⌫⌫ ⌫
นักบุญเปาโลกล่าวว่า “ถ้าท่านกลับคืนชีพกับพระองค์” ก็จงใฝ่หาแต่สิ่งที่อยู่เบื้องบนคือ “พระเจ้า” เพราะฉะนั้นแสวงหาพระเจ้า และเมื่อพบพระองค์แล้ว เมื่อได้สัมผัสความรักของพระเจ้าแล้ว เราจะต้อง “จัดทีใ่ ห้พระ” ให้พระเจ้ามาเป็น สิง่ เบือ้ งบนสูงสุด เป็นที่ 1 ในชีวติ ของเรา วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช
โอกาสฉลองวัดนักบุญหลุยส์มารี เดอ มงฟอร์ต วันอาทิตย์ท่ี 2 พฤษภาคม 2010
พระจิตเจ้า
ผูเ้ ป็นพลังในชีวติ คริสตชน น.
3
น.
4
หนึง่ เดียวกันในความรัก น.
8
มองเหมือน
หรือ
มองต่าง
ศักดิ์ศรีลูกพระเจ้า
พระตรีเอกภาพ
สัมภาษณ์
⌫
ทุ ก ๆ วั น ที ่ 1 ของเดื อ นพฤษภาคม เป็ น วั น แรงงานซึ ่ ง เป็ น วั น หยุ ด ประจำปี ไ ม่ ใ ช่ แ ค่ เ พี ย งประเทศไทยเท่ า นั ้ น ยังเป็นวันหยุดประจำปีของทั่วโลก สำหรับเราคริสตชนในวันนี้มีความสำคัญอย่างไร? ในวันนี้ เป็นการฉลอง “วันกรรมกร” (ตรงกับการฉลองสากล) เป็นวันฉลองภายใต้การ อุปถัมภ์ของนักบุญยอแซฟ กรรมกร ซึง่ ในปี ค.ศ.1955 พระสันตะปาปาปีโอที่ 12 ได้ทรงตั้งวันฉลอง “นักบุญยอแซฟ กรรมกร” ขึ้น เพื่อจะให้คนงาน ทั้งหลายได้มีนักบุญองค์อุปถัมภ์ของตน และเพื่อให้ ความหมายแบบคริสตชนแก่ “วันกรรมกร” ด้วย นักบุญยอแซฟนับได้ว่าเป็นบุคคลที่มีความ สำคัญต่อประวัติศาสตร์ของมนุษย์อย่างยิ่ง ในฐานะ ที ่ ท ่ า นเป็ น บิ ด าเลี ้ ย งของพระเยซู เ จ้ า สามี ข อง พระนางมารีอา พระมารดาของพระผู้ไถ่ ต้องนับว่า ท่านเป็นผูม้ สี ว่ นร่วมในการไถ่บาปมนุษยชาติ รองจาก พระนางมารีอาแล้ว ก็ไม่นา่ จะมีบคุ คลอืน่ ใดทีม่ ี บทบาทสำคัญร่วมในการไถ่บาปมาก ไปกว่าท่านนักบุญยอแซฟ
ถ้อยคำในพระวรสารทีเ่ ราพบ เป็นการกล่าวพาดพิงถึงนักบุญยอแซฟ ในฐานะบิดาของพระเยซูเจ้าทีก่ ล่าวว่า มิใช่ลกู ช่างไม้ดอกหรือ (มธ.13:55) จากนีเ้ องทีท่ ำให้เราทราบถึงอาชีพของนักบุญยอแซฟ นักปราชญ์หลายท่าน ได้กล่าวถึงอาชีพของนักบุญยอแซฟว่า นอกจากจะเป็นช่างไม้ตามความหมาย ตามตัวหนังสือแล้ว นักบุญยอแซฟคงจะต้องเป็นผูท้ ส่ี ามารถทำงานอย่างอืน่ เช่น ช่างเหล็ก เป็นต้น แบบอย่างของท่านนักบุญยอแซฟ ที่มีต่อผู้ใช้แรงงาน คือ “นักบุญ โยเซฟเป็นแบบอย่างของพวกคนใจสุภาพ ซึง่ ความเชือ่ คริสตังได้เทิดทูน เข้าถึงขั้นสูงส่ง และนี่แหละเป็นเครื่องชี้แสดงให้เห็นว่า การเป็นคนดี และเป็นศิษย์แท้ของพระคริสตเจ้านัน้ ไม่เรียกร้อง “สิง่ ใหญ่โตอะไร” เรียกร้อง เพียงแต่คณ ุ ธรรมอันมีอยูท่ ว่ั ไปตามประสามนุษย์, เป็นของธรรมดาๆ, แต่ตอ้ ง เป็นคุณธรรมอันมัน่ คงและปฏิบตั จิ ริงจังเท่านัน้ ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ก็มีวัดที่มีองค์อุปถัมภ์ นามนักบุญ ยอแซฟ กรรมกร คือวัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทน์ และก็จะมีฉลองทุกวันที่ 1 พฤษภาคมในทุกๆ ปี เมื่อกล่าวถึงผู้ใช้แรงงานในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่แล้ว เป็ น คนไทย ที ่ ล งทะเบี ย นแรงงงานแล้ ว จากการสำรวจของสำนั ก งาน สถิติแห่งชาติ (สสช.) ที่สำรวจเกี่ยวกับผู้ใช้แรงงาน ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2553 พบว่า มีจำนวนผูม้ อี ายุ 15 ปีขน้ึ ไปหรือผูอ้ ยูใ่ นวัยทำงานทัง้ สิน้ 53.22 ล้านคน เป็นผูท้ อ่ี ยูใ่ นกำลังแรงงานหรือผูท้ พ่ี ร้อมทำงาน 38.27 ล้านคน เมือ่ เปรียบเทียบกับจำนวนผูม้ งี านทำในช่วงเวลาเดียวกันกับปี 2552 พบว่าจำนวน ผูม้ งี านทำเพิม่ ขึน้ 9.3 แสนคน (จาก 36.67 ล้านคน เป็น 37.60 ล้านคน) หรือ เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ทั้งนี้แล้วผู้ที่ใช้แรงงานไม่เพียงแต่คนไทยเท่านั้น ยังมี กลุ่มแรงงานต่างด้าวและกลุ่มชาติพันธุ์ ที่ทำงานอยู่ในประเทศไทย ก็ยังคง มีอยูใ่ ห้เห็นเป็นจำนวนมาก ดังนี้เองพระศาสนจักรคาทอลิกแห่งประเทศไทยได้กำหนดให้วันอาทิตย์ในสัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคม เป็ น วั น รณรงค์ เ พื ่ อ กลุ ่ ม ชาติ พ ั น ธุ ์ ในปี น ี ้ ต รงกั บ วั น ที ่ 9 พฤษภาคม 2553 ทางคณะกรรมการคาทอลิ ก เพื ่ อ การพั ฒ นาสั ง คม แผนกกลุ ่ ม ชาติ พ ั น ธุ ์ ไ ด้ อ อกสารวั น รณรงค์ เ พื ่ อ กลุ ่ ม ชาติ พ ั น ธุ ์ ทางแผนกฯ ตระหนั ก และสำนึกอยู่เสมอในความสำคัญของภารกิจกับพี่น้องกลุ่มชาติพันธุ์ ว่าภาระหน้าที่ที่จำเป็นเร่งด่วน ในยุคปัจจุบันนี้คือชะตากรรมของชีวิตชนเผ่าที่กำลังถูกกลืนหายไปในกระแสทางหลักจากทุนนิยม การท่องเที่ยวนิยม บริโภคนิยม เงินตรานิยม การเมืองนิยม อำนาจนิยม ทรัพยากรนิยม ภาวะ โลกร้อนนิยม เป็นต้น สิง่ ทีเ่ ราคริสตชนสามารถปฏิบตั ไิ ด้คอื การมองเห็นความสำคัญของคุณค่ามนุษย์ ความยุติธรรมเป็นสิ่งที่แยกออกจากความรักเมตตาไม่ได้เลย และเป็นสิ่งที่อยู่ ภายในความรักเมตตาเอง ความยุตธิ รรมเป็นหนทางแรกแห่งความรักเมตตา (พระสมณสาสน์ ความรักในความจริงของสมเด็จพระสันตะปาปา เบเนดิกต์ท่ี 16) คัดข้อความบางตอนมาจากสารวันรณรงค์ เพือ่ กลุม่ ชาติพนั ธุ์
⌫⌫ ⌫
บทความ
พีน่ อ้ งทีร่ กั มีเรือ่ งเล่าว่า เมือ่ พระเยซูเจ้าเสด็จเข้าไปในสวรรค์ ทูตสวรรค์มาอยูเ่ ฉพาะพระพักตร์
เพือ่ ต้อนรับพระองค์ ทูตสวรรค์องค์หนึง่ ถามพระองค์วา่ “พระองค์ไม่ได้อยูใ่ นโลกอีกต่อไปแล้วพระอาณาจักร ของพระองค์จะดำเนินต่อไปอย่างไร?” พระเยซูเจ้าตรัสว่า “เราได้มอบให้ศษิ ย์ของเราให้สบื ทอดงานของเรา ในโลก” “พระองค์ทรงหมายถึงชาวประมงที่อ่อนแอและขลาดกลัวเหล่านั้นหรือ? พระองค์คิดจริงๆ หรือว่า พวกเขาสามารถที่จะสืบทอดงานของพระองค์? พระองค์ไม่ทรงมีแผนอื่นที่มีประสิทธิภาพมากกว่าหรือ?” ทูตสวรรค์ทูลถาม พระเยซูเจ้าตรัสตอบ “ไม่มี เรามีเพียงแผนนีแ้ ผนเดียว พวกเขาจะทำงานนี้ และพระจิตเจ้าจะทรงประทับอยูก่ บั พวกเขา” พีน่ อ้ งทีร่ กั จากหนังสือกิจการอัครสาวกเราทราบว่า เมือ่ พระจิตเจ้าเสด็จลงมา ทรงบันดาลให้อคั รสาวก ซึง่ เก็บตัวอยูใ่ นห้อง ปิดประตูลน่ั ดาลแน่นหนาเพราะกลัวพวกยิว กลับมีความร้อนรน เปิดประตูออกไป ยืนประกาศต่อฝูงชนโดยไม่หวาดหวัน่ อะไรทัง้ สิน้ และนับจากนัน้ เป็นต้นมา อัครสาวกก็ออกไปประกาศข่าวดีทว่ั ไป และสุดท้ายได้ยอมพลีชวี ติ เพือ่ พระคริสตเจ้า พีน่ อ้ งครับชีวติ ของเรา ก็ต้องประกาศข่าวดีของพระเจ้าเช่นกัน และพระจิตเจ้าจะทรงประทานพลังที่จะช่วยเราให้สะท้อนถึงความดีงามของพระเจ้า ให้แก่เพือ่ นมนุษย์ของเรา นักบุญเปาโลได้สอนว่า “พระพรพิเศษมีหลายประการ แต่มพ ี ระจิตเจ้า พระองค์เดียว มีหน้าที่หลายอย่างต่างกัน แต่มีองค์พระผู้เป็นเจ้าเพียง องค์เดียว กิจการมีหลายอย่าง แต่มีพระเจ้าพระองค์เดียวผู้ทรงกระทำ ทุ ก อย่ า งในทุ ก คน” (1คร 12:4-6) พี่น้องที่รัก แม้เรามีพระกระแสเรียก ความสามารถ พระพร และหน้าที่ที่แตกต่างกัน แต่เรามีพระจิตเจ้าองค์เดียวกัน เป็นพลังในชีวิตของพวกเรา ทุกหน้าที่ ทุกพระพรที่เราได้รับ จึงมีความสำคัญ และเป็นการประกาศข่าวดีของพระเจ้าในแง่มมุ ต่างๆ พ่อได้อา่ นเรือ่ งราวของนักโทษคนหนึง่ ทีก่ ลับใจมาหาพระเจ้าระหว่างช่วงทีส่ ตาลินมีอำนาจ เขาได้แบ่งปันประสบการณ์ ของเขาแก่เรา ดังนี้ “ชือ่ ของฉันคือวาสสาลี อีวาโนวิช คอสลอฟ ฉันถูกจับและถูกส่งไปทีค่ กุ ทีไ่ ซบีเรีย เพราะฉันพกปืนโดยไม่มี ใบอนุญาต หลังจากนัน้ ทางการได้กเุ รือ่ งว่าฉันเป็นพวกมาเฟีย ฉันอยูท่ ไ่ี ซบีเรียหลายปี และถูกบังคับให้ทำงานหนัก มีอาหารให้ทาน เพียงนิดหน่อย ความหนาวเย็นและการขาดความรักที่แท้จริงสร้างความลำบากใจให้กับฉัน ตั้งแต่ฉันเป็นเด็กฉันถูกเลี้ยงมา ในบรรยากาศของอเทวนิยม ในชีวติ ของฉันๆ ไม่เคยเปิดหรืออ่านพระคัมภีร์ ความรูส้ กึ ตกต่ำและการขาดสติทำให้ฉนั อยากฆ่าตัวตาย แต่เมือ่ ฉันสังเกตนักโทษ 2-3 คนซึง่ ดำเนินชีวติ แตกต่างจากนักโทษคนอืน่ พวกเขาได้รบั ความทุกข์ทรมานเหมือนกับนักโทษคนอืน่ แต่พวกเขาไม่เคยบ่น พวกเขามีความรับผิดชอบต่องานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย พวกเขาแบ่งปันอาหารในส่วนทีพ่ วกเขาได้รบั ซึง่ มีไม่มากนัก แก่นักโทษคนอืน่ พวกเขาอยูก่ บั คนป่วยและผูท้ ก่ี ำลังจะตายเสมอ ฉันค่อยๆ ค้นพบว่าพวกเขาถูกจับเพราะพวกเขามีพระคัมภีร์ ในความครอบครอง และกล่าวต่อต้านการกดขีแ่ ละความอยุตธิ รรม จากชีวติ ทีเ่ ปีย่ มไปด้วยความเชือ่ และความหวังในพระเจ้า ของพวกเขา ทำให้ฉนั รูส้ กึ อบอุน่ และมีกำลังใจทีจ่ ะดำเนินชีวติ ของฉันต่อไป ทีละน้อยฉันเริม่ มีความเชือ่ ในพระเยซูเจ้า” พีน่ อ้ งทีร่ กั จะเห็นว่าพระจิตเจ้าสามารถทำงานผ่านทางคริสตชนทีม่ คี วามเชือ่ และความหวังในพระเจ้า ให้เขาประกาศข่าวดี แม้จะอยูใ่ นสถานทีแ่ ละสถานการณ์ทย่ี ากลำบากก็ตาม พีน่ อ้ งครับ เราก็เช่นเดียวกัน พระพร พละกำลังทีพ่ ระจิตเจ้าประทาน แก่เรามีเพียงพอ ขอให้เราได้ใช้พระพรของแต่ละคนอย่างดี อย่างเต็มที่ เพือ่ คนทัง้ หลายจะได้เห็นกิจการดีของเรา (ภายใต้การนำ ของพระจิตเจ้า) และสรรเสริญพระบิดาของเราผูส้ ถิตในสวรรค์ (เทียบ มธ 5:16) ⌫⌫ ⌫
เจาะลึกพิเศษ
⌫
เห็นเป็นอืน่ ไปไม่ได้ครับ ถ้าผมจะกล่าวถึง วันแรงงานแห่งชาติ ทีห่ ลายๆ คน มองว่าวันนีเ้ ป็นวันของผูใ้ ช้แรงงาน ซึง่ เมือ่ ก่อน (ปี 2499) เขาเรียกว่า “วันกรรมกร” แต่ตอ่ มาเปลีย่ นเป็นวันแรงงานแห่งชาติ ซึง่ กำหนดให้วนั ที่ 1 พฤษภาคม หรือ “May Day” เป็น วันที่เราคิดถึง “คนทีเ่ ป็นรากฐาน ทีท่ ำให้ทกุ อย่างในโลก ขับเคลือ่ นไปตามการเปลีย่ นแปลงของโลก เศรษฐกิจ สร้างชาติ สร้างประเทศ พัฒนาจนนำความเจริญสู่สังคม ประเทศชาติ ในปัจจุบันนี้” ประกอบกับใกล้วันรณรงค์เพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ ในปีนี้ตรงกับวันที่ 9 พฤษภาคม 2553เราเห็นกลุ่มชาติพันธุ์ ส่วนหนึ่ง มาทำงานใช้แรงงานในสังคมเมือง ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใดก็ตาม แรงงานในสังคมเมืองจ่ายให้ด้วยราคาที่สูง แต่ลืมศักดิ์ศรีของ การเป็นบุตรพระเจ้า จนบางทีแสดงออกถึงความแตกต่าง บางครัง้ ถึงกับ “ล้อเลียน” ในคำพูด จนลืมนึกจิตใจ ว่าการกระทำดังกล่าว พวกเขาคิด และรู้สึกอย่างไร ผมได้มีโอกาสพูดคุยกับ เจ้าหน้าที่ที่ทำงานที่สำนักมิสซัง ใครๆ ก็รู้จักเขา เรียกเขาว่า “อาจู้” ยอแซฟ ถาวร มาเยอะกู่ อาจู้ อายุ 27 ปี ทำงานทีน่ เ่ี ป็นเวลา 8 ปี ผมถามว่า “ขอสัมภาษณ์พเิ ศษ เกีย่ วกับวันรณรงค์ชาติพนั ธุ”์ อาจูต้ อบรับด้วยความเต็มใจ “อาจู้เล่าให้ฟังว่า ผมเคยร่วมงานวันรณรงค์ชาติพันธุ์ ประมาณ 2-3 ครั้งแล้ว ผมได้มีโอกาสพบปะพูดคุยกับเพื่อนต่างชนเผ่า ผมรูส้ กึ ว่าไม่ได้มเี พียงผมทีเ่ ข้ามาทำงานในกรุงเทพฯ เท่านัน้ ผมยังมีเพือ่ นพีน่ อ้ งชนเผ่าอืน่ ๆ ทีเ่ ข้ามาทำงาน สังคมเมืองเหมือนกับผม การแบ่งปันประสบการณ์การทำงานในสังคมเมืองทีก่ รุงเทพฯ ทำให้รบั รูไ้ ด้วา่ แต่ละคนได้แบ่งทุกข์ แบ่งสุขกัน ผมเป็นคนเดียวทีเ่ ป็น เผ่าอาข่า ในบรรดาเพือ่ นปกาเกอะญอ ผมทราบดีวา่ การได้รบั การฟังการบรรยาย ทำให้ผมรูถ้ งึ สิทธิประโยชน์ ทีค่ นชนเผ่าจะได้รบั มีอะไรบ้าง การทำงานกับนายจ้างต้องปฎิบตั ติ นอย่างไร ผมประทับใจและรูส้ กึ ว่า ยังมีวนั ทีค่ ดิ ถึงพวกผมในวันรณรงค์กลุม่ ชาติพนั ธุ”์ ผมมองว่า ในความแตกต่างระหว่างสังคมเมือง กับสังคมชนเผ่าของผม มันแตกต่างกันครับ การที่ผมมาอยู่ในสังคมเมือง ผมรู้ตัวเองดีว่า “ทางเลือกของคนชนเผ่า ไม่มีอะไรให้เลือกมากนัก อาจเป็นเพราะการเรียนมาน้อย งานที่ทำก็ไม่สามารถเลือกได้ เท่าไหร่นกั หากบางคนโชคดี มีบตั ร ก็สามารถเรียกร้องสิทธิประโยชน์ได้ แต่หากคนไหนไม่มี ก็คงต้องแล้วแต่นายจ้าง จะใจดี ไม่กดขี่ แรงงาน ก็เป็นอันโชคดีไป” ผมไม่ปฏิเสธการเข้ามาทำงานในสังคมเมือง ทีค่ ดิ ว่า มาทำแล้วได้รายได้ดี ส่วนใหญ่ทบ่ี า้ นของผมก็จะ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม แต่ยคุ นี้ สมัยนี้ การทำการเกษตร ผมคิดว่า น่าจะเป็นทางเลือกสุดท้าย คงเป็นเพราะรายได้ ไม่เพียงพอ กับค่าใช้จ่าย ผมเองก็เป็นคนหนึ่งที่ เลือกทำงานในสังคมเมืองเพราะปัจจัยที่ผมก็ส่งเงินกลับไปช่วยเหลือทางบ้าน” ความแตกต่างเรื่องการปรับตัวและภาษา ถามผมว่า “ผมรู้สึกอย่างไร เมื่อมีคนล้อเลียนคำพูดที่พูดไม่ชัดของผม“ โดยส่วนตัวผมพยายามเข้าใจครับว่า พวกเขาพยายามจะเป็นเพือ่ นกับผม คำพูดทีถ่ กู ล้อเลียน ดูจะเหมือนเป็น “จุดด้อย” สำหรับ คนชนเผ่า แต่ถ้าเลือกได้ ผมเองก็ไม่อยากถูกใครล้อเลียนครับ แต่คงต้องอยู่ที่ความคิดของคน อยู่ในเมือง ยอมรับได้ก็มีความสุข
⌫⌫ ⌫
ผมคิดตั้งแต่ปีแรกๆ ที่เลือกที่จะมาทำงานในกรุงเทพฯ ผมคิดว่า “ผมจะเจออะไรบ้าง ผมบอกตัวเองเสมอว่า ผมเป็น ชนเผ่า พูดไม่ชดั เท่าไหร่ ความรูไ้ ม่มาก แต่ถา้ ผมยอมรับได้ ผมจะอยูอ่ ย่างมีความสุข ปรับตัวให้ได้กบั ทุกๆ สถานการณ์” ส่วนการทำตัวกลมกลืนไปกับสังคมเมือง ผมมีความเห็นว่า “ถึงแม้จะแต่งตัว ทำผม ให้เหมือนกับคนเมืองอย่างไร ไม่เป็นไรครับ ทำไปแล้วมีความสุข เพราะเรามาอยูใ่ นเมือง แต่ตอ้ งไม่ลมื “กำพืด” ว่าเราเป็นใคร มาจากไหน เพราะวันหนึง่ เราก็ต้องกลับบ้านของเรา ผมอยากจะบอกอีกว่า แม้มีความแตกต่างกันมากเท่าไหร่ ผมก็ยังคิดว่า ศักดิ์ศรีของ ความเป็นมนุษย์กย็ งั คงอยู่ ไม่ตา่ งกันก็ตรงเป็นมนุษย์เหมือนกันครับ และสำคัญผมคิดว่าเป็นลูกของพระเจ้าเหมือนกัน ก็เป็นความเท่าเทียมกันที่ผมยิ้มได้อย่างมีความสุขครับ” ได้ฟังแนวคิดของอาจู่แล้ว ผมเลยอยากรู้ว่า ถ้าเป็นผู้หญิงจะคิดเหมือนหรือคิดต่าง อีกคนที่ผมได้สัมภาษณ์ นางสาว มะจ่าลอย ด่านปัญญา อายุ 18 ปี เพิง่ เข้ามาทำงานในกรุงเทพฯ เมือ่ ไม่นานมานี้ น้องให้ความคิดเห็นเกีย่ วกับ มุมมองความแตกต่างระหว่างสังคมเมืองกับสังคมกลุม่ ชาติพนั ธุว์ า่ “การได้เข้ามาทำงานในสังคมเมือง เป็นทางเลือกหนึง่ ทีท่ ำให้ชวี ติ มีทางเลือก มากกว่าการทำงานอยูท่ บ่ี า้ น อาจต้องแต่งงาน มีครอบครัว การมาทำงานทีน่ ่ี ทำให้ความเป็นอยู่ ที่ดีขึ้นกว่าการอยู่บ้าน ไม่รู้สึกถึงความแตกต่างเท่าไหร่ คิดว่า แม้เราไม่ใช่คนไทย แต่เราก็อยู่ร่วมกับพวกเขาได้ สือ่ สารกันด้วยภาษาไทย แม้อาจจะไม่ชดั ถ้อยชัดคำเท่าไหร่ แต่กเ็ รียนรู้ได้ไม่ยาก จึงคิดว่า บางทีการเลือกทำงานทีน่ ่ี น่าจะเป็นคำตอบที่ดีสำหรับชีวิต” ผมกลับมาลองทบทวนสิง่ ทีไ่ ด้ถาม วันแรงงาน กับ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ เมือ่ สังคมเมืองบรรจบกับสังคมชนเผ่า เอาอะไร มาวัดความต่างหรือความเหมือน หรือวัดคนจากงานทีท่ ำด้วยแรงงาน หรืองานทีม่ าจากสมอง แม้จะมีตน้ ทุนทางสังคม ทีต่ า่ งกัน การตีคา่ ตีตรา ความเป็นมนุษย์ ต่างหรือเหมือนอย่างไร? เรายังคงแบ่งชนชัน้ ด้วยคำว่า “รวย” หรือ “จน” หรือไม่ และเราในฐานะคริสตชน มองว่าทุกคนเป็นลูกของพระเจ้าเหมือนกับเราหรือเปล่า คำถามเหล่านี้น่าจะสะท้อนให้เรา เห็นถึงมุมมองของเราต่อประชากรของพระเจ้ากับกลุ่มชาติพันธุ์ในฐานะคริสตชน แนวทางการสอนของพระเยซูเจ้า ที่ใครๆ ก็พูดถึง “ศาสนาคริสต์ เป็นศาสนาแห่งความรัก” คริสตชนในยุคนี้ ได้กระทำตามคำสั่งสอนของพระองค์ บ้างหรือเปล่า คุ ณ ธรรมความรั ก “รั ก ผู ้ อ ื ่ น เหมื อ นรั ก ตนเอง” มองเขาอย่ า งที ่ เ ขาเป็ น จะเป็นเพียงแค่ อุดมการณ์หรือไม่ ลองถามตัวเองดูนะครับ
ประชาสัมพันธ์... ขอเชิญร่วมงานเสวนาวันรณรงค์เพือ่ กลุม่ ชาติพนั ธุป์ ระจำปี 2553/2010 เรือ่ ง “ภาวะ โลกร้อนกับวิถชี วี ติ พีน่ อ้ งกลุม่ ชาติพนั ธุแ์ ละชุมชนทีอ่ ยูก่ บั ป่า” ในวันอังคารที่ 25 พฤษภาคม 2553 เวลา 08.30 - 13.00 น. ณ ห้องประชุมชัน้ 10 อาคารสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย
⌫⌫ ⌫
บอกข่าวเล่าสาร
วันพฤหัสศักดิ์สิทธิ์เสกน้ำมันและฉลอง25ปีชีวิตสงฆ์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 1 เมษายน 2010 เวลา 09.30 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชา ขอบพระคุณในวันพฤหัสบดีศักดิ์สิทธิ์ ฉลอง 25 ปีชีวิตสงฆ์ รื้อฟื้นคำสัญญาแห่งการเป็นพระสงฆ์ เสกน้ำมันศักดิส์ ทิ ธิ์ ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ
พิธเี อฟฟาธา เมื่อวันเสาร์ศักดิ์สิทธิ์ที่ 3 เมษายน 2010 พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธเี อฟฟาธา โดยมี ผูเ้ ตรียมเป็นคริสตชนจำนวน 194 ท่าน พ่อแม่ อุปถัมภ์ 74 ท่านและมีพระสงฆ์ นักบวช ครูคำสอน เจ้าหน้าที่ รวม 31 ท่าน นักศึกษาศูนย์อบรม คริสตศาสนธรรม ภาคฤดูรอ้ น ชัน้ ปี 2 จำนวน 45 ท่าน รวมทัง้ หมด 344 ท่าน ณ ห้องประชุม โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา
ฉลองวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ บางบัวทอง และโปรดศีลกำลังนักเรียน วันอาทิตย์ท่ี 25 เมษายน 2010 เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณ ในโอกาสฉลองวัดพระแม่สกลสงเคราะห์ บางบัวทอง และในวันนี้พระคุณเจ้ายังได้โปรดศีลกำลังแก่นักเรียนคำสอนภาคฤดูร้อนเขต 3 และ นักเรียนของค่ายคำสอนบ้านสวนยอแซฟ 11 คน รวมจำนวน 135 คน
สัมมนาพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำปี 2010 คณะสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เข้าร่วมสัมมนาพระสงฆ์ประจำปี 2010 หัวข้อการสัมมนา ในครัง้ นีค้ อื “พระสงฆ์ ในฐานะผูป้ ระกาศข่าวดี” ณ ศูนย์ฝกึ อบรมงานอภิบาล บ้านผูห้ ว่าน เมือ่ วันที่ 6-8 เมษายน ทีผ่ า่ นมา
อบรมการจัดทำเวบไซต์ เขต 1 วันเสาร์ท่ี 24 เมษายน 2010 ทีผ่ า่ นมา เวลา 09.00-16.00 น. แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ร่วมมือกับเขตการ ปกครองวั ด เขต 1 นำโดยคุ ณ พ่ อ สุ ร สิ ท ธิ ์ ชุม่ ศรีพนั ธุ์ พระสงฆ์หวั หน้าเขต จัดการอบรม การจัดทำเวบไซต์ มีผู้สนใจเข้ารับการอบรม ครัง้ นี้ จำนวน 18 คน ณ โรงเรียนอัสสัมชัญศึกษา
การประชุมสมัชชาเพือ่ กำหนดทิศทางงานอภิบาล ค.ศ. 2010–2015 การประชุมสมัชชาเพือ่ กำหนดทิศทางงานอภิบาล ค.ศ.2010–2015 ในวันที่ 19-23 เมษายน ค.ศ.2010 ทางสภาพระสังฆราชคาทอลิกฯ ได้จดั ให้มกี ารประชุม สมัชชาเพื่อกำหนดทิศทางงานอภิบาล ค.ศ.2010– 2015 ณ ศู น ย์ ฝ ึ ก อบรมงานอภิ บ าล บ้ า นผู ้ ห ว่ า น สามพราน โดยมีพระสังฆราช, พระสงฆ์, นักบวช ชาย-หญิง และฆราวาสเข้าร่วมการประชุม 157 ท่าน
⌫⌫ ⌫
รับศีลล้างบาป ศีลมหาสนิทครัง้ แรก และรือ้ ฟืน้ คำสัญญาแห่งศีลล้างบาป เมื่อวันอาทิตย์ที่ 25 เมษายน 2010 คุณพ่อประทีป กีรติพงศ์ เป็นประธานในพิธีมิสซา บูชาขอบพระคุณร่วมกับคุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม คุณพ่อชัชวาล ศุภลักษณ์ ในโอกาส รับศีลล้างบาป ศีลมหาสนิทครัง้ แรก และการรือ้ ฟืน้ คำสัญญาแห่งศีลล้างบาป ให้กบั นักเรียนคำสอน ภาคฤดูร้อน ของวัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ และนักเรียนของค่ายคำสอนบ้านสวนยอแซฟ ณ วัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึน้ สวรรค์
รดน้ำขอพรผูส้ งู อายุวดั แม่พระฟาติมา ดินแดง คุณพ่อปิยะ โรจนะมารีวงศ์ เจ้าอาวาส วัดแม่พระฟาติมา ดินแดง ได้จัดพิธีมิสซาบูชา ขอบพระคุณสำหรับผู้สูงอายุ ร่วมรดน้ำและ ขอพรผู้สูงอายุ มีบรรดาลูกหลานมาร่วมเป็น จำนวนมาก เมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 11 เมษายน 2010
ประชาสัมพันธ์... วันกตัญญูวดั มารียส์ มภพ บ้านแพน เมื่อวันอาทิตย์ที่ 11 เมษายน 2010 คุณพ่อวิทยา แก้วแหวน เจ้าอาวาสวัดมารีย์สมภพ เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณให้กับผู้สูงอายุ เป็นพิเศษ ได้มีการเจิมน้ำมันให้กับ ผู้สูงอายุด้วย มีผู้สูงอายุที่มาร่วมพิธีมิสซาในวันนี้จำนวน 60 คน หลังจากนั้นรดน้ำขอพรในโอกาส วันสงกรานต์ แก้ไขคำผิด... สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ปีท่ี 8 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนเมษายน 2010 “บอกข่าว-เล่าสาร” ข่าวค่ายปัสกา 2010 ข้อความเดิม วันพฤหัสบดีท่ี 18 เมษายน 2010 ข้อความใหม่ วันพฤหัสบดีท่ี 18 มีนาคม 2010
“ศีลมหาสนิท ศูนย์กลาง ชีวติ ครอบครัวและชีวติ สงฆ์”
อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ขอเชิญทุกท่าน ร่วมพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณโอกาสปิดปี พระสงฆ์พร้อมทัง้ บวชพระสงฆ์ “สังฆานุกร ยอแซฟ สุพฒ ั น์ หลิวสิร”ิ และรือ้ ฟืน้ ศีลสมรส ครบรอบ 50 ปี 40 ปี และ 25 ปี ในวันเสาร์ท่ี 12 มิถุนายน ค.ศ.2010 เวลา 10.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน
ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนพฤษภาคม 2010 1 พ.ค. 1 พ.ค. 3 พ.ค. 3-4 พ.ค. 5 พ.ค. 6 พ.ค. 7 พ.ค. 8 พ.ค. 8,15 พ.ค. 12-13 พ.ค. 13-15 พ.ค. 22-23 พ.ค. 27 พ.ค. 29-30 พ.ค.
ฉลองวัดนักบุญยอแซฟ ตรอกจันทน์ และพิธีโปรดศีลกำลัง เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน พิธีมิสซาโปรดศีลกำลัง และรับศีลมหาสนิทครั้งแรก นักเรียนเขต 5 เวลา 10.00 น. วัดนักบุญเปโตร สามพราน คุณพ่อสานิจ สถะวีระวงส์ ประธาน พิธีถวายตัวครั้งแรกของคณะภราดาน้อย กาปูชิน ณ วัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ สัมมนาสามเณรใหญ่แห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ห้องประชุม 5 บ้านผู้หว่าน พิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณเนือ่ งในโอกาสพัชรสมโภช สุวรรณสมโภช หิรญ ั สมโภช และปฏิญาณตนตลอดชีพของคณะภคินเี ซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร ณ หอประชุมโรงเรียนเซนต์โยเซฟ บางนา จ.สมุทรปราการ เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน ฝ่ายการศึกษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดอบรมให้ความรูเ้ รือ่ งศาสนสัมพันธ์ เขต 3,5,6 เวลา 08.30-15.30 น. ห้องประชุม 5 บ้านผูห้ ว่าน ประชุมอนุกรรมการยกร่างทิศทางสภาพระสังฆราชฯ ห้องประชุม 1 บ้านผู้หว่าน เวลา 08.30-16.30 น. โครงการอบรมพระคัมภีร์ เขต 1 อบรมเวปไซต์ เขต 3 โรงเรียนตรีมติ รวิทยา เข้าเงียบฟื้นฟูจิตใจพระสงฆ์ประจำเดือนพฤษภาคม สัมมนาบุคลากรผู้ทำงานผู้สูงอายุ โดย ห้องประชุมปิติมหาการุณย์ บ้านผู้หว่าน ชุมนุมคริสตชนใหม่ ห้องประชุม 2 บ้านผูห้ ว่าน ฉลอง 15 ปี บ้านผูห้ ว่านพิธมี สิ ซา เวลา 10.00 น. ณ วัดเซนต์ไมเกิล้ บ้านผูห้ ว่าน อบรมครูคำสอน เขต 4 เวลา 08.30-12.00 น. ห้องประชุม 2 บ้านผูห้ ว่าน ⌫⌫ ⌫
เกร็ดความรู้คำสอน
สวัสดีพน่ี อ้ งทีร่ กั ท่ามกลางอากาศที่ร้อนจัด ข่าวความแปรปรวนของ ธรรมชาติ ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินไหว พายุฯ ล้วนทำให้ ชีวิตการเป็นอยู่ของเราพบความลำบากมากขึ้น แต่เรา คริสตชนก็ยังมั่นใจว่าเรายังคงเป็นลูกที่พระเป็นเจ้าทรงรัก แม้หลายสิ่งหลายอย่างอยู่นอกเหนือเกินกว่าที่เราสามารถ จะแก้ไขได้แบบเบ็ดเสร็จ แต่พน่ี อ้ งทีร่ กั อาศัยมือน้อยๆ กำลัง น้อยๆ ของเราในฐานะคริสตชนเรายังสามารถทำให้สังคม น่าอยู่ ท่ามกลางความวิตกกังวลต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ความแปรปรวนของธรรมชาติ ภัยภิบตั ภิ ายนอก ถึงแม้ จะน่ากลัว น่าวิตก แต่มนั ก็ยงั ไม่นา่ กลัวเท่าภัยทีเ่ กิดขึน้ จากใน จิตใจของคน โดยเฉพาะความเกลียดชังกัน การเอารัดเอาเปรียบ ซึง่ เราเห็นทัว่ ไปในสังคม ในเดือนพฤษภาคมพระศาสนจักร จัดให้มวี นั รณรงค์เพือ่ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ เราทราบดีวา่ ยังมีคนอีกเป็น จำนวนมากที่ไม่เคารพศักดิ์ศรีของคนอื่นดูถูกกันมองว่า คนอืน่ มีความเป็นคนน้อยกว่า อาจจะเพียงเพราะมีเงินน้อยกว่า ทำอาชีพที่ธรรมดามีหน้าที่การงานพื้นๆ มีความคิดเห็น ทางการเมืองทีต่ า่ งกัน ฯลฯ และเราก็แบ่งเป็นพวก เป็นกลุม่ เป็นสี มีพวกเขา พวกเราพร้อมที่จะทำร้ายกันเพียงเพราะ ความแตกต่างในเรือ่ งธรรมดาเช่นนี้ ทีจ่ ริงแล้วพระเป็นเจ้าสร้างมนุษย์ทกุ คนให้มศี กั ดิศ์ รีเท่าเทียมกัน บางคนอาจจะโชคดีกว่าคนอืน่ ทีเ่ กิดมาในครอบครัวทีร่ ำ่ รวย เกิดมามีสติปญ ั ญาดีกว่าคนอืน่ ๆ มีโอกาสร่ำเรียนมากกว่า คนอืน่ ลองคิดดูเล่นๆ ว่าถ้าเราเกิดมาในครอบครัวทีย่ ากจนมากๆ หรือเกิดมามีสติปญ ั ญาน้อยกว่าทีเ่ ป็นอยู่ ชีวติ การเป็นอยูข่ องเรา ทัศนคติการมองโลกของเราคงต้องเปลี่ยนไปไม่มากก็น้อย สำหรับเราคริสตชนเราต้องเข้าใจว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่เรามี มันเป็นกรรมสิทธิ์ของพระเจ้าที่ฝากเราไว้เพื่อที่จะให้เกิด ประโยชน์สำหรับการเจริญชีวติ คริสตชนทีด่ ี ทัง้ สำหรับตัวเรา และของผู้อื่น ถ้าเรายิ่งมีมากมันต้องเสริมให้ตัวเราและ เพือ่ นพีน่ อ้ งให้มชี วี ติ ทีใ่ กล้ชดิ พระเป็นเจ้ามากขึน้ ถ้าเรายิง่ มี ยิง่ ห่างไกลพระ ยิง่ มียง่ ิ หวง ยิง่ มียง่ ิ เกลียดชังคนทีม่ นี อ้ ยกว่าพระพร ของพระทีป่ ระทานให้เราและเพือ่ นพีน่ อ้ งต้องด้อยค่าลงเพราะเรา พีน่ อ้ งทีร่ กั เตือนตัวเองเสมอว่าทุกสิง่ ทีเ่ รามีไม่ใช่ของเรา แต่เป็นของที่พระเป็นเจ้าประทานเพื่อความดีของมนุษย์ ทุกคน บางสิง่ พระเจ้าอาจจะเพียงแค่ฝากเราไว้ ให้บริการผูอ้ น่ื เพราะเขาต่างก็มีสิทธิ์ท ี่จะได้รับของประทานจากพระ เช่นเดียวกัน บ้านช่องใหญ่โต รถยนต์คนั งาม เงินทองมากมาย ในธนาคาร สติปญ ั ญา ความเฉลียวฉลาด ฯลฯ เป็นของพระ ฝากไว้ให้เราบริการเพื่อคนอื่นด้วย ต่อหน้าพระไม่มีใคร เหนือกว่าใคร จะมีประโยชน์อะไรถ้าเรารับของฝากจากพระเจ้า แต่ชวี ติ ของเรากลับห่างเหินจากพระองค์และเพือ่ นพีน่ อ้ ง การเคารพในศักดิศ์ รีของผูอ้ น่ื จึงเป็นข้อปฏิบตั ทิ ไ่ี ม่สามารถ ต่อรองได้ เลิกดูถกู กัน มองเห็นพระเจ้าในตัวพีน่ อ้ งของเรา เมื่อมีแบ่งปันกัน เมื่อคิดเห็นไม่ตรงกันก็ยังเคารพกันได้ นีค่ อื คำสอนให้รกั กันของพระเยซูเจ้า อาจารย์ของเรานัน้ เอง ใครสอนขัดแย้งจากนีไ้ ม่ใช่อาจารย์ของเราแน่นอน แผ่นดินไหว น้ำท่วม ภูเขาไฟระเบิด อากาศร้อนจัด ฯลฯ เรายังพอทีจ่ ะหาวิธดี ำรงชีวติ อยูต่ อ่ ไปได้อย่างมีความสุข แต่ถา้ จิตใจทีม่ แี ต่ความจงเกลียดจงชังลุกลามไปในสังคม เราไม่อาจ จะอยู่กันอย่างมีความสุขได้ พี่น้องที่รักพระเยซูสอนให้รัก ความจงเกลียดจงชังมาจากด้านลบในจิตใจเราซึง่ เป็นผลงาน ของผีปศิ าจแน่นอน ขอพระเจ้าอวยพรพีน่ อ้ งทุกท่าน
คำว่า “พระตรีเอกภาพ”(Trinity) ความหมาย ที ่ ช ั ด เจนที ่ ส ุ ด ของเราคริ ส ตชนก็ ค ื อ “พระเจ้ า ของเราเป็นพระเจ้าหนึ่งเดียว แต่เป็นสาม พระบุคคล คือ พระบิดา พระบุตร และพระจิต และทัง้ สามพระบุคคลทรงเป็นพระเจ้าเดียว” ซึง่ บทบาทของแต่ละพระบุคคล เราพบได้ในบทยืนยัน ความเชื่อที่ว่า...“ข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเป็นเจ้า พระบิดา ทรงสรรพานุภาพ สร้างฟ้าดิน...ข้าพเจ้าเชื่อถึงพระเยซูคริสตเจ้า พระบุตรองค์เดียวของ พระเจ้าทรงรับทรมานสมัยปอนทิอสั ปีลาต ทรงถูกตรึงกางเขน ตายและ ฝังไว้ ซึง่ วันทีส่ ามกลับเป็นขึน้ มาจากความตาย...ข้าพเจ้าเชือ่ ถึงพระจิต...” ธรรมล้ำลึกเรื่องพระตรีเอกภาพบอกเราว่า “พระบิดาเป็นพระเจ้า ... พระบุตรเป็นพระเจ้า และพระจิตเป็นพระเจ้า” ซึ่งมิใช่มีพระเจ้าสามพระองค์ แต่เป็นพระเจ้าองค์เดียว คือ “พระบิดา พระบุตรและพระจิต เป็นธรรมล้ำลึกแห่ง พระตรีเอกภาพ สามพระบุคคลในพระเจ้าหนึง่ เดียว” ธรรมล้ำลึกแห่งพระตรีเอกภาพ เป็นธรรมล้ำลึกศูนย์กลางแห่งความเชื่อ และชีวติ ของคริสตชน เป็นธรรมล้ำลึกของพระเจ้าในพระองค์เอง ดังนัน้ จึงเป็น ต้นกำเนิดแห่งธรรมล้ำลึกอืน่ ๆ ทัง้ หมดเกีย่ วกับความเชื่อ เป็นแสงสว่างทีท่ ำให้ ธรรมล้ำลึกอื่นๆ กระจ่างแจ้งขึ้น ธรรมล้ำลึกแห่งพระตรีเอกภาพเป็นคำสั่งสอน ในระดับพืน้ ฐานทีส่ ดุ และสำคัญทีส่ ดุ ในพระฐานานุกรมแห่งความจริงเกีย่ วกับ ความเชือ่ (GCD 43) กล่าวว่า “ประวัตศิ าสตร์แห่งความรอดทัง้ หมด มิใช่อน่ื ไกล นอกจากประวัติศาสตร์แห่งลู่ทางและวิธีการ ซึ่งพระเจ้าเที่ยงแท้หนึ่งเดียว พระบิดา พระบุตร และพระจิต ทรงใช้ในการเผยแสดงพระองค์ ทรงคืนดี และ ร่วมเป็นหนึ่งเดียวกับมนุษย์ ผู้หันหลังให้บาป เมือ่ พูดถึง “พระตรีเอกภาพ” เราจะเห็นภาพของความรักทีพ่ ระเจ้าทรงมี ต่อเรา เห็นถึงความรักของ “พระบิดา” ทีท่ รงส่งพระบุตรแต่องค์เดียวของพระองค์ ลงมาไถ่บาปมนุษย์ เห็นถึงความรักของ “พระบุตร” ทีย่ อมสละชีวติ ของพระองค์ โดยการสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน เพื่อไถ่บาปเรามนุษย์ และเห็นถึงความรัก ของ“พระจิต” ที่นำเราให้เข้าใจความจริงในแผนการณ์ของพระเจ้า “พระตรีเอกภาพ” จึงเป็นหนึ่งเดียวกันในความรักของพระเจ้าที่มีต่อเรา เป็นหนึ่งเดียวกันในความรักของพระบิดา พระบุตร และพระจิต ที่ไม่สามารถ แยกออกจากกันได้ และเมือ่ เราเข้ามาเป็นสมาชิกของพระศาสนจักร เราก็ได้รบั ศีลล้างบาปในพระนามของพระตรีเอกภาพ เหตุน้ี ชีวติ ของเราคริสตชนทีแ่ ท้จริง ก็คือ “ชีวิตของพระตรีเอกภาพ” คือ “ความรัก ความเป็นหนึ่งเดียวใน ระหว่างพี่น้องคริสตชน ตามแบบอย่างของความสมบูรณ์ครบครัน แห่งความรักอันเป็นหนึ่งเดียวกันของพระตรีเอกภาพ” ในเมื ่ อ “ความรั ก ” คื อ สายสั ม พั น ธ์ แ ห่ ง ความเป็ น หนึ ่ ง เดี ย วกั น ของ พระตรีเอกภาพ เราจะสมโภชพระตรีเอกภาพอย่างมีความหมายได้อย่างไร …หากหัวใจของเรา “ยังไร้รกั ” ? ⌫⌫ ⌫ ⌦ ⌫ ⌫