สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือน มกราคม

Page 1

⌫⌫  ⌫   



“ขอให้วนั ปีใหม่นเ้ี ป็นการเริม่ ต้นชีวติ ใหม่ ชีวติ เก่าขอให้ผา่ นพ้นไป ขอให้มแี ต่ “ชีวติ ใหม่” ขอให้พน่ี อ้ งทุกท่านยึดแม่พระ เป็นแบบอย่าง นัน่ คือ รักพระเจ้าและ รักเพือ่ นมนุษย์ เพือ่ พีน่ อ้ งจะได้เป็น ที่โปรดปรานของพระเป็นเจ้า” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสฉลองวัดพระชนนีของพระเป็นเจ้า รังสิต วันศุกร์ท่ี 1 มกราคม 2010

2 น.3 น.4 น.8

พิธรี บั ผูใ้ หญ่เข้าเป็น คริสตชนคาทอลิก น.

คุณพ่อนิโคลาส แบบอย่างของพระสงฆ์ ในปีพระสงฆ์ สารอวยพรโอกาส ปีใหม่

VATICAN จิว๋ แต่แจ๋ว

“คริ ส ต์ ม าส” เป็ น เทศกาลแห่ ง ความสุ ข ความหมายของคริสต์มาส เป็นการบอกกล่าวข่าวดีให้ แก่เรา นัน่ คือ การประสูตขิ องพระเยซูคริสตเจ้า “คริ ส ต์ ม าส” เป็ น เวลาที ่ ท ำให้ เ ราทราบว่ า พระกุมารเจ้าทรงบังเกิดมาเพือ่ เป็นค่าไถ่ความผิดบาปของ มนุษย์ ช่วยเปลีย่ นฐานะทาสมาเป็นบุตรพระเจ้า “เพราะว่า พระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตร แต่องค์เดียวของพระองค์ เพือ่ ทุกคนทีว่ างใจในพระบุตรนัน้ จะไม่พนิ าศ แต่มชี วี ติ นิรนั ดร์” (ยอห์น 3:16) ขอท่านได้ตรึกตรอง เลือกสรรสิง่ ทีด่ ขี องชีวติ รูจ้ กั พระเยซู ต้อนรับพระองค์เป็นพระผูช้ ว่ ยให้รอด ของเรา เป็นของขวัญล้ำค่าของชีวติ “เราได้มา เพื่อเขาทั้งหลายจะได้ชีวิต และจะได้อย่างครบบริบูรณ์” (ยอห์น 10:10) ขอให้ความรัก ความชื่นชมยินดี และสันติสุข จงเป็นของทุกท่านตลอดเทศกาลคริสตสมภพ และปีใหม่ 2010 ขออำนวยพร พระคาร์ดนิ ลั (พระอัครสังฆราช ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู)


สัมภาษณ์

⌫

สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉบับนี้ ขอนำเสนอ พิธรี บั ผูใ้ หญ่เข้าเป็นคริสตชนคาทอลิก ซึง่ ทางศูนย์คริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้อธิบายเอาไว้อย่างละเอียด เป็นขัน้ ตอน เหมาะสำหรับสัตบุรษุ ทีส่ นใจในด้านนี้ เชิญติดตามอ่านได้เลยค่ะ เมือ่ มีผใู้ หญ่หรือเยาวชนทีส่ นใจเรียนคริสตศาสนธรรม ปรารถนาจะรูจ้ กั พระเยซูเจ้า ไม่วา่ เป็น - ผูท้ น่ี บั ถือศาสนาอืน่ - ชาวคริสต์นกิ ายอืน่ - ผูไ้ ด้รบั ศีลล้างบาปเป็นคาทอลิกแล้ว แต่ยงั มิได้รบั ศีลมหาสนิทครัง้ แรก หรือศีลกำลัง พระศาสนจักรคาทอลิกมิได้เร่งรัดให้รับศีลล้างบาป แต่ได้ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการรับผู้ใหญ่เข้าเป็นคริสตชน ให้ใช้เวลา อย่างน้อยหนึ่งปี โดยแบ่งเป็นขั้นตอน เพื่อให้ท่านมีเวลา รับการอบรมอย่างเหมาะสม ก่อนตัดสินใจ

กระบวนการรับผูใ้ หญ่เข้าเป็นคริสตชน (Rite of Christian Initiation of Adults-RCIA)

1. ระยะเวลาก่อนเรียนคำสอน “พระเจ้าทรงรัก โลกอย่างมาก จึงประทานพระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคน ที่มีความเชื่อ จะไม่พินาศ แต่จะมีชีวิตนิรันดร” (ยอห์น 3:16) หากท่านสนใจปรารถนาที่จะศึกษาชีวิตและคำสอนของพระเยซูเจ้า เชิญติดต่อกับบาทหลวง นักบวช หรือครูคำสอน ที่วัดคาทอลิกได้ทุกเมื่อ แต่ตามปกติเราเริ่มอบรมในเดือนมิถุนายน (หลังสมโภช พระจิตเจ้า) 2. พิธตี อ้ นรับผูส้ มัคร เมือ่ รับการอบรมประมาณหกเดือน จะมีพธิ ตี อ้ นรับผูส้ มัครเรียนคำสอน ในวันอาทิตย์แรกเทศกาลเตรียมรับ เสด็จพระคริสตเจ้าปลายเดือนพฤศจิกายน เพือ่ ให้พน่ี อ้ งคริสตชนในเขตวัดรูจ้ กั หาพีเ่ ลีย้ ง (Sponsor) และมอบพระคัมภีร์ 3. ระยะเวลาเรียนคำสอน ท่านจะเรียนรู้ข้อความเชื่อ พิธีกรรม แนวทางการดำเนินชีวิต และการภาวนา เพื่อให้มีความสัมพันธ์ กับพระเป็นเจ้าในองค์พระคริสต์ 4. พิธเี ลือกสรร เมือ่ ท่านรูค้ ำสอน มีความเชือ่ และปรารถนาทีจ่ ะรับศีลแห่งการเริม่ ต้นชีวติ คริสตชน ในวันอาทิตย์แรกของเทศกาล มหาพรต (ปลายเดือนกุมภาพันธ์) จะมีพธิ เี ลือกสรร ในระหว่างพิธมี สิ ซา พร้อมกับพ่อแม่อปุ ถัมภ์ (Godparent) 5. ระยะเวลาแห่งการชำระจิตใจให้บริสทุ ธิ์ อยูใ่ นช่วงเทศกาลมหาพรต เริม่ ตัง้ แต่วนั พุธรับเถ้าเป็นเวลา 40 วัน เพือ่ อ่านพระวาจา ภาวนา อดเนือ้ และทำบุญ มีพธิ พี จิ ารณาความตัง้ ใจในวันอาทิตย์ท่ี 3-4-5 ในเทศกาลนี้ (มีนาคม) 6. พิธศี ลี ศักดิส์ ทิ ธิแ์ ห่งการรับเข้าเป็นคริสตชนเช้าวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ จะมีการเตรียมตัวรับศีลศักดิส์ ทิ ธิด์ ว้ ยการภาวนา พิธสี มั ผัสหู (เอฟฟาธา) เลือกชือ่ นักบุญและเจิมน้ำมันศีลล้างบาปกลางคืนวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ ท่านจะได้รบั ศีลล้างบาป ศีลมหาสนิท และศีลกำลัง 7. ระยะเวลาเป็นคริสตชนใหม่ ช่วงเทศกาลปัสกา (เมษายน-พฤษภาคม) ต้องมาเรียนคำสอนต่อเนื่องอีก 7 สัปดาห์เพื่อร่วม พิธมี สิ ซากับพ่อแม่อปุ ถัมภ์และพีน่ อ้ งคริสตชนทุกวันอาทิตย์ และรับประสบการณ์ใหม่ในวิถชี มุ ชนวัด (Basic Ecclesial Communities)

ชุมนุมคริสตชนใหม่ระดับสังฆมณฑล และร่วมพิธบี วชพระสงฆ์ วันสมโภชพระจิตเจ้า

“เพื่อแสดงการสิ้นสุดของเวลาการสอนคำสอนแก่คริสตชนใหม่ ในตอนปลายเทศกาล ปัสกา ราวๆ วันอาทิตย์สมโภชพระจิตเจ้า ให้มงี านฉลองพร้อมกับเพิม่ ความครึกครืน้ ภายนอก ตามประเพณีของท้องถิน่ ด้วย” (RCIA 237) “ในวันครบรอบปีที่ได้รับศีลล้างบาป สมควรอย่างยิ่งที่เชิญผู้รับศีลล้างบาปใหม่ มาชุมนุมกันอีกครั้งหนึ่งเพื่อขอบคุณพระเป็นเจ้า เพื่อสนทนาแบ่งปันประสบการณ์ทางฝ่าย วิญญาณแก่กนั และกัน และเพือ่ รือ้ ฟืน้ คำมัน่ สัญญาแห่งศีลล้างบาป” (RCIA 238) “ประสบการณ์ในการทำตามขั้นตอนนี้ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทำให้เราสามารถ มีพเ่ี ลีย้ ง ในช่วงเวลาเรียนคำสอน และหาพ่อแม่อปุ ถัมภ์ชว่ ยผูส้ นใจเรียนคำสอนให้รจู้ กั สมาชิก ในชุมชน ทำให้คืนวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ มีความหมายมากยิ่งขึ้น อีกทั้งมีการอบรมต่อเนื่อง จนถึงวันชุมนุมคริสตชนใหม่ในวันสมโภชพระจิตเจ้า“ช่วยวิถีชุมชนวัดให้เป็นจริงง่ายขึ้น” และเมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 2009 (สัปดาห์ท่ี 1 เทศกาลเตรียมรับเสด็จ พระคริสตเจ้า) ทางศูนย์คริสตศาสนธรรมได้จดั พิธตี อ้ นรับผูเ้ ตรียมเป็นคริสตชน จำนวน 21 คน โดยมีพธิ มี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ เวลา 08.30 น. และมีคณ ุ พ่อสุรสิทธิ์ ชุม่ ศรีพนั ธุ์ เป็นประธาน ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ โดยมีคริสตชนมาร่วมเป็นกำลังใจให้กับบรรดาคริสตชนใหม่นี้ เป็นจำนวนมาก   ⌫⌫  ⌫   


บทความ...เรียบเรียงโดย คุณพ่อเชษฐา ไชยเดช

ชีวิตของคุ ณ พ่ อ นิ โ คลาส บุ ญ เกิ ด กฤษบำรุ ง นอกจากจะเป็น แบบอย่างที่ดีแก่พระสงฆ์แล้ว พ่อเชื่อแน่ว่าชีวิตของท่านก็เป็นแบบอย่างที่ดี ต่อพี่น้องสัตบุรุษด้วยเช่นกัน ชีวิตของคุณพ่อให้ข้อคิดแก่เราว่า 1. เราทุกคนเป็นนักบุญได้ถ้าเรามุ่งมั่น พยายาม ไม่สำคัญว่า เราเป็นใคร แต่สิ่งที่สำคัญคือเราจะทำอย่างไร ถ้าเรามองดูชีวิตของ คุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง คุณพ่อมีชีวิตที่ไม่แตกต่างจากเรา ในเรื่องของจุดกำเนิด ท่านเกิดมาในครอบครัวคริสตชน รับศีลล้างบาป เป็นเด็กนักเรียนคำสอน แม้เราจะขาดประวัติใน วัยเด็กของคุณพ่อ แต่เชื่อว่าคุณพ่อคงได้รับการอบรมอย่างดีจากครอบครัว ครอบครัวดีเป็นบ่อเกิดของกระแสเรียก คุณพ่อได้เลือกกระแสเรียกการเป็นสงฆ์ ประเด็นของกระแสเรียกอะไรคงไม่สู้สำคัญ เท่ากับที่ว่าเราดำเนินชีวิตตาม กระแสเรียกที่เราได้รับมอบหมายอย่างไร 2. ความร้อนรนในการแพร่ธรรมของคุณพ่อนิโคลาส ก่อนที่พระเยซูจะเสด็จขึ้นสวรรค์พระองค์ทรงใช้ศิษย์ของ พระองค์ให้ไปแพร่ธรรม เราพบว่าคุณพ่อมีใจร้อนรนในการแพร่ธรรมอย่างมาก แม้จะต้องเผชิญกับความยากลำบากต่างๆ แต่ทน่ี า่ พิศวงก็คอื ในคุกซึง่ เป็นสถานทีท่ ่ี ลำบาก และไม่นา่ มีหนทางจะแพร่ธรรมได้ คุณพ่อกลับทำให้นกั โทษกลับใจได้ถงึ 68 คน มันน่าคิดเพราะส่วนใหญ่เวลาเราลำบากเรามักท้อถอยหมดกำลังใจ แต่คณ ุ พ่อกลับมีพลังใจ เราจะแพร่ธรรม ได้ในทุกๆ สถานการณ์ของชีวติ ไหม? 3. พลังของคุณพ่อนิโคลาสอยู่ที่ไหน? คำตอบอยู่ที่การภาวนา คุณพ่อสวดภาวนาวอนขอความช่วยเหลือ จากพระเสมอ จึงเป็นบทสอนแก่เราด้วยเช่นกันว่า พลังในชีวิตของเรามาจากพระโดยผ่านทางการสวดภาวนา 4. ท่าทีต่อความยากลำบากของคุณพ่อโดยยอมรับน้ำพระทัยของพระในชีวิตเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เรา เวลาที่ คุณพ่ออยูใ่ นคุก คุณพ่อยอมรับว่าสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เป็นน้ำพระทัยของพระ คุณพ่ออดทน ให้อภัย ความยากลำบากเป็นการแบก กางเขนติดตามพระเยซูเจ้า เป็นการชดเชยใช้โทษบาปของเรา หลายๆ ครัง้ เราอาจจะบอกว่าคำสอนของพระเยซูเจ้ายาก และเป็นไปไม่ได้ เช่น รักศัตรู แบกกางเขนติดตามพระองค์ คุณพ่อนิโคลาสพิสจู น์ให้เราเห็นแล้วว่า ในสถานการณ์ ทีย่ ากลำบากกว่าเราด้วยซ้ำว่าคำสอนของพระเยซูเจ้าเหล่านีเ้ ป็นไปได้ 5. การเป็นมรณสักขีคอื การเป็นพยานถึงพระเยซูเจ้าด้วยชีวติ 49 ปีอาจเป็นเวลาสัน้ ๆ ของมนุษย์บางคนทีก่ อบโกย ความสุขฝ่ายกายให้กบั ชีวติ และสุดท้ายก็ตายจากโลกนีไ้ ปอย่างไร้คา่ แต่ 49 ปี กลับเป็นเวลาอันยิง่ ใหญ่และทำคุณประโยชน์ มากมายแก่เพื่อนมนุษย์และพระศาสนจักรแบบที่คุณพ่อนิโคลาสได้ให้ตัวอย่างแก่เรา เราจะเลือกใช้วันเวลาในชีวิต ของเราแบบไหน? 6. เราเคารพและให้เกียรติแก่บรรดานักบุญ เพราะชีวิตของท่านได้ร่วมส่วนในธรรมล้ำลึกปัสกาของ พระเยซูเจ้า แบบฉบับชีวิตของท่านเป็นตัวอย่างที่ดีแก่เรา และท่านอยู่บนสวรรค์และกำลังสวดภาวนาเพื่อเรา ขอคัดข้อความจากจดหมายของสังฆราชแปรอสถึงคุณพ่อเบรสซอง “พวกเราได้สญ ู เสียคุณพ่อบนแผ่นดินนี้ แต่ขา้ พเจ้า มีความหวังว่า คุณพ่อคอยช่วยเหลือพวกเราอยูบ่ นสวรรค์” ดังนัน้ จึงเป็นการดีทค่ี ริสตชนทุกคนนอกจากจะเลียนแบบ คุณงามความดีในชีวติ ของบุญราศีนโิ คลาส บุญเกิด กฤษบำรุงแล้ว เรายังสามารถสวดภาวนาวอนขอพระพรจากพระเยซูเจ้า โดยผ่านทางคำเสนอวิงวอนของท่านได้ด้วยเช่นกัน บทสรุป “ข้าพเจ้าได้ต่อสู้อย่างเต็มกำลัง ข้าพเจ้าได้แข่งขันจนถึงที่สุด ข้าพเจ้าได้รักษาความเชื่อไว้แล้ว ต่อแต่นี้ไป มงกุฎแห่งความชอบธรรมจะเป็นของข้าพเจ้า ซึ่งองค์พระผู้พิพากษาอันชอบธรรมจะทรงประทาน เป็นรางวัลแก่ข้าพเจ้าในวันนั้น และมิใช่แก่ข้าพเจ้าผู้เดียวเท่านั้น แต่จะทรงประทานแก่คนทั้งปวงที่ยินดีใน การเสด็จมาของพระองค์” (2ทธ 4:1-2) เมือ่ เราอยูต่ อ่ หน้าพระเจ้าในวันสุดท้ายของชีวติ เราจะพูดได้อย่างทีน่ กั บุญเปาโล พูดข้างต้นไหม? และเราจะเป็นลูกที่รักและสัตย์ซื่อต่อพระองค์เหมือนคุณพ่อนิโคลาสหรือเปล่า?  ⌫⌫  ⌫    


เจาะลึกพิเศษ...โดย ทีมสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

“พระวจนาตถ์ทรงรับธรรมชาติมนุษย์ และเสด็จมาประทับอยูใ่ นหมูเ่ รา” (ยอห์น1:14) “และพระวจนาตถ์ทรงรับเอากาย และมาประทับอยูท่ า่ มกลางเรา” (บทภาวนา “เทวทูต”) ทัง้ หมดเป็นเหตุการณ์ในอดีตทีไ่ ด้เกิดขึน้ และจบลงเมือ่ 2000 กว่าปีทแ่ี ล้ว พระเยซูเจ้าได้เสด็จมาบังเกิดเป็นมนุษย์ ได้ประทับอยูก่ บั มนุษย์ ได้ทรงสัง่ สอน ชีแ้ นวทางไปสวรรค์ สุดท้าย ได้ทรงปฏิบตั ภิ ารกิจอันสำคัญยิง่ คือ การไถ่บาปมนุษย์ ด้วยการสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน ได้ทรงเอาชนะบาปและความตาย ด้วยการคืน พระชนม์ชพี และเสด็จสูส่ วรรค์ ดังนัน้ การฉลองพระคริสตสมภพในแต่ละปี จึงเป็นเพียงการรำลึกถึงเหตุการณ์ในอดีตทีไ่ ด้เกิดขึน้ การฉลองพระคริสตสมภพในยุคปัจจุบัน จะต้องเป็นไปในรูปแบบใหม่ คือ ให้พระวจนาตถ์ทรงรับเอากาย ในรูปแบบใหม่ และประทับอยูท่ า่ มกลางมนุษย์ในรูปแบบใหม่ ทำอย่างไร? ก็คอื ให้พระวจนาตถ์หรือพระวาจาของพระเยซูคริสตเจ้า ซึง่ เป็นองค์พระเยซูเจ้าเอง รับเอากาย ก็คอื เป็นเลือด เป็นเนือ้ เป็นชีวติ โดยการทีค่ ริสตชนแต่ละคนพยายามหมัน่ ศึกษาเรียนรูพ้ ระวาจา และนำพระวาจาเหล่านัน้ ไปปฏิบตั ใิ น ชีวติ ประจำวัน ด้วยความพากเพียรอดทน ไม่ทอ้ ถอย เพือ่ ให้พระวาจานัน้ ซึมซับเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ของเรา ชีวติ ของเรา จะค่อย ๆ เปลีย่ นแปลงไป ละม้ายคล้ายคลึงกับพระเยซูเจ้ามากขึน้ ทีละเล็กทีละน้อย จนทุกคนทีไ่ ด้เห็นเรา ก็จะรูส้ กึ ว่า ได้เห็นพระเยซูเจ้า และนัน่ คือ พระวจนาตถ์ได้รบั เอากายในรูปแบบใหม่ ในชีวติ ของเรา ตรงกับทีพ่ ระเยซูเจ้าได้สญ ั ญาไว้ ในยอห์น บทที่ 14 ข้อ 23 “ผูใ้ ดรักเรา ผูน้ น้ั จะปฏิบตั ติ ามวาจาของเรา พระบิดาของเราจะทรงรักเขา พระบิดา จะเสด็จพร้อมกับเรามาหาเขา จะทรงพำนักอยูก่ บั เขา” “God in us” การพยายามปฏิบตั ดิ งั กล่าว ยังทำให้คำสัญญาอีกข้อหนึง่ ของพระเยซูเจ้าเกิดเป็นจริงขึน้ มา คือ เราทำให้พระเยซูเจ้า “... อยูก่ บั เราทุกวันตลอดไปตราบจนสิน้ พิภพ” (มัทธิว 28:20) ขอให้การฉลองพระคริสตสมภพปีนี้ เป็นการฉลองที่มีความหมายที่สุดสำหรับชีวิตคริสตชนของเรา โดยให้ พระเยซูเจ้ามาบังเกิดในชีวติ จริงๆ ของเรา ผ่านทางการปฏิบตั พิ ระวาจาในแต่ละวัน (คุณพ่อสานิจ สถะวีระวงส์) อุปสังฆราช อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

พีน่ อ้ งคริสตชน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ฯ ทีเ่ คารพรัก ด้วยความรักและความห่วงใยอันไม่รสู้ น้ิ สุดของพระเจ้า พระองค์สญ ั ญาว่าจะช่วย มนุษย์ให้รอด ดังนัน้ วันนีจ้ งึ เป็นวันทีพ่ ระสัญญาของพระเจ้าเป็นจริงในโลกของเรา พระเจ้าประทานพระบุตรสุดทีร่ กั ของพระองค์ให้แก่เรา และโดย “เดชะพระเมตตากรุณา ของพระเจ้าของเรา พระองค์จะเสด็จมาเยี่ยมเราจากเบื้องบน ดังแสงอรุโณทัยส่อง แสงสว่างให้ทกุ คนทีอ่ ยูใ่ นความมืดและในเงาแห่งความตาย เพือ่ จะนำเท้าของเราให้ ดำเนินไปตามทางแห่งสันติสขุ ” (ลก. 1:78-79) ให้เราชืน่ ชมยินดีเถิด ในนามของสมาชิกชมรมอธิการิณเี จ้าคณะแห่งประเทศไทยและลาว รวมทัง้ นักบวชหญิงทุกคน ขอมอบ ความปรารถนาดี สันติ ปีตสิ ขุ เต็มเปีย่ มในจิตใจ และพระพรซึง่ พระเยซูเจ้า “แม้วา่ พระองค์ทรงมีธรรมชาติพระเจ้า พระองค์ก็มิได้ทรงถือว่าศักดิ์ศรีเสมอ พระเจ้านั้น เป็นสมบัติที่จะต้องหวงแหน แต่ทรงสละพระองค์จนหมดสิ้นทรงรับ ่ี ระองค์ สภาพดุจทาส เป็นมนุษย์ดจุ เรา ทรงแสดงพระองค์ในธรรมชาติมนุษย์” (ฟป. 2:6-7) พระหรรษทานบริบรู ณ์ทพ ทรงนำมาสูพ ่ วกเราประทับอยูก่ บั พีน่ อ้ งทุกท่าน พร้อมทัง้ ครอบครัว และมิตรสหายของท่าน ตลอดเทศกาล พระคริสตสมภพและตลอดปีใหม่ ค.ศ.2010 เทอญ “อิมมานูเอล พระเจ้าสถิตอยูก่ บั เรา” (เซอร์ไอรีน ชำนาญธรรม) ประธานชมรมอธิการิณเี จ้าคณะแห่งประเทศไทยและลาว   ⌫⌫  ⌫   


คงไม่ต้องบรรยายเหตุการณ์คริสต์มาสครั้งแรกในประวัติศาสตร์มนุษย์ชาติ หรือย้ำถึงข้อความเชือ่ และรหัสธรรมนีใ้ นชีวติ คริสตชน ทีร่ บั การถ่ายทอดมาถึงเรา ผ่านรูปแบบและบุคคลต่างๆ แต่ก็อยากให้เราได้พิจารณาถึงความหมายแก่นแท้ ของคริสต์มาส และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน เป็นพระเจ้าผูท้ รงสรรพานุภาพ มาบังเกิดเป็นมนุษย์และอยู่ท่ามกลางเรา พระองค์เข้ามามีส่วนร่วมในวิถีชีวิต ของเรา มาให้ความหมายและเป้าหมายที่แท้จริงของชีวิต มารักษาบาดแผล ร่วมทุกข์รว่ มสุขและปัญหาต่างๆ มาชีแ้ นะแนวทางใหม่ พร้อมฝากภารกิจคนละไม้ คนละมือให้รว่ มกันสร้างพระอาณาจักรของพระเจ้าบนโลกนีเ้ ป็นพระองค์เองทีย่ งั เข้ามาในโลกและในชีวติ ของเราตลอดเวลา หากเรามองข้ามสาระสำคัญของคริสต์มาสนี้ไป การเฉลิมฉลองก็คงไร้ค่าและไม่เหลืออะไรให้เป็นแก่นสาร ที่แท้จริงให้กับชีวิต หากคริสตชนเราสาละวนเร่งรีบกับการจับจ่ายใช้สอยวัสดุอุปกรณ์ ที่ต้องมีต้องใช้ในคริสต์มาสนี้ วุ่นวายกับการประดับตกแต่ง สร้างบรรยากาศ สีสันและความรื่นเริงภายนอก โดยมิได้หยุดคิดและเข้าถึงหัวใจของ คริสต์มาสอย่างแท้จริง โดยเฉพาะความรัก การแบ่งปัน การกลับคืนดีกับพระเป็นเจ้า และเพื่อนพี่น้อง ไปมุ่งเน้น ความบันเทิงและเห็นเป็นเพียงกิจกรรมหนึง่ ทีม่ าแล้วก็ผา่ นไป อยากให้เราบูรณาการคริสต์มาสเข้ามาในชีวิตในช่วงสิ้นปีนี้เพื่อรับปีใหม่ ทั้งการฉลองและเข้าถึงข่าวประเสริฐ ของคริสต์มาส (Message) ตามความเชือ่ ดัง้ เดิม ประเมินคนเอง พร้อมทัง้ จริงใจทีจ่ ะปรับปรุงวิถชี วี ติ และคุณภาพชีวติ เพื่อจะได้เป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว หมู่คณะและของสังคม ตระหนักว่าพระเจ้าอยู่กับเรา เราเป็นทรัพยากรที่มี คุณค่าของพระองค์ รู้จักประเมินและวางแผนภารกิจการงานตามภาระหน้าที่ตามจิตตารมณ์คริสต์มาส คิดถึง การมีสว่ นสร้างสรรค์ความดีงามให้กบั ส่วนรวม มีสว่ นสร้างความยุตธิ รรม สันติภาพ ความปรองดอง สมานฉันท์ มีสว่ น คืนกำไรให้กบั ส่วนรวม และให้สง่ิ ทีเ่ ป็นมงคลแก่บคุ คลทีเ่ ราสัมผัสและติดต่อ นีค่ อื การฉลองคริสต์มาสทีเ่ ป็นจริง ยัง่ ยืนและต่อเนือ่ งในชีวติ นีค่ อื จิตตารมณ์ของเราคริสตชนผูท้ เ่ี ข้าใจคริสต์มาส และมีสว่ นร่วมเก็บรักษาประเพณีและความเชือ่ นีใ้ ห้ยนื นานต่อไป (ภราดาศิรชิ ยั ฟอนซีกา) ประธานสหพันธ์อธิการเจ้าคณะนักบวชในประเทศไทย

ฝ่ายงานอภิบาลฯ ของอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เชิญชวนให้ผมในฐานะ ฆราวาสคนหนึง่ ได้เขียนสารอวยพรโอกาสวันขึน้ ปีใหม่ และผมลงมือเขียนสารฉบับนี้ ในช่วงเวลาที่พวกเราคริสตชนกำลังเตรียมจิตใจเพื่อรับเสด็จพระคริสตเจ้า เป็นวันอาทิตย์สปั ดาห์ท่ี 2 ของเทศกาลเตรียมรับเสด็จฯ ต้องขอยอมรับว่า ผมไม่คุ้นกับชื่อของประกาศก บารุค ที่พระศาสนจักร นำข้อความตอนหนึ่งในหนังสือของท่าน (บรค 5:1-9) มาเป็นบทอ่านที่หนึ่ง ห้ามใจไม่ได้ทต่ี อ้ งค้นหาข้อมูลเกีย่ วกับท่าน และทำให้ได้ทราบว่า ท่านเป็นผูช้ ว่ ย ประกาศกเยเรมีย์ ซึ่งเป็นประกาศกผู้ยิ่งใหญ่และเป็นชื่อที่เราคุ้นหูมากกว่า บารุค มองไปข้างหน้าด้วยความหวัง มองไปยังวันเวลาของชาวยิวที่พลัดพรากจากบ้านเกิดเมืองนอนจะได้กลับคืนสู่ถิ่นเดิม จะมีชีวิตที่ดีขึ้น เยรูซาเล็ม จะเป็นนครแห่ง “สันติจากความชอบธรรม” เต็มไปด้วยผูร้ กั และยำเกรงพระเจ้า ขอให้พระวาจาของพระเจ้าตอนนี้ เป็นพระพรและความหวังสำหรับทุกท่านในโอกาสปีใหม่ 2010 พระพร สำหรับชีวิตที่ดีขึ้นของเราในปีใหม่นี้ พระพรแห่งความหวังว่าโลกและประเทศไทยจะมีความสงบสุข เกิดสันติ จากความชอบธรรม ขอภาวนาให้ทุกท่านมีพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ เพื่อจะได้รักและรับใช้พระเจ้าได้อย่าง เต็มทีเ่ สมอไป ชัยณรงค์ มนเทียรวิเชียรฉาย ทีป่ รึกษา สภาสือ่ สารมวลชน-วาติกนั  ⌫⌫  ⌫    


บอกข่าวเล่าสาร     

พิธตี น่ื เฝ้าโอกาสเฉลิมศกสังฆภาพ สุวรรณสมโภช พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู วั น ศุ ก ร์ ท ี ่ 18 ธั น วาคม 2009 หลั ง จากที ่ ไ ด้ ม ี ก ารชุ ม นุ ม เยาวชน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ในช่วงเช้า แล้วนั้น ช่วงค่ำได้มีพิธีตื่นเฝ้า เวลา 19.00-21.00 น. โดยมี พ ระอั ค ร สังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธาน ในพิธตี น่ื เฝ้า มี บ รรดาเยาวชนและนั ก บวชต่ า งๆ พร้อมด้วยผูส้ นใจเข้าร่วมเป็นจำนวนมาก ณ ศาลาเซนต์ไมเกิล้ บ้านผูห้ ว่าน

เฉลิมศกสังฆภาพ สุวรรณสมโภชพระคาร์ดินัล ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม 2009 อัครสังฆมณฑล ร่วมใจกันจัดงานเฉลิมศก สังฆภาพ สุวรรณสมโภช 50 ปี ชีวติ สงฆ์ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู ณ บริเวณสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน จ.นครปฐม มีพระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวชชายหญิง และสัตบุรษุ มาร่วมเป็นจำนวนมาก

ฉลองวัดพระวิสทุ ธิวงส์ ลำไทร วันเสาร์ท่ี 26 ธันวาคม 2009 เวลา 10.30 น. พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสฉลองวัดพระวิสุทธิวงส์ ลำไทร พร้อมด้วยพระสงฆ์จำนวน 28 องค์ และสัตบุรษุ ในบรรยากาศแบบครอบครัว

เจ้าหน้าทีร่ ว่ มคำนับพระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสพระคริสตสมภพและสวัสดีปใี หม่ วันจันทร์ที่ 14 ธันวาคม 2009 เวลา 09.00น. เจ้าหน้าทีส่ ภาพระสังฆราชและเจ้าหน้าทีอ่ คั รสังฆมณฑล กรุงเทพฯ กว่า 100 คน ร่วมคำนับ พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช และคุณพ่อ สานิจ สถะวีระวงส์ อุปสังฆราช โอกาสพระคริสตสมภพ และปีใหม่ โดยมีคุณพ่อ และซิสเตอร์ที่ทำงานใน หน่วยงานต่างๆ ณ ห้องใต้ดนิ สำนักมิสซัง

ฉลองวัดพระชนนีของพระเป็นเจ้า รังสิต วันที่ 1 มกราคม 2010 พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็น ประธานในพิ ธ ี ม ิ ส ซาบู ช าขอบพระคุ ณ โอกาสฉลองวั ด พระชนนี ข องพระเป็ น เจ้ า รั ง สิ ต ร่วมกับพระสงฆ์จำนวน 17 องค์ และสัตบุรษุ จำนวนมาก พระอัครสังฆราชเกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิชเยี่ยมเยียนเด็ก บ้านหทัยการุณย์ จังหวัดฉะเชิงเทรา วันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม 2009 พระอั ค รสั ง ฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เยี่ยมเยียนเด็ก ที่ศูนย์สงเคราะห์เด็กบ้านหทัยการุณย์ จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยมีซิสเตอร์สุพรรณวดี (ผู้ดูแล) ให้การต้อนรับและพูดคุย กับพระคุณเจ้า รวมทัง้ ได้พดู คุยกับบรรดาเด็กๆ กว่า 30 คน

  ⌫⌫  ⌫   


พิธเี ปิดเสกศาลาเซนต์รอ็ ค วันพฤหัสบดีท่ี 24 ธันวาคม 2009 พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธเี ปิดเสกศาลาเซนต์รอ็ ค ณ วัดเซนต์รอ็ ค ท่าไข่ และได้เชิญนายก อบต.มาร่วมงาน โดยมีคณ ุ พ่อวรวุฒิ กิจสุกล เจ้าอาวาสวัดเซนต์รอ็ ค ซิสเตอร์ครูใหญ่และคณะครูโรงเรียนดาราสมุทร ร่วมเปิดศาลาในวันนี้ด้วย

ฉลอง 72 ปีโรงเรียนมาเรียลัย วันศุกร์ที่ 4 ธันวาคม 2009 พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานเปิดงานฉลอง 72 ปีโรงเรียนมาเรียลัย พร้อมด้วยพระสงฆ์ คณะครูและนักเรียนโรงเรียนมาเรียลัยให้การต้อนรับ

พระอัครสังฆราชเกรียงศักดิ์ เยี่ยมเยียน ผู้สูงอายุ ที่ศูนย์อภิบาลผู้สูงอายุและเด็ก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ พระอั ค รสั ง ฆราชฟรั ง ซิ ส เซเวี ย ร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ได้เยีย่ มเยียนบรรดา ผู้สูงอายุ ณ ศูนย์อภิบาลผู้สูงอายุและเด็ก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ บ้านพระวิสุทธิวงส์ ปทุมธานี เมือ่ วันที่ 26 ธันวาคม 2009 ทีผ่ า่ นมา โดยมีมาเซอร์ อากาทา นงค์สวัสดิ์ (ผูด้ แู ล) พร้อมด้วยผู้สูงอายุจำนวนหนึ่งร่วมให้การ ต้อนรับ

ครูคำสอนบุญยาตราสูส่ องคอน คุ ณ พ่ อ เอกรั ต น์ หอมประทุ ม ผู ้ จ ั ด การ แผนกคริสตศาสนธรรม ฝ่ายอภิบาล อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ พร้อมกับเจ้าหน้าที่ในแผนกฯ จำนวน 2 ท่าน จัดโครงการครูคำสอนบุญยาตราสู่สองคอน ณ สักการสถานบุญราศีทง้ั เจ็ดแห่งสองคอน ต.ป่งขาม อ.หว้านใหญ่ จ.มุกดาหาร เมื่อวันที่ 4-6 ธันวาคม ค.ศ.2009 รวมทัง้ หมด 38 ท่าน

ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนมกราคม 2010 4-8 ม.ค. 10 ม.ค. 12 ม.ค. 15-17 ม.ค. 16 ม.ค. 17ม.ค. 18-19 ม.ค. 19 ม.ค. 21-22 ม.ค. 24 ม.ค. 25 ม.ค. 26 ม.ค. 26-27 ม.ค. 31 ม.ค.

ฟื้นฟูจิตใจพระสงฆ์ประจำปี ห้องประชุมยวงนิตโย บ้านผู้หว่าน แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดชุมนุมคริสตชนใหม่ เวลา 11.00 น. ณ อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม ฉลองคุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง ณ สักการสถานบุญราศี วัดนักบุญเปโตร สามพราน เวลา 18.00 น. ศึกษาข้อความเชื่อศาสนาคาทอลิกและโปรแตสแตนท์ ณ บ้านผู้หว่าน ประชุมศาสนสัมพันธ์และคริสตศาสนจักรสัมพันธ์ เขต 1 เวลา 10.00 น. ณ อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม บรรยายศาสนสัมพันธ์ โดยคุณพ่อสมเกียรติ บุญอนันตบุตร ณ วัดดวงหทัยนิรมลของแม่พระ ปากลัด เวลา 10.00-12.00 น. ฝ่ายสังคมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประชุมศูนย์สงั คมพัฒนา ห้องประชุม 2 บ้านผูห้ ว่าน เวลา 08.30-16.30 น. ประชุมคณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ ครอบครัว ห้องประชุม 8 บ้านผูห้ ว่าน เวลา 08.30-16.30 น. ประชุมสภาการศึกษาคาทอลิกแห่งประเทศไทย ณ ห้องประชุมยวงนิตโย บ้านผู้หว่าน เวลา 07.00-18.30 น. วันภาวนาเอกภาพสากล ณ โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียน เวลา 14.00 น. ประชุมฆราวาสอาสาสมัครประกาศข่าวดีประจำวัด (PMG) ห้องประชุม 3 บ้านผูห้ ว่าน เวลา 08.30-16.30 น. แผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมจัดกิจกรรมงานวิชาการเขต 6 ที่โรงเรียนแม่พระประจักษ์ สองพี่น้อง ประชุมคณะกรรมการคาทอลิกเพือ่ คริสตศาสนธรรม ปีค.ศ.2010 ห้องประชุม 1 บ้านผูห้ ว่าน เวลา 08.30-12.00 น. ชุมนุมยุวธรรมทูต อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ สร้างศิษย์ติดตามพระคริสตเจ้า ณ โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา เวลา 08.30-12.00 น.  ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรู้คำสอน  

สวัสดีปใี หม่ 2553 ครับพีน่ อ้ งทีร่ กั ช่วงปลายปีเป็นเวลาของการฉลองไม่ว่า จะเป็นฉลองคริสต์มาส และต่อเนื่องด้วยการ ฉลองปีใหม่ บรรยากาศการฉลองปีใหม่เต็มไป ด้วยความยินดี การจัดงานเลีย้ งฉลอง งานรืน่ เริง การเคาท์ดาวน์ ฯลฯ ซึ่งเห็นได้ทั่วไป ผู้คนต่าง หวังว่าจะมีสง่ิ ดีๆ เข้ามาในชีวติ และขอให้สง่ิ ที่ ไม่ดีผ่านไปกับปีเก่า จึงไม่น่าแปลกใจที่จะมี บรรยากาศแห่งความสุข เพราะมีหวังจะได้ อนาคตที่ดีกว่านั่นเอง เราคริสตชนก็รว่ มฉลองในอากาสน่ายินดีน้ี เช่นกัน แต่สำหรับเราคริสตชน การฉลองปีใหม่ ไม่ใช่เพียงแค่งานรืน่ เริง สนุกสนาน สนุกสุดเหวีย่ ง เพราะเราทราบดีวา่ ทีจ่ ริงแล้วทุกวันล้วนมีพระพร ของพระที่ให้แก่เราสุดๆ อยู่แล้ว เราร่วมฉลอง ต้นปีด้วยการสมโภชพระชนนีของพระเป็นเจ้า นี ่ ถ ื อ ว่ า เป็ น สิ ่ ง ที ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด ที ่ ค ริ ส ตชนคนหนึ ่ ง สามารถทำได้ในวันต้นปี เป็นการฝากชีว ิต ของเราตลอดปีใหม่นี้แก่พระเป็นเจ้า โดยผ่าน ทางแม่พระนั่นเอง ดอกไม้ไฟที่สุดอลังการ งานเลี้ยงรื่นเริง บรรยากาศแห่ ง การฉลอง ฯลฯ...ก็ ผ ่ า นไป เราพบว่าชีวิตของเราก็กลับสู่ครรลองของมัน เหมือนเดิมความสุขฉาบฉวยมันช่างผ่านไป อย่างรวดเร็วเสียจริง หลังจากนี้หลายคนคง ต้องเปิดปฏิทนิ หาวันหยุดครัง้ ต่อไป จะได้มโี อกาส ฉลองเพือ่ ให้ได้ความสุขแบบนีอ้ ีกไม่รู้สิ้นสุด พี่น้องที่รัก ความยินดีของเราคริสตชน ยังคงอยู่ในจิตใจเสมอ ทุกครั้งที่เราร่วมใน พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ การสวดภาวนา ประจำวั น ของเรา เรามั ่ น ใจว่ า พระเป็ น เจ้ า ประทั บ อยู ่ ก ั บ เรา อวยพรเรา จั ด หาสิ ่ ง ดี ๆ ให้ เ ราเสมอ เราจึ ง ยิ น ดี ไ ด้ ท ุ ก วั น ทุ ก เวลา ทุ ก นาที ชี ว ิ ต ที ่ เ หลื อ อยู ่ ค ื อ พระพรของพระ ที ่ ป ระทานให้ แ ก่ เ รา โดยไม่ ค ิ ด มู ล ค่ า อะไร ปีใหม่สำหรับเราคริสตชนจึงเป็นการขอบพระคุณ พระเจ้าทีร่ กั เราตลอดมา และตอกย้ำตัวเราเอง ว่าพระเป็นเจ้ายังคงรักเรา อวยพรเรา ให้สง่ิ ดีๆ แก่เราเสมอโดยเฉพาะตลอดปีใหม่ 2553 นี้ ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพี่น้องทุกท่านครับ

หากจะยกตัวอย่างถึงคำว่า “จิว๋ แต่ แจ๋ว” เชือ่ ว่า “วาติกนั ” น่าจะเป็นตัวอย่าง ทีเ่ ห็นได้ชดั ทีส่ ดุ เพราะ “นครวาติกนั ” เป็น รัฐอิสระที่เล็กที่สุดในโลก มีพื้นที่เพียง 0.44 ตารางกิโลเมตร ตัง้ อยูภ่ ายในกรุงโรม ของประเทศอิตาลี แต่ในพืน้ ทีเ่ ล็กๆ ไม่ถงึ หนึง่ ตารางกิโลเมตรนี้กลับเต็มไปด้วยศิลปะและสถาปัตยกรรมที่สวยงามมีคุณค่ามากมาย ทำให้นกั ท่องเทีย่ วต้องใช้เวลาชืน่ ชมเป็นวันๆ ภายในนครเล็กๆ แต่ลำ้ ค่าแห่งนี้ นครวาติกนั ถือเป็นดินแดนศักดิส์ ทิ ธิ์ เพราะเป็นทีป่ ระทับของสมเด็จพระสันตะปาปา ประมุขสูงสุดของศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก และเป็นผู้ทรงอำนาจสูงสุดใน นครรัฐวาติกัน ทั้งทางด้านนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ โดยสมเด็จพระสันตะปาปา องค์ปจั จุบนั คือ “สมเด็จพระสันตะปาปาเบเนดิกต์ท่ี 16” ซึง่ ทรงได้รบั เลือกตัง้ และทรงเข้า พิธรี บั ตำแหน่งเมือ่ เดือนเมษายน พ.ศ. 2548 นีเ่ อง ตามปกตินครรัฐวาติกนั ก็เป็นจุดมุง่ หมายของนักท่องเทีย่ วหลายล้านคนอยูแ่ ล้ว และยิง่ เมือ่ มีภาพยนตร์เรือ่ ง Angels&Demons หรือเทวากับซาตาน ทีม่ เี นือ้ หาแทบทัง้ เรือ่ งเกีย่ วข้อง กับวาติกนั ฉายออกไป ก็ยง่ิ ทำให้ใครหลายๆ คนอยากไปสัมผัสนครวาติกนั ด้วยตนเอง อาณาเขตของนครรัฐวาติกนั นัน้ ประกอบไปด้วยวังวาติกนั ซึง่ หมายรวมถึงมหาวิหาร เซนต์ปีเตอร์ พิพิธภัณฑ์วาติกัน หอสมุดวาติกัน และที่ประทับของพระสันตะปาปา นอกจากนัน้ ก็ยงั มีวงั กัสเตลกันดอลโฟ (Castelgandolfo) ซึง่ เป็นทีป่ ระทับฤดูรอ้ น มหาวิหารเซนต์ปเี ตอร์ (Basilica of Saint Peter) เป็นสิง่ ก่อสร้างทีม่ ขี นาดใหญ่ทส่ี ดุ และสำคัญทีส่ ดุ ในนครรัฐวาติกนั มหาวิหารแห่งนีส้ ร้างทับวิหารหลังเดิม ซึง่ เชือ่ กันว่าเป็นทีฝ่ งั พระศพของนักบุญเปโตร อัครสาวกที่มีความสำคัญที่สุดท่านหนึ่งของพระเยซูคริสตเจ้า และยังเป็นพระสันตะปาปาองค์แรก จึงเป็นประเพณีต่อมาที่พระศพของพระสันตะปาปา องค์ตอ่ ๆ มาก็จะฝังไว้ทน่ี ด่ี ว้ ยเช่นกัน และเมือ่ ได้เข้าไปด้านในมหาวิหาร ก็จะได้พบกับความอลังการของตัววิหารและการ ตกแต่งภายใน อันเป็นผลงานการออกแบบและสร้างสรรค์ของมีเกลลันเจโล หรือไมเคิล แองเจโล จิตรกร ประติมากร และสถาปนิกชั้นเอกของอิตาลี ผู้มีส่วนสำคัญในการสร้าง มหาวิหารเซนต์ปีเตอร์แห่งนี้ โดยเฉพาะส่วนที่เป็นยอดโดมของมหาวิหารอันงดงาม เป็นเอกลักษณ์สามารถเห็นได้แต่ไกลในตัวเมืองโรม นอกจากนั้น ภายในวิหารก็ยังมีผลงานชิ้นเอกของเขา นั่นก็คือ “ปีเอต้า” (Pieta’) ประติมากรรมหินอ่อนขนาดสูง 5 ฟุต 9 นิว้ รูปพระนางมารียป์ ระทับนัง่ บนแท่นหิน บนตักมี พระศพของพระเยซูทถ่ี กู นำลงจากไม้กางเขนพาดอยูบ่ นตัก เป็นประติมากรรมทีม่ เิ กลลันเจโล สร้างขึน้ ตามสัญญาว่าจ้างจากสำนักวาติกนั เพือ่ ให้มาประดิษฐานทีม่ หาวิหารเซนต์ปเี ตอร์ รูปแกะสลักชิน้ นีใ้ ช้เวลาสร้างถึง 7 ปี ในขณะทีม่ เี กลันเจโลอายุเพียง 25 ปีเท่านัน้ แต่ผทู้ ไ่ี ด้ชม ต่างก็พดู เป็นเสียงเดียวกันว่านีค่ อื เป็นรูปสลักหินอ่อนทีม่ คี วามงดงามและสมจริงอย่างน่ามหัศจรรย์ เข้าไปภายในมหาวิหารก็มสี ง่ิ ทีน่ า่ สนใจอย่าง ซุม้ St. Peter’s Baldachin งานทองสำริด ทีใ่ หญ่ทส่ี ดุ ในโลก ผลงานของ แบร์นนิ ี ประติมากรและสถาปนิกคนดังแห่งอิตาลีอกี คนหนึง่ ซุ้มสำริดนี้ตั้งโดดเด่นอยู่ในมหาวิหารเซนต์ปีเตอร์ ตั้งอยู่เหนือจุดที่เป็นที่ฝังพระศพของ นักบุญเปโตร เมือ่ มาทีว่ าติกนั แล้วต้องไม่พลาดชม “พิพธิ ภัณฑ์วาติกนั ” เพือ่ ชมงานศิลปะทีส่ ะสม มาเป็นเวลาหลายร้อยปี จัดแสดงตามช่วงเวลาตามยุคของคริสต์ศาสนา ตัง้ แต่สมัย Greek &Roman จนมาถึง Early Christian การมาชมพิพธิ ภัณฑ์แห่งนีต้ อ้ งเผือ่ เวลาไว้มากๆ เพราะ นอกจากพิพิธภัณฑ์จะกว้างใหญ่หลายห้องแล้ว งานศิลปะแต่ละชิ้นก็ล้วนแต่เป็นผลงาน ชัน้ ครูทง้ั สิน้ โดยห้องแสดงศิลปะทีโ่ ดดเด่นก็เช่น “ห้องราฟาเอล” ชมภาพ The School of Athens ผลงานของราฟาเอล ทีม่ ภี าพใบหน้าของผูว้ าดเองปะปนอยูใ่ นกลุม่ นักปราชญ์กรีก ในภาพด้วย ภาพนีถ้ กู แสดงอยูท่ ่ี Room of Segnatura ซึง่ เป็นห้องหนึง่ ในห้องราฟาเอล กระนัน้ ก็ดี สิง่ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ของ นครรัฐวาติกนั ไม่ใช่เป็นศูนย์กลางแห่งศิลปะแขนงต่างๆ แต่เป็น “ศูนย์กลางแห่งความเชือ่ ” ความเชือ่ ทีว่ า่ พระเยซูคริสตเจ้าได้ทรงบังเกิดมาเป็น มนุษย์ ทรงประกาศข่าวดีแห่งความรอดเรือ่ งอาณาจักรสวรรค์ ทรงสิน้ พระชนม์ และเสด็จ กลับคืนพระชนม์ชพี และนีค่ อื “วาติกนั ... จิว๋ แต่แจ๋ว”              ⌫⌫             ⌫ ⌦                         ⌫  ⌫              ⌫            


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.