⌫⌫ ⌫
เยาวชนคือคนรุน่ ใหม่ คืออนาคตและความหวัง ของสังคม ของชาติ และของพระศาสนจักร เป็นผูท้ ม่ี ี “พลัง” มี “ความใฝ่ฝนั ” มี “น้ำใจดี” พร้อมทีจ่ ะอุทศิ ตัวเพือ่ ผูอ้ น่ื และเพือ่ สังคม ขอให้เยาวชน “เปิดใจให้กว้าง” และ “ตอบ” เสียงเรียกของพระเยซูคริสตเจ้า ทีก่ ำลังตรัสในส่วนลึกแห่งจิตใจของพวกเธอ อยูใ่ นขณะนี้ อย่ากลัวทีจ่ ะตอบรับคำเชิญนี้ วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โอกาสวันเยาวชนแห่งชาติ ทีว่ ดั นักบุญเปโตร วันเสาร์ท่ี 18 กันยายน 2010
ประวัติ
3 4
การสวดสายประคำ น.
AsIPA กับ BILA
เกี่ยวข้องกันอย่างไร น.
สาสน์โอกาส
วันแพร่ธรรมสากล 2010
น.
8
สัมภาษณ์
⌫
1. PMG มีทม่ี าทีไ่ ปอย่างไร? (PMG เกิดขึน้ มาได้อย่างไร)
กลุม่ PMG มาจากดำริของคุณพ่ออาดรีอาโน เปโลซินและคุณพ่อวัชศิลป์ กฤษเจริญ ในปี ค.ศ.2009 เนือ่ งจากคุณพ่อ อาดรีอาโน เปโลซิน อธิการของคณะธรรมทูตไทย (TMS) ในสภาพระสังฆราชแห่งประเทศไทยเห็นว่า งานด้านธรรมทูตของ พระศาสนจักรในประเทศไทยกำลังก้าวหน้าเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น ดังจะเห็นได้จากคณะธรรมทูตไทยเองที่มีพระสงฆ์และ นักบวช(หญิง) สมัครเข้าเป็นสมาชิกและเข้ารับการอบรมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ แต่ในด้านฆราวาสนั้นยังไม่มีการจัดการฝึกอบรม ขึ้นมาโดยเฉพาะเจาะจง จึงได้พูดคุยกับคุณพ่อวัชศิลป์ กฤษเจริญ เลขาธิการคณะกรรมการคาทอลิกเพื่อการธรรมทูต ในสภาพระสังฆราชคาทอลิกประเทศไทย ที่สุดทั้งสองท่านเห็นพ้องกันที่จะจัดการฝึกอบรมฆราวาสให้มีจิตตารมณ์ธรรมทูต โดยใช้ชอ่ื ว่า PMG (Parish Missionary Group) ขึน้ เพือ่ ให้คขู่ นานกันกับคณะธรรมทูตไทย TMS
2. PMG คือใคร?
ชื่อ PMG มาจากคำว่า Parish Missionary Group เรียกในภาษาไทยว่า “กลุม่ อาสาสมัครประกาศข่าวดีประจำวัด”
3. บทบาทหรือหน้าทีห่ ลักๆ ของ PMG คืออะไร และเมือ่ ผ่านการเข้าร่วมโครงการแล้วลงสนามไปประกาศข่าวดีตามวัด อย่างไร?
โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อเป็นการสร้างฆราวาสผู้นำในการเป็นอาสาสมัคร ทำงานด้านการประกาศข่าวดีอย่างเข้มข้นประจำวัด และเป็นผูส้ นับสนุนงานแพร่ธรรมของพระศาสนจักรในด้านการประกาศข่าวดี ดังนัน้ หน้าทีข่ องสมาชิกหลังจากผ่านการอบรมแล้วคือ สวดภาวนาเพื ่ อ งานแพร่ ธ รรม ทั ้ ง การสวดภาวนาส่ ว นตั ว ประจำวั น หรื อ การรวมตั ว กั น สวดเป็ น กลุ ่ ม สั ป ดาห์ ล ะหนึ ่ ง ครั ้ ง สนับสนุนปัจจัยต่างๆสำหรับงานแพร่ธรรม เช่น การบริจาคเงินหรือวัตถุสิ่งของเพื่อคนยากจน หรือเพื่อการก่อสร้างวัด หรือใน กิจกรรมต่างๆ ออกไปประกาศข่าวดีแก่คนที่ยังไม่รู้จักพระเยซูคริสตเจ้าโดยการเยี่ยมเยือนหรือการพูดคุยทั้งกระทำโดยส่วนตัว และการเข้าสังกัดกลุ่มแพร่ธรรมต่างๆ ที่วัดมีอยู่แล้ว ร่วมชุมนุมใหญ่ประจำปีวันแพร่ธรรมสากลในเดือนตุลาคม และเข้ารับ การฝึกอบรมหรือการเข้าเงียบตามความเหมาะสม
ส่วนกลุ่ม PMG ที่ได้จัดการฝึกอบรมไปแล้วจนถึงปี 2010 นี้ มี 2 รุ่นด้วยกัน รุ่นที่ 1 สมาชิกทั้งหมดเป็นสัตบุรุษจากวัดต่างๆ ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ส่วนรุ่นที่ 2 มีสัตบุรุษจากเชียงใหม่ มาร่วมด้วย แต่ส่วนใหญ่ก็ยังคงเป็นสมาชิกจากอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ ดังนั้นจึงให้กลุ่ม PMG ทั้งสองขึ้นอยู่กับฝ่ายธรรมทูตของ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยมีคุณพ่อสมเกียรติ บุญอนันตบุตร เป็นผู้รับผิดชอบ มีคุณพ่ออาดรีอาโน (อธิการ TMS) และคุณพ่อ วัชศิลป์ กฤษเจริญ (เลขาธิการฯ ธรรมทูต) เป็นทีมผูใ้ ห้การอบรม และให้การสนับสนุน เจตนารมณ์ของพระศาสนจักร โดยเฉพาะ อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีความหวังทีจ่ ะให้วดั ทุกวัดมีสมาชิก PMG ประจำวัดเพือ่ ให้สมาชิกเหล่านีช้ ว่ ยเหลือคุณพ่อเจ้าวัดในการหาบุคคล ทีม่ คี วามสนใจทีจ่ ะเรียนรูเ้ รือ่ งของคาทอลิกมาวัดเพือ่ เรียนคำสอนต่อไป
4. PMG สอดคล้องกับแผนอภิบาลอย่างไร?
ตามแผนอภิบาลคริสตศักราช 2010–2015 ของพระศาสนจักร คาทอลิกในประเทศไทย บทที่ 5 ได้กำหนดแผนงานประกาศและ แบ่งปันข่าวดี ดังต่อไปนีค้ อื ข้อ 38 “งานธรรมทูตเป็นธรรมชาติของ พระศาสนจักรและเป็นพันธกิจทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากพระคริสตเจ้า เพื ่ อ ความรอดพ้ น ของมนุ ษ ย์ ท ุ ก คน ด้ ว ยการปลุ ก จิ ต สำนึ ก จิตตารมณ์ธรรมทูตแก่สมาชิกของพระศาสนจักรทุกคน เฉพาะอย่างยิง่ ผูเ้ ตรียมตัวเป็นผูอ้ ภิบาลและผูร้ ว่ มงานอภิบาลอย่างจริงจังและต่อเนือ่ ง; ส่งเสริมกระแสเรียกการเป็นธรรมทูตอย่างเป็นกระบวนการที่มีการฝึก อบรมรองรับ; ทุ่มเทสรรพกำลังของพระศาสนจักรเพื่องานธรรมทูต อย่างมีเอกภาพ โดยมุง่ เน้นการก่อตัง้ ชุมชนแห่งความเชือ่ ใหม่ๆ เสมอ ทัง้ นีจ้ ำเป็นต้องให้ความเคารพอย่างจริงใจต่อคุณค่าทางศาสนาวัฒนธรรม และประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น โดยกำหนดให้มีทีมงานธรรมทูต อย่างเป็นรูปธรรมทั้งในระดับสังฆมณฑลและระดับวัด เน้นให้มีความ สอดคล้องกับแนวทางของสภาพระสังฆราชฯ นอกจากนี้กำหนดให้มี แผนงานธรรมทูตและหลักสูตรอบรมระยะสัน้ และระยะยาวโดยมุง่ เน้น เทววิทยาเรือ่ งความเป็นหนึง่ เดียว ให้เป็นคำสอนพืน้ ฐานสำคัญอันจะ นำไปสู่การเจริญชีวิตที่เป็นประจักษ์พยานและการประกาศข่าวดี; สนับสนุนให้ความสำคัญกับกิจการของคณะธรรมทูตไทยและกลุ่ม องค์กรคาทอลิกเพือ่ งานประกาศข่าวดีและเพือ่ งานธรรมทูต”
5. เชิญชวนเข้าร่วมโครงการอาสาสมัครประกาศข่าวดีประจำวัด
อบรมอาสาสมัครประกาศข่าวดีประจำวัด (PMG) รุน่ ที่ 3 ปี 2554/2011 รับสมัครฆราวาสทัว่ ไปทีม่ ใี จรักงานประกาศข่าวดี หรือแพร่ธรรมเข้ารับการอบรมอย่างเข้มข้น 5 สัปดาห์ ดังนี้ ครัง้ ที่ 1: วันที่ 25 – 27 กุมภาพันธ์ 2554 ครัง้ ที่ 2: วันที่ 4 – 6 มีนาคม 2554 ครัง้ ที่ 3: วันที่ 11 – 13 มีนาคม 2554 ครัง้ ที่ 4: วันที่ 18 – 20 มีนาคม 2554 ครัง้ ที่ 5: วันที่ 25 – 27 มีนาคม 2554 (ฝึกภาคสนาม) เนื้อหาในการฝึกอบรม 1. การสร้างศรัทธาโดยให้มีชีวิตจิตที่สัมพันธ์กับพระเจ้าอย่างแท้จริง 2. มีความเข้าใจที่ถ่องแท้ถึงเนื้อหาหรือองค์ความดี ซึ่งเป็นข่าวดีที่จะต้องนำไปประกาศ 3. ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการประกาศข่าวดีตามคำสอนของพระศาสนจักร 4. วิธีการประกาศข่าวดีและการแบ่งปันประสบการณ์ชีวิต สถานทีบ่ า้ นคริสตินา่ ปากเกร็ด นนทบุรี การฝึกอบรมเริม่ เย็นวันศุกร์ เวลา 18.00 น. จบเทีย่ งวันอาทิตย์ ท่านทีส่ นใจติดต่อ คุณสุดหทัย นิยมธรรม โทร: 08 7981 2455 อีเมล์: missionbkk@catholic.or.th ⌫⌫ ⌫
บทความ... โดย แผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ
สายประคำ หรือ “มงกุฎดอกกุหลาบ” เป็นการสวดภาวนาแบบไตร่ตรอง ถึงชีวติ ของพระเยซูเจ้า ซึง่ เกีย่ วพันกับการรำพึงไตร่ตรองเหตุการณ์ในพระวรสาร พระธรรมล้ำลึกทีเ่ กีย่ วกับพระนางมารีย์ การสวดสายประคำมิใช่อะไรอืน่ นอกจาก การเพ่งพินจิ ดูพระพักตร์ของพระคริสตเจ้าพร้อมกับพระแม่มารีย”์ (ข้อ 3) การสวดสายประคำมีมานานหลายศตวรรษ มีนักบุญจำนวนมากรัก การภาวนาแบบนี้ พระศาสนจักรผู้มีอำนาจสอนก็ส่งเสริมเชิญชวนคริสตชนให้ ภาวนาด้วย มีเหตุการณ์หลายอย่างที่เชื่อมโยงกับพระนางพรหมจารีย์มารีย์ ซึง่ พระนางได้สง่ เสริมให้สวดสายประคำ ทุกคนมีอสิ ระทีไ่ ด้รบั ประโยชน์จากสาร ของเหตุการณ์ตา่ งๆ เหล่านี้ บทรำพึงในหนังสือเล่มนีอ้ ยูบ่ นพืน้ ฐานของพระคัมภีร์ คำสอนของพระศาสนจักร คาทอลิกและสมณสาสน์เรื่องการสวดสายประคำของสมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 นี่เป็นวิธีการที่รับรองด้วยความซื่อสัตย์ที่วางไว้ในความเชื่อ สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ได้ทรงเพิม่ เติมมิตทิ างคริสตวิทยาของ สายประคำ โดยเพิ่ม พระธรรมล้ำลึกแห่งความสว่าง ซึ่งเป็นเหตุการณ์เกี่ยวกับ พระชนมชีพเปิดเผยของพระคริสตเจ้า ด้วยเหตุผลนี้จึงสามารถกล่าวได้อย่าง แท้จริงว่า การสวดสายประคำเป็นการ “สรุปพระวรสาร” “การสวดสายประคำเป็นรูปแบบหนึง่ ของการอุทศิ ตนแด่พระนางมารียท์ เ่ี ป็นทีน่ ยิ มอย่างมาก ซึง่ เด่นชัดทีส่ ดุ ในช่วงปลายศตวรรษที่ 12 ฤาษีคณะซิส-เตอร์เซียนได้เริ่มในศตวรรษต่อมา และฤาษีคณะโดมินิกันซึ่งมีส่วนในการเผยแพร่อย่างมาก โดยมีความตั้งใจที่จะสู้กับ คำสอนนอกรีต... เม็ดของสายประคำใช้เหมือนกับการวอนขอเช่นกัน ซึ่งมีการปรับให้ง่ายขึ้น และสร้างความสนใจให้มากขึ้น หลังจากนั้น มีการเริ่มการสวดด้วยการกล่าวถึงพระธรรมล้ำลึกแห่งชีวิตของพระเยซูเจ้าและพระนางมารีย์... นักบุญดอมินกิ และบรรดานักพรตของท่าน ได้เทศน์สอนประชาชนในการแพร่ธรรมของท่านในเรือ่ งการสวดสายประคำเป็นอย่างมาก แต่ไม่งา่ ยนักทีจ่ ะกำหนดรูปแบบทีแ่ น่นอนในการปฏิบตั ิ และเผยแพร่รปู แบบหนึง่ ทีไ่ ด้รบั อนุญาตอย่างเป็นทางการจากสมเด็จพระสันตะปาปา ปีอสุ ที่ 5 คือ กำหนดและให้มรี ปู แบบเดียวกันในข้อความของบทวันทามารีอา” พระนางพรหมจารียไ์ ด้ปลุกเร้าให้ประชาชนสวดสายประคำ ทัง้ จากการประจักษ์ทเ่ี มืองลูรด์ และฟาติมา ในระหว่างสหัสวรรษ ที่ 2 สมเด็จพระสันตะปาปาได้สนับสนุนให้มีการวอนขอพระนางมารีย์ และตั้งแต่สมณสมัยของสมเด็จพระสันตะปาปาเลโอที่ 13 ซึ่งได้รับพระนามว่า “พระสันตะปาปาแห่งสายประคำ” ทรงแนะนำให้ทุกคนสวดสายประคำ และทรงเพิ่มความสำคัญด้วยการประทาน พระคุณการุณย์ในการสวดสายประคำด้วย สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ทรงอุทศิ พระองค์เองเป็นพิเศษแด่พระชนนีของพระเจ้า ตราประจำพระองค์กม็ อี กั ษรตัวแรก ของพระนาง (Totus tuus) เป็นการวิงวอนของพระนางพรหมจารีมารีย์ พระองค์ทรงมีสายประคำอยูก่ บั พระองค์เสมอ และสวดเป็นประจำ สมณสาสน์เรือ่ งการสวดสายประคำเป็นสิง่ ทีย่ นื ยันอย่างมัน่ คงถึงความนับถือของพระองค์ตอ่ การสวดสายประคำ การสวดสายประคำ เป็นการภาวนาแบบใด ในพระสมณสาสน์ เรือ่ งการสวดสายประคำ ของสมเด็จพระสันตะปาปายอห์น ปอล ที่ 2 ทรงเขียนไว้วา่ “เนือ่ งจากการสวดสายประคำ เริ่มต้นจากประสบการณ์ของแม่มารีย์ จึงเป็นการภาวนาแบบเพ่งพินิจที่วิเศษสุด ถ้าหากว่าการสวดสายประคำขาดมิติการเพ่งพินิจนี้แล้ว ก็จะไม่มคี วามหมายอะไร ดังทีส่ มเด็จพระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ทรงเตือนไว้อย่างชัดเจนว่า “ถ้าการสวดสายประคำไม่มกี ารเพ่งพินจิ ก็เป็น เหมือนร่างกายไร้วญ ิ ญาณ และการสวดก็จะกลายเป็นการท่องสูตรอย่างเครือ่ งจักร” การสวดสายประคำ ซึ่งเป็นการพูดซ้ำ การคาดคะเนล่วงหน้าถึงความเชื่อที่มีพลัง และความรักจริงใจต่อพระคริสตเจ้าพระผู้ไถ่กู้ และพระนางพรหมจารีมารีย์ “การสวดสายประคำไม่ใช่อะไรอื่นนอกจากวิธีการเพ่งพินิจแบบหนึ่ง ในฐานะที่เป็นวิธีการ จึงเป็นเพียงอุปกรณ์ที่นำไปสู่จุดหมาย และจะเป็นจุดหมายไปไม่ได้ ถึงกระนั้นในฐานะที่เป็นผลจากประสบการณ์นานหลายศตวรรษ วิธีการนี้จึงต้องไม่ถูกมองว่าไม่สำคัญ ประสบการณ์ของบรรดาผูศ้ กั ดิส์ ทิ ธิจ์ ำนวนมากเป็นพยานได้ในเรือ่ งนี”้ เม็ดของสายประคำ “สายประคำนับเป็นอุปกรณ์ทใ่ี ช้เป็นธรรมเนียมตลอดมา สำหรับการสวดแบบนี้ ถ้าจะพิจารณาโดยผิวเผิน เม็ดของสายประคำเป็นเพียง หน่วยนับจำนวนบท “วันทามารีอา” ทีส่ วดต่อเนือ่ งกันเท่านัน้ ” (ข้อ 36) “การสวดสายประคำเป็นการแสดงความรักอย่างไม่รจู้ กั เหน็ดเหนือ่ ยต่อผูท้ เ่ี รารัก แม้จะใช้ถอ้ ยคำเดียวกัน แต่ความรูส้ กึ ทีแ่ สดงออกมานัน้ ใหม่สดอยูเ่ สมอ” (ข้อ 26) “สิง่ แรกทีน่ า่ สังเกตคือ ไม้กางเขนทีเ่ ป็นจุดเริม่ และจุดจบของการสวดสายประคำ ชีวติ และคำภาวนาของผูท้ ม่ี คี วามเชือ่ จึงมารวมอยูท่ ่ี พระคริสตเจ้า” (ข้อ 36) ⌫⌫ ⌫
เจาะลึกพิเศษ
⌫
หลังจากทีไ่ ด้มกี ารกล่าวถึงวิถชี มุ ชนคริสตชนพืน้ ฐาน (BEC) ไปบ้างแล้วในสารฯ เดือนที่แล้ว (สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เดือนกันยายน) คุณพ่อวิทยาได้กล่าวถึง ความหมายและวิธีการเป็นขั้นเป็นตอนได้อย่างน่าสนใจ มาฉบับนี้พี่น้องยังคงอยู่ใน กระแสแห่งวิถีชุมชนคริสตชนพื้นฐาน (BEC) แต่สำหรับเดือนนี้ขอแนะนำ BILA และ AsIPA เพือ่ เป็นการประชาสัมพันธ์ ทัง้ 2 งานนีท้ ก่ี ำลังจะจัดขึน้ ในประเทศไทย เป็นครั้งแรก BILA มาจากคำว่า Bishops’ institute on the Lay Apostolate หลังจากที่ได้มีการประชุมสหพันธ์สภาพระสังฆราช แห่งเอเชีย หรือ FABC ในปี ค.ศ.1990 ทีเ่ มืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซีย แล้วนัน้ ยังได้มกี ารจัดประชุมเป็นระยะๆ ซึง่ จะเน้นเรือ่ งวิถที าง พระศาสนจักรที่มีส่วนร่วมกับชุมชนแบบพี่น้อง โดยเน้นหัวข้อหลักๆ 7 หัวข้อ ดังนี้ วิสัยทัศน์ของการมีส่วนร่วมในพระศาสนจักร/ ชุมชนวัด, เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการแบ่งปันวิสยั ทัศน์ให้กบั มวลคริสตชน, บทบาทของผูน้ ำชุมชนทีเ่ อือ้ ต่อวิสยั ทัศน์, การแบ่งปันพระวรสาร เพื่อให้พระวาจาเป็นศูนย์กลางของชุมชนวัด, การใช้โปรแกรมปลุกจิตสำนึกเพื่อกระตุ้นความสนใจให้คริสตชนมีส่วนร่วม, ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน/ย่อยๆ คืออะไร, ศาสนบริการต่างๆ กลุ่มกิจกรรมและองค์กรต่างๆ ของวัดจะต้องร่วมมือกันอย่างไร ในการสร้างชุมชนคริสตชนพื้นฐาน/ย่อยๆ ทั้ง 7 หัวข้อหลักนี้เน้นการมีส่วนร่วม อะไรถือเป็นหัวใจสำคัญ ตัวอย่างเช่น ชุมชนคริสตชนเจริญชีวิตในฐานะเป็นศิษย์ มีพระเยซูเจ้าเป็นศูนย์กลางชุมชน วัดเป็นศูนย์กลางชุมชน ความเป็นชุมชนเป็นหมู่คณะเป็นหัวใจของวัด นอกจากฉลองวัดแล้ว ในชีวิตประจำวันอาจจะยังไม่ได้มีการเน้น หลังจากที่ได้ประชุมสหพันธ์สภาพระสังฆราชฯ ที่ได้กล่าวมาแล้วและได้เห็นชอบว่า ASIA นีเ้ หมาะทีจ่ ะรือ้ ฟืน้ ความเป็นพีเ่ ป็นน้อง จิตตารมณ์ ถ้าท่านรักกันและกัน ทุกคนก็จะรูว้ า่ ท่านเป็นศิษย์ของเรา พระวรสาร พระธรรมใหม่ได้พูดถึงแนวปฏิบัติ ที่จะให้พระเยซูมาเป็นศูนย์กลางโดยให้ชุมชนมาพูดคุยร่วมกัน ฟังพระวาจา ร่วมกัน เวลาทีเ่ ราฟังพระวาจาแล้ว เรามาแบ่งปัน โดยทีพ่ ระวาจาทีเ่ ราแบ่งปันนัน้ ได้เรียกร้องให้เรา เปลีย่ นหรือให้เราทำอะไรบ้าง สำหรับ BILA จะจัดขึ้นในวันที่ 18-23 ตุลาคม 2010 ที่พัทยา เพื่อเป็นการฟื้นฟูการมีส่วนร่วมในพระศาสนจักร/ชุมชนวัด โดยการสร้างชุมชนคริสตชนย่อยๆก่อน และจากนัน้ ประมาณ 1 สัปดาห์กจ็ ะมีการอบรมคนทีร่ บั ผิดชอบ เพราะเนือ่ งจากว่าทีผ่ า่ นมา ผู้ที่ดำเนินงานในด้านนี้นั้นยังมีความเข้าใจไม่เพียงพอ ดังนั้นจึงมีการฝึกเพื่อให้เกิดทักษะ มากขึ้นและให้งานนี่เป็นรูปธรรม มากยิง่ ขึน้ ซึง่ สัปดาห์ทม่ี กี ารเทรนนีเ้ ราเรียกว่า AsIPA AsIPA คือ “กระบวนการงานด้านอภิบาล” ที่ส่งเสริมการเป็น “วัดที่ทุกคนมีส่วนร่วม” เป็นวัดที่ “เป็นชุมชนที่เป็น หนึง่ เดียวกัน” และเป็น “วัดทีเ่ ป็นประจักษ์พยานถึงองค์พระคริสตเจ้าผูก้ ลับคืนชีพ” ตามเจตนารมณ์ ของสหพันธ์สภาพระสังฆราช แห่งเอเชียทีไ่ ด้ดำริไว้ ณ เมืองบันดุง ประเทศอินโดนีเซีย ในปีค.ศ.1990 กระบวนการงานด้านอภิบาลดังกล่าว มีหลักปฏิบัติชอบอยู่ในอักษร 4 ตัว ตามชื่อ คือ As = Asian I = Intergral P = Pastoral A = Approach
⌫⌫ ⌫
หลักปฏิบตั ิ 1. Asian กระบวนการด้านอภิบาลทีม่ งุ่ เน้น ให้คริสตชนในแต่ละวัด “อุทิศตน” ช่วยกันทำให้วิสัยทัศน์ของ สหพันธ์สภาพระสังฆราชแห่งเอเชียบังเกิดผลเป็นรูปธรรม ในเขตวัด อีกทั้งมีความมุ่งมั่นที่จะช่วยเราชาวเอเชียด้วยกัน เผชิญชีวิตตามแบบชาวเอเชีย ในแสงสว่างแห่งพระวรสาร หลักปฏิบตั ิ 2. Intergral กระบวนการงานด้านอภิบาลนี้ มุง่ เน้นให้เกิดความสมดุลในชีวติ คริสตชนในเขตวัด ระหว่างชีวติ “ฝ่ายจิต” กับชีวิตทางด้าน “สังคม” ระหว่างชีวิต “ส่วนบุคคล” กับชีวติ “หมูค่ ณะ” ระหว่างชีวติ “ผูน้ ำทางฐานันดร” กับ “ผูร้ ว่ ม รับผิดชอบทีเ่ ป็นฆราวาส” หลักปฏิบัติ 3. Pastoral กระบวนการด้านอภิบาลนี้ มุ่งเน้นการฝึกอบรมฆราวาสในพันธกิจด้านงานอภิบาลของ พวกเขา ในพระศาสนจักรและในโลก หลักปฏิบตั ิ 4. Approach กระบวนการงานด้านอภิบาลนี้ เป็นการเรียนรูแ้ ละถ่ายทอดความรูใ้ นงานอภิบาล ผ่านสือ่ ทีเ่ ป็น เอกสารคู่มือชุดต่างๆ ที่สร้างขึ้น โดยให้เอกสารดังกล่าวเป็น เครือ่ งมือทำให้งานอภิบาลในวัดมี “พระคริสตเจ้า” และ “ชุมชน” เป็นศูนย์กลาง นอกจากนัน้ ยังเป็นการโน้มนำสมาชิกทีร่ ว่ มประชุม กลุ่มให้ค้นหาประสบการณ์ของวัดในวิถีทางใหม่นี้ด้วยตัวของ พวกเขาเอง และ AsIPA International Training workshop series ทีจ่ ะจัดขึน้ อย่างต่อเนือ่ งนัน้ สำหรับ AsIPA One จะจัดใน วันที่ 25-30 ตุลาคม 2010 ที่พัทยาเช่นเดียวกัน หัวข้อการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ AsIPA One เรื่อง การสร้างชุมชนวัด/ พระศาสนจักรมิตใิ หม่ มี 5 เรือ่ งหลักๆ ดังนี้ รากฐานของ การสร้างชุมชนวัด, ทบทวนวิสัยทัศน์ของการมีส่วนร่วมใน พระศาสนจักร/ชุมชนวัด ที่ซึ่งฆราวาส นักบวชและพระสงฆ์ รวมตัวกันโดยมีพระวาจาเป็นศูนย์กลาง และพยายามเจริญชีวติ ตามพระวาจา, เรียนรูก้ ารสร้างแรงบันดาลใจให้ทกุ คนในชุมชนวัด เข้าถึงวิสัยทัศน์ของการเป็นชุมชนวัด/พระศาสนจักรมิติใหม่, เรียนรู้วิธีการ ความเป็นมาและธรรมชาติของชุมชนคริสตชน ย่อยๆ และเรียนรู้ทักษะการใช้เครื่องมือเพื่อการอภิบาลชุมชน คริสตชนพื้นฐาน/ย่อยๆ สู่การเป็นชุมชนวัด/พระศาสนจักร มิติใหม่ อันได้แก่ การแบ่งปันพระวรสาร โปรแกรมการปลุก จิตสำนึกและการฝึกทักษะผู้นำชุมชนย่อยๆ และจะมีการจัดประชุมปฏิบัติการต่อเนื่อง AsIPA Two ในปี ค.ศ.2011 และ AsIPA Three ในปี ค.ศ.2012
บทภาวนาเพือ่ งานอภิบาล ค.ศ. 2010-2015 ข้าแต่พระบิดาเจ้า โปรดส่งพระจิตของ พระองค์ ม ายั ง พระศาสนจั ก รคาทอลิ ก ใน ประเทศไทย สำหรับงาน “อภิบาลชุมชนศิษย์ พระคริ ส ต์ ร่ ว มพั น ธกิ จ แบ่ ง ปั น ข่ า วดี ” ตาม แผนงานอภิบาลคริสตศักราช 2010-2015 โปรดประทานพระปรีชาญาณแก่บรรดา พระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวช และพีน่ อ้ งสัตบุรษุ ผูร้ ว่ มรับผิดชอบงานอภิบาลทัง้ หลาย ให้เปิดรับ การดลใจและแสงสว่างจากพระองค์ เพื่อให้ แผนงานอภิบาลนี้ ปลุกจิตสำนึกคริสตชน ในการ ดำเนิ น ชี ว ิ ต ชุ ม ชนคริ ส ตชนพื ้ น ฐานอย่ า งดี โดยมีรากฐานและดำรงชีวิตอยู่ในพระคริสตเจ้า ทำให้พระศาสนจักรในเขตวัดมีชีวิตชีวา ทำให้ เกิดสังคมใหม่ในวัฒนธรรมแห่งความรัก สมกับ เป็นเครื่องมือที่ดีในงานอภิบาล และประกาศ พระวรสาร พร้อมทัง้ เป็นความหวังอันสดใสให้กบั พระศาสนจักรในปัจจุบนั โปรดให้แผนงานอภิบาลฯ นี้ ช่วยให้ขา้ พเจ้า ทัง้ หลายพร้อมใจกันร่วมดำเนินพันธกิจ “อุทศิ ตน ฟื้นฟูชีวิตให้สนิทกับพระคริสตเจ้า โดยอาศัย พระวาจา ศีลศักดิส์ ทิ ธิ์ และการอธิษฐานภาวนา เป็นหนึ่งเดียว ร่วมมือและแบ่งปันซึ่งกันและกัน แสวงหาคุณค่าพระอาณาจักรในบริบทสังคม เสวนาฉันพี่น้องกับผู้มีความเชื่ออื่น ประกาศ พระเยซูคริสตเจ้าและเป็นประจักษ์พยานด้วย การดำเนินชีวิตเรียบง่าย รักและรับใช้ปวงชน โดยเน้นผูย้ ากไร้” ทัง้ นีอ้ าศัยพระบารมีพระคริสตเจ้า พระเจ้า ของข้าพเจ้าทัง้ หลาย อาแมน
⌫⌫ ⌫
บอกข่าวเล่าสาร
พิธปี ระกาศเกียรติคณ ุ แม่-ลูก คริสตชนคาทอลิกตัวอย่าง เมื่อวันเสาร์ที่ 4 กันยายน 2010 เวลา 10.00 น. พระอั ค รสั ง ฆราชฟรั ง ซิ ส เซเวี ย ร์ เกรี ย งศั ก ดิ ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธีมิสซาประกาศเกียรติคุณแม่และลูก คริสตชนคาทอลิกตัวอย่าง ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ จัดขึน้ โดยสมาคมคาทอลิกแห่งประเทศไทย และได้มอบโล่ ประกาศเกียรติคณ ุ ให้กบั แม่ลกู คริสตชนคาทอลิกตัวอย่าง ทั่วประเทศ ซึ่งในปีนี้มีแม่ดีเด่นคริสตชนเข้ารับประกาศ เกียรติคณ ุ จำนวนทัง้ สิน้ 29ท่าน และ ลูกคริสตชนคาทอลิก ตัวอย่าง จำนวน 19 ท่าน
ฉลองวัดซางตาครูส้ และพิธโี ปรดศีลกำลัง เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2010 พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานในพิธีมิสซาบูชาขอบพระคุณโอกาสฉลอง วัดซางตาครู้ส และพิธีโปรดศีลกำลังให้กับคริสตชนจำนวน 11 คน มีบรรดาสัตบุรุษมาร่วมพิธีในวันนี้ จำนวนมาก ปัจจุบนั มีคณ ุ พ่อวิทยา คูว่ ริ ตั น์ เป็นเจ้าอาวาส
ศักยภาพทางดนตรี พระอัครสังฆราชฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช มาเป็นประธานและร่วมชมการแสดง ทักษะทางดนตรีของสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ และบรรดาอาจารย์ ผ ู ้ ฝ ึ ก สอน ในภาคเรี ย นที ่ 1 ปีการศึกษา 2010 โดยการนำของคุณพ่อสมหมาย มธุรสสุวรรณ เมือ่ วันศุกร์ท่ี 17 กันยายน ทีผ่ า่ นมา
ฉลองครบรอบ 35 ปี ศูนย์คริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และฉลอง 25 ปี ชีวติ สงฆ์ คุณพ่อชาญชัย ทิวไผ่งาม คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผู้จัดการแผนกคริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดฉลองครบรอบ 35 ปี แห่งการก่อตัง้ ศูนย์คริสตศาสนธรรม อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ และฉลอง 25 ปี ชีวติ สงฆ์ คุณพ่อชาญชัย ทิวไผ่งาม อดีตผูจ้ ดั การแผนกฯ เป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ ณ ห้องประชุมชัน้ 2 อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม เมือ่ วันอังคารที่ 7 กันยายน 2010 เวลา 11.00 น.
วางแผนอบรม วั น พุ ธ ที ่ 22 กั น ยายน 2010 ชมรม คนหูหนวกคาทอลิกแห่งประเทศไทยร่วมกับ แผนกคริสตชนฆราวาส ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประชุมวางแผนอบรมเสริมสร้าง ความเชื่อโดยใช้หลักสูตรอัลฟ่า หลักความคิดคือเล่าเรื่อง จากผู้มีประสบการณ์ความเชื่อโดยอ้างอิง พระคัมภีร์ และให้แบ่งกลุม่ ย่อยให้สมาชิกคิด...แบ่งปัน
⌫⌫ ⌫
สัมมนาฟื้นฟูชีวิตครอบครัว ขั้นที่ 1 (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 128 แผนกส่ ง เสริ ม ชี ว ิ ต ครอบครั ว (สชค.) อั ค ร สังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดสัมมนาฟืน้ ฟูชวี ติ ครอบครัว ขัน้ ที่ 1 (ฟฟ.1) รุน่ ที่ 128 เมือ่ วันที่ 17-19 กันยายน 2010 ที ่ บ ้ า นสวนยอแซฟ สามพราน นครปฐม มีผเู้ ข้าร่วมสัมมนาฯ จำนวน 17 คู่ (เป็นคาทอลิก 5 คู,่ พุทธ10 คู,่ ต่างคนต่างถือ 2 คู)่ และผูส้ งั เกตการณ์ 3 ท่าน (ผ่านการพิจารณาแล้ว)
ฉลองอัครเทวดามีคาแอล
เมือ่ วันพุธที่ 22 กันยายน 2010 เวลา 18.00 น. สามเณราลัยนักบุญยอแซฟ ได้จัดพิธีมิสซาบูชาขอบ พระคุณในโอกาสฉลองศาสนนามของ พระคาร์ดินัล ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู ทีว่ ดั น้อยของบ้านเณรยอแซฟ โดยมี พระคุณเจ้าสังวาลย์ ศุระศรางค์ บรรดา คณะสงฆ์จากบ้านอับราฮัม บ้านเณรใหญ่แสงธรรม บ้านผู้หว่าน วัดพระเยซูเจ้าเสด็จขึ้นสวรรค์ และคณะ ผูใ้ ห้การอบรมของสามเณราลัยนักบุญยอแซฟ มาร่วม ฉลองศาสนนามของพระคุณเจ้าในโอกาสนี้
ปิดคอร์สอบรมพระคัมภีร์ เมื ่ อ วั น เสาร์ ท ี ่ 25 กันยายนทีผ่ า่ นมา คุณพ่อ เอกรัตน์ หอมประทุม ผู ้ จ ั ด การแผนกคริ ส ตศาสนธรรม ฝ่ายงานอภิบาล อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ได้ จ ั ด พิ ธ ี ม อบวุ ฒ ิ บ ั ต ร ให้ แ ก่ ผ ู ้ ม ารั บ การอบรม พระคัมภีรว์ นั เสาร์ ปีท่ี 21 โดยกราบเรียนเชิญ พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในการมอบวุฒิบัตรร่วมกับ คุ ณ พ่ อ พงศ์ เ ทพ ประมวลพร้ อ ม วิ ท ยากร และมี ผ ู ้ เ ข้ า รั บ มอบวุ ฒ ิ บ ั ต รจำนวน 96 ท่ า น ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก C-Games’2010 เมือ่ วันเสาร์ท่ี 18 กันยายน ที่ผ่านมา (วันเยาวชนแห่ง ชาติ) พระอั ค รสั ง ฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธาน ในพิธีมิสซาเปิด C-Games ’2010 ณ สั ก การสถาน บุญราศีคุณพ่อนิโคลาสบุญเกิด กฤษบำรุง นำโดยคุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ ผู้จัดการแผนกเยาวชน อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ มีเยาวชนเข้าร่วมประมาณ 312 คน
พระสมณทูตองค์ใหม่ มอนซินญอร์ มาเรค ซาเลฟสกี้ อุปทูต สถานเอกอัครสมณทูตวาติกนั ประจำประเทศไทย แจ้งให้ทราบว่า วันพุธที่ 22 กันยายน ค.ศ.2010 สมเด็ จ พระสั น ตะปาปาเบเนดิ ก ต์ ท ี ่ 16 ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตัง้ พระอัครสังฆราช โจวานนี ดานีเอลโล ซึง่ ปัจจุบนั ดำรงตำแหน่ง พระสมณทูตประจำสาธารณรัฐคองโก ให้เป็น พระสมณทูตประจำประเทศไทย กัมพูชา พม่า และลาว
ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนตุลาคม 2010 พิธีมิสซาครบรอบ 12 ปีมรณภาพ ของพระคุณเจ้ายวง นิตโย (อดีตพระอัครสังฆราชแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ) เวลา 11.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ คุณพ่อวีรศักดิ์ วนาโรจน์สุวิช ประธาน 2 ต.ค. ทั่วโลกพร้อมเพรียงไม่สิ้นเสียงสายประคำ ครั้งที่ 5 และร่วมถวาย เกียรติแด่พระนางพรหมจารี มารีอา เวลา 09.00-12.00 น. 9 ต.ค. รวมพลังวันศาสนสัมพันธ์ เวลา 08.30-12.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก 10 ต.ค. ศูนย์อภิบาลผูส้ งู อายุและเด็ก โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์ จัดพิธมี สิ ซา บูชาขอบพระคุณโอกาสครบ 50 ปี ของการก่อตัง้ บ้านผูส้ งู อายุเซนต์หลุยส์ เวลา 10.30 น. พระคาร์ดนิ ลั ไมเกิล้ มีชยั กิจบุญชู ประธาน 11-15 ต.ค.แผนกเยาวชนอั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ ร่ ว มกั บ แผนกคณะ กรรมการคาทอลิกเพื่อคริสตชนฆราวาสแผนกเยาวชน จัด “ค่าย ผู้นำระดับชาติ” บ้านสวนยอแซฟ 11-12 ต.ค.สัมมนาฟืน้ ฟูจติ ใจครูคาทอลิกเขต 3 ณ บ้านผูห้ ว่าน 19-24 ต.ค.PONTIFICAL CONCIL FOR THE PASTORAL CARE OF MIGRANTS AND INTERANT PEOPLE 2 ต.ค.
⌫⌫ ⌫
สาสน์จาก พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสวันแพร่ธรรมสากล 2010
สวัสดีพี่น้องที่รัก ตอนนีพ้ อ่ กลับจากอินเดียแล้ว ตลอดระยะเวลา ประมาณ 5 สัปดาห์ ได้เรียนรูถ้ งึ ความจำเป็นของ BEC (วิถชี มุ ชนวัด)ในพระศาสนจักร ไม่ใช่เฉพาะใน ประเทศไทยเท่านัน้ แต่สำหรับพระศาสนจักรสากล วิถชี มุ ชนวัดเป็นกระบวนการฟืน้ ฟูพระศาสนจักร ทีบ่ งั เกิดผลมากมายในหลายประเทศ โดยเฉพาะ ในเอเชียของเรา ถึงแม้จะมีความแตกต่างกัน ทางวัฒนธรรม จารีต ประเพณี ลักษณะประจำชาติ แนวคิด ฯลฯ แต่จติ ตารมณ์นล้ี ว้ นเป็นเรือ่ งเดียวกัน เพราะมาจากพระสังคยานาวาติกัน ครั้งที่ 2 ซึง่ ผ่านมาประมาณ 50 ปีแล้ว พระศาสนจักรในประเทศไทยก็ได้ขานรับ วิถชี มุ ชนนีม้ าตัง้ แต่ปี 2000 แต่กย็ งั ไม่เป็นทีร่ จู้ กั และไม่ได้รบั การปฏิบตั อิ ย่างเพียงพอและในแผน อภิบาลของสภาพระสังฆราชที่เพิ่งประกาศให้ ทุกสังฆมณฑลเพื่อนำไปใช้ในปี 2011-2015 ก็กลับมาเน้นเรือ่ งนีอ้ กี ครัง้ หนึง่ ทีจ่ ริงแล้ววิถชี มุ ชน วัดไม่ใช่เป็นเรื่องใหม่ แต่เป็นการปลุกจิตสำนึก ของคริสตชน ถึงศักดิศ์ รี หน้าทีข่ องคริสตชนเอง ที่พึงมีในพระศาสนจักร ซึ่งเราต่างเป็นส่วนหนึ่ง ของกายทิพย์ของพระองค์วิถีชุมชนวัดเป็นที่ๆ เราคริสตชนสามารถแสดงบทบาทของตนเอง ในพระศาสนจั ก รได้ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ในทุ ก ๆ ภาคส่วน โดยมีพระวาจาพระเป็นจุดศูนย์กลาง แสดงออกโดยการแบ่งปันพระวาจา ในกลุม่ ย่อย ของแต่ ล ะวั ด วิ ถ ี ช ุ ม ชนไม่ ใ ช่ แ ค่ ก ารแบ่ ง ปั น พระวาจา ซึง่ เป็นเพียงวิธกี ารหนึง่ ในหลายๆ วิธที ่ี พระศาสนจักรแนะนำ ดังนั้นเมื่อมีการนำเสนอ เรือ่ งวิถชี มุ ชนวัด ในวัดของพีน่ อ้ ง ก็อย่าไปคิดว่า ทางวัดกำลังจัดตั้งกลุ่มอะไรขึ้นมาอีกกลุ่มหนึ่ง เพราะวิถชี มุ ชนวัดไม่ใช่กลุม่ แต่เป็นจิตวิญญาณ ของเราเองในฐานะทีเ่ ป็นคริสตชนควรหาโอกาส ในการทำความเข้าใจให้มากขึน้ แล้วชีวติ ของเรา จะดีขน้ึ สภาพสังคม ชุมชนของเราจะดีขน้ึ อย่าง แน่นอน เดือนนีเ้ ป็นเดือนแม่พระลูกประคำ ขอให้พน่ี อ้ ง สวดสายประคำอย่างสม่ำเสมอเพือ่ พระศาสนจักร และชุมชนวัดของเราจะได้ตอบสนองพระประสงค์ ของพระเจ้าได้อย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพี่น้องทุกท่าน
“ความเป็นหนึง่ เดียวของพระศาสนจักร คือ หลักในการแพร่ธรรม” ความเป็นหนึง่ เดียวคือจุดเริม่ ต้น เป็นหลักสำคัญและเป็นบ่อเกิดของการแพร่ธรรม พระตรีเอกภาพ คือ ต้นแบบที่ครบครันที่สุดของความเป็นหนึ่งเดียว พระบุคคลที่แตกต่างกันทั้งสาม คือ พระบิดา พระบุตร และพระจิต รวมเป็นหนึง่ เดียวกันใน “ความรัก” ความรักและความเป็นหนึง่ เดียวของพระเจ้า พระตรีเอกภาพนีเ้ อง จึงเป็นหลักสำคัญทีส่ ดุ ของการแพร่ธรรม หรือการประกาศข่าวดีทย่ี ง่ิ ใหญ่ทส่ี ดุ เพราะโดยทางพระเยซู และในพระเยซู อารยธรรมแห่งความรักนีไ้ ด้เข้ามาในโลก พระเยซูเจ้าทรงเปิดเผยให้เราทราบว่า พระองค์ทรงเป็นหนึง่ เดียวกับพระบิดา และทรงปรารถนา ทีจ่ ะเป็นหนึง่ เดียวกับทุกคนโดยการแบ่งปันชีวติ ของพระตรีเอกภาพ “อารยธรรมแห่งความรัก” ทีท่ รง นำมาจากชีวิตพระเจ้าให้แก่ทุกคน พระศาสนจักรสากลและพระศาสนจักรท้องถิ่นในประเทศไทย จึงได้รบั กระแสเรียกให้มงุ่ สูค่ วามเป็นหนึง่ เดียว ภาษากรีกใช้คำว่า “Koinonia” หมายถึง “การเป็นศิษย์ ใกล้ชิดและร่วมชีวิตเป็นหนึ่งเดียวกันอย่างสมบูรณ์” ดังนั้นชุมชนพระศาสนจักรทั้งใหญ่น้อยจึงได้ รับเรียกและมีพนั ธกิจในการประกาศข่าวดีนเ้ี ราต้องมุง่ ไปสูส่ ง่ิ ทีพ่ ระเจ้าปรารถนา นัน่ คือพวกเราทุกคน ต้อง “เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้าและกับเพื่อนพี่น้องทุกคนจริงๆ” ซึ่งต้องปรากฏเป็นรูปธรรม ในชีวติ ประจำวันด้วยการ “รัก-รับใช้” ดังนัน้ ในฐานะศิษย์ของพระเยซูเจ้าเราทุกคนได้รบั กระแสเรียก ให้เป็นประจักษ์พยานความรักของพระตรีเอกภาพ“อารยธรรมแห่งความรัก” นีแ้ ก่สงั คมและโลก ชุมชนแห่งความชือ่ ชุมชนแห่งความเป็นหนึง่ เดียวทีเ่ ปีย่ มด้วยพลังแห่งความรักและการรับใช้น้ี เป็นอัตลักษณ์ที่มีเสน่ห์มากที่สุดของพระศาสนจักรตั้งแต่เริ่มแรก “ให้ทุกคนเป็นหนึ่งเดียวกัน... โลกจะได้เชื่อ” (เทียบ ยอห์น 17:21) ชีวิตของบรรดาศิษย์พระคริสตเจ้า ชุมชนศิษย์พระคริสต์ เผยแผ่ดว้ ยชีวติ ทีเ่ ป็นประจักษ์พยานแห่งความรัก และความเป็นน้ำหนึง่ ใจเดียวกันโดยมีพระคริสตเจ้า ประทับท่ามกลางพวกเขา ชีวติ ของพวกเขาจึงเป็นการประกาศข่าวดีอย่างแท้จริง “คนเหล่านัน้ ประชุมกัน อย่างสม่ำเสมอเพือ่ ฟังคำสัง่ สอนของบรรดาอัครสาวก ดำเนินชีวติ ร่วมกันฉันพีน่ อ้ งร่วมพิธี บิขนมปังและอธิษฐานภาวนา...ผูม้ คี วามเชือ่ ทุกคนดำเนินชีวติ ร่วมกันและมีทกุ สิง่ เป็นของ ส่วนรวม... ทุกๆ วัน เขาพร้อมใจกันไปทีพ ่ ระวิหารและไปตามบ้านเพือ่ ทำพิธบี ขิ นมปัง ร่วมกิน อาหารด้วยความยินดีและเข้าใจกัน สรรเสริญพระเจ้า และได้รบั ความนิยมจากประชาชนทุกคน องค์พระผูเ้ ป็นเจ้าทรงทำให้จำนวนผูท้ ไ่ี ด้รบั ความรอดพ้น เพิม่ ขึน้ ทุกวัน” (เทียบ กจ 2:42-46) โดยเหตุน้ี ตามทีส่ ภาพระสังฆราชฯ ได้ประกาศเร่งรัดไว้ในแผนอภิบาลฯ ค.ศ.2010-2015 ทีม่ งุ่ ให้ “วิถชี มุ ชนวัด” เป็นวิธกี ารหลักและสำคัญทีส่ ดุ ในการสร้างและพัฒนาชุมชนวัด ดังนัน้ เราจะต้องมุง่ สร้าง และพัฒนาชุมชนวัดให้เป็นชุมชนศิษย์พระคริสต์ที่มีชีวิตชีวาอย่างแท้จริง มีความเป็นหนึ่งเดียว และความรักต่อกัน ให้เป็นชุมชนศิษย์พระคริสต์ที่ได้รับการหล่อเลี้ยงด้วยพระวาจา ศีลมหาสนิท และการอธิษฐานภาวนา จนทำให้การประทับอยูข่ ององค์พระคริสตเจ้าในชุมชนเด่นชัด และสามารถ เป็นประจักษ์พยานและประกาศข่าวดีได้อย่างมีชวี ติ ชีวาและมีประสิทธิภาพมากทีส่ ดุ ดังนั้น ขอให้พระศาสนจักรคาทอลิกประเทศไทยมุ่งประกาศข่าวดี ด้วยชีวิตที่เป็นน้ำหนึ่ง ใจเดียวในชุมชนศิษย์พระคริสต์ตามแนวทางต่อไปนี้ ประการแรก ขอให้สมาชิกของพระศาสนจักรทุกคน คือพระสังฆราช พระสงฆ์ นักบวชชายหญิง และคริ ส ตชนทุ ก คนมุ ่ ง เจริ ญ ชี ว ิ ต เป็ น น้ ำ หนึ ่ ง ใจเดี ย วกั น อย่ า งแท้ จ ริ ง เพื ่ อ เราจะร่ ว มกั น เป็นประจักษ์พยานถึงพระเยซูคริสตเจ้าพระเจ้าองค์ความรักผูท้ รงกลับคืนพระชนม์ชพี และยังคงประทับอยู่ กับพระศาสนจักรในปัจจุบัน ประการที่สอง ขอให้กลุ่มคริสตชน ชุมชนวัด กลุ่มองค์กรต่างๆ ของทั้งระดับวัด สังฆมณฑล และโรงเรียนคาทอลิกทั้งหลาย ได้ยืนยันเอกลักษณะชุมชนศิษย์พระคริสต์ที่มีความเป็นน้ำหนึ่ง ใจเดียวกันในทุกกิจกรรมและกิจการเพื่อเป็นเครื่องหมายแสดงชุมชนศิษย์พระคริสต์ที่เป็นรูปธรรม อย่างเด่นชัดยิง่ ขึน้ ประการที่สาม ให้คริสตชนแต่ละบุคคลและในรูปคริสตชนกลุ่มย่อย เปิดตัวออกสู่สังคมใน วงกว้ า งขึ ้ น ร่ ว มมื อ กั บ ทุ ก คนในการสร้ า งและพั น ฒนาชุ ม ชนรอบข้ า ง เพื ่ อ ความดี ส ่ ว นรวม เสวนาและบอกเล่าข่าวดีแก่พน่ี อ้ งต่างความเชือ่ ในทุกโอกาส ขอส่งความปรารถนาดีและพระพรเพือ่ ความเป็นหนึง่ เดียวมายังพีน่ อ้ งทุกท่าน
(พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช) ประมุขแห่งอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ⌫⌫ ⌫ ⌦ ⌫ ⌫