สารสังฆมณฑล

Page 1

⌫⌫  ⌫  ⌫ 



  ⌫  ⌫  ⌫  ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่ต่อเนื่องกันมานานนับ ศตวรรษ เมื่อคริสตชนคนหนึ่งคนใดจะเข้าวัด ไม่ว่าจะ เข้าไปเพื่อร่วมพิธีกรรมของหมู่คณะ เช่น ร่วมพิธีมิสซา หรื อ เข้ า ไปเพื ่ อ ประกอบกิ จ ศรั ท ธาส่ ว นตั ว เช่ น เฝ้ า ศีลมหาสนิท สวดสายประคำ ฯลฯ คริสตชนคนนั้นจะ มองหาที่บรรจุน้ำเสก เพื่อจะจุ่มน้ำเสกนั้น แล้วก็แตะที่ หน้าผาก พลางรำพึงหรือเอ่ยถ้อยคำในใจ “เดชะพระนาม พระบิดา และพระบุตร และพระจิต อาแมน” บ่อยครั้ง ยังมีภาพน่ารักๆ ให้เห็น ที่คุณพ่อคุณแม่ จะอุ้มลูกตัวเล็ก ให้จุ่มน้ำเสกด้วยตัวเอง แล้วก็สอนให้ ทำเครือ่ งหมายกางเขน (อั น ที ่ จ ริ ง หากย้ อ นเวลากลั บ ไปหลายศตวรรษ ก่อนที่จะมีธรรมเนียมจุ่มน้ำเสกก่อนเข้าวัด ที่ประตู ทางเข้า จะมีพระสงฆ์ยืนรออยู่ เพื่อคอยพรมน้ำเสกให้ สัตบุรษุ )

ธรรมเนียมการพรมน้ำเสกหรือการจุ่มน้ำเสกก่อน เข้าวัด ไม่ได้เป็นแค่เพียงอิรยิ าบถประกอบการเดินเข้าวัด แต่มีความหมายมากกว่านั้น ที่วันนี้เราจะมาหาคำตอบ ด้วยกัน แต่ก่อนที่จะอธิบายความหมายหรือที่มาที่ไปของ การจุ่มน้ำเสก ผมขอหยิบยกข้อเขียนของแตร์ตุลเลียน ปิตาจารย์ ในศตวรรษที่ 2 ซึ่งได้กล่าวถึง “น้ำ” ไว้อย่าง น่าสนใจ

วาทะพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู โอกาสฉลองวัดพระชนนีของพระเป็นเจ้า รังสิต วันพฤหัสบดีท่ี 1 มกราคม 2009

แตร์ตลุ เลียน เขียนไว้วา่ ภารกิจของพระเยซูเจ้าเกีย่ วข้อง บทความ   กับ “น้ำ” อยูบ่ อ่ ยครัง้ - เริม่ ตัง้ แต่ทพ่ี ระองค์ทรงรับพิธลี า้ งจากยอห์นทีแ่ ม่นำ้ จอร์แดน (มธ 3:13-17) - เมือ่ พระองค์ได้รบั เชิญไปร่วมงานสมรสทีห่ มูบ่ า้ นคานา พระองค์กท็ รงใช้ น้ำทำอัศจรรย์ครัง้ แรก (ยน 2: 1-12) - เมื่อพบหญิงชาวสะมาเรียกำลังตักน้ำ ทรงขอน้ำดื่มจากหญิงคนนั้น ก่อนทีจ่ ะตรัสเรือ่ ง “น้ำทรงชีวติ ” (ยน 4: 1-24) - เมื่อทรงสอนเรื่องบทพิสูจน์แห่งความรัก ก็ทรงยกตัวอย่างการยื่น น้ำสักแก้วให้กบั เพือ่ นพีน่ อ้ งทีก่ ำลังกระหาย (มธ 25: 35) - เมือ่ ศิษย์ สองพีน่ อ้ ง ทูลขอตำแหน่ง พระองค์กถ็ ามตอบว่า พวกเขาจะดืม่ ถ้วยทีพ่ ระองค์จะทรงดืม่ และรับการล้างเหมือนพระองค์ได้ไหม (มก 10: 38) - และทีส่ ดุ บนไม้กางเขน เมือ่ ทหารใช้หอกแทงทีส่ ขี า้ งของพระองค์ โลหิต และน้ำก็ไหลออกมาทันที (ยน 19: 34) ปิตาจารย์ท่านนี้เขียนถึงเหตุการณ์อันหลากหลายของพระเยซูเจ้า ซึ่ง เกีย่ วข้องกับน้ำ ก็เพือ่ จะอธิบายถึง “ศีลล้างบาป” และที่ผมได้กล่าวในตอนต้นถึงธรรมเนียมการจุ่มน้ำเสก ก็เพื่อจะ กล่าวถึง “ศีลล้างบาป” เพราะจุดมุ่งหมายของการจุ่มน้ำเสกพร้อมกับ ทำเครือ่ งหมายกางเขน ก็เพือ่ ระลึกถึงศีลล้างบาปทีเ่ ราได้รบั เป็นความหมายเดียวกันกับการก้มศีรษะเพือ่ รับการพรมน้ำเสกจากพระสงฆ์ ในตอนต้นมิสซาของทุกๆ วันอาทิตย์ และที่เด่นชัดที่สุด ก็คือในวันเสาร์ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ค่ำวันนัน้ ก่อนทีพ ่ ระสงฆ์จะพรมน้ำเสก มือของเราถือเทียนทีจ่ ดุ สว่างไสวพร้อมกับประกาศถ้อยคำรือ้ ฟืน้ คำสัญญาแห่งศีลล้างบาป มิใช่เพียงแค่ชว่ งเวลาสัน้ ๆ ตอนหนึง่ ในพิธตี น่ื เฝ้าของค่ำวันเสาร์ศกั ดิส์ ทิ ธิ์ เท่านัน้ ทีพ่ วกเรามีโอกาสได้ระลึกถึงศีลล้างบาปควบคูไ่ ปกับการปลุกจิตสำนึก การเป็นคริสตชน ตลอดเทศกาลมหาพรตยังเป็นช่วงเวลาทีเ่ หมาะสมยิง่ ที่เราจะได้รำพึง-ไตร่ตรองส่วนตัวถึงสถานะการเป็นคริสตชนของเรา พร้อมๆ กับที่บรรดาว่าที่คริสตชนใหม่ ได้ใช้ช่วงเวลานี้อย่างเข้มข้นเพื่อ เตรียมตัวรับศีลล้างบาป

เจาะลึกพิเศษ

สัมภาษณ์

เกร็ดความรูค้ ำสอน

“บ้านพระวิสุทธิวงส์” ลำไทร (น.2)

พระสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รตั น์ (น.4)

พระสังฆราชสำคัญอย่างไร? (น.8)


เจาะลึกพิเศษ

⌫

ในเดือนเมษายนนี้เป็นเดือนที่เราจะร่วมกันคิดถึงและสวดภาวนาสำหรับผู้สูงอายุเป็นพิเศษ เพราะท่านเหล่านั้นเป็น ผูม้ พี ระคุณเลีย้ งดูเรามาเมือ่ ตอนยังเล็ก สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉบับเดือนมีนาคมนี้ ขอแนะนำให้ท่านผู้อ่านได้รู้จักบ้านพระวิสุทธิวงส์ ศูนย์อภิบาล ผูส้ งู อายุและเด็ก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ ทีเ่ พิง่ เปิดไปเมือ่ วันเสาร์ท่ี 21 กุมภาพันธ์ ค.ศ.2009 โดย พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มี ช ั ย กิ จ บุ ญ ชู ได้ให้เกียรติไปเป็นประธานในพิธี และได้มีโอกาสสัมภาษณ์ค ุ ณ พ่ อ ธนากร เลาหบุ ต ร เจ้ า อาวาส วัดพระวิสทุ ธิวงส์ ลำไทร ถึงความเป็นมาในการก่อสร้างบ้านพระวิสทุ ธิวงส์ ขอเชิญติดตามอ่านได้เลยค่ะ

Q : อยากให้คุณพ่อช่วยเล่าประวัติความเป็นมาของศูนย์อภิบาลผู้สูงอายุและเด็กโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์

ว่ามีความเป็นมาอย่างไร A : บ้านผูส้ งู อายุ เริม่ ดำเนินการตัง้ แต่ ปี พ.ศ. 2502 โดย สมาคมวินเซนเดอปอลแห่งประเทศไทย เรียนปรึกษากับ ฯพณฯ หลุยส์ โชแรง และได้ดำเนินการสร้างบ้านผูส้ งู อายุในเขตโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ โดยได้รบั ความอนุเคราะห์จาก ฯพณฯ พลเอก กฤษณ์ สีวะรา จัดหาทุนสร้าง เปิดดำเนินการเมือ่ เดือนตุลาคม พ.ศ. 2503 ตัง้ ชือ่ ว่า “เรือนสีวะรา” ในเวลาต่อมาความต้องการของผูส้ งู อายุทย่ี ากจน และขาดทีพ่ ง่ึ พิงมีมากขึน้ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู มีดำริ ให้สร้างอาคาร 2 ชัน้ และได้เรียกชือ่ ใหม่วา่ “สถานสงเคราะห์ผสู้ งู อายุเซนต์หลุยส์” เปิดทำการเมือ่ 15 มกราคม พ.ศ.2521 ต่อมา สถานสงเคราะห์ดคู บั แคบไม่เพียงพอ พระคาร์ดนิ ลั จึงได้พจิ ารณาและสร้างอาคารใหม่ 3 ชัน้ เปิดทำการเมือ่ 22 มิถนุ ายน พ.ศ.2529 ด้วยวิสยั ทัศน์ของพระคุณเจ้า ทีต่ อ้ งการให้ผสู้ งู อายุได้มที พ่ี กั ในยามชราดีขน้ึ ทัง้ บรรยากาศและสภาพแวดล้อม จึงได้ยา้ ย บ้านผูส้ งู อายุ มาอยูใ่ นเขตวัดพระวิสทุ ธิวงส์ (ลำไทร) เมือ่ วันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 มีจำนวนผูส้ งู อายุทย่ี า้ ยมาในเวลานัน้ จำนวน 32 คน จนถึงปัจจุบนั ได้ดำเนินการสร้างผูส้ งู อายุใหม่ทส่ี วยงาม และเหมาะสม ใช้เวลาในการสร้างตัง้ แต่ปี พ.ศ.2548 และเปิดเสก ในวันเสาร์ท่ี 21 กุมภาพันธ์ ทีผ่ า่ นมานี้ รวมอายุของบ้านผูส้ งู อายุตง้ั แต่อดีตถึงปัจจุบนั เป็นเวลา 48 ปี

Q : บ้านพักหลังเก่าทีอ่ ยูบ่ ริเวณข้างบ้านพักพระสงฆ์ มีชอ่ื ว่าอะไร แล้วหลังใหม่มชี อ่ื ว่าอะไรคะ A : บ้านพักหลังเก่าทีอ่ ยูน่ ใ้ี ช้ชอ่ื เดิมตัง้ แต่ทโ่ี รงพยาบาลเซนต์หลุยส์ คือ สถานสงเคราะห์ผสู้ งู อายุเซนต์หลุยส์ แล้วชือ่ ใหม่

ชือ่ ว่า “บ้านพระวิสทุ ธิวงส์ ศูนย์อภิบาลผูส้ งู อายุและเด็ก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์”   ⌫⌫  ⌫  ⌫ 


Q : สาเหตุที่ต้องย้ายจากโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์มาที่ลำไทร เพราะอะไรคะ A : พ่อคิดว่าอันเนื่องมาจากความแออัด คับแคบ ภาวะมลพิษทางอากาศในกรุงเทพฯ และพื้นที่ใช้สอยในโรงพยาบาล

เซนต์หลุยส์ด้วย จากปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ ทำให้ต้องขยับขยายสถานที่ให้กว้างขวางมากขึ้น และต้องเป็นสถานที่ที่มีอากาศดี ถ่ายเทได้สะดวก ไม่มมี ลพิษ เพราะจะดีตอ่ สุขภาพของผูส้ งู อายุ และพืน้ ทีส่ ำหรับการใช้ชวี ติ ประจำวัน น่าจะเป็นอาคารชัน้ เดียว ไม่ตอ้ งขึน้ บันได จะสะดวกต่อคนดูแล และตัวผูส้ งู อายุดว้ ย

Q : เมื่อผู้สูงอายุได้เข้าไปพักที่ศูนย์อภิบาลผู้สูงอายุและเด็กโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์แล้ว จะได้รับการดูแล

หรือมีกิจวัตรประจำวันอย่างไรบ้าง A : กิจวัตรประจำวันของบรรดาคุณตาคุณยายทีน่ ่ี คือตอนเช้า 05.45 – 06.20 น. สวดเช้า และต่อด้วยพิธมี สิ ซา จากนัน้ เวลา 07.00 น. รับประทานอาหารเช้า ประมาณ 8 โมงกว่า จะมีการรำไทเก็ก หรือนวดฝ่าเท้า 09.00 น. ก็จะรับประทานอาหารว่าง ดูทวี ี 11.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.30 น. รับประทานอาหารว่าง 14.00 น. จะสวดสายประคำ บางวันจะทำนพวาร 16.00 น. รับประทานอาหารเย็นและต่อด้วยออกกำลังกายส่วนตัว 17.00 น. จะเข้าทีพ่ กั เตรียมนอน โดยมีคนคอยเฝ้าและดูแลตลอด 24 ชัว่ โมง นอกเหนือจากนั้นในวันเสาร์จะมีการตัดเล็บ/ตัดผม และมีแพทย์จากโรงพยาบาลมาตรวจสุขภาพทุกเดือน

Q : สำหรับผู้ที่สนใจสามารถติดต่อได้ที่ไหนคะ และมีรายละเอียดค่าใช้จ่ายสำหรับศูนย์อภิบาลผู้สูงอายุ

อย่างไรบ้าง A : ผู้สนใจสามารถติดต่อได้ที่กลุ่มวินเซนเดอปอลตามวัด หรือทางพ่อเจ้าอาวาส หรือติดต่อได้โดยตรงกับมาเซอร์ ทีด่ แู ลบ้านนีก้ ไ็ ด้ ปัจจุบนั มีเซอร์ อากาทา นงค์สวัสดิ์ เป็นผูด้ แู ล เบอร์ 02-563-1105 (เบอร์นจ้ี ะใช้ได้ในเดือนเมษายนนีค้ รับ กำลังโยกย้ายอยู่) ส่วนเรื่องค่าใช้จ่ายนั้น ต้องคุยกับเซอร์ซึ่งเป็นผู้กำหนดและอนุมัติ ซึ่งจะพิจารณากันเป็นรายๆ ไปครับ โดยมี การกำหนดคุณสมบัติ ไว้ดงั นี้ ชายหรือหญิง อายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นบุคคลไร้ญาติ ขาดที่พึ่ง หรือประสบปัญหาเดือดร้อนทุกข์ยาก ไม่เป็นโรคเรื้อรัง หรือ โรคติดต่ออันตราย ไม่พิการทุพพลภาพ หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ สามารถดูแลตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน สามารถปฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของศูนย์ฯ ไม่มสี ามีหรือภรรยาอยูใ่ นศูนย์ฯ ผูส้ งู อายุตอ้ งมาสมัครด้วยตนเองทีศ่ นู ย์ พร้อมกับญาติ หรือผู้นำเสนอ ต้องผ่านการตรวจสุขภาพจากแพทย์ของโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ และการเข้าพักที่นี่จะมีค่าใช้จ่ายประจำเดือน

Q : โอกาสวันผูส้ งู อายุในเดือนเมษายนนี้ อยากให้คณ ุ พ่อเชิญชวนพีน่ อ้ งสัตบุรษุ ได้หนั มาคิดถึงผูส้ งู อายุกนั

สักหน่อยค่ะ A : พ่อว่าความสูงวัยเป็นเรื่องที่ต้องเกิดกับทุกคน ถ้าไม่ตายก่อนวัยอันควร การที่เราจะช่วยเหลือ ดูแลเอาใจใส่ต่อกัน เป็นสิง่ ทีค่ วรกระทำ เพราะวันหนึง่ ก็จะต้องถึงคิวของเราบ้างทีจ่ ะชรา พ่อเห็นผูส้ งู อายุทน่ี แ่ี ล้ว เห็นใจคนดูแลจริงๆ เพราะเป็นงาน ทีไ่ ม่งา่ ยเลย เหมือนเราต้องเลีย้ งเด็กแบเบาะคนหนึง่ ซึง่ ผูส้ งู อายุเหล่านีใ้ นอดีตก็เคยเลีย้ งดูเรามา เราควรตอบแทนบุญคุณท่านบ้าง ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่ของเรา หรือแม้แต่บุคคลที่เราไม่รู้จัก ถ้าเราได้ชว่ ยเหลือและคิดถึงผูส้ งู อายุ พ่อเชือ่ ว่าพระเป็นเจ้าจะอวยพรเมือ่ ถึงเวลาของเราเช่นกัน พ่อจึงขอเชิญชวนทุกท่าน ได้ช่วยกันเอาใจใส่ เอื้ออาทรต่อกัน ด้วยกิจการดีเหล่านี้ จะทำให้เพื่อนพี่น้องของเราได้เห็นอย่างชัดเจนว่าอาณาจักรของ พระเป็นเจ้าได้เกิดขึ้นแล้วในโลกใบนี้ สถานสงเคราะห์ ผ ู ้ ส ู ง อายุ เ ซนต์ ห ลุ ย ส์ ลำไทร ยินดีต้อนรับทุกท่าน ขอเชิญผู้มีน้ำใจดี ช่วยเหลือผู้สูงอายุ ด้วยการแบ่งปันทรัพย์ สิ่งของ หรือเวลา เพื่อเป็นกำลังใจ แก่ผู้สูงอายุ เชิญบริจาคสมทบได้ท่มี ูลนิธิเซนต์หลุยส์ เลขที่ 27 โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ แขวงสาทร เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 หรือที่สถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุเซนต์หลุยส์ (ลำไทร) เลขที ่ 54/1 หมู ่ 9 ต.ลำไทร อ.ลำลู ก กา จ.ปทุมธานี 12150 โทร. 0-2563-1150, 08-6028-5416 โทรสาร 0-2563-1105

 ⌫⌫  ⌫  ⌫  


วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2009 ทีผ่ า่ นมา เลขาพระสมณทูตติดต่อให้พอ่ ไปพบกับพระสมณทูต ซัลวาตอเร เปนนักคีโอ เอกอัครสมณทูตว สมเด็จพระสันตะปาปา เบเนดิกต์ ที่ 16 ได้กรุณาเลือกให้พอ่ ได้รบั ตำแหน่งเป็นพระสังฆราชสังฆมณฑลเชียงใหม่ ต่อจากพระสังฆรา วิทยา แก้วแหวน บอก (อาจจะบอกเล่นๆ นะ) ถ้าพระสมณทูตมาติดต่อให้พ่อรับเป็นพระสังฆราชก็ให้ตอบรับ พ่อก็คิดต่อว่า “กว่าที่พระสัน สังฆมณฑลหนึง่ จะมีกระบวนการมาจากพระสงฆ์ในสังฆมณฑลนัน้ พระสงฆ์สงั ฆมณฑลอืน่ มาจากบรรดาพระสังฆราช บรรดาผูน้ ำค ทีส่ ดุ แล้วพระสันตะปาปาจะเป็นผูพ้ จิ ารณา วินาทีนน้ั พ่อก็ตดั สินใจ “ตอบรับ” แต่กย็ งั งง อยูเ่ หมือนกันนะ ทีส่ ดุ แล้ว พระสมณทูตก็รว่ มแสดงความยินดีดว้ ย และขอให้พอ่ ได้เขียนจดหมาย ตอบรับการเป็นพระสังฆราช เป็นลายลักษณ์อกั ษร พ สำนักพระสังฆราช หรือ ศูนย์คำสอน” พระสมณทูตท่านได้เตรียมกระดาษไว้แล้ว แล้วก็บอกพ่อว่า “ทำที่นี่ก็ได้ “ ท่านได้นำกระดาษสีขาว 2 จำที่เขียนได้ว่า “ผมไม่ใช่คนที่เก่งอะไร แต่ผมก็ดีใจและขอบคุณ และจะพยายามทำหน้าที่ของผมอย่างดีที่สุด ด้วยความช่วยเห อย่าลืมเขียนคำว่า “Accept” ยอมรับ ด้วย และท่านบอกกับพ่อว่าให้รกั ษาเป็นความลับก่อน และจะมีการประกาศอย่างเป็นทางการในวันท พอถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ตอนเช้าพ่อรูส้ กึ นอนไม่หลับ คงเพราะตืน่ เต้น แต่ไม่สามารถบอกกับใครได้ พ่อไปสอนเรียนนักศึกษา คริสตศ อยูท่ บ่ี า้ นเณร หลังประกาศเวลา 6 โมงเย็นแล้วก็มคี นโทรศัพท์มาร่วมแสดงความยินดี วันนัน้ พ่อเดินทางกลับมาถึงสำนักมิสซัง เวลา 22.00 น. พ่อ คารวะพระคาร์ดินัล และในวันต่อมา (วันที่ 11-12 ก.พ.2009 ) มีเข้าเงียบพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เพื่อนพี่น้องสงฆ์ก็ได้ร่วมแสด “พ่อคิดถึงพระคุณของพระทีม่ อบให้พอ่ เกิดในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ” สมัยอยูท่ บ่ี า้ นเณรเล็กมีพระคุณเจ้า พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ ม ศุระศรางค์ และพ่ออีกหลายๆ คน ทีเ่ ป็นแบบอย่างทีด่ ใี ห้กบั พ่อ และพอมาอยูท่ บ่ี า้ นเณรใหญ่กม็ อี าจารย์ดๆี หลายคน รวมถึงช่วงเวลาทีม่ าอ สำหรับแนวทางในการดำเนินชีวติ ของพ่อ คือ รักพระมากขึน้ มีคนเอ่ยปากให้ความช่วยเหลือพ่อเสมอ ความช่วยเหลือทีม่ าทัง้ หลา คนกลางแจกจ่ายพระหรรษทานเป็นอย่างไร” เมื่อเรารับงาน รับความรับผิดชอบใดๆ แล้ว พระก็มอบความช่วยเหลือผ่านทางมนุษย์นี้ล่ะ ครอบครัวของพ่อด้วย แม่แน่งน้อยของพ่อเป็นแม่คา้ ส่วนพ่อหวล อาภรณ์รตั น์ ก็เป็นคนขับรถ แต่ลกั ษณะทีด่ ขี องพ่อแม่ทพ ่ี อ่ ได้มา พ่อรู้สึกขอบคุณครอบครัวเป็นอย่างยิ่ง สิ่งที่พ่อรู้สึกท้าทายมากที่สุดเมื่อจะไปทำงานที่สังฆมณฑลเชียงใหม่ คือ เรื่องของการฝึกฝนด้านภ และได้ฝากไว้วา่ บรรยากาศของคนทีเ่ ชียงใหม่ ไม่เหมือนบรรยากาศในกรุงเทพฯ มีพน่ี อ้ งชาวไทยภูเขา หลากหลายเผ่า มีสงั คมทีแ่ ตกต่างจากกร พ่อคือ “เราต้องพยายามเรียนรูช้ วี ติ ทีเ่ ป็นจริงในสภาพของท้องถิน่ ” คนส่วนใหญ่ 50% เป็นชาวไทยภูเขาเผ่าปกาเกอะญอ 25% เป็นเผ่าอืน่ พวกเขา การที่พ่อจะพูดภาษาเขาให้ได้ ก็ถือเป็นงานที่ท้าทายมาก สิง่ ทีก่ ลัวทีส่ ดุ กังวลใจทีส่ ดุ และหนักใจทีส่ ดุ คือเรือ่ งอะไร และพ่อจะมีแนวทางผ่านไปได้อย่างไรนัน้ พ่อรูส้ กึ ว่า “พ่อไม่กงั วลอะไร เพร และจะทำให้เรานอนไม่หลับ” พ่อมีคติพจน์คือ “ดำเนินชีวิตในปัจจุบันให้ดีที่สุด” จำได้ว่าที่เรียนวิชาชีวิตจิตนั้น รู้สึกชอบมาก สิ่งที่เรีย น้ำพระทัยของพระเป็นเจ้าก็คอื “การทำชีวติ ให้ดที ส่ี ดุ อย่างซือ่ สัตย์ และสม่ำเสมอในชีวติ ปัจจุบนั พระคงไม่เรียกร้องอะไรทีเ่ กินความ พ่อจำได้ว่า เพื่อนสงฆ์บางองค์ วิ่งทน บางคนวิ่งเร็วแต่วิ่งไม่ทน แต่ถ้าวิ่งทนจะวิ่งไม่เร็ว และจะค่อยๆ ไปเรื่อยๆ พ่อจะเป็นอย่างน บอกพ่อตอนเป็นพระสงฆ์ใหม่วา่ “ใจเย็นๆ อย่าไปคิดเปลีย่ นแปลงอะไร จะมีเวลาค่อยๆ ไปสม่ำเสมอ” ยังจำได้วา่ คุณพ่อชายบอกพ รือร้น และพระสงฆ์อาวุโส มักรอบคอบ” ก็อวยพรให้ “พระสงฆ์หนุม่ นัน้ รอบคอบ และกระตือรือร้น ไม่ชา้ ไม่เร็วเกินไป และทำอย่างส มีพระสงฆ์ตง้ั 84 องค์ นักบวชชาย 9 คณะ นักบวชหญิง 18 คณะ เป็นอย่างน้อย สัตบุรษุ ทัว่ ไปก็นา่ รักและให้ความร่วมมือ พ่อก็ไม่กงั วลและจ ต่อจากนีอ้ คั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ กับสังฆมณฑลเชียงใหม่จะเป็นไปในทิศทางไหน “พ่อเองคิดว่าต้องดีขน้ึ ส่วนหนึง่ พ่อคงต้องข ช่วยเหลือจากพวกเราทุกคน ทั้งนักบวช พระสงฆ์ พ่อไม่อยากรบกวนใคร และพ่อเองก็เข้าใจสภาพว่าเป็นอยู่อย่างพอเพียง เ ไปทำงานต่างสังฆมณฑล เขาลำบากมากแค่ไหน” มาวันนี้พ่อเองได้สมัครใจ ขอความร่วมมือ ร่วมแรงร่วมใจกัน ภาวนาประกาศข่าวดีแล สุดท้าย พ่อคิดว่าทุกคนมีคติในการดำเนินชีวติ เมือ่ เป็นพระสงฆ์พอ่ เลือกคติพจน์วา่ “เกิดมาครัง้ หวังทำดีให้ทส่ี ดุ เพือ่ มนุษย์ทง้ั ผ สร้างสวรรค์ ณ แผ่นดิน” คุณพ่อประยูร พงศ์พษิ ณุ์ ได้แต่งไว้ และเมือ่ ได้รบั เลือกเป็นพระสังฆราช กลอนนีย้ าวไป จะหาคำภาษาลาติน เป็นสิง่ ทีด่ มี าก พ่อจึงเลือกคติพจน์คอื “ข้าพเจ้าทำทุกอย่าง เพือ่ เห็นแก่ขา่ วดี” (1คร 9:23) อยากให้พวกเราทำทุกสิง่ เพือ่ ประกาศข่า

และโอกาสนี้ขอเชิญรับชมการถ่ายทอดสดพิธีอภิเษกพระสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รัตน์ ในวันศุกร์ที่ 1 พฤษภ 09.00 น. เป็นต้นไป   ⌫⌫  ⌫  ⌫ 


วาติกนั ประจำประเทศไทย เมือ่ เข้าพบพระสมณทูตท่านได้ทกั ทาย และบอกกับพ่อว่า าชยอแซฟ สังวาลย์ ศุระศรางค์ เวลานัน้ พ่อเองก็รสู้ กึ งง และใจก็คดิ ถึงคำของคุณพ่อ นตะปาปาจะเลือกใครให้มาทำหน้าที่เป็นผู้รับผิดชอบ ผู้นำของสังฆมณฑลใด คณะนักบวช และผูน้ ำฆราวาส คงถามมาแล้ว เป็นพระประสงค์ของพระเป็นเจ้า”

พ่อก็บอกกับพระสมณทูตว่า “ผมคงต้องกลับมาทีบ่ า้ น บ้านทีพ่ อ่ บอกก็คอื 2 แผ่น มาให้พ่อเขียนด้วยลายมือ ใจความที่เขียนเป็นภาษาอังกฤษ หลืออย่างดีจากพระเป็นเจ้า” สิ่งสำคัญที่พระสมณทูตบอกคือ ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2009 ศาสตร์ ทีว่ ทิ ยาลัยแสงธรรม วันนัน้ ก็ดำเนินชีวติ ปกติทกุ อย่าง อได้ขอเข้าพบพระคาร์ดนิ ลั แล้วพ่อได้ขอบคุณพร้อม งความยินดีด้วย พ่อได้มีโอกาสกล่าวในวันเข้าเงียบว่า มีชยั กิจบุญชู และพระคุณเจ้ายอแซฟ สังวาลย์ ยูท่ ฝ่ี า่ ยงานอภิบาลและธรรมทูตฯ ก็รสู้ กึ ดีมาก ายนัน้ ไม่ใช่ของพ่อ พ่อจึงเข้าใจคำว่า “การเป็น พ่อมีแต่สำนึกในพระคุณ และเป็นต้นผ่านทาง านัน้ คือ การได้ชว่ ยเหลือวัดมาตัง้ แต่เด็ก ภาษา พระคุณเจ้าสังวาลย์ สอนไว้ เสนอแนะ รงเทพฯ และสิง่ หนึง่ ทีพ่ ระคุณเจ้ามีชยั บอกกับ น และคนท้องถิน่ ซึง่ พ่อก็ตอ้ งฝึกฝนทีจ่ ะพูดกับ

ราะความกังวลในอนาคตจะทำให้เรากลัว ยกว่าน้ำพระทัยของพระเจ้า และการทำตาม มสามารถของเราอย่างแน่นอน” นั้นคือ วิ่งไม่เร็ว แต่จะวิ่งทน คุณพ่อไพฑูรย์ พ่อในมิสซาแรกว่า “พระสงฆ์หนุม่ มักกระตือ ม่ำเสมอ” พ่อเลยไม่กงั วล พ่อไม่ได้ทำงานคนเดียว จะทำหน้าทีอ่ ย่างดีทส่ี ดุ อความอนุเคราะห์จาก พระคาร์ดนิ ลั ฯ และความ มื่อก่อนพ่อไม่รู้เลยว่า “เวลาที่ใครสักคน สมัครใจ ละขอบคุณในน้ำใจดีของทุกท่านด้วย ผอง ครองหรรษา ได้รจู้ กั รัก รับใช้ เจ้าชีวา อีกพร้อมหน้า นลำบาก ก็คดิ ว่าการเลือกประกาศข่าวดี เริม่ ต้นในปีนกั บุญเปาโล วดีของพระเยซูเจ้า

ภาคม 2009 ทางเว็บไซต์ www.catholic.or.th ตั้งแต่เวลา  ⌫⌫  ⌫  ⌫  


บอกข่าวเล่าสาร     

คณะสงฆ์กรุงเทพฯ ร่วมยินดีกบั พระสังฆราชใหม่ เมือ่ วันที่ 11-12 กุมภาพันธ์ 2009 เป็นวันเข้าเงียบ ฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำ เดือนกุมภาพันธ์ โอกาสนี้ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิ จ บุ ญ ชู ได้มอบดอกไม้ร่วมแสดงความยินดีและ เป็นกำลังใจแด่ พระสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รัตน์ ท่ามกลางคณะสงฆ์ อัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ

350 ปี คณะสงฆ์ MEP เมือ่ วันเสาร์ท่ี 7 กุมภาพันธ์ ทีผ่ า่ นมา สภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศไทย จัดงานฉลอง 350 ปี คณะสงฆ์มสิ ซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส และวันนักบวชสากล ณ วัดนักบุญยอแซฟ อยุธยา โดยมี พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานในพิธมี ิสซาบูชาขอบพระคุณ ร่วมกับบรรดา พระสมณทูต พระสังฆราช คุณพ่อยังบัปติสต์ เอ็ตซาเรน อธิการเจ้าคณะ MEP. ปารีส คุณพ่อ ยัง มารี ดังโตแนล เจ้าคณะ MEP. ประเทศไทย และคณะสงฆ์ MEP. นักบวชชาย-หญิง ทีม่ าร่วมงาน กว่า 3,000 คน

เปิดและเสกบ้านพระวิสทุ ธิวงส์ ศูนย์อภิบาลผูส้ งู อายุและเด็กโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานในพิธมี สิ ซาเปิดและเสกบ้านพระวิสทุ ธิวงส์ ศูนย์อภิบาลผูส้ งู อายุและเด็กโรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ (สถานสงเคราะห์ผสู้ งู อายุเซนต์หลุยส์) ต.ลำไทร อ.ลำลูกกา จ.ปทุมธานี เมือ่ วันเสาร์ท่ี 21 กุมภาพันธ์ ทีผ่ า่ นมา ฉลอง 120 ปี ชุมชนวัดธรรมาสน์นักบุญเปโตร บางเชือกหนัง เมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2009 เวลา 10.00 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็นประธานใน พิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณโอกาสฉลอง 120 ปีชุมชน วัดธรรมาสน์นักบุญเปโตร บางเชือกหนัง พร้อมด้วย พระสงฆ์กว่า 10 องค์ บรรดานักบวชหญิงคณะต่างๆ จำนวนมาก มาร่วมฉลอง 120 ปีในวันนี้ด้วย หลังพิธี มีเสก-เปิด อนุสรณ์ธรรมาสน์นกั บุญเปโตร

การอบรมฟืน้ ฟูจติ ใจชมรมคนหูหนวกคาทอลิกแห่งประเทศไทยและค่ายภาษามือครัง้ ที่ 1 เมือ่ วันที่ 21-23 กุมภาพันธ์ 2009 วิทยาลัยแสงธรรมร่วมกับมูลนิธสิ ง่ เสริมและพัฒนาคนหูหนวกไทย และชมรมคนหูหนวกคาทอลิกแห่งประเทศไทย จัดการอบรมฟืน้ ฟูจติ ใจประจำปี 2009 ชมรมคนหูหนวก คาทอลิกแห่งประเทศไทยและค่ายภาษามือครัง้ ที่ 1 ณ บ้านเพชรสำราญ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรขี นั ธ์ หลังจากทีไ่ ด้จดั อบรมภาษามือไทยขัน้ พืน้ ฐาน 1 (30 ชัว่ โมง) และทักษะการใช้ภาษามือสือ่ สารเพือ่ การ อภิบาลไปเมือ่ วันที่ 13 พฤศจิกายน ปลายปีทแ่ี ล้ว

  ⌫⌫  ⌫  ⌫ 

ฉลองวั ด แม่ พ ระประจั ก ษ์ เ มื อ งลู ร ์ ด บางสะแก วันอาทิตย์ท่ี 8 กุมภาพันธ์ 2009 คุณพ่อ ยอแซฟ จำเนียร กิจเจริญ อุปสังฆราช เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ โอกาสฉลองวัดแม่พระประจักษ์เมืองลูร์ด บางสะแก พร้อมด้วยพระสงฆ์ และสัตบุรษุ กว่า 700 คน

มิสซาแรกทีว่ ดั นักบุญเปโตร เมื่อวันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2009 เวลา 19.00 น. คุณพ่อศวง วิจิตรวงศ์ พระสงฆ์ใหม่ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธมี สิ ซา บูชาขอบพระคุณมิสซาแรก ณ วัดนักบุญเปโตร สามพราน


แห่นกั บุญเปาโล เมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 22 กุมภาพันธ์ ทีผ่ า่ นมา คุณพ่อ ศุภศิลป์ สุขสุศิลป์ เจ้าอาวาสวัดพร้อมด้วย คุณพ่อ มาโนช สมสุข ร่วมกับสัตบุรษุ วัดนักบุญเปาโลกลับใจ บ้านนา และสัตบุรุษวัดเซนต์ร็อค ท่าไข่ พร้อมใจกัน แห่นกั บุญเปาโล ประจำเดือนกุมภาพันธ์โดยมี คุณพ่อ วิศษิ ฏ์ หริพงศ์ เป็นประธาน ฉลองวัดแม่พระมหาการุณย์ นนทบุรี วั น อาทิ ต ย์ ท ี ่ 8 กุ ม ภาพั น ธ์ 2009 พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู เป็น ประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ โอกาส ฉลองวัดแม่พระมหาการุณย์ จ.นนทบุรี โดยมี คุณพ่อราฟาแอล มาแนนติ เจ้าอาวาสและ สัตบุรุษจากวัดเขต 2 ให้การต้อนรับเป็น อย่างดี ท่ามกลางบรรยากาศอบอุ่นและ เป็นกันเองของพีน่ อ้ งคริสตชน อบรมส่งเสริมชีวติ ครอบครัว เมื่อวันเสาร์ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2009 คุณพ่อทนุ เจษฎาพงษ์ภักดี เจ้าอาวาส วั ด เซนต์ ร ็ อ ค จั ด การอบรมฟื ้ น ฟู จ ิ ต ใจ กลุ่มส่งเสริมชีว ิตครอบครัว มีผู้เข้าร่วม อบรมครั้งนี้จำนวน 12 คู่ ณ วัดแม่พระ แห่งเหรียญอัศจรรย์

คริสตชนไทยในโรมร่วมยินดีกบั พระสังฆราชใหม่ ข่าวที่น่ายินดีสำหรับพระศาสนจักรไทยและ คริ ส ตชนไทยในโรมในช่ ว งนี ้ คื อ การที ่ ส มเด็ จ พระสันตะปาปาเบเนดิกต์ท่ี 16 ได้แต่งตัง้ คุณพ่อ ฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รัตน์ พระสงฆ์ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ให้เป็นพระสังฆราช สังฆมณฑลเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา พวกเราทุกคนขอแสดงความยินดีกับ พระสั ง ฆราชใหม่ แ ละสั ง ฆมณฑลเชี ย งใหม่ ในโอกาสนีด้ ว้ ย ร่วมแสดงความยินดีกบั พระสังฆราชใหม่ เมือ่ วันพุธที่ 11 กุมภาพันธ์ 2009 เวลา 13.30 น. เจ้าหน้าทีฝ่ า่ ยงานอภิบาลและธรรมทูตฯ และเจ้าหน้าที่ สำนักมิสซังฯ แผนกบริการ ร่วมแสดงความยินดีกับ พระสั ง ฆราชฟรั ง ซิ ส เซเวี ย ร์ วี ร ะ อาภรณ์ ร ั ต น์ โอกาสได้รบั แต่งตัง้ เป็นพระสังฆราชสังฆมณฑลเชียงใหม่ ทีอ่ าคารแพร่ธรรม

ประชาสัมพันธ์ สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ สามพราน ขอเชิญร่วมงานชุมนุมศิษย์เก่าสามเณราลัย วันเสาร์ที่ 14 มีนาคม 2009 ตั้งแต่เวลา 14.00-22.00 น. มีกิจกรรมแข่งขันกีฬา ฟุตบอล บาสเก็ตบอล และงานเลีย้ งสังสรรค์ (ต้องการที่พักติดต่อ 0-2429-0934) วันอาทิตย์ท่ี 15 มีนาคม 2009 ฉลอง สามเณราลั ย นั ก บุ ญ ยอแซฟ ฉลอง ครบรอบ 50 ปีศนู ย์สามเณราลัย พิธมี สิ ซา บู ช าขอบพระคุ ณ เวลา 10.00 น. โดย พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู เป็นประธาน

อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอร่วมแสดงความยินดีกับ สังฆมณฑลเชียงใหม่ ในโอกาสที่ บาทหลวง ฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รตั น์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นพระสังฆราชองค์ใหม่ โอกาสนี ้ ข อเชิ ญ รั บ ชมการถ่ า ยทอดสด พิ ธ ี อ ภิ เ ษก พระสั ง ฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ วีระ อาภรณ์รตั น์ ในวันศุกร์ท่ี 1 พฤษภาคม 2009 ทางเว็บไซต์ www.catholic.or.th ตัง้ แต่เวลา 09.00 น. เป็นต้นไป  ⌫⌫  ⌫  ⌫  


เกร็ดความรู้คำสอน

ในโอกาสวันพุธรับเถ้าเริ่มเข้าสู่เทศกาล มหาพรตปี น ี ้ พ่ อ ประทั บ ใจถ้ อ ยคำ 2 คำ ที ่ พ ระสั น ตะปาปาเทศน์ ใ นพิ ธ ี ม ิ ส ซาบู ช า ขอบพระคุณ ณ วิหารนักบุญเปาโลกลับใจ เป็ น อย่ า งยิ ่ ง พระสั น ตะปาปาตรั ส ไว้ ใ น วันเริม่ ต้นเทศกาลมหาพรตว่า เราจะทำการ “เติ ม เต็ ม ” กระแสเรี ย กของการเป็ น คริสตชนได้อย่างไร และ ในการต่อสู้กัน ระหว่าง “เนือ้ หนังกับจิตวิญญาณ” ระหว่าง “ความดีและความชัว่ ” เราจะทำให้ชยั ชนะ ต่อเนือ้ หนังและความชัว่ ปรากฏให้เห็นเป็น ที่ประจักษ์ต่อผู้คนได้อย่างไร พีน่ อ้ งหลายท่านเคยถามพ่อว่า เทศกาล มหาพรตเราคริสตชนควรปฏิบัติชีวิตอย่างไร ต้องทำอะไรกันบ้าง จำได้วา่ ได้แนะนำกิจกรรม ต่างๆ ตามประเพณีปฏิบตั ขิ องพระศาสนจักร ทีแ่ นะนำไว้มากมายหลายประการ แต่คำตอบ ที่ได้จากถ้อยคำสองคำของพระสันตะปาปา ข้างต้นนี้ เป็นคำตอบที่พ่อแนะนำให้พี่น้อง พึงต้อง “ขีดเส้นใต้” ไว้ และใส่ใจปฏิบัติเป็น พิเศษพร้อมกับกิจกรรมต่างๆ ที่มีแนะนำไว้ ในพระศาสนจักร ให้ถือว่า ช่วงเวลาตลอด 40 วันในเทศกาลมหาพรตนี้ เป็นเวลา แห่งพระพร ทีพ ่ ระเจ้าทรงเรียกเราคริสตชน ทุกคนให้หนั ชีวติ ของเรากลับมา “เติมชีวติ คริสตชนของเราให้เต็ม” เติม “ความเป็น คริสตชน” ให้เข้มข้นครบถ้วน ชีวติ คริสตชนของเราในแต่ละวันๆ ได้รบั การเติมให้เต็มแล้วหรือยัง เข้มข้นครบถ้วน มากขึ้นแล้วหรือยัง เราสามารถตรวจสอบ ข้อเท็จจริงดังกล่าวนีไ้ ด้ท่ี ผลงานแห่งชัยชนะ ของชีวติ ฝ่ายจิตวิญญาณต่อความโน้มเอียง ฝ่ายเนือ้ หนังในชีวติ ของเราว่าเกิดขึน้ แล้ว กีค่ รัง้ แต่ละครัง้ ทำผลงานได้นา่ ประทับใจ ขนาดไหน เช่นเดียวกัน มีผลงานแห่ง ชัยชนะของความดีต่อความชั่วในชีวิต ของเรา กี่ครั้ง แต่ละครั้งทำผลงานได้ น่าประทับใจขนาดไหน ตลอด 40 วันใน เทศกาลมหาพรตเป็ น ช่ ว งเวลาแห่ ง การ “ต่อสู”้ เพือ่ ให้เกิดผลเป็น “ชัยชนะ” ทีพ่ งึ ต้อง ประเมิ น ผลกั น แบบวั น ต่ อ วั น ว่ า วั น พรุ ่ ง นี ้ จะทำให้ดีกว่าวันนี้ได้อย่างไร

คำว่า “พระสังฆราช” มาจากคำในภาษากรีกว่า “Episcopos” หมายถึง “ผูค้ วบคุม” หรือ “ผูด้ แู ล” ดังนัน้ พระสังฆราชคือ ผูแ้ ทนของพระคริสตเจ้า (LG 27.2), ผูส้ บื ตำแหน่งจากบรรดาอัครสาวก, สถาบันทีพ่ ระศาสนจักรตัง้ ขึน้ (ex divina institutione), ทำหน้าทีป่ ระกาศก สงฆ์ และกษัตริย์ และบริหารงานโดยร่วมเป็นหนึง่ เดียวกับคณะพระสังฆราชทัว่ โลกและกับพระสันตะปาปา คุณสมบัตขิ องผูท้ เ่ี หมาะสมเป็นพระสังฆราช: ตามประมวลกฎหมายของพระศาสนจักร มาตรา 378 มีดงั นีค้ อื เป็นผูม้ คี วามเชือ่ ทีเ่ ข้มแข็ง, มีศลี ธรรมอันดี, มีความศรัทธา, ปรีชาญาณ, สุขุมรอบคอบ, มีคุณธรรม, มีพรสวรรค์ที่เหมาะสมต่อตำแหน่งดังกล่าว, มีชื่อเสียงดีและเป็นที่ น่าเคารพยกย่อง, มีอายุตง้ั แต่ 35 ปีขน้ึ ไปและได้รบั ศีลบวชอย่างน้อย 5 ปีขน้ึ ไป, เป็นผูท้ จ่ี บด้าน ปริญญาเอกหรืออย่างน้อยปริญญาโทในด้านพระคัมภีร์ เทววิทยา หรือกฎหมายพระศาสนจักร จากสถาบันที่สันตะสำนักรับรองหรืออย่างน้อยเป็นผู้ที่มีความชำนาญในด้านเหล่านี้ ลำดับขั้นตอนของผู้ที่ได้รับเลือกเป็นสังฆราช: ที่จริงแล้วการส่งรายชื่อผู้ที่เหมาะสม จะได้รับเลือกเป็นพระสังฆราชนั้น มีกฎว่าบรรดาพระสังฆราชที่อยู่ในเขตปกครองเดียวกันหรือ สภาพระสังฆราช จะต้องส่งรายชื่อพระสงฆ์ที่พวกท่านคิดว่าเหมาะสมสำหรับตำแหน่งนี้ 3 ชื่อ ไปยังสันตะสำนักทุกๆ 3 ปี และต้องรักษาไว้เป็นความลับ ยิง่ กว่านัน้ บรรดาพระสังฆราชประมุข สังฆมณฑลแต่ละท่าน มีสิทธิ์จะส่งรายชื่อพระสงฆ์ที่ท่านคิดว่าเหมาะสมกับตำแหน่งหน้าที่นี้ ไปยังสันตะสำนักได้อกี ด้วย (เทียบมาตรา 377.2) พระสมณทูตและประธานสภาพระสังฆราชเป็น ผูร้ บั ผิดชอบแสดงความคิดเห็นไปยังสันตะสำนักในการเลือกพระสังฆราช ท่านอาจจะสอบถาม ความคิดเห็นจากพระสงฆ์และฆราวาสบางคน โดยการสอบถามแบบส่วนตัวและอย่างลับ จากนัน้ พระสมณทูตจะส่งรายชือ่ 3 ชือ่ ตามทีท่ า่ นเห็นชอบไปยังสันตะสำนัก (มาตรา 377.3) ทุกขัน้ ตอน ของกระบวนการนีเ้ ป็นความลับทัง้ หมดจนกว่าจะมีการประกาศแต่งตัง้ ออกมา นัน่ คือ หลังจากที่ พระสมณทูตได้ทาบทามผูร้ บั แต่งตัง้ และผูน้ น้ั ยอมรับแล้ว เมือ่ พระสันตะปาปาทรงรับรองแล้วจะมี หนังสือแต่งตั้งมาจากสันตะสำนักเป็นการมอบตำแหน่งให้และมีการประกาศอย่างเป็นทางการ นอกจากนีผ้ รู้ บั เลือกเป็นพระสังฆราชจะต้องได้รบั การสถาปนาเป็นพระสังฆราชภายใน 3 เดือน นับจากวันที่รับหนังสือแต่งตั้ง หน้ า ที ่ ข องพระสั ง ฆราช: พระสังฆราชมีบทบาทและหน้าที่หลายอย่างซึ่งกฎหมาย พระศาสนจักรได้กำหนดหน้าที่หลักของพระสังฆราชไว้ดังนี้ 1.ฐานะเป็นนายชุมพา (Pastor): ต้องเอาใจใส่ดแู ลทุกคนในสังฆมณฑล และเป็นพิเศษ ต่อบรรดาพระสงฆ์ในฐานะผูช้ ว่ ยงานและผูแ้ นะนำ (มาตรา 383, 384) 2.ฐานะเป็นอาจารย์ (Teacher): ต้องสอนและอธิบายความจริงเกีย่ วกับความเชือ่ แก่บรรดา คริสตชน ด้วยการเทศน์สอนและการสอนคำสอน นอกจากนั้นต้องเอาใจใส่ในการประกาศ พระวรสารและส่งเสริมงานแพร่ธรรมในกิจการและองค์กรต่างๆ กระตุน้ ให้คริสตชนเข้ามามีสว่ นใน การแพร่ธรรมและช่วยเหลือพวกเขา (มาตรา 386, 756.2, 394, 678.1, 782) 3.ฐานะเป็นผูบ้ นั ดาลความศักดิส์ ทิ ธิ์ (Sanctifier): ต้องเป็นผูส้ ง่ เสริมให้เกิดความศักดิส์ ทิ ธิ์ ในหมูค่ ริสตชน ตามกระแสเรียกของแต่ละคน ต้องเป็นแบบอย่างในด้านความศักดิส์ ทิ ธิ์ ความรัก ความสุภาพและความเรียบง่ายของชีวิต และประกอบพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณทุกวันอาทิตย์ และวันฉลองบังคับ เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณในอาสนวิหารและในวัดอื่นๆ ของสังฆมณฑล (มาตรา 388, 389) 4.ฐานะเป็นผู้ปกครอง (Ruler): ทำหน้าที่บริหารปกครองสังฆมณฑลโดยใช้อำนาจ นิตบิ ญ ั ญัตแิ ละตุลาการทีท่ า่ นเป็นเจ้าของ ส่งเสริมการถือปฏิบตั ติ ามกฎหมายของพระศาสนจักร และคอยป้องกันมิให้ใช้ไปในทางผิด (มาตรา 391, 392) ดังนัน้ ตำแหน่งพระสังฆราชเป็นตำแหน่งทีม่ คี วามรับผิดชอบมากมาย ซึง่ จะต้องทำหน้าทีด่ งั กล่าว จนกว่าจะเกษียณอายุคือ 75 ปีบริบูรณ์หรือเมื่อไม่สามารถทำหน้าที่สำเร็จลุล่วงได้อีกต่อไป (มาตรา 401) พระสังฆราชไม่สามารถทำงานได้โดยลำพัง จึงเป็นหน้าทีข่ องพระสงฆ์และสัตบุรษุ ทุกคนทีจ่ ะต้องร่วมมือและเป็นหนึง่ เดียวกับพระสังฆราชในทุกๆ ด้าน เพือ่ ให้งานประกาศพระวรสาร ในเขตสังฆมณฑลมีความก้าวหน้ายิง่ ๆ ขึน้ และทำให้พระอาณาจักรสวรรค์ได้ไปถึงทุกๆ คน (อ้างอิงจากหนังสือ “สืบสาน ธารพระพร” หน้า 48-50)                  ⌫  ⌫                    ⌫ ⌦  ⌫                      ⌫  ⌫              ⌫          


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.