Ca222 week07 ebook design

Page 1

นศ 222 การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ 2 [CA 222 Printed Media Design 2]

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารย์ณัฏฐพงษ์ สายพิณ ส า ข า วิ ช า นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์ บู ร ณ า ก า ร ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ โ จ้

การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์  หลักการออกแบบและจัดหน้ าหนังสือเล่ม  การเตรี ยมข้ อมูลและต้ นฉบับ


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

1

สือ่ สิง่ พิมพ์ (Printed Media) เป็ นสือ่ ที่นิยมใช้ กนั มากในการประชาสัมพันธ์ไม่วา่ จะเป็ นการประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน ของรัฐหรื อหน่วยงานของเอกชน เพราะสื่อสิ่งพิมพ์เป็ นสื่อที่สามารถให้ รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่ องที่ต้องการประชาสัมพันธ์ ได้ อย่าง เท็จจริ ง ย้ อนหลังก็สามารถค้ นคว้ าได้ อย่างสะดวกสบาย สามารถอ่านซ ้าไปซ ้ามาได้ ตามที่ต้องการ นับตังแต่ ้ วิทยาการต่าง ๆ เข้ ามามีบทบาทกับชีวิตของมนุษย์มากขึ ้น ในทศวรรษ 1990 ยุคแห่งการสื่อสารระบบดิจิทลั เกิดการหลอมรวมของเทคโนโลยีภาพ เสียง การพิมพ์ และคอมพิวเตอร์ ทาให้ เกิดสือ่ ใหม่ขึ ้น สิง่ พิมพ์จึงได้ มีการปรับเปลีย่ นรูปแบบ เพื่อให้ ทนั ต่อเทคโนโลยี เมื่อเทคโนโลยีดิจิทลั และโลกออนไลน์เข้ ามาเป็ นส่วนหนึง่ ของวิถีชีวิตประจาวันของผู้คน ธุรกิจสิง่ พิมพ์ทวั่ โลก ต่างต้ องลุก ขึ ้นมาปรับตัวครัง้ ใหญ่ เช่นวงการหนังสือพิมพ์ จากเดิมที่เป็ น "หนังสือพิมพ์ฉบับกระดาษ" ก้ าวสู่การเป็ น "หนังสือพิมพ์ออนไลน์ " เช่นเดียวกับนิตยสารตลอดจนสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นๆ เช่น หนังสือ ที่มีการปรับตัว สูร่ ู ปแบบดิจิทลั เพื่อเป็ นช่องทางในการ "ทาเงิน" ให้ กบั ธุรกิจบนเว็บไซต์ และขยายช่องทางการเปิ ดรับสื่อของผู้บริ โภค เมื่อมีการใช้ อินเทอร์ เน็ตและอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์มากขึ ้น รู ปแบบจากเดิมที่เป็ นกระดาษจะถูกแปลงข้ อมูลในรู ปแบบไฟล์ .pdf และไฟล์มลั ติมีเดียอื่น ๆ ที่รองรับรู ปการเปิ ดอ่านไฟล์ใน ลักษณะของดิจิทลั ไฟล์

หลักการออกแบบและจัดหน้าหนังสือเล่ม โดยทัว่ ไป การออกแบบและจัดหน้ าสิง่ พิมพ์มวี ตั ถุประสงค์ที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้ กบั สิง่ พิมพ์ 2. เพื่อช่วยให้ สงิ่ พิมพ์งา่ ยต่อการอ่านและทาความเข้ าใจ 3. เพื่อสร้ างความประทับใจและความทรงจาให้ กบั ผู้อา่ นในระยะยาว ดังนันการออกแบบและจั ้ ดหน้ าสิง่ พิมพ์จงึ มีสว่ นสาคัญในการเพิ่มคุณค่าให้ กบั สิง่ พิมพ์และช่วยให้ การผลิตและการใช้ สิง่ พิมพ์ได้ ประโยชน์สงู สุด

ปั จจัยที่ต้องคานึงถึงการออกแบบและจัดหน้ าสิ่งพิมพ์ 1. 2. 3. 4.

ประเภทและลักษณะเนือ้ หาของสิ่งพิมพ์ ต้ องสอดคล้ องและสัมพันธ์กบั เนื ้อหาที่นาเสนอ วัตถุประสงค์ ในการจัดทา เพื่อเสนอข่าวสาร ความรู้ ความบันเทิง ฯลฯ กลุ่มเป้าหมาย ต้ องคานึงถึงจิตวิทยาในการรับรู้สารของกลุม่ เป้าหมายด้ วย ขนาดและรูปแบบมาตรฐานของสิ่งพิมพ์

หนังสือเล่ ม  หนั งสือเล่ ม คือ สิ่งพิมพ์ ที่เย็บรวมกันเป็ นเล่มที่มีความหนาและมีขนาดต่าง ๆ กัน ไม่มีกาหนดออกแน่นอน และไม่ ต่อเนื่องกัน มีเนื ้อหาที่เป็ นเรื่ องเดียวกัน ไม่หลายหลายและมีความสมบูรณ์ ในตัวเอง หนังสือเล่มแบ่งออกเป็ นหลาย ประเภทตามแต่ลกั ษณะของเนื ้อหา เช่น หนังสือนิยาย หนังสือเรี ยน หนังสือวิชาการ สารคดี หนังสือเพลง หนังสือการ์ ตนู บทกวีนิพนธ์ หนังสือเล่ม เป็ นสิง่ พิมพ์ที่มีผ้ สู นใจเฉพาะกลุม่ เช่นเดียวกับหนังสือวารสาร เช่น กลุม่ นักเรี ยน นักศึกษาหรื อ


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

2

กลุม่ อาชีพที่มีความสนใจเฉพาะด้ าน ยกเว้ นแต่หนังสือที่เน้ นหนักไปทางด้ านบันเทิง ส่วนใหญ่หนังสือเล่มจะมีจานวน พิมพ์ไม่มากนัก  สิ่งพิมพ์ อิเล็กทรอนิ กส์ เป็ นสื่อสิ่งพิมพ์ที่ผลิตขึ ้นเพื่อใช้ งานในคอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ได้ แก่ Document Formats, E-book for tablet/iPad เป็ นต้ น

รู ปแบบและขนาดของหนังสือเล่ ม

รูปแบบของหนังสือเล่มนิยมจัดทาในลักษณะสีเ่ หลีย่ มผืนผ้ า อาจเป็ นแนวตังหรื ้ อแนวนอนที่มีขนาดสอดคล้ องกับกระดาษ มาตรฐานที่มีจาหน่ายทัว่ ไป คือ ขนาดที่ได้ จากการใช้ กระดาษแผ่นขนาด 31×43 นิ ้ว ได้ แก่ขนาดสีห่ น้ ายก แปดหน้ ายก สิบหกหน้ า ยก หรื อเล็กกว่า แต่ขนาดที่เป็ นที่นิยม ได้ แก่ ขนาดแปดหน้ ายก เช่น หนังสือเรี ยน และพจนานุกรม ส่วนขนาดสิบหกหน้ ายก เช่น หนังสือขนาดกระเป๋ า(pocket book) ส่วนแผ่นกระดาษขนาด 24×35 นิ ้ว ได้ แก่ ขนาดมาตรฐานกระดาษชุดA ที่นิยมใช้ กบั หนังสือเล่ม เช่น A4 (ขนาดแปดหน้ า ยกใหญ่ หรื อแปดหน้ ายกพิเศษ) หรื อ A5 ที่เป็ นขนาดครึ่งหนึง่ ของ A4

ส่ วนประกอบของหนังสือเล่ ม ไม่ ว่า จะเป็ นหนัง สื อ เล่ม ฉบับ ที่ พิ ม พ์ ขึ น้ นี ห้ รื อ อยู่ใ นรู ป แบบอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ หรื อ จะเป็ นประเภทใด หนัง สื อ เล่ม จะ ประกอบด้ วยส่ วนประกอบที่สาคัญ 3 ส่ วน คือ ส่ วนต้ นเล่ ม ส่ วนเนือ้ เรื่ อง และส่ วนท้ ายเล่ ม แต่ละส่วนยังประกอบด้ วย ส่วนย่อยอีกหลายส่วน ส่ วนที่หนาและสาคัญที่สุด ได้ แก่ ส่ วนเนือ้ เรื่ อง โดยส่วนต้ นเล่มและส่วนท้ ายเล่มจะเป็ นส่วนเสริ มให้ หนังสือมีความสมบูรณ์มากขึ ้น


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

3

1. ส่ วนต้ นเล่ ม (front matter) เป็ นส่วนที่อยูต่ อนต้ นของหนังสือ ประกอบด้ วย 1.1 ใบหุ้ ม ปก มี ป ระโยชน์ ใ นการรั ก ษาปกหนัง สื อ แล่วยดึงดูดความสนใจจากผู้พบเห็นให้ เกิดความรู้ สกึ อยากอ่าน

1.2 ปกหน้ า (front cover) มัก ใช้ กระดาษชนิ ด เดียวกับปกหลัง มีทงปกแข็ ั้ งและปกอ่อน การออกแบบ ปกหนังสื อ ที่มี ใบหุ้ม ปกอยู่ด้ วยมักเป็ นรู ป แบบเรี ย บ ง่ายโดยมีเพียงชื่อเรื่ องปรากฏที่ปก กรณีของหนังสือที่ ไม่มีใบหุ้มปก ความเด่นของการออกแบบจะรวมไว้ ที่ ปกหน้ าเป็ นส่วนใหญ่

1.3 แผ่ นผนึกปก (end paper หรื อ end leaf) และ แผ่ นปลิวรองปก (fly leaf) มักพบในหนังสือปกแข็ง โดยทัว่ ไปจะมีมีการออกแบบลวดลาย แต่จะปล่อยให้ แผ่นว่างหรื อมีภาพประกอบเป็ นภาพพื ้นทัว่ แผ่น

1.4 หน้ าชื่อเรื่องเสริม (half title page, bastard title page) อยู่ถดั จากแผ่นปลิวรองปก ข้ อความที่ปรากฏ หน้ านี ม้ ี เ ฉพาะชื่ อ เรื่ อ งของหนั ง สื อ ซึ่ ง มั ก วางใน ตาแหน่งที่อยู่เหนือจุดกึ่งกลางเล็กน้ อย จึงไม่ต้องการ การออกแบบอื่ น ใดนอกจากการเลือ กใช้ ข นาดและ แบบตัวพิมพ์หรื อตัวอักษรที่เหมาะสมและอ่านง่าย

1.5 หน้ ารูปภาพนา (frontispiece) มักอยูด่ ้ านซ้ ายมือ ของปกใน เป็ นหน้ าที่ มี ภ าพประกอบเพื่ อ ความ สวยงาม ซึง่ หน้ านี ้อาจมีหรื อไม่มีก็ได้


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

4

1.6 ปกในหรือหน้ าชื่อเรื่ อง (title page) เป็ นหน้ าสาคัญที่ต้องมีในหนังสือทุกเล่ม หน้ านี ้จะอยู่ด้าน ขวามื อ ของหนัง สื อ เสมอ ข้ อ ความที่ ป รากฏได้ แก่ ชื่ อ หนัง สื อ ชื่ อ รอง (ถ้ ามี ) ชื่ อ ผู้เ ขี ย น ขื่ อ บรรณาธิการ(กรณีที่เป็ นหนังสือเรี ยบเรี ยงโดยไม่มีชื่อผู้เขียนเฉพาะ มีแต่บรรณาธิการเป็ นผู้เรี ยบ เรี ยง) ชื่อสานักพิมพ์ ชื่ อสถานที่พิมพ์ การออกแบบมักเรี ยบง่าย ใช้ ตัวอักษรที่มีขนาดและแบบ เดียวกับหน้ าชื่อเรื่ องเสริ ม

1.7 หน้ าลิขสิทธิ์ (copyright page) อยูด่ ้ านหลังปกในและอยูห่ น้ าซ้ ายมือของหนังสือ เป็ นหน้ าที่ต้อง มีในหนังสือทุกเล่ม ข้ อความที่ปรากฏจะเป็ นรายละเอียดเกี่ ยวกับการจัดพิมพ์ ตัง้ แต่ปีที่พิมพ์ เจ้ าของลิขสิทธิ์ สานักพิมพ์ สถานที่พิมพ์ ข้ อความที่เกี่ ยวกับการสงวนลิขสิทธิ์ นอกจากนี ้เป็ น ข้ อมูลเกี่ยวกับการจัดทาบัตรายการห้ องสมุดที่เป็ นข้ อมูลที่สานักพิมพ์จัดทาให้ ได้ แก่ ชื่อผู้เขียน ชื่อเรื่ อง จานวนหน้ า ดรรชนีคาค้ นหนังสือ เลขเรี ยกหนังสือ หมายเลขเรี ยกประจาหนังสือ (ISBN) การออกแบบหน้ านี ้ควรคานึงถึงการจัดกลุม่ ข้ อความให้ เป็ นระเบียบและอ่านง่าย 1.8 หน้ าคาอุทิศ (dedication page) เป็ นหน้ าที่ผ้ เู ขียนเขียนมอบผลงานเพื่ออุทิศให้ บคุ คล หรื อกลุม่ สถาบัน หน้ านีอ้ าจมีหรื อไม่มีในหนังสือก็ ได้ แต่ถ้ามีจะอยู่ด้านขวามือถัดจากหน้ าลิขสิทธิ์ การ ออกแบบเน้ นความเรี ยบง่าย 1.9 หน้ าคานิยม (forward page) เป็ นหน้ าที่ผ้ อู ื่นซึง่ ไม่ใช่ผ้ เู ขียนเขียนเพื่อกล่าวชมหรื อเขียนความนา ให้ หนังสือเล่มนัน้ หน้ านี ้อาจมีหรื อไม่มีก็ได้ การออกแบบเรี ยบง่าย ตัวอักษรเดียวกั บหน้ าชื่อเรื่ อง เพียงแต่เน้ นชื่อหน้ าด้ วยตัวอักษรที่ใหญ่และใช้ ตวั เน้ น


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

5

1.10 หน้ าคานา (preface page) เป็ นหน้ าที่ผ้ เู ขียนเขียนเกี่ยวกับความนาหรื อความเป็ นมาในการ เขียนหนังสือเล่มนัน้ เพื่อให้ ผ้ อู ่านเข้ าใจความเป็ นมาก่อนอ่านเรื่ องนัน้ หน้ าคานาจะอยู่ถัดจาก หน้ าคานิยม(ถ้ ามี) และมักมีในหนังสือทุกเล่ม การออกแบบเรี ยบง่าย ตัวอักษรเดียวกับหน้ าชื่อ เรื่ องเพียงแต่เน้ นชื่อหน้ าด้ วยตัวอักษรที่ใหญ่และใช้ ตวั เน้ น

1.11 หน้ ากิตติกรรมประกาศ (acknowledgemant page) เป็ นหน้ าที่ผ้ เู ขียนกล่าวถึงบุคคล หรื อกลุม่ บุคคลที่มีสว่ นช่วยในการจัดทาหนังสือ เป็ นหน้ าที่มีหรื อไม่มีก็ได้ การออกแบบเป็ นเช่นเดียวกับคา นา 1.12 หน้ าสารบัญ (contents, table of contents) เป็ นหน้ าสาคัญที่ต้องมีในหนังสือทุกเล่ม เป็ น หน้ าที่แสดงโครงร่างต่างๆ ของข้ อมูลที่ปรากฏในหน้ าต่างๆ ของหนังสือ โดยระบุเลขหน้ าจากน้ อย ไปมาก การออกแบบหน้ านี ้ควรเน้ นความเป็ นระเบียบและการอ่านง่ายในการลาดับเรื่ อง

ส่วนประกอบบางหน้ าของส่วนต้ นเล่มที่เป็ นหน้ าสาคัญและจาเป็ นต้ องมีในหนังสือทุกเล่ม ได้ แก่ หน้ า


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

6

ชื่อเรื่ อง และหน้ าลิขสิทธิ์ และหน้ าสารบัญ การจะให้ ความสาคัญกับส่วนใดหรื อหน้ าใดเป็ นพิเศษนัน้ ขึ ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์การจัดหน้ าหนังสือเป็ นสาคัญ 2. ส่ วนเนือ้ เรื่อง (text matter)

เป็ นส่วนที่หนาที่สดุ ในหนังสือ ประกอบด้ วยเนื ้อเรื่ องสาคัญที่มีในหนังสือ โดยทัว่ ไปจะแบ่งเป็ นบทต่างๆ และอาจเป็ นภาค ตอน หรื อส่วนก็ได้ หน้ าแรกของส่วนเนื ้อหาคือหน้ าที่เริ่ มมีการนับเลขแสดงหน้ าหนังสื อกากับ โดยที่หน้ าแรกของแต่ละบทควรอยู่ด้านขวามือ การออกแบบหน้ าในส่วนเนื ้อหา ต้ องสอดคล้ องกับเนื ้อหาตลอด ทังเล่ ้ ม การกาหนดตัวอักษรสาหรับชื่อบทควรใหญ่กว่าตัวอักษรที่เป็ นเนื ้อความและให้ เป็ นแบบเดียวกันกับที่ใช้ ในส่วนต้ นเล่ม หน้ าเปิ ดเรื่ องมักจะเป็ นหน้ าขวาของหนังสือ แต่ก็ไม่จาเป็ นเสมอไป สิง่ ที่จะปรากฏอยูใ่ นหน้ านี ้ ที่สาคัญ ก็ คื อ ชื่ อ เรื่ อ ง และส่ว นที่ เ ป็ นตอนต้ น ของเนื อ้ เรื่ อ ง นอกจากนี อ้ าจจะมี ภ าพประกอบด้ ว ยก็ ไ ด้ ซึ่ ง หากมี ภาพประกอบ ก็ อาจจะมีเนือ้ หาสัน้ ๆ เกี่ ยวกับภาพประกอบนัน้ วางอยู่ติดกับภาพด้ วย เนือ้ หานีเ้ รี ยกว่า คา บรรยายภาพ (caption)


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

7

การออกแบบส่วนที่เป็ นเนื ้อเรื่ องควรกาหนดขอบว่าง (margin) หรื อเนื ้อที่วา่ งโดยรอบข้ อความ ขอบว่าง โดยรอบข้ อความมีประโยชน์หลายประการ คือ 1) ทาให้ ข้อความในหนังสือดูเด่น 2) เป็ นที่สาหรับจับหน้ าหนังสือ หรื อพลิกหน้ าหนังสือ 3) เป็ นที่เขียนโน้ ตย่อหรื อเครื่ องหมายขณะอ่าน 4) ใช้ สาหรับวางเลขหน้ า ชื่อบท หรื อชื่อ หนังสือ 5) ช่วยให้ ผ้ อู า่ นทราบจุดเริ่ มต้ นและจุดสุดท้ ายของบรรทัด 6) ช่วยให้ หน้ าหนังสือเป็ นระเบียบ 7) ช่วยพัก สายตา นอกจากนี ้ควรคานึงถึงเนื ้อที่ของขอบว่างระหว่างหน้ าซ้ ายและหน้ าขวา รวมถึงด้ านบนและด้ านล่ างของ หน้ าให้ เหมาะสม อย่าลืมว่าสิง่ สาคัญที่สดุ คือการอานวยความสะดวกให้ แก่ผ้ อู า่ นมากที่สดุ 3. ส่ วนท้ ายเล่ ม (back matter) เป็ นส่วนที่อยูถ่ ดั จากเนื ้อหา มีเลขหน้ ากากับต่อจากส่วนเนื ้อหา ประกอบด้ วย 1.1 ภาคผนวก (appendix) เป็ นข้ อ ความที่เป็ นส่วนประกอบเพิ่มเติมจากเนื อ้ หาเพื่ อให้ หาข้ อมูล เพิ่มเติมได้ เช่นรูปแบบของแบบสอบถาม หรื อแบบสัมภาษณ์ การออกแบบควรใช้ รูปแบบการจัด หน้ าและใช้ ตวั อักษรที่สอดคล้ องกับเนื ้อเรื่ อง แต่ใช้ ตวั เน้ นสาหรับชื่อหน้ า 1.2 เชิงอรรถ (footnote) เป็ นข้ อความที่ใช้ อธิบายศัพท์ นิยาม การอ้ างอิง ที่ไม่รวมไว้ ในเนื ้อหาเพราะ จะทาให้ ยาวเกินไป บางครัง้ อาจแทรกไว้ ในส่วนเนื ้อเรื่ องหากไม่ยาวนัก การออกแบบหน้ าเชิงอรรถ ควรสอดคล้ องกับหน้ าภาคผนวก 1.3 บรรณานุ กรม (bibliogarphy) เป็ นหน้ าที่เกี่ยวกับรายชื่อหนังสือและเอกสารต่างๆ ที่ผ้ เู ขียนใช้ เป็ นแหล่งข้ อมูลเพื่อการอ้ างอิง 1.4 อภิ ธ านศั พ ท์ (glossary) เป็ นหน้ า รวมค าศัพ ท์ ที่ ใ ช้ ในหนัง สือ เล่ม นัน้ ๆ พร้ อมค านิ ย ามหรื อ คาอธิ บายโดยเรี ยงตามลาดับพยัญชนะ มักพบในตาราภาษาอังกฤษมากกว่าตาราไทย การ ออกแบบหน้ านี ้ควรสอดคล้ องกับหน้ าเชิงอรรถและบรรณานุกรม 1.5 ดรรชนี (index) มีสองประเภทคือ ดรรชนีชื่อเรื่ องและดรรชนีบุคคล ที่ปรากฏในเนือ้ เรื่ องของ หนังสือเล่มนัน้ มีเพื่อให้ สืบค้ นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่ องหรื อบุคคลนันได้ ้ โดยมีการระบุเลขหน้ าที่มี เรื่ องหรื อบุคคลนันๆ ้ ปรากฏอยูเ่ พื่อความสะดวกในการค้ นหา การจัดหน้ านี ้ควรสอดคล้ องกับหน้ า อื่นๆ ในส่วนท้ ายเล่ม 1.6 แผ่ นรองปกหลัง (flt leaf) เป็ นกระดาษและมีลกั ษณะเดียวกันกับแผ่นรองปกหน้ า การออกแบบ จึงควรออกแบบให้ สอดคล้ องกัน 1.7 ปกหลัง (back cover) เป็ นวัสดุชิน้ เดียวกับปกหน้ าแต่อยู่ท้ายเล่ม ปกหลังอาจมีข้อความหรื อ รูปภาพหรื อไม่มีก็ได้ อย่างไรก็ตาม การออกแบบควรสอดคล้ องกับปกหน้ า


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

8

1.8 ใบหุ้มปกหลัง เป็ นวัสดุแผ่นเดียวกับใบหุ้มปกหน้ า การออกแบบจึงควรสอดคล้ องกัน

การจัดหน้ าหนังสือเล่ ม การจัดหน้ าหนังสือเล่มต้ องคานึงถึงหลักการออกแบบจัดหน้ าสิง่ พิมพ์ การใช้ ตวั อักษร การใช้ ภาพประกอบ และ องค์ประกอบศิลป์เป็ นหลัก ในการใช้ กาหนดขนาดและความกลมกลืนกันของสัดส่วนตัวอักษรและภาพ รวมถึงพื ้นที่สขี าว ที่เป็ นจุดพักสายตาของผู้อา่ นด้ วย ทังนี ้ ้สามารถใช้ ระบบกริ ดมาช่วยในการออกแบบจัดหน้ าหนังสือเล่มได้

ระบบกริด (Grid System) มีหลักการมากมายสาหรับการออกแบบและที่สาคัญการจะสื่อสารความคิดของนักออกแบบได้ ดีก็ต้องมี ระบบ ระเบียบในการจัดวางองค์ประกอบหรื อเรี ยกอีกอย่างว่า การจัดวางเลย์ เอ้ าท์ ” ทังให้ ้ ดงู ่าย เน้ นบางจุดที่จะสือ่ สาร มีสว่ นช่วยในการวางองค์ประกอบในด้ านตาแหน่ง และขนาด 2 ประการ คือ 1. สร้ างความกลมกลืนให้ กบั องค์ประกอบในพื ้นที่ หน้ ากระดาษ ใน 1 หน่วยใหญ่ 2. ช่วยกาหนดขนาดบนพื ้นที่หน่วยใหญ่ โดยกาหนดการวางตาแหน่งลงสูห่ น่วยย่อย ความหมายของระบบกริด • ระบบกริ ด เรี ยกได้ อีกอย่างหนึง่ ว่า “ระบบตาราง” • เป็ นเครื่ องมือที่เป็ นแนวทางการจัดองค์ประกอบใช้ ในการออกแบบกราฟิ ก • ใช้ แบ่งหน้ ากระดาษออกเป็ นพื ้นที่ย่อยๆให้ มีขนาดเล็กลงแทนที่จะเป็ นพื ้นที่ขนาดใหญ่เพียงอย่างเดียว โดยการ ใช้ เส้ นตรงในแนวตังและเส้ ้ นตรงในแนวนอนหลายๆเส้ น ลากตัดกันเป็ นมุมฉากบนพื ้นที่หน้ ากระดาษ • สามารถพลิกแพลงแบบได้ ตลอดเวลา ไม่มีกฎบังคับให้ องค์ประกอบต่าง ๆ อยู่แต่เพียงภายในกรอบที่จดั ไว้ แต่ ให้ ดูผลงานสุดท้ ายเป็ นหลัก • การใช้ กริ ดไม่ใช่สงิ่ ใหม่ นักออกแบบและศิลปิ นได้ ใช้ โครงสร้ างกริ ดกันมานานนับศตวรรษแล้ ว ส่ วนประกอบต่ าง ๆ ของกริดในหน้ าออกแบบ 1. มาร์ จิ ้น (margins) 2. โมดูล (Module/Grid Units) 3. อาล์ลยี ์ (Alleys) 4. กัตเตอร์ (Gutters) 5. คอลัมน์ (Columns)

6. 7. 8. 9.

โรว์ (Rows) สเปเชียลโซน (Spatial Zones) โฟลว์ไลน์/แฮงไลน์/ (Flowlines/Hanglines) มาร์ คเกอร์ (Markers)


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

9

มาร์ จนิ ้ /ช่ องว่ างรอบขอบกระดาษ (margins) • มาร์ จิ ้นคือช่องว่างที่อยูร่ ะหว่างขอบของพื ้นที่ทางานซึง่ มีตวั อักษรหรื อภาพปรากฏอยูก่ บั ขอบของกระดาษทังสี ้ ด่ ้ าน • ความกว้ างจากขอบกระดาษของช่องว่างนี ้ไม่จาเป็ นต้ องเท่ากันทังสี ้ ่ด้านแต่ควรเป็ นแบบแผนเดียวกันทุก ๆ หน้ าในเล่ม เพื่อความต่อเนื่อง • มาร์ จิ ้นเป็ นจุดพักสายตา แต่สามารถใช้ เป็ นที่ใส่เลขหน้ า หัวเรื่ อง คาอธิบายต่าง ๆ หรื อบทความขยายสัน้ ๆ และอาจใช้ เป็ นที่ดงึ ดูดความสนใจ โมดูล/หน่ วยกริด (Module/Grid Units) • โมดูลคือช่องที่เกิดจากการแบ่งหน้ าออกแบบด้ วยเส้ นกริ ดตามแนวตังและแนวนอนออกเป็ ้ นส่วน ๆ • ใช้ เป็ นพื ้นที่ใส่ตวั อักษรหรื อภาพ • การแบ่งส่วนระหว่างโมดูลจะมีการเว้ นช่องว่างไว้ ไม่ให้ โมดูลติดชิดกัน • การใช้ พื ้นที่ในการวางตัวอักษรหรื อภาพไม่จาเป็ นต้ องถูกจากัดอยูภ่ ายในแต่ละโมดูล แต่สามารถกินพื ้นที่หลาย ๆ โมดูล อาล์ ลีย์/ช่ องว่ างระหว่ างโมดูล (Alleys) • อาล์ลยี ์คือช่องว่างระหว่างโมดูลที่ติดกัน ช่องว่างดังกล่าวอาจทอดยาวเป็ นแนวตัง้ หรื อแนวนอน หรื ออาจเป็ นทังแนวตั ้ ง้ และแนวนอนก็ได้ • อาล์ลยี ์แต่ละแนวอาจมีความกว้ างที่ตา่ งกันในหน้ าหนึง่ ๆ ก็ได้ แล้ วแต่ผ้ อู อกแบบ


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

10

กัตเตอร์ /ช่ องว่ างระหว่ างหน้ าตามแนวพับ (Gutters) • กัตเตอร์ คือช่องว่างระหว่างโมดูลของหน้ าสองหน้ าที่ตอ่ กันโดยมีแนวพับอยูต่ รงกลาง • ในการออกแบบหน้ าหนังสือ ให้ ระวังอย่าให้ ความกว้ างของกัตเตอร์ แคบเกินไปจนทาให้ ข้อความตามแนวสันหนังสือขาด หายหรื ออ่านลาบาก คอลัมน์ /แถวในแนวตัง้ (Columns) • คอลัมน์คือโมดูลที่ตอ่ ๆ กันในแนวตัง้ ซึง่ ช่องว่างระหว่างคอลัมน์ก็คืออาล์ลยี ์ /กัตเตอร์ นนั่ เอง • ในหน้ าออกแบบหนึ่งหน้ าสามารถแบ่งคอลัมน์ได้ กี่แถวก็ได้ และความกว้ างของแต่ละคอลัมน์ก็ไม่จาเป็ นต้ องเท่ากัน แล้ วแต่ผ้ อู อกแบบ โรว์ /แถวในแนวนอน (Rows) • โรว์คือโมดูลที่ต่อ ๆ กันในแนวนอนซึ่งต่างจากคอลัมน์ที่ต่อกันในแนวตัง้ และถูกแบ่งแยกจากกันด้ วยอาล์ลีย์ /กัตเตอร์ เช่นกัน สเปเชียลโซน/พืน้ ที่ครอบคลุม (Spatial Zones) • คือกลุม่ ของโมดูลที่ตอ่ ติดกันทังแนวตั ้ งและแนวนอนท ้ าให้ เกิดพื ้นที่ที่ใหญ่ขึ ้น • ถูกนาไปใช้ ในการแสดงข้ อมูลโดยใส่เป็ นข้ อความตัวอักษร หรื อภาพก็ได้ โฟลว์ ไลน์ /แฮงไลน์ /เส้ นขวาง (Flowlines/Hanglines) • คือเส้ นแบ่งในแนวนอน ใช้ เหนี่ยวนาสายตาจากส่วนหนึ่งไปอีกส่วนหนึ่ง หรื อเป็ นตัวคัน่ เมื่อจบเรื่ องราว/ภาพหนึ่งและ กาลังขึ ้นต้ นเรื่ องราว/ภาพอีกชุดหนึง่ มาร์ คเกอร์ /ตัวชีต้ าแหน่ ง (Markers) • มาร์ คเกอร์ คือเครื่ องหมายที่กาหนดตาแหน่งบริ เวณไว้ สาหรับใส่ข้อความสันๆ ้ ที่ระบุหมวดหมู่ หัวเรื่ องที่เปลีย่ นไปเรื่ อยๆ • มักมีตาแหน่งเดียวในแต่ละหน้ า

ส่ วนประกอบหลักๆ ในระบบกริด


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

รูปแบบต่ าง ๆ ของกริด (Grid types) รูปแบบพื ้นฐานของกริ ดมีอยู่ 4 ประเภท – เมนูสคริ ปต์กริ ด (Manuscript Grid) – คอลัมน์กริ ด (Column Grid) – โมดูลาร์ กริ ด (Modular Grid) – ไฮราซิคลั กริ ด (Hierarchical Grid) รูปแบบพื ้นฐานทังสี ้ แ่ บบนี ้สามารถนาไปพัฒนาสร้ างแบบทังที ้ ่เรี ยบง่ายจนถึงแบบที่พลิกแพลงซับซ้ อนขึ ้น เมนูสคริปต์ กริด (Manuscript Grid)

• • • •

เป็ นกริ ดที่มีโครงสร้ างเรี ยบง่ายเป็ นบล็อกใหญ่บล็อกเดียวหรื อคอลัมน์เดียว มีชื่อเรี ยกอีกชื่อว่า บล็อกกริ ด (Block Grid) ใช้ กบั สิง่ พิมพ์ที่มีแต่เนื ้อหาเป็ นหลัก เช่น หนังสือ นวนิยาย ตารา จดหมายข่าว ฯลฯ แต่ก็สามารถ นาภาพมาวางประกอบ เรี ยบง่ายแต่ก็สามารถปรับแต่งเลย์เอ้ าท์ให้ ดนู า่ สนใจได้ และไม่จาเจเมื่อเปิ ดหน้ าต่อหน้ า

11


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

12

คอลัมน์ กริด (Column Grid)

• • • • •

เป็ นรูปแบบกริ ดที่มีคอลัมน์มากกว่าหนึง่ คอลัมน์ในหนึง่ หน้ าของแบบ มักมีความสูงเกือบสุดขอบของชิ ้นงาน ความกว้ างของแต่ละคอลัมน์ไม่จาเป็ นต้ องเท่ากัน กริ ดในรูปแบบนี ้มักถูกนาไปใช้ ใน นิตยสาร แคตตาล็อก โบรชัวร์ การวางภาพในรูปแบบกริ ดประเภทนี ้อาจจะจัดวางให้ มีความกว้ างเท่ากับหนึง่ คอลัมน์หรื อมากกว่าก็ได้

โมดูลาร์ กริด (Modular Grid)

• • • •

เป็ นรูปแบบกริ ดที่ประกอบด้ วยโมดูลหลาย ๆ โมดูล เกิดจากการตีเส้ นตามแนวตังและแนวนอน ้ คือรู ปแบบที่เกิด จากการแบ่งคอลัมน์ในคอลัมน์กริ ดตามแนวนอนทาให้ เกิด เป็ นโมดูลย่อย โมดูลาร์ กริ ดเป็ นรู ปแบบที่สามารถนาไปจัดเลย์เอ้ าท์ได้ หลากหลาย สามารถประสมประสานภาพกับข้ อความเป็ นชุด ๆ จัดแบ่งเรื่ องราวหลาย เรื่ องมาอยูใ่ นหน้ าเดียวกัน จัดภาพประกอบพร้ อมคาบรรยายหลาย ๆ ชุดในหนี่งหน้ า จึเป็ นรูปแบบที่ประกอบด้ วยโมดูลย่อย ๆ มีความอิสระในการปรับแต่งเลย์เอ้ าท์ได้ สงู มีการนามาใช้ ในการออกแบบหน้ า โบรชัวร์ แคตตาล็อก นิตยสารและหนังสือประเภทต่าง ๆ ด้ วยเช่นกัน


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

13

ไฮราซิคัลกริด (Hierarchical Grid)

• • • • •

เป็ นรูปแบบกริ ดที่มีโครงสร้ างซับซ้ อน ประกอบด้ วยโมดูลได้ ทงที ั ้ ่มีขนาดเท่ากันหรื อแตกต่างกันมาจัดวางในหน้ าเดียวกัน และอาจมีการเกยกันของโมดูลบางชิ ้น เป็ นรูปแบบที่ยากต่อการใช้ งานในการที่จะทาให้ เลย์เอ้ าท์ที่ออกมาดูดีและลงตัว มักใช้ ต่อเมื่อไม่สามารถใช้ กริ ดรู ปแบบอื่น ส่วนหนึ่งที่เลือกใช้ เนื่องจากขององค์ประกอบต่าง ๆ ของเลย์เอ้ าท์มีความ แตกต่างค่อนข้ างมาก เช่น อัตราส่วนของด้ านกว้ างกับด้ านยาวของภาพประกอบแต่ละภาพมีความแตกต่างกันมาก ข้ อแนะนาในการจัดทารู ปแบบ ไฮราซิคลั กริ ด วิธีหนึ่งคือ นาองค์ประกอบต่าง ๆ ของแบบทังหมด ้ เช่น ภาพประกอบ เนื ้อหา หัวเรื่ อง ฯลฯ มากองไว้ พิจารณาภาพรวม ค่อย ๆ ทดลองจัดวางโดยขยับปรับขนาดแต่ละองค์ประกอบจนดูแล้ ว ลงตัว พอมีแนวเป็ นหลักในการสร้ างกริ ดใช้ ร่วมกันทังชุ ้ ด/เล่มของงานพิมพ์ แล้ วจึงลงมือทางาน รูปแบบกริ ดประเภทนี ้มีใช้ ในการออกแบบหน้ าหนังสือ โปสเตอร์ และฉลากผลิตภัณฑ์ เป็ นต้ น

ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

ตัวอย่างระบบกริ ดอืน่ ๆ

14


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

15

การทาภาพประกอบ ภาพประกอบหนังสือไม่วา่ จะเป็ นภาพถ่ายหรื อภาพที่วาดขึ ้นมาใหม่ควรมีลกั ษณะสอดคล้ องกับเนื ้อหาของหนังสือในเล่ม เป็ นส าคัญ ทัง้ นี ร้ ู ป แบบลวดลายหรื อ สไตล์ นัน้ จะขึ น้ อยู่กั บ กลุ่ม เป้ าหมายเป็ นสาคัญ นัก ออกแบบจึ ง จ าเป็ นต้ อ งเข้ า ใจถึ ง วัตถุประสงค์ของหนังสือเล่มนัน้ โดยใช้ หลักจิตวิทยามาช่วยจัดวางองค์ประกอบและสือ่ ความหมายของเนื ้อหาหรื อข้ อความในหน้ า นันๆ ้ ให้ ดงึ ดูดและน่าสนใจได้

การเลือกตัวอักษร ตัวอักษรหรื อตัวพิมพ์เป็ นเครื่ องมือสาคัญที่ทาให้ การพิมพ์แพร่หลาย เป็ นอุปกรณ์ลาดับแรกของกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ที่ช่วยนา “สาร” ไปยังผู้อา่ น ซึง่ ปั จจุบนั นี ้ตัวพิมพ์ถกู ออกแบบและพัฒนาขึ ้นสาหรับคอมพิวเตอร์ อย่างมากมาย การเลือกใช้ ตวั พิมพ์ ควรพิจารณาลักษณะของตัวพิมพ์ อันได้ แก่ รูปลักษณ์ ขนาด ความกว้ างของตัวพิมพ์ และระยะบรรทัดของตัวพิมพ์ ดังนัน้ ตัวพิมพ์ จึงมีความสาคัญในฐานะเป็ นเครื่ องมือในการทาให้ ภาษาดารงคงอยู่ ช่วยดึงดูดสายตาผู้อ่าน ช่วยสร้ างเอกลักษณ์ และบุคลิก เฉพาะให้ กบั สิง่ พิมพ์ ช่วยในการจัดลาดับความสาคัญของเนื ้อหาที่นาเสนอ และช่วยในการจัดหน้ าหนังสือ การเลือกตัวพิมพ์คือการกาหนดตัวพิมพ์เนื ้อหาประเภทต่าง ๆ ที่นาเสนอในสื่อสิ่งพิมพ์ เพื่อให้ สื่อสารความหมายไปยัง ผู้อ่านได้ อย่างชัดเจน แบ่งเป็ นการสัง่ ตัวพิมพ์สาหรับข่าว บทความ และคาบรรยายภาพ ซึ่งการสัง่ ตัวพิมพ์ในแต่ละประเภท ต้ อง พิจารณาจากโครงสร้ างการเขียน ความต้ องการเน้ นข้ อความสาคัญ และการตกแต่งหน้ าสิง่ พิมพ์ให้ สวยงามน่าอ่านเป็ นหลัก ในการเลือกตัวพิมพ์นนั ้ รูปลักษณ์อกั ษร ถือเป็ นสิง่ สาคัญเพราะ รูปลักษณ์อกั ษรนัน้ หมายถึง ลักษณะรูปร่างหน้ าตาของ ฟ้ อนท์หรื อตัวอักษรแต่ละชุด โดยมีความแตกต่างกันออกไปตามการออกแบบ มีชื่อเรี ยกเป็ นของตัวเอง ซึ่งในฟอนท์ชุดเดียวกันจะ มีการออกแบบหน้ าตัวพิมพ์เป็ นแบบย่อย ๆ ได้ แก่ ตัวปกติ (normal) ตัวเอน (italic) ตัวหน้ า (bold) ตัวหนาเอน (italic bold) ตัวบาง (light) ตัวบางพิเศษ (extra light) นอกจากนี ้ยังมีตวั พิมพ์ที่มีรูปแบบคล้ ายลายมือเขียน (script) ฯลฯ ทังนี ้ ้เพื่อให้ เลือกใช้ ให้ เหมาะกับงานพิมพ์ ไม่วา่ ตัวพิมพ์จะมีแบบให้ เลือกมากมายเพียงใด การเลือกใช้ มกั ใช้ ใน 2 ลักษณะ ได้ แก่ 1. ตัวพิมพ์ เนื อ้ เรื่ อง เป็ นตัวพิมพ์ ที่ใช้ พิมพ์ ตวั เนื ้อหา หรื อเนื ้อเรื่ อง (body text) ที่มีข้อความจานนมาก มักเป็ น ตัวอักษรที่มีหวั กลมโปร่ง สวยงามและอ่านง่าย 2. ตัวพิมพ์ ตกแต่ ง เป็ นตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะพิเศษต่างจากตัวพิมพ์ปกติ เนื่องจากเป็ นการประดิษฐ์ ให้ สวยงามหรื อ สร้ างความแปลกตา เหมาะกับการทาพาดหัว ทาตัวโปรย หรื อใช้ เน้ นข้ อความสัน้ ๆ เพื่อตกแต่งจัดหน้ า หรื องาน พิมพ์พิเศษต่าง ๆ เช่น โปสเตอร์ การ์ ด เป็ นต้ น ลักษณะของตัวพิมพ์ แบบตัวพิมพ์มีรูปแบบให้ เลือกใช้ มากมาย เรี ยกแบบตัวพิมพ์นี ้ว่า “ฟ้ อนท์ (Font)” สานักพิมพ์บางแห่งจะมีการกาหนด แบบตัวพิมพ์เฉพาะของตนขึ ้น หรื ออาจใช้ ฟ้อนท์ใดฟ้ อนท์หนึ่งที่มีในคอมพิวเตอร์ ก็ได้ อย่างไรก็ตาม มีสิ่งที่ควรทาความเข้ าใจ เกี่ยวกับลักษณะพื ้นฐานของการใช้ ตวั พิมพ์ ดังนี ้ 1. รูปแบบตัวอักษร ในการเลือกตัวอักษรที่เหมาะสมจะช่วยให้ งานออกแบบกราฟิ กนัน้ สื่อความหมายได้ อย่างเต็มที่ ซึ่งปั จจุบันมีรูปแบบ ตัวอักษรตัวพิมพ์มากมาย อาจแบ่งได้ ดงั นี ้ ตัวอักษรแบบมีเชิง เป็ นอักษรที่มีเส้ นยื่นของฐานและปลายตัวอักษรในทางราบที่เรี ยกว่า Serif ลักษณะตัวอักษรจะมีเส้ น ตัวอักษรเป็ นแบบหนาบางไม่เท่ากัน ตัวอักษรแบบนี ้บราวเซอร์ หลายชนิดจะใช้ ตัวอักษรแบบนี ้เป็ นหลัก เช่น Times New Roman,


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

16

Garamond, Georgia และ New Century Schoolbook ตัวอักษรประเภทนี ้เหมาะจะใช้ เป็ นรายละเอียดเนื ้อหา แต่ตวั อักษร ประเภทนี ้ไม่คอ่ ยเหมาะจะใช้ กบั ตัวหนา (bold)

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบมี เชิ ง (Serif)

ตัวอักษรแบบไม่มีเชิง (Sans Serif) เป็ นลักษณะของตัวอักษรอีกแบบหนึ่งที่รูปแบบเรี ยบง่าย เป็ นทางการ ไม่มี เชิ ง หมายถึงไม่มีเส้ นยื่นออกมาจากฐาน และปลายของตัวอักษรในทางราบ ได้ แก่ Arial, Helvetica, Verdana, Geneva และ Univers ตัวอักษรประเภทนี ้เหมาะที่จะใช้ กบั หัวข้ อหรื อ ตัวอักษรขนาดใหญ่ แต่ไม่เหมาะสมกับลักษณะเอียง

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบไม่มีเชิ ง (Sans Serif)

ตัวอักษรแบบตัวเขียน (Script) ตัวอักษรแบบนี ้เน้ นให้ ตวั อักษรมีลกั ษณะคล้ ายกับการเขียนด้ วยลายมือ ซึ่งมีหางโยง ต่อเนื่องระหว่างตัวอักษร มีขนาดเส้ นอักษรหนาบางแตกต่างกัน นิยมทาให้ เอียงเล็กน้ อย

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบตัวเขี ยน (Script)

ตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ (Text Letter) เป็ นตัวอักษรแบบโรมันแบบตัวเขียนอีกลักษณะหนึ่ง มีลกั ษณะเป็ นแบบ ประดิษฐ์ มีเส้ นตังด ้ าหนา ภายในตัวอักษรมีเส้ นหนาบางคล้ ายกับการเขียนด้ วยพูก่ นั หรื อปากกาปลายตัด

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบตัวอาลักษณ์ (Text Letter)


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

17

ตัวอักษรแบบประดิษฐ์ (Display Type) หรื อตัวอักษรตัวพิมพ์ ขนาดใหญ่ มีลกั ษณะเด่น คือ การออกแบบตกแต่ง ตัวอักษรให้ สวยงามเพื่อดึงดูดสายตา มีขนาดความหนาของเส้ นอักษรหนากว่าแบบอื่นๆ จึงนิยมใช้ เป็ นหัวเรื่ อง

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบประดิ ษฐ์ (Display Type)

ตัวอักษรแบบสมัยใหม่ (Modern Type) เป็ นตัวอักษรที่ประดิษฐ์ ขึ ้น มีลกั ษณะเรี ยบง่าย

แสดงรู ปแบบตัวอักษรแบบสมัยใหม่ (Modern Type)

2. ลักษณะและขนาดตัวพิมพ์ ลักษณะของตัวพิมพ์ (Type Character) จากรูปแบบตัวอักษรที่หลากหลาย การสร้ างแบบอักษรก็ยงั มีความแตกต่างที่หลายรู ปแบบ ทาให้ มีลกั ษณะเฉพาะของ ตัวอักษรเปลีย่ นแปลงไป เช่น ตัวเอน (Italic) ตัวหนา (Bold) ตัวธรรมดา (Normal) ตัวเส้ นขอบ (Outline) ตัวบางพิเศษ (Extra Light) ตัวหนาพิเศษ (Extra Bold) ตัวแคบ (Condensed) ตัวดา (Black) ตัวบาง (Light))

แสดงลักษณะตัวอักษรแบบต่าง ๆ

ขนาดของตัวพิมพ์ (Size Type) ขนาดของตัวอักษรเป็ นการกาหนดขนาดทีเ่ ป็ นสัดส่วนความกว้ างและสูงและรูปร่างของตัวอักษร โดยเอาความสูงเป็ น หลักในการจัดขนาดเรียกว่า พอยต์ (Point) ขนาดตัวอักษรหัวเรื่ องมักใช้ ขนาดตังแต่ ้ 16 พอยต์ขึ ้นไป ส่วนขนาดของเนื ้อหาจะใช้ ขนาดประมาณ 6 พอยต์ถึง 16 พอยต์ แล้ วแต่ลกั ษณะของงาน


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

18

12 พอยต์ = 1 ไพก้ า 6 ไพก้ า = 1 นิ ้ว (2.5 ซ.ม.) 75 พอยต์ = 1 นิ ้ว ขนาดทางราบหรื อทางกว้ างของตัวอักษร เมื่อเรี ยงกันไปเป็ นคาหรื อความยาวใน 1 บรรทัด หรื อเรี ยกว่าเป็ น "ความยาว คอลัมน์" จะกาหนดเป็ นไพก้ า (Pica) การเลือกขนาดพอยต์ ต้ องคานึงถึงการอ่านง่ายเป็ นหลัก กล่าวคือ ต้ องพิจารณาถึงกลุม่ ผู้อา่ นด้ วยว่า เป็ นกลุม่ อายุระดับ ใด เช่น ผู้สงู อายุ หรื อเด็ก อาจต้ องเลือกใช้ ตวั พิมพ์ที่มีขนาดใหญ่กว่าปกติ นอกจากนี ้ หากต้ องเลือกใช้ ตวั พิมพ์ที่ต่างฟอนท์กนั ใน ขนาดพอยต์เท่ากัน อาจต้ องระวังด้ วยว่าเมือมองดูด้วยสายตาจะรู้สกึ เหมือนว่าขนาดของตัวพิมพ์ไม่เท่ากัน 3. ระยะช่ องไฟและการจัดวางตัวอักษร ระยะช่ องไฟของตัวอักษร (Spacing) การจัดระยะช่องไฟตัวอักษรมีความสาคัญมาก เนื่องจากถ้ ามีการออกแบบที่เหมาะสม และสวยงามแล้ วจะทาให้ ผ้ ดู อู ่าน ง่าย สบายตา ชวนอ่าน การจัดช่องไฟมีหลักการใช้ อยู่ 3 ข้ อดังนี ้ 1. ระยะช่องไฟระหว่างอักษร (Letter Spacing) เป็ นการกาหนดช่องไฟระหว่างตัวอักษรแต่ละตัว ที่จะต้ องมีระยะห่างกันพอ งาม ไม่ติดหรื อห่างกันเกินไป เราควรจัดช่องไฟโดยคานึงถึงปริ มาตรที่มีความสมดุลโดยประมาณในระหว่างตัวอักษร หรื อ เรี ยกว่า ปริ มาตรความสมดุลทางสายตา 2. ระยะช่องไฟระหว่างคา (Word Spacing) จะเว้ นระยะระหว่างคาประมาณ 1 ตัวอักษรปกติ ถ้ าห่างเกินไปจะทาให้ อ่าน ยาก และชิดเกินไปจะทาให้ ขาดความงาม 3. ระยะช่องไฟระหว่างบรรทัด (Line Spacing) ปกติจะใช้ ระยะห่าง 0-3 พอยต์ หลักสาคัญในการกาหนดระยะระหว่าง บรรทัดให้ วดั ส่วนสูง และส่วนต่าสุดของตัวอักษร เมื่อจัดวางบนบรรทัดแล้ วต้ องไม่ซ้อนทับกัน

ภาพแสดงระยะช่องไฟของตัวอักษร (Spacing) แบบการจัดตัวอักษร (Type Composition) การจัดเนื ้อหาของตัวอักษรมีการจัดด้ วยกันหลายวิธี ดังนี ้ จัดชิดซ้ าย หรื อ เสมอหน้ า จะมีปลายด้ านขวาไม่สม่าเสมอ เนื่องจากตัวอักษรในแต่ละบรรทัด มี ความยาวไม่ เท่ากัน แต่ผ้ อู า่ นก็ไม่สามารถหาจุดเริ่ มต้ นของแต่ละบรรทัดได้ ง่าย จัดชิดขวา หรื อเสมอหลัง ถึงแม้ รูปแบบการจัดตัวอักษรแบบนีจ้ ะน่าสนใจ แต่จุดเริ่ มต้ นในแต่ละบรรทัดที่ไม่ สม่าเสมอ ทาให้ อา่ นยาก ผู้อา่ นต้ องหยุดชะงัก เพื่อหาจุดเริ่ มต้ นของแต่ละบรรทัด จัดกึ่งกลาง จะใช้ ได้ ดีกบั ข้ อมูลที่มีปริ มาณไม่มากนัก และเหมาะกับรู ปแบบที่เป็ นทางการ เช่น คาประกาศ หรื อ คาเชื ้อเชิญ เป็ นต้ น


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

19

จัดชิดขอบซ้ ายและขวา หรื อเสมอหน้ าและเสมอหลัง เมื่อจัดตัวอักษรแบบ justify จะมีพื ้นที่วา่ งเกิดขึ ้นระหว่างคา ข้ อดีคือเกิดความสวยงามและเป็ นระเบียบในคอลัมน์ที่ได้ จัดวางเลย์เอ้ าท์ไว้ สิ่งที่ควรระวังคือ เกิดช่องว่าง ซึ่งจะรบกวนความ สะดวกในการอ่าน แต่เป็ นสิง่ ยากที่จะหลีกเลีย่ ง ในคอลัมน์ที่มีขนาดแคบ อย่างไรก็ตาม การกาหนดระยะและรูปแบบตัวอักษร ไม่ควรดูเฉพาะหน้ าตาความสวยงาม แต่ให้ พิจารณาถึงการอ่านง่าย เป็ นหลัก ความสาคัญของตัวพิมพ์ กับสิ่งพิมพ์ 1. เป็ นเครื่ องมือทาให้ ภาษาดารงอยู่ 2. เป็ นสิง่ ดึงดูดสายตาผู้อา่ น 3. ช่วยสร้ างเอกลักษณ์และบุคลิกเฉพาะในสิง่ พิมพ์ 4. ช่วยในการจัดหน้ าสิง่ พิมพ์ (หนังสือ / นิตยสาร / หนังสือพิมพ์) 5. ช่วยจัดลาดับความสาคัญของเนื ้อหา ข้ อพิจารณาในการเลือกตัวพิมพ์ ไม่วา่ ตัวพิมพ์ที่เลือกจะใช้ ในการผลิตสิง่ พิมพ์ประเภทใดก็ตาม ทัง้ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรื อหนังสือเล่ม มีข้อพิจารณาที่ ต้ องคานึงถึง ดังนี ้ 1. นโยบายสิ่งพิมพ์ สิ่งพิมพ์แต่ละประเภทจะมีวตั ถุประสงค์ในการนาเสนอที่ชดั เจน ทังยั ้ งแบ่งประเภทย่อยของเนื ้อหาได้ อีกเป็ น กลุม่ ๆ เช่น ข่าวบันเทิง ข่าวกีฬา วัยรุ่ น ฯลฯ ทังนี ้ ้ หนังสือพิมพ์และนิตยสารควรเลือกตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะอ่านง่าย มีหวั และเส้ นขอบตัวอักษรที่ชัดเจน ขณะที่หนังสือพิมพ์บนั เทิงหรื อนิตยสารวัยรุ่ น อาจใช้ ตวั พิมพ์ที่มีลกั ษณะเล่นลวดลาย ปลายตวัด ไม่ต้องมีหวั ก็ได้ แต่เน้ นให้ ดทู นั สมัย หรื อเข้ ากับลักษณะเนื ้อหาเป็ นหลัก 2. ผู้อ่าน เป็ นสิ่งสาคัญอันดับแรกที่ผ้ ผู ลิตสิ่งพิมพ์ต้องคานึงถึงในลักษณะกลุ่มผู้อ่านของตน เพื่ อนามาเป็ นแนวทางใน การกาหนดรู ปแบบตัวอักษรหรื อตัวพิมพ์ที่จะใช้ ต้ องทราบช่วงอายุ ระดับการศึกษา หรื อกลุม่ อาชีพ รวมถึงรสนิยมของ กลุม่ เป้าหมายเป็ นสาคัญ 3. ขนาดสิ่งพิมพ์ ขนาดสิ่งพิมพ์จะต้ องเลือกให้ เหมาะสม ถ้ าเป็ นพ็อกเก็ตบุ๊คขนาดตัวพิมพ์อาจมีขนาดเล็ก ขณะที่หนังสือเรี ยน จาเป็ นต้ องใช้ ขนาดใหญ่ กว่า ขนาดตัวพิมพ์ ก็จะมีขนาดโตตามไปด้ วย อย่างไรก็ตาม หลักการนี ้เป็ นที่ยกเว้ นสาหรั บ หนังสือพิมพ์ เนื่องจากสิ่งพิมพ์ประเภทนี ้มุ่งเน้ นในการนาเสนอข่าวสารเป็ นหลัก การเลือกใช้ ตวั พิมพ์ขนาดเล็กจะทาให้ สามารถเสนอข่าวสารได้ หลายข่าว ฉะนันจึ ้ งไม่มีการคานึงถึงขนาดของสิง่ พิมพ์เหมือนเช่นนิตยสารหรื อหนังสือเล่ม 4. ประเภทเนือ้ หา การเลือกตัวพิมพ์จะคานึงถึงส่วนประกอบของข้ อเขียน ซึ่งมีจุดเด่น หรื อจุดเน้ นที่ต้องให้ ความสาคัญมากน้ อย ต่างๆ กันไป เช่น ข่าวในหนังสือพิมพ์ จะมีสว่ นของพาดหัวข่าว ความนา และเนื ้อข่าว ขณะที่ บทความ จะมีสว่ นประกอบ ของชื่อบทความและเนื ้อเรื่ อง เป็ นต้ น


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

20

หลักการเลือกตัวพิมพ์ เนื ้อหาทุกเรื่ องในสิง่ พิมพ์ เช่น หนังสือพิมพ์ หรื อนิตยสาร จะมีตวั พิมพ์ 2 ลักษณะ คือ ตัวพิมพ์เนื ้อเรื่ อง (body text) และ ตัวพิมพ์หวั ข่าว/หัวเรื่ อง (non-body text) ซึง่ มีหลักในการเลือกใช้ ดังนี ้ ตัวพิมพ์ เนือ้ เรื่อง หรือเรียกทั่วไปว่ า ตัวพืน้ เป็ นตัวพิมพ์ที่ใช้ ในข้ อความจานวนมาก มีเกณฑ์ดงั นี ้ 1. ได้ มาตรฐาน มีตาแหน่งสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ถูกต้ องตามอักขระไทย มีขนาด ความกว้ าง และระยะ บรรทัดที่ได้ เกณฑ์มาตรฐานสากล 2. อ่ านง่ าย ขนาดความกว้ างเหมาะสม หรื อใช้ ลกั ษณะฟอนท์มีหวั กลมโปร่ง 3. ใช้ สะดวก ควรพิจารณาเลือกฟอนท์ที่มีรูปแบบชุดตัวพิมพ์ครบถ้ วน เช่นมีทงภาษาไทยและภาษาอั ั้ งกฤษ มี รูปแบบทังตั ้ วเอน ตัวเอียง หรื อตัวหนา เป็ นต้ น 4. มีความจุของพืน้ ที่ ตัวพิมพ์แต่ละชุดมีความจุพื ้นที่พิมพ์ไม่เท่ากัน ระยะบรรทัดหรื อความห่างจึงแตกต่างกัน ดังนันต้ ้ องดูประเภทสิง่ พิมพ์ด้วยว่าต้ องการบรรจุเนื ้อหามากน้ อยเพียงใด 5. มีความสวยงาม ให้ พิจารณาถึงความกลมกลืนของรู ปลักษณ์อกั ษรทังชุ ้ ด รวมทังความสม ้ ่าเสมอ สร้ างความ สบายตากับการอ่านได้ นาน ๆ ตัวพิมพ์ หัวเรื่ อง เป็ นตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะพิเศษ เหมาะกับการใช้ พิมพ์ข้อความจานวนน้ อย เช่น ชื่อเรื่ อง ชื่อบทความ หรื อทาเป็ นตัวโปรย เพื่อเน้ นข้ อความสาคัญในเนื ้อเรื่ อง ตัวพิมพ์ประเภทนี ้อาจใช้ ตวั พิมพ์เดียวกันกับตัวพื ้นก็ได้ หรื อเน้ นการทาให้ สะดุดตาด้ วยตัวที่ใหญ่ขึ ้น หรื อทาเป็ นตัวหนา พบมากในหนังสือพิมพ์ เช่นเพิ่มขนาดในส่วนพาดหัว 24-72 พอยต์ ความนาข่าวจะใช้ 16-18 พอยต์ สาหรับนิตยสาร ต้ องพิถีพิถนั มากกว่าหนังสือพิมพ์ เพื่อให้ หวั เรื่ องสามารถเรี ยกความสนใจและมีความสวยงามกลมกลืนไปกับเนื ้อหาด้ วย อาจมีข้อพิจารณา ดังนี ้ 1. มีบคุ ลิกชัดเจน 2. สื่อสารความรู้ สึกได้ ตรงกับเนื ้อหา เช่ น เนื ้อหาน่ากลัว อาจเลือกรู ปแบบตัวพิมพ์ที่มีลกั ษณะสยองขวัญ หรื อ เนื ้อหาเกี่ยวกับประเทศจีน เลือกรูปแบบตัวพิมพ์เป็ นอักษรคล้ ายๆ ตัวอักษรจีน เป็ นต้ น


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

ตัวอย่ างรู ปแบบการจัดหน้ าและการเลือกใช้ ตัวพิมพ์ ในการจัดหน้ าหนังสือ

21


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

22


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

23


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

24

การเตรียมข้อมูลและต้นฉบับ ในการเตรี ยมข้ อมูลและต้ นฉบับสาหรับผลิตสิง่ พิมพ์หรื อหนังสือสักเล่ม ต้ องผ่านกระบวนการคัดสรรเนื ้อหา เพื่อรวบรวม และเรี ยบเรี ยงออกมาเป็ นต้ นฉบับตามนโยบายและวัตถุประสงค์ที่ได้ กาหนดไว้ ก่อนการผลิต ซึ่งเมื่อได้ ต้นฉบับที่ผ่านการพิจารณา และตรวจสอบแล้ ว จะสามารถนาไปสูข่ นตอนการผลิ ั้ ตได้ ตอ่ ไป ในการออกแบบภาพประกอบและตัวอักษรให้ สอดคล้ องกับเนื ้อหา และกลุม่ เป้าหมาย ซึง่ การจะให้ ได้ มาซึง่ ความถูกต้ องข้ อมูลนัน้ ต้ องผ่านการพิสจู น์อกั ษรก่อนนาไปออกแบบและผลิตเป็ นรูปเล่ม

การพิสูจน์ อักษร(Proof Reading) ในยุคของเทคโนโลยีดิจิทลั ที่การผลิตเกือบทุกขันตอนกระท ้ าผ่านคอมพิวเตอร์ กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์จึงมีการปรับลด ขัน้ ตอนลงมาเป็ นกระบวนการเดีย วกันในปั จ จุบัน นี ้ กล่าวคื อ เมื่ อต้ น ฉบับ ข่าวและบทความต่า ง ๆ ถูกส่งผ่า นทางเครื อข่า ย คอมพิวเตอร์ มายังฝ่ ายบรรณาธิ การ ในฝ่ ายนี ้จะทาหน้ าที่ให้ คาพาดหัวข่าว สัง่ ตัวพิมพ์ พิสจู น์อกั ษร ตกแต่งภาพ และจัดหน้ า ดังนัน้ ขันตอนที ้ ่ลดไปจากเดิมคือ การเรี ยงพิมพ์ อีกทังการสั ้ ง่ ตัวพิมพ์และการจัดหน้ าจะกระทาไปพร้ อมๆ กัน เสร็ จสิ ้นลงในจุด เดียวกัน โดยใช้ บคุ ลากรคนเดียวกัน การพิสูจน์ อกั ษร หรื อ การปรู๊ ฟ เป็ นการอ่านต้ นฉบับเพื่อตรวจแก้ การพิมพ์ ให้ ถูกต้ องที่สุดก่อนส่งเนื ้อหาทัง้ หมดไปสู่ กระบวนการผลิตเป็ นรู ป เล่ม โดยเน้ นการตรวจแก้ ไวยากรณ์ แ ละตรวจแก้ ข้อผิ ดพลาดของเนือ้ หา เช่ น การสะกดคา การใช้ เครื่ องหมายวรรคตอน การใช้ ตวั เลข การใช้ ตวั ย่อ เป็ นต้ น เพื่อให้ ข้อเขียนต่าง ๆ มีความถูกต้ องสมบูรณ์ อันเป็ นผลทาให้ สิ่งพิมพ์มี คุณภาพน่าเชื่อถือ และเป็ นการสืบทอดหลักการ “ความถูกต้ อง” ของการใช้ ภาษา ความสาคัญในการพิสูจน์ อักษร มีดงั นี ้ 1. ทาให้ เนื ้อหามีความถูกต้ องสมบูรณ์ 2. ทาให้ สงิ่ พิมพ์มีคณ ุ ภาพ น่าเชื่อถือ 3. สืบทอดหลักการความถูกต้ องของภาษา

___________________________________________________________ บรรณานุกรม  จันทนา ทองประยูร. 2537. การออกแบบและจัดหน้ าสิ่งพิมพ์ . นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  ปาพจน์ หนุนภักดี. 2553. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิ กดีไซน์ . กรุ งเทพมหานคร:บริ ษัท ไอดีซี พรี เมียร์ จากัด.  ปราโมทย์ แสงผลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ วี.เจ. พริ น้ ติ ้ง.  ปริ ญญา โรจน์อารยานนท์. 2544. ฟอนต์ ไทยที่ดคี วรมีลกั ษณะอย่ างไร. แบบตัวพิมพ์ไทย ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ.  ผู้จดั การออนไลน์. 2553. "วารสารศาสตร์ แห่ งอนาคต" จุดเปลี่ยน - ความท้ าทายในสื่อยุคใหม่ ที่ นศ.ไทยควรรู้ . Life on Campus มัย ตะติยะ. 2547. สุนทรี ยภาพทางทัศนศิลป์ . กรุ งเทพมหานคร:โรงพิมพ์มิตรสัมพันธ์ กราฟฟิ ค จากัด.  โสรชัย นันทวัชรวิบลู ย์. 2545. Be Graphic สู่เส้ นทางกราฟิ กดีไซเนอร์ . กรุ งเทพมหานคร:บริ ษัท เอ.อาร์ .อินฟอร์ เมชัน


การผลิตหนังสือดิจิทัลและการจัดการออนไลน์ |

25

แอนด์ พับลิเคชัน จากัด.  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2552. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ . สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1-7.  อารยะ ศรี กลั ยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ์ . กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร์ . ภาพประกอบบางส่วนจาก  http://www.google.co.th  http://www.lungthong.com  https://sites.google.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.