CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
สาขาวิชานิเทศศาสตรบูรณาการ! คณะศิลปศาสตร! มหาวิทยาลัยแมโจ! !
นศ 115*
การพัฒนาความค ด ิ ! ! บ บ แ ส ร การคิด า * ง ส ร ร ร ค า เ ช ง ิ ิ ก บ ร ู ณ ส า ก น า ร ! ม ส ิ โ น CA 115 Develop โย ment of Integrate dC
reative Thinking!
โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ!
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ1
วิธี
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ1
วิธี
ขงจื๊อกล่าวไว้ว่า เรียนโดยไม่คิด เสียเวลาเรียน คิดโดยไม่เรียน เข้ารกเข้าพง การศึกษาต้องประกอบด้วย – ขั้นตอนการรับข้อมูล (สุตมยปัญญา) และ – การคิดวิเคราะห์ข้อมูล (จินตามยปัญญา)
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ1
วิธี
พระพุทธเจ้าตรัสว่า ทั้ง ปรโตโฆสะและโยนิโส มนสิการเป็นปัจจัยสําคัญที่ทําให้เกิดความรู้เห็น ถูกต้องตามความเป็นจริง คือ สัมมาทิฐิ
แหล่งข้อมูล = กัลยาณมิตร หรือ ปรโตโฆสะ (การรับข้อมูลจากผู้อื่น) วิธีคิดก็คือ โยนิโสมนสิการ
1
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ (ความเห็นชอบ) การศึกษาให้ได้ดีนั้นเราจะต้องอาศัย 2 อย่าง คือ • ปัจจัยภายใน เรียกว่า โยนิโสมนสิการ แปลว่า การทําในใจโดยแยบคาย หมายถึง การคิดถูก วิธี ความรู้จักคิดหรือคิดเป็น • ปัจจัยภายนอก เรียกว่า ปรโตโฆสะ แปลว่า เสียงจากผู้อื่นหรือเสียงบอกจากผู้อื่น ได้แก่ การรับถ่ายทอดหรือรับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม ทางสังคม สําหรับบุคคลที่มีลักษณะนี้เราเรียก ว่า กัลยาณมิตร
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
ความหมาย ของ โยนิโสมนสิการ1 • โยนิโส แปลว่า ถูกต้องแยบคาย • มนสิการ แปลว่า ทําไว้ในใจ • โยนิโส มนสิการ หมายถึง การทําไว้ใน ใจโดยแยบคาย หรือการคิดถูกต้องตาม ความเป็นจริง โดยอาศัยการเก็บข้อมูล อย่างเป็นระบบและคิดเชื่อมโยงตีความ ข้อมูลเพื่อนําไปใช้ต่อไป”
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
โยนิโสมนสิการ มีวิธีคิดสรุปไดเปน 4 แบบดวยกัน ดังนี้1 1) คิดอย่างมีวิธีเข้าถึงความจริง (อุบายมนสิการ) คิดหยั่งรู้สภาวะลักษณะและสามัญลักษณะของสิ่ง ทั้งหลาย 2) คิดถูกทางเป็นขั้นตอนลําดับ (ปถมนสิการ) คิดเป็นระเบียบตามแนวเหตุผล ไม่ยุ่งเหยิงสับสน 3) คิดหาต้นเหตุที่ต่อเนื่องมา (การณมนสิการ) คิดตามเหตุ คิดค้นเหตุ คิดตามเหตุผล 4) คิดอย่างมีเป้าหมาย (อุปปาทกมนสิการ) คิดให้เกิดผลต่อจิตใจให้เข้มแข็ง คิดให้กําลังใจ ตนเอง
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
กระบวนการรับรูและการคิด1 คุณคิดอย่างไร คุณก็เป็นเช่นนั้น ดังนั้นการคิดจึงเป็นตัวกําหนดบุคลิกภาพ และวิถีชีวิตของคนและสังคม เช่น คุณคิดว่าคนนี้เป็นขโมย คุณก็จะดูกิริยาอาการของคนนั้น ช่างเป็นขโมยไปหมดไม่ว่าจะทําอะไร เราพบของเราที่ทําหายไป เราก็เริ่มมองเขา ไม่ใช่ขโมย กิริยาอาการก็ไม่เป็นขโมย
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
อายตนะ 61 ประตู(ทวาร) ทางเข้าออกตัวเรา ทั้ง 6 อายตนะภายนอก : รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส ธัม มารมณ์ อายตนะภายใน : ตา ลิ้น จมูก หู กาย ใจ การกระทํา : ดู ชิม ดม ฟัง สัมผัส คิด
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
กระบวนการรับรูและการคิดผานอายตนะ 61
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
กระบวนการรับรูและการคิดผานอายตนะ 61 • เช่น ตาพบดอกบัว ตัวเราก็รับภาพ รับรู้ ว่าเห็นดอกบัว) จากนั้นตัวเราก็เกิด อารมณ์ขึ้นมาว่า สุข - ทุกข์ - เฉย ๆ แล้วเกิดการจําได้หมายรู้ • เมื่อจําได้ก็เกิดการคิดขึ้น (เช่น เกิด อารมณ์ ชอบเป็นสุขเมื่อเห็นดอกบัว เกิดจําได้ว่าแบบนี้ฉันชอบ แล้วเกิดการ คิดวิเคราะห์ว่าจะทําอะไรต่อไปดี)
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
ความคิดของเราจะมี 2 อยาง1 1. คิดปรุงแต่งในทางตอบสนองตัณหา (คิดตาม อารมณ์พาไป) คือถ้ารู้สึกว่าดีก็จะเกิดตัณหา อยากได้ ก็รู้สึกว่าไม่ดีก็เกิดตัณหาอยากหนีให้ พ้น สุดท้ายก็เกิดทุกข์ใจขึ้น 2. การคิดไม่ปรุงแต่ง (มองตามความเป็นจริงอย่าง รู้เท่าทัน) คิดเพื่อแก้ปัญหา ดับปัญหาโดยใช้ สติปัญญา ใช้วิธีคิดแบบแยบคาย (โยนิโส มนสิการ) ก็จะเกิดปัญญาองค์ความรู้ ก็จะคิด แก้ปัญหาดับทุกข์ที่ต้นเหตุ หรือตัณหาได้
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ1
วิธี
แบ่งเป็น 1. แบบมุ่งเน้นสกัด หรือกําจัด อวิชชาโดยตรง และ 2. แบบมุ่งสกัด บรรเทาตัณหา
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ 10 แบบ1
วิธี
1) คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (สืบสวน) 2) คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ (วิเคราะห์) 3) คิดแบบสามัญลักษณ์ (รู้เท่าทันธรรมดา) 4) คิดแบบอริยสัจ (คิดแก้ปัญหา) (แก้ปัญหา) 5) คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ (หลักการ และความมุ่งหมาย)
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ 10 แบบ1
วิธี
6) คิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก (ข้อดี ข้อ เสียและทางออก) 7) คิดแบบรู้คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม (แท้ เทียม) 8) คิดแบบเร้าคุณธรรม (คิดเป็นบวกกุศล) 9) คิดแบบอยู่กับปัจจุบัน (สติตามทันธรรม) 10) คิดแบบวิภัชชวาท (คิดและพูดแยกแยะทุก แง่ทุกด้าน)
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
1) คิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย (สืบสวน)1 • พิจารณาปัญหา หาหนทางแก้ไขด้วยการค้นหา สาเหตุและปัจจัยต่างๆ ที่สัมพันธ์ ตัวอย่างการคิด แบบนี้มี ดังนี้ 1) คิดแบบปัจจัยสัมพันธ์ คือการที่สิ่งทั้งหลายอาศัย กันจึงเกิดขึ้นพรั่งพร้อมกันว่า " เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี เพราะสิ่งนี้ เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น เมื่อสิ่งนี้ไม่มี สิ่งนี้ จึงไม่มี เพราะสิ่งนี้ดับ สิ่งนี้จึงดับ“ 2) คิดแบบสอบสวน คือคิดแบบตั้งคําถาม เช่นคิดว่า เมื่ออะไรมีอยู่หนอ อุปทานจึงมี อุปทานมีเนื่องจากมี อะไร เป็นปัจจัย เป็นต้น
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
2) คิดแบบแยกแยะสวนประกอบ (วิเคราะห)1 • วิธีนี้จะช่วยทําให้เห็นความเป็นอนัตตา ทําให้ เห็นการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปอยู่ตลอดเวลา ไม่เที่ยง แท้ ไม่คงที่ ไม่ยั่งยืน • วิธีคิดแบบที่ 2 นี้ต้องใช้วิธีที่ 1(สืบสาวเหตุ ปัจจัย) และวิธีที่ 3 (สามัญลักษณ์) ประกอบ การคิดด้วย
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
3) คิดแบบสามัญลักษณ (รูเทาทันธรรมดา)1 • คือ มองอย่างรู้เท่านั้น ความเป็นไป ของ สิ่งทั้งหลาย ในฐานะที่มันเป็นสิ่งที่เกิด จากเหตุปัจจัยต่างๆ ปรุงแต่งขึ้น จะต้อง เป็นไปตามเหตุปัจจัย • รู้เท่าทันตามกฎไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง (ไม่ยั่งยืน เกิดขึ้นตั้งอยู่ ดับไป) ทุกขัง (เกิดขัดแย้ง) อนัตตา (ไม่เป็นของใคร บังคับไม่ได้)
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
4) คิดแบบอริยสัจ (คิดแกปญหา) (แกปญหา)1 ตัวอย่าง การปฏิบัติคิดแก้ปัญหาแบบอริยสัจดังนี้ ขั้นที่ 1 ทุกข์ คือสภาพปัญหา เราต้องกําหนดรู้ ทําความเข้าใจปัญหา กําหนด ขอบเขต ปัญหาว่า เป็นอะไร ขั้นที่ 2 สมุทัย คือเหตุเกิดแห่งทุกข์ ต้องหาเหตุให้พบ แล้วทําหน้าที่ต่อมันให้ ถูกต้อง โดยกําจัดหรือละเสีย (ปหาน) ขั้นที่ 3 นิโรธ คือ ความดับทุกข์ เป็นสิ่งที่ต้องทําให้ประจักษ์แจ้ง (สัจฉิกิริยา) ทําให้สําเร็จหรือบรรลุถึง ขั้นนี้ต้อง กําหนด จุดหมายที่ต้องการ คืออะไร การที่ ปฏิบัติอยู่ดี หรือจะปฏิบัติเพื่ออะไร จะทํากันไปไหนดี จุดหมายนั้นเป็นไปได้หรือ ไม่ เป็นไปได้อย่างไร มีหลักการในการเข้าถึงอย่างไร มีจุดหมายรอง หรือจุด หมายลดหลั่นแบ่งเป็นขั้นตอน ในระหว่างนั้นได้อย่างไรบ้าง ขั้นที่ 4 มรรค คือ ทางดับทุกข์ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หรือวิธีการแก้ ปัญหา เราต้องมีหน้าที่ปฏิบัติหรือลงมือทํา (ภาวนา) ในขั้นความคิดนั้นจะเป็นตัว กําหนดวางวิธีการ แผนการและ รายการสิ่งที่จะต้องทํา ที่จะช่วยให้แก้ไขสาเหตุ ของปัญหาได้สําเร็จโดยสอดคล้อง กับจุดหมายที่ต้องการ จากนั้นเป็นการลงมือ ทํา
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
5) คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ (หลักการและความมุงหมาย)1 • พิจารณาให้เข้าใจ ความสัมพันธ์ระหว่าง ธรรม กับ อรรถ หรือ หลักการ กับความมุ่งหมาย เพื่อให้ได้ผลตามความ มุ่งหมาย ไม่กลายเป็นการกระทํา ที่เคลื่อนคลาด เลื่อนลอย หรืองมงายไร้ผล หรือเกิดโทษ ธรรม แปลว่า หลักการ หลักความดีงาม หลักการปฏิบัติ หลักที่จะเอาไป ใช้ปฏิบัติ หลักคําสอนที่จะนําไปประพฤติปฏิบัติได้อย่าง ถูกต้องดีงาม • "การบําเพ็ญอรรถ (ประโยชน์) โดยคนที่ไม่รู้จักอรรถ (ประโยชน์ที่พึงหมาย) ไม่ช่วยนําสุขมาให้เลย คนเขลา ย่อมผลาญอรรถ (ประโยชน์) เสีย เหมือนดังลิงเฝ้าสวน"
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
6) คิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก (ขอดี ขอเสียและทางออก)1 การคิดแบบนี้มีลักษณะ 2 ประการ - การที่จะชื่อว่ามองเห็นตามเป็นจริงนั้น จะต้องไม่ มองแต่ด้านดีหรือคุณอย่างเดียวและไม่ใช่เห็นแต่ โทษหรือด้านเสียอย่างเดียว - เมื่อจะแก้ปัญหา ปฏิบัติ หรือดําเนินวิธีออกไปจาก ภาวะที่ไม่พึงประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง จะต้อง มองเห็นทางออก มองเห็นจุดหมายและรู้ว่าจุด หมายหรือที่จะไปนั้น คืออะไร คืออย่างไร ดีกว่า และพ้นจากข้อบกพร่อง จุดอ่อน โทษอย่างไร
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
7) คิดแบบรูคุณคาแท-คุณคาเทียม (แท - เทียม)1 • วิธีคิดแบบนี้ใช้มากในชีวิตประจําวัน • เพราะเกี่ยวกับการบริโภคใช้สอยปัจจัย 4 และวัสดุอุปกรณ์อํานวย ความสะดวก ต่างๆ • เมื่อเรามีความต้องการและเห็นว่าสิ่ง นั้นๆ จะตอบสนองความต้องการของเรา ได้ สิ่งนั้นก็มีคุณค่าแก่เรา • มี 2 ชนิดคือ คุณค่าแท้ และคุณค่าเทียม
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
8) คิดแบบเราคุณธรรม (คิดเปนบวกกุศล)1 • เช่น การคิดถึงความตายแล้วคิดไม่ถูกวิธี ก็ จะเกิดอกุศลธรรมขึ้นเกิดสลดหดหู่ เศร้า เหี่ยวแห้งใจ หวั่นไหวหวาดกลัว เสียใจ และ อาจดีใจเมื่อเป็นความตายของคนที่เกลียด ชัง แต่ถ้าคิดให้ถูกวิธี จะเกิดกุศลธรรม เกิด ความรู้สึกตื่นตัว เร้าใจ ไม่ประมาท เร่ง ขวนขวายปฏิบัติหน้าที่นําสิ่งดีงามเป็น ประโยชน์ ประพฤติปฏิบัติธรรม รู้เท่าทัน ความจริงเป็นคติธรรมดาของสังขาร
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
9) คิดแบบอยูกับปจจุบัน (สติตามทันธรรม)1 • เป็นวิธีคิดแบบเป็นอยู่ในขณะปัจจุบันนี้ มีเนื้อหา รวมอยู่ในสติปัฏฐาน 4 หรืออริยมรรค ข้อ สัมมา สติ • เช่น บทเรียนจากอดีต ความไม่ประมาท ระมัดระวังป้องกันภัยในอนาคต • ข้อสังเกต คําว่าปัจจุบันในทางธรรมหมายถึงมีสติ ตามทันสิ่งที่รับรู้เกี่ยวข้องหรือต้องทําอยู่ในเวลา นั้น แต่ละขณะทุกๆ ขณะจิต ไม่หลุดลอยไปจาก ขณะปัจจุบัน อาจเป็นเรื่องอดีต ปัจจุบัน อนาคต ก็ได้
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
10) คิดแบบวิภัชชวาท (คิดและพูดแยกแยะทุกแงทุกดาน)1 •
•
คิดแบบแยกประเด็นปัญหา ไม่มองปัญหาด้านเดียว มี ประโยชน์มากเมื่อต้องตัดสินใจ เพราะเป็นการมอง ปัญหาอย่างรอบด้าน แล้วจึงแยกแยะประเด็นทีละ ประเด็น จากนั้นจึงค่อยๆวิเคราะห์แต่ละประเด็นอย่าง ละเอียดรอบคอบ พร้อมทั้งใช้สติสัมปชัญญะในการ เลือกรับแต่สิ่งดีๆ เข้ามา เช่น การเลือกรับข่าวใน social network และการ รับแอดเพื่อนใหม่ๆ หรือการเลือกกลุ่มเพื่อนก็จะมี ความรอบคอบ รอบด้าน ไม่แตกตื่นและไม่เครียดกับ ข้อมูลข่าวสารโดยใช่เหตุ ทั้งยังมีแต่เรื่องราวดีๆ ใน หน้า Facebook ของเรา
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
MIND MAP โยนิโสมนสิการ1
CA 115 : Development of Integrated Creative Thinking!
คิดแบบโยนิโสมนสิการ 10 แบบ1
วิธี
1) คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (สืบสวน) 2) คิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ (วิเคราะห์) 3) คิดแบบสามัญลักษณ์ (รู้เท่าทันธรรมดา) 4) คิดแบบอริยสัจ (คิดแก้ปัญหา) (แก้ปัญหา) 5) คิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ (หลักการและความมุ่งหมาย) 6) คิดแบบเห็นคุณโทษและทางออก (ข้อดี ข้อเสียและ ทางออก) 7) คิดแบบรู้คุณค่าแท้-คุณค่าเทียม (แท้ - เทียม) 8) คิดแบบเร้าคุณธรรม (คิดเป็นบวกกุศล) 9) คิดแบบอยู่กับปัจจุบัน (สติตามทันธรรม) 10) คิดแบบวิภัชชวาท (คิดและพูดแยกแยะทุกแง่ทุกด้าน)