⌫⌫ ⌫
แผนอภิบาล
ค.ศ.2010 - 2015
น.
1
ก้าวเดินไปในวิถีชีวิต “ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน” น.
ไฟชำระ
น.
8
4
“การตัดสินใจเลือกเข้าทางประตูแคบ (ตามพระวรสารวันนี)้ หมายถึง ความพร้อมทีจ่ ะ “ลด” “ละ” “เลิก” พร้อม ที่จะปฏิเสธและตัดสละหลายสิ่งหลายอย่าง ที่ไม่สอดคล้องกับคำสอน ของพระเยซูเจ้าเพือ่ จะเจริญชีวติ เป็น “ศิษย์แท้ของพระองค์” วาทะพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช โอกาสฉลองวัดเซนต์หลุยส์ วันอาทิตย์ท่ี 22 สิงหาคม 2010
สัมภาษณ์
⌫ ภาพ...โดย สภาพระสังฆราช คาทอลิกแห่งประเทศไทย
ทีไ่ หนๆ ก็พดู ถึง “แผนอภิบาล ค.ศ.2010-2015” เห็นทีวา่ สารอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ฉบับนีไ้ ม่พดู ถึงก็ดวู า่ จะตกกระแส ด้วยความเอือ้ เฟือ้ ของสือ่ มวลชนคาทอลิกอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ทีไ่ ด้ทำการสัมภาษณ์ภราดาทินรัตน์ คมกฤส ผูอ้ ำนวยการ สำนักนโยบายทิศทางงานอภิบาล เกีย่ วกับแผนอภิบาลนี้ ออกรายการพระเจ้าสถิตกับเรา ซึง่ ออกอากาศในวันอาทิตย์ท่ี 29 สิงหาคม 2010 ทางช่อง NBT กรมประชาสัมพันธ์ เวลา 04.00-04.50 น. สำหรับท่านทีไ่ ม่สามารถรับชมในเวลาดังกล่าวได้กส็ ามารถ รับชมย้อนหลังได้ท่ี http://tv.catholic.or.th/vdo/ ภราดาทินรัตน์ได้แนะนำแผนอภิบาลไว้อย่างไรบ้างติดตามอ่านได้คะ่
ความเป็นมาของแผนอภิบาลคริสตศักราช 2010-2015 ของพระศาสนจักรคาทอลิกในประเทศไทย
เดิมสภาพระสังฆราชฯได้มีแผนที่เรียกว่า “ทิศทางงานอภิบาล ค.ศ. 2000” และเมื่อครบ 10 ปีก็ได้จัดทำแผนใหม่ขึ้น ซึง่ จะมีวาระเพียง 5 ปี คือ “แผนอภิบาล ค.ศ. 2010” ต่อเนือ่ งจากแผนปี 2000 แผนทิศทางฯ ได้พดู ถึงทุกมิตขิ องการอภิบาล ซึง่ มีรายละเอียดมาก ดังนัน้ แผนใหม่ 5 ปีนจ้ี งึ ทำให้กระชับขึน้ จุดเด่นๆ หรือสิง่ ทีอ่ ยากจะเน้นในช่วง 5 ปีนม้ี อี ะไรบ้าง ซึง่ ยังคงยึด วิสัยทัศน์ พันธกิจและหลักการที่ใช้ในปี 2000 ของแผนทิศทางเดิม แผนใหม่นี้เราจับประเด็นได้ 10 ประเด็น ที่อยากจะให้ ความสำคัญ คือ 1.เสริมสร้างศิษย์และพัฒนาความเชือ่ โดยพระวาจา ศีลศักดิส์ ทิ ธิแ์ ละการอธิษฐานภาวนา 2.สร้างและพัฒนา ชุมชนวัด 3.สร้างและพัฒนาผู้อภิบาลและผู้ร่วมงานอภิบาล 4.อภิบาลครอบครัว เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุและคริสตชน กลุม่ พิเศษต่างๆ 5.ประกาศและแบ่งปันข่าวดี 6.การศึกษาอบรมแบบคาทอลิก 7.คริสตศาสนจักรสัมพันธ์ ศาสนสัมพันธ์และ การเข้าสู่วัฒนธรรม 8.พันธกิจรัก-รับใช้สังคมโลก 9.เทคโนโลยีและการสื่อสาร เครื่องมือสำคัญเพื่อการอภิบาลและ การประกาศข่าวดี 10.การประสานสัมพันธ์ ทัง้ 10 เรือ่ งนีเ้ ป็นประเด็นใหญ่ๆ โดยมีรายละเอียดปลีกย่อยของแต่ละเรือ่ งอยูบ่ า้ ง ใน 10 ประเด็นนีจ้ ะเห็นว่าเน้นมาที่ การสร้างหมูค่ ณะหรือชุมชนวัด ใช้ชอ่ื ว่า “ชุมชนศิษย์พระคริสต์” ทีจ่ ะต้องเป็น “ประชากรของพระเจ้าร่วมเป็นหนึง่ เดียว ในความรัก แสวงหา ติดตามและประกาศพระเยซูคริสตเจ้า” ตามวิสยั ทัศน์เดิม
จุดประสงค์หลักๆ ของแผนอภิบาลระดับประเทศ
สภาพระสังฆราชมีสนามงานในทุกภาค ก่อนทำแผนฉบับนีไ้ ด้มี การประชุมและพิจารณาร่วมกันเป็นการมองภาพรวมว่าพระศาสนจักร ในประเทศไทยควรมีทิศทางที่มุ่งไปสู่อะไร การมาทำร่วมกันนี้เป็นการ มองภาพรวมร่วมกันและเพือ่ 5 ปีนเ้ี ราจะเดินไปด้วยกัน ส่วนรายละเอียด ปลีกย่อยนัน้ แต่ละสังฆมณฑลจะเอาแผนส่วนกลางนีไ้ ปลงรายละเอียด และร่างขึ้นมาอีกแผนหนึ่งสำหรับสังฆมณฑลของตน แผนอภิบาลนี้ เป็ น แผนของพระศาสนจั ก รในประเทศไทย และมี ก ารดำเนิ น งาน ทีส่ อดคล้องกับแนวคิดของพระศาสนจักรสากลด้วย
ความเป็นมาของหัวข้อ “อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์ ร่วมพันธกิจ แบ่งปันข่าวดี”
หลังจากทีไ่ ด้มกี ารปรึกษาหารือในทุกสังฆมณฑล โดยมีตวั แทน สังฆมณฑลเข้าร่วมประชุมเป็นขัน้ ตอน ทีเ่ รียกว่าสัมมนาระดับภาค 2 ครัง้ คือ 6 สังฆมณฑลส่วนกลางได้มกี ารฟังความคิดเห็นของตัวแทนทัง้ หมด ในเดือนตุลาคม 2009 และในเดือนพฤศจิกายน 2009 ทางภาค ตะวันออกฉียงเหนือ 4 สังฆมณฑลก็ได้จดั ประชุมเช่นกัน หลังจากทีไ่ ด้ฟงั ความคิดเห็นต่างๆ ก็มาสรุปประเด็นสำคัญๆ ทีค่ าดหวัง แล้วพยายาม เขียนออกมาเป็นคำขวัญ เป็นหัวข้อหลัก นีเ่ ป็นทีม่ าของหัวข้อ อภิบาล ชุมชนศิษย์พระคริสต์ ร่วมพันธกิจแบ่งปันข่าวดี ใน 5 ปีนเ้ี รามุง่ ที่ จะอภิบาลศิษย์ของพระคริสตเจ้า คือเน้นการเป็นศิษย์ของพระเยซูเจ้า เป็นหัวใจ ศิษย์นเ้ี จริญชีวติ ในชุมชน และชุมชนนีต้ อ้ งได้รบั การอภิบาล เพื่อว่าเมื่อได้รับการอภิบาลแล้วก็คาดหวังว่าศิษย์จะสามารถหรือ พร้อมร่วมในพันธกิจของพระศาสนจักรในการประกาศข่าวดี ความมุง่ หวังก็คอื เตรียมความพร้อม เป็นขัน้ ตอน เพราะถ้าหากว่า คริสตชนทุกคนซึง่ มีหน้าทีท่ จ่ี ะต้องประกาศข่าวดี แต่ไม่ได้รบั การเตรียมมา แล้วเขาจะประกาศอะไร สิง่ นีค้ อื สิง่ ทีจ่ ะต้องเน้นใน การอภิบาลแบบใกล้ชดิ เป็นประจักษ์พยานชีวติ คือด้วยชีวติ ทีส่ ามารถเป็นข่าวดีได้ และชีวติ ทีเ่ น้นความสัมพันธ์เป็นชุมชน ถ้าถามว่า แผนนีจ้ ะเข้าถึงชุมชนแบบชาวบ้านๆ ได้อย่างไรนัน้ อันทีจ่ ริงส่วนกลางไม่สามารถจะเข้าไปกะเกณฑ์ ในส่วน ของสังฆมณฑล แต่หลังจากมองภาพรวมด้วยกัน ก็คาดหวังว่าจะสามารถกำหนดทิศทางให้ตรงกันได้ และเข้าถึงชาวบ้านได้ มีคาดหวังให้สภาภิบาลเป็นกลไกทีส่ ำคัญ ทัง้ ในสังฆมณฑลหรือในระดับวัด สามารถเป็นตัวเชือ่ ม เป็นฝ่ายทีส่ ามารถนำ ความคาดหวังของพระศาสนจักรนีล้ งไปสูช่ มุ ชนวัดทีเ่ ขารับผิดชอบอยู่
จะเห็นเป็นรูปธรรมมากน้อยแค่ไหน
มีการพูดคุยกันเรือ่ งเกีย่ วกับชุมชนวัดลักษณะทีว่ า่ นีม้ าเป็นเวลาไม่ตำ่ กว่า 20 ปีแล้ว และนีเ่ ป็นแนวคิดของสหพันธ์ สภาพระสังฆราชแห่งเอเชียเมื่อปี 1990 เป็นลักษณะความเป็นพระศาสนจักรที่เหมาะสมกับความต้องการในปัจจุบัน ทีเ่ รียกว่า “A New Way of Being Church” คำว่า Church ทีว่ า่ นีค้ อื ชุมชนคริสตชนในทุกระดับไม่วา่ จะเป็นระดับย่อย ทีส่ ดุ ในวัดของตนเองหรือในระดับเป็นเขตเป็นสังฆมณฑลและพระศาสนจักรสากล สำหรับความคาดหวังของสหพันธ์สภาพระสังฆราชนี้ มุง่ ทีจ่ ะให้คริสตชนได้เน้นความเป็นพีเ่ ป็นน้อง ความเป็นหมูค่ ณะ ความเป็นหนึ่งเดียวกันในระดับย่อยลงมา ที่เรียกว่าชุมชนคริสตชนพื้นฐาน คือเน้นจากฐานขึ้นไป ซึ่งแนวคิดนี้ก็เป็น ที่รู้จักและยอมรับกันมานานแล้ว เพียงแต่ว่าในเชิงปฏิบัตินั้นจะต้องหาวิธีการ และบางแห่งก็ได้ทำมาแล้ว ยกตัวอย่างที่ อัครสังฆมณฑลท่าแร่–หนองแสง ได้ทำทั่วทั้งอัครสังฆมณฑลมาแล้ว ในต่างประเทศเขาได้ทำมามากแล้ว และเห็นว่า เป็นไปได้ ⌫⌫ ⌫
สำหรับผูท้ จ่ี ะได้รบั ประโยชน์นน้ั คือ มวลคริสตชนเอง เพราะว่าอันนีเ้ ป็นวิถชี วี ติ ของคริสตชน เราจึงเรียก “วิถชี มุ ชนวัด” คือการเจริญชีวิตที่เน้นความเป็นหมู่คณะ ความเป็นพี่เป็นน้องกันในชุมชนย่อยๆ ของชุมชนวัด ดังนั้นคริสตชนเอง จะเป็นผูท้ ไ่ี ด้ประโยชน์ สิง่ นีเ้ ป็นความคาดหวังและความใฝ่ฝนั ทีม่ มี าก่อน เพราะฉะนัน้ ผลประโยชน์จะตกไปสูค่ ริสตชนเอง การบริหารจัดการเป็นของฝ่ายสังฆมณฑล เพราะเป็นเพียงกลไกทีจ่ ะช่วยให้สง่ิ นีเ้ กิดขึน้ สำหรับแผนอภิบาลนี้ ที่กล่าวมาเป็นแนวทางหลัก ซึ่งแต่ละสังฆมณฑลจะนำไปกำหนดแผนปฏิบัติสำหรับ สังฆมณฑลนัน้ ๆ แต่ละแห่งจะมีเอกลักษณ์ สภาพชุมชนไม่เหมือนกัน ความต้องการอาจจะหลากหลายไปบ้าง ซึง่ สิง่ เหล่านี้ แต่ละสังฆมณฑลต้องนำมาพิจารณาและปรับวิธดี ำเนินการตามความเหมาะสม สำหรับ สามสร้าง สีส่ าน สองเสริม ในแผนอภิบาล ค.ศ. 2010 เมือ่ ตอนต้นได้กล่าวว่ามี 10 ประเด็น และแบ่งเป็น สองภาค ภาคแรกคือ อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์ มี 4 บท ใน 4 บทนี้ มีสามสร้าง คือมุง่ สร้างศิษย์ สร้างชุมชน และสร้าง ผูอ้ ภิบาล ส่วนบทที่ 4 นัน้ ได้พดู ถึงกลุม่ เป้าหมายทีน่ า่ จะให้ความสำคัญนัน้ มีอะไรบ้าง ซึง่ ก็อยูใ่ นสามสร้างนีเ้ หมือนกัน ว่าจะ เน้นสร้างอะไรก่อนในชุมชน สำหรับสีส่ าน ในภาคที่ 2 ระบุวา่ ร่วมพันธกิจแบ่งปันข่าวดี มีอยู่ 4 ประเด็นหรือ 4 บท ทีม่ งุ่ สานต่องานของพระคริสตเจ้าซึง่ เป็นพันธกิจของพระศาสนจักร ในสีส่ านนี้ สานแรกก็คอื การเป็นธรรมทูต เพราะ คริสตชนจะต้องประกาศข่าวดี สานที่ 2 คือการศึกษาอบรมแบบคาทอลิก สานที่ 3 คือศาสนสัมพันธ์รวมถึง คริสตศาสนจักรสัมพันธ์ และการเข้าสูว่ ฒ ั นธรรม สานที่ 4 คือ การรักและรับใช้สงั คม รับใช้คนยากคนจน ในสภาพการณ์ต่างๆ ทั้งสี่เรื่องนี้เป็นสิ่งที่พระเยซูเจ้าได้ฝากพระศาสนจักรไว้ ซึ่งต้องสานต่อพันธกิจของพระองค์ ส่วนสองเสริ ม นั ้ น คื อ 2 บทสุ ด ท้ า ย ถือว่าเป็นเสมือนเครื่องมือและวิธีการที่จะทำในเรื่องที่กล่าวมาข้างต้น ในสองภาคแรกสำเร็จได้ คือเราจะใช้ เทคโนโลยีและการสือ่ สาร เพือ่ ทีจ่ ะเอือ้ ให้การอภิบาลและการประกาศข่าวดีน้ี เกิดประสิทธิภาพ ส่วนวิธีทำงานที่กล่าวไว้ในบทสุดท้าย คือการประสานสัมพันธ์และการสร้างเครือข่าย การประสานงาน เพราะเห็นว่าสมัยนี้เราทำคนเดียวไม่ได้ ต้องทำร่วมกัน ต้องมีวัฒนธรรมองค์กรในลักษณะที่ต้อง ประสานงานกัน มีการสร้างเครือข่าย การช่วยเหลือเกือ้ กูลกันในระดับองค์กรและ ในระดับสังฆมณฑลด้วย
สิ่งที่อยากจะฝากให้กับผู้อ่านทุกท่าน
กล่าวสรุปได้ว่า แผนนี้เป็นแผนที่มาจากความใฝ่ฝันของคริสตชนส่วนใหญ่ที่เป็นตัวแทนสะท้อนขึ้นมา และดังที่ ได้กล่าวมาแล้วว่าสิง่ ทีจ่ ะได้นน้ั ก็จะตกอยูก่ บั คริสตชน จึงคาดหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าคริสตชนทุกคนเมือ่ ได้รบั ทราบสิง่ นีแ้ ล้ว จะมีความสนใจและร่วมมือกันทีจ่ ะยึดนโยบายทีว่ า่ นีเ้ ป็นแนวทาง เพือ่ จะก้าวต่อไป เพือ่ พัฒนาชีวติ ความเป็นศิษย์ของเราใน 5 ปีทว่ี า่ นี้ อยากฝากเอาไว้วา่ ขอให้เรากล้าตอบรับคำท้าทายของพระเยซูเจ้าทีไ่ ด้ตรัสไว้วา่ “ถ้าท่านรักกันและกัน ทุกคน ก็จะรูว้ า่ ท่านเป็นศิษย์ของเรา” ถึงได้เน้นว่าความเป็นศิษย์นต้ี อ้ งเป็นหัวใจของชีวติ คริสตชน ศิษย์นเ้ี จริญชีวติ ในชุมชน ทุกคนจะรูว้ า่ เราเป็นศิษย์ของพระเยซูเจ้าในเมือ่ เราได้รกั กันและกันตามความใฝ่ฝนั ในวิสยั ทัศน์ของเรา เนื้อหาที่ได้นำเสนอนี้อาจยังไม่เพียงพอต่อความ เข้าใจของพี่น้องผู้อ่าน ทางทีมสารฯ ขอแนะนำให้พี่น้อง คริสตชนทุกท่านได้ศึกษาและทำความเข้าใจพร้อมทั้ง ร่วมมือในการสานต่อพันธกิจของพระคริสตเจ้า โดยการ เจริญชีวติ ในฐานะเป็นชุมชนศิษย์ของพระองค์ เป็นประจักษ์ พยานถึงข่าวดีเรือ่ งความรักทีพ่ ระเจ้าทรงหว่านลงในจิตใจ และสังคมโลก “พระเจ้าทรงรักโลกอย่างมากจึงประทาน พระบุตรเพียงพระองค์เดียวของพระองค์ เพือ่ ทุกคน ที่มีความเชื่อในพระบุตรจะไม่พินาศ แต่จะมีชีวิต นิรนั ดร” (ยน 3:16)
⌫⌫ ⌫
บทความ
นับตั้งแต่ปี ค.ศ.1990 เป็นต้นมา คริสตชน ทั่วทั้งทวีปเอเชียเริ่มคุ้นเคยกับคำว่า “BEC” ซึ่ง ย่อมาจากคำว่า “Basic Ecclesial Community” หรืออีกคำหนึง่ ทีเ่ รียกว่า SCCs ซึง่ ย่อมาจากคำว่า “Small Christian Communities” คำทัง้ สองดังกล่าว หากจะแปลเป็นภาษาไทยก็น่าจะแปลว่า “ชุมชน คริสตชนพืน้ ฐาน” และ “ชุมชนคริสตชนย่อย” คำทัง้ สองคำดังกล่าวข้างต้นถือเป็นผลตามมา จากการประชุมของสหพันธ์สภาพระสังฆราชแห่งเอเชีย ที่เมืองบันดุงในปี ค.ศ.1990 ที่ต้องการจะฟื้นฟูวัดทุกๆ วัดในทวีปเอเชียให้เป็นวัดที่สมาชิกทุกคนในวัด ร่วมเป็นหนึ่งเดียวกัน ทั้งในส่วนของ พระสงฆ์ นักบวช และสัตบุรุษที่เป็นฆราวาส แบบที่เรียกว่า “วัดที่ ทุกคนมีส่วนร่วม” (New way of being Church) ทั้งนี้โดยอาศัย “พระวาจาของพระเจ้า” ที่แสดง ชีวติ ขององค์พระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนชีพ เข้ามาประทับอยูแ่ ละมีปฏิสมั พันธ์กบั สมาชิกทุกๆ คนใน ชุมชนวัด ผ่านทางพระคัมภีรท์ อ่ี า่ น และโดยเฉพาะผ่านทางศีลมหาสนิททีพ ่ วกเขาเข้าไปรับในพิธมี สิ ซา บูชาขอบพระคุณ การมีประสบการณ์ชวี ติ กับพระเยซูเจ้าผูท้ รงกลับคืนชีพดังกล่าวใน “ชุมชนคริสตชนพืน้ ฐาน” และ “ชุมชนคริสตชนย่อย” นี้ จะขับเคลื่อนสมาชิกแต่ละคนให้ก้าวออกไปประกาศข่าวดีและแบ่งปัน ประสบการณ์ความเชือ่ ในชีวติ ของตนให้กบั ผูค้ นทีอ่ ยูร่ อบข้างในทุกซอกทุกมุมของชุมชนทีเ่ ขาอาศัยอยู่ ทัง้ กับ ผูท้ เ่ี ป็นคริสตชนด้วยกันและกับผูน้ บั ถือศาสนาอืน่ ๆ ทีแ่ ตกต่างกันอีกด้วย กิจกรรมพื้นฐานใน “ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน” หรือ “ชุมชนคริสตชนย่อย” ในแต่ละวัด มีเป้าหมายสุดท้ายอยู่ที่การมารวมตัวกันในบ้านของพี่น้องที่อยู่ใกล้เคียงกัน เพื่อมีประสบการณ์ ในชี ว ิ ต ของพระเยซู เ จ้ า ผู ้ ก ลั บ คื น ชี พ ร่ ว มกั น เหมื อ นบรรดาศิ ษ ย์ ข องพระเยซู เ จ้ า มารวมตั ว กั น ภาวนาพร้อมกับพระมารดาของพระเยซูเจ้า ในช่วง 3 วันก่อนที่พระเยซูเจ้าจะกลับฟื้นคืนชีพ หรือในวันที่ พระจิตเจ้าเสด็จลงมา หรือในการมาร่วมในพิธีหักขนมปังในชีวิตคริสตชนรุ่นแรกๆ กิจกรรมดังกล่าว จะส่งผลทำให้สมาชิกแต่ละคนได้ “เห็น” องค์พระเยซูเจ้าร่วมชีวิตกับพวกเขาอยู่ต่อหน้า และ “มีความเชือ่ ” ในพระองค์อย่างมัน่ คง เหมือนเหล่าสานุศษิ ย์ของพระเยซูเจ้าทีว่ ง่ิ ไปทีห่ ลุมฝังพระศพ ของพระเยซูเจ้าในวันอาทิตย์ปัสกา พวกเขาได้ “เห็น” และ “ได้เชื่อ” ในพระองค์ ด้วยเหตุนี้ กิจกรรมหลักในการรวมตัวกันใน “ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน” หรือ “ชุมชนคริสตชนย่อย” ก็คือ การเข้ามาร่วมกัน “ฟังพระวาจาของพระเจ้า” จากการอ่านพระคัมภีร์ โดยเฉพาะจากใน “พระวรสาร” ให้ประสบการณ์จากพระวาจาของพระเจ้า จากพระคัมภีร์ที่รับฟัง ประสานต่อเนื่องกับพระวาจาของพระเจ้า
⌫⌫ ⌫
ทีม่ ปี ระสบการณ์ในศีลมหาสนิททีไ่ ด้รบั เข้ามาขับเคลือ่ นอยูใ่ นชีวติ จากนัน้ ก็ยนิ ยอมให้พระวาจาของพระเจ้า ที่ขับเคลื่อนอยู่ในชีวิต นำชีวิตของตนเข้าไปร่วมชีวิตกับเพื่อนพี่น้องรอบข้างและประกาศข่าวดีให้กับทุกๆ คนในละแวกบ้านของตน จากประสบการณ์ของพ่อเกี่ยวกับกิจกรรมใน “ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน” หรือ “ชุมชนคริสตชนย่อย” หากจะกระทำให้สม่ำเสมอและยั่งยืน ควรเริ่มต้นด้วยการรณรงค์ให้ลูกวัดในแต่ละวัดฟื้นฟู “การสวด ภาวนาค่ำ” ร่วมกันในครอบครัวแต่ละครอบครัวอย่างสม่ำเสมอเป็นลำดับแรก ซึ่งควรมีการสวด สายประคำร่วมอยู่ด้วย เพื่อให้พระแม่มารีย์ได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมอยู่ในการภาวนาร่วมกัน ในแต่ละครอบครัว จากนั้นค่อยๆ เสริมให้มีการ “อ่านพระคัมภีร์” ร่วมอยู่ด้วยในขณะสวดภาวนาค่ำ ร่วมกันนั้น ในขณะที่สมาชิกทุกคนในครอบครัวยังไม่มีพระคัมภีร์อ่านประจำตัว ให้แต่ละวัดพิมพ์พระวรสาร ของอาทิตย์ถดั ไปแจกให้สตั บุรษุ ทุกคนนำกลับไปอ่านในขณะทีส่ วดภาวนาค่ำพร้อมกันในบ้าน จากนัน้ จึงค่อยๆ จัดรวมตัวสมาชิกในบ้านใกล้เคียงให้มาร่วมกันภาวนาค่ำและอ่านพระคัมภีร์ร่วมกัน พร้อมทั้งให้มีการร่วม จิตใจเป็นหนึง่ เดียวกัน กระทำกิจกรรมแบ่งปันประสบการณ์ความเชือ่ ทัง้ ด้วยคำพูดและการเป็นประจักษ์พยาน ให้กับผู้คนในละแวกบ้านของตนร่วมกันต่อไป เกี่ยวกับวิธีการอ่านพระคัมภีร์ร่วมกัน พ่อแนะนำให้ใช้วิธีการการแบ่งปันประสบการณ์ในพระวรสาร แบบ 7 ขั้นตอนเป็นหลัก โดยในระยะแรกไม่ต้องใช้ทุกขั้นตอน เช่น ใช้ขั้นตอนที่ 1-4 ไปก่อนจนกว่า จะพร้อมมากขึน้ ก็คอ่ ยๆ เพิม่ ขัน้ ตอนต่อๆ ไปอีก จากนัน้ ก็คอ่ ยๆ นำวิธกี ารแบ่งปันประสบการณ์ในพระวรสาร แบบที ่ เ รี ย กว่ า Look Listen Love แบบ Bible Mirror หรื อ แบบ Amos Program มาใช้เพิม่ เติมต่อไปตามความเหมาะสม นอกจากการอ่านพระคัมภีรร์ ว่ มกันแล้ว ควรค่อยๆ ให้ความรู้อย่างต่อเนื่องกับ “ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน” หรือ “ชุมชนคริสตชนย่อย” ซึง่ แนวทางการให้ความรูเ้ กีย่ วกับ “ชุมชนคริสตชนพืน้ ฐาน” หรือ “ชุมชน คริสตชนย่อย” แบบ AsIPA หรือ Lumko มีเนือ้ หาทีส่ ามารถ นำมาประยุกต์จัดทำการอบรมอย่างต่อเนื่องได้เป็น อย่างดีทเี ดียว พ่อหวังเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะเห็นวัดทุกวัด ในอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ของเราได้พัฒนา ชีวิตวัดของเราให้เป็น “วัดแบบที่ทุกคน มีสว่ นร่วม” แบบเป็น “ชุมชนคริสตชน พืน้ ฐาน” หรือ “ชุมชนคริสตชนย่อย” อย่างจริงจังต่อๆ ไป
⌫⌫ ⌫
บอกข่าวเล่าสาร
แผนอภิบาลปี 2010-2015 และฉลองอาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก วันอาทิตย์ท่ี 15 สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประมุขอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เป็นประธานโอกาสสมโภชแม่พระรับเกียรติยกขึน้ สวรรค์ทง้ั กายและวิญญาณ และประกาศแผนอภิบาลปี ค.ศ.2010-2015 ของพระศาสนจักรคาทอลิก ในประเทศไทย “อภิบาลชุมชนศิษย์พระคริสต์รว่ มพันธกิจแบ่งปันข่าวดี” ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ
พิธีบวชสังฆานุกร แต่งตั้งผู้ช่วยพิธีกรรม ผู้อ่านพระคัมภีร์ วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม ค.ศ.2010 เวลา 10.00 น. พระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช เป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ สมโภชพระนางมารียร์ บั เกียรติ ยกขึน้ สวรรค์ทง้ั กายและวิญญาณ องค์อปุ ถัมภ์ของพระศาสนจักรในประเทศไทย พิธบี วชสังฆานุกร พิธแี ต่งตัง้ ผูช้ ว่ ยพิธกี รรม พิธแี ต่งตัง้ ผูอ้ า่ นพระคัมภีร์ ณ อาคารมารดาพระผูไ้ ถ่ สามเณราลัยแสงธรรม จ.นครปฐม ร่วมกับพระสังฆราชสังฆมณฑลต่างๆ ในปีนม้ี ผี สู้ มัครจากสังฆมณฑลต่างๆ เป็นผูอ้ า่ น พระคัมภีร์ จำนวน 14 ท่าน ผูช้ ว่ ยพิธกี รรม จำนวน 26 ท่าน และสังฆานุกร จำนวน 12 ท่าน
โบว์ลง่ิ การกุศลรวมพลัง ปันน้ำใจ ให้ครอบครัว ครัง้ ที่ 5 แผนกส่งเสริมชีวติ ครอบครัว (สชค.) อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ โดยคณะกรรมการบริหารสชค. จัดโบว์ลง่ิ การกุศล “รวมพลัง ปันน้ำใจ ให้ครอบครัว” ครัง้ ที่ 5 เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2010 ที่ เอส เอฟ สไตร์ค โบว์ล เดอะมอลล์ บางแค โดยมี คุณพ่อสุรศักดิ์ อัมพาภรณ์ (ผูจ้ ดั การแผนกฯ) เป็นประธาน และส.ว.ยุวดี นิม่ สมบุญ ให้เกียรติมาร่วมพิธเี ปิดในครัง้ นี้ มีทมี ทีร่ ว่ มการแข่งขันทัง้ สิน้ 52 ทีม
เทิดเกียรติแม่พระฟาติมาและฉลอง 30 ปี ชีวิตสงฆ์ วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม ที่ผ่านมา วัดแม่พระ ฟาติมา นำโดย คุณพ่อสุรชัย กิจสวัสดิ์ เจ้าอาวาส ได้จัดให้มีกิจกรรมก่อนเทิดเกียรติแม่พระฟาติมา ในเวลา 15.00 น. จัดให้มีกิจกรรมการแบ่งปัน ประสบการณ์โดย คุณศรินทร เมธีวัชรานนท์ และการสวดสายประคำโดย คุณพ่อชวลิต กิจเจริญ และพิธเี คารพศีลมหาสนิท จากนัน้ คุณพ่อชัยยะ กิจสวัสดิ์ เป็นประธานในพิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณ เทิดเกียรติแม่พระฟาติมาและร่วมแสดงความยินดี 30 ปี ชีวติ สงฆ์ของพระสงฆ์ 7 องค์
เข้าเงียบชีวติ ฝ่ายจิตเยาวชนกรุงเทพฯ แผนกเยาวชน อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ นำโดย คุณพ่อสราวุธ อมรดิษฐ์ ผูจ้ ดั การแผนก จั ด “โครงการเข้ า เงี ย บชี ว ิ ต ฝ่ า ยจิ ต ของ เยาวชน” เมื่อวันที่ 13-15 สิงหาคม 2010 ณ บ้านสวนยอแซฟ อ.สามพราน จ.นครปฐม โดยมี คุณพ่อมหาร์โซโน โปรโบ, เอส.เจ. เป็นวิทยากร ในการเข้าเงียบครัง้ นี้ มีผเู้ ข้าร่วมจำนวน 28 คน
โครงการศึกษาพระคัมภีร์ ใน เขต 3 กลุ่มบุคลากรพระคัมภีร์ 25 ปี พระคาร์ดินัล ร่วมกับ คุณพ่อ วิทยา คู่วิรัตน์ เจ้าอาวาสวัดซางตาครู้ส (วัดกุฎีจีน) ได้สนับสนุน และเปิดโอกาสให้พวกเรา กลุ่มพระคัมภีร์ 25 ปี พระคาร์ดินัล ได้แบ่งปันความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระคัมภีร์ และนำสัตบุรุษทำ LECTIO DIVINA โดย บราเดอร์ ฤกษ์ชยั ภานุพนั ธ์ (คณะฟรังซิสกัน) ได้รว่ มแบ่งปันเกีย่ วกับพระวาจาของพระเจ้าครัง้ นีด้ ว้ ย ณ วัดซางตาครูส้ (วัดกุฎจี นี ) เมือ่ วันอาทิตย์ท่ี 8 สิงหาคม ทีผ่ า่ นมา
⌫⌫ ⌫
พิธมี สิ ซาปลงศพเทเรซา เล็ก เกิดสมุทร วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม ที่ผ่านมา คุณพ่อไพริน เกิดสมุทร เป็นประธานในพิธีมิสซาปลงศพ เทเรซา เล็ก เกิดสมุทร (มารดา) พร้อมด้วยพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช พระอัครสังฆราชอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ พระสงฆ์ และญาติพี่น้องมาร่วมอาลัยรัก เป็นจำนวนมาก ณ วัดอัครเทวดาราฟาแอล ปากน้ำ และเคลือ่ นศพไปยังสุสานศานติคาม อบรมชีวติ การแพร่ธรรมผูร้ ว่ มงานการประกาศข่าวดีในโลกปัจจุบนั แผนกเยาวชน ร่วมกับฝ่ายงานธรรมทูต อัคร สั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ นำโดย คุ ณ พ่ อ สราวุ ธ อมรดิษฐ์และคุณพ่อสมเกียรติ บุญอนันตบุตร จัดการอบรมชีวติ การแพร่ธรรมผูร้ ว่ มงานการประกาศ ข่าวดีในโลกปัจจุบัน ณ ศูนย์ฝึกอบรมงานอภิบาล บ้านผูห้ ว่าน มีคณ ุ ครูผสู้ นใจเข้าร่วมโครงการนี้ จำนวน 50 คน และเจ้าหน้าที่ 6 คน โดยมีคุณพ่อวัชศิลป์ กฤษเจริญ เป็นวิทยากร เมือ่ วันที่ 20 -21 สิงหาคม ที่ผ่านมา
โครงการศึกษาดูงานจิตตาภิบาลกลุ่มงาน จิตตาภิบาล ฝ่ายการศึกษาอัครสังฆมณฑล กรุงเทพฯ กลุ ่ ม งานจิ ต ตาภิ บ าล ฝ่ า ยการศึ ก ษา อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ จัดโครงการศึกษาดูงาน จิตตาภิบาล เมื่อวันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม 2010 เวลา 09.30–12.00 น. ณ โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ สามพราน จ.นครปฐม มีผู้เข้าร่วมเป็นคุณพ่อ 3 องค์ ซิสเตอร์/เซอร์ 2 ท่านและคุณครู 51 คน
การนำข่าวดีสู่วัฒนธรรม วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม 2010 เวลา 09.00-15.00น. ศูนย์คริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ นำโดย คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม ผูจ้ ดั การแผนกฯ จัดการอบรม เรื่อง “การนำข่าวดีสู่วัฒนธรรม” ณ ห้องประชุมชั้น 2 อาคารแพร่ธรรม โดยได้เชิญคุณพ่อวัชศิลป์ กฤษเจริญ และ คุณพ่อเสนอ ดำเนินสดวกมาเป็นวิทยากร ในการบรรยาย ครัง้ นีม้ คี ณ ุ ครูทส่ี นใจเข้ารับการฟังบรรยายจำนวน 67 คน
ปฏิทนิ กิจกรรม เดือนกันยายน 2010 4 ก.ย.
พิธมี อบโล่แม่และลูกคริสตชนคาทอลิกตัวอย่าง เวลา 10.00 น. ณ อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก 5 ก.ย. พิธมี สิ ซาบูชาขอบพระคุณโอกาสปฏิญาณตนตลอดชีพ อย่างสง่าของซิสเตอร์รติ า้ แห่งแม่พระภูเขาคาร์แมล (มารี เทแรส พรศรี เสรีรักษ์) โดยพระอัครสังฆราช ฟรังซิสเซเวียร์ เกรียงศักดิ์ โกวิทวาณิช ประธาน เวลา 10.00 น. ณ อารามคาร์แมลกรุงเทพฯ 18 ก.ย. C-Games เยาวชนอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ วันเยาวชนแห่งชาติ เวลา 08.00-16.00น. ณ วัดนักบุญเปโตร สามพราน 25 ก.ย. ปิดคอร์สอบรมพระคัมภีรว์ นั เสาร์ พร้อมมอบวุฒบิ ตั ร โดยแผนกคริสตศาสนธรรมอัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ณ ห้องประชุมชัน้ 2 อาคารคาทอลิกแพร่ธรรม 26-28 ก.ย. ฟืน้ ฟูจติ ใจพระสังฆราช ณ บ้านผูห้ ว่าน 28-30 ก.ย. ประชุมสภาพระสังฆราชคาทอลิกแห่งประเทศไทย ณ ห้องประชุม 3 บ้านผูห้ ว่าน 28-29 ก.ย. ฟืน้ ฟูจติ ใจพระสงฆ์อคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ประจำเดือน ณ บ้านผูห้ ว่าน ⌫⌫ ⌫
เกร็ดความรูค้ ำสอน...คุณพ่อเอกรัตน์ หอมประทุม
สวัสดีพี่น้องที่รัก เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ที่ผ่านมา ได้มี การประกาศแผนอภิ บ าลของประเทศไทย ปี 2010-2015 ซึ ่ ง เป็ น แผนเป็ น ทิ ศ ทางที ่ พระศาสนจักรในประเทศไทยจะใช้เป็นแนวทาง ในการทำงานของทุกสังฆมณฑลในประเทศ ไทยให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน แน่นอนว่า อัครสังฆมณฑลกรุงเทพฯ ของเราก็จะต้องทำ แผนของอัครสังฆมณฑลให้สอดคล้องกับแผนที่ สภาพระสังฆราชแห่งประเทศไทยได้ประกาศใช้ แผนงานนีไ้ ม่ใช่เป็นเพียงแค่คมู่ อื ปฏิบตั งิ านของ พระสงฆ์/นักบวช แต่เป็นแผนสำหรับพวกเรา ทุกคนไม่เว้นใคร ดังนัน้ เราควรติดตาม ทำความ เข้าใจแผนนี้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งสารสังฆมณฑล ก็จะติดตามและนำเสนอต่อไป ขณะที่พ่อเขียนสารนี้พ่ออยู่ที่ประเทศ อิ น เด ี ย พร ้ อ มกั บ เพ ื ่ อ นพระสงฆ ์ จ าก อั ค รสั ง ฆมณฑลกรุ ง เทพฯ อี ก 6 คนจาก สังฆมณฑลจันทบุรี 2 คน พวกเราทั้ง 9 คน ใช้เวลาอยู่ที่นี่ประมาณ 40 วันจะกลับปลาย เดือนกันยายนนี้ บางคนสงสัยว่าทำไมมานาน พวกเรามาเข้าคอร์สอบรมเกี่ยวกับเรื่องวิถี ชุมชนคริสตชนพื้นฐาน (Basic Ecclesial Community) หรือทีเ่ ราเรียกย่อๆ ว่า BEC นั ่ น เอง การมารั บ การอบรมครั ้ ง นี ้ เพื ่ อ ให้ สอดคล้องกับแผนอภิบาลฯ ซึ่งเน้นเรื่องการ สร้างวิถ ีชุมชนคริสตชนพื้นฐานในทุกๆ วัด บางวั ด ในอั ค รสั ง ฆมณฑลของเราก็ ม ี ก าร ดำเนินการเรือ่ งนีบ้ า้ งแล้ว บางวัดก็ทำมาหลายปี บางวัดก็ยังอาจจะแค่กำลังเริ่มต้น นับแต่นี้ พี่น้องคงได้ยินคำว่าวิถีชุมชนคริสตชนพื้นฐาน หรือ BEC บ่อยมากขึน้ อย่างแน่นอนและทีส่ ำคัญ ก็คือเราคริสตชนทุกคนล้วนอยู่ในวิถีชุมชน คริสตชนพื้นฐานนี้ โดยผ่านทางศีลล้างบาป ส่วนว่าต้องทำอะไรบ้างและรายละเอียดอื่นๆ ทางสารอัครสังฆมณฑลก็จะนำเสนอให้พี่น้อง รับทราบในโอกาสต่อๆ ไป ขอพระเป็นเจ้าอวยพรพี่น้องทุกท่าน
เราทราบว่าเมื่อคนหนึ่งขโมยทรัพย์สินของอีกคนหนึ่งไปนั้น ไม่พอที่จะได้รับการ อภัยโทษสำหรับความเสียใจทีไ่ ด้กระทำผิดและสารภาพบาป แต่ยงั ต้องชดใช้ทรัพย์สนิ ทีไ่ ด้ขโมยมาด้วย ดังนัน้ จึงต้องกอบกูช้ อ่ื เสียงของผูเ้ สียหายกลับคืนมาให้ได้ ในทำนอง เดียวกัน ถึงแม้วา่ พระเจ้าทรงอภัยความผิดบาปต่างๆ ของเราแล้วเมือ่ เราเป็นทุกข์ถงึ บาป ด้วยความจริงใจ เรายังติดหนีพ้ ระองค์ ต้อง “ชดใช้” สิง่ ทีเ่ ราไม่ซอ่ื สัตย์ทไ่ี ด้ละเมิดพระบัญญัติ ของพระองค์ นี่เรียกว่าโทษชั่วคราวซึ่งตรงข้ามกับโทษตลอดนิรันดร ซึ่งเราสามารถ เป็นอิสระได้ด้วยการเป็นทุกข์ถึงบาปด้วยความจริงใจและการไปรับศีลอภัยบาป โทษชั่วคราวจะได้รับการอภัยด้วยการสวดภาวนา การทนทุกข์ และการ กระทำกิจการดีในโลกนี้ หรือจะต้องชำระให้บริสทุ ธิใ์ นโลกหน้า ดังนัน้ ไฟชำระ จึงหมายถึงการชำระจิตใจให้บริสุทธิ์หลังจากตายไปแล้ว ข้อความเชื่อเรื่อง สหพันธ์นกั บุญนัน้ เป็นความเชือ่ ทีว่ า่ วิญญาณทัง้ หลายในไฟชำระจะได้รบั การช่วยเหลือ โดยทางคำภาวนา พระคุณการุณย์ (indulgences) และกิจการดีๆ ของผูท้ ย่ี งั มีชวี ติ อยู่ เป็นแนวปฏิบตั ใิ นหมูช่ าวยิว ทีจ่ ะสวดภาวนาอุทศิ ให้กบั ผูล้ ว่ งลับ การปฏิบตั เิ ช่นนี้ ก็กระทำกันในสมัยขององค์พระผู้เป็นเจ้าของเราและยังรักษาไว้อยู่จนถึงปัจจุบันใน หมูช่ าวยิวออร์โธดอกซ์ ชาวยิวทัง้ หลายยังทำการไว้ทกุ ข์ให้กบั ผูต้ ายอันเป็นทีร่ กั เป็นเวลา ถึงสิบเอ็ดเดือนชาวยิวถือว่าเป็นธรรมเนียมทีก่ ำหนดให้เป็นช่วงเวลาแห่งการชำระให้บริสทุ ธิ์ หลังจากสิน้ ใจตายไปแล้ว แม้ในพระคัมภีรจ์ ะไม่มกี ารกล่าวถึงไฟชำระ บรรดานักปราชญ์ ของพระศาสนจักรได้กล่าวถึงเรือ่ งนีไ้ ว้บา้ งซึง่ ถือเป็นหลักฐานแสดงข้อความเชือ่ ในเรือ่ งนี้ หนังสือมัคคาบีฉบับที่สองบทที่ 12 ข้อ 38-46 กล่าวถึงการสวดภาวนาให้กับผู้ตาย ในสนามรบ และในพันธสัญญาใหม่ มัทธิว 5:26,12:32 และ 1 โครินธ์ 3:11-15 ก็กล่าว สนับสนุนข้อความเชือ่ ในเรือ่ งนี้ อย่างไรก็ตาม ธรรมเนียมการถือปฏิบัติของคริสตชนตั้งแต่ศตวรรษแรกๆ นั้น มีการสวดภาวนาอุทศิ ให้กบั ผูล้ ว่ งลับ ซึง่ หมายถึง ความเชือ่ ทีว่ า่ จำต้องชำระวิญญาณ ให้บริสทุ ธิห์ ลังจากความตาย หนังสือพิธกี รรมยุคแรกๆ มีบทภาวนาอุทศิ ให้กบั ผูล้ ว่ งลับ ท่านแตร์ตู-เลียน (ค.ศ.160-230) กล่าวถึง “การถวายเครื่องบูชาอุทิศให้กับผู้ล่วงลับ นักบุญซีริลแห่งเยรูซาเล็ม (ค.ศ.315-386) ได้กล่าวถึงการเสนอวิงวอนให้กับบรรดา ผูห้ ลับพักผ่อนไปแล้ว” นักบุญออกัสติน บอกเราไว้ในหนังสือ “คำสารภาพ” เกีย่ วกับ คำขอร้องของมารดาที่กำลังสิ้นใจ คือ นักบุญมอนิกา ว่า “สิ่งที่แม่ขอลูกคือไม่ว่าจะ อยูท่ ใ่ี ดก็ตาม ขอให้ลกู ระลึกถึงแม่ทพ่ี ระแท่นบูชาพระเจ้า” คำขอนีม้ ขี น้ึ ในปี ค.ศ.387 ช่วงเวลาการชำระวิญญาณให้บริสุทธิ์หลังจากความตายนั้น มิอาจนับเวลาแบบ โลกนี้หลังความตายเราเข้าสู่ความเป็นจริงแห่งนิรันดรกาลระบบและแนวคิดปัจจุบัน ของเรายุติลงหลังจากความตาย ข้อความเชือ่ เรือ่ งไฟชำระนัน้ เป็นประเด็นถกเถียงกันระหว่างพระศาสนจักรคาทอลิก กับบรรดาคริสตจักรออร์โธดอกซ์รวมทั้งบรรดาโปรเตสแตนท์ คริสตจักรออร์โธดอกซ์ เห็นว่าการชำระวิญญาณให้บริสทุ ธิน์ น้ั เป็นข้อดีทช่ี ว่ ยให้บรรลุถงึ สวรรค์ ส่วนคาทอลิก เน้นเรือ่ งการชำระวิญญาณให้บริสทุ ธิ์ บรรดานักปฏิรปู โปรเตสแตนท์ในศตวรรษที่ 16 ปฏิเสธถึงความจำเป็นที่จะสวดภาวนาอุทิศให้กับผู้ล่วงลับจึงปฏิเสธสิ่งที่คริสตจักร ตะวันออกและตะวันตกยึดถือกันมาตามประเพณี สภาสังคายนาวาติกนั ที่ 2 ยืนยันถึงธรรมเนียมความเชือ่ คาทอลิกว่า “สภาสังคายนานี้ ขอน้อมรับด้วยศรัทธาภักดีต่อความเชื่ออันน่าเคารพของบรรดาบรรพบุรุษในเรื่อง สายสัมพันธ์ชีวิตกับบรรดาพี่น้องผู้บรรลุถึงเกียรติมงคลในสวรรค์แล้วก็ดี หรือพี่น้อง ทีล่ ว่ งลับซึง่ ยังคงรับการชำระให้บริสทุ ธิอ์ ยูห่ ลังความตาย” (พระศาสนจักร 51) ⌫⌫ ⌫ ⌦ ⌫ ⌫