สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือนพฤษภาคม

Page 1

⌫⌫  ⌫   

 เกร็ดความรูค้ ำสอน

 ⌫  

คำว่า “วัด” ทีพ่ ระศาสนจักรใช้นน้ั มีความหมาย 2 อย่างคือ 1. หมายถึง ท้องที่ส่วนหนึ่งของสังฆมณฑลโดยมีการ กำหนดเขตพื้นที่อย่างชัดเจนพอสมควร ตรงกับคำภาษา อังกฤษว่า “parish” 2. หมายถึง สถานศักดิส์ ทิ ธิซ์ ง่ึ อาจจะเป็นอาคารทัง้ หลัง หรือเป็นเพียงส่วนหนึง่ ของอาคาร เพือ่ ใช้ประกอบศาสนพิธกี รรม สำหรับคริสตชน ดังนั้น วัดตามความหมายที่ 2 นี้ จึงจำแนกได้เป็น ประเภทต่างๆ ดังนี้ 1. วั ด (church) (กฎหมายพระศาสนจั ก ร มาตรา 1214-1222) - เป็นสถานศักดิ์สิทธิ์ สำหรับประกอบศาสนพิธี เพื่อ ประโยชน์ของคริสตชนโดยทัว่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ คริสตชน ในท้องทีต่ ามทีม่ กี ารกำหนดขึน้ มา ซึง่ ในกรณีนภ้ี าษาอังกฤษ ใช้คำว่า “parish church” - ต้องได้รับอนุญาตจากพระสังฆราชผู้ปกครอง อย่าง เป็นลายลักษณ์อักษรก่อน จึงก่อตั้งได้ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่อง เกี่ยวข้องกับกำหนดเขตพื้นที่ - ต้องมีการเสก และให้ชอ่ื (title) ซึง่ จะไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง อีกต่อไป - สูญเสียสถานะเมื่อถูกทำให้เสียหายจนไม่อาจบูรณะ หรือซ่อมแซมได้ หรือได้รบั อนุญาตให้เปลีย่ นไปใช้ทำประโยชน์ อย่างอื่น 2. Oratory ซึ่งอาจจะเรียกเป็นภาษาไทยได้ว่า “วัด ประจำ” เช่ น วั ด ประจำโรงเรี ย น วั ด ประจำคณะ ฯลฯ (กฎหมายพระศาสนจักร มาตรา 1223-1224, 1229) - เป็นสถานศักดิ์สิทธิ์ สำหรับประกอบศาสนพิธี เพื่อ ประโยชน์ของประชาคมคริสตชนบางกลุ่ม - ต้องได้รบั อนุญาตจากพระสังฆราชผูป้ กครอง จึงจัดตัง้ ได้ - จะเปลี่ยนไปใช้ทำประโยชน์อย่างอื่นๆ ได้ ก็ต้องได้รับ อนุญาตจากพระสังฆราชเช่นกัน - ควรมีการเสกตามจารีตที่กำหนดไว้ในหนังสือพิธีกรรม - สามารถประกอบศาสนพิธีกรรมต่างๆ ได้ นอกจาก ที ่ ม ี ก ฎของจารี ต พิ ธ ี ก รรม หรื อ กฎหมายหรื อ คำสั ่ ง ของ พระสังฆราชห้ามไว้ - คริสตชนอื่นๆ ร่วมศาสนพิธีใน oratory ได้ ถ้าผู้ใหญ่ ของประชาคมนั้นยินยอม 3. Private chapel ซึ่งอาจจะเรียกเป็นภาษาไทยว่า “วัดน้อย”

 ⌫⌫  ⌫    วาทะพระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู โอกาสฉลองวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ บางบัวทอง วันอาทิตย์ท่ี 26 เมษายน 2009

- เป็นสถานที่กำหนดไว้สำหรับประกอบศาสนพิธี เพื่อประโยชน์ของบุคคลใด บุคคลหนึ่งหรือบางคน - ต้องได้รบั อนุญาตจากพระสังฆราชผูป้ กครอง จึงจัดตัง้ ได้ - ควรมีการเสกตามจารีตที่กำหนดไว้ในหนังสือพิธีกรรมและเมื่อเสกแล้ว ต้องไม่ใช้เพื่ออย่างอื่น นอกจากศาสนพิธี - พระสังฆราชแต่ละองค์สามารถมีวัดน้อยเป็นของตนเองได้ แต่ถ้าจะให้ วั ด น้ อ ยนี ้ เ ป็ น ประโยชน์ ส ำหรั บ คริ ส ตชนอื ่ น ด้ ว ย ก็ ต ้ อ งได้ ร ั บ อนุ ญ าตจาก พระสังฆราชผู้ปกครองก่อน 4. Shrine ซึ่งอาจจะเรียกเป็นภาษาไทยว่า “สักการสถาน” (กฎหมาย พระศาสนจักร มาตรา 1230-1234) - เป็นสถานทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ ซึง่ พระสังฆราชผูป้ กครอง อนุญาตให้ใช้เป็นสถานทีท่ ่ี คริสตชนไปแสวงบุญอันเนือ่ งมาจากเหตุผลทางความศรัทธาพิเศษ มี 3 ระดับ คือ 1. ระดับสังฆมณฑล ซึ่งอยู่ภายใต้อำนาจของพระสังฆราชผู้ปกครอง 2. ระดับชาติ ซึ่งอยู่ภายใต้อำนาจของสภาพระสังฆราชฯ 3. ระดับนานาชาติ ซึง่ อยูภ่ ายใต้อำนาจของพระสันตะสำนัก (The Holy See) ระเบียบกฎเกณฑ์เกี่ยวกับสักการสถาน ควรระบุอย่างน้อยเรื่องจุดมุ่งหมาย อำนาจหน้าที่ของผู้ปกครองดูแลกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินและการบริหารทรัพย์สิน ควรได้รับสิทธิพิเศษบางโอกาสที่จะบังเกิดผลดีต่อสัตบุรุษ 5. ศูนย์อภิบาลและกิจการแพร่ธรรม (Pastoral centre and Missionary station) - แม้ ไ ม่ ม ี ร ะบุ ใ นกฎหมายของพระศาสนจั ก ร แต่ เ ป็ น สิ ่ ง จำเป็ น สำหรั บ งานธรรมทูตตามนโยบายที่กำหนดไว้ - เป็นฐานของการขยายงานธรรมทูตไปยังท้องที่ที่พระศาสนจักรยังไปไม่ถึง - ตรงไหนที่มีคริสตชนอยู่บ้าง น่าจะเรียกว่า “ศูนย์อภิบาล” - ตรงไหนที่ยังไม่มีคริสตชนเลย น่าจะเรียกว่า “สถานกิจการแพร่ธรรม” - ฐานดังกล่าว ควรประกอบด้วย อาคารสำหรับใช้ประกอบศาสนพิธี และ กิจกรรมที่ต้องกระทำในเบื้องต้น หวังว่าบทความนี้จะช่วยให้เราเข้าใจฐานะของวัดมากขึ้นในชุมชนคริสตชน ของเรา (จาก หนังสือทำเนียบวัดคาทอลิกในประเทศไทย, สือ่ มวลชนคาทอลิก ค.ศ.1998, หน้า 21-22)

ประกาศ

เจาะลึกพิเศษ

บทความ

โยกย้ายพระสงฆ์ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ (น.2)

คณะสงฆ์อคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ค.ศ.2009 (น.4)

เชิญเสด็จมาพระจิตเจ้าข้า (น.8)


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.