⌫⌫ ⌫
“ ทีส่ ดุ เราก็มาถึงประเด็นสุดท้าย และเป็นประเด็น สำคัญที่สุด มีเพียงเรื่องเดียวที่พระเยซูไม่สามารถ ทำให้เราได้ พระองค์ไม่สามารถเปิดประตูดวงใจของเรา โดยทีเ่ ราไม่ยนิ ยอมพร้อมใจด้วยได้เลย พระองค์สามารถทำสิ่งอื่นๆ ที่เหลือทุกสิ่งได้ แต่พระองค์ไม่สามารถทำสิง่ นี้ เพียงสิง่ เดียวเท่านัน้ เราเป็นผู้ถือกุญแจประตู ที่เปิดมาสู่จิตใจของ เราเองและเป็นเราเพียงผูเ้ ดียวเท่านัน้ ทีจ่ ะอนุญาต ให้พระเยซูเจ้าเข้าสูช่ วี ติ ของเราได้ ” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โอกาสพิธโี ปรดศีลกำลัง เขต 2 วันอาทิตย์ท่ี 23 มกราคม 2011
ความหมายการแต่งงาน ในมุมมองของ กฎหมายพระศาสนจักร น.
วิถชี มุ ชนวัด ณ วันนี้ น. ค่ายคำสอนภาคฤดูรอ้ น
1 2
ปี 2011 น.
8
บทความ...คุณพ่อประจักษ์ บุญเผ่า
สวัสดีท่านผู้อ่านที่รักทุกท่าน ทางผู้จัดเขาขอให้พ่อช่วยเขียนอะไรเกี่ยวกับ ความรั ก ในมุ ม มองแบบกฎหมายพระศาสนจั ก ร เนื ่ อ งจากว่ า เดื อ นนี ้ เ ป็ น เดื อ น กุมภาพันธ์ ซึ่งวันที่ 14 กุมภาพันธ์นั้นตรงกับวันวาเลนไทน์หรือวันแห่งความรัก เนื่องจากพ่อมีโอกาสอบรม คู่แต่งงานบ่อยๆ จึงขอใช้โอกาสนี้ พูดถึงการแต่งงาน เพื่อความเข้าใจในมุมมองของกฎหมายพระศาสนจักร ก่ อ นที ่ จ ะพู ด ถึ ง การแต่ ง งานในมุ ม มองของกฎหมายพระศาสนจั ก ร ขออธิ บ ายเรื ่ อ งกฎหมาย พระศาสนจักรสักเล็กน้อยก่อน ประมวลกฎหมายพระศาสนจักร (Canon Law) ที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันนั้น เป็นฉบับที่ประกาศใช้เมื่อปี 1983 โดยพระสันตะปาปายอห์น ปอลที่ 2 แบ่งเป็น 7 บรรพ มี 1752 มาตรา บรรพ 4 นั้น ว่าด้วยเรื่องอำนาจบันดาลความศักดิ์สิทธิ์ของพระศาสนจักร ซึ่งมีเรื่องของศีลสมรสไว้ด้วย ก่อนทีจ่ ะอธิบายอะไรนัน้ ขอยกประมวลกฎหมายพระศาสนจักร ม. 1055 ก่อนครับ ม. 1055 วรรค 1 พันธสัญญาการแต่งงาน คือ พันธสัญญาที่ชายและหญิง นำชีวิตทั้งครบของตน มาหลอมเข้าเป็นหนึ่งเดียว ธรรมชาติของพันธสัญญานี้มุ่งสู่ความดีของคู่ชีวิตและการให้กำเนิดบุตรหลาน รวมทั้งให้การศึกษาอบรม การแต่งงานระหว่างผู้ได้รับศีลล้างบาป ได้รับการยกขึ้นจากพระคริสตเจ้า ให้มี ศักดิ์ศรีเป็นศีลศักดิ์สิทธิ์ อ่านต่อหน้า 4