สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉบับเดือนมกราคม

Page 1

⌫⌫  ⌫   



“ในเทศกาลปัสกา ครอบครัวศักดิส์ ทิ ธิไ์ ปปฎิบตั ศิ าสนกิจ ที่พระวิหารตามปกติเป็นประจำทุกปี อย่างที่ครอบครัวชาวยิวที่ศรัทธา พึงปฏิบตั แิ สดงให้เห็นถึงสำนึก ของแม่พระและนักบุญยอแซฟ ในการอบรมลูกด้านศาสนาด้วยการปฏิบตั ิ ศาสนกิจทีพ่ อ่ แม่ทำร่วมกันพร้อมลูก” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โอกาสฉลองวัดเซนต์จอห์น ครบรอบ 25 ปี วันอาทิตย์ท่ี 26 ธันวาคม 2010

วิถีชุมชนวัด เพื่อพระคริสตเจ้า น.

10 ปี แห่งการสถาปนา บุญราศี นิโคลาส

บุญเกิด กฤษบำรุง น.

1

2

ครอบครัวศักดิ์สิทธิ์ ครอบครัวคริสตชน น.

8

บทความ...แผนกวิถชี มุ ชนวัด

พีน่ อ้ งทีร่ กั ในสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือนกันยายน ค.ศ. 2010 เราได้มาทำความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับคำว่า “BEC” ซึ่งน่าจะแปลว่า “ชุมชนคริสตชนพืน้ ฐาน” หรือ “ชุมชนคริสตชนย่อย” หรือ “วิถชี มุ ชนวัด” นอกจากนี้ ในสารอัครสังฆมณฑลฯ เดือนตุลาคม ค.ศ.2010 เรายัง ได้รับรู้ร่วมกันถึงคำว่า “AsIPA” ซึ่งหมายถึง “กระบวนงานด้านอภิบาล” ที่ส่งเสริมการเป็น “วัดที่ทุกคนมีส่วนร่วม (ฆราวาส นักบวช พระสงฆ์)” เป็นวัดที่ “เป็นชุมชนที่เป็นหนึ่งเดียวกัน” และเป็น “วัดที่เป็นประจักษ์พยานถึงองค์พระคริสตเจ้าผู้กลับคืนชีพ” ตามเจตนารมณ์ ของสหพันธ์สภาพระสังฆราชแห่งเอเชียที่ได้ดำริไว้ ณ เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซีย ในปี ค.ศ.1990 สรุ ป ได้ ว ่ า พระศาสนจั ก รปรารถนาให้ ว ั ด ของเราทุ ก ๆ วั ด เป็ น วั ด ที ่ ท ุ ก คนมี ส ่ ว นร่ ว ม เป็ น หนึ ่ ง เดี ย วกั น และเป็ น ประจักษ์พยานถึงองค์พระเยซูเจ้า มีพระองค์เป็นศูนย์กลาง โดยเฉพาะในพระวาจาและศีลมหาสนิท เพื่อจะให้เป้าหมายนี้ ประสบความสำเร็จ พระศาสนจักรแนะนำให้ฟน้ื ฟูคริสตชนเป็นกลุม่ ย่อย (BEC) และในบริบทของทวีปเอเชียสหพันธ์สภาพระสังฆราช แห่งเอเชีย ได้เสนอให้คริสตชนย่อย (BEC) ใช้กระบวนงานด้านอภิบาล (AsIPA) เป็นเครือ่ งมือในการฝึกอบรม (หลักสูตรมี 4 ภาค คื อ 1.การแบ่ ง ปั น พระวาจา (7 ขั ้ น ตอน) 2.ชุ ม ชนคริ ส ตชนย่ อ ย 3.พระศาสนจั ก รที ่ ท ุ ก คนมี ส ่ ว นร่ ว ม 4.การฝึ ก อบรม สำหรับทีมงานอภิบาลของวัด ซึ่งฝ่ายงานอภิบาลและธรรมทูต (ชื่อในสมัยนั้น) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้แปลเอกสาร เหล่านี้เกือบครบทั้งหมดแล้ว พี่น้องครับ เราคงต้องช่วยกันประยุกต์กระบวนงานด้านอภิบาล (AsIPA) ให้สอดคล้องกับ สภาพของพระศาสนจักรในอัครสังฆมณฑลฯ ของเรา จึงขอน้อมรับความคิดเห็นของผู้ใหญ่ ผู้รู้ที่มีประสบการณ์ ในงานด้านนี้ และพีน่ อ้ งทีร่ กั ทุกท่านครับ อ่านต่อหน้า 4


เจาะลึกพิเศษ...ทีมสารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ

สมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 ได้สถาปนาคุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง เป็นบุญราศี พร้อมกับบุญราศีอน่ื ๆ รวม 5 ประเทศ จำนวน 44 องค์ ทีจ่ ตุรสั หน้ามหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมือ่ วันที่ 5 มีนาคม ค.ศ.2000 และในวันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ.2000 อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้จัดพิธีฉลองอย่างเป็นทางการ โดยพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธาน ทีว่ ดั นักบุญเปโตร สามพราน นครปฐม บ้านเกิดของท่าน และใน ปีนเ้ี องจึงเป็นปีท่ี 10 แห่งการสถาปนาบุญราศี นิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง เป็นปีท่ี 10 แห่งพระพรพระหรรษทานทีเ่ รา ได้รบั ผ่านทางท่านบุญราศี สักการสถานได้กอ่ ตัง้ เมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2004 หลังจากเปิดเสกอย่างเป็นทางการเมือ่ วันที่ 8 มิถนุ ายน 2003 สักการสถานเป็นที่รักษาพระธาตุของบุญราศีประจำท้องถิ่น ดังนั้นการที่มาสักการสถานของบรรดาคริสตชนและ ผูม้ คี วามเชือ่ นัน้ พูดง่ายๆ ก็คอื “มาแสวงบุญ” จึงมีจดุ ประสงค์เพือ่ ขอพระพรฝ่ายกายและฝ่ายจิตให้กบั ตนเองและบุคคลอืน่ โดยผ่านการสวดภาวนาและแสดงออกถึงความใกล้ชดิ บุญราศีดว้ ยการสัมผัสพระธาตุบญ ุ ราศี การเติบโตและการพัฒนาของสถานที่จึงไม่สำคัญเทียบเท่าการที่บรรดาคริสตชนมุ่งหน้ามาที่สักการสถาน เพื่อชีวิตความเชื่อของพวกเขาได้พัฒนาขึ้น เพราะได้สัมผัสความเมตตาของพระเป็นเจ้าโดยผ่านทางท่านบุญราศี คุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง ในแต่ละครัง้ ทีพ่ วกเขามาแสวงบุญมาร่วมพิธมี สิ ซาและภาวนาเป็นการส่วนตัว การเฉลิมฉลองพระธรรมล้ำลึกของพระคริสตเจ้า เรามีพธิ กี รรม และศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ 7 ประการ นอกจากนีม้ สี ง่ิ คล้ายศีล (Sacramental) และความศรัทธาทีป่ ระชาชนนิยม เช่น การให้ความนับถือพระธาตุ การไปเยีย่ มสักการสถาน การจาริกแสวงบุญ การแห่ การเดินรูปสิบสีภ่ าค สายประคำ เหรียญรูปพระ ฯลฯ (เทียบ คำสอนพระศาสนจักรฯ 1674) พระธาตุ เป็นวัตถุซง่ึ เกีย่ วข้องกับบรรดานักบุญผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิ์ แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ชั้นที่ 1 หมายถึง ร่างกาย หรือส่วนของร่างกายของบรรดานักบุญ ผู้ที่เป็นสมาชิกโดดเด่นของพระศาสนจักร และเป็นพระวิหารของพระจิต (เทียบ 1 คร 3, 16;6,19; 2 คร 6,16) ชัน้ ที่ 2 หมายถึง ชิน้ ส่วนของเสือ้ ผ้า หรือภาชนะสิง่ ของบางอย่าง ทีน่ กั บุญเคยใช้ ชัน้ ที่ 3 หมายถึง สิง่ ทีถ่ กู นำไปสัมผัสกับพระธาตุชน้ั ที่ 1 พระศาสนจักรสมัยศตวรรษแรก มีความเคารพต่อสิง่ เหล่านีม้ ากหรือน้อย แตกต่างกันโดยขึน้ กับสมัยและวัฒนธรรม บางแห่งมีการเสริมแต่งเป็นเรื่องเล่าสืบทอดต่อกันมาเป็นธรรมดา พระศาสนจักรคาทอลิกจึงรอบคอบ ใช้เวลาวินิจฉัย   ⌫⌫  ⌫   


นานพอสมควร กว่าจะให้การรับรองความดีงาม ความจริงแท้ ถึงการประกาศแต่งตัง้ ใครเป็นบุญราศี (Beatification) หรือ เป็นนักบุญ (Canonization) สำหรับเรือ่ งพระธาตุ ก็เช่นกัน พระศาสนจักรใช้เวลาพิจารณา หากพระธาตุมีลักษณะใหญ่ จะต้องได้รับ การอนุญาตจากพระสังฆราช ในกรณีที่เก็บรักษาไว้ในบ้านส่วนตัว (แปลจาก The Catholic Source Book พิมพ์ครัง้ ที่ 3 โดยคุณพ่อ Peter Klein, Brown-Roa-USA 1999, p 433-434) การแสดงความเคารพพระธาตุนกั บุญมีหลายแบบ เช่น การจูบ การประดับไฟ และดอกไม้ การแบกพระธาตุในขบวนแห่ การนำพระธาตุให้คนป่วย คนกำลังสิน้ ใจ เพื่อบรรเทาใจเขา หรือภาวนาเพื่อให้ช่วยรักษา การปฏิบัติต่างๆ ต้องให้เกียรติ และมีแรงจูงใจเพราะความเชือ่ เราไม่ควรตัง้ พระธาตุนกั บุญบนพระแท่น เพราะ พระแท่นเป็นทีพ่ เิ ศษสำหรับศีลมหาสนิท นอกจากพิธีกรรมแล้ว ชีวิตคริสตชนหล่อเลี้ยงด้วยรูปแบบหลายหลาก ของกิจศรัทธาที่ประชาชนนิยม ซึ่งหยั่งรางลึกในวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน พระศาสนจักรส่งเสริมแต่เฉพาะสิง่ ทีช่ ว่ ยให้ชวี ติ คริสตชนมีความครบครันยิง่ ขึน้ โดยมีหลักในพระวาจาของพระเจ้า สักการสถานฯ ได้รองรับจำนวนผู้มาร่วมแสวงบุญมากมายทั้งไทย และต่างชาติ พระพรทีไ่ ด้รบั คำวิงวอน คำแล้วคำเล่า พระพรเหล่านีก้ ย็ งั คง หลั่งไหลมาสู่ผู้วอนขอด้วยความเชื่อที่มั่นคง และโดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่ผู้ที่ รู้จักแสวงหาพระเจ้า และยอมรับตามพระประสงค์ของพระองค์ด้วยดวงใจ ทีเ่ ปิดกว้างและสุภาพอัศจรรย์ผา่ นทางคำเสนอของคุณพ่อบุญราศีจงึ เกิดขึน้ แก่ทกุ คนโดยไม่เลือกวัย ทัง้ นีไ้ ม่มอี ะไรเป็นไปไม่ได้สำหรับพระเจ้า วันที่ 12 มกราคม ของทุกปี ทางสักการสถานฯ จัดให้มกี ารฉลอง สักการสถานบุญราศีคณ ุ พ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง ซึง่ ปัจจุบนั มี คุ ณ พ่ อ เอกชั ย โสรั จ จกิ จ เป็นจิตตาธิการ โดยในแต่ละปีก็จะมี กิจกรรมต่างๆ มากมายภายในวันนั้น สำหรับในปีนี้ ทางสักการสถาน ได้จดั ให้มกี จิ กรรมดังนี้ เวลา 10.00 น. เดินรูปนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง โดยคุณพ่อ พงษ์เทพ ประมวลพร้อม เวลา 11.00 น. พิธบี ชู าขอบพระคุณ (ศีลเจิมผูป้ ว่ ยให้แก่ผสู้ งู อายุ) โดย พระสังฆราช ยอแซฟ สังวาลย์ ศุระศรางค์ เวลา 13.30 น. กิจกรรม “แข่งขันตอบคำถามและประกวดร้องเพลงของนักเรียนคาทอลิก” เวลา 18.00 น. พิธีบูชาขอบพระคุณโดยพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช (หลังพิธีมิสซามีแห่พระธาตุ) สำหรับผูท้ ป่ี ระสงค์จะทำบุญถวายสักการสถานบุญราศีนโิ คลาส บุญเกิด กฤษบำรุง สามารถโอนเงินเข้าบัญชี ธนาคารทหารไทย สาขาสามพราน นครปฐม ชือ่ บัญชี มิสซังโรมันคาทอลิกกรุงเทพฯ (สักการสถานบุญราศี) เลขที่ 525-2-08194-7 ประเภทบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ กรุณาส่งหลักฐานการโอนเงินพร้อมชื่อที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์มาที่สักการสถานบุญราศีคุณพ่อนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง โทรศัพท์ 0-3429-2148, 0-3429-2143 โทรสาร 0-3429-2149

 ⌫⌫  ⌫    


ต่อจากหน้า 1

เรามีเครื่องหมายสี่ประการเป็นการบ่งชี้ถึงความเป็นคริสตชนย่อย (BEC) คือ 1.สมาชิ ก เป็ น เพื ่ อ นบ้ า นกั น 2.การแบ่ ง ปั น พระวาจาเป็ น พื ้ น ฐานของการประชุ ม 3.การแสดงออกและทำสิ่งต่างๆ ร่วมกันของชุมชนคริสตชนย่อยออกมาจากความเชื่อ และ 4.ชุมชนคริสตชนย่อยต้องเชือ่ มเข้ากับพระศาสนจักรสากล (จะสังเกตว่าการแบ่งปัน พระวาจาเป็นเพียงส่วนหนึ่งของคริสตชนย่อย (BEC) แต่แน่นอนเป็นส่วนที่สำคัญ เพราะเป็นส่วนที่หล่อเลี้ยงชีวิตของสมาชิกทุกคนในคริสตชนย่อย (BEC) เมือ่ มาสืบสานงานคริสตชนย่อย (BEC) ในแผนกวิถชี มุ ชนวัด เราคิดถึงพระวาจา ของพระเจ้าที่ว่า “ข้าพเจ้า (นักบุญเปาโล) เป็นผู้ปลูก อปอลโลเป็นผู้รดน้ำ แต่พระเจ้าทรงเป็นผู้บันดาลให้เติบโตขึ้น” (1คร 3:6) จึงต้องขอขอบคุณคุณพ่อ นักบวชชายหญิง พีน่ อ้ งฆราวาสทุกๆ ท่าน ทีต่ ลอดเวลาทีผ่ า่ นมาได้ชว่ ยหว่านเมล็ดพันธุ์ แห่ ง คริ ส ตชนย่ อ ย (BEC) ลงในใจของพี ่ น ้ อ งคริ ส ตชนอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ไม่ว่าจะเป็นงานแปลเอกสารซึ่งให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานด้านนี้ ซึ่งเรามี มากพอสมควร การส่งพระสงฆ์ นักบวช และฆราวาสไปรับการอบรมและมีประสบการณ์ เกี่ยวกับคริสตชนย่อย (BEC) แม้เรายังไม่เป็นคริสตชนย่อย (BEC) เต็มรูปแบบ แต่ในหลายๆ วัดและในหลายกลุ่มกิจกรรมคาทอลิก มีการเริ่มต้นด้วยการทำความเข้าใจเกี่ยวกับการแบ่งปันพระวาจา และในบางวัดเรามีกลุ่มแบ่งปันพระวาจาแล้ว ในปีที่ผ่านมา ฝ่ายอภิบาลและทีมงานได้รับเชิญให้ไปให้ความรู้เบื้องต้นในเรื่อง คริสตชนย่อยแก่ชมรมฆราวาสในเขต 3 นอกจากนั้นยังได้ร่วมมือกับฝ่ายงานธรรมทูตในการอบรมพี่น้องฆราวาสจากวัด และกลุ่มกิจกรรมคาทอลิกเพื่อเป็นผู้นำในการแบ่งปันพระวาจา และอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เองได้ส่งพระสงฆ์ 7 ท่าน ไปรับ การอบรมเรื่องนี้ที่ประเทศอินเดีย ทั้งยังได้ส่งพี่น้องพระสงฆ์ นักบวช และฆราวาส จำนวนหนึ่งเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ AsIPA One ทีพ่ ทั ยา (ซึง่ ในขณะนีเ้ รามีกลุม่ วิทยากรซึง่ เป็นพระสงฆ์ทจ่ี ะผลัดเปลีย่ นหมุนเวียนกันมาให้ความรูใ้ นเรือ่ งนี้ 14 ท่าน และเราตัง้ ใจจะเชิญชวนนักบวชชายหญิงและฆราวาส มาร่วมทีมกับพวกเราในโอกาสต่อไปด้วยครับ) พวกเราทุกคนจะช่วยกัน หว่านเมล็ดพันธุ์แห่งคริสตชนย่อย (BEC) และรดน้ำกันต่อไป ด้วยความมั่นใจในองค์พระผู้เป็นเจ้าที่จะทำให้ วิถีชุมชนวัดนี้เติบโตขึ้นเรื่อยๆ ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ อันเป็นที่รักยิ่งของเรา ในปีนี้ แผนกวิถีชุมชนวัดจะดำเนินงาน 10 โครงการด้วยกัน ในสารอัครสังฆมณฑลฯ ฉบับนี้ขอนำเสนอบางโครงการ ก่อนนะครับ และจะค่อยๆ นำเสนอแต่ละโครงการจนครบในโอกาสต่อไป โครงการสร้างทีมและสนับสนุนในระดับต่างๆ คือ จัดให้มีคณะกรรมการอำนวยการซึ่งเป็นตัวแทนจากพระสงฆ์ นักบวชชายหญิง และฆราวาส จำนวน 11 ท่าน เพือ่ เข้ามาให้คำปรึกษา และนโยบายในการทำงาน ขณะนีย้ งั อยูใ่ นกระบวนการของ การทาบทาม และตัง้ ใจว่าจะประชุมคณะกรรมการชุดนีค้ รัง้ แรก ในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ เวลา 09.00-12.00 น. ทีอ่ าคารคาทอลิกแพร่ธรรม นอกจากนัน้ ยังจะจัดให้มคี ณะกรรมการดำเนินงานและผู้ประสานงานในระดับเขตซึ่งได้เริ่มดำเนินการทาบทามในเบื้องต้นบ้างแล้ว โครงการเสริมทักษะการทำงานกลุ่ม โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อเสริมทักษะของวิทยากรซึง่ เป็นพระสงฆ์ และเสริมสร้างทักษะ ให้แก่ฆราวาสทีม่ ปี ระสบการณ์ในคริสตชนย่อยบ้างแล้ว เพื่อจะได้เข้ามามีส่วนร่วมในทีมวิทยากร โดยจะจัดอบรมเสริมทักษะ ปีละ 2 ครัง้ สำหรับครัง้ แรกนีจ้ ะจัดทีบ่ า้ นผูห้ ว่าน ระหว่างวันที่ 25-26 กุมภาพันธ์ โครงการสร้ า งความเข้ า ใจจิ ต ตารมณ์ ว ิ ถ ี ช ุ ม ชนวั ด โดยจั ด อบรมสำหรั บ ฆราวาสทั ่ ว ไป เนื ้ อ หาการอบรม คื อ 1.การทำความเข้าใจเบื้องต้นว่า BEC คืออะไร 2.ความรู้พระคัมภีร์เบื้องต้นและการแบ่งปันพระวาจา และ 3.เมื่อกลับจากการ อบรมแล้ว เราจะทำอะไรได้บ้าง สำหรับการจัดการอบรมในโครงการนี้จะจัดปีละ 5 ครั้ง ในครั้งแรกนี้จะจัดในวันที่ 5-6 มีนาคม โดยเริม่ เวลา 09.00 น. ของวันที่ 5 มีนาคม และจบการอบรมหลังอาหารเทีย่ งของวันที่ 6 มีนาคม ทีบ่ า้ นผูห้ ว่าน โดยมีคา่ ลงทะเบียน ท่านละ 600 บาท (อัครสังฆมณฑลฯ ให้การสนับสนุนค่าใช้จ่ายส่วนที่เกินจากนี้) และหากทางเขต วัด บ้านเณร หรือกลุ่ม กิจกรรมคาทอลิก ต้องการจะจัดการอบรมเพื่อความเข้าใจจิตตารมณ์วิถีชุมชนวัด สามารถติดต่อประสานงานได้ที่แผนก วิถชี มุ ชนวัด เรายินดีทจ่ี ะส่งทีมงานไปช่วยจัดการอบรมครับ   ⌫⌫  ⌫   


บอกข่าวเล่าสาร     

พิ ธ ี ต ้ อ นรั บ พระสมณทู ต และ เปิดงาน Christmas Celebration 2010 เมือ่ วันเสาร์ท่ี 18 ธันวาคม 2010 เวลา 17.00 น. สภาพระสังฆราช คาทอลิกแห่งประเทศไทย ต้อนรับ พระอั ค รสั ง ฆราชโจวานนี ดานี เ อลโล เอกอั ค รสมณทู ต วาติกันประจำประเทศไทย อย่าง เป็นทางการ โอกาสเข้ารับหน้าที่ เอกอั ค รสมณทู ต วาติ ก ั น ประจำ ประเทศไทย โดยมีพระอัครสังฆราช หลุยส์ จำเนียร สันติสุขนิรันดร์ ประธานสภาพระสังฆราชคาทอลิก แห่งประเทศไทย เป็นประธานพิธี มิสซา ร่วมกับบรรดาพระสังฆราช มงซิ น ญอร์ ม าเรค ซาเลฟสกี ที ่ ป รึ ก ษาสถานเอกอั ค รสมณทู ต วาติกนั ประจำประเทศไทย คุณพ่อ อิกญาซีโอ เชฟฟาเลีย เลขานุการ พร้ อ มบรรดาพระสงฆ์ นั ก บวชชาย–หญิ ง และสั ต บุ ร ุ ษ มาร่ ว มแสดงความยิ น ดี แ ละ ให้การต้อนรับจำนวนมาก ทีอ่ าสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก

สมโภชพระคริสตสมภพ วันศุกร์ท่ี 24 ธันวาคม 2010 เวลา 24.00 น. พระอั ค รสั ง ฆราช เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เป็นประธานในพิธีมิสซาสมโภชพระคริสตสมภพ พร้อมด้วยพระสงฆ์และสัตบุรุษทั้งไทยและต่างชาติ มาร่วมพิธีในวันนี้จำนวนมาก หลังมิสซามีจับรางวัล ให้ผโู้ ชคดี ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก

สั ม มนา BEC และงานวิ ถ ี ชุมชนวัด เมื่อวันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม 2010 เวลา 09.00-15.00 น. คุณพ่อปิยะชาติ มะกรครรภ์ ผู ้ อ ำนวยการฝ่ า ยงานอภิ บ าล ร่วมมือกับ คุ ณ พ่ อ สมเกี ย รติ บุญอนันตบุตร ผู้อำนวยการ ฝ่ายงานธรรมทูต อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดสัมมนาเจ้าหน้าที่ทั้ง 2 ฝ่าย หัวข้อ “ความเข้ า ใจขั ้ น ต้ น เกี ่ ย วกั บ งานวิถชี มุ ชนวัด (BEC)” มีผเู้ ข้าร่วมสัมมนา จำนวน 28 ท่าน ประชุ ม สั ม มนาคริ ส ตศาสนจั ก รสั ม พั น ธ์ ระดับเอเชีย คุ ณ พ่ อ สมเกี ย รติ บุ ญ อนั น ตบุ ต ร ผู้ช่วยพระสังฆราชฝ่ายงานธรรมทูต เข้าร่วม การประชุ ม สั ม มนาคริ ส ตศาสนจั ก รสั ม พั น ธ์ ระดับ ASIA ที่ศูนย์ FABC (สภาพระสังฆราช แห่งเอเชีย) ของประเทศไทย ที่โรงพยาบาล เซนต์หลุยส์ เมือ่ วันที่ 1-5 ธันวาคม 2010 ฉลองศาสนนามและคำนั บ คุ ณ พ่ อ โอกาส วันพระคริสตสมภพ วันพุธที่ 22 ธันวาคม 2010 เวลา 11.00 น. เจ้าหน้าที่ ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมฉลอง ศาสนนามและคำนับคุณพ่อโอกาสวันพระคริสตสมภพ โดยมี คุณพ่อเดชา อาภรณ์รัตน์ ผู้อำนวยการฯ คุณพ่อประเสริฐ ตรรกเวศม์ รองผู้อำนวยการฯ คุณพ่อวิชชุกรณ์ เกตุภาพ ประธานกลุม่ งานวิชาการ และคุ ณ พ่ อ สุ ข ุ ม กิ จ สงวน ประธานกลุ ่ ม งาน จิตตาภิบาล ทีช่ น้ั 2 อาคารแม่พระรับเกียรติยกขึน้ สวรรค์

 ⌫⌫  ⌫    


50 ปี ชีวติ สงฆ์ เมือ่ วันอังคารที่ 21 ธันวาคม 2010 เวลา 10.30 น. คุณพ่อทัศไนย์ คมกฤส พร้อมด้วย พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระสังฆราชยอแซฟ สังวาลย์ ศุระศรางค์ พระสังฆราชลอเรนซ์ เทียนชัย สมานจิต พระสังฆราช ยอห์นบอสโก ปัญญา กฤษเจริญ พระสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รตั น์ และพระสังฆราชซีลวีโอ สิรพ ิ งษ์ จรัสศรี พร้อมคณะสงฆ์ ร่วมพิธมี สิ ซาโอกาส ฉลอง 50 ปีชวี ติ สงฆ์ของคุณพ่อทัศไนย์ คมกฤส ณ วัดพระเยซูเจ้า เสด็จขึน้ สวรรค์ พร้อมด้วยบรรดาญาติพน่ี อ้ ง และสัตบุรษุ มาร่วมแสดงความยินดีกบั คุณพ่อเป็นจำนวนมาก คำนับและรับพร วันพฤหัสบดีท่ี 23 ธันวาคม 2010 เวลา 09.00 น. เจ้าหน้าทีส่ ภาพระสังฆราชและเจ้าหน้าที่ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ กว่า 200 คน ร่วมคำนับ และรับพรพระอั ค รสั ง ฆราช เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช คุ ณ พ่ อ สานิ จ สถะวี ร ะวงส์ อุปสังฆราชฯ บรรดาคุณพ่อและซิสเตอร์ทท่ี ำงาน ในหน่วยงานต่างๆ โอกาสพระคริสตสมภพและ ปีใหม่ ณ ห้องประชุมชัน้ ใต้ดนิ สำนักมิสซัง

ฉลอง 25 ปี วัดเซนต์จอห์น วันอาทิตย์ท่ี 26 ธันวาคม 2010 เวลา 10.00 น. คุณพ่อวิจติ ต์ แสงหาญ เจ้าอาวาสวัดเซนต์จอห์น ได้จดั ฉลองชุมชนแห่งความเชื่อ วัดเซนต์จอห์น ครอบรอบ 25 ปี โดยมี พระอั ค รสั ง ฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธี มีสตั บุรษุ มาร่วมเป็นจำนวนมาก

เพิม่ พูนความรูเ้ ยาวชนเขต 1 คณะกรรมการเยาวชน เขต 1 แห่งอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ โดยคุณพ่อณรงค์ รวมอร่าม จิตตาธิการ จัดให้มีโครงการ “เพิ่มพูนความรู้เยาวชนเขต 1” ในหั ว ข้ อ “ปั ่ น ...หาความรู ้ - ปั น น้ ำ ใจช่ ว ย ผู ้ ป ระสบภั ย ” ซึ ่ ง ใช้ ร ู ป แบบการแสวงหาความรู ้ และทำกิ จ กรรม โดยการปั ่ น จั ก รยาน รอบเกาะ รัตนโกสินทร์...มีเยาวชนเขต 1 เข้าร่วมทั้งสิ้น 60 คน เวลา 08.00 – 12.00 น. เมื่อวันจันทร์ที่ 6 ธันวาคม ที่ผ่านมา

เดินขบวนรณรงค์ไม่สูบบุหรี่ เมือ่ วันที่ 3 ธันวาคม 2010 วัดและโรงเรียนแม่พระฟาติมา ร่วมกับฝ่ายสังคม อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ และสำนักงานมุ่งสู่สิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ 100% กรมควบคุมโรคและชุมชน ชาวดินแดง ได้จดั เดินขบวนรณรงค์ไม่สบู บุหรี่ เริม่ ขบวนจากโรงเรียนและบริเวณรอบชุมชนใกล้ๆ ได้จัดให้มีการทำป้ายเกี่ยวกับโทษของบุหรี่ต่างๆ เดินรอบชุมชน

  ⌫⌫  ⌫   


วันชุมนุมครอบครัว 53 แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว และคณะกรรมการบริหารงานส่งเสริมชีวติ ครอบครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดงาน “วันชุมนุมครอบครัว ประจำปี 2010” ที่บ้านสวนยอแซฟ และวัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ เมื่อวันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม 2010 เวลา 13.30 น.- 21.00 น. มีสมาชิกสชค. ร่วมงานกว่า 400 คน

สมโภชคณะอุรส์ ลุ นิ ครบ 475 ปี เมือ่ วันเสาร์ท่ี 18 ธันวาคม 2010 เวลา 09.00 น. พระอั ค รสั ง ฆราช เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิ ท วาณิ ช เดินทางมาเยีย่ มพบปะคุณแม่อคั ราธิการ เซซิเลีย หวาง และซิสเตอร์มารีย์ เทเรซา เดอยาโน ทีป่ รึกษาของคณะอุรส์ ลุ นิ แห่งสหภาพโรมัน ที่บ้าน ซิสเตอร์มาแตร์เดอี และเป็นประธานในพิธีบูชา ขอบพระคุณโอกาสสมโภชคณะอุรส์ ลุ นิ ครบ 475 ปี ก่อตั้งโดยนักบุญอัญจลา เมริชี เมื่อปี ค.ศ.1535 ที่หอประชุมโรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย โดยมี พระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวชหญิงชาย ศิษย์เก่า รวมทั้งพี่น้องคริสตชนและพี่น้องที่มีความเชื่ออื่น มาร่วมพิธเี ป็นจำนวนมาก

ครูคำสอนบุญยาตราสูส่ องคอน 2010 เมือ่ วันที่ 9-11 ธันวาคม 2010 คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผูจ้ ดั การแผนกคริสตศาสนธรรม ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พร้อมกับเจ้าหน้าทีใ่ นแผนก 4 ท่าน จัดโครงการครูคำสอน บุญยาตราสูส่ องคอนปีท่ี 21 ณ สักการสถานบุญราศีทง้ั เจ็ดแห่งสองคอน มีผเู้ ข้าร่วมครัง้ นีจ้ ำนวน 46 ท่าน ปลงศพ เปาโล ก๊กเม้ง แซ่ล้ี วันพุธที่ 5 มกราคม 2011 คุณพ่อศุภกิจ และคุณพ่อเชิดชัย เลิศจิตรเลขา เป็นประธาน ในพิ ธ ี ม ิ ส ซาปลงศพ เปาโล ก๊ ก เม้ ง แซ่ ล ี ้ ผู้เป็นบิดา โดยมีพระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวช ชาย-หญิง ญาติพี่น้องร่วมไว้อาลัยจำนวนมาก ที่วัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์

ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนมกราคม 2011 6-7 ม.ค. 10-14 ม.ค. 12 ม.ค. 14-16 ม.ค. 14-16 ม.ค. 15 ม.ค. 19-20 ม.ค.

สภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทยประชุมกฎหมาย ณ บ้านผูห้ ว่าน ฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์ประจำปี ณ บ้านผูห้ ว่าน ฉลองสักการสถานบุญราศีคุณพ่อนิโคลาสบุญเกิด กฤษบำรุง สามพราน เวลา 18.00 น. สัมมนาหัวข้อเชือ่ คาทอลิก - โปรแตสแตนท์ บ้านผูห้ ว่าน ฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัว รุน่ ที่ 130 ณ บ้านสวนยอแซฟ สามพราน ชมรมฆราวาสเขต 1 อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดงานเดินการกุศล เพือ่ ช่วยเหลือเด็กศูนย์เมอร์ซ่ี เขตคลองเตย สัมมนาผู้รับผิดชอบวิถีชุมชนวัดระดับชาติ บ้านผู้หว่าน  ⌫⌫  ⌫    


เกร็ดความรูค้ ำสอน...คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม

สวัสดีพี่น้องที่รัก

เราเริ่มเข้าสู่ปีใหม่ 2554 แล้วปีนี้เป็น ปีกระต่าย ก็ขอให้เป็นกระต่ายที่คล่องแคล่ว ว่ อ งไว ทำกิ จ การใดๆ ก็ ม ี แ ต่ ค วามสำเร็ จ ไม่ ย ่ อ ท้ อ ต่ อ ความยากลำบาก เชื ่ อ ว่ า เรา แต่ละคนมีข้อตั้งใจดีที่จะทำในปีนี้ก็ขอให้ มุ ่ ง มั ่ น ทำให้ ข ้ อ ตั ้ ง ใจที ่ ด ี ข องเราประสบ ความสำเร็จด้วย ปีนี้เป็นปีแรกที่เราเริ่มใช้แผนอภิบาล ฉบับใหม่ เรื่องที่อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ของเรา ต้องการเน้นมากที่สุดเรื่องหนึ่งคือ วิถชี มุ ชนวัด (Basic Ecclesial Community) พี ่ น ้ อ งหลายคนเคยได้ ย ิ น คำนี ้ แต่ เ ชื ่ อ ว่ า มีไม่น้อยที่ไม่เคยได้ยินเรื่องนี้มาก่อน ถ้าจะ พูดแบบง่ายๆ วิถีชุมชนวัดคือรูปแบบของ ชุมชนคริสตชน ที่ทุกคนร่วมกันรับผิดชอบ ในวัดของตน ในทุกเรื่อง ตามบทบาทหน้าที่ ทีท่ กุ คนมี โดยมีแรงจูงใจพืน้ ฐานอยูท่ ก่ี ารติดตาม พระเยซูคริสตเจ้า โดยมีการแบ่งปันพระวาจา และศีลมหาสนิท เป็นสิ่งที่หล่อเลี้ยงชุมชน ดังกล่าว ทีจ่ ริงไม่ใช่เป็นเรือ่ งใหม่อะไร เพราะ พระศาสนจักรแรกเริ่มก็มีสำนึกถึงการร่วม รับผิดชอบแบบนี้อยู่แล้ว แต่ต่อมาภายหลัง สำนึกที่ดีแบบนี้ค่อยๆ เจือจางไป ดังนั้นจึงมี ความพยายามที่จะฟื้นฟูจิตตารมณ์นี้ขน้ึ มา ใหม่ เรื่องนี้มีหลายแห่งประสบความสำเร็จ ในการฟื ้ น ฟู ม าแล้ ว มี ต ั ว อย่ า งมากมาย แต่สำหรับการเริ่มต้นค่อนข้างจะติดขัดบ้าง ซึง่ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (ทุกสังฆมณฑล) พยายามที่จะรณรงค์เรื่องนี้ให้เป็นรูปธรรม มากขึ้น ขอให้พี่น้องติดตามความเคลื่อนไหว และให้ความร่วมมือเกี่ยวกับเรื่องนี้ต ่อไป จะเห็นสิ่งดีๆ มากมาย เกิดขึ้นในวัดของเรา อย่างแน่นอน พี่น้องที่รักถ้าเรารักวัดของเรา รักชุมชนของเรา รักศาสนาของเรา อยากทำ หลายสิ่งหลายอย่าง แต่ไม่มีโอกาสหรือไม่มี ช่ อ งทางที ่ จ ะทำวิ ถ ี ช ุ ม ชนวั ด นี ่ แ หละเป็ น หนทางที ่ ท ำให้ เ ราสามารถเติ ม เต็ ม สิ ่ ง ที ่ เราอยากทำให้กบั ชุมชนของเราได้ ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพี่น้องทุกท่าน สวัสดีปีใหม่ 2554 ครับ

สถาบันครอบครัว ซึ่งได้รับการก่อตั้งด้วยความรักและดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วย ความรักนั้น เป็นกลุ่มของบุคคลที่ประกอบด้วย สามี ภรรยาและบุตร หน้าที่ อันดับแรกของครอบครัวก็คอื “ดำเนินชีวติ ตามความสัมพันธ์อย่างถ่องแท้ โดย พยายามคิดเสมอว่า จะส่งเสริมความสนิทสนมอันแท้จริงระหว่างบุคคล” (FC. 18) ความสัมพันธ์อนั ดับแรกก็คอื ความสัมพันธ์ทเ่ี กิดขึน้ และเจริญงอกงามระหว่าง สามีภรรยา โดยอาศัยพันธสัญญาว่าจะรักกันฉันสามีภรรยา จึงไม่ได้เป็นสองคน แต่เป็นเนื้อหนังอันหนึ่งอันเดียวกัน และได้รับการเรียกร้องให้พัฒนาจิตใจใน ความสัมพันธ์นั้นเป็นอย่างดีต่อเนื่องกันไป โดยอาศัยความซื่อสัตย์ที่สม่ำเสมอ ทุกวันต่อคำสัญญาซึ่งเขาได้มีต่อกันในพิธีสมรสว่า “จะรักและยกย่องให้เกียรติ กันและกันจนกว่าชีวติ จะหาไม่” บทบาทนี้มี “ความรัก” เป็นหลักการ เป็นพลังถาวร และเป็นเป้าหมาย ถ้าปราศจากความรัก ครอบครัวก็จะไม่เป็นกลุ่มบุคคล และในทำนองเดียวกัน “ถ้าปราศจากความรัก ครอบครัวก็จะไม่สามารถดำเนินชีวติ ให้เจริญก้าวหน้า และบรรลุถงึ ความสมบูรณ์ในฐานะเป็นกลุม่ บุคคลได้” (FC. 18) ความเจริญงอกงามของความรักฉันสามีภรรยาเกิดผลไม่จำกัดแต่เพียง การให้กำเนิดบุตรได้เท่านั้น แม้จะเข้าใจการให้กำเนิดบุตรนั้นตามความหมาย เฉพาะมนุษย์ ความเจริญของความรักนั้นขยายตัวและเพิ่มพูนขึ้นด้วยผลต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากจริยธรรม จากชีวิตจิตใจ และจากชีวิตเหนือธรรมชาติ ซึ่งบิดามารดา ควรจะแบ่งปันผลเหล่านี้ให้แก่บุตรของตน และโดยทางบุตรนี้เอง จึงแบ่งปันให้แก่ พระศาสนจักรและแก่โลกด้วย (FC.28) และอันทีจ่ ริง ลูกก็คอื ผลอันประเสริฐทีส่ ดุ ของการแต่งงานและมีส่วนช่วยให้พ่อแม่มีความเป็นอยู่ที่ดีได้มากที่สุด (FC.50.1) ความรั ก ฉั น สามี ภ รรยาแท้ ท ี ่ จ ริ ง มี ส ่ ว นอยู ่ ใ นความรั ก ของพระเป็ น เจ้ า ความรักนั้นถูกนำมาและเจริญสมบูรณ์ไปด้วยอำนาจไถ่บาปของพระคริสตเจ้า และด้ ว ยฤทธิ ์ ช ่ ว ยให้ ร อดของพระศาสนจั ก ร สามารถจะนำสามี ภ รรยาไปหา พระเป็นเจ้าอย่างได้ผล กับช่วยและทำให้เขามั่นคงในหน้าที่สูงส่งคือเป็นพ่อและ เป็นแม่ (GS.48.2) ซึ่งสังคายนาวาติกันที่ 2 ก็ได้มีการกล่าวไว้ว่า “ครอบครัว คริสตชนซึ่งเกิดจากการสมรสนั้นเป็นการมีส่วนร่วมในความสัมพันธ์แห่ง ความรักระหว่างพระคริสตเจ้ากับพระศาสนจักร ซึง่ ก็จะแสดงให้มนุษย์ทกุ คน เห็นว่า พระผู้ไถ่สถิตอยู่ในโลกอย่างมีชีวิตชีวา และแสดงว่าพระศาสนจักร มีลกั ษณะแท้จริงเช่นนีค้ อื การทีส่ ามีภรรยามีความรักกัน มีลกู โดยไม่เห็นแก่ ความสะดวกอย่างเดียว เป็นอันหนึง่ อันเดียวและมีความซือ่ ตรงต่อกัน อีกทัง้ สมาชิกทุกคนในครอบครัวก็รว่ มมือกันด้วยความรัก” (GS. 48.4) หมายเหตุ : FC. : Familiaris Consortio (บทบาทครอบครัวคริสตชนใน โลกปัจจุบนั , ยอห์น ปอลที่ 2 GS. : Gaudium et spes (สังคายนาวาติกนั ครัง้ ที่ 2, พระธรรมนูญว่าด้วย พระศาสนจักรในโลกปัจจุบัน)              ⌫⌫             ⌫ ⌦                   ⌫  ⌫                                 


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.