Healthy
Vitamin
คำ�นำ� หนังสือเล่มนี้ได้นำ�เรื่องราวเกี่ยวกับวิตามินA D E K และC มารวมอยู่ในหนังสือเล่มนี้ เพื่อนำ�เสนอประโยชน์จากผัก และผลไม้ที่มีวิตามินเพราะปัจจุบันวัยเด็ก วัยรุ่น ต่าง ละเลยไม่ค่อยหันมาสนใจในเรื่องนี้เลยอยากจะนำ�เสนอให้ ดูน่าสนใจเหมาะกับยุคสมัยและกลุ่มเป้าหมายที่เข้ามาอ่าน Jongkol Boonmung
Vitamin A 1-3 Vitamin D 4-8 Vitamin E 9-12 Vitamin K 13-15 Vitamin C 16-18
1
วิตามินเอมีส่วนประกอบสำ�คัญของคอร์เนียและยังมีผล
ต่อการเจริญเติบโต การสร้างกระดูก และระบบสืบพันธุ์ นอกจากนี้ยังป้อง กับการติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินหายใจ และระบบขับ ปัสสาวะทำ�ให้ผิวและผมแข็งแรง
ประโยชน์
•ช่วยบำ�รุงสายตา และแก้โรคตามัวตอนกลางคืน (Night Blindness) •ช่วยให้กระดูก ผม ฟัน และเหงือกแข็งแรง •สร้างความต้านทานให้ระบบหายใจ •ช่วยสร้างภูมิชีวิตให้ดีขึ้น และทำ�ให้หายป่วยเร็วขึ้น •ช่วยในเรื่องของผิวพรรณ ลดการอักเสบของสิว และช่วย ลบจุดด่างดำ� •ช่วยบรรเทาโรคเกี่ยวกับไทรอยด์ แหล่งวิตามินเอ ผักผลไม้ที่ให้วิตามินเอส่วนใหญ่จะมีสีเหลือง ส้ม แดง และเขียวเข้ม เพราะมีเบต้าแคโรทีนและแคโรนอยด์ที่ ร่างกายจะเปลี่ยนเป็นวิตามินเอต่อไป เนื่องด้วยวิตามินเอ ในผักผลไม้มีความไวต่อออกซิเจนมาก ดังนั้นวิธีการต้มที่ ป้องกันการสูญเสียวิตามินได้ดีทีสุดคือ ควรปิดฝาภาชนะ ขณะต้มและใส่น้ำ�น้อยๆ ร่ายกายต้องการวิตามินเอในแต่ละวันอยู่ที่วันละ 4,0005,000 IU
2
อันตรายจากการขาดวิตามินเอ
•โรคผิวหนังเนื่องจากวิตามินเอมีส่วนสำ�คัญในการรักษาสภาพเยื่อบุผิวหนัง ขาดวิตามินเอทำ�ให้ผิวพรรณขาดความชุ่มชื้นหยาบกร้าน แห้งแตก โดยเฉพาะ ผิวหนังบริเวณข้อศอก ตาตุ่มและข้อต่อด่างๆ ซึ่งอาจนำ�ไปสู่โรคผิวหนัง เช่น สิว และโรคติดเชื้ออื่นๆ ได้ •ตาฟาง หน้าที่ของวิตามินเอคือช่วยในการสร้างสารที่ใช้ในการมองเห็น หาก ขาดจะทำ�ให้มองเห็นได้ยากในเวลากลางคืนหรือในที่แสงสว่างน้อย และทำ�ให้ เยื่อบุตาแห้ง กระจกตาเป็นแผล ในกรณีที่ร่างกายขาดวิตามินเออย่างรุนแรง อาจทำ�ให้ตาบอดได้ •ความต้านทานโรคต่ำ� วิตามินเอเป็นตัวช่วยสำ�คัญที่ทำ�ให้ระบบภูมิคุ้มกันใน ร่างกายของเราทำ�งานตามปกติ การขาดวิตามินเอจึงทำ�ให้เกิดโรคติดเชื้อใน ระบบทางเดินหายใจได้ง่าย อีกทั้งยังทำ�ให้เกิดการอักเสบในโพรงจมูก ช่อง ปาก คอ และที่ต่อมน้ำ�ลาย
3
อันตรายจากการได้รับวิตามินเอเกิน •แท้งลูกหรือพิการ หญิงมีครรภ์ที่ได้รับวิตามินเอมากเกินไปมีความเสี่ยงต่อภาวะ ทารกในครรภ์คลอดออกมาพิการหรือแท้งได้ เนื่องจากวิตามินเอมีผลต่อการเจริญ เติบโตของเด็กในครรภ์ ซึ่งอาจทำ�ให้เด็กมีความผิดปกติที่ทางเดินปัสสาวะ กระดูกผิด รูป หรือมีติ่งปูดออกมาที่บริเวณหู •อ่อนเพลีย หากร่างกายได้รับวิตามินเอเกินครั้งละ 15,000 ไมโครกรัม จะมีผลทำ�ให้ รู้สึกอ่อนเพลียและอาเจียนได้ •เจ็บกระดูกและข้อต่อ เบื่ออาหาร เซื่องซึม นอนไม่หลับ กระวนกระวาย ผมร่วง ปวด ศีรษะ ท้องผูก ทั้งหมดนี้เป็นโทษในระยะยาวที่เกิดจากการรับประทานวิตามินเอมาก เกินไป •ในสัตว์กระเพาะเดี่ยวเมื่อได้รับเกินความต้องการ 4-10 เท่า จะทำ�ให้โครงกระดูกผิด ปกติ •ในสัตว์เคี้ยวเอื้องเมื่อได้รับเกิน 30 เท่า จะเกิดอาการผิดปกติ
4
D
v i t a m i n
5
วิตามินดี
วิตามินดี (CALCIFEROL หรือERGOSTEROL) เป็นวิตามิน ที่ ร่ า งกายต้ อ งการเพื่ อ การรั ก ษา ภาวะสมดุลของระดับแคลเซียมใน เลือดและในกระดูก เมื่อร่างกาย ได้รับแสงแดด ร่างกายสามารถ สร้ า งวิ ต ามิ น ดี ไ ด้ เ มื่ อ ผิ ว หนั ง ได้ รั บ แสงแดด ในกรณีที่ไม่ถูกแดด จำ�เป็น จะต้องได้รับวิตามินดีจากอาหารให้ มากขึ้น เมื่อได้รับแสงแดดพอ ไม่มี ความจำ�เป็นที่จะต้องเสริมด้วยการ รั บ ประทานวิ ต ามิ น ดี ใ นรู ป วิ ต ามิ น รวม หรือรับประทานอาหารที่มีการ เสริมด้วยวิตามินดี (แต่ในโลกแห่ง ความเป็นจริงแล้ว แทบจะไม่มีใครได้ รับวิตามินดีเพียงพอ เพราะผู้ที่ตาก แดดเป็นประจำ�จนผิวคล้ำ� จะมีสีผิว ที่เข้มขึ้นไปยับยั้งการสร้างวิตามินดี การที่จะรู้ว่าร่างกายได้รับวิตามินดี เพียงพอหรือไม่ ต้องดูผลตรวจเลือด จากห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารทางการแพทย์ เท่านั้น)
6
วิตามินดีที่เข้าร่างกายจะถูกนำ�ไปเก็บที่ตับเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้จะเก็บ ที่ผิวหนัง สมอง ตับอ่อน กระดูก และลำ�ไส้ได้ วิตามินดีจะเสียง่ายเมื่อถูก ออกซิเดชัน ละลายในตัวทำ�ลายไขมันและไม่ละลายน้ำ�อาหารที่มีวิตามินดี พบได้ทั้งในพืชผัก ผลไม้ และในเนื้อเยื่อของสัตว์แต่ดูเหมือนจะเป็นวิตามิน ชนิดเดียวที่มีอยู่น้อยมากในพืชและผัก ที่พบมากได้แก่ น้ำ�มันตับปลา ไขมัน นม เนย ตับสัตว์ ตับปลาคอด (COD) ปลาทู ไข่แดง ปลาแซลมอน ปลาซาดีน ปลาแมคเคอร์เรก วิตามินดีช่วยในการดูดซึมแคลเซียมและฟอสฟอรัส มีความสำ�คัญในการ สร้างกระดูกและฟันและการเจริญเติบโตตามปกติของเด็ก,วิตามินดีมีผลต่อ การดูดซึมกลับของกรดอะมิโนที่ไต ,ช่วยสังเคราะห์น้ำ�ย่อยใน mucous membrane ,ควบคุมปริมาณของแคลเซียมและฟอสฟอรัสในกระแสโลหิตไม่ให้ต่ำ� ลงจนถึงขีดอัตราย ,เกี่ยวข้องกับการใช้ฟอสฟอรัสในร่างกาย ,ช่วยสังเคราะห์ Mucopolysaccharide ซึ่งเป็นสารที่จำ�เป็นในการสร้าง คอลลาเจน,เกี่ยวข้อง กับการใช้เกลือซิเตรทในร่างกายอาจจำ�เป็นในการทำ�งานของระบบประสาท การเต้นของหัวใจ การแข็งตัวของเลือด ถ้าขาดวิตามินดีทำ�ให้เกิดโรคกระดูกอ่อนในเด็กเรียก Rickets และในผู้ใหญ่ เรียกว่า Osteomalacia มีปัญหาเกี่ยวกับการดูดซึมแคลเซียมเข้าร่างกาย รูปร่างจะไม่สมประกอบ น้ำ�หนักลด ฟันผุ เติบโตช้า กระดูกสันหลังโก่ง ข้อ มือ เข่า และกระดูกข้อเท้าโต ความต้านทานต่อโรคต่าง ๆ ลดน้อยลง เช่น หวัด ปอดบวม วัณโรค กล้ามเนื้ออ่อนกำ�ลังขาดความคล่องแคล่ว ว่องไว ไม่ กระฉับกระเฉง ไม่มีความกระปรี้กระเปร่า กล้ามเนื้อกระตุก ถ้าได้รับวิตามินดี มากเกินไป ทำ�ให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน เบื่ออาหาร ปัสสาวะ มากผิดปกติและบ่อย กล้ามเนื้อไม่มีแรง รู้สึกเหนื่อยอ่อน มีหินปูนเกาะตาม อวัยวะหรือเนื้อเยื่อของหัวใจ ผนังเส้นเลือดและปอด แต่อาการเหล่านี้นั้นจะ หายภายใน 2 - 3 วันหลังจากหยุดวิตามิน
7
ประโยชน์ต่อร่างกาย
1.วิ ต ามิ น ดี ช่ ว ยในการดู ด ซึ ม แคลเซี ย มและ ฟอสฟอรัส มีความสำ�คัญในการสร้างกระดูก และฟั น และการเจริ ญ เติ บ โตตามปกติ ข องเด็ ก 2.วิตามินดีมีผลต่อการดูดซึมกลับของกรดอะมิโนที่ ไต ถ้าขาดวิตามินดี กรดอะมิโนในปัสสาวะจะเพิ่ม ขึ้น ถ้าวิตามินดีเพียงพออัตราการดูดซึมกลับกรด อะมิโนจะปกติ และในปัสสาวะจะลดปริมาณลง 3.ช่วยสังเคราะห์น้ำ�ย่อยในmucousmembrane ซึ่ ง เกี่ ย วข้ อ งกั บ การเคลื่ อ นย้ า ยแบบactive transport ของแคลเซียมให้ข้ามเซลล์ไปได้ง่าย 4.ควบคุ ม ปริ ม าณของแคลเซี ย มและฟอสฟอรั ส ในกระแสโลหิตไม่ให้ต่ำ�ลงจนถึงขีดอันตราย เช่น แคลเซียมจะต้องอยู่ในเลือดประมาณ 7 มิลลิกรัม/ เดซิลิตร โดยวิตามิน ดีจะกระตุ้นการดูดแคลเซียม ในลำ�ไส้เพราะมิฉะนั้นแคลเซียมจะถูกขับออกจาก ร่างกายไปหมด และวิตามิน ดี จะกระตุ้นการนำ�เอา ฟอสฟอรัสมาใช้ โดยทำ�หน้าที่กระตุ้นตลอดเวลา
5.เกี่ยวข้องกับการใช้ฟอสฟอรัสในร่างกาย 6.ช่วยสังเคราะห์ Mucopolysaccharide ซึ่ง เป็นสารที่จำ�เป็นในการสร้าง คอลลาเจน 7.เกี่ยวข้องกับการใช้คาร์โบไฮเดรต 8.เกี่ยวข้องกับการใช้เกลือซิเตรทในร่างกาย 9.หน้าที่โดยทางอ้อมก็คือ วิตามินดีจำ�เป็นใน การทำ�งานของระบบประสาท การเต้นของ หัวใจ การแข็งตัวของเลือด เพราะหน้าที่เหล่า นี้จะสัมพันธ์กับการมีอยู่และการใช้แคลเซียม และฟอสฟอรัส ของร่างกาย
8 แหล่งที่พบ 1.พบได้ทั้งในพืชผัก ผลไม้ และในเนื้อเยื่อของสัตว์แต่ดูเหมือน จะเป็นวิตามินชนิดเดียวที่มีอยู่น้อยมากในพืชและผัก ที่พบ มากได้แก่ น้ำ�มันตับปลา ไขมัน นม เนย ตับสัตว์ ตับปลาคอด (COD) ปลาทู ไข่แดง ปลาแซลมอน ปลาซาดีน ปลาแม็คเค อร์เรก 2.นมเป็นอาหารที่นิยมเสริมวิตามินดี เพราะเป็นอาหารที่มี แคลเซียม ฟอสฟอรัสและไขมัน ที่จะช่วยเพิ่มอัตราการดูดซึม จากลำ�ไส้เล็ก ปริมาวิตามินดีที่เสริม คือ 400 IU ต่อลิตร 3.ปริมาณของวิตามินดีในอาหารอาจเปลี่ยนแปลงได้มากตาม ฤดูกาล และภาวะแวดล้อมต่างๆ เช่น การถูกแสงแดดมาก หรือน้อย อาหารที่ใช้เลี้ยงสัตว์มีวิตามินดีมากหรือน้อยเพียงใด เป็นต้น
อาหารส่วนใหญ่จะมีวิตามินดีไม่มาก อาหารที่มีวิตามินดีได้แก่ •ปลาที่มีไขมันสูงได้แก่ salmon, tuna, mackere และน้ำ�มันตับ ปลา •นอกจากนั้นยังพบได้ในตับวัว ไข่แดง เนย •เห็ดบางชนิด •อาหารหรือเครื่องดื่ม เช่น นม และนมถัวเหลืองก็มีการเติม วิตามินดีในอาหาร แสงแดด
9
วิตามินอี
วิตามินอี เป็นวิตามินที่ช่วยในการทำ�งานของระบบต่างๆ ใน ร่างกายหลายระบบ และเป็นแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยให้เซลล์ ต่างๆ รอดอันตรายจากท็อกซิน ช่วยชะลอความแก่ได้ เช่น กะหล่ำ�ปลี ถั่วงอก ผักใบเขียว ต้นลีค เมล็ดแอปเปิ้ล จมูกข้าว lettuce
Vitamin E
10
ประโยชน์
•เป็นตัวแอนติออกซิแดนท์ คือทำ�ให้เกิดการเผาผลาญโดยมีออกซิเจนเป็นตัวการสำ�คัญทำ�ให้ร่างกายเผา ผลาญได้ดี •เป็นตัวช่วยไขกระดูกในการสร้างเลือด ช่วยขยายเส้นเลือด ต้านการแข็งตัวของเลือด ลดความสามารถ ในการจับตัวเป็นลิ่มเลือด และลดอัตราเสี่ยงของโรคที่เกี่ยวกับหลอดเลือดสมองและหัวใจ •บำ�รุงตับซึ่งทำ�หน้าที่เกี่ยวกับเลือดมาก •ช่วยในระบบสืบพันธุ์ เซลล์ประสาท และกล้ามเนื้อให้ทำ�งานได้ตามปกติ •ช่วยให้ผิวพรรณสดใส และช่วยสมานแผลไฟไหม้ น้ำ�ร้อนลวกให้หายเร็วขึ้น •ช่วยให้ปอดทำ�งานดีขึ้นและไม่อ่อนเพลียง่าย แหล่งวิตามินอี วิตามินอีมีมากในน้ำ�มันจากธัญพืชและถั่วประเภทเปลือกแข็ง การเก็บรักษาให้วิตามินอีควรเก็บให้พ้น จากความร้อนแสงแดด รวมทั้งออกซิเจนในอากาศ การขัดสี การบด จะทำ�ให้ญพืชสูญเสียวิตามินอีไป จำ�นวนมาก ร่างกายคนเราต้องการวิตามินอีอยู่ที่วันละ 10-15 IU
11
อันตรายจากการได้รับวิตามินอีมากเกินไปหรือรับประทานเป็นประจำ�
การได้รับวิตามินอีมากเกินไปจะทำ�ให้รู้สึกปวดศีรษะ กล้ามเนื้ออ่อนล้า ตาพร่ามัว อ่อนเพลีย มีอาการอึดอัดในช่องท้อง ท้องร่วง หากร่างกายได้รับวิตามินอีสูงมากอาจขัด ขวางการดูดซึมวิตามินเอซึ่งส่งผลให้เลือดแข็งตัวช้า
อันตรายจากการขาดวิตามินอี
12
•โรคหัวใจกำ�เริบ วิตามินอีมีหน้าที่ในการจับสารที่เข้ามาทำ�ลายภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย การขาดวิตามินอีทำ�ให้สารเหล่านี้เข้าไปทำ�ปฏิกิริยากับไขมันในเลือด ทำ�ให้เนื้อเยื่อต่างๆ เสื่อมสภาพเร็วยิ่งขึ้น นำ�ไปสู่ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ก่อให้ เกิดก้อนเลือดและที่สุดทำ�ให้เกิดโรคหัวใจกำ�เริบได้ •ระบบประสาทมีปัญหา ในกรณีของคนที่ร่างกายมีปัญหาในการดูดซึมไขมันและ ในเด็กทารกที่คลอดก่อนกำ�หนด การได้รับวิตามินอีต่ำ�กว่าปริมาณที่กำ�หนดอาจ ทำ�ให้เกิดความเสียหายต่อระบบประสาทและเป็นโรคโลหิตจางได้ เนื่องจากเซลล์ เม็ดเลือดแดงในร่างกายถูกทำ�ลาย
13
VitaminK วิตามินเค
วิตามินเค เป็นวิตามินในกลุ่มที่ละลายได้ดีในไขมัน รูปแบบที่พบในธรรมชาติ มี 2 รูปแบบ ได้แก่ วิตามินเค I (Vitamin K I) หรือ ฟิลโลควิโนน (phylloquinone) เป็นรูปแบบที่พบในพืชและสัตว์ และ วิตามินเค II (Vitamin K II) หรือ เมนาค วิโนน (menaquinone) เป็นรูปแบบที่พบในเนื้อเยื่อตับ และยังสามารถสร้างได้ โดยแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในร่างกายสำ�หรับวิตามินเค III (Vitamin K III) หรือ เม นาไดโอน (menadione) นั้น เป็นโมเลกุลที่สังเคราะห์ขึ้น ซึ่งจะถูกเปลี่ยนเป็น เม นาควิโนน โดยตับ หน้าที่ วิตามินเค มีความสำ�คัญต่อการแข็งตัวของเลือด
แหล่งที่พบ
วิตามินเคพบมากในอาหารประเภทผักใบเขียว นอกจากนี้ยังพบในเนื้อสัตว์ นม เนย น้ำ�มันมะกอก น้ำ�มันถั่วเหลือง กาแฟ และแพร์
14
ภาวะวิตามินเคเป็นพิษ ภาวะวิตามินเคเป็นพิษ (Hypervitaminosis K) คือ การได้รับวิตามินเคมากเกินไป สามารถทำ�ให้เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก และภาวะบิลิรูบินในเลือดต่ำ�ในทารกได้
15
ภาวะขาดวิตามินเค
อาการที่แสดงถึง ภาวะขาดวิตามินเค (Hypovitaminosis K) คือ มี เลือดออกในอวัยวะต่างๆ เช่น ช่องกะโหลกศีรษะ ลำ�ไส้ หรือ ผิวหนัง โดยจะพบมากในช่วงอายุ 1 สัปดาห์แรกของทารกแรกเกิด ทั้งนี้เป็น เพราะทารกมีไขมันสะสมน้อย ตับของทารกยังพัฒนาไม่สมบูรณ์ ลำ�ไส้ ยังปราศจากเชื้อแบคทีเรียที่สังเคราะห์วิตามิน ประกอบกับวิตามินเคที่ ผ่านมาทางรกและน้ำ�นมจากมารดานั้นมีปริมาณน้อย สำ�หรับภาวะขาดวิตามินเคในผู้ใหญ่นั้น มักเกิดร่วมกับสาเหตุบาง อย่าง เช่น โรคเรื้อรังของระบบทางเดินอาหารบางชนิด โรคทางเดิน น้ำ�ดีอุดตัน หลังจากการผ่าตัดลำ�ไส้เล็ก หรือได้รับยาปฏิชีวนะที่มีฤทธิ์ ครอบคลุมเชื้อกว้าง การวินิจฉัยทำ�ได้โดยการตรวจ เวลาโปรธรอมบิน (prothrombin time ; PT) ซึ่งผู้ที่มีภาวะขาดวิตามินเคจะใช้เวลานานกว่าปกติ หรือตรวจ ปริมาณวิตามินเคโดยตรงด้วยวิธี HPLC การรักษาทำ�ได้โดยให้วิตามินเคในรูปยาฉีด 10 มิลลิกรัมครั้งเดียว ใน ผู้ป่วยที่โรคเรื้อรังอื่นอาจเสริมด้วยวิตามินเคในรูปยากิน 1-2 มิลลิกรัม ต่อวัน หรือ ในรูปยาฉีด 1-2 มิลลิกรัมต่อสัปดาห์
16
e
Orang
Broccol
i
Strawberry
Vitamin C
วิตามินซี
วิตามินซี (อังกฤษ: vitamin C) หรือ กรดแอล-แอสคอร์บิก (อังกฤษ: Lascorbic acid) หรือ แอล-แอส คอร์เบต (อังกฤษ: L-ascorbate) เป็นวิตามินที่ละลายได้ในน้ำ� ร่างกาย ไม่สามารถที่จะสร้างขึ้นเองได้ จึง จำ�เป็นต้องได้รับจากการรับประทาน เข้าไป วิตามินซีเป็นสารต้านอนุมูล อิสระในร่างกาย ช่วยเพิ่มภูมิชีวิตได้ เป็นอย่างดี เพราะสามารถป้องกัน และรักษาการอักเสบอันเนื่องมาจาก แบคทีเรียและไวรัสได้
17
อันตรายจากการได้รับวิตามินซีมากเกินไป •เนื่องจากวิตามินซีมีหน้าที่ในการช่วยเพิ่ม การดูดซึมธาตุเหล็กในร่างกาย การรับ วิตามินซีในปริมาณมากจะทำ�ให้เกิดปัญหา การสะสมธาตุ เ หล็ ก ตามกระดู ก ข้ อ ต่ อ ต่างๆ มากขึ้น •การได้ รั บ วิ ต ามิ น ซี ม ากเกิ น ไปอาจไป รบกวนการดู ด ซึ ม ของทองแดงและ ซีลีเนียม หากได้รับวิตามินซีชนิดที่ไม่ได้ บรรจุแคปซูล โดยการรับประทาน เกินวัน ละ 10,000 มิลลิกรัม อาจทำ�ให้ท้องเสีย ท้องอืด ท้องเฟ้อได้ เนื่องจากวิตามินซีที่ มีจำ�หน่ายทั่วไปในท้องตลาดมักเป็นชนิด ที่มีคุณสมบัติเป็นกรด หากต้องการหลีก เลี่ยงการระคายเคืองกระเพาะอาหาร ควร รับทานวิตามินซี ชนิดที่เป็น กลาง
18 อันตรายจากการขาดวิตามินซี
•ผู้ที่ขาดวิตามินซีมักมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดตามข้อต่อของร่างกาย เลือดออกตามไรฟัน เจ็บกระดูก •แผลหายช้า เนื่องจากวิตามินซีทำ�หน้าที่ ต่อต้านการอักเสบและช่วยซ่อมแซมส่วน ที่สึกหรอของร่างกาย การได้รับวิตามินซี ไม่เพียงพอจะทำ�ให้เส้นเลือดในร่างกาย อ่อนแอ และทำ�ให้บาดแผลที่เกิดขึ้นตาม ส่วนต่างๆ ของร่างกายหายช้ากว่าปกติ •เป็นโรคติดเชื้อได้ง่าย คุณสมบัติของ วิตามินซี คือ เป็นตัวต่อต้านสารก่อ มะเร็งและช่วยควบคุมระบบภูมิคุ้มกัน ถ้าร่างกายขาดวิตามินซีจะส่งผลให้ระบบ ภูมิคุ้มกันในร่างกายลดต่ำ�ลงและทำ�ให้ ติดเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้ง่าย •เป็นโรคลักปิดลักเปิด ในกรณีของเด็ก หรือผู้สูงอายุที่ได้รับวิตามินซีน้อยกว่าวัน ละ 10 มิลลิกรัม อาจทำ�ให้เป็นโรคลัก ปิดลักเปิดได้ หากร่างกายขาดวิตามินซี มากเกินปกติอาจทำ�ให้มีลูกยาก เป็นโรค โลหิตจางและมีภาวะความผิดปกติทาง จิตได้