⌫⌫ ⌫
“พีน่ อ้ ง ให้เราเลียนแบบอย่างคุณพ่อนิโคลาส โดยการเป็นประจักษ์พยานและประกาศ ความรักของพระเป็นเจ้าให้ชาวไทย อีกเป็นจำนวนมากให้รแู้ ละได้สมั ผัสความรัก ของพระเป็นเจ้าอาศัยประจักษ์พยาน ในชีวติ ของเราแต่ละคน” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสฉลองสักการสถานบุญราศี คุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง วันอังคารที่ 12 มกราคม 2010
วันพุธรับเถ้า วันเริม่ ต้น
3 4 8
ของเทศกาลมหาพรต น.
เส้นทางของการแต่งงาน ในพระศาสนจักรคาทอลิก น.
ค่ายคำสอนภาคฤดูรอ้ น ปี 2010 น.
เจาะลึกพิเศษ...โดย ทีมสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
ประเพณีตรุษญวน หรือปีใหม่ของชาวเวียดนาม ตรุษญวน ในภาษาเวียดนามเรียกว่า เต๊ด เหงีว่ น ด๊าน (Têt Nguyê n Dan) . แปลว่าเทศกาลต้อนรับแสงรุง่ อรุณของปีใหม่ มีลกั ษณะเหมือนกับ ประเพณีตรุษจีนของชาวจีน ในอดีตสมัยทีเ่ วียดนามตกเป็นเมืองขึน้ ของจีนนานนับพันปี วัฒนธรรมทางความเชื่อและการดำรงชีวิต ตลอดจนภาษาต่างก็ได้รบั อิทธิพลจากจีนทัง้ สิน้ ปฏิทนิ ทางจันทรคติของเวียดนามจะตรงกับปฏิทนิ ทางจันทรคติ ของจีน ดังนัน้ วันตรุษญวนหรือวันขึน้ ปีใหม่เวียดนามจะตรงกับวันที่ 1 เดือน 1 ตามปฏิทนิ จันทรคติ หรือตรงกับ วันตรุษจีนนัน่ เอง ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ คนญวนได้เข้ามาตัง้ ถิน่ ฐานอยูใ่ นแถบจังหวัดจันทบุรี ในช่วงสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้พระราชทานที่ดินให้กับชาวญวนที่เข้ามาอาศัยเพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย คือ ที่ดิน แถบสามเสน และได้มีการขยับขยายไปอยู่ตามจังหวัดต่างๆ โดยปกติแล้วชาวญวนจะมีนิสัยชอบหาปลา และอาศัยอยูร่ มิ น้ำ ดังนัน้ จึงอพยพตามกระแสน้ำเพือ่ มาอาศัยอยูแ่ ถบจังหวัดอยุธยา ยังมีชาวญวนอาศัยอยูแ่ ถบ จังหวัดอุดรธานี และท่าแร่ เข้ามาในช่วงที่ประเทศเวียดนามเกิด สงคราม โค จิน จีน ในปัจจุบันชาวญวน หรือชาวเวียดนามในอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ยังคงอาศัยอยู่ในแถบวัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน วัดคอนเซ็ปชัญ วัดแม่พระฟาติมา วัดพระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่
วัดมารียส์ มภพ บ้านแพน วัดนักบุญยวงบัปติสตา เจ้าเจ็ด วัดนักบุญเทเรซา หน้าโคก วัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา วัดนักบุญเปาโล บ้านนา ทางทีมงานได้มีโอกาสพูดคุยกับสัตบุรุษวัดนักบุญฟรังซิสเซเวียร์ สามเสน และ วัดพระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ เกีย่ วกับประเพณีและวัฒนธรรมในวันตรุษญวนว่ามีธรรมเนียมปฏิบตั อิ ย่างไร กันบ้างในวันนัน้ ซึง่ ได้ความดังนี้ ธรรมเนียมปฏิบัติที่ทำต่อกันมาในวันตรุษญวน เริ่มจากการสวดภาวนาเป็นภาษาญวน และร่วม พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณในวันตรุษญวนซึ่งตามแต่ละวัดจะจัดให้มีพิธี การแต่งกายสำหรับคนญวนนั้น จะแต่งกายด้วยเสือ้ ผ้าสีขาวมีปกั ลายเล็กๆ น่ารักๆ หรือใส่เสือ้ “เอ๊าญ่าย” ซึง่ เป็นชุดประจำชาติของชาวเวียดนาม ในปัจจุบันไม่ค่อยมีให้เห็นแล้ว และชาวญวนจะไม่มีการแต่งกายด้วยการใส่เสื้อผ้าสีแดงเฉกเช่นคนจีนใน วันตรุษจีน หลังพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณแล้ว จะมีการไหว้บรรพบุรุษ ที่ล่วงลับไป ซึ่งชาวญวนถือว่าเป็นวันทำบุญใหญ่ให้กับคนตาย ในวันนั้น จะทำขนม “บั๊นแต๊ด” หรือขนมมัดใต้ มีลักษณะเป็นห่อแบบกลมยาว ส่วนแบบห่อสี่เหลี่ยมผืนผ้าเรียกว่า “บั๊นจึง” ห่อด้วยใบตอง ภายในจะมี ข้าวเหนียว ถัว่ เหลือง และหมูสามชัน้ “บัน๊ แต๊ด” จึงถือเป็นขนมประจำเทศกาล ตรุษญวน ขนมมัดใต้นจ้ี ะทำเพือ่ ไหว้บรรพบุรษุ ทีเ่ สียชีวติ ไปแล้ว และสำหรับ ให้กับญาติผู้ใหญ่ที่ยังมีชีวิตหรือแม้แต่คนที่อาศัยอยู่ร่วมกันในหมู่บ้านก็จะมีการมอบให้กันและกันเพื่อเป็น การส่งความสุขให้ในวันขึน้ ปีใหม่น้ี หลังจากทีม่ กี ารไหว้ มอบขนม แล้วจากนัน้ เป็นการขอพรจากผูใ้ หญ่ และทาง ญาติผู้ใหญ่จะให้พร “มึ่งต๋วย” หรือ แต๊ะเอียในภาษาจีนให้กับลูกหลานด้วย นอกจากนั้นแล้วในวันขึ้นปีใหม่ ของชาวญวนยังถือเป็นวันรวมญาติด้วย หลังจากไหว้ต้อนรับบรรพบุรุษเสร็จแล้ว ลูกหลานทุกคนก็ร่วมกัน เฉลิมฉลองรับประทานอาหารร่วมกันอย่างพร้อมหน้า สำหรับการระลึกถึงผู้ล่วงลับนี้ หลายวัดจึงจัดให้พิธี เสกสุสานในวันใกล้ๆ วันตรุษญวนด้วยถือเป็นการรวมญาติ และเป็นการแสดงความกตัญญูรู้คุณต่อญาติผู้ใหญ่ผู้ล่วงลับ ไปแล้ว วันตรุษญวนจะจัดขึ้นเพียงแค่วันเดียวเท่านั้น ซึ่งจะไม่มี วันไหว้ วันจ่าย และวันเทีย่ ว ตามแบบวันตรุษจีน สิง่ ทีห่ า้ มทำในวันเทศกาลตรุษญวนคือ ห้ามกวาดบ้าน ถ้ากวาดก็ให้กวาดเข้า ห้ามพูดเรื่องไม่ดี ห้ามทะเลาะกัน ห้ามทวงหนีแ้ ละจ่ายหนี้ ห้ามยืมเงิน ห้ามไปงานศพหรือบ้าน ที่กำลังไว้ทุกข์ ห้ามไปเยี่ยมคนป่วย โดยปกติจะห้ามปฏิบัติ สิ่งเหล่านี้ประมาณ 3 วัน เพราะถือว่าเป็นช่วงเทศกาลปีใหม่ซึ่ง ปีใหม่แสดงถึงสิง่ ดีๆ จะได้โชคดีตลอดปี หลังจากที่ได้มีการพูดคุยเรื่องวันตรุษญวนแล้ว ทางทีมงานได้ขอนำพรในโอกาสตรุษญวนนี้มาฝาก ผูอ้ า่ นสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทุกท่าน “นำกู๋ ด๋ากวา นำเม้ย ด๋าเด๊น ชินดึก๊ จัว๊ เตร้ย บาโงย ยุบซึกฟูโ่ ห่ จอ บ้ากอน เลิน้ ต๋วย ดัง่ อันเอ๋อ ซุงเซือ้ ง เย๋า เย๋า” แปลว่า ปีเก่าผ่านไป ปีใหม่ผา่ นมา ขอพระตรีเอกภาพ อำนวยพรให้ญาติผใู้ หญ่ ได้มกี นิ มีอยูส่ ขุ สำราญและร่ำรวย
⌫⌫ ⌫
บทความ...โดย ทีมสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
วันพุธก่อนวันอาทิตย์แรกของเทศกาลมหาพรต ซึ่งในปีนี้ตรงกับวันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ 2010 สัตบุรุษจะรับเถ้าเป็น การเริ่มต้นเทศกาลมหาพรต พิธีเสกและโรยเถ้า ตามปกติจะทำในพิธีมิสซา หลังอ่านพระวรสารและเทศน์ ซึ่งให้ความหมายว่า พระวาจาของพระเจ้าเป็นพลังสำคัญที่ปลุกเร้าจิตใจของคริสตชนให้สำนึกตน กลับใจ และใช้โทษบาปในเทศกาลมหาพรตนี้ บทอ่านจากพระคัมภีร์ในพิธีมิสซาวันพุธรับเถ้า บทอ่านแรกจากหนังสือประกาศกโยเอล (ยอล. 2:12-18) กล่าวว่า “เจ้าทั้งหลายจงเต็มใจกลับมาหาเรา ด้วยการอดอาหาร ร้องไห้ และเป็นทุกข์คร่ำครวญ ณ บัดนี้เถิด” บทอ่านที่สองนำมาจาก จดหมายของนักบุญเปาโลอัครสาวกถึงชาวโครินธ์ ฉบับที่ 2 (2 คร. 5:20-6:2) ยังคงกล่าวถึงการกลับใจอย่างต่อเนื่องว่า “จงคืนดีกับพระเจ้าเถิด บัดนี้แหละเป็นเวลาที่เหมาะสม” และพระวรสารนักบุญมัทธิว ให้ความหมายที่แท้จริงของการกลับใจ ในภาคปฏิบตั ิ โดยนำเสนอคำสอนของพระเยซูเจ้าในเรือ่ ง “การทำทาน” “การอธิษฐานภาวนา” และ “การจำศีลอดอาหาร” พระองค์ทรงสอนว่า “จงระวังอย่าประกอบกิจการดีของท่านต่อหน้ามนุษย์เพื่ออวดเขา มิฉะนั้น ท่านจะไม่ได้รับบำเหน็จ จากพระบิดาของท่านผู้สถิตในสวรรค์” (มธ. 6:1-6,16-18)
ความหมายของเถ้า เถ้าเป็นเครื่องหมายของ “ความทุกข์ถึงบาป” เป็นธรรมเนียมที่ได้มาจากพระคัมภีร์ เราพบความหมายนี้อย่างชัดเจน ในคำกล่าวประกอบการโรยเถ้าของพระสงฆ์แบบที่หนึ่ง ซึ่งนำมาจากพระวรสารของนักบุญมาระโก (มก.1:15) ที่กล่าวว่า “จงกลับใจใช้โทษบาป และเชื่อพระวรสารเถิด” เถ้ายังหมายถึงสภาพของมนุษย์คนบาป ซึ่งพยายามแสดงความสำนึกผิด ของตนต่อพระเจ้าออกมาเป็นพิธีภายนอก ให้เห็นว่าเขาต้องการกลับใจ เพราะ หวังว่าพระเจ้าจะทรงพระกรุณาให้อภัย เครือ่ งหมายประการนีจ้ งึ เป็นการเริม่ เดินทาง มุ่งสู่การกลับใจซึ่งค่อยๆ พัฒนาขึ้นโดยการรับศีลอภัยบาปในเทศกาลมหาพรต ความต่ำต้อยของมนุษย์อันเป็นผลมาจากบาป ถูกกล่าวถึงในคำกล่าวประกอบการ โรยเถ้าของพระสงฆ์แบบทีส่ อง โดยเทียบจากหนังสือปฐมกาล (ปฐก. 3:19) ทีก่ ล่าวว่า “มนุษย์เอ๋ย จงระลึกเถิดว่า เจ้าเป็นแค่ฝนุ่ ดิน และจะกลับเป็นฝุน่ ดินอีก” ในบทเสกเถ้าทั้ง 2 แบบ ให้ความหมายอย่างชัดเจนว่าเทศกาลมหาพรตเป็นช่วงเวลาที่คริสตชนเตรียมสมโภชปัสกา เช่น “ขอโปรดสดับฟังคำอ้อนวอนของข้าพเจ้าทั้งหลาย และทรงพระเมตตาประทานพระพรแก่ข้ารับใช้ของพระองค์ ผู้เข้ามารับ การโรยเถ้าเหล่านี้ ขอให้ทกุ คนทำกิจการใช้โทษบาปตลอดเทศกาลมหาพรต เพือ่ จะได้เป็นผูเ้ หมาะสมทีจ่ ะระลึกถึงการสิน้ พระชนม์ และกลับคืนชีพขององค์พระบุตร...” (บทภาวนาเสกเถ้าแบบที่ 1) เครื่องหมายการเป็นทุกข์กลับใจในพิธีกรรม “พิธีเสกและโรยเถ้า” แสดงออกอย่างชัดเจนในชีวิตคริสตชน เห็นได้ จากการที่วันพุธรับเถ้าเป็นวันใช้โทษบาปสากลของพระศาสนจักร โดยคริสตชนผู้มีอายุตั้งแต่ 14 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปต้องอดเนื้อ และคริสตชนทีม่ อี ายุตง้ั แต่ 18 ปีบริบรู ณ์ขน้ึ ไป จนถึงอายุ 59 ปีบริบรู ณ์ ต้องอดอาหาร เถ้ายังอาจหมายถึงความสกปรก (บาป) ซึ่งใช้น้ำชำระให้สะอาดได้ (ศีลล้างบาป) ฉะนั้น เราเริ่มเทศกาลมหาพรตด้วย พิธีโรยเถ้า จึงเป็นเครื่องหมายที่นำไปสู่ความสมบูรณ์ครบครันในการรื้อฟื้นคำมั่นสัญญาแห่งศีลล้างบาปของคริสตชน และ การล้างบาปคริสตชนใหม่ (ตามธรรมเนียมของพระศาสนจักร) ในคืนวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ (มิสซาตื่นเฝ้าปัสกา) สิง่ ทีน่ า่ สนใจอีกประการหนึง่ ก็คอื ธรรมเนียมทีใ่ ห้โรยเถ้าทีไ่ ด้จากใบลานซึง่ เสกในปีกอ่ นนัน้ เกิดขึน้ เป็นครัง้ แรกในศตวรรษ ที่ 12 มีความหมายดี เพราะใบลานหมายถึงชัยชนะของพระเยซูเจ้าในฐานะกษัตริย์ในการเสด็จเข้ากรุงเยรูซาเล็มอย่างสง่า (ภาพอนาคตของการกลับคืนชีพ) เมือ่ เอามาเผาเป็นเถ้าและโรยเพือ่ เตือนใจให้คริสตชนใช้โทษบาปแล้ว ยังเป็นสิง่ ทีบ่ อกคริสตชนว่า การใช้โทษบาปนี้มีเป้าหมายเพื่อเตรียมการฉลองชัยชนะแห่งการกลับคืนชีพของพระเยซูเจ้า ⌫⌫ ⌫
เจาะลึกพิเศษ...คุณพ่อเชษฐา ไชยเดช
นาทาเนียล ฮอทอร์น มีงานที่ดีทำ อย่างไรก็ดีเขามีความปรารถนาที่ยิ่งใหญ่ ในชี ว ิ ต ที ่ จ ะเป็ น นั ก เขี ย น วั น หนึ ่ ง เขาถู ก ให้ อ อกจากงานและกลั บ มาที ่ บ ้ า นด้ ว ย ความท้อแท้ใจและเป็นทุกข์ แต่สิ่งที่น่าประทับใจรอเขาอยู่ที่บ้าน ภรรยาของเขาบอก กับเขาว่า “ฉันทราบดีว่าคุณเป็นอัจฉริยะ และวันหนึ่งคุณจะเขียนผลงานที่เป็นอมตะ เวลานีค้ ณ ุ มีเวลาทีจ่ ะเขียนหนังสือ เงินทีค่ ณ ุ ให้ ฉันได้ออมไว้เพียงพอทีจ่ ะเลีย้ งครอบครัว ของเรา” ด้วยความสนับสนุนจากภรรยาของเขาซึ่งให้กำลังใจ และยืนอยู่เคียงข้างเขา เขาได้เขียนผลงานชิน้ เอกตามทีภ่ รรยาของเขาได้ทำนายไว้ คือ “The Scarlet Letter” พี่น้องที่รัก เมื่อพ่ออ่านเรื่องนี้พ่อคิดถึงคำสัญญาที่คู่บ่าวสาวให้แก่กันในพิธีแต่งงานที่ว่า “ข้าพเจ้า…(ออกชื่อ ตัวเอง)… ขอรับคุณ…(ออกชื่อเจ้าสาวหรือเจ้าบ่าว)…. เป็นภรรยา(เป็นสามี) และขอสัญญาว่าจะถือซื่อสัตย์ต่อคุณ ทั้งในยามสุขและยามทุกข์ ทั้งในเวลาป่วยและเวลาสบาย เพื่อรักและยกย่องให้เกียรติคุณ จนกว่าชีวิตจะหาไม่” เป็นคำสัญญาที่น่าประทับใจ และเป็นแก่นแท้ของการแต่งงานแบบคริสตชนที่ประกอบด้วยความรักซึ่งกันและกัน ความซื่อสัตย์ต่อกัน การเป็นสามีภรรยากันจนตลอดชีวิต นอกจากนี้พระศาสนจักรคาทอลิกยังสอนถึงเอกภาพ ของการแต่งงาน คือ การมีสามีภรรยาเดียว และจุดมุง่ หมายของการแต่งงาน คือ การให้กำเนิดบุตร และอบรม เลีย้ งดูบตุ รให้เป็นคนดี พีน่ อ้ งทีร่ กั เนือ่ งจากหัวใจของการแต่งงาน คือ ความรัก พ่อจึงคิดว่าการพัฒนาจากคูร่ กั มาเป็นคูช่ วี ติ จำเป็น ต้องใช้เวลาในการดูใจและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน น่าจะมีเวลานานพอสมควรที่ชายหญิงจะคบหาดูใจกันก่อนที่จะ ตกลงปลงใจแต่งงานกัน เพราะโดยธรรมชาติเวลาที่คบกันใหม่ๆ ต่างฝ่ายต่างก็จะมองเห็นสิ่งที่ดีของกันและกัน และมักจะมองข้ามข้อบกพร่องของกันและกันไป การคบกันจึงไม่เป็นเพียงแค่รู้จัก แต่ต้องรู้ใจกันด้วย รู้ทั้งในความดี และความบกพร่องที่แต่ละฝ่ายมี พร้อมที่จะเปิดใจยอมรับและมั่นใจว่าจะใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันได้ คนใกล้ชิดก็มีบทบาท สำคัญในชีวติ คู่ เป็นต้น คุณพ่อ คุณแม่ของเรา อย่าลืมปรึกษาท่านด้วย เมือ่ มัน่ ใจว่าจะแต่งงานกัน ควรไปหาคุณพ่อเจ้าอาวาสแต่เนิน่ ๆ (ประมาณ 3-6 เดือนก่อนการแต่งงาน) เพือ่ ตกลง กับคุณพ่อเจ้าอาวาสเรื่องวันแต่งงาน การตอบแบบสอบสวนคู่แต่งงาน การอบรมเพื่อเตรียมแต่งงาน และรายละเอียด เกีย่ วกับพิธกี รรมการแต่งงาน สภาพระสังฆราชแห่งประเทศไทยโดยกฤษฎีกาบทที่ 11 ประกาศว่า ก่อนจะโปรดศีลสมรส (ในกรณีท่ี คูแ่ ต่งงานเป็นคาทอลิกทัง้ คู่ หรือฝ่ายหนึง่ เป็นคาทอลิกและอีกฝ่ายหนึง่ เป็นคริสตชนทีพ ่ ระศาสนจักรคาทอลิก รับรองศีลล้างบาปของเขา) ให้ถอื ตามกฎเกณฑ์ตา่ งๆ ดังต่อไปนี้ 1. ให้ใช้แบบสอบสวนคูแ่ ต่งงานทีส่ ภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทยกำหนด 2. การสอบสวนให้กระทำก่อนการสมรสอย่างน้อย 1 เดือน 3. ให้มกี ารประกาศสมรสในวันอาทิตย์อย่างน้อย 2 ครัง้ ต่อกัน (แม้ในกรณีทค่ี สู่ มรสต่างคนต่างถือศาสนาของตน) ⌫⌫ ⌫
การสอบสวนก่อนการสมรสมีจดุ ประสงค์เพือ่ 1. ให้มคี วามมัน่ ใจว่าไม่มขี อ้ ห้ามหรือข้อขัดขวางในการสมรส 2. ให้คู่บ่าวสาวมีเจตนาเข้าพิธีสมรสด้วยใจอิสระ มีความ ยินยอมทีจ่ ะรับกันและกันด้วยเจตนาทีแ่ ท้จริง 3. ให้คบู่ า่ วสาวเข้าใจสถานภาพการสมรส ชีวติ สมรส หน้าที่ ของสามีภรรยาและพ่อแม่คริสตชนทีด่ ี การแต่งงานของคาทอลิกกับคนต่างนิกายและต่างความเชือ่ ทีเ่ รียกว่าการแต่งงานแบบต่างคนต่างถือ นอกจากจะต้องตอบ แบบสอบสวนคูแ่ ต่งงานแล้ว ยังต้องกระทำดังต่อไปนี้ 1. ยืน่ คำร้องขออนุญาตจากพระสังฆราช โดยผ่านทางคุณพ่อ ุ พ่อเจ้าอาวาสมอบหมาย เจ้าอาวาส หรือ คุณพ่อผูช้ ว่ ยเจ้าอาวาสทีค่ ณ 2. คู่บ่าวสาวที่เป็นคาทอลิกจะต้องสัญญาว่า จะถือซื่อสัตย์ต่อความเชื่อคาทอลิกตลอดชีวิต และจะพยายามขจัด อันตรายใดๆ อันจะทำให้เขาเสียความเชือ่ และจะให้บตุ รทีเ่ กิดมาได้รบั ศีลล้างบาปและอบรมเลีย้ งดูตามความเชือ่ ของคาทอลิก ทัง้ นีด้ ว้ ยความเข้าใจอันดีในครอบครัว โดยฝ่ายทีไ่ ม่ใช่คาทอลิกรับทราบ และลงนามในใบคำมัน่ สัญญาของฝ่ายคาทอลิก 3. ฝ่ายทีไ่ ม่ใช่คาทอลิกจะต้องกรอกข้อมูลเอกสารไม่เคยผ่านพิธสี มรส (หรือเรียกง่ายๆ ว่าใบรับรองความเป็นโสด) โดยให้คณ ุ พ่อหรือคุณแม่หรือญาติผใู้ หญ่ลงนามรับรอง 4) คูบ่ า่ วสาวจะต้องยอมรับพันธะพืน้ ฐานของการสมรส หลังจากนัน้ คุณพ่อเจ้าอาวาสหรือคุณพ่อทีไ่ ด้รบั มอบหมายจะกำหนดวันอบรมชีวติ สมรสสำหรับคูบ่ า่ วสาว คุณพ่อ อาจจะอบรมเอง หรือส่งคู่บ่าวสาวไปรับการอบรมที่วัดมหาไถ่ในวันอาทิตย์ที่หนึ่งและสองของทุกเดือน หรือที่ วัดอัสสัมชัญในวันอาทิตย์ทส่ี ามและทีส่ ข่ี องทุกเดือน การอบรมชีวติ สมรสถือว่ามีความสำคัญ และมีเนือ้ หาทีน่ า่ สนใจ และเป็นประโยชน์ในการดำเนินชีวิตครอบครัวของคู่บ่าวสาว เพราะนอกจากจะอบรมถึงความหมายและศีลธรรมของ การแต่งงานแล้ว การอบรมยังกล่าวถึงการวางแผนครอบครัว การครองเรือนและการเลี้ยงดูบุตร กฎหมายไทยเกี่ยวกับ เรือ่ งครอบครัว ฯลฯ เมื่อใกล้ถึงวันแต่งงานคุณพ่อจะนัดคู่บ่าวสาวมาซ้อมพิธี และอธิบายความหมายของขั้นตอนต่างๆ ในพิธีแต่งงาน คูบ่ า่ วสาวอาจจะคุยกับคุณพ่อเรือ่ งการจัดพิธกี รรม โดยอาจจะเลือกบทอ่านในพิธี จัดเตรียมคนอ่านบทอ่าน คนถือเครือ่ งบูชา ฯลฯ คู่บ่าวสาวที่เป็นคาทอลิกอย่าลืมเตรียมจิตใจเพื่อที่จะรับศีลอภัยบาปก่อนการแต่งงาน และเมื่อถึงวันแต่งงาน ก็ขอให้เตรียมจิตใจอย่างดีเพือ่ รับพระพรจากพระเป็นเจ้า และรับศีลมหาสนิท จากทีพ่ อ่ เล่ามานีด้ เู หมือนว่าการแต่งงานของคาทอลิกมีขน้ั ตอนและมีการเตรียมตัวทีย่ าวนานพอสมควร แต่พอ่ คิดว่า มันไม่ยาวนานเลยเมื่อเทียบกับชีวิตครอบครัวที่คู่สมรสจะต้องอยู่ด้วยกันตลอดชีวิต พ่อกับเห็นว่าเป็นสิ่งที่ดีมาก ทีพ่ ระศาสนจักรให้ความสำคัญกับการเตรียมชีวติ ครอบครัวซึง่ ถือว่าเป็นกระแสเรียกสำคัญของพระศาสนจักร จริงๆ เรื่องการแต่งงานและชีวิตครอบครัวมีรายละเอียดมาก พ่อเพียงนำมาเสนอในบางส่วนที่พ่อคิดว่าจะเป็น ประโยชน์แก่พี่น้อง หากพี่น้องมีปัญหาอะไรที่เกิดขึ้นในชีวิตแต่งงานที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายของพระศาสนจักร พี่น้องสามารถขอคำปรึกษาได้จากสำนักงานวินิจฉัยคดีอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และปริสังฆมณฑล โดยมี คุณพ่อประจักษ์ บุญเผ่า เป็นผูอ้ ำนวยการสำนักงาน ⌫⌫ ⌫
บอกข่าวเล่าสาร
ฉลองบุญราศีคณ ุ พ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง วันอังคารที่ 12 มกราคม 2010 เวลา 18.00 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็นประธานโอกาสฉลองบุญราศี คุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง ร่วมกับ คณะสงฆ์กว่า 30 องค์ สัตบุรษุ จำนวนมาก ณ สักการสถาน อ.สามพราน จ.นครปฐม
พิธเี ปิด-เสก อนุสาวรียน์ กั บุญคามิลโล และ เสกอาคารศูนย์อภิบาลคามิลเลียน และวัดน้อยประจำศูนย์ เมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 17 มกราคม 2010 เวลา 17.00 น. พระอั ค รสั ง ฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธี ร่วมกับพระสมณฑูต ซัลวาตอเร เปนนัคคีโอ ฯพณฯ เอกอัคร สมณฑู ต วาติ ก ั น ประจำประเทศไทย พร้อมด้วย พระสงฆ์ นักบวช และบรรดา พีน่ อ้ งสัตบุรษุ จำนวนประมาณ 500 คน ได้รว่ มในพิธเี ปิด-เสก อนุสาวรียน์ กั บุญคามิลโล และเสกอาคาร ศูนย์อภิบาลคามิลเลียน และวัดน้อยประจำศูนย์ เขตลาดกระบัง ห่างจากสนามบินสุวรรณภูมิ 12 กม.
สมาชิกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว (สชค.) ร่วมลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมาชิกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว (สชค.) นำโดย คุณอัศวชัย-วิรศิ รา ทับทิมทอง ประธานคณะกรรมการสชค. ร่วมลงนามถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ศาลา 100 ปี โรงพยาบาลศิริราช เมือ่ วันพฤหัสบดีท่ี 14 มกราคม 2010 เวลาประมาณ 14.30 น.
⌫⌫ ⌫
เทิดเกียรติแม่พระฟาติมาเดือนมกราคม เมือ่ วันพุธที่ 13 มกราคม 2010 พระสังฆราช ยอแซฟ สังวาลย์ ศุระศรางค์ เป็นประธานใน พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณโอกาสเทิดเกียรติ แม่พระฟาติมา ร่วมกับคุณพ่อปิยะ โรจนะมารีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดแม่พระฟาติมา พร้อมด้วยพระสงฆ์ 5 องค์ และบรรดาพีน่ อ้ งสัตบุรษุ เป็นจำนวนมาก
ฉลองวัดพระคริสตประจักษ์ เกาะใหญ่ วันเสาร์ท่ี 9 มกราคม 2010 พระอัครสังฆราช ฟรั ง ซิ ส เซเวี ย ร์ เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช ประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณโอกาส ฉลองวัดร่วมกับพระสังฆราช พระสงฆ์จำนวน 26 องค์ และสัตบุรษุ จากวัดในเขต 6 ทีเ่ ดินทาง มาร่วมฉลองจำนวนมาก
สั ม มนาฟื ้ น ฟู ช ี ว ิ ต ครอบครั ว ขั ้ น ที ่ 1 (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 124 แผนกส่ ง เสริ ม ชี ว ิ ต ครอบครัว (สชค.) อัคร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ จั ด สั ม มนาฟื ้ น ฟู ช ี ว ิ ต ครอบครัว ขัน้ ที่ 1 (ฟฟ.1) รุ ่ น ที ่ 124 เมื ่ อ วั น ที ่ 22-24 มกราคม 2010 ที่บ้านสวนยอแซฟ สามพราน มีผู้เข้าร่วม สัมมนาฯ จำนวน 7 คู่ (เป็ น พุ ท ธ 5 คู ่ และ ต่างคนต่างถือ 2 คู)่
พิธีโปรดศีลกำลังนักเรียน เขต 2 และ รับศีลมหาสนิทครั้งแรก เมื ่ อ วั น อาทิ ต ย์ ท ี ่ 24 มกราคม 2010 พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็ น ประธาน ในพิ ธ ี ม ิ ส ซาบู ช าขอบพระคุ ณ โอกาสโปรด ศีลกำลังให้กับเด็กนักเรียนโรงเรียนในเขต 2 และรับศีลมหาสนิทครั้งแรก ณ วัดแม่พระ ฟาติมา ดินแดง
ผู้สมัครเรียนคำสอนผู้ใหญ่และศิษย์เก่าพบปะ สังสรรค์ และร่วมฉลองโอกาสคริสต์มาส และปีใหม่ 2010 วันอาทิตย์ที่ 10 มกราคม 2010 เวลา 10.00–12.30 น. คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผู้จัดการแผนกคริสตศาสนธรรม ร่วมกับ คุณพ่อสุรสิทธิ์ ชุ่มศรีพันธุ์ เจ้าอาวาสอาสนวิหาร อัสสัมชัญ จัดให้มกี ารพบปะสังสรรค์ศษิ ย์เก่าผูส้ มัครเรียนคำสอนผูใ้ หญ่ ในโอกาสวันพระคริสตสมภพ และปีใหม่ ณ อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม มีผมู้ าร่วมงาน ทัง้ หมด 74 คน
อบรมพระคัมภีรส์ ญ ั จร เขต 1 วั น เสาร์ ท ี ่ 23 มกราคม 2010 ที ม งาน บุคลากรพระคัมภีรเ์ ขต 1 ร่วมกับคุณพ่อพจนารถ นิรมลทินวงศ์ ได้จัดโครงการพระคัมภีร์สัญจร เขต 1 ครัง้ ที่ 1 ณ ห้องประชุม วัดราชินแี ห่งสันติสขุ โดย คุณพ่อสมเกียรติ ตรีนิกร เป็นวิทยากร อบรมพระคั ม ภี ร ์ หั ว ข้ อ “บทเรี ย นจากต้ น ไม้ แห่งชีวิต”
แก้ไขคำผิด
สมาชิกคณะธรรมทูตไทย และคณะ นักบวชผูร้ ว่ มงานกับธรรมทูตไทย เข้าเงียบและประชุมประจำปีรว่ มกัน เมือ่ วันจันทร์ท่ี 18–วันเสาร์ท่ี 23 มกราคม 2010 สมาชิกคณะธรรมทูตไทย และคณะนักบวช ผูร้ ว่ มงานกับธรรมทูตไทย ภายใต้การนำของ คุณพ่ออาดรีอาโน เปโลซิน (PIME) อธิการคณะฯ ได้มาเข้าเงียบ และ ประชุมประจำปีรว่ มกันทีบ่ า้ นผูห้ ว่าน
8 ก.พ. 10 ก.พ. 11 ก.พ. 10-11 ก.พ. 18 ก.พ. 23-25 ก.พ. 24-25 ก.พ. 26 ก.พ. 26-28 ก.พ. 27 ก.พ.
สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีท่ี 7 ฉบับที่ 12 เดือนธันวาคม 2009 “เกร็ดความรู้คำสอน” หน้า 8 ย่อหน้าที่ 4 ข้อความเดิม ช่วงที่ 2 ค.ศ.1100-ศตวรรษที่ 1 ข้อความใหม่ ช่วงที่ 2 ค.ศ.1100-ศตวรรษที่ 16
ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนกุมภาพันธ์ 2010 พระสงฆ์เขต 3 เข้าเงียบ สว่างรีสอร์ท ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดประชุมคณะกรรมการจิตตาภิบาลเขต ฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์เขต 5 เวลา 09.00-16.30 น. ณ วัดบ้านอับราฮัม พระสงฆ์เขต 4 เข้าเงียบทีศ่ นู ย์มหาไถ่ พัทยา ประชุมคณะกรรมการบริหาร ห้องประชุม 1 บ้านผูห้ ว่าน พระสงฆ์เขต 6 เข้าเงียบ จ.อุทยั ธานี พระสงฆ์เขต 1 และเขต 2 เข้าเงียบร่วมกัน ณ บ้านหาดหฤทัย หัวหิน แผนกคริ ส ตศาสนธรรมอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ จั ด กิ จ กรรมคำสอนสั ญ จร ที ่ โ รงเรี ย นราษฎร์ บ ำรุ ง ศิ ล ป์ เวลา 08.00-15.00 น. ฟื้นฟูจิตใจคริสตชนฆราวาสหูหนวก จ.เพชรบุรี ประชุมฆราวาสเขต 3 “การเจริญชีวติ ตามพระวาจา” เวลา 08.30-17.00 น. ห้องประชุมยวงนิตโย บ้านผูห้ ว่าน ⌫⌫ ⌫
เกร็ดความรู้คำสอน
28 มีนาคม – 25 เมษายน 2010 ณ บ้านสวนยอแซฟ สามพราน
สวัสดีพน่ี อ้ งทีร่ กั เราก้าวเข้าสูเ่ ดือนทีส่ องของปี 2010 แล้ว ความสุข ความสมหวัง ทีเ่ ราหวังจะได้รบั เมือ่ ตอนปีใหม่นา่ จะ ยังคงอยูใ่ นใจของเรา ถึงแม้ทผ่ี า่ นมามีเรือ่ งทีท่ ำให้ เราต้องตกใจ โศกเศร้า โดยเฉพาะเรือ่ งแผ่นดินไหว ที่ประเทศเฮติ มีคนตาย ไร้ที่อยู่อาศัย บาดเจ็บ นับแสนๆ คน ถึงแม้เราจะไม่รจู้ กั เขาเป็นการส่วนตัว แต่เราก็ยนิ ดีทจ่ี ะร่วมทุกข์กบั พวกเขาโดยการภาวนา และบริจาคปัจจัยให้ตามทีพ่ น่ี อ้ งแต่ละวัดได้ชว่ ยกัน ด้วยความยินดี ทัง้ เรือ่ งอากาศโลกทีแ่ ปรปรวน น้ำท่วม หิมะตกมากเป็นประวัติการณ์ โคลนถล่ม ฯลฯ ดูเหมือนว่าชีวิตของเราไม่น่าจะปลอดภัยเท่าใด แต่สำหรับเราคริสตชน ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นล้วนอยู่ใน สายพระเนตรของพระเจ้าทัง้ สิน้ มีบางคนตั้งคำถามว่าทำไมภัยพิบัติจึงเกิดขึ้น อย่างต่อเนือ่ ง พระเป็นเจ้าสามารถหยุดยัง้ มันได้ไหม แล้วถ้าทำได้ทำไมพระองค์จึงอนุญาตให้สิ่งที่ไม่ดี ต่างๆ เกิดขึน้ ทำไมต้องมีแผ่นดินไหว ทำไมต้องมีคน บาดเจ็บ ทำไมต้องตาย ทำไม... พีน่ อ้ งทีร่ กั เราต้อง เข้าใจให้ดีว่าปรากฏการณ์ธรรมชาติในตัวมันเอง ไม่ใช่สิ่งที่เลวร้ายอะไรเลย ทุกวันมีฟ้าผ่า แต่เรา ไม่รสู้ กึ อะไร แต่ถา้ ฟ้าผ่าคนทีเ่ รารูจ้ กั ปรากฏการณ์ ธรรมชาติจงึ มีผลกับชีวติ ความรูส้ กึ ของเรา ไม่มใี คร โกรธฟ้า แต่เราอาลัยถึงคนทีจ่ ากไป ทุกวันมีคนตาย ทุกนาทีมคี นรับอุบตั เิ หตุ ทุกวินาทีมคี นต้องทนทุกข์... แต่เราอาจไม่รสู้ กึ อะไร เหตุการณ์ทเ่ี ป็นโศกนาฏกรรม สะเทือนใจเรา เพราะมีคนได้รบั ผลกระทบเป็นจำนวนมาก ในเวลาเดียวกันนัน่ เองอย่าลืมว่าถึงไม่มภี ยั ธรรมชาติ ก็ไม่ได้หมายความว่าผูท้ จ่ี ากเราไปจะไม่ตายวันหนึง่ ก็ต้องไปพบพระเจ้า จึงพอพูดได้ว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้น ในชีวติ ของเรา หลายครัง้ เราตัดสินมันว่าดี, ควร หรือ ไม่ด,ี ไม่ควร ด้วยความรูส้ กึ ทีม่ นั มากระทบเราเท่านัน้ เอง พีน่ อ้ งทีร่ กั สิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในชีวติ คริสตชน ของเราไม่ใช่การรอรับสิง่ ทีเ่ ราคิดว่าดี, ว่าควร จากพระเป็นเจ้า แต่เป็นการทีเ่ ราสามารถมองเห็น น้ำพระทัยของพระองค์ในทุกสถานการณ์ในชีวติ ของเรา ไม่ว่าสิ่งที่เกิดขึ้นจะดี,ไม่ดีในสายตา ของเรา อย่างไรก็ตามถ้าสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ ของเรา ถูกใจ เราก็ขอบคุณพระเป็นเจ้า ถ้าไม่กข็ อบคุณพระ เช่นกันทีพ่ ระองค์ไม่ตามใจเรา แต่ลกึ ๆ เรามัน่ ใจว่า สิ่งที่เกิดขึ้นนั้นดีต่อชีวิตเราแน่ๆ แม้ตอนนี้จะยัง ไม่เข้าใจก็ตาม ขอให้ความสุขสมหวังทีเ่ ราได้รบั จากปีใหม่ คงอยูต่ อ่ เนือ่ งในโอกาสตรุษจีนนีด้ ว้ ย ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพีน่ อ้ งทุกท่าน
คริสตชนทุกคนมีสิทธิ์ได้รับความรู้และการอบรมคำสอน เพื่อความเชื่อของพวกเขา จะได้มชี วี ติ ชีวาปรากฏออกมาให้เห็นภายนอก และบันดาลให้เกิดผลอย่างจริงจัง โดยอาศัย คำสอนทีไ่ ด้รบั และประสบการณ์ในชีวติ คริสตชน (CIC 773) พระสงฆ์เจ้าวัดจะต้องเอาใจใส่ จัดการอบรมคำสอนก่อนรับศีลศักดิส์ ทิ ธิต์ า่ งๆ เตรียมเด็กรับศีลอภัยบาป ศีลมหาสนิท และ ศีลกำลังอย่างดี โดยผ่านการอบรมคำสอนเป็นเวลานานพอสมควร (CIC 777) แผนกคริสตศาสนธรรมในฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูตฯ ได้รเิ ริม่ ตัง้ แต่ปี 1991 และเขต 1 ได้รับนโยบายของคณะกรรมการบริหารฯ ที่ขอให้แต่ละเขต จัดดำเนินการค่ายคำสอนเอง ตัง้ แต่ ค.ศ. 1999 จนถึง 2002(4 ปี) ได้ประเมินผลแล้ว (วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2002)มีความเห็น สมควรเสนอให้แผนกคริสตศาสนธรรม ในฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูตฯ รับโครงการกลับไป ดำเนินการใหม่ เพราะบรรดาเด็กและเยาวชนมาจากทุกเขตดังนัน้ ในปี 2003 จึงให้กลับเป็น งานของแผนกคริสตศาสนธรรม และทางแผนกฯ ก็ดำเนินการเป็นโครงการประจำต่อมาจนถึง ปัจจุบนั นี้ (กฤษฎีกาฯ ค.ศ. 2005 ข้อ 90-91) เนือ่ งจากบิดามารดาเป็นผูใ้ ห้ชวี ติ แก่บตุ ร พวกเขาจึงมีพนั ธะอันหนักยิง่ และมีสทิ ธิในการ อบรมเลีย้ งดูบตุ ร ดังนัน้ พ่อแม่คริสตชนจึงต้องเอาใจใส่เป็นพิเศษ ในการให้การศึกษาแบบคริสตชน แก่บตุ รตามคำสอนทีพ่ ระศาสนจักรมอบให้ (กฎหมายพระศาสนจักร มาตรา 226 วรรค 2) วัตถุประสงค์ของ “ค่ายคำสอน” 1. อบรมคริ ส ตศาสนธรรมสำหรั บ เด็ ก และ เยาวชนคาทอลิกที่บ้านอยู่ไกลวัดและไม่ได้เรียนใน โรงเรียนคาทอลิกเพือ่ เตรียมรับศีลล้างบาป ศีลมหาสนิท ศีลกำลัง และรือ้ ฟืน้ คำสัญญาแห่งศีลล้างบาป 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อ่าน เรียนรู้และรัก พระคัมภีร์ 3. ฝึกอบรมเรือ่ งการภาวนาและการดำเนินชีวติ ตามคำสอนของพระเยซูเจ้า และพระศาสนจักรคาทอลิก บุคคลเป้าหมาย นักเรียนคาทอลิก 60 คน ทีไ่ ม่ได้เรียนในโรงเรียนคาทอลิก หรือทีไ่ ม่มโี อกาส เรียนคำสอนในระหว่างปีการศึกษา - จบชัน้ ป.3 เตรียมรับศีลมหาสนิท, - จบชั้น ป.6 เตรียม รับศีลกำลัง, - จบชัน้ ม.1-ม.3 เตรียมรือ้ ฟืน้ คำสัญญาศีลล้างบาป คุณสมบัติ 1. นักเรียนคาทอลิก ชาย-หญิง อายุ 8 ปีขน้ึ ไป ถึงอายุ 15 ปี ทีไ่ ด้รบั อนุญาตจากผูป้ กครอง 2. ได้รบั รองจากพระสงฆ์ทว่ี ดั หรือนักบวช ระยะเวลา 4 สัปดาห์ ตัง้ แต่วนั อาทิตย์ท่ี 28 มีนาคม ถึง วันอาทิตย์ท่ี 25 เมษายน 2010 โดยเริม่ ลงทะเบียนรับเด็กวันอาทิตย์ท่ี 28 มีนาคม 2010 เวลา 13.00 น. - 15.00 น. และขอเชิญ ร่วมมิสซาเปิดค่ายคำสอน เวลา 15.00 น. ทีมงาน 1.บาทหลวงเอกรัตน์ หอมประทุม จิตตาธิการ 2.บาทหลวงสราวุธ อมรดิษฐ์ ผูจ้ ดั การบ้านสวนฯ 3.คุณครูสรุ ตั น์ เจริญผล นักศึกษาจากวิทยาลัยแสงธรรม สามเณรจากบ้านเณร นักบุญยอแซฟ คุณครูคำสอนจากแผนกคริสตศาสนธรรมกรุงเทพฯ และอาสาสมัคร รวม 10 คน ค่าลงทะเบียน - จบชัน้ ป.2 - 4 3,000 บาท/คน - จบชัน้ ป.5 - 6 3,500 บาท/คน - จบชัน้ ม.1 ขึน้ ไป 4,000 บาท/คน สำหรับผู้ที่ไม่สามารถชำระค่าลงทะเบียนได้ทั้งหมดให้ชำระตามความสามารถโดยได้รับ การรับรองจากพระสงฆ์ทว่ี ดั การจัดค่ายคำสอนครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนจากอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอเชิญสนับสนุนค่ายคำสอนภาคฤดูรอ้ น ปี 2010 หากท่านต้องการสนับสนุนค่ายคำสอน โปรดส่งธนาณัติ สัง่ จ่ายในนาม “บาทหลวง เอกรัตน์ หอมประทุม” ตู้ ปณ. กลาง 57 ซ.โอเรียนเต็ล บางรัก กรุงเทพฯ 10500 หรือ โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ ชื่อบัญชี “มิสซังโรมันคาทอลิก (แผนก คำสอน)” ธนาคารทหารไทย สาขาเซนต์หลุยส์ เลขทีบ่ ญ ั ชี 186-2-00002-1 หรือท่านปรารถนาจะบริจาคอาหารหรือขนมสำหรับเด็กๆ เชิญติดต่อได้ทบ่ี า้ นสวนยอแซฟ ⌫⌫ ⌫ ⌦ ⌫ ⌫ ⌫