วิปัสนากรรมฐานแก้กรรม
1
2
เผยแพร่เป็นธรรมทาน
เพื่ออุทิศบุญกุศลให้กับเทวดาผู้รักษาตัวข้าพเจ้า บรรพบุรุษ บิดามารดา ครู อุปัชณาย์ อาจารย์ ผู้มี พระคุณ ญาติสนิท มิตรสหาย เจ้ากรรมนายเวร เจ้าเกณฑ์ชะตา เจ้าที่เจ้าทาง แม่นางธรณี ผีบ้าน ผีเรือนที่ข้าพเจ้าอาศัยอยู่ สัมภเวสีทั้งหลาย และ สรรพสัตว์น้อยใหญ่ทั้งปวง ขอให้ท่านทั้งหลาย จงอนุโมทนาบุญกุศลนี้ และ จงได้รับในบุญกุศลนี้ โดยทั่วหน้ากันเทอญ ถ้าท่านมีทุกข์ ขอให้พ้นทุกข์ ถ้าท่านสุข ขอให้สุขยิ่งๆขึ้นไป
ผู้จัดทำ� นายนันทคม ประสาทพร 5314101359 3
- กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ เรามีกรรมเป็นแดนเกิด เรามีกรรมเป็นเผ่าพันธ์ - กัมมะปะฏิสะระโน ยัง กัมมัง กะริสสามิ เรามีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เราทำ�กรรมอันใดไว้์ - กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา เป็นกรรมดีก็ตาม เป็นกรรมชั่วก็ตาม - ตัสสะ ทายาโท ภะวิสสามิ เราจักต้องเป็นผู้รับผลแห่งกรรมนั้น - เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง เราทั้งหลายพึงพิจารณาเนืองๆอย่างนี้แล
4
ผลของกรรมดีและกรรมชั่วที่ทำ�ให้มนุษย์ มีชีวิตที่แตกต่างกัน
ฆ่าสัตว์ เบียดเบียนสัตว์ โกรธและพยาบาท ริษยาคนอื่น ตระหนี่ขี้เหนียว หยิ่งจองหอง ดื่มสุราเมรัย
ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่เบียดเบียนสัตว์ อดทนไม่โกรธ ไม่ริษยาคนอื่น บริจาคทาน อ่อนน้อม คบแต่บัณฑิต
กรรมชั่ว
กรรมดี
คนอายุสั้น ขี้โรค ผิวพรรณหยาบ ไม่มีเดชานุภาพ มีความยากจน เกิดในตระกูลต่ำ� มีปัญญาทราม
คนอายุสั้น ขี้โรค ผิวพรรณหยาบ ไม่มีเดชานุภาพ มีความยากจน เกิดในตระกูลต่ำ� มีปัญญาทราม 5
ความเชื่อในเรื่องกรรม ตามคำ � สอนในพระพุ ท ธศาสนา ชาวพุทธ ควรมีศรัทธา 4 อย่าง คือ 1.ตถาคตโพธิสัทธา เชื่อในการ ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า คือ เชื่อว่า พระพุ ท ธเจ้ า ได้ ต รั ส รู้ จ ริ ง เป็ น ผู้ ประกอบด้วยพระปัญญาธิคุณ พระวิ สุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ 2.กัมมสัทธา เชื่อเรื่องกรรม คือเชื่อว่า กรรมมีจริง 3.วิปากสัทธา เชื่อเรื่องผลของกรรม คือเชื่อว่ากรรมที่บุคคลทำ�ไม่ว่าดีหรือ ชั่วย่อมให้ผลเสมอ 4.กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน คือเชื่อว่าผลที่เรา ได้รับ เป็นผลแห่งการกระทำ�ของ เราเอง ซึ่งอาจจะเป็นกรรมที่ทำ�ใน ปัจจุบันชาติหรืออดีตชาติ 6
จะเห็นได้ว่าความเชื่อหรือศรัทธา 4 อย่าง เป็นความเชื่อในเรื่องเกี่ยวกับ กรรม กฎแห่งกรรมจึงเป็นคำ�สอน ที่สำ�คัญในพระพุทธศาสนา ผู้เป็น ชาวพุ ท ธทุ ก คนจึ ง ควรเชื่ อ ในเรื่ อ ง กฎแห่งกรรม ควรพยายามศึกษา และทำ�ความเข้าใจเรื่องกฎแห่งกรรม ชาวพุทธที่ไม่เชื่อกฎแห่งกรรมหาใช่ ชาวพุทธที่แท้จริงไม่ เขาเป็นเพียง ชาวพุทธแต่เพียงในนาม ศาสนา พุทธมีประโยชน์แก่เขาเพียงใช้กรอก แบบฟอร์ม เพื่อไม่ให้ถูกว่าเป็นคน ไม่มีศาสนาเท่านั้นเอง คนที่เชื่อในเรื่องกรรม ย่อม ได้เปรียบกว่าคนที่ไม่เชื่อ คนที่เชื่อ เรื่ อ งกรรมย่ อ มสามารถอดทนรั บ ความทุกข์ยากลำ�บาก ความผิดหวัง ความขมขื่น และเคราะห์ร้ายที่เกิด แก่ตนได้ เพราะถือว่าเป็นกรรม ที่ทำ�มาแต่อดีต ไม่ตีโพยตีพายว่า โลกนี้ไม่มีความยุติธรรม ตนไม่ได้ รับความเป็นธรรม ทำ�ดีแล้วไม่ได้ ดี คนที่เชื่อในเรื่องกรรมจะยึดมั่น อยู่ในการทำ�ความดีต่อไป จะเป็นผู้ สามารถให้อภัยแก่ผู้อื่น และจะเป็น
ผู้มีหิริโอตตัปปะ คนที่ประกอบกรรม ทำ�ชั่วทั้งกาย วาจา และใจ ส่วนใหญ่ เป็นคนไม่เชื่อเรื่องกรรม ไม่เชื่อเรื่อง บุญและบาป ไม่เชื่อเรื่องตายแล้วเกิด คนพวกนี้เกิดมาจึงมุ่งแสวงหาทรัพย์ สมบั ติ แ ละความสุ ข สบายให้ แ ก่ ตั ว โดยไม่ คำ � นึ ง ว่ า ทรั พ ย์ ส มบั ติ ห รื อ ความสนุกสนานที่ตนได้มาถูกหรือ ผิด และทำ�ให้คนอื่นได้รับความเดือด ร้อนหรือไม่ สั ต ว์ ทั้ ง หลายมี ก รรมเป็ น ของตน กรรมนั้นย่อมเป็นของเราโดยเฉพาะ และเราจะเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น จะโอนให้ผู้อื่นไม่ได้ เช่น เราทำ�กรรม ชั่วอย่างหนึ่ง เราจะต้องรับผลของ กรรมชั่วนั้น จะลบล้างหรอโอนไป ให้ผู้อื่นไม่ได้ แม้ผู้นั้นจะยินดีรับ โอนกรรมชั่วของเราก็ตาม กรรมดีก็ เช่นเดียวกัน ผู้ใดทำ�กรรมดี กรรมดี ย่อมเป็นของผู้ทำ�โดยเฉพาะ จะจ้าง หรือวานให้ทำ�แทนกันหาได้ไม่ เช่น เราจะเอาเงิ น จ้ า งผู้ อื่ น ให้ ป ระกอบ กรรมดี แล้วขอให้โอนกรรมดีที่ผู้ นั้นทำ�มาให้แก่เราย่อมไม่ได้ หากเรา ต้องการกรรมดีเป็นของเรา เราก็ต้อง
ประกอบกรรมดีเอง เหมือนกับการ รับประทานอาหาร ผู้ใดรับประทานผู้ นั้นก็เป็นผู้อิ่ม มนุษย์เรามีภาวะความเป็นไปต่าง ๆ กัน เช่น ดีหรือชั่ว รวยหรือจน เจริญ หรือเสื่อม สุขหรือทุกข์ ก็เนื่องจาก กรรมของตนเองทั้งสิ้น และกรรม ใดที่ ทำ � ลงไปจะเป็ น กรรมดี ห รื อ กรรมชั่วก็ตาม ย่อมให้ผลตอบแทน เสมอ และย่อมติดตามผู้ทำ�เสมือนเงา ติดตามตน หรือเหมือนกับล้อเกวียน ที่หมุนตามรอยเท้าโคไปฉะนั้น ด้วย เหตุนี้มนุษย์จึงมีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย หากเราทำ � กรรมดี เ ราก็ ไ ด้ รั บ ความ สุขความเจริญ กรรมดีจึงเหมือน กัลยาณมิตรที่คอยให้ความอุปการะ และส่งเสริ ม ให้ เ ราประสบแต่ ค วาม สุขและความเจริญ แต่ถ้าเราทำ�กรรม ชั่ว กรรมชั่วก็คอยล้างผลาญเราให้ ประสบแต่ความทุกข์และความเสื่อม
7
การอธิษฐานจิตเป็นประจำ�นั้น มุ่ง หมายเพื่อแก้กรรมของผู้มีกรรม จาก การกระทำ�ครั้งอดีตที่เรารำ�ลึกได้ และ จะแก้กรรมในปัจจุบันเพื่อสู่อนาคต ก่อนที่จะมีเวรมีกรรม ก่อนอื่นใด เรา ทราบเราเข้าใจแล้ว โปรดอโหสิกรรม อารัมภกถา แก่สัตว์ทั้งหลาย เราจะไม่ก่อเวรก่อ (พระธรรมสิงหบุราจารย์) กรรมก่อภัยพิบัติ ไม่มีเสนียดจัญไร ติดตัวไปเรียกว่า เปล่า ปราศจากทุกข์ เ จ ริ ญ สุ ข ญ า ติ โ ย ม พุ ท ธ บ ริ ษั ท ถึงบรมสุข คือนิพพานได้ ญาติโยมได้มาพร้อมใจกันสวดมนต์ ไหว้พระเจริญกุศลภาวนาตามลำ�ดับ เราจะรู้ได้ว่ากรรมติดตามมา และเรา แล้ ว จงอโหสิ ก รรมแก่ ท่ า นสาธุ ช น จะแก้กรรมอย่างไร ในเมื่อกรรมตาม และหมู่กรรมทั้งหลายให้มารับเวรรับ มาทันถึงตัวเรา เราจะรู้ตัวได้อย่างไร กรรม รับภัยที่เราขออโหสิกรรม จะ เราจะแก้อย่างไร เพราะมันเป็นเรื่อง ได้หมดเวรหมดกรรมหมดภัยหมด ที่แล้ว ๆ มา นี่ข้อหนึ่ง โทษ และเราก็จะโฉลกดีเป็นเบื้องต้น ข้อสอง แก้แล้วเราจะรับกรรมหรือ การสวดมนต์เป็นนิจนี้ มุ่งให้จิตแนบ ไม่ และเราจะสร้างเวรกรรมใหม่ สนิทติดในคุณของพระพุทธเจ้า พระ ประการใด และจะแก้กรรมอย่างไร ธรรม และพระสงฆ์ จิตใจจะสงบ ในอนาคต เผื่อเป็นผู้โชคดี เป็นผู้มี เยือกเย็นเป็นบัณฑิต มีความคิดสูง กรรมดีในอนาคต ทิฏฐิมานะทั้งหลายก็จะคลายหายไป ได้ เราจะได้รับอานิสงส์เป็นผลของ ชีวิตต่อไปในเบื้องหน้า เราไม่ ตนเองอย่างนี้จากสวดมนต์เป็นนิจ สามารถจะทราบได้ จะทราบได้ด้วย วิธีเดียวคือ การเจริญสติปัฏฐาน ๔ 8
การปฏิบัติให้มีสติสัมปชัญญะ โยคี ผู้บำ�เพ็ญเพียรจะรู้ได้ จะทราบด้วย ญาณวิถีของตนเป็นปัจจัตตัง คำ�ว่า ญาณวิถีของตน นั้นหมายความ ว่า ความรู้ให้เกิดผล ได้อานิสงส์ เป็น ผู้มีปัญญา ปรีชาสามารถ เฉลียว ฉลาดในการปฏิบัติธรรม แก้กรรมได้ และกรรมนั้นจะไม่สงผลในอนาคต ข้างหน้าได้แน่นอน
จิตก็กำ�หนดยืน เดิน นั่ง นอน จะ เหลียวซ้ายแลขวา คู้เหยียด เหยียดขา จะมีสติสัมปชัญญะควบคุมดูแลกาย เมื่ อ จิ ต ผ่ อ งใสใจสะอาดบริ สุ ท ธิ์ จึ ง เรียกว่า กายในกาย ภายในจิตผ่องใส ภายนอกจิตผ่องใส ภายนอก กายจะเคลื่อนย้าย มันก็ เคลื่อนอย่างช้า ๆ มี ๓ ระยะ เคลื่อน ไปทางไหนก็มีจังหวะจะยืนเดินนั่ง นอนอันใด ก็มีจังหวะมีระเบียบมี วินัย มีสังขารปรุงแต่ง เกิดกาย เรียก ว่า กายทิพย์ เพราะเรามีจิตเป็นกุศล สมาธิก็ดี สติก็ดี ควบคุมจิตไว้ดีแล้ว จะรู้กายในกาย
ผู้ที่จะแก้ไขปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตัว เอง แก้กรรมได้ ผู้นั้นต้องเจริญสติ ปัฏฐาน ๔ ปฏิบัติด่านกายของตน กายนอกกายในภายในจิต กายทิพย์ ทิพยอำ�นาจของใจ ได้มาเป็นกาย ทิพย์ ทิพย์นี่หมายความว่าภายนอก ภายใน รู้ภายในใจ รู้กายในกายนี้ จะรู้ได้ด้วยตัวกำ�หนด เช่น ยืนหนอ ๕ ครั้ง เป็นต้น จะรู้กาย กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน กายานุ ภายนอก สภาวธรรมอยู่ภายใน จิตใจ ปัสสนาข้อที่หนึ่ง หมายความว่า ผู้ ก็ดีเยือกเย็น สติก็ควบคุมไวได้อย่าง ปฏิบัตินั้นรู้กายในกาย คือรู้สักแต่ว่า ดี เราก็เป็นผู้มีปัญญา จิตก็ใสใจก็ กายไม่มีสัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา สะอาดหมดจด เรียกว่าบริสุทธิ์ ไม่มีเขา ไม่มีเรา มีกายอยู่ในตัวตน จิตจะได้รู้ว่าการที่กายเคลื่อนย้ายไหว ในเมื่อจิตเข้าขั้นบริสุทธิ์แล้ว เราจะ ติงประการใด มันอยู่ที่ใจทั้งหมด รู้ว่าใจของเราเป็นประการใด มันอยู่ ภายในจิต เรียกว่ากายในกาย จะรู้แจ้ง 9
แก่ใจของเรา เช่น ขวาย่างหนอ ซ้าย ย่างหนอ กายนอกดูความเคลื่อนย้าย ของสกนธ์กาย เรียกว่า สภาวรูป รูป เคลื่อนย้ายและโยกคลอนได้ เคลื่อน ไปที่ไหน มันก็ดับที่นั่น จิตใจก็เข้าไป รู้ในภายใน รูปกับนามก็แยกออกไป นี่แหละกายภายนอก และกายภายใน จิตใจก็รู้เรียกว่า นามธรรม
คนที่มีสติดี มีสัมปชัญญะ รู้ตัว รู้ทั่ว รู้นอกรู้ใน และรู้ว่าผิดหรือว่าถูก รู้ เข้าใจ รู้แจ้งแห่งจิต รู้เหตุผลต้นปลาย ทุกประการแล้ว อย่างนี้เรียกว่ากาย ในกายมันจะเกิดทิพยอำ�นาจเกิดกาย ทิพย์กายทิพย์ หมายความว่า สภาพ สกนธ์กาย คือ สภาวรูป รูปเคลื่อน ย้ายเกิดขึ้น แล้วแปรปรวน แล้วดับ ไป แล้วก็เข้ามาถึงจิตใจเราว่า อ๋อ คำ�ว่า นามธรรม ในที่นี้คือจิตที่ลึกซึ้ง นามธรรม จิตนี้มันก็เป็นนามธรรม รู้ว่ากายเคลื่อนไหว มีมารยาท มีวินัย มีคุณสมบัติอยู่ข้อหนึ่ง คือ รู้กายใน ดี กายก็เคลื่อนย้ายโดยสภาวะ สนุทร กาย รู้ภายในจิต วาจาก็กล่าวไพเราะ เหมาะเจาะด้วย เหตุและผลข้อเท็จจริงทั้งหมดล้วน จะเคลื่อนย้ายไปทางไหนก็รู้ จะคู้ เกิดขึ้นจากจิต เพราะจิตเป็นหัวหน้า เหยียดประการใด มันจะมี ๓ ระยะ มั น จะสั่ ง ให้ ก ายเคลื่ อ นย้ า ยไปหยิ บ แต่ ๓ ระยะนั้นมันจะบอกชัด ไปใน อะไรก็ได้ กายของตนว่า จะเคลื่อนอย่างนี้ จะ หยิบแก้วน้ำ� ก็มีระเบียบ ไม่มีเสียง ในเมื่อกายในถึงที่แล้ว แยกรูปแยก ดัง เพราะคนนั้นรู้นามธรรม มีสติ นามออกได้แล้ว ก็เรียกว่า นามธรรม ควบคุมจิต และก็เคลื่อนย้ายไปอย่าง นามธรรมตัวนี้แปลว่า ตัวรู้ ตัวเข้าใจ ละเอียดอ่อน จะวางช้อน จาน หม้อ ตัวมีเหตุมีผล เพราะจิตของผู้ปฏิบัติ ไห ก็เป็นระเบียบเรียบร้อย อย่างนี้ ประกอบด้วยสติปัฏฐาน ๔ มีสติดี เรียกว่า กายในกาย ควบคุมจิตไว้ได้ จึงจะรู้แจ้งแห่งจิต เรียกว่า กายในกาย กายภายใน รู้กายเคลื่อนย้าย จะหยิบอะไรก็หยิบ หนอ เคลื่อนมาช้า ๆ แล้ววางหนอ 10
อย่างนี้เรียกว่ารู้ภายใน
เป็นธรรม เป็นกิจกรรมที่ถูกต้อง
ความรู้ในภายในตัวนี้เรียกว่า รับ รู้ เพราะมีสติดีมีสัมปชัญญะดีแล้ว ความรู้ตัวนั่นแหละ เป็นการรู้ใน ภายใน รู้เข้าใจ รู้ความถูกต้อง รู้ กาลเทศะ รู้อย่างนี้จึงเป็นการถูกต้อง เรียกว่า กายทิพย์
นี่แหละก็เข้าในหลักที่ว่า กายในกาย ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ไม่ใช่ตัวตน เรา เขา เรียกว่า กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน คำ� ว่าไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา เรียกว่าอะไร เรียกว่า กายภายใน
กายทิพย์ นี้หมายความว่า มีรูปสภาว จิต มีจิตสภาวะ มีสติควบคุมเคลื่อน ย้ายได้ในสภาวรูปเรียกว่า กายนอก รู้ภายในบริสุทธิ์ว่าจะเคลื่อนย้ายรูป ไปอย่างไร จะหยิบอะไรจะมีระเบียบ มีวินัย จะต้องตั้งไว้ที่ไหน ถูกต้อง ประการใด อย่างนี้เรียกว่ากายภายใน
รู้ภายในว่า อ๋อ อะไรเป็นสัตว์ อะไร เป็นบุคคล มือคลำ�ไม่ได้เลย แยกรูป ออกไป แยกนามออกมา แล้วก็รู้ว่า กายในกายภายในเป็นกายทิพย์ กาย ทิพย์นี้มองไม่เห็นตัว อย่างนี้เรียกว่า นามธรรม แสดงกิจกรรมออกมาทาง รูป
หน้าตาน่าดูพิสมัย จิตใจก็เบิกบาน จะกล่าวเป็นข้อที่สามว่า ไม่ใช่สัตว์ หน้าก็ไม่เศร้า ใจก็ไม่หมอง เรียกว่า บุคคล ตัวตน เรา เขา เรียกว่า กายานุ กายภายใน มีสติดี มีสัมปชัญญะ รู้ตัว ปัสสนาสติปัฏฐาน กายรู้เข้าใจภายใน ด้วยเหตุผล รู้ตัวและเข้าใจในกาย รู้ คือ จิต เข้าใจในจิต รู้ความผิดความถูก รู้ ชอบ มันรู้อยู่อย่างนี้ จิตรู้แล้ว เข้าใจถูกต้องแล้ว เรียกว่า นามธรรม เป็นกิจกรรมของจิต จิตก็ ในเมื่ อ มี ค วามรู้ ค วามเข้ า ใจดี เ ช่ น นี้ ผ่องใสสะอาดหมดจด จะทำ�อะไร ไม่ แล้ว ไหนเล่าจะเป็นตัวตน ใครจะด่า เปรอะเปื้อน จะกล่าวอะไรออกมาก็ เราจะรู้ว่าด่าตรงไหน อะไรเป็นกาย 11
อะไรเป็นจิต มันแยกรูปแยกนามออก ไป กายส่วนหนึ่ง จิตส่วนหนึ่ง สลาย ไปแล้วมีธาตุ ดิน น้ำ� ไฟ ลม สิ่งที่เป็น ของเหลวก็กลายเป็นธาตุน้ำ� สิ่งที่แข็ง กลายเป็นธาตุดิน สิ่งอบอุ่นในร่างกาย ก็กลายเป็นธาตุไฟ และความเย็นใจ ก็เกิดขึ้น ไหวติงอยู่เสมอลมก็พัดเข้า มาเยือกเย็นอยู่ในเส้นโลมา เป็นธาตุ ลม ก็เป็นเพียงธาตุทั้งสี่ ประกอบ กรรมทำ�ดีในร่างกาย สังขารปรุงแต่ง มันก็อยู่อย่างนี้เป็นต้น ไหนล่ะมีตัว ตน ถ้าเราไปยึดถือว่าเป็นเราเป็นเขา ก็ ต้องทะเลาะกัน เขาด่าเรา ๆ อยู่ที่ไหน หาตัวเราให้พบนี่แหละ ท่านจึงบอก ว่า คนที่รู้ซึ้งในกายภายในแล้ว จะ ไม่มีตัวตน สัตว์ บุคคลทั้งหลายแต่ ประการใด
นี่คืออรรถาธิบายสำ�หรับกายานุปัส สนาสติปัฏฐานข้อที่ ๑ เรียกว่า กายใน กายหนอ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็เคลื่อน ย้ายดับไป ไม่มีอะไรเป็นตัว เป็นตน มีแต่กุศล อยู่ในจิตใจทำ�นองนี้เป็นต้น อันนี้เป็นกายภายในจิต เรียกว่า จิต แสดงเคลื่อนย้าย แล้วเราก็แยกออก มาได้ กายเคลื่อนย้ายทั้งหมดเรียก ว่ารูป สติดีคุมจิตไว้ในภายใน จิตรู้ ว่าเคลื่อนย้ายไป มือ เท้า เหยียดแข้ง เหยียดขา คู้เหยียด เคลื่อนย้ายไปด้วย ความถูกต้องทุกประการแล้ว ความ เป็นระเบียบที่เกิดขึ้น ความหมองใจ ที่มีก็หายไป และเราก็รู้ว่านี่แหละคือ นาม
เขาด่าเราจะโกรธประการใดเล่า เลย ความโกรธก็ไม่มีเพราะเหตุนี้ ความ เกลียดก็ไม่มีเหตุนี้ ความรักโดย กามตัณหาราคะก็ไม่มีในส่วนนี้ มีแต่ มีธรรมะคือ สติสัมปชัญญะควบคุม จิต เรียกว่า นามธรรม ถ้าเราแยกรูป เมตตาอยู่ในตัวตน แยกนามในด้ า นกายานุ ปั ส สนาได้ 12
แล้ว เราจะรู้เองว่าไม่มีตัวไม่มีตน ไม่มีเขาไม่มีเรา และจะไปโกรธเขา ทำ�ไมเล่า ไปโกรธตัวตน เกลียดหนัง มังสัง เกลียดเหงื่อ ขี้ไคล เกลียดขี้หูขี้ ตา ใช้ไม่ได้คนประเภทนี้ยังติดอยู่ใน รูป ติดอยู่ในกามคุณ ติดอยู่ในสิ่งที่ไร้ สาระ เลยแยกนามรูปไม่ออก บอกไม่ ได้ ใช้ไม่เป็น เห็นแต่ตัวตาย จะคลาย ทิฏฐิไม่ได้ เห็นความเกิดดับในจิตไม่ ได้ เลยก็ไม่รู้จริง เป็นอย่างนี้ นักปฏิบัติธรรมโปรดทำ�ความเข้าใจ ต้องกำ�หนดตั้งสติทุกอิริยาบถ ท่าน จะซึ้งในรสพระธรรม ท่านจะดื่มรส พระธรรมด้วยทางกายและทางใจ
แสดงอิทธิปาฏิหาริย์ของจิตให้กาย ลอดช่องเล็กไปได้เมื่อตื่นเต้นหนึ่ง ลอดไปได้เพราะสมาธิจิตเป็นปีติ เกิด ขึ้นเป็นข้อที่สอง จิตหวั่นไหวตะลึง พรึงเพริดขาดสติ ก็มุดเข้าไปในช่อง เล็กได้ เป็นข้อที่สาม เป็นการตื่นเต้น ตื่นตัว มิใช่ตื่นใจ ใช้อำ�นาจแค่ปีติ เท่านั้น ก็สามารถจะทำ�ได้ แต่การที่จะรู้ซึ้งถึงด้านกายนี้ รู้ยาก ผู้ ป ฏิ บั ติ ต้ อ งกำ � หนดปรารภธรรม ว่าจะเดินจงกรมก็เดินขวาย่างหนอ ซ้ายย่างหนอ อะไรย่าง เท้าย่าง เท้า อยู่ที่ไหน เอาสติไว้ที่เท้าก็กลายเป็น สภาวรูป กายแสดงเป็นภายนอก แต่ จิตมีสติที่เยื้องเท้าไปว่า ขวา (ระลึก ก่อน) ย่าง.....หนอ ที่เราจะรู้ได้ มีสติ ควบคุมจิตอย่างนี้
หมายความว่า ตัวปฏิบัติที่เรารู้ ชัดเจน รู้ความเข้าใจเรื่องตัวตน สักว่ามีแขน มีขา มีสภาวรูป เกิดขึ้น ตั้งอยู่ดับไป จะเคลื่อนย้ายอยู่อย่างนี้ มันเกิดดับอยู่วันยังค่ำ� รู้เดินจงกรมได้จังหวะดี สติดีอยู่ใน จิตคล่องแคล่วดี ตัวนี้เป็นตัวรู้ว่า เวลาหนึ่งไม่ทราบว่าดับไปกี่พันครั้ง ย่างยาวหรือสั้น ลงตรงไหนประการ ในจิต เราจะรู้ข้อคิดเป็นกายทิพย์ ใด มีสติควบคุมได้ชัดเจนนี้เรียกว่า ทำ�ให้กายหล่อหลอมน้ำ�ใจ เราจะ นามธรรม เป็นจิตอยู่ภายใน รู้เคลื่อน เคลื่อนย้ายไปทางไหน สามารถจะ ย้ายของกายภายนอก 13
กายภายนอกกล่าวชัด เพราะภายใน เท่านี้เอง บอกจิตสติได้ สติระลึกได้ รู้ตัว อย่างนี้แล้ว ก็ก็เคลื่อนย้ายไปตามตัว เพราะฉะนั้นการตั้งชื่อ จึงไม่มีความ กำ�หนด หมายอะไร จะชื่อดำ�หรือขาว ชื่อจน หรือรวยประการใด ก็เพียงให้คนอื่น ตั ว กำ � หนดนี้ เ ป็ น ตั ว ปฏิ บั ติ เ ป็ น ตั ว รู้ จะได้เรียกชื่อถูกอย่างนี้เป็นสมมติ ฝึกให้สติควบคุมจิต ให้จิตนี้เดินไป นามแทนชื่อ ด้วยดีและถูกต้อง และเดินจงกรม ก็คล่องแคล่วว่องไว จะไม่เซ จะ แต่ความดีไม่ใช่อยู่ที่ชื่อ ชื่อเสียงโด่ง ไม่หนัก เพราะมันไม่มีตัวตน ไม่มี ดัง ไม่ใช่ชื่อที่ตั้ง มันอยู่ที่ นามธรรม บุคคลเราเขา นามธรรมเป็ น มิ่ ง ขวั ญ ของชี วิ ต ประจำ � ตนของบุ ค คลผู้ มี ก ายทิ พ ย์ ถ้าเราแยกไม่ได้ มันก็โกรธกัน คน ทิพยอำ�นาจเกิดจากจิต จิตแสดง โน้นไม่ดี คนนี้ไม่ดี เป็นต้น ถ้าเรา เหตุผล ถ้าเรามีจิตผ่องใส ใจสะอาด รู้ รู้ซึ้งกายภายในแล้ว เราจะเห็นใจ รูปธรรมนามธรรมได้ แล้วก็แยกออก ต่อกัน ว่าคนเราทั้งหลายเอ๋ย ธาตุ ไป อะไรเป็นรูป ขวาย่างหนอ ขวา สี่ ป ระชุ ม กั น รวมอรรถาธิ บ ายเรี ย ก เป็นรูป ซ้ายเป็นรูป เรียกว่ากาย ว่า ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒ อายตนะ ๖ ปรารภอย่างนี้ แล้วเราก็เกิดคุณความ อะไรรู้ มันย่างไป จิตรู้ และ รู้พร้อม ดี ดื่มรสพระธรรม เพราะมีจิตใจเป็น ด้วยสติสัมปชัญญะ ควบคุมไปพร้อม กุศล สติก็ดี สัมปชัญญะก็ดี ปัญญาก็ สติมา สัมปชาโน สว่างแล้ว เข้าใจ เกิด จึงรู้ว่า อ๋อเรานี้ไม่มีตัวตน แล้ว นี่เป็นรูปเคลื่อน เป็นรูปธรรม ชื่อของเรานี้เป็นตัว สมมติบัญญัติ และนามธรรมนั้นได้แก่อะไร มีจิตรู้ สมมตินามแทนชื่อนี้ให้เขาเรียกถูก ว่าขวาย่าง ซ้ายย่าง ยาวสั้นประการ ต้องเราจะได้เข้าใจว่าเขาเรียกเรา ใด แล้วสติไปควบคุม สติก็ดีขึ้น 14
จิตใจก็เบิกบาน คล่องแคล่วในสมาธิ เพราะจิตนี้กับรูปนามนี้มันแยกง่าย ภาวนาแล้ว เรียกว่า นามธรรม เราก็ ถ้าเราปฏิบัติจะรู้เอง เราคู้เหยียด แยกได้ชัดเจน เหยียดแขน คู้เข้ามาดูช้า ๆ เราจะรู้ ว่ามี ๓ ระยะ ได้จังหวะจะโคน มี เราทำ�ได้เราก็แยกได้เอง ไม่ใช่ครู ระเบียบ อาจารย์ไปสอนให้แยก เรามาแยก ออกได้เรียกว่า กายทิพย์ กายในกาย รูปก็แยกออกไป นามก็ไปส่วนหนึ่ง กายนอกคือรูป กายในภายในคือ เรียกว่า รูปนามขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ จิต ได้แก่นามธรรมแยกรูปแยกร่าง ในด้านกาย ด้วยกายานุปัสสนาสติ สังขารออกไป มันปรุงแต่งทำ�ให้เกิด ปัฏฐาน จิตใจก็เบิกบาน เราจะไม่มี จิต ปรุงแต่งขึ้นมาทำ�ให้เกิดกิเลส เกิด ตัวตน จะไม่ถือตนถือเราถือเขาแต่ ราคะบ้าง เกิดโทสะบ้าง เกิดโมหะบ้าง ประการใด แล้วเราก็ขาดสติ ไม่มีสติสัมปชัญญะ จิตหลั่งไหลไปสู่ที่ต่ำ� เรียกว่า ถูกใจ มี อ ะไรหรื อ ตอบออกมาทั น ที ว่ า มี ไม่เป็นการถูกต้อง เป็นการผิดพลาด รูปกับนาม จะไม่มีความโกรธ จะ น่าเสียดาย ไม่มีโทษใคร มีโทษของตนก็ยอมรับ กรรมไป แล้วตนก็แก้ไขกรรมของ ถ้าแยกได้แล้ว เราจะรู้ตัวเองว่า อ๋อ ตนเอง จากการกระทำ�นั้นเป็นต้น ปัจจัตตัง รู้ตัวรู้ตนว่า ในตัวเรา เหตุ สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ได้ ทั้งหมดไม่มีอะไรดีเลย มีรูปกับนาม ชี้แจงแสดงมาให้ปฏิบัติทางสายเอก ขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์เท่านั้น ไม่มีอื่นใด อย่างนี้ มีแต่อารมณ์ของเราคือจิต จิตที่แสดง ท่ า ที เ หี้ ย มโหดดุ ร้ า ยหลายประการ คำ�ว่า ตัวตนที่ยึดมั่นถือมั่น มันโกรธ มันกินอาหารกิเลสให้เป็นเหตุทำ�ลาย ลงโทษเขา ตัวเองไม่โกรธา กลับไป ตัวเราตลอดรายการ โกรธาคนอื่น นี่เพราะแยกกันไม่ได้ รูปกับนามแยกไม่ออก 15
มันจึงโกรธกัน มันไม่มีอะไรต่อเนื่อง ในเมื่อมีสติดี พองหนอ ยุบหนอ กันเลย ชัดเจน และคล่องแคล่วดี มันก็เกิด รูปธรรมนามธรรม เกิดจิต พองหนอ นี่มันหลงกันเหลือเกินคนเราทุกวัน ยุบหนอ พองก็เป็นรูป ยุบก็เป็นรูป นี้ มันแยกรูปแยกนามไม่ออก มันยัง จิตกำ�หนดรู้เป็นนาม และก็สติมั่นคง ถือตัวตนอยู่ ถือเราถือเขาอยู่ อะไร อารมณ์ดี อานาปานสติได้พองหนอ เป็นเขา อะไรเป็นเรา ก็ไม่รู้ เลยก็ยึด ยุบหนออย่างนี้ มั่นถือมั่นอย่างนี้มา คนเราจึงโกรธ กันง่าย ทะเลาะเบาะแว้งกันง่ายดาย จิตเข้าขั้นดี อารมณ์ก็ดีขึ้น จิตใจก็ ดังได้ชี้แจงแสดงมาอย่างนี้เป็นต้น นี่ คล่องแคล่วเรียกว่า นามธรรม แยก อยู่ตรงนี้ เรียกว่ากายในกาย ออกไป รู้นอกรู้ในด้วยทางด้านกาย ทั้งหมด เวทนานุปัสสนาข้อที่ ๒ นั้น จะแยก เวทนาอย่างไรหรือ เวทนาที่เป็นหลัก และเวทนาแทรกซ้อนมาอีก เดี๋ยวก็ ปฏิบัติ มี ๓ ประการ เรียกว่า สุข สุขกายสุขใจ เดี๋ยวก็ทุกข์กายทุกข์ เวทนา ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา ใจ เดี๋ยวก็จิตลอยไปโน่นลอยไปนี่ ขาดสติสัมปชัญญะ สุขก็เป็นเวทนา ในเมื่อเราเจริญทางด้านกาย เดิน เจื อ ปนด้ ว ยความทุ ก ข์ ไ ม่ แ น่ น อน จงกรมนั่งกำ�หนดพองหนอ ยุบหนอ เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา กายพอง กายยุบ รูปพอง รูปยุบ สติ ดีมีปัญญา เราจะรู้ว่าพองเท่าไร ยุบ นอกเหนือจากนั้น ทุกขเวทนา ทุกข์ เท่าไร จิตใจเป็นประการใด ยาวสั้น นอก ทุกข์ใน ทุกข์จร โทมนัสสัง ทุกข์ ประการใด จิตเป็นผู้สร้างจิตเป็นผู้ ใจ เรียกว่าความทุกข์ ความเกิดเป็น รู้ แต่ปัญญาจะเกิดหรือไม่ เป็นเรื่อง ทุกข์ ความแก่ก็เป็นทุกข์ ความเจ็บก็ ของคนทำ� เป็นทุกข์ ความพลัดพรากจากกันก็ เป็นทุกข์ เป็นกรรมของเรา จากการ 16
กระทำ�ของสัตว์โลก จากการกระทำ� ของตน ความทุกข์อย่างนี้ไม่มีความ สุข หาความสุขแน่นอนไม่ได้ในโลก มนุษย์นี้
มากแล้ว กลับไปเอาทุกข์จรมาอีก ทุ ก ข์ ไ ม่ ใ ช่ เ รื่ อ งของตนก็ เ อามาเป็ น ทุกข์ เพราะยังไปถือตน ถือเรา ถือเขา ก็ไปเอาทุกข์จรมา
เราก็จับได้ สุขหนอ ดีใจหนอ เสียใจ หนอ เป็นต้น ตั้งสติไว้ กำ�หนดตลอด ไป เราจะรู้แก่ใจเองว่า อะไรเป็นสุข อะไรเป็นทุกข์ กุสลาธัมมา อกุสลาธัม มา ธรรมเป็นกุศล ธรรมเป็นอกุศล จะรู้ได้ในเวทนา รู้มากทีเดียว อ๋อ อกุศลกรรม จิตไม่ดีแล้วก็เสียใจ
ในเมื่อทุกข์จรขึ้นมาแล้ว ทุกข์ประจำ� มันก็หนักขึ้น ความเสียใจก็เพิ่มขึ้น ตลอดทุกข์โทมนัสสัง ความเสียใจก็ ดี ความทุกข์ทรมานหัวใจก็ดี ก็เกิด ขึ้นแก่ตัวเรา และตัวเราก็เกิดระทม ขมขื่น บันทึกไว้ในจิตใจ มีแต่ความ ทุกข์ หาความสุขไม่ได้เลย คนห่างธรรมะ ชอบเอาทุกข์จรนอก ประเด็นมาเผาจิตใจตน ทุกข์ของเรา ก็เต็มเปา ไม่ชอบจะแก้ไข เราต้อง แก้ไขทุกข์ประจำ�ก่อนให้มันหายไป แล้วทุกข์จรมันก็แก้ง่าย
ทุกข์เอ๋ย ทุกข์ใน ทุกข์นอก ทุกข์จร ทุกข์ใจโทมนัสสัง เราทุกข์ใครไม่ ทราบ เรามาเพิ่มทุกข์อยู่ในใจ ความ โกรธความเคี ย ดแค้ น ก็ เ กิ ด ขึ้ น แก่ ตนเอง นี่แหละคือเวทนา มันเกิดทุกข์ หาความสุขไม่ได้แล้ว ทุกข์ประจำ�ยังแก้ไม่ได้มันเป็นทุกข์ หนัก ทุกข์จรเป็นเรื่องเล็ก ๆ มา เกิดความสุข ดีใจหัวร่อร่าชั่วโมงนี้ ประสบทุกข์หนัก เลยก็หนักอก จะไปร้องไห้ในชั่วโมงหน้า ต้องเสีย หนักใจตลอดรายการ อกเสียใจ ไม่มีอะไรมั่นคง เพราะแยก ไม่ออก ไม่รู้เลย ความทุกข์จรมา ได้ยินพระท่านมาติกาบังสุกุล ปัญจ ขันธา รูปักขันโธ เวทนากขันโธ เห็น เพราะคนเราเดี๋ยวนี้ ทุกข์ประจำ�ก็ ได้ชัดเจน แต่เราไม่เอารูปนามขันธ์
17
18
๕ เป็นอารมณ์ แต่ไปเอาทุกข์มาอีก ไม่อยู่ในอารมณ์ของขันธ์ ๕ ไม่อยู่ ในอารมณ์ของรูปนาม และเราก็เอา ทุกข์ประจำ�มาใช้เป็นทุกข์จร เอาทุกข์ จรมาประสมทุกข์ประจำ� เลยทุกข์ ก็หนักกันต่อไป บรรเทาทุกข์ไม่ได้ บำ�บัดทุกข์ถึงบรมสุขคงไม่ได้
ทุกข์ในใจ
จะบำ�บัดทุกข์ได้อย่างไร เป็นการเพิ่ม ทุกข์เสียแล้ว เพิ่มทุกข์ให้มาก ทุกข์ กายทุกข์ใจ ปวดเมื่อยทั่วสกนธ์กายก็ เป็นทุกข์แล้ว หิวกระหายก็เป็นทุกข์ มันเป็นเรื่องทุกข์ไปหมด ทำ�นองนี้ เพราะเราแก้ไขไม่ได้ เวทนาก็แยกไม่ ได้แล้ว
เห็นทุกข์แล้ว ทุกข์มันจะดับ ดับ ไปแล้วเป็นอะไร เป็นความสุข ปราศจากทุกข์ แยกตัวทุกข์ออก ตัว สุขออก จิตก็ว่าง จิตก็ไม่ไปยึดทุกข์ จิตก็ไม่ยึดความสุข จิตก็ลอยลำ� เป็นการปราศจากมลทินเครื่องเศร้า หมอง จิตใจก็ผ่องใส จิตใจก็บริสุทธิ์
ไม่จำ�ต้องกล่าวว่า กายแยกได้แล้ว เวทนาก็ต้องแยกได้เหมือนกัน อะไร เป็นรูปอระไรเป็นนาม เวทนาอาศัย รูปเกิด ถ้าไม่มีรูปเวทนาเกิดไม่ได้ มัน ปรุงแต่งตลอดเวลา
ร่างกายสังขารไม่สมฤดี ปวดเมื่อทั่ว สกนธ์กาย เราต้องเอาจิตไปปักที่ตัว ปวด ปักเป็นการฝึก ครูเวทนามาสอน ต้องฝึก ว่าเป็นทุกข์ทรมานเหลือเกิน ทุกข์นอกทุกข์ใน
มันยังปวดขา ปวดกระดูก ปวดนอก ปวดใน นี่แหละมันปรุงแต่งและมันก็ เกิดทุกข์เวทนา เกิดกับตัวเรา เรียกว่า ทุกข์นอกทุกข์ใน ทุกข์ทั่วสกนธ์กาย
ทุกข์นอกไม่สำ�คัญเท่าทุกข์ใน คือ ทุกข์ในใจ กายหนอกายมันทุกข์เกิด ปวดเมื่อย เพราะมันมีรูปปรุงแต่ง สังขารอาศัยรูปเกิด มันเกิดขึ้นตั้งอยู่
ทุกข์กายปวดเมื่อย มันก็ใจไม่สบาย ใจไม่ดีแล้ว แต่เราแยกรูปแยกนามได้ แยกเวทนาได้ กำ�หนดเวทนานั้น ว่า ปวดหนอ ๆ ปวดหนัก หนักแล้วจะ เห็นตัวทุกข์
ดับไป ยึดไปยึดมา ยึดทุกข์ หนักเข้าก็ สนุกกัน ทุกข์ก็หายไป ปวดเมื่อยหาย ไป จิตใจก็ผ่องใส จิตก็ไม่ไปยึดมั่นมี อุปาทานแต่ประการใด
นามขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ ถ้าเราไม่ฝืน ใจปล่อยตามอารมณ์ก็มีอุปาทาน มัน ก็ไปยึดเหนี่ยวอยู่ในจุดนั้นตลอดไป และเราก็ไม่ทราบความจริง ก็มีแต่ กิเลสเพิ่มพูนบริบูรณ์ยิ่งขึ้น ไหนเลย จิตก็ไม่ไปปวดรวดร้าว ปวดก็แยกไป จะพ้นทุกข์ได้ เป็นส่วนหนึ่งของเวทนา นามธรรม ก็ไปอีกส่วนหนึ่ง จิตจะไม่ไปเกาะ มานั่งกรรมฐานควรจะพ้นทุกข์ กลับ เกี่ยวกับความทุกข์ จิตจะเบิกบาน นี่ มาเพิ่มทุกข์ หาความสุข ความสุขก็ แยกเวทนาออกเป็นสัดส่วน ความ ไม่เข้า ความทุกข์ก็ไม่แน่ เป็นอนิจจัง ปวดเมื่อยก็หายไปเป็น อนิจจัง ทุก ทุกขัง อนัตตา หาความแน่นอนไม่ได้ ขัง อนัตตา เรียกว่า พระไตรลักษณ์ ด้วยวิธีนี้ประการหนึ่ง นั่นแหละคือ วิปัสสนา เราจะได้รู้ว่า อะไรเป็น ตัวตน ไม่มีแล้ว ไม่มีมัน เพราะฉะนั้น สุขเอ๋ย สุขกาย สุขใจ ก็ไม่ปวด เพราะไม่ไปยึดตัวตน เท่า ต้องกำ�หนดตั้งสติควบคุมดูแลจิต เรา นี้เองทำ�กันไม่ได้ พอปวดหน่อยเลิก จะได้ไม่ถือตัวถือตน ไม่มีทิฏฐิมานะ แล้ว ไม่ได้กำ�หนด แต่ประการใด เราจะไม่โกรธใครเลย ถึงจะมีความโกรธอยู่บ้าง ก็หายได้ไว คนเราจะรู้ ก ฎแห่ ง กรรมได้ จ ะต้ อ ง หมั่นสั่งสมบุญกุศล อย่างนี้จะได้ผล รู้ตัวทุกข์ดี มันเกิดแตกสลายจึงจะ เกิดทุกข์ ทุกข์หายไปแล้ว กรรมเก่า ผู้ปฏิบัติธรรมบางคน รูปนามก็แยก ตั้งแต่อดีตชาติมา มันจะบ่งชัดว่าเรา ไม่ได้ เวทนาก็แยกไม่ได้ เอาแต่ทุกข์ ทำ�กรรมอะไรไว้ ตรงนี้เป็นตัวสำ�คัญ จรเข้ามาประสม เลยแส่หาทุกข์บ้าน เหนือ บ้านใต้เอาเข้ามาประสม จิตใจ ขอฝากผู้ปฏิบัติไว้ว่า ต้องอดทน ต้อง ก็ไม่เข้าสู่กระแสแห่งความบริสุทธิ์ได้ ฝืนใจ ถึงจะพบตัวธรรมะ พบรูป 19
แค่รูปนามยังแยกไม่ได้ เวทนาก็ คงแยกไม่ได้ เพราะมันยากกว่ารูป นาม เวทนาก็คือรูปนาม ปวดเป็น ทุกข์เรียกว่าอะไร มีทั้งรูปนามตัว ปวด เพราะจิตไปปวดด้วย ปวดนั้น คือสังขารรูป เรียกว่ารูป แต่จิตไป เกาะเรียกว่านาม มีทั้งรูปทั้งนามนะ เวทนาตัวนี้ ถ้ า จิ ต ไปถึ ง ขั้ น ของวิ ปั ส สนาญาณ ขันธ์ ๕ รูปนามเกิด พระไตรลักษณ์ เกิด รูปก็แยกไปคือเวทนาที่ประสม ด้วยรูป สังขารปรุงแต่ง จิตก็แยกออก ไปไม่ปวด ไม่รวดร้าวทั่วสกนธ์กาย แล้วก็สามารถจะรู้รสพระธรรมตรง นั้น และรสพระธรรมที่ ดื่ ม เข้ า ไปจาก เวทนา จะทนต่อการพิสูจน์จากทุกข์ ยากลำ�บากนี้ เราจะรู้กฎแห่งกรรมได้ ทันที อยู่ตรงนี้นะ
20
พุทธภาษิต รักษาตัว จะหมองมัว จงเลือกทำ� จะได้มี
กลัวกรรม หม่นไหม้ แต่กรรม ความสุข
อย่าทำ�ชั่ว ไปเมืองผี ที่ดีดี พ้นทุกข์ภัย 21
จิตที่คิดออกไปนอกประเด็นก็มีมาก หลาย จิตต้องกำ�หนดรู้หนอ คิดหนอ เป็นต้น นี่จากอารมณ์จิต เพราะจิต นี้เป็นธรรมชาติ ต้องคิดอ่านอารมณ์ รับรู้อารมณ์ไว้ได้เหมือนเทปบันทึก เสียง เรียกว่า จิตตานุปัสสนาสติปัฏ ฐาน
จิตตานุปัสสนา จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน ข้อที่สาม ทำ�ไมเรียกว่าจิตตานุปัสสนา เพราะ จิตนี้ไม่มีตัวตน เป็นธรรมชาติอัน หนึ่ง ต้องคิดอ่านอารมณ์อยู่ตลอด เวลา คิดนอกคิดใน ตั้งแต่ครั้งไหนมา ก็บันทึกไว้ แล้วก็แสดงออกได้เรียกว่า จิต อารมณ์แบบนี้ เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป มันก็เกิด-ดับเรื่อย แต่เกิดดับเราไม่รู้ ไม่เข้าใจ ว่าเกิดดับ สิ่งทั้งหลายเกิด ขึ้นก็แปรปรวนดับไป มันก็เป็นอย่าง นี้แหละหนอ 22
รู้ว่า จิตในจิต เวทนาในเวทนา เวทนา ตัวในคือนามธรรม รู้แยกออกรูปนาม ขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์เวทนาก็แยกออก ไป จิตก็แยกออกมาเป็นนามธรรม จิตก็ไม่ไปสนใจในการปวด และเรา จะปวดทำ�ไมเล่า ไม่มีตัวตนจะปวด อย่างนี้เรียกว่า เวทนาในเวทนาจิตใจ หมายความว่า จิตธรรมดาเราคิดอ่าน อารมณ์ก็ไม่รู้ถูกผิดก็ไม่เข้าใจ จิต ในจิต สักแต่ว่าจิต ไม่มีสัตว์ บุคคล ตัวตน เราเขาก็อันเดียวกัน ในเมื่อ จิตทราบดีแล้ว ก็แยกออกไป ๆ แยก ความโลภ โกรธ หลง อายตนะ ธาตุ อินทรีย์ สัมผัสเกิดจิตที่ จิตตานุปัส สนา อินทรีย์เกิดจิตที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นักปฏิบัติอย่าปล่อยเลย ต้องกำ�หนด
ตาเห็นรูป กำ�หนดเห็นหนอ จิตตานุ ปัสสนา เสียงหนอ เกิดจิต ที่จิตตานุ ปัสสนา จมูกได้กลิ่น ชิวหารับรส กาย สัมผัสร้อนหนาวอ่อนแข็งที่ก้น จิตรู้ เกิดขึ้น จิตเกิดทางไหน เกิดทางกาย ร้อนหนาวก็รู้ อ่อนแข็งที่ก้นก็รู้ นี่คือ จิตที่กาย จิตภายนอกเพียงรู้
ใช้จิตทั้งนั้น นี่คือจิตตานุปัสสนาเชิง ปฏิบัติการ ต้องกำ�หนดรู้ ต้องกำ�หนดคิด เพราะ จิตมันต้องคิด จิตมันต้องรู้ จิตมัน ต้องเข้าใจ ถ้าแสงสว่างเกิดเป็นทาง ธรรมแล้ว เรียกว่านามธรรม จิตก็เกิด แสงสว่าง คือปัญญา รู้ภายในจิตของ เรา รู้อารมณ์ของเราว่ามีความโลภ เข้ามา มีความโกรธเข้ามา มีความ หลงเข้ามา จิตเกิดทางอายตนะ ดังที่ กล่าวนี้ ก็ต้องกำ�หนด
จิตภายในจิต หมายความว่า มี สติสัมปชัญญะตัวกำ�หนดภายในจิต จิตมีสติดี จิตมีสัมปชัญญะดี เรียกว่า ภายในจิต ไม่มีตัวตน และเราก็มีสติ ควบคุมจิตต่อไป จิตก็ไม่ไปยึดมั่นถือ มั่นในจิตภายนอก เรียกจิตนอกจิตใจ ผู้ ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ต้ อ ง กำ � ห น ด ทุ ก ก็เพราะอย่างนี้เอง อิรยิ าบถ คนที่ไม่ปฏิบัติธรรม นาน ไปก็มีทิฏฐิสูง สะสมแต่กิเลส ไม่ได้ คนที่สติสัมปชัญญะดี เรียกว่า จิตใน สะสมรูปธรรม นามธรรม ให้เห็น จิต รู้ข้อคิดรู้ปัญญา รู้ความสามารถ แจ้งประจักษ์ชัดเจน ก็ไร้ผลไม่เกิด ของตน รู้ความเป็นอยู่ของชีวิต ขอ ประโยชน์ ขยายให้ฟัง ต้องกำ�หนดรู้หนอ คิด หนอ จิตออกไปที่ไหนก็ไม่ทราบ ออกไปเดินนอกวัด ออกไปบ้านแฟน เที่ยวทั่วประเทศ เที่ยวทั่วโลกคือจิต แต่เรารู้ภายใน จิตก็เข้ามาอยู่ข้างใน คือนั่งทางใน คือปัญญา จิตมันก็มี ปัญญา มีความสามารถ ประกอบกิจ 23
แล้ว สามารถจะกำ�จัดทุกข์ไปได้ โดย อริยสัจ ๔ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค เกิดขึ้นแก่ตัวตนของเรา จิตใจก็แยก ประเภทออกไป เป็นกุศลกรรมบ้าง อกุศลกรรมบ้าง กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต นี่เกิด จากการกระทำ�เป็นอกุศลกรรม
ธรรมานุปัสสนา
กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ก็ กลายเป็นกิจกรรม เรียกว่า กุศลกรรม ด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ และเราก็ ทายออกมาได้ว่า ธรรมอันนี้เป็นกุศล ธรรมอันนี้เป็นอกุศล แจ้งแก่ใจตน เป็น ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ รู้ได้ เฉพาะตัวเรา คนอื่นหาได้รู้ไม่
ธรรมานุ ปั ส สนาสติ ปั ฏ ฐานข้ อ ที่ สี่ นั้น ธรรมเป็นกุศล อกุศล เราจะรู้ แจ้งตนเอง เพราะแยกรูปแยกนาม ได้ เราจะแยกออกไป นี่กุศลกรรม นี่ อกุศลกรรม กายกรรม ๓ วจีกรรม ๔ มโนกรรม ๓ มันจะเกิดแจ้งแก่ใจ ในตอนนั้น สักแต่ว่าธรรม ไม่มีสัตว์ เราไปทำ�ชั่วที่ไหนไว้ เราเท่านั้นเป็นผู้ บุคคล ตัวตน เรา เขา เรียกว่า ธรรมา รู้ เราเท่านั้นเป็นผู้รู้ว่าอะไรเป็นกุศล นุปัสสนาสติปัฏฐาน อะไรเป็นอกุศล ทุกข์ยากลำ�บากแก่ใจ ของตนเป็นประการใด เรียกว่า กุสลา หมายความว่า ธรรมคือการกระ ธัมมา อกุสลาธัมมา ธรรมเป็นกุศล ทำ�ทางกาย ทางวาจา และทางใจ ธรรมเป็นอกุศล รูป เวทนา สัญญา ธรรมะเป็นคุณค่าสภาพชีวิต ธรรมะ สังขาร วิญญาณ อยู่ตรงนี้ เรียกว่า คือความทุกข์ ธรรมะไม่ใช่ความ วิปัสสนาภูมิ ภูมิของนักวิปัสสนา สุข เรารู้แจ้งความทุกข์ได้เด็ดขาด ต้องรู้ต้องเข้าใจในเชิงปฏิบัติการ 24
ไม่ใช่รู้ตามที่เอาหนังสือมาอ่าน ตาม ที่ฟังพระสวดพระอภิธรรม ๗ พระ คัมภีร์ ได้แก่ จิต เจตสิก รูป นิพพาน แต่ผู้ปฏิบัติธรรมต้องเจริญวิปัสสนา กรรมฐานให้รู้ว่า อะไรเป็นจิต อะไร เป็นเจตสิก อะไรเป็นรูป อะไรเป็น นาม อะไรเป็นนิพพาน นิพพานํ ปรมํ สุญญํ นิพพานต้องสูญ จากกิเลส เป็นเหตุทำ�ลายจิต นิพพาน นั้นต้องหมดกิเลสตัณหา จึงจะเกิด บรมสุข เรียกว่า นิพพานํ ปรมํ สุขํ สุข อื่นใดไม่มีเท่าสุขพระนิพพาน เพราะ หมดกิเลสตัณหาด้วยประการทั้งปวง เรียกว่าจิต เจตสิก รูป นิพพาน ดังที่ กล่าวแล้ว อยู่ที่ของง่าย ๆ ลับลี้ลับไร เท่านั้น กรรมครั้ ง อดี ต นี้ จ ะรู้ ไ ด้ จ ากเวทนา กรรมครั้งอดีตชาติ อดีตที่ผ่านเมื่อ ปีที่แล้ว สิบปีก่อนโน้นจะรู้ได้จาก เวทนา
25
สวดมนต์เป็นยาทา วิปัสสนาเป็นยากิน ทั้งกินทั้งทา ท่านจะมีความ สุขสบายมากมายหลายประการ มีความสุขถึงลูกถึงหลานของท่านทั้ง หลาย จะทำ�กิจการอะไรก็สำ�เร็จเสร็จทันเวลา สวดมนต์ต้องสวดทุกวัน มันจะต้องมีสักวันที่จิตเราเป็นสมาธิ คิด ดีกับคนอื่น ไม่คิดโกรธเกลียดใคร นั่นเป็นการอโหสิกรรมไปในตัว แล้วการแผ่เมตตาจะได้ผล แต่ถ้ายังคิดไม่ดีกับเขาอยู่ แผ่ไปก็ไม่ได้ผล ดังนั้นจึงต้องสวดทุกวัน
26
วิปัสสนากรรมฐานแก้กรรม แก้กรรมด้วยการกำ�หนด
กรรมปัจจุบันที่เราจะอโหสิกรรม แก้แก้กรรมด้วยตัวกำ�หนด เช่นเสียงหนอ เขาด่าเรา กำ�หนดให้หายจะไม่มีเวรกันต่อไป นี่แก้ปัจจุบันนะ กรรมครั้งอดีตแก้ไม่ได้ต้องใช้กรรม เหมือนอย่างอาตมาคอหัก เราก็รู้กรรม ของเราครั้งอดีต รู้จากเวทนาที่เจริญสติปัฏฐานในด้านเวทนานุปัสสนา เกิดขึ้น กำ�หนดไปให้แตกแล้วก็แยกออกไปเป็นสัดส่วน แล้วทุกข์นั้นก็หายสุขเข้ามา แทนที่ จิตใจก็ผ่องใส จึงรู้กฎแห่งกรรมครั้งอดีตได้ ว่าเราเคยไปฆ่าสัตว์ เคยไป ฆ่านก อย่างนี้รู้ได้โดยปัจจัตตัง กรรมปัจจุบันจะสร้างให้เกิดอนาคต หมายความว่ากรรมนี้จะมาในปัจจุบัน เช่น คนเดินมาไม่ถูกกัน เห็นแล้วคลื่นไส้ ไม่พอใจ มันก็บันทึกกรรมไปเพื่ออนาคต ทำ�ให้เราปรารภจิตเศร้าหมองในวันหน้าแน่นอน แก้ได้ไหม ได้ แก้กรรม ปัจจุบันก็กำ�หนด เห็นหนอ เห็นหนอ คนนี้ไม่ถูกกัน ไม่ พอใจกัน ไม่มองหน้ากัน เกลียดขี้หน้ากัน แก้เสีย เพื่อไม่ให้เกิดในอนาคต ก็แก้ ว่า เห็นหนอ รูปนามแยกไป อะไรเป็นรูป คนที่เดินมาเป็นรูป เห็นหนอ อะไร เห็น ทางตาเห็นอะไรรู้ นามรู้ ทางตาเป็นรูปหรือเป็นนาม ตาเห็นรูป รูปนั้นเป็นรูป แต่จิตที่รับรู้นั่นว่ารูปเดิน มานั้นคือใคร เป็นตัวนามแก้ปัจจุบันไม่ให้เกิดในอนาคต เราก็กำ�หนด เห็น หนอ ๆ 27
ไม่พอใจคนไม่ถูกกันมา ไม่พอใจเกิดโกรธต้องรีบกำ�หนดความโกรธเป็นการ แก้กรรม เพื่อไม่ให้มันลุกลามไปในอนาคต กำ�หนดโกรธหนอ โกรธหนอ ตั้ง สติไว้ที่ลิ้นปี่ โกรธหนอ โกรธหนอ รูปนามเป็นอารมณ์ แยกรูปคนนั้นออก ไปเป็นส่วนหนึ่ง นามที่จิตไปผูกโกรธ ก็แยกออกไปเสีย ไหนไปโกรธตัวตน ที่ไหน ใครเป็นตัวตน อ๋อนาย ก. เป็นตัวตน เอามือคลำ�ซิ มีแต่รูป มีแต่กายกับจิต มีรูปกับนามเท่านั้น จิตก็แปรปรวน เปลี่ยนแปลงเป็นกุศล เป็นมหากุศลจิต และจิตก็เกิดเป็นกุศลมูล เหตุของจิต จิตก็ผ่องใส ความโกรธก็ตกไป หายวับไปกับตา ไม่มีอะไรที่จะมา แฝงอยู่ในใจต่อไป และเราจะไม่โกรธไปในวันพรุ่งนี้ เราจะไม่โกรธไปในวัน พรุ่งนี้ เราจะไม่โกรธไปในวันมะรืนนี้ เราจะไม่โกรธถึงปีหน้า นี่คือวิธีแก้กรรมปัจจุบันเพื่อไม่ให้เกิดในอนาคต ตัดต้นไฟเสียในเบื้องต้น ตัด ไฟที่จะลามเข้าไปในสันดานของจิต และพิษภัยก็จะไม่เกิดขึ้นในอนาคต แปลว่า ปรารภคนเดินมาไม่ถูกกัน เลยก็น่าสงสารไปโกรธเขา เขาก็โกรธเรา โกรธตัวเขา คลื่นไส้ตัวเขา ก็คลื่นไส้ตัวเรา ก็โกรธตัวเรานั่นเอง เป็นการเพิ่ม กรรม เราตัดเวรตัดกรรม อโหสิกันเสียว่า โกรธหนอ ฉันจะไม่โกรธเธออีกแล้ว ปัญญาบอก สติบอก สัมปชัญญะบอก แล้วก็เกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับวูบไปที่ตา รูป นาม ขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ รูปคนเดินมาก็ไม่มีตัวตน ที่จะไปเกลียดเขาได้ ความ รัก ความโกรธ ความโลภ ความหลงประการใด มันก็หายวับไปกับตา มีแต่รูป นามที่เดินมา
28
ตาเราก็เป็นรูปประกอบด้วย ลูกตา มันเป็นอันเดียวกันได้หรือ มันรูปนอก รูป ใน รูปจิต รูปใจ รูปนามธรรม แล้วปัญญาก็แยกออกไปอย่างนี้ เราก็ไม่ผูกโกรธ เขาอีกต่อไป นี่เป็นการแก้กรรมปัจจุบัน ไม่ให้ลามไปในอนาคต แต่กรรมครั้งอดีตนี่แก้ไม่ได้ต้องใช้ ต้องประเมินถึงจะต้องใช้ แต่ก็ใช้น้อยลงไป รู้ตัวว่าเรามีกรรมที่ทำ�เขาไว้เราก็อโหสิ พออโหสิกรรมแล้วกรรมที่จะใช้ ๑๐๐ บาท ก็ใช้เพียง ๕๐ บาท ถ้าอโหสิเพิ่มขึ้น กุศลสูงขึ้น เราอาจยืม ๑๐๐ บาท แต่ใช้ เพียง ๑๐ บาทก็ได้น้อยลงไป ข้อสำ�คัญไม่ต้องมีดอกเบี้ย ดอกเบี้ยนี้คือ การสะสมกรรม ทำ�ให้มีดอกดวงมากขึ้น หนี้เก่ายังใช้ไม่หมด ยัง ไปขอยืมหนี้ใหม่ สร้างเวรสร้างกรรมกันทำ�ไม อย่างไปสร้างต่อเลย ท่านสาธุชนทั้งหลายเอ๋ย จงอโหสิกรรมกันเถิด แล้วกรรมจะไม่ก่อบังเกิดใน อนาคต เราเลิกโกรธกันเถอะ เลิกมีทิฏฐิต่อกันเถอะ เอาไว้อาศัยกันต่อไปใน โอกาสหน้าเถิด จิตใจจะได้ประเสริฐด้วยกรรมจากการกระทำ�ของตน นี่แก้ กรรมปัจจุบันเพื่อไม่ให้ลามไปในอนาคต เสียงหนอ มาด่าฉันหรือคะ ใช่แล้ว อ๋อ เสียง กับ ฉัน ต่างกัน หูฉัน กับ ปากเธอ ไกลกัน เธอก็ด่าตัวเธอก็แล้วกัน ด่าไม่ถูกฉัน ไม่ถูกตัวตน ตัวตนมีที่ไหนคลำ�ก็ ไม่ได้แล้ว เกิดขึ้นตั้งอยู่ วูบดับไปที่หู ขันธ์ ๕ รูปนามเป็นอารมณ์ เลยเสียงนั้น ก็ตกไป เสียงกับหูคนละอัน ไกลกันลิบ จิตใจเราไม่มารับเลยอโหสิกรรม ด่า อย่างไรก็ไม่โกรธ ด่าอย่างไรก็ไม่เจ็บ นี่แก้กรรมปัจจุบันเพื่อไม่ให้ลุกลามไป ในอนาคต 29
เหมือนไฟราคะ ไฟโทสะ ไฟโมหะ กำ�ลังลุกอยู่ ณ บัดนี้ เราก็ดับวูบลงไป ไฟก็ ไม่ลามต่อไปในอนาคต ถ้าเราไม่ดับไฟ...ไฟก็จะลุกลามต่อไป เราจะไม่ก่อเวรก่อกรรมกันอีกแล้ว เราจะมีสติยึดมั่น สติมา สัมปชาโน ยึดมัน ในสติปัฏฐาน ๔ ปฏิบัติหน้าที่ด้วยกรรมจากการกระทำ�ของตน กรรมครั้งอดีตนั้นต้องแก้ด้วยการเจริญทุกขเวทนา มีเวทนาต้องสู้ ทนทุกข์นอก ทุกข์ในโทมนัสสัง โสมนัสสังทุกข์โทษในเวทนามากมายถึง ๔ ประการ ทุกข์นอก ทุกข์ใน ทุกข์ในใจอีก เอาทุกข์นอกประเด็นมาสะสมเข้าอีก เลยก็เกิด ทุกข์กันใหญ่ หาความสิ้นสุดของทุกข์ไม่ได้ บำ�บัดทุกข์ไม่ได้ ไม่สามารถจะถึง บรมสุขคือพระนิพพานได้ เราทราบดีแล้ว อนิจจาไม่น่าไปโกรธเขาเลย ไปจองเวรเขาทำ�ไม ไปผูกพยาบาท เขาทำ�ไม เมตตาก็ปรากฏชัดแก่ตัวผู้ทำ� เมตตาปรารถนาดีทุกคน ความปรารถนาดีเป็นมงคลชีวิต มีในบ้านใดบ้านนั้นเป็นบ้านมงคล เป็นบ้าน เศรษฐี นึกถึงเงินก็ไหลนอง นึกถึงทองก็ไหลมา เป็นบ้ายอยู่เย็นเป็นสุข อาตมาภาพได้บรรยายมาในเรื่องกรรมฐาน รู้กฎแห่งกรรมและแก้กรรมด้วย การกำ�หนดของตน กรรมครั้งอดีตต้องแก้ด้วยการเจริญทุกขเวทนา แล้วเวทนา จะเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เราจะรู้ว่าเราทำ�กรรมอะไรไว้ แก้กรรมปัจจุบันก็กำ�หนดทางอายตนะ ธาตุอินทรีย์ หน้าที่การงาน ให้มันดับ ไป อย่ามาติดใจ และข้องอยู่แต่ประการใด ไฟราคะ โทสะ โมหะ ก็จบ 30
ไม่ลุกลามไปถึงอนาคตจิตใจก็โน้มเข้ามา ถึงแก่นแท้พระพุทธศาสนา โน้มมา ถึงธรรมสัมมาปฏิบัติ มีเมตตา มีความปรารถนาดี ไม่รบราฆ่าฟันกัน แม่แต่จะเสริมสร้างความดีต่อกัน คือ สัจจะ เมตตา สามัคคี มีวินัย ศักดิ์ศรี ก็เกิด ขึ้นแก่ตน ดับวูบไปเกิดขึ้นที่ขันธ์ ๕ รูปนามเป็นอารมณ์ กรรมเก่าก็แก้ด้วยการใช้หนี้เขาไป เพราะว่าจะให้หมดไม่ได้ แต่กรรมใหม่เรา จะไม่สร้าง เราจะแก้กรรมปัจจุบันด้วยอายตนะ ธาตุอินทรีย์ ให้มันดับวูบไป เลย อย่าให้มันลุกโพลงด้วยราคะ โทสะ โมหะอยู่ประจำ�จิตเลย ให้จิตแยกออกไป คือรูปนามขันธ์ ๕ เป็นอารมณ์ รูปธรรม นามธรรม คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จิตใจก็เบิกบานเป็นปัญญาแสงสว่างคือมรรค มรรคา ก็ส่องทางให้เราเดินทางไปโดยสวัสดี เพราะเรามีปัญญาดี เดินทางก็ไม่ หลงทาง เดินทางถึงนิพพานโดยทั่วหน้ากัน อนึ่ง วันที่ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๓๒ จาก ๑๔ ตุลาคม ๒๕๒๑ ผ่านมาเป็นเวลา ๑๐ กว่าปีแล้ว อาตมาถวายสังฆทาน ให้เจ้ากรรมนายเวร ที่เราเกิดเคราะห์หาม ยามร้ายอย่างแรงกล้า คอหักไป ๑๔ ตุลาคม ๒๕๒๑ เราก็จะทำ�บุญกุศลเพื่อ อโหสิกรรมต่อเจ้ากรรมนายเวร อย่างจองเวรกันเลย พ่อกรรมเอ๋ย เพราะเรารู้ เท่าไม่ถึงการณ์ ไปฆ่าสัตว์ตัดชีวิตมา ขอสรรพสัตว์ทั้งหลายที่โดนฆ่าจากเรา จงอโหสิกรรมให้เราเถิด ขอถวาย สังฆทานอุทิศให้เจ้ากรรมนายเวร ท่านทั้งหลายจงอโหสิกรรม และกรรมจะ ไม่ต่อเนื่องไป อโหสิ เหมือนรถหมดน้ำ�มัน ไม่วิ่งไปหากรรมชั่วอีกแล้ว เราก็ เหมือนรถหมดน้ำ�มัน หมดเชื้อไขในกฎแห่งกรรม จะได้สิ้นกรรมกันเสียที 31
อาตมาภาพขออนุโมทนาส่วนกุศล ท่านที่เจริญวิปัสสนาทุกท่าน ทั้งฝ่าย บรรพชิตและคฤหัสถ์ ที่ชี้แจงแสดงเหตุผลข้อเท็จจริง ในเชิงปฏิบัติวิปัสสนา กรรมฐาน ได้รับผลอย่างนั้นจริง แก้กรรมเก่าโดยรับใช้ แก้กรรมใหม่โดยใช้ กรรมปัจจุบันไม่สร้างให้ต่อเนื่องต่อไป ตัวเวรตัดกรรมด้วยการกำ�หนดจิต เสีย ให้ได้ทุกทิศา อายตนะ ธาตุอินทรีย์ที่มาเป็นประจำ� ขันธ์ ๕ รูปนามเป็นอารมณ์ ได้ผลอย่างแน่นอน ขอความสุขสวัสดีจงมีแก่ท่านสาธุชนทั้งหลายโดยทั่วกัน
32
สวดมนต์เป็นยาทา
วิปัสสนาเป็นยากิน
ทางไปเว็บหลวงพ่อจรัญ 33
34