหมายอัศจรรย์ เป็นจำนวนมาก ทุกคนจึงมีความยำเกรง” แม้จะเลยยุคสมัยของบรรดาอัครสาวกไปแล้วก็ตาม แต่การเติบโตของกลุ่มคริสตชนในสมัยต่อๆ มาก็ยังมีอยู่ อย่างต่อเนื่อง โดยมี “พิธีบิขนมปัง” เป็นศูนย์รวมของชีวิต และจิตใจของพวกเขา นักบุญยุสติน มรณสักขี ได้บอกเล่าให้เราได้เห็นภาพชีวติ ของคริสตชนในช่วงกลางคริสตศตวรรษทีส่ อง ทีผ่ กู พันอย่าง แน่นแฟ้นกับพิธมี สิ ซา “เมือ่ ถึงวันอาทิตย์ ทัง้ ผูท้ อ่ี าศัยอยูใ่ นเมืองหรือใน ชนบทต่างมาชุมนุมกัน ณ ทีแ่ ห่งใดแห่งหนึง่ มีการอ่าน บันทึกของบรรดาอัครสาวกหรือข้อเขียนของบรรดา

วาทะพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู โอกาสฉลองวัดแม่พระปฏิสนธินริ มล แห่งเหรียญอัศจรรย์ วันอาทิตย์ท่ี 14 ธันวาคม 2008

ประกาศก อ่านอยูน่ านเท่าทีเ่ วลาจะเอือ้ อำนวย หลังจากนัน้ ประธานจะ เทศน์สอน กระตุน้ เตือนให้เลียนแบบตัวอย่างดีๆ เหล่านัน้ เมื่อเทศน์จบแล้ว พวกเราจะยืนขึ้นเพื่อภาวนา ต่อมา ขนมปังและ เหล้าองุน่ ถูกนำมาไว้ตอ่ หน้า ประธานจะสวดบทถวาย และบทขอบพระคุณ ตามความสามารถของท่านเอง บรรดาสัตบุรุษประสานเสียงตอบรับว่า “อาแมน” แล้วจึงแจกปังและเหล้าองุน่ ให้แต่ละคน หรือแม้คนทีไ่ ม่สามารถ มาร่วมได้ สังฆานุกรจะนำไปให้ในภายหลัง ยังมีการรวบรวมสิง่ ของต่างๆ มอบให้กบั ประธาน ซึง่ จะนำไปช่วยเหลือ บรรดาแม่มา่ ยและเด็กกำพร้า รวมทัง้ คนเจ็บป่วย ผูท้ กุ ข์ยาก หรือแม้แต่ คนแปลกหน้าทีม่ าพำนักอยูก่ บั เรา…..” จากคำบอกเล่าของนักบุญยุสติน ทำให้เรารู้ว่า หัวจิตหัวใจของบรรดา คริสตชนในยุคเริม่ แรกนัน้ ต่างรอคอยวันอาทิตย์ วันทีพ่ วกเขาพร้อมจะให้เวลา หมดไปกับการได้ร่วมชุมนุมกัน เพื่อหล่อเลี้ยงชีวิตและความเชื่อของพวกเขา ด้วยพระวาจาของพระเจ้า และด้วยศีลมหาสนิท นานเกือบสองพันปีมาแล้ว พิธมี สิ ซาหรือบูชาขอบพระคุณ ยังคงเป็นศูนย์กลาง ชีวติ แห่งความเชือ่ ของคริสตชนทุกๆ คน วันนี้ เมือ่ แต่ละวัด มีการชุมนุมกันเพือ่ ฉลองพิธบี ชู าขอบพระคุณ เราแต่ละคน ก็ต่างเข้าประจำที่ เฉกเช่นเดียวกับที่บรรดาสานุศิษย์ของพระองค์ได้ทำมาก่อน เราได้ฟังพระวาจาของพระเจ้า เช่นเดียวกับที่บรรดาอัครสาวกและสานุศิษย์ ได้เคยนัง่ ฟังพระองค์ตรัสและเทศน์สอนอย่างตัง้ อกตัง้ ใจ พระดำรัสของพระองค์เป็นทั้งพลังและแรงบันดาลใจสำหรับพวกเขาฉันใด เราก็จะได้รับแสงสว่าง พละกำลัง และมีคำตอบให้กับปัญหาที่เกิดขึ้นกับ ชีวติ ของเราฉันนัน้ พวกเราได้ล้อมรอบพระแท่น เช่นเดียวกับที่บรรดาอัครสาวกได้ร่วมโต๊ะกับ พระเยซู ครัง้ นัน้ พระองค์ได้ยน่ื ปังและถ้วยเหล้าองุน่ ซึง่ เป็นพระกายและพระโลหิต ของพระองค์ให้แก่บรรดาอัครสาวก วันนี้ จากมือของพระสงฆ์ ผูท้ ำหน้าทีข่ องพระเยซู ได้มอบศีลมหาสนิทให้กบั เรา ซีง่ ตอบรับด้วยเสียงทีช่ ดั เจนว่า “อาแมน”

สัมภาษณ์

เจาะลึกพิเศษ

เกร็ดความรูค้ ำสอน

เยาวชนคาทอลิกกับความรัก ทีไ่ ม่มขี อบเขต (น.2)

60 ปี พระโต วัดนักบุญฟรังซีสเซเวียร์ (น.4)

ข้อกำหนดของพระศาสนจักรว่าด้วยเรื่อง การจำศีลในเทศกาลมหาพรต (น.8)


สัมภาษณ์

⌫

นักบุญเปาโลได้เขียนจดหมายถึงกลุม่ คริสตชนต่างๆ จำนวน 13 ฉบับ และความบางตอนของจดหมายก็ได้อธิบาย ถึงความหมายของความรักเอาไว้ และในช่วงปีนี้พระศาสนจักรกำหนดให้เราได้ระลึกถึงท่านนักบุญเปาโลเป็นพิเศษ จึงมีตัวแทนเยาวชนกรุงเทพฯ มาแบ่งปันเรื่องราวเกี่ยวกับความรักในชีวิตประจำวันโดยจะมีวิธีนำเอาบทจดหมายของ ท่านนักบุญเปาโลมาเป็นแนวทางของบรรดาตัวแทนเยาวชนได้อย่างไรบ้าง ขอเชิญติดตามอ่านกันเลยค่ะ                 สวัสดีครับ ทุกท่าน ในเดือนแห่งความรักที่มาถึงนี้ ขอใช้โอกาสแบ่งปันข้อคิดเกี่ยวกับความรัก สักเล็กน้อย ทุกคนคงเคยได้ยินมาพอสมควรเกี่ยวกับนิยาม และผมก็เชื่อเช่นนั้นว่า ความรักนั้น ไร้รูปแบบจริงๆ อยากให้เยาวชนทุกคน ทำอะไรด้วยความรัก รักที่จะเห็นถึงคุณค่าของสิ่งที่เราเห็น ทุกวันๆ จนชินชา ใส่ความรักลงไปในการกระทำทุกอย่าง ล้างจานด้วยความรัก ซักผ้าด้วยความรัก รักที่จะทำงานที่ได้รับมอบหมาย อย่า ทำ เพราะ ต้องทำ แต่จง ทำ เพราะ รักที่จะทำ สิ่งเหล่านี้ คือความรักที่สัมผัสได้ด้วยใจ นักบุญเปาโลได้กล่าวถึงความรักไว้ในจดหมายของท่าน เชือ่ ว่าหลายๆ ท่านคงเคยได้ยนิ มาแล้วนะครับ แต่จะไม่เกิดประโยชน์เลย ถ้าอ่านเพียงเพราะ “ได้อ่าน” ผมเชื่อว่าความรักของพระเจ้า ส่งผ่านมาถึงเราทุกวัน ในหลากหลายรูปแบบ และเป็นวิธีการที่คลาสสิค จริงๆ และหากเพียงสังเกต จะพบว่าความรักของพระเจ้า ไม่ต้องการ การค้นพบ ไม่จำเป็นต้อง ค้นหา แม่ของผมได้กล่าวกับผมทุกวันว่า “แม่รู้แล้วว่าความรักของพระเจ้านั้นยิ่งใหญ่เพียงใด” คุณล่ะรู้รึยัง? “ปราศจากความรัก ข้าพเจ้าก็ไม่มีค่าอะไรเลย”

    นักบุญเปาโลได้ให้ข้อคิดมากมายเกี่ยวกับเรื่องความรัก ซึ่งพวกเราในฐานะที่เป็นเยาวชน คาทอลิกนั้น ควรจะต้องนำชีวิตของท่านนักบุญเปาโลมายึดถือเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิต ประจำวัน ความรักทีเ่ ราจะมอบให้แก่ผอู้ น่ื นัน้ ควรเป็นความรักทีอ่ อกมาจากจิตใจของเราทุกๆ คน ทีอ่ ยู่ รอบข้างเราคือพี่น้องที่มาจากพระบิดาเดียวกันกับเรา เราควรมอบความรักให้แก่คนรอบข้างเหล่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเด็ก วัยรุ่น คนป่วย คนชรา คนขอทาน เป็นต้น สิ่งที่เราจะได้รับก็คือความสุขที่เราไม่ สามารถจะหาจากที่ไหนได้ ความรักเป็นสิ่งที่ไม่มีเงื่อนไข เช่นเดียวกับที่องค์พระเยซูเจ้าทรงยอมถูกตรึงกางเขนเพื่อเรามนุษย์ทุกคน เพราะพระองค์ทรงรักพวกเราทุกคนซึ่งเป็นลูกของพระองค์ เราเองควรจะเสียสละตนเองวันละนิด มอบความรักให้แก่คนรอบข้างบ้าง ไม่มากก็น้อย ผมเชื่อว่า สิ่งนี้แหละจะสร้างความสุขที่สุดในชีวิตเราคริสตชนทุกคน “ความรักนั้นทนนาน รักคือการกระทำมอบให้ รักไม่หยิง่ ผยองไม่รอ้ นใจ และเชือ่ ในความดี มีความหวังในใจ ไม่อจิ ฉาอวดตัวยิง่ ใหญ่ รักไม่จดไม่จำในสิง่ ทีพ ่ ลัง้ ไป แต่เชือ่ ในส่วนดี” ส่วนหนึ่งของเพลง “เพราะพระองค์รัก”

    ทันทีทผ่ี มได้รบั ให้เขียนบทความทีเ่ กีย่ วกับความรักของท่านนักบุญเปาโล ตัวผมเองก็หนักใจนิดหน่อย ว่าจะเขียนอะไรดี แต่กเ็ คยอ่านบทความทีเ่ กีย่ วกับความรักทีท่ า่ นนักบุญเปาโลได้เขียนไว้บา้ ง ก็คอื จดหมาย ของนักบุญเปาโลถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 1 บทที่ 13 ข้อที่ 4-7 ผมก็ขอยกมาให้อา่ นดูนะครับ “ความรักย่อมอดทน มีใจเอื้อเฟื้อไม่อิจฉา ไม่โอ้อวดตนเอง ไม่จองหอง ไม่หยาบคาย ไม่เห็นแก่ตวั ความรักไม่ฉนุ เฉียว ไม่จดจำความผิดทีไ่ ด้รบั ไม่ยนิ ดีในความชัว่ แต่รว่ มยินดีใน ความถูกต้อง ความรักให้อภัยทุกอย่าง เชือ่ ทุกอย่าง หวังทุกอย่าง อดทนทุกอย่าง” (1 โครินธ์ 13:4-7) จากข้อความข้างบนนี้ บางทีเราอาจจะได้ขอ้ คิดอะไรดีไปปรับใช้ในชีวติ ได้บา้ งนะครับว่า การทีเ่ ราจะรักใครสักคนหนึง่ แล้ว เราต้อง ทำให้ได้อย่างข้อความที่ท่านนักบุญเปาโลได้เขียนถึงชาวโครินธ์ ถ้าเราทำได้ความรักของเรานั้นมันต้องสดใสแน่นอนครับ “ในเดือน แห่งความรักนี้ ก็ขอให้ทุกๆคนมีแต่ความสดใสในความรักนะครับ ขอให้แม่พระ และท่านนักบุญเปาโลอวยพร”   ⌫⌫  ⌫   


    เดือนกุมภาพันธ์เป็นเดือนแห่งความรัก ก็อยากจะให้แง่คิดอะไรนิดหน่อยกับผู้อ่าน คนทุกคน ย่อมมีความรักเป็นเรือ่ งธรรมดา ตัง้ แต่เด็กๆ เราก็รกั พ่อแม่ โตขึน้ มาเริม่ เป็นวัยรุน่ ก็เริม่ มีแฟน ก็รกั แฟน โตขึ้นไปอีกก็แต่งงานมีลูก ก็รักลูก แต่ความรักระหว่างพ่อแม่กับลูก เป็นความรักที่มีมาจากสายเลือด แต่ความรักกับแฟน เป็นความรักที่วนเวียนเข้ามาหาเราเรื่อยๆ เดี่ยวเลิกคนเก่า เดี่ยวมีคนใหม่ วนเวียนไป แต่สำหรับพ่อแม่ไม่มีวันเลิกลา ดังนั้น วัยรุ่นทุกๆ คน ก็ควรรักพ่อแม่ให้มากๆ เพราะ ความรักจากพ่อแม่เป็นความรักที่บริสุทธิ์ นักบุญเปาโล เคยเขียนจดหมายถึงชาวโครินธ์ว่า ความรักย่อมอดทนนาน มีใจเอื้อเฟื้อ ไม่อิจฉา ไม่โอ้อวดตัวเอง ไม่จองหอง ไม่หยาบคาย ไม่เห็นแก่ตัว ถ้าเราจะเลือกใครสักคนมาที่เป็นคนที่คอยดูแลเรา เราควรหา คนๆ นั้นให้ได้อย่างที่นักบุญเปาโลได้เขียนไว้

    สวัสดีครับพี่น้อง…เยาวชนทุกท่าน...ความรักเกิดขึ้นได้อย่างไร…? ความรักหน้าตา เป็นแบบไหน...? ไม่มีใครเคยเห็น แต่...เราทุกคนสามารถรับรู้ได้ด้วยความรู้สึกของเรา หรือที่มนุษย์อย่างเราๆ เรียกกันว่า...การใช้ใจมอง... ผมไม่รวู้ า่ บรรดาด็อกเตอร์ ศาสตราจารย์ หรือนักวิชาการทัง้ หลาย ได้ใช้ อะไรเป็นตัวแบ่งประเภทของความรัก ว่าความรักมีกป่ี ระเภท?....อะไรบ้าง...? แต่สำหรับตัวผมเองแล้ว ผมแบ่งได้เป็น 5 ประเภทใหญ่ๆ คือ รักพระ รักครอบครัว รักเพือ่ น รักแฟน และรักตัวเอง 3 ประการแรกคงไม่ต้องอธิบายอะไรเพิ่มเติมแล้ว เพราะเราบรรดาเยาวชนคาทอลิกคงจะรับรู้และเข้าใจความหมายดีอยู่แล้ว แต่สำหรับประการที่ 4 และ 5 นัน้ มันมีความสัมพันธ์กนั อยู่ วัยรุน่ หลายคนอาจจะมีแฟนหรือไม่มกี ต็ ามแต่ แต่สำหรับคนทีม่ หี รือกำลังจะมี ซึ่งวันหนึ่งทุกคนก็ต้องมีอยู่แล้ว เอาเป็นว่าอยากจะบอกทุกคนว่าอย่าทุ่มเท (จนมากเกินไป)...อย่าหลง(จนหัวปักหัวปำ)...อย่าถลำ (ลึกจนเกินเหตุ)...เว้น..สเปส..ให้ตวั เองได้มที ย่ี นื บ้าง... อย่าให้คำว่า.. “เธอคือทุกอย่างของชีวติ ” เข้ามามีบทบาท เพราะมิฉะนัน้ แล้วไซร้ เมือ่ “ทุกอย่างของชีวติ ” คุณจากไป คุณจะไม่เหลืออะไรเลย จนบางคนถึงขัน้ ทำร้ายตัวเองด้วยวิธกี ารต่างๆ นานา โดยหารูไ้ ม่วา่ ความรัก ประการที่ 1-3 จะเป็นทุกข์เสียใจเท่าใด จากการที่เรา “ไม่รักตัวเอง”

    ในชีวิตของเรามนุษย์นั้น แน่นอนที่ต้องรู้จักกับความรักจะมากจะน้อยก็ขึ้นอยู่กับแต่ละคนว่าได้ สัมผัสความรักในรูปแบบไหน เพราะในความเป็นจริงนัน้ ความรักทีย่ ง่ิ ใหญ่ทส่ี ดุ บริสทุ ธิท์ ส่ี ดุ อบอุน่ ทีส่ ดุ และไม่หวังอะไรตอบแทนมากทีส่ ดุ ก็คงจะไม่พน้ ความรักทีม่ าจากพ่อแม่หรือคนในครอบครัวเราส่วนใน เรื่องของความรักในแบบมิตรภาพ เป็นห่วงเป็นใยซึ่งกันและกันนั้น ก็จะเป็นความรักในแบบเพื่อน เฮไหนเฮกัน ร่วมวีรกรรมชีวิตด้วยกัน ส่วนความรักใครที่หลายคนมักจะหลงใหลจนทำให้โลกนี้ กลายเป็นสีชมพูหวานจ๋อย หรือบางครั้งอาจจะเจ็บปวดจนรู้สึกว่าโลกมืดสนิท ก็คงต้องเป็นความรัก แบบชายหญิง หรือทีเ่ ราเรียกกันว่าแฟนนัน่ เอง การทีจ่ ะรักใครสักคนนัน้ ทีส่ ำคัญกว่าหมดต้องรูจ้ กั ทีจ่ ะรักตัวเองก่อน เพราะถ้าเราไม่รจู้ กั ที่จะรักตัวเองแล้วใครจะมารักเรา รักให้สมกับที่พ่อแม่เลี้ยงเรามา และที่สำคัญกว่าอื่นใดทั้งหมด...และเรียกได้ว่าเป็นความรักที่ย่งิ ใหญ่ ที่สุดของชีวิตเรานั้นก็คงจะหนีไม่พ้นความรักของพระเป็นเจ้าที่มีให้แก่เรามนุษย์ทุกคน อยู่เคียงข้างเราทุกขณะของชีวิต ไม่ว่าจะสุข จะทุกข์ ไม่ว่าจะลำบากหรือประสบความสำเร็จในชีวิตก็ตาม เราเคยย้อนกลับมามองบ้างไหมว่า แล้วเรารักตอบพระองค์บ้าง หรือเปล่า เคยสักครัง้ ไหม? ทีจ่ ะขอบคุณพระองค์แทนการขอนูน่ ขอนีท่ กุ ครัง้ ทีร่ ำพึงภาวนา หรือเคยสละเวลาสักชัว่ โมงหนึง่ ใน 1 วันทีจ่ ะ เข้าไปวัดไปหาพระองค์ไหม แค่สละเวลาเพือ่ การภาวนาก็ยงั ดี ในความเป็นจริงพระเจ้าไม่เคยเรียกร้องทีจ่ ะให้เราต้องตอบแทนอะไรเลย ในโอกาสวันวาเลนไทน์ในปีนี้ก็อยากจะอวยพรให้ทุกๆ คนมีความรักในหัวใจ ดังที่พระคัมภีร์กล่าวไว้ว่า “จงรักเพื่อนมนุษย์เหมือน รักตนเอง” Happy Valentine Day สำหรับทุกๆ คนนะคะ เป็นอย่างไรกันบ้างคะ หวังว่าประสบการณ์ของตัวแทนเยาวชนนี้ จะเป็นแนวทางให้กบั บรรดาเพือ่ นๆ ได้ไม่มาก ก็นอ้ ย เพราะไม่มอี ะไรจะดีทส่ี ดุ เท่ากับการทีเ่ ราได้มอบความรักให้แก่กนั และกัน เป็นสิง่ ง่ายๆ ทีใ่ ห้ได้โดยไม่ตอ้ งลงทุน อะไรเลย ขอให้ชวี ติ ของทุกท่านพบเจอแต่สง่ิ ดีๆ ในเดือนแห่งความรักนีค้ ะ่  ⌫⌫  ⌫    


เจาะลึกพิเศษ... คุณพัชรีปาน อิศรภักดี ผูอ้ ำนวยการสภาภิบาลวัดนักบุญฟรังซีสเซเวียร์ สามเสน

 เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสยุโรปครัง้ ที่ 1 ค.ศ.1897 พระองค์ได้ทรงเข้าเยีย่ มโรงงานช่างหล่อ ช่างปัน้ ช่างเขียน ณ เมืองฟลอแรนซ์ ประเทศอิตาลี ได้ทอดพระเนตรพระรูปนี้ทรงพอพระทัย โปรดให้ ไถ่มา และโปรดให้ประดิษฐาน ณ ท้องพระโรง พระทีน่ ง่ั จักรีมหาปราสาท และเมือ่ สร้างพระราชวัง ดุสิตเสร็จ จึงโปรดให้นำมาไว้ ณ พระที่นั่งอัมพร ประดิ ษ ฐานไว้ ใ นหอหนึ ่ ง พระราชทานนามว่ า “หอพระเยซู” ต่อมาได้มอบพระรูปนี้ให้แก่วัด นักบุญฟรังซีสเซเวียร์ โดยผ่านทางเทศบาลนคร กรุงเทพฯ โดยมี นายประสาน ศรจิตติและคริสตชน พี่น้องของวัดจำนวนหนึ่ง เป็นผู้ประสานงาน ประวัตนิ ไ้ี ด้จาก จางวางเอก พระยาประเสริฐ ศุภกิจ หัวหน้ามหาดเล็ก ผู้ตามเสด็จประพาส ในครัง้ นัน้ พระรูปนีไ้ ด้รบั การเสกทีว่ ดั นักบุญฟรังซีส เซเวียร์ เมือ่ ปี ค.ศ.1949

  ⌫ ⌦⌫ ⌫     จากการคาดคะเน มาจากสองความคิด ข้อที่หนึ่งคือ พระคริสโต ตามภาษาเก่า และเรียกสั้นๆ ขึ้นเป็น พระโต ข้อที่สองคือ เมื่อรูปปั้นมาตั้งอยู่และคุณพ่อท่านได้เชิญพระรูปตั้งอยู่บนที่สูง ทำให้มองเห็นเป็นองค์ใหญ่โตมาก จึงเรียกสั้นๆ ว่า พระโต ความจริงพระรูปนัน้ เป็นรูปทีแ่ สดงถึงความเชือ่ ของบุคคลทีต่ อ้ งการให้พระเยซูเจ้าช่วย และพระรูปก็บอกเราอย่างนัน้

   ⌫ ⌫ ในความเป็นจริงแล้ว สัตบุรุษทั้งหลายในหมู่บ้านวัดนักบุญฟรังซีสเซเวียร์นั้น เป็นผู้ที่มีความศรัทธาอยู่แล้ว เมื่อมี พระรูปมาตั้งอยู่ หลายคนก็มาสวดขอตามนิสัยของมนุษย์ และหลายครั้งพระเป็นเจ้าก็เห็นความสำคัญของการขอของเขา ก็ได้ทรงโปรดช่วยเหลือให้เขาได้ในสิ่งที่ขอ และเมื่อได้หลายคนก็บอกต่อกันไป คำต่อคำ ปากต่อปาก ก็กลายเป็นตำนาน ที่ทุกคนรู้จักและเชื่อ “Fides tua te salvum fecit ความเชื่อช่วยให้เจ้ารอด” เป็นข้อความทีเ่ ขียนอยูใ่ ต้พระรูป เป็นคำพูดทีพ่ ระเยซูเจ้า ทรงตรัสกับชายตาบอดทีท่ รงรักษาให้เขาได้แลเห็น คำพูด ความเชือ่ ช่วยให้เจ้ารอด นี้ เป็นคำพูดทีท่ รงพลังสูงสุด ง่ายๆ   ⌫⌫  ⌫   


แต่มีความหมายมาก เราได้ยินอีกหลายครั้ง เช่น นายร้อยผู้หนึ่งที่มาขอพระเยซูเจ้าให้รักษาบ่าวของเขาโดยพูดกับพระองค์ว่า “ขอพระองค์ตรัสเพียงคำเดียวเท่านั้น บ่าวของข้าพเจ้าก็จะหาย” และพระเยซูเจ้าทรงตรัสว่า “จงไปเถิด จงเป็นไปตาม ทีท่ า่ นเชือ่ นัน้ เถิด ” เช่นกันชายตาบอดสองคนมาเฝ้าพระองค์เพื่อขอการรักษา พระองค์ทรงตรัสถามว่า “ท่านเชื่อว่าเราทำเช่นนั้นได้หรือ” เขาทั้งสองตอบว่า “เชื่อพระเจ้าข้า” พระองค์ทรงตรัสต่อว่า “จงเป็นไปตามที่ท่านเชื่อเถิด” อีกครั้ง หญิงเป็นโรคตกเลือด มาสัมผัสชายเสือ้ ฉลองของพระเยซูเจ้าเพือ่ ให้หายโรค เมือ่ พระองค์เห็นเข้า ตรัสว่า “ความเชือ่ ของเจ้าช่วยให้เจ้าหายโรคแล้ว” จากข้อความข้างบนนี้ มีความหมายเพียงอย่างเดียวคือ “ความเชื่อ” ที่จะทำให้เราได้รับพระพร ศาสนาคาทอลิกสอน ด้วยหลักของ “ความเชื่อและความรัก” เท่านั้น “โธมัสเอ๋ย เจ้าเชื่อเพราะได้เห็นเรา ผู้ที่ไม่เห็นเราแต่เชื่อก็เป็น ผูม้ คี วามสุข”

 ⌫  พระโตเปรียบได้ว่าเป็นพระรูปคู่วัดนักบุญฟรังซีสเซเวียร์ หลายคนขอพรพระโตมากกว่าขอนักบุญองค์อุปถัมภ์ของวัด ทุกบ้านจะเคยได้เข้ามากราบขอพรพระโต โดยเฉพาะนักเรียนต่างๆ เช่น จากโรงเรียนโยนออฟอาร์ค โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ และเซนต์คาเบรียล จะเข้ามาขอพรให้สอบได้ หลายคนขอเรื่องสอบเข้ามหาวิทยาลัย หลายคนขอเรื่องงาน ขอให้รักษาโรคภัย ขอสุขภาพที่ดี ขอให้ครอบครัวรักกัน ขอให้ลูกหลาน และทุกคนจะได้รับเสมอ ศาสนาคาทอลิกมิได้สอนให้ “รอ หรือ พึ่งอัศจรรย์” แต่ทุกวันนี้ “พระรูปพระโต” ได้สอนและรักษาบรรดาพี่น้องต่างๆ มิใช่เฉพาะคริสตชนคาทอลิกเท่านั้น โดยเขาทั้งหลายได้ “ขอและเชื่อ” ว่า พระเยซูเจ้าจะทรงรักษาให้เขาทั้งหลายหายได้ พระเยซูเจ้า ทรงรักษาทุกคนด้วยความเชือ่ ดังนัน้ ผูท้ ไ่ี ด้รบั พระพร คือผูท้ ม่ี คี วามเชือ่ ผมและพี่น้องหลายท่านอาจจะมีความเชื่อไม่พอเพียงกับสิ่งที่วอนขอ ซึ่งอาจจะไม่ก่อเกิดประโยชน์ต่อตัวเรา ดังที่ผมได้ เขียนข้างต้น การขอสิ่งอำนวยความสะดวกนั้นอาจจะเป็นสิ่งสุดท้ายที่ควรขอ ผู้ขอต้องมี ความเชื่อ ที่จะดำเนินชีวิต คริสตชนที่ดีเพื่อจะได้เป็นลูกที่ดีของพระองค์ ผมมีความเชื่ออย่างมั่นคงว่า ถ้าสิ่งที่วอนขอเป็นสิ่งที่ดี รับรองได้ว่าผู้ขอจะได้รับ พระพรตามทีม่ คี วามเชือ่ นัน้ ๆ ดังคำพูด “ความเชือ่ ช่วยให้เจ้ารอด”

  ⌫⌫  ในโอกาสครบรอบ 60 ปี นั้น คณะกรรมการการจัดงานครั้งนี้ มีความตั้งใจที่จะจัดพิมพ์ พระพรของพระโตที่พี่น้อง ทุกท่านได้รับ แต่จะไม่พิมพ์ในสิ่งที่เขาได้รับจากการพนันหรือสิ่งที่พี่น้องขอไม่สมเหตุสมผล เนื่องจากทางวัดมิได้สนับสนุน สิง่ นีน้ อกจากความเชือ่ และความศรัทธาทีพ่ น่ี อ้ งต่างๆ ได้รบั พระพรเท่านัน้ และมีการฉลองสองวัน โดยวันแรกเป็นการฉลองภายใน มีคณ ุ พ่อเจ้าอาวาสเป็นประธาน และวันฉลองได้เชิญพระคุณเจ้าพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู มาเป็นประธานในครัง้ นี้

    คุณพ่อประทีป กีรติพงศ์ เจ้าอาวาส และคณะกรรมการผู้จัดงานครั้งนี้ โดยมี นพ.วิษณุ ธาราฉัตร ประธานชมรม เวชบุคคลคาทอลิกของโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ เป็นประธานการจัดฉลอง 60 ปีพระโต มี คุณนุสรา จุลละสุวรรณ เป็นรองประธานฯ และคุณสมปอง ก่อรักเศวต เป็นเลขาฯ โดยมีเป้าหมายให้พี่น้องได้มาร่วมงานนี้และขอบพระคุณพระเป็นเจ้าที่ได้ทรงรักษา วิญญาณของพี่น้องคริสตชนคาทอลิกและศาสนิกชนต่างความเชื่อมานานนับปี และมาขอพรเพื่อให้ทุกท่านมีจิตใจที่สะอาด ช่วยเหลือเอือ้ เฟือ้ ต่อกัน และรักกันและกันมากขึน้ โดยงานนีม้ สี องวันคือ วันเสาร์ท่ี 7 นัน้ เป็นการฉลองภายใน โดยมีคณ ุ พ่อประทีป กีรติพงศ์ เจ้าอาวาสเป็นประธานในพิธี และเป็นการฉลองตามธรรมดา กล่าวคือเป็นงานวันเสาร์ที่วัดได้ฉลองมาทุกปี และจะเพิม่ การเลีย้ งข้าวต้ม หลังมิสซา 19.00 น วันทีส่ อง คุณพ่อประทีป กีรติพงศ์ เจ้าอาวาส และคณะกรรมการการจัดงานฯ พร้อมด้วยสภาอภิบาลฯ ได้เชิญพระคุณเจ้า พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู พระอัครสังฆราชแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพ มาเป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ ในการฉลองพระรูป 60 ปี และหลังมิสซาจะมีการแห่พระรูปไปรอบวัด และเลี้ยงอาหารเหมือนกับการฉลองวัดด้วย จึงขอ เชิญชวนพีน่ อ้ งคริสตชนทุกๆ คน มาร่วมงาน พร้อมขอบพระคุณและขอพระพรด้วย

 ⌫⌫  ⌫    


บอกข่าวเล่าสาร     

ฉลองบุญราศีนโิ คลาส บุญเกิด กฤษบำรุง พระสงฆ์ และมรณสักขี เมือ่ วันจันทร์ท่ี 12 มกราคม 2009 เวลา 18.00 น. พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธาน ในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณโอกาสฉลองสักการสถาน บุญราศี นิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง พระสงฆ์และ มรณสั ก ขี พร้ อ มด้ ว ยพระสงฆ์ นักบวชชาย-หญิง และสัตบุรษุ มาร่วมฉลองจำนวนมาก

พระสงฆ์ใหม่ แห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานในพิธบี วชพระสงฆ์ใหม่ อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ คุณพ่อเปาโล ศวง วิจติ รวงศ์ ร่วมกับพระสังฆราช ยอแซฟ สังวาลย์ ศุระศรางค์ ประมุข สังฆมณฑลเชียงใหม่ พร้อมทั้งคณะสงฆ์ นักบวชชาย-หญิง และบรรดาญาติพี่น้องมาร่วมยินดี เป็นจำนวนมาก เมือ่ วันเสาร์ท่ี 24 มกราคม ทีผ่ า่ นมา

เข้าเงียบฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เมือ่ วันที่ 5-9 มกราคม 2009 ฝ่ายบุคลาภิบาลจัดเข้าเงียบฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์ อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ประจำปี 2009 ณ ศูนย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล บ้านผูห้ ว่าน

เยีย่ มชมบรรยากาศวิถชี วี ติ ชาวบ้านของสัตบุรษุ วัดนักบุญอันนา ท่าจีน เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม ที่ผ่านมา คุณพ่อธีรพล กอบวิทยากุล เจ้าอาวาส ได้เชิญ ฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูตฯ นำโดย คุณพ่อวิทยา แก้วแหวน และคุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ พร้อม เจ้าหน้าทีจ่ ำนวน 25 ท่าน ไปร่วมกิจกรรมแสวงบุญ ล่องเรือชมวิถชี วี ติ ชาวบ้านลุม่ น้ำท่าจีน ทานอาหาร ทะเล เห่กล่อมด้วยสายลม พร้อมงมหอยแครง เพือ่ เป็นการสนับสนุนอาชีพให้สตั บุรษุ มีรายได้ และทำงาน ในท้องถิน่ บ้านเกิด พัฒนาชุมชนเข้มแข็งของวัดนักบุญอันนา ท่าจีน หากท่านใดสนใจสามารถติดต่อ สอบถามได้ทว่ี ดั นักบุญอันนา ท่าจีน โทร. 0-3481-9216 ถึง 17 สามเณรใหญ่จากประเทศไทยร่วมประชุม GENS CONGRESS

  ⌫⌫  ⌫   

ฉลองวัดพระชนนีของพระเป็นเจ้า รังสิต เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 มกราคม 2009 เวลา 10.30 น. พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาส ฉลองวัดพระชนนี ของพระเป็ น เจ้ า รั ง สิ ต และฉลอง ครบรอบ 15 ปี เสก วัดหลังปัจจุบนั สามเณรใหญ่จากประเทศไทย 3 คน และพระสงฆ์ ไทย 1 ท่าน เข้าร่วมประชุม International Congress for Seminarians 2009 ทีศ่ นู ย์มารีอาโปลี กัสเตลกัลดอลโฟ กรุงโรม ประเทศอิตาลี ในวันที่ 2-4 มกราคม ทีผ่ า่ นมา เป็นการประชุมนานาชาติของสามเณรทัว่ โลก สนับสนุน โดยคณะโฟโคลาเร (GENS CONGRESS) ซึง่ ในครัง้ นี้ เป็นการประชุมสามเณรนานาชาติครัง้ ที่ 5 ภายใต้หวั ข้อ “There is a way… the Challenge of Relationships” มีสามเณรร่วมประชุมประมาณ 500 คน จาก 40 ประเทศทัว่ โลก


ชุมนุมศิษย์แท้นกั บุญเปาโล แผนกคริสตศาสนธรรม ฝ่ายงานอภิบาลและ ธรรมทูต และแผนกพระคัมภีร์ฝ่ายบุคลาภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมกับศูนย์คริสตศาสนธรรม สังฆมณฑลราชบุรี และคณะเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ร่วมกันจัดงานศิษย์แท้นักบุญเปาโล ณ โรงเรียน นักบุญเปโตร สามพราน โดยมีพระสังฆราชสังวาลย์ ศุระศรางค์ และพระสังฆราชปัญญา กฤษเจริญ มาเป็นประธานเปิดงาน เมือ่ วันเสาร์ท่ี 17 มกราคม ทีผ่ า่ นมา มีนกั เรียนเข้าร่วมกว่า 2,300 คน

พิธมี สิ ซาปลงศพ วันจันทร์ท่ี 2 กุมภาพันธ์ 2009 เวลา 10.00 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน ในพิธีมิสซาปลงศพคุณพ่อคมทวน มุ่งสมหมาย พระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมกับ พระสังฆราชปัญญา กฤษเจริญ ประมุขสังฆมณฑลราชบุรี พร้อมด้วยพระสงฆ์กว่า 150 องค์ บรรดานักบวชชาย-หญิง ญาติพี่น้อง และผู้มาร่วมอาลัยรักคุณพ่อครั้งสุดท้ายเป็นจำนวนมาก ณ วัดนักบุญเปโตร สามพราน

เสกสุสานวัดพระวิสทุ ธิวงส์ ลำไทร คุณพ่อธนากร เลาหบุตร เจ้าอาวาส จัดพิธเี สกสุสาน เมื่อวันเสาร์ที่ 31 มกราคม 2009 เวลา 09.30 น. โดยมี คุณพ่อทนุ เจษฎาพงศ์ภกั ดี เป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชา ขอบพระคุณ พร้อมด้วยพระสงฆ์กว่า 20 องค์ และบรรดาญาติ พีน่ อ้ งของผูล้ ว่ งลับทีม่ าร่วมระลึกถึงในวันนีเ้ ป็นจำนวนมาก

ประชาสัมพันธ์... - ฉลองวัดธรรมาสน์นกั บุญเปโตร บางเชือกหนัง ฉลองครบรอบ 120 ปี พิธเี สก-เปิด อนุสาวรียธ์ รรมาสน์นกั บุญเปโตร วันอาทิตย์ท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2009 เวลา 10.00 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน

รับศีลกำลังเขต 2 เมื่อวันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม 2009 เวลา 09.00 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณโปรด ศีลกำลังของนักเรียนในวัดเขต 2 มีจำนวน 145 คน ณ วั ด นั ก บุ ญ ฟรั ง ซิ ส เซเวี ย ร์ สามเสน มี ผ ู ้ ม า ร่วมงานประมาณ 1,000 คน

เยีย่ มคำนับ โอกาสคริสตมาสและปีใหม่ กลุ ่ ม พระสงฆ์ ห นุ ่ ม อั ค รสั ง ฆมณฑล กรุงเทพฯ เยี่ยมคำนับพระสงฆ์อาวุโส เนื่องใน โอกาสคริสต์มาสและปีใหม่ ณ ศูนย์ฝึกอบรม “บ้านผู้หว่าน” เมื่อวันพุธที่ 7 มกราคม 2009 และเยีย่ มคำนับซิสเตอร์ผสู้ งู อายุ คณะพระหฤทัย ของพระเยซูเจ้าแห่งกรุงเทพฯ คลองเตย เมื่อวัน อังคารที่ 20 มกราคม ทีผ่ า่ นมา

- สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน ขอเชิญร่วมงานชุมนุมศิษย์เก่าสามเณราลัย วันเสาร์ท่ี 14 มีนาคม 2009 ตัง้ แต่เวลา 14.00-22.00 น. (ต้องการที่พักติดต่อ 0-2429-0934) วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม 2009 ฉลองสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ ฉลองครบรอบ 50 ปี ศูนย์สามเณราลัย พิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ เวลา 10.00 น. โดยพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน

 ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรู้คำสอน

ตลอดช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ไม่วา่ จะไปทีไ่ หน หัวเรือ่ ง ที่ผู้คนมักจะพูดต่อกันเห็นจะไม่พ้นเรื่องของ “ความรัก” และแม้ว่าแง่มุมของความรักมีอยู่มากมาย แต่ก็มักจะให้ ความสำคัญกับความรักแบบ “ชีวติ คูร่ กั ” ทีจ่ ะแต่งงานอยูก่ นิ ร่วมชีวิตกันฉันสามีภรรยาเสียมากกว่า ในเมื่อกระแส ของเดือนกุมภาพันธ์เป็นเช่นนี้ พ่อก็ว่าดีเหมือนกัน ที่เรา จะมาคุยกันถึงเรือ่ ง “ความรัก” และ การมี “ชีวติ คู”่ ฉันสามี ภรรยากันเป็นพิเศษตลอดเดือนนี้ เรือ่ งของ “ความรัก” เป็นเรือ่ ง “ธรรมชาติ” เป็น ลักษณะเฉพาะของสิง่ สร้างทีพ ่ ระเจ้าทรงสร้างให้เป็น “มนุษย์” ตามภาพลักษณ์ของพระเจ้า เรามนุษย์จงึ มี ความสามารถที่จะรักกันได้ เหมือนองค์พระเจ้า “พระบิดา” “พระบุตร” และ “พระจิต” ทรงรักกัน รวมเป็น “พระเจ้าหนึ่งเดียว” ด้วยเหตุนี้เราจึงเห็น กิจการแห่งความรักเกิดขึ้นในความสัมพันธ์ของคนที่ ร่วมชีวิตอยู่ด้วยกันทั่วไป ไม่จำกัดว่าจะต้องแต่งงานเป็น สามีภรรยากันเท่านัน้ เราไม่ควรผูกขาดว่าเรื่องของความรักเป็นเรื่องของ คู่รักที่จะใช้ชีวิตร่วมกันเป็นสามีภรรยาต่อกันเท่านั้น ความจริงแล้วมีคู่รักหลายคู่ มีกลุ่มบุคคลหลายกลุ่ม ที ่ ม ี ค วามรั ก และใช้ ช ี ว ิ ต มี ค วามรั ก ต่ อ กั น แต่ ไ ม่ เ ป็ น สามีภรรยากันในสังคมอยู่มากมาย แต่เมื่อพูดถึงคู่รัก ที่จะใช้ชีวิตเป็นสามีภรรยากันนั้น เราคริสตชนคาทอลิก กำลังพูดถึงเรือ่ งของ “พระกระแสเรียก” ทีพ ่ ระเจ้าทรง ประสงค์ให้คู่รักนั้นๆ ก้าวเข้าสู่การมีชีวิตครอบครัว เพื ่ อ ที ่ จ ะร่ ว มชี ว ิ ต มี ค วามรั ก และพั ฒ นาความรั ก ต่อกันอย่าง “เฉพาะพิเศษ” อีกทั้งจะได้ให้กำเนิด ชีวิต “ลูกๆ” ร่วมเป็นครอบครัวในสังคม ดังเช่น ครอบครัวศักดิส์ ทิ ธิข์ องพระเยซูเจ้า ท่านผู้อ่านคงเคยได้ยินข่าวเกี่ยวกับการหย่าร้างกัน ในชีวิตแต่งงานอยู่บ่อยๆ ทำให้หลายคนอาจเข้าใจไปว่า สามีภรรยาจะ “อยู่” หรือจะ “หย่า” เป็นเอกสิทธิ์ของ แต่ละฝ่ายทีจ่ ะคิดจะกระทำต่อกันได้ตามอำเภอใจของตน แต่หากจะสำนึกรับรู้ว่า การตอบรับที่จะแต่งงานร่วมชีวิต ด้ ว ยกั น ตั ้ ง แต่ ต ้ น นั ้ น มิ ใ ช่ เ พี ย งแต่ เ ป็ น การตอบรั บ “ของกันและกัน” ของผู้ที่ตัดสินใจเป็นสามีภรรยาเท่านั้น แต่เป็นการตอบรับตาม “พระประสงค์ของพระเจ้า” ทีท่ รง เรียกให้ทง้ั สองคนมาใช้ชวี ติ เป็นสามีภรรยาร่วมกันอีกด้วย ด้วยเหตุนี้ การคิดการตัดสินใจทีจ่ ะ “อยู”่ หรือจะ “หย่า” จึงมิใช่อยู่ใน “กำมือ” ของสามีภรรยาที่จะกระทำได้ตาม อำเภอใจของตนเท่านั้น แต่ยังมีพระเจ้าที่ต้องเข้าร่วมอยู่ ในการตัดสินใจด้วย และท่าทีของพระเจ้าที่ทรงมีต่อชีวิต ครอบครัวของสามีภรรยาที่พึงต้องใส่ใจเสมอไปก็คือ “สิ่งที่พระเจ้าได้ร่วมไว้ให้ชิดสนิทกัน มนุษย์อย่าได้ แยกออกจากกันเลย”

เพื่อพี่น้องจะได้ดำเนินชีวิตอย่างถูกต้องตาม จิตตารมณ์ของเทศกาลมหาพรต ดังนัน้ ขอให้พน่ี อ้ งได้ ปฏิบตั ติ ามจิตตารมณ์ของพระศาสนจักรดังต่อไปนี้ 1. ตามบัญญัติของพระเป็นเจ้า คริสตชน ทุกคนต้องชดเชยใช้โทษบาปของตนตามวิธีการของแต่ละคน และเพื่อ การปฏิบัติร่วมกัน จึงได้กำหนดวันชดเชยใช้โทษบาป ซึ่งคริสตชนจะได้ สวดภาวนาปฏิบัติกิจเมตตาปรานีและความรักเป็นพิเศษ เสียสละตนเอง และทำหน้าทีข่ องตนอย่างซือ่ สัตย์ (ม.1249) 2. ทุกวันศุกร์ตลอดปี และทุกวันในเทศกาลมหาพรต เป็นวัน พลีกรรมในพระศาสนจักรทัว่ ไป (ม.1250) 3. ทุกวันศุกร์ตลอดปี ยกเว้นวันฉลองใหญ่ เป็นวันอดเนื้อหรือ อดอาหารอื่นตามข้อกำหนดของสภาพระสังฆราชฯ วันพุธรับเถ้าและ วันศุกร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ เป็นวันอดเนือ้ และอดอาหาร (ม.1251) 4. คริสตชนทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 14 ปีบริบรู ณ์ขน้ึ ไป ต้องอดเนือ้ คริสตชน ทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 18 ปีบริบรู ณ์ขน้ึ ไป จนถึง 59 ปีบริบรู ณ์ ต้องอดอาหาร เป็นหน้าที่ของผู้อภิบาลและบิดามารดาที่จะต้องอบรมผู้น้อยที่ยัง ไม่ตอ้ งถือกฎการอดเนือ้ และอดอาหารให้เข้าใจจิตตารมณ์ของการพลีกรรม (ม.1252) สำหรับประเทศไทย อาศัยอำนาจตามมาตรา 1253 ของกฎหมาย พระศาสนจักร สภาพระสังฆราชฯ จึงกำหนดวิธีอดเนื้อและอดอาหาร ดังต่อไปนี้

การอดเนือ้

ผู้ที่ได้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งตามกำหนดนี้ ถือว่าได้ถือตาม กฎการอดเนือ้ คือ ก. อดเนื้อ ข. ปฏิบตั กิ จิ ศรัทธานอกเหนือไปจากทีเ่ คยปฏิบตั ิ อาทิ เดินรูป 14 ภาค เฝ้าศีลมหาสนิท สวดสายประคำ ฯลฯ ค. ปฏิบตั กิ จิ เมตตาปรานี เช่น ให้ทานคนจน เยีย่ มคนเจ็บป่วย ฯลฯ ง. งดเว้นอาหารหรือสิง่ ทีเ่ คยปฏิบตั เิ ป็นประจำ อาทิ งดดืม่ สุราและ เบียร์ งดสูบบุหรี่ จ. รู้จักอดออมและละเว้นความฟุ้งเฟ้อต่างๆ

การอดอาหาร

หมายถึง การรับประทานอาหารอิ่มเพียงมื้อเดียว ทีม่ า : คัดลอกมาจากหนังสือปฏิทนิ คาทอลิก 2009           ⌫⌫                    ⌫ ⌦  ⌫                        ⌫  ⌫              ⌫          


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.