ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ประจำ�เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2011
บรรณาธิการ : คุณพ่อประชาชาติ ปรีชาวุฒิ ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : อาจารย์ศรินทร์ จินตนเสรี คุณประภาศรี วงศ์สมมาตร์ บรรณาธิการ : เซอร์เบนิลดา สมจันทร์ Artwork : คุณสุพัตรา ผ่องศรี พิมพ์ที่ : บริษัท จูน พับลิชชิ่ง จำ�กัด โทร. 02-276-6570, 02-277-7226, 02-275-2758
������������������������.indd 1
4/11/2011 9:52
ดนตรีศักดิ์สิทธิ์
Sacred Music Newsletter
2
. . . ย า ทักท ดนตรีนับเป็นภาษาสากล ที่มีบทบาทสำ�คัญในการติดต่อสื่อสาร ที่ชนทุกชาติ ทุกภาษา และทุกประเทศทัว่ โลกคุน้ เคยและรูจ้ กั กันดี ดนตรีจงึ เป็นสือ่ กลางในการแสดงออก ซึ่งอารยธรรม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม และความเชื่อ ที่สืบทอด กันมาเป็นเวลานับหลายศตวรรษ ดนตรีศาสนา (Sacred Music, Church Music, ดนตรีวัด) มีไว้เพื่อความ ศักดิ์สิทธิ์และเพื่อการสรรเสริญพระเจ้า มีบทบาทสำ�คัญในพิธีกรรม และการภาวนา ประจำ�วันของคริสตชน ดนตรีศาสนาเปรียบเหมือนขุมทรัพย์ล้ำ�ค่า จึงต้องบำ�รุงรักษา ด้วยความเอาใจใส่อย่างดีที่สุด คณะนักขับร้องต้องได้รับความดูแลและส่งเสริมอย่าง สม่ำ�เสมอ จุดมุ่งหมายของดนตรีศาสนา คือ “เพื่อเกียรติมงคลของพระเจ้า และความ ศักดิ์สิทธิ์ของสัตบุรุษ” (พระสังฆธรรมนูญพิธีกรรม ข้อ 112) จุลสารดนตรีศักดิ์สิทธิ์ฉบับนี้ คณะผู้จัดทำ�ได้พยายามนำ�เสนอข้อมูลเกี่ยวกับ คำ�แนะนำ�และแนวทางการปฏิบัติดนตรีศักดิ์สิทธิ์ การจัดการอบรมส่งเสริมบุคคลผู้รับ ผิดชอบในพิธีกรรม เสนอมุมมองเกี่ยวกับดนตรีวัดและพิธีกรรม การจัดโครงการเพื่อ พัฒนาความสามารถของผู้เล่นดนตรีวัดและคณะนักขับร้อง การจัดอบรมเพื่อส่งเสริมการ แต่งเพลงในพิธีกรรม และการจัดแสดงดนตรีศาสนา เพื่อส่งเสริมประชาสัตบุรุษในการ มีส่วนร่วมและเป็นน้ำ�หนึ่งใจเดียวกัน เพื่อสรรเสริญพระเจ้าในบรรยากาศของพิธีกรรม และการภาวนาอย่างมีชีวิตชีวา และมีคุณค่า “เราได้เห็นเครื่องหมายแสดงว่า พระเจ้าทรงเอาพระทัยใส่ดูแลเรา และเป็น พระจิตเจ้าซึง่ ดำ�เนินงานในพระศาสนจักรของพระองค์ เป็นผูส้ ง่ เสริมให้สตั บุรษุ มีสว่ นร่วม ในพิธีกรรมอย่างมีชีวิตชีวายิ่งขึ้น”
ส์
ลุย ห อ ่ พ ลูก
“ประชุมคณะกรรมการดนตรีศักดิ์สิทธิ์ระดับชาติ สามัญครั้งที่ 2/2554” เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ที่ผ่านมา แผนกดนตรีศักดิ์สิทธิ์ในสภาพระสังฆราชฯ มีการจัดการประชุมสามัญ ครั้งที่ 2/2554 โดยมีพระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พร้อมด้วยผู้แทนสังฆมณฑล และ คณะกรรมการดำ�เนินงาน เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้นจำ�นวน 16 ท่าน ณ ศูนย์อบรมงานอภิบาล บ้านผู้หว่าน จ.นครปฐม ������������������������.indd 2
4/11/2011 9:52
ดนตรีศักดิ์สิทธิ์
Sacred Music Newsletter
3
ดนตรีกับการมีส่วนร่วมในพิธีกรรม คุณพ่อบุญชรัสมิ์ สุขสว่าง การประกอบพิธีกรรมเป็นพิธีของพระศาสนจักรในฐานะที่เป็นประชากรศักดิ์สิทธิ์ (เทียบ SC 26) เป็น พระกายทิพย์ของพระคริสตเจ้า โดยมีพระสงฆ์ในฐานะผู้แทนองค์พระคริสตเจ้าเป็นประธานของที่ชุมนุมสัตบุรุษ (เทียบ MS 13-14) และสัตบุรษุ ทำ�หน้าทีต่ ามบทบาทของตนในพิธกี รรมอย่างครบถ้วนด้วยการมีสว่ นร่วมอย่างเต็มสำ�นึก ซึ่งธรรมชาติของพิธีกรรมเรียกร้องสิ่งนี้อยู่แล้ว (MS 15) ในการปฏิรูปพิธีกรรมของสังคายนาวาติกันครั้งที่สองได้เน้นเรื่องการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันของสัตบุรุษ (Active Participation) ซึ่งจำ�เป็นต้อง “มาจากภายใน กล่าวคือ สัตบุรุษจะต้องร่วมจิตใจในสิ่งที่ตนกล่าวหรือฟังนั้น และให้ความร่วมมือกับพระหรรษทานจากสวรรค์” (MS 15a) ดนตรีศักดิ์สิทธิ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขับร้องบทเพลงในพิธีกรรม จึงเป็นการแสดงออกถึงการมีส่วนร่วม อย่างแข็งขันของสัตบุรุษ ซึ่งรวมไปถึงการตอบรับ การขับร้องต่างๆ อาทิเช่น เพลงสดุดี บทสร้อย บทเพลงอื่นๆ การบรรเลงดนตรี หรือแม้แต่การนิ่งเงียบด้วย (เทียบ SC 30, MS 15b) ด้วยเหตุนี้เมื่อมีการประกอบพิธีกรรมจึงต้องมีการจัดเตรียมอย่างดี (เทียบ IGMR 111) ซึ่งผู้อภิบาลจำ�เป็น ต้องให้คำ�แนะนำ�แก่ผู้รับผิดชอบด้านดนตรี (เทียบ MS 5) โดยเน้นว่าดนตรีในพิธีกรรมต้องทำ�ให้พิธีกรรมนั้นสมบูรณ์ (เทียบ MS 11) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสัตบุรุษ (เทียบ SC 114) และช่วยให้สัตบุรุษร่วมใจกันสรรเสริญพระเจ้า และนำ�ไปสู่ความศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงทำ�ให้สัตบุรุษเข้าใจพระธรรมล้ำ�ลึกที่กำ�ลังเฉลิมฉลองอยู่อย่างดี (เทียบ SC 112)
������������������������.indd 3
4/11/2011 9:52
ดนตรีศักดิ์สิทธิ์
Sacred Music Newsletter
4
โครงการอบรม “โครงการอบรมเขียนเพลงวัด”
โดย 4 วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ และ 3 นักแต่งเพลงวัด ระหว่างวันที่ 25 - 27 มีนาคม 2011 ณ บ้านผู้หว่าน จังหวัดนครปฐม ผู้เข้าอบรม จำ�นวน 10 คน
“การอบรมเรื่อง Choral Arranging”
โดย Prof. Arwin Tan และ Ralfh Hoffman ณ วัดแม่พระองค์อุปถัมภ์ กรุงเทพกรีฑา ผู้เข้าอบรม จำ�นวน 26 คน
“การสร้างและนำ�คณะนักขับร้อง” โดย อ.ศรินทร์ จินตนเสรี ประสานเสียงในวัด Basic 1 (รุ่น 2) จำ�นวน 10 สัปดาห์ ผู้เข้าร่วม 10 คน
“อบรมการเล่นอิเล็กโทน” การอบรมเชิงปฏิบัติเทคนิคพื้นฐานการเล่นอิเล็กโทน สำ�หรับบทเพลงในพิธีกรรม โดยวิทยากร อ.เรมีย์ นามเทพ และอ.ยุทธพงศ์ แสงสมบูรณ์ เมื่อวันที่ 30-31 กรกฎาคม ณ อาคารสยามกลการ ผู้เข้าอบรม 25 คน ในวันสุดท้าย มีการมอบประกาศนียบัตร โดยคุณพ่อประชาชาติ ปรีชาวุฒิ ผู้อำ�นวยการแผนกดนตรีศักดิ์สิทธิ์ ร่วมกับ ดร.สุวรรณา วังโสภณ ผู้จัดการทั่วไปฝ่ายสถาบันดนตรียามาฮ่า ������������������������.indd 4
4/11/2011 9:52
ดนตรีศักดิ์สิทธิ์
Sacred Music Newsletter
5
การแสดงคอนเสิร์ต
“คณะนักขับร้อง Novo Concertante Manila จากฟิลิปปินส์ กับดนตรีศักดิ์สิทธิ์ในประเทศไทย” จัดโดย แผนกดนตรีศักดิ์สิทธิ์ ในสภาฯ ร่วมกับ คณะกรรมการคริสตสัมพันธ์ In One Accord คอนเสิร์ต 13 พฤษภาคม 2011 ณ สักการสถานบุญราศีนิโคลาส นครปฐม
คอนเสิร์ต 15 พฤษภาคม 2011 ณ วัดแม่พระองค์อุปถัมภ์ กรุงเทพกรีฑา
คอนเสิร์ต 14 พฤษภาคม 2011 ณ คริสตจักรที่สอง สามย่าน กรุงเทพกรีฑา
ภาพถ่ายร่วมกัน ของคณะนักร้องและผู้จัด
การแสดงผลงาน “Church Choral Conducting Basic 1 Recital รุ่นที่ 2” ณ ห้องประชุมมงฟอร์ต โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2011 โดยคุณพ่อประชาชาติ ปรีชาวุฒิ ผู้อำ�นวยการแผนกฯ เป็นประธาน และมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้รับการอบรม จำ�นวน 9 คน วิทยากรผู้ให้การอบรม คือ อาจารย์ศรินทร์ จินตนเสรี
������������������������.indd 5
4/11/2011 9:52
ดนตรีศักดิ์สิทธิ์
Sacred Music Newsletter
6
เล่าสู่กันฟัง นักร้องแม่ครัว แห่งอาสนวิหารราฟาเอล สุราษฎร์ธานี พิธีกรรมโอกาสพิเศษ ย่อมต้องเตรียมพร้อมในทุกๆ ด้าน เพื่อให้ดำ�เนินไปอย่างราบรื่นและสง่างาม ดนตรี และเพลงก็เป็นส่วนหนึ่งที่ทำ�ให้การเฉลิมฉลองมีชีวิตชีวา อาสนวิหารราฟาเอล สุราษฎร์ธานี เป็นอาสนวิหารเล็กๆ ที่มีสัตบุรุษไม่เกิน 500 คน ในอดีต การขับร้อง โอกาสฉลองนั้นอาศัยผู้ฝึกหัดของคณะผู้รับใช้ดวงหทัยนิรมลของพระแม่มารีย์ เด็กจากสำ�นักฝึกธรรมดอมินิกซาวีโอ สามเณรเล็กของสังฆมณฑล เด็กจากบ้านเทเรซา ผู้อำ�นวยการเพลงก็คือผู้ดูแลเด็กๆ เหล่านี้นั่นเอง ในปัจจุบัน ไม่มี บ้านอบรม ไม่มีบ้านเณรอยู่ใกล้ๆ แต่มีเยาวชนซึ่งทำ�งานในโรงครัวของโรงเรียนมาร่วมมิสซาเป็นกลุ่ม ซึ่งส่วนใหญ่พูด และอ่านภาษาไทยไม่คล่อง คุณพ่ออรรคเดช ทับปิง เจ้าอาวาสอาสนวิหาร จึงรวบรวมเยาวชนเหล่านี้ ฝึกซ้อมขับร้อง รุ่นพี่ที่รู้ภาษาไทย มากกว่า ก็เขียนคำ�อ่านเป็นภาษาของเขา ฝึกพูด ออกเสียงให้ถูกต้อง ดังนั้นจึงมีการสอนภาษาไทย ฝึกซ้อมขับร้อง เพลงในพิธีกรรม โดยมีครูคำ�สอน ครูกรรณิการ์ อนุรา ช่วยติดตามอย่างใกล้ชิด เยาวชนกลุ่มนี้มีความเชื่อศรัทธา สวดภาวนาหลังเลิกงาน ใช้เวลาเฝ้าศีลมหาสนิท ร้องเพลงสรรเสริญพระเจ้า ดังนั้นเมื่อคุณพ่ออรรคเดช เริ่มสอนขับร้องภาษาไทย พวกเขาจึงกระตือรือร้นและร่วมฝึกซ้อมอย่างสนใจ ด้วยความ พากเพียร การฝึกซ้อมอย่างสม่ำ�เสมอ และใจรักพิธีกรรม ทำ�ให้เกิดกลุ่มนักขับร้องประสานเสียงจากเยาวชนหลาย เชื้อชาติ พวกเขาได้เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน มีส่วนร่วมในพิธีกรรม เป็นที่ชื่นชมของผู้มาร่วมมิสซา ได้รับการยอมรับ เป็นที่รู้จัก มีเสื้อทีมเห็นได้ชัดเจน นอกจากขับร้องที่อาสนวิหารแล้วยังไปขับร้องที่วัดของซิสเตอร์คณะผู้รับใช้ฯ วัดอัครเทวดามีคาเอล หมู่บ้านสมหวัง ที่อยู่ใกล้เคียง ในโอกาสฉลองต่างๆ อีกด้วย ทำ�ให้ชีวิตในต่างถิ่น การทำ�งาน ต่างแดนของพวกเขาอบอุ่นมีความหมายยิ่งขึ้น มิใช่เพียงมาทำ�งานหาเงินเลี้ยงชีพเท่านั้น นี่ก็เป็นอีกมิติหนึ่งของการ อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์
กุหลาบป่า
������������������������.indd 6
4/11/2011 9:52
ดนตรีศักดิ์สิทธิ์
“ทำ�ไม?
Sacred Music Newsletter
7
พระศาสนจักรไทย ยังคงใช้บทเพลงเกรกอเรี่ยนชานท์อยู่” คุณพ่อประชาชาติ ปรีชาวุฒิ บทเพลงเกรกอเรี่ยนชานท์เป็นบทเพลงที่เริ่มต้นมากับ พระศาสนจักรแรกเริ่มติดต่อกันมาเป็นระยะเวลาอันยาวนาน จนถึงปัจจุบนั ประมาณกว่า 1,500 ปี มีการรวบรวมบทเพลง เกรกอเรี่ยนในปี ค.ศ. 590-604 โดยพระสันตะปาปาเกรกอรี่ ที่ 1 เป็นการขับร้องเพลงสวดในศาสนพิธีที่มีรากฐานมาจากการสวดภาวนาของชาวยิว และมาจากที่ต่างกันในแต่ละ คณะนักบวช จึงต้องทำ�การรวบรวมจัดประเภทการใช้อย่างเป็นระบบกำ�หนดให้เป็นแบบแผนในพิธีกรรม เพื่อให้เกิด ความเป็นน้ำ�หนี่งใจเดียวกันในพระศาสนจักร บทเพลงเกรกอเรี่ยนจึงเป็นบทเพลงที่ควบคู่มากับพระศาสนจักรและมีการพัฒนารูปแบบมาเป็นระยะจาก ทำ�นองเดียว มีเนื้อร้องเป็นภาษาละตินที่ร้องโดยนักบวชชายเท่านั้น ไม่ปรากฏอัตราจังหวะที่แน่นอน การดำ�เนิน ทำ�นองเป็นการก้าวไปทีละขัน้ มีลกั ษณะยืดหยุน่ ละเอียดงดงาม เป็นไปตามความสำ�คัญและความหมายของเนือ้ ร้อง ไม่มีค่าความยาวของตัวโน้ต ใช้โหมดในการกำ�หนดระดับเสียงของทำ�นอง อารมณ์ของเพลงก่อให้เกิดความสงบและ มีการพัฒนารูปแบบจากเพลงในศาสนา ค่อยๆ ออกมา ทั้งที่เป็นบทเพลงภายนอกหรือบทเพลงทางโลก มีการใช้ แนวประสานคู่เสียงเกิดขึ้นมาตามลำ�ดับ และจากการขับร้องแบบหนึ่งโน้ตต่อหนึ่งพยางค์ ก็มาเป็นหลายโน้ตต่อหนึ่ง พยางค์ การเคลื่อนที่ของระดับเสียงที่นุ่มนวลต่อเนื่อง และมีการใช้ระดับเสียงที่สงบ ก็ค่อยๆ มีการพัฒนาก้าวไกลขึ้น เรื่อยๆ จนต้องมีการจัดรูปแบบในพิธีกรรม แนวของดนตรีรวมทั้งเครื่องดนตรีที่นำ�มาประกอบ ตลอดระยะเวลาอันยาวนาน รูปแบบมีทั้งการพัฒนาและ การนำ�กลับมาใช้อกี ครัง้ หลังจากการหายไปก็มกี ารปรับรูปแบบและเปลีย่ นแปลงแนวเพลง ตลอดจนมีการประสานเสียง มากขึน้ ดังนัน้ จะเห็นได้วา่ บทเพลงเกรกอเรีย่ นนีเ้ ป็นมรดกอันล้�ำ ค่าของพระศาสนจักรเป็นเวลาอันยาวนาน เป็นเสมือน เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวคาทอลิกเสมอมา บทเพลงเกรกอเรี่ยนนี้ได้เริ่มเข้ามาในประเทศไทยประมาณกว่า 400 ปีมาแล้ว โดยบรรดามิชชันนารีจากยุโรปที่นำ�มาพร้อมกับคำ�สอนและชีวิตของท่านเหล่านั้นเอง ความซาบซึ้งใน แนวของดนตรีที่อยู่ในจิตใจของบรรดาผู้อาวุโสที่คุ้นเคยกับการร้องและเข้าสู่บรรยากาศวันฉลองในพิธีกรรมของวันที่ มีความหมายของเราคริสตชนคาทอลิก ปัจจุบันอาจจะค่อยๆ หายไปพร้อมกับผู้อาวุโสที่รอให้มีการรื้อฟื้นและพัฒนา บทเพลงของพระศาสนจักรอันเป็นมรดกล้ำ�ค่าของพระศาสนจักรในเมืองไทยต่อไป
ส่งคำ�ถามและร่วมแสดงความคิดเห็นได้ที่ ...
แผนกดนตรีศักดิ์สิทธิ์ 122/11 ซ.นาคสุวรรณ ถ.นนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทร. 02–681–3900 ต่อ 1407 Email:thaisacredmusic@gmail.com Facebook: ดนตรีศักดิ์สิทธิ์ (thaisacredmusic@hotmail.com
������������������������.indd 7
4/11/2011 9:53
ประชาสัมพันธ์ “The Sonoro Singers” เป็นคณะนักขับร้องที่เกิดจากการคัดสรร คริสตชนทีม่ ใี จรักการร้องสรรเสริญพระเจ้า รวมตัวกันเป็นกลุม่ Vocal Ensemble เมื่อกลางเดือนกรกฎาคม 2011 โดยร้องประสาน 4 แนว แต่ละเสียงได้นำ�เอาความโดดเด่นของแต่ละคน หลอมรวมสร้าง เอกลักษณ์ใหม่ ภายใต้ชื่อ The Sonoro Singers ก่อตั้งและฝึกซ้อม โดย อ.ศรินทร์ จินตนเสรี “The Triple C” (Church Conductors Chorale) เป็นคณะ นักขับร้องที่ได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อ เดือนกรกฎาคม 2011 โดย อ.ศรินทร์ จินตนเสรี ได้รวบรวมผู้นำ�คณะนักขับร้องจากวัดและบ้านนักบวช ที่รับการอบรมการสร้างและนำ�คณะนักขับร้องประสานเสียงในโบสถ์ รุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2 กับแผนกดนตรีศักดิ์สิทธิ์ในสภาพระสังฆราชฯ ร่วมกันแสดงคอนเสิรต์ ครัง้ แรกใน “Spiritual Touch on ELECTONE” เมื่อวันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม ที่ผ่านมา นับเป็นจุดเริ่มต้นของการ รวมตัวของกลุ่มผู้นำ�คณะนักขับร้องที่จะได้โอกาสนำ�ประสบการณ์ไปใช้ในคณะนักขับร้องต่อไป
ประมวลภาพการแสดงคอนเสิร์ต “Spiritual Touch on ELECTONE”
������������������������.indd 8
4/11/2011 9:53