Ca222 week08 printed media process planning

Page 1

นศ 222

การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ 2 [CA 222 Printed Media Design 2]

รวมรวม/เรียบเรียง โดย อาจารยณัฏฐพงษ สายพิณ ส า ข า วิ ช า นิ เ ท ศ ศ า ส ต ร์ บู ร ณ า ก า ร ค ณ ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ โ จ้

กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ

- ขันตอนในการวางแผนการผลิ ้ ต - การประมาณราคาสิ่งพิมพ์ - บุคลากรในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ - ธุรกิจการพิมพ์ - กระบวนการวางแผนก่อนการผลิต(Prepress) - กระบวนการในขันตอนการผลิ ้ ต (Press) - กระบวนการในขันตอนหลั ้ งการพิมพ์(Afterpress) - การตรวจสอบไฟล์งาน - การเตรี ยมไฟล์สง่ โรงพิมพ์


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

2

ขัน้ ตอนในการวางแผนการผลิต ในการวางแผนเพื่อผลิตสื่อสิ่งพิมพ์นนั ้ จุดประสงค์หลักคือเพื่อให้ ทราบความต้ องการในการใช้ สิ่งพิมพ์นัน้ ๆ ควบคุม ต้ นทุนการผลิต สามารถผลิตเสร็ จทันเวลาและมีคุณภาพ นอกจากบุคลากรในองค์กรผลิตสื่อสิ่งพิมพ์แล้ ว นักออกแบบทํางาน ร่วมกับลูกค้ าเพื่อทําความเข้ าใจกับวัตถุประสงค์และเนื ้อหาที่ต้องการจะสื่อ นักออกแบบอาจต้ องค้ นหาข้ อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับผู้ดู หรื อกลุม่ เป้าหมาย เช่นลักษณะการดําเนินชีวิต มุมมอง ทัศนคติและความชอบ เมื่อสามารถกําหนดแนวคิดของการออกแบบแล้ ว กระบวนการร่างแบบจึงเริ่ มต้ นขึ ้น สามารถจัดลําดับขันตอนการออกแบบได้ ้ ดงั นี ้ 1. ศึกษากลุม่ เป้าหมาย การที่จะทําให้ งานออกแบบได้ รับความสนใจ ผู้ออกแบบควรจะสื่อในสิ่งที่ผ้ ดู เู ข้ าใจ สนใจหรื อชอบ ใจ จึงควรมีการศึกษาผู้ดกู ่อนเพื่อให้ งานออกแบบออกมาได้ โดนใจ 2. กําหนดวัตถุประสงค์ของงาน เมื่อทราบว่างานออกแบบน่าจะมีเนื ้อหาหรื อเรื่ องราวในแนวใด มีมโนทัศน์ (Concept) เป็ น อย่างไร การกําหนดวัตถุประสงค์ของงานนี ้ให้ ดูภาพรวมของโครงการทังหมดเพื ้ ่อการวางแบบจะได้ เป็ นไปในทิศทาง เดียวกันและสอดคล้ องกัน เช่น การทําแผ่นพับโฆษณาสินค้ าตัวหนึ่ง ให้ ดวู ่าสินค้ าตัวนันมี ้ มโนทัศน์ (Concept) อย่างไร รูปแบบ สีสนั ฯลฯ เป็ นอย่างไร ตลอดจนการทําสือ่ อื่น ๆ สําหรับสินค้ านี ้เป็ นอย่างไร 3. กําหนดลักษณะของงานให้ สอดคล้ องกับวัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ ตังแต่ ้ รูปแบบของสิ่งพิมพ์ เช่น เป็ นแผ่นพับ หรื อ โบร ชัวร์ หรื อ โปสเตอร์ หรื อมีจํานวนหน้ ามากๆ เช่น หนังสือพิมพ์ ฯลฯ วัสดุที่ใช้ สําหรับพิมพ์ การดําเนินเนื ้อเรื่ อง แนวภาพที่ จะนํามาประกอบ ลักษณะตัวอักษรที่ปรากฏ สีสนั ตลอดจนงบประมาณที่จะใช้ 4. เรี ยบเรี ยงเนื ้อหา หัวเรื่ องหลัก หัวเรื่ องรอง รวบรวมภาพประกอบ (หากมี) หรื อหาแนวลักษณะภาพที่ต้องการมาประกอบ ในชิ ้นงาน ภาพดังกล่าวอาจเป็ นภาพถ่าย ภาพกราฟิ ก 5. เลือกรูปแบบและการวางผัง (Layout) ที่เหมาะสมกับงาน 6. ทําการวางแบบเลย์เอาต์ นําส่วนประกอบต่างๆมาลองวางลงในหน้ ากระดาษ เพื่อดูว่ามีมากพอหรื อไม่ ต้ องการเพิ่มเติม ส่วนใด หรื อต้ องตัดอะไรออก ดูความเข้ ากันของส่วนประกอบทังหมดโดยใช้ ้ องค์ประกอบศิลปะช่วยในการจัด 7. ตรวจสอบแบบที่จดั ทําขึ ้นว่าตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ หรื อไม่ น่าสนใจเพียงใด ยังผลให้ โครงการประสบความสําเร็ จ เพียงใด ในงานประเภทบรรจุภณ ั ฑ์อาจมีการนําบรรจุภณ ั ฑ์ของคู่แข่งมาเปรี ยบเทียบดูจุดเด่นจุดด้ อย ในบางโครงการที่ สําคัญและใช้ งบประมาณสูงโดยเฉพาะงานที่มีผลทางการตลาด อาจต้ องทําการวิจยั ทดสอบปฏิกริ ยาที่มีตอ่ สิง่ พิมพ์นนั ้ ๆ 8. หนดลักษณะของส่วนประกอบต่างๆของงานที่เหมาะสม เช่น แบบ ขนาดของตัวอักษรที่ใช้ ในส่วนต่าง ๆ ของเนื ้อหา 9. ทําการถ่ายภาพต่าง ๆ ที่ใช้ ประกอบในชิ ้นงานหากยังไม่มีมาก่อน ซึ่งอาจต้ องอาศัยมืออาชีพพร้ อมอุปกรณ์การถ่ายภาพ ในการจัดทําเพื่อให้ ภาพที่ออกมาดูดีมีคณ ุ ภาพซึ่งจะยังผลให้ ชิ ้นงานประสบความสําเร็ จตามวัตถุประสงค์ หากต้ องใช้ ภาพที่ เ ป็ นภาพกราฟิ ก ก็ ใ ห้ ทํ า การสร้ างและตกแต่ ง ภาพขึ น้ ซึ่ ง ปั จจุ บั น ใช้ โปรแกรมกราฟิ ก เช่ น Adobe Photoshop, Illustrator ในการจัดทํา ในกรณีภาพถ่ายที่ได้ มาหากยังไม่สมบูรณ์ตามที่ต้องการ ก็ใช้ โปรแกรมกราฟิ กมา ตกแต่งเพิ่มเติมได้ เช่นกัน 10. การทําต้ นฉบับเหมือนพิมพ์ อาร์ ตเวิร์ก (artwork) นําแบบร่ างที่ลงตัวถูกต้ องแล้ ว มาทําให้ เป็ นขนาดเท่าของจริ ง ทังภาพ ้ และตั ว อั ก ษร ช่ อ งไฟ และงานกราฟิ กทุ ก อย่ า ง ซึ่ ง ปั จจุ บั น จะใช้ โปรแกรมจั ด ทํ า อาร์ ตเวิ ร์ กเช่ น Adobe Indesign, Illustrator เป็ นต้ น


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

3

11. ทําการตรวจทาน ดูความถูกต้ องของภาษา ความเหมาะสมของรูปภาพ และการจัดวาง 12. แก้ ไขรายละเอียดและปรับแต่งขันสุ ้ ดท้ าย นําส่งโรงพิมพ์เพื่อทําการจัดพิมพ์ตอ่ ไป อนึง่ เพื่อป้องกันปั ญหาในการจัดพิมพ์ที่ อาจเกิดจากการออกแบบ ผังแสดงขัน้ ตอนการจัดเตรียมและการวางแผนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์

ระดับบริหารที่เกี่ยวข้ องจัดประชุม เพื่อ ต้ นฉบับ

จัดเตรียม

จัดการ

ผู้เขียน/ผู้เรี ยบเรี ยง ผู้เขียน/ผู้เรี ยบเรี ยง

นําเข้ าปรึกษากับทางโรงพิมพ์ เพื่อสอบเปรี ยบเทียบราคา

ผู้เขียน/ผู้เรี ยบเรี ยง จัดหางบประมาณ ดําเนินการจัดจ้ าง และจัดพิมพ์

วางแผนการผลิต

กําหนดวันเวลาใช้ สอื่ กําหนดระยะเวลาใน การผลิตสือ่ ตังแต่ ้ การจัดเตรียมต้ นฉบับ ไปจนถึงการทํางาน ของโรงพิมพ์ กําหนดบุคลากร ผู้รวบรวมต้ นฉบับ ผู้ออกแบบ ผู้รับผิดชอบ ติดต่อประสานงาน กับโรงพิมพ์


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

4

การประมาณราคาสิ่งพิมพ์ หมายถึงการประมาณการใช้ จ่ายที่ต้องดําเนินการจัดทําสิง่ พิมพ์ตามที่ต้องการ โดยวิธีการคํานวณจากองค์ประกอบและ ปั จจัยต่างๆ ที่ใช้ ในกระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ให้ ออกมาใกล้ เคียงหรื อตรงกับความเป็ นจริ งมากที่สดุ (กฤษณ์ พลอยโสภณ : 2542) การประเมินราคา เป็ นการติดต่อ การเจรจากับลูกค้ า เกี่ยวกับการคํานวณค่าใช้ จ่ายในการพิมพ์ มีการเสนอราคาและการ ต่อรองเหมือนการซื ้อขายสินค้ าหรื อบริ การทั่วไป การประเมินราคามีผลกระทบต่อผลประโยชน์ของโรงพิมพ์และคุณภาพของ สิง่ พิมพ์ จึงควรคํานวณให้ พอเหมาะ พอดี ถ้ าประเมินราคาตํ่าเกินไป อาจจะไม่ค้ มุ ทุน และถ้ าเกินไป การว่าจ้ างอาจจะไม่เกิดหรื อ เกิดขึ ้นเพียงครัง้ เดียว ยิ่งถ้ าลูกค้ าทราบภายหลังว่าราคาสูงมากไป อาจจะทําให้ เกิดความรู้สกึ ที่ไม่ดีแก่โรงพิมพ์ได้ ผู้ประเมินราคาต้ องมีความรู้ ในกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ วัสดุ และอุปกรณ์ ต่างๆเป็ นอย่างดี ซึ่งเรี ยกรวมๆว่าทุน เช่น ราคาวัสดุอุปกรณ์ ในปั จจุบนั และอนาคตอันใกล้ (งานพิมพ์บางชิน้ ต้ องใช้ เวลาเป็ นเดือน ระหว่างนันราคาวั ้ สดุอาจขึ ้นทําให้ การ คํานวณคลาดเคลื่อน ค่าแรงเวลา ค่าสึกหรอของเครื่ องจักรกล กําไร แม้ ว่าการประเมินราคาสิ่งพิมพ์จะพิจารณาจากต้ นฉบับ สิง่ พิมพ์ ก็ควรจะประเมินราคาอย่างมีกฏเกณฑ์ อย่าประเมินราคาโดยการเดา หรื อเพียงเพื่อให้ ได้ งาน ผลที่ตามมาจะได้ ไม่ค้ มุ เสีย ข้ อคํานึงในการประเมินราคางานพิมพ์ (มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.2530 : 351) 1. ราคาที่ประเมินต้ องขึ ้นอยูก่ บั สภาพที่เป็ นจริ ง และค่าใช้ จ่ายอื่นๆที่สมเหตุสมผล จะทําให้ เกิดการผิดพลาดน้ อยที่สดุ 2. ราคาที่เสนอต่อลูกค้ าต้ องรวมกําไรที่เหมาะสม ต้ องครอบคลุมถึงผลประโยชน์ที่ได้ รับจากการลงทุนด้ วย จะมากหรื อ น้ อยเพียงใดควรกําหนดเป็ นนโยบายของบริ ษัทซึง่ จะทําให้ เป็ นแนวทางการปฏิบตั ิได้ อย่างถูกต้ อง 3. วิธีการประเมินราคาต้ องเชื่อถือได้ มีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน การเปลี่ยนแปลงราคาที่นําเสนอโดยไม่สมเหตุสมผล จะทํา ให้ ลกู ค้ าเกิดความสงสัย ไม่แน่ใจว่าเป็ นราคาที่เหมาะสมหรื อไม่จนอาจทําให้ เกิดเป็ นผลเสียหายและการไม่จ้างงานได้ ตัวอย่ างการประเมินราคา ต้ องการพิมพ์หนังสือหนา 48 หน้ า (6ยก) ขนาด 8 หน้ ายกพิเศษ เข้ าเล่มไสกาว 1,000 เล่ม • ค่าเรียงพิมพ์ยกละ 500 บาท จํานวน 6 ยก เป็ นเงิน 3,000 บาท • ค่าจัดอาร์ ตเวิร์กยกละ 400 บาท จํานวน 6 ยก เป็ นเงิน 2,400 บาท • ค่าทําเพลท แม่พิมพ์กะ 500บาท จํานวน 6 ยก เป็ นเงิน 3,000 บาท • ค่าพิมพ์ยกละ 600 บาท จํานวน 6 ยก เป็ นเงิน 3,600 บาท • ค่าเข้ าเล่มไสกาวเล่มละ 1 บาท เป็ นเงิน 1,000 บาท • ค่ากระดาษ (คํานวณเป็ นรี ม) 20,000 บาท • บวกกําไร 10% (3,000) รวมเป็ นเงินทังสิ ้ ้น 36,000 บาท สรุ ป ธุรกิจการพิมพ์ในประเทศไทยเป็ นทังธุ ้ รกิจการผลิตและการบริ การที่มีรายได้ ดีพอสมควร ทําให้ มีการพัฒนาระบบการพิมพ์ วัสดุอปุ กรณ์ และเครื่ องมือต่างๆจนเป็ นที่ยอมรับของนานาประเทศ ธุรกิจการพิมพ์มีหลายประเภท เช่น การผลิตหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ การจัดทําต้ นฉบับ (เป็ นหน้ าที่โดยตรงของนัก ออกแบบนิเทศศิลป์) การทําแม่พิมพ์ โรงพิมพ์ซึ ้งต้ องมีการประเมินราคา โดยควรจะประเมินราคาตามสภาพที่เป็ นจริ ง มีระบบหรื อ วิธีการประเมินราคาที่เหมาะสม และมีผลกําไรพอที่จะทําให้ เจริ ญเติบโตหรื อสามารถดําเนินงานต่อไปได้


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

5

บุคลากรในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ การวางแผนเพื่อการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์จะสําเร็ จและมีคุณภาพตามที่ผ้ ผู ลิตต้ องการได้ นนั ้ ยังขึ ้นกับองค์ประกอบในด้ าน บุคลากรที่เกี่ยวข้ องกับการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ 2 กลุม่ ด้ วยกัน (บุญชัย วลีธรชีพสวัสดิ์ : 2542) คือ 1. ผู้บริ หาร หรื อ ผู้มีอํานาจสัง่ การ 2. ผู้ปฏิบตั ิงาน หรื อ ผู้รับคําสัง่ คุณสมบัติของผู้บริ หารในการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ 1. มีประสบการณ์ในงานด้ านสือ่ สิง่ พิมพ์ไม่มากก็น้อย 2. มีการวางแผนการทํางานที่ดี 3. มีวิสยั ทัศน์ทดี่ ีในการเลือกใช้ บคุ ลากรเพื่อรับผิดชอบงาน 4. รู้จกั เหตุและผล มีจดุ ยืนอยูก่ บั ความเป็ นจริ ง มิใช่การคาดคะเน 5. เป็ นผู้พดู หรื อผู้สงั่ งานทีด่ ี พร้ อมกับเป็ นผู้ฟังที่ดี หากมีข้อโต้ แย้ งหรือสะท้ อนจากผู้รับคําสัง่ คุณสมบัติของผู้ปฏิบตั งิ านในการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ 1. มีความรู้และประสบการณ์ในงานที่ตวั เองรับผิดชอบดีพอ 2. มีความละเอียด รอบคอบ รู้จกั วางขันตอนในการทํ ้ างานที่ถกู ต้ อง รับผิดชอบ 3. ซื่อสัตย์ 4. เป็ นผู้รับฟั งคําสัง่ ทีด่ ี มีเหตุผล รู้จกั กาลเทศะในการที่จะโต้ แย้ ง มีมารยาทและวาจาที่สภุ าพ

ธุรกิจการพิมพ์ ธุรกิจการพิมพ์ เป็ นทังธุ ้ รกิจการผลิต การจัดการและการบริ การควบคู่กนั ไป ในสมัยก่อน การพิมพ์เป็ นธุรกิจขนาดเล็ก ดําเนินการโดยเจ้ าของคนเดียว คนกลุ่มเดียว เป็ นธุรกิจในครอบครัว เจ้ าของมักจะดําเนินการทุกขันตอนด้ ้ วยตนเอง ต่อมาเมื่อ วิทยาการและเทคโนโลยีทางการพิมพ์เจริ ญก้ วหน้ ามากขึ ้น ธุรกิจการพิมพ์ก็คอ่ ยๆเปลีย่ นแปลงไป ขยายตัวออกไป การจัดการพิมพ์ ในยุคใหม่เป็ นเรื่ องญแพาะเจาะจง จึงมักพบว่า ผู้ที่ร้ ูวิชาการพิมพ์ แต่ไม่ร้ ูวิชาด้ านการจัดการ หรื อมีความรู้ ทางด้ านการจัดการแต่ ขาดความรู้ทางด้ านกระบวนการพิมพ์(กําธร สถิรกุล 2530 : 2)

งานพิมพ์ในปั จจุบนั ได้ รับการพัฒนาก้ าวหน้ าขึ ้นอย่างมาก นับเป็ นธุรกิจที่นา่ สนใจ และมีหลายระดับ ตังแต่ ้ ดําเนินการทุก อย่างตังแต่ ้ เริ่ มต้ นจนสําเร็ จด้ วยตนเอง จนถึงดําเนินการเป็ นกลุม่ เป็ นห้ างหุ้นส่วน เป็ นบริ ษัท ดําเนินการด้ วยเครื่ องจักร เครื่ องมือ ต่างๆ เช่น สํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ ร้ านทําเพลทแม่พิมพ์ เข้ าเล่มไสกาว จนปั จจุบนั นับได้ ว่า สิ่งพิมพ์เป็ นส่วนหนึ่งของการดําเนินชีวิต ในสังคม สิ่งพิมพ์เป็ นสิ่งสําคัญสิ่งหนึ่งที่แทรกอยู่ทุกวงการ ทังด้ ้ านวิชาการ เป็ นเอกสารตํารารวบรวมความรู้ ในสาขาต่างๆ การ บันเทิง การส่งเสริ มธุรกิจการค้ า และการเกษตรต่างๆ ซึง่ มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม การเมืองการปกครอง จนทําให้ ธุรกิจ สิง่ พิมพ์ขยายตัวมากขึ ้นเพื่อสนองตอบความเปลีย่ นแปลงของสังคม นอกจากนี ้ผลประโยชน์ทางอ้ อมอันเนื่องมาจากการพิมพ์ เช่น การโฆษณาในสิ่ง พิ ม พ์ นับ เป็ นรายได้ ที่ ดี ซึ่ ง ในบางครั ง้ กลายเป็ นรายได้ ห ลัก ที่ ห ล่อ เลี ย้ งสิ่ ง พิ ม พ์ นัน้ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง หนังสือพิมพ์รายวันบางฉบับมีรายได้ เฉลีย่ วันละ 10 ล้ านบาท (ยังไม่ได้ หกั ค่าใช้ จ่ายอื่นๆ)


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

6

บทบาทของสิง่ พิมพ์ดงั กล่าว ทําให้ มีการศึกษาค้ นคว้ า พัฒนา สิง่ พิมพ์ ระบบและเครื่ องพิมพ์ อุปกรณ์ รวมทัง้ เทคโนโลยี การพิมพ์ตา่ งๆ ทังที ้ ่นําเข้ าและสร้ างขึ ้นใช้ เองภายในประเทศ ( โรงพิมพ์ขององค์การค้ าคุรุสภา สามารถสร้ างเครื่ องพิมพ์ออฟเซท 4 - 5 สี ขึ ้น มีราคาถูกและใช้ งานได้ ดีมาจนปั จจุบนั ) นอกจากนี ้กระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์ ยังสามารถแยกเป็ นธุรกิจย่อยๆได้ อีก เช่น การหล่อตัวเรี ยง การจัดหน้ าทําต้ นฉบับสิ่งพิมพ์ การทําตัวเรี ยงจากเครื่ องคอมพิวเตอร์ การทําเพลท ทําแม่พิมพ์ สํานักพิมพ์ การ เข้ าเล่มสําเร็ จ การอาบมัน การอาบยูวี สายส่งและการจัดจําหน่าย เป็ นต้ น ประเภทต่ างๆของธุรกิจการพิมพ์ การผลิตสิง่ พิมพ์ ส่วนใหญ่จะทํารวมกันไป ทังนี ้ ้เพราะแท่นพิมพ์มีประสิทธิภาพสูง สามารถพิมพ์งานได้ หลายๆอย่าง อัน เป็ นการใช้ แท่นพิมพ์ให้ ได้ ประโยชน์สงู สุด เพื่อการศึกษาธุรกิจการพิมพ์ จะขอกล่าวแยกออกดังนี ้ 1. การผลิตหนังสือ เป็ นการผลิตหนังสือทัว่ ไป หนังสือประกอบการเรี ยนการสอน เกสารตํารา เป็ นหลัก และมักจะดําเนินการ ควบคูไ่ ปกับการจัดจําหน่าย เช่น บริ ษัทไทยวัฒนาพานิช ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และองค์การค้ าคุรุสภา เป็ นต้ น 2. การผลิตวารสาร นิตยสารต่ างๆ ปั จจุบนั มีวารสาร และนิตยสารออกวางตลาดมากมาย เป็ นที่นิยมอ่านของประชาชนทัว่ ไป จึงทําให้ ธุรกิจด้ านนี ้เกิดขึ ้น โดยเฉพาะมีสาํ นักพิมพ์ มีกองบรรณาธิการ มีการหาข่าว ถ่ายภาพ หาข้ อมูล มีนกั เขียนประจํา ทําให้ มี หลายเรื่ องหลายรส มีทงที ั ้ ่จําหน่าย เช่น โลกบันเทิง คู่สร้ างคู่สม แพรว ฯลฯ และแจกฟรี เช่น นิตยสารเซ้ ลทรัล พรี เมี่ย (Central Premiore) และมีเดีย ทีวีไกด์ (Media T.V. Guide) เป็ นต้ น 3. การผลิตหนังสือพิมพ์ เป็ นธุรกิจขนาดใหญ่ เช่น หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ และหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ เป็ นต้ น ธุรกิจสิง่ พิมพ์ประเภทนี ้มีผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่า แต่จะต้ องมีการจัดการและการบริ หารงานที่ดี เพราะมีขนตอนการผลิ ั้ ตมาก และส่วนใหญ่จะดําเนินการแบบครบวงจร ตังแต่ ้ การหาข่าว การหาข้ อมูลต่างๆ การจัดทําต้ นฉบับ การพิมพ์และการจัดจําหน่าย นอกจากนี ้หนังสือพิมพ์หลายฉบับยังสามารถสร้ างธุรกิจย่อยในเครื อได้ อีกด้ วย เช่น ธุรกิจการโฆษณาในหน้ าหนังสือพิมพ์ นิตยสาร วิเคราะห์ขา่ ว สัปดาห์วิจารณ์ และสือ่ โฆษณาอื่นๆเป็ นต้ น 4. การจัดทําต้ นฉบับ เป็ นธุรกิจที่เกี่ยวข้ องโดยตรงกับนักออกแบบนิเทศศิลป์มากที่สดุ สามารถดําเนินการด้ วยตนเองโดยทําเป็ น ธุรกิจส่วนตัว หรื อรับงานเป็ นครัง้ คราวได้ หรื อจะเป็ นส่วนหนึง่ อยูใ่ นสถานประกอบการต่างๆได้ ยิ่งปั จจุบนั มีเครื่ องมือใหม่ๆ ช่วยใน การจัดทําต้ นฉบับสิ่งพิมพ์ทําให้ สะดวกและรวดเร็ วขึ ้นมาก การรับจัดทําต้ นฉบับนี ้ ทักษะฝี มือ ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา ของนักออกแบบ เป็ นสิง่ ที่ทําให้ ลกู ค้ าเชื่อถือ ซึง่ มีผลต่องานชิ ้นต่อไปแลพเมื่อลูกค้ าเชื่อใจ อาจจะมอบหมายให้ ดําเนินการจนครบ วงจร โดยให้ ติดต่อกับร้ านเพลท โดรงพิมพ์ (หลังจากได้ จดั ทําต้ นฉบับเรี ยบร้ อยแล้ ว) 5. โรงพิมพ ◌์ เป็ นองค์ประกอบที่สําคัญในการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ทําให้ สิ่งพิมพ์ที่ออกแบบไว้ มีจํานวนมากขึ ้น โรงพิมพ์เป็ นสถาน ประกอบการที่ใช้ เครื่ องจักร เครื่ องมือ และวัสดุตา่ งๆซึง่ ต้ องลงทุนสูง คุณภาพของสิง่ พิมพ์ขึ ้นอยู่กบั การจัดหาโรงพิมพ์ซึ่งนับว่าเป้น เรื่ องที่สาํ คัญมาก ข้ อคํานึงบางประการในการตัดสินใจเลือกโรงพิมพ์ 5.1 พิจารณาเรื่ องราคา ควรสืบราคาประมาณ 3 แห่ง แล้ วเลือกเอาราคาที่เหมาะสม กับงบประมาณที่สดุ 5.2 ควรติดต่อกับโรงพิมพ์ ผู้จดั การ ด้ วยตนเอง เพื่อรู้จกั คุ้นเคย ซึง่ มีผลต่อความรับผิดชอบในการจัดพิมพ์ 5.3 พิจารณาลักษณะงาน เครื่ องหรื อแท่นพิมพ์ และความเป็ นระเบียบของโรงพิมพ์ เช่น งานพิมพ์ 4 สี ควรพิมพ์กบั โรง


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

7

พิมพ์ที่มีแท่น 4 สี หรื ออย่างน้ อยแท่นสองสี เพื่อกระดาษจะได้ ไม่ชํ ้า หรื อเกิดการเหลือ่ มสีขึ ้น 5.4 พิจารณาที่ตงและการเดิ ั้ นทาง เพราะการติดต่อกับโรงพิมพ์จะต้ องไปหลายครัง้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ ว (การติดต่อ ด้ วยโทรศัพท์แก้ ปัญหาได้ เพียงระดับหนึง่ เท่านัน) ้ 5.5 ดูผลงานที่ได้ พิมพ์ไปแล้ วของโรงพิมพ์ การจัดระบบงาน การแบ่งงาน บรรยากาศของโรงพิมพ์ และความเป็ นระเบียบ เรี ยบร้ อยของห้ องปฏิบตั ิการพิมพ์ต่างๆ สิ่งเหล่านี ้ เป็ นส่วนหนึ่งที่ทําให้ ลกู ค้ าคาดการได้ ว่า ผลงานที่จะจ้ างพิมพ์จะต้ อง ออกมาดีมีคณ ุ ภาพ ในกรณีที่เป็ นสิง่ พิมพ์ประเภทหนังสือ เอกสารตําราต่างๆ มีแนวทางในการดําเนินการจัดพิมพ์ดงั นี ้ การจัดพิมพ์เอง เป็ นการดําเนินการติดต่อกับโรงพิมพ์และจัดจําหน่ายเอง การจัดพิมพ์ในลักษณะนี ้เหมาะกับผู้ที่มีเงินทุน เป็ นของตัวเอง ทําให้ ราคาขายไม่สงู นัก ถ้ ามีตลาดที่สามารถจะจําหน่ายได้ หมดในระยะเวลาสัน้ จะทําให้ ได้ กําไรสูง ถ้ าใช้ เวลาใน การจําหน่ายหนังสือนานจะทําให้ รายได้ กระจาย ดังนันผู ้ ้ จดั พิมพ์ต้องมีระบบการจัดเก็บดีจะคุ้มกับทุนที่ลงไป การขายลิขสิทธิ์หนังสือ เป็ นการดําเนินการติดต่อกับสํานักพิมพ์ตา่ งๆ ที่ทําธุรกิจด้ านนี ้ เช่น โอเดียนสโตร์ รวมสาสน์ แพร่ พิทยา ดี.ดี.บุ๊คสโตร์ เป็ นต้ น การจัดจัดพิมพ์ลกั ษระนี ้จะได้ คา่ ตอบแทนเป็ นก้ อนโดยไม่ต้องลงทุนด้ วยเงินตนเอง ไม่ต้องจัดจําหน่าย เพียงแต่นําเสนอต้ นฉบับต่อสํานักพิมพ์ที่มีนโยบายทางด้ านี ้ โดยเฉพาะนักเขียนที่มีชื่อเสียง ติดตลาด สํานักพิมพ์อาจจะนําเงินสด มาให้ ถึงบ้ านก็มี บางครัง้ อาจจะได้ รับค่าตอบแทนเป็ นเปอร์ เซนต์จากราคาหน้ าปก และจํานวนพิมพ์ ตามที่ตกลงกัน แต่ที่ใช้ กนั ใน ปั จจุบนั คือ ถ้ าเป็ นนักเขียนจะได้ รับประมาณ 13 - 15 เปอร์ เซนต์ ถ้ าเป็ นนักเขียนหน้ าใหม่จะได้ รับประมาณ 10 -12 เปอร์ เซนต์ และมีระยะเวลาการจ่ายค่าลิขสิทธิ์ตามที่ตกลงกัน 6. ธุรกิจการทําแม่ พิมพ์ เป็ นธุรกิจที่ต้องใช้ ผ้ ทู ี่ชํานาญการเฉพาะด้ านนี ้ร่วมมือ ที่นบั วันจะพัฒนาขึ ้นเรื่ อย ๆ แต่ก่อนใช้ วิธีแกะไม้ ทําแม่พิมพ์ ต่อมามีการหล่อตัวพิมพ์ การทําบล็อก มีการทําแม่พิมพ์ พื ้นราบ แม่พิมพ์ร่องลึก การทําแม่พิมพ์ สอดสีด้วยระบบ Convention Masking Method การถ่ายฟิ ล์มแยกสีด้วยกล้ องโปรเซส ปั จจุบนั มีการแยกสีด้วยเครื่ องสแกนเนอร์ แทนที่เคยแยกสี ด้ วยมือหรื อฟิ ลเตอร์ ช่วยสามารถทํางานได้ สะดวก รวดเร็ ว และเที่ยงตรงขึ ้น จนทําให้ ได้ งานพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพ แต่ราคาต้ นทุนหรื อ ราคาเครื่ องมือการผลิตก็สงู ขึ ้น ( น่าภูมิใจที่ธุรกิจการทําแม่พิมพ์ในประเทศไทยได้ มาตรฐานสากล ดังจะเห็นได้ วา่ มีร้านทําแม่พิมพ์ หลายแห่งใน กทม.สามารถ รับทําแม่พิมพ์จากต่างประเทศได้ ) 7. ธุรกิจการทํารูปเล่ มสําเร็จ เป็ นธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการผลิตสิ่งพิมพ์มีหลายประเภท เช่น การเข้ าเล่มหนังสือ (เย็บกลาง เข้ า สัน เข้ าเล่มไสกาว การเย็บกี่) ธุรกิจดังกล่าวจะต้ องมีเครื่ องมือโดยเฉพาะและต้ องใช้ พื ้นที่พอสมควร จึงทําให้ โรงพิมพ์สว่ นใหญ่ไม่ ดําเนินการเองแต่จะรับเป็ นผู้ประสานงานให้ ครบวงจร นอกจากนี ้การอาบมัน การปั ม้ ทอง ไดคัท ก็สามารถทําเป็ นธุรกิจได้ ซึ่งมี ค่าตอบแทนสูง และมีงานทําตลอด 8. ธุรกิจการจัดจําหน่ าย ส่วนใหญ่จะเป็ นสิ่งพิมพ์ปรพเภทหนังสือ วารสาร และนิตยสารทัว่ ไป การจัดจําหน่ายมีตงแต่ ั ้ ร้านค้ า ขนาดเล็ก (ขายปลีก) แพงลอย ไปจนถึงร้ านค้ าขนาดใหญ่หรื อที่จัดเป็ นสายส่งก็มี เช่น ศูนย์หนังสือกรุ งเทพ ศึกสิตสยาม ศูนย์ หนังสือจุฬาลงกรณ์และเคล็ดไทย เป็ นต้ น เป็ นธุรกิจที่ไม่ต้องลงทุนมากนัก โดยนําหนังสือไปวางตามร้ านที่อยูใ่ นเคลือเดียวกัน แล้ ว หักเปอร์ เซนต์จากราคาขาย เช่น ใช้ บริ การของสายส่งจะคิด 30 - 70 เปอเซนต์ ร้ านค้ าปลีกจะคิด 20 - 25 เปอร์ เซนต์ จากราคา หน้ าปก


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

8

ปั จจัยสําคัญในการประกอบธุรกิจการพิมพ์คือ ต้ นทุนและกําไร ถ้ ามีการจัดการที่ดีมีการประเมินต้ นทุน ประเมินราคา ค่าแรง อย่างถูกต้ อง แม่นยํา ก็สามารถกําหนดกําไรได้ ต้นทุนการผลิตในธุรกิจการพิมพ์มี 2 ลักษระคือ ต้ นทุนที่เป็ นวัสดุสงิ่ ของ เช่น แท่นพิมพ์ แม่พิมพ์ กระดาษหมึกพิมพ์ และอุปกรณืต่างๆที่สามารถประเมินราคาต่อหน่วยได้ และต้ นทุนที่เป็ นค่าสึกหรอ ค่าดูแล ค่าควบคุม ค่าบํารุงรักษาซึง่ ไม่สามารถตีราคาต่อหน่วยได้ การประเมินราคาควรนําต้ นทุนทังสองมารวมกั ้ นด้ วย ในส่วนของลูกค้ า การคิดราคาสิ่งพิมพ์ทําได้ ทงก่ ั ้ อนพิมพ์โดยการประเมินราคากว้ างๆ การเสนอราคา ลูกค้ าสามารถต่อรองได้ ถ้ าเห็นว่าราคาสูง เกินไปไม่เหมาะสมอาจจะไม่ตกลงก็ได้ ส่วนการคิดราคาการโฆษณาในหน้ าหนังสือพิมพ์ เป็ นการคิดค่าใช้ จ่ายในการพิมพ์ต่อรอง ได้ น้อยหรื อไม่ได้ เลย อย่างไรก็ตามการดําเนินธุรกิจการพิมพ์ในปั จจุบนั มีการแข่งขันกันอย่างกว้ าขวางมากขึ ้นทุกวัน จึงต้ องมีการวางแผน เพื่อกําหนดแนวทางในการดําเนินการ ให้ ได้ มาซึง่ ความมัน่ คงความก้ าวหน้ า ข้ อคํานึงต่อไปนี ้เป็ นพื ้นฐานในการดําเนินธุรกิจทัว่ ไป 1. ความอยู่รอด (Surviva ) หมายถึงการดําเนินธุรกิจหรื อการลงทุน ต้ องมีผลตอบแทนที่ค้ มุ ค่า เพื่อที่จะดําเนินการ ต่อไปได้ 2. ควรมีกาํ ไร (Profit ) หมายถึงการจัดการ และระบบการจัดการที่ดี จนทําให้ ได้ กําไรและนํามาใช้ จ่าย หมุนเวียน ทําให้ เกิดกําลังใจและแรงจูงใจในการทํางาน 3. การเจริญเติบโต (Growth ) หมายถึง การดําเนินธุรกิจไประยะหนึง่ แล้ วประสบผลสําเร็ จ มีผลกําไรหรื อค่าตอบแทน ที่ค้ มุ ทุน ก็จะส่งผลให้ ธุรกิจขยายตัวมากขึ ้น สามารถผลิตสินค้ าหรื อบริ การเพิ่มมากขึ ้น มีฐานะทางการเงินหรื อทรัพย์สินของบริ ษัท เพิ่มมากขึ ้น 4. การรั บผิดชอบต่ อสังคม (Social Responsibiliy) หมายถึงการกําหนดวัตถุประสงค์หรื อแนวคิดของธุรกิจ ต้ องมี ความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ ความเป็ นธรรมต่อลูกค้ า และผู้บริ โภค มีความรับผิดชอบต่อสินค้ าหรื อบริ การที่ผลิตขึ ้น รับผิดชอบต่อ สภาพแวดล้ อม ไม่ขดั กับกฏหมายศีลธรรม และจารี ตประเพณีของสังคม (นันทา วิทวุฒิศกั ดิ์ 2537 : 180) กระบวนการวางแผนก่ อนการผลิต (Prepress) การผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์สามารถจัดลําดับได้ เป็ นขันตอนหรื ้ อ “กระบวนการ” ให้ เห็นภาพได้ ตงแต่ ั ้ เริ่ มต้ นทํางาน จนสําเร็จให้ ชัดเจนยิ่งขึ ้นได้ ซึง่ คําว่า “กระบวนการ” พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ให้ ความหมายว่า “กรรมวิธี หรื อลําดับการ กระทําซึง่ ดําเนินต่อเนื่องกันไปจนสําเร็ จลง ณ ระดับหนึง่ ” มาจากคําภาษาอังกฤษว่า “process” ขันตอนหลั ้ กๆ ในการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ที่ครอบคลุมทุกกกระบวนการ อาจแบ่งได้ เป็ น 4 ขันตอน ้ ได้ แก่ 1. ขันตอนการวางแผนออกแบบและกํ ้ าหนดแนวคิดในการจัดทํา (Pre-prepress) คือ ขันตอนการออกแบบและการวางแผน ้ ในการผลิต ซึ่งต้ องพิจารณาถึงวัตถุประสงค์ในการใช้ งาน งบประมาณ รู ปร่ าง ขนาด องค์ ประกอบของสื่อสิ่งพิมพ์ วัสดุที่ใช้ ในการพิมพ์ รวมทังต้ ้ นฉบับ 2. ขันตอนการเตรี ้ ยมต้ นฉบับเพื่อการพิมพ์ (Prepress) คือ การจัดเตรี ยมต้ นฉบับทังหมดเพื ้ ่อนําไปถ่ายทอดเป็ นแม่พิมพ์ 3. ขันตอนการพิ ้ มพ์ (Press) คือ การพิมพ์หมึกจากแม่พิมพ์ลงบนกระดาษด้ วยเครื่ องพิมพ์ 4. ขัน้ ตอนหลังการพิมพ์ (Afterpress) คือ กระบวนการหลังการพิมพ์ เพื่ อให้ ได้ สื่อสิ่งพิมพ์ ที่สําเร็ จรู ปตามที่ออกแบบ หรื อกําหนดไว้ ได้ แก่ กิจกรรมที่เกี่ยวกับ การตัด/เจียน การพับ การเก็บเล่ม การทําเล่ม การเจียนเล่ม เป็ นต้ น ในขันตอนการวางแผนการออกแบบและกํ ้ าหนดแนวคิดในการจัดทํา (pre-prepress) นัน้ เป็ นขันตอนแรกของ ้ การจัดทํา สื่อสิ่งพิมพ์ และเป็ นกิจกรรมในลักษณะการวางแผนการทํางาน (Planning) และการกําหนดแนวคิด (Concept)ของสื่อสิ่งพิมพ์


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

9

ซึง่ ใช้ ความรู้และความเข้ าใจในหลักวิชาการวารสารศาสตร์ (Journalism) เป็ นสําคัญ ซึง่ แตกต่างจากขันตอนต่ ้ อๆ มา ที่เน้ นทักษะ และเทคนิคที่เกี่ยวข้ องกับหลักวิชาเทคโนโลยีทางการพิมพ์ (printing Technology) ในกระบวนการผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ ซึง่ ในที่นี ้หมายรวมถึงการผลิตหนังสือพิมพ์ที่ซึ่งเน้ นถึงกระบวนการผลิตเป็ นสําคัญที่เป็ น ขันตอนใหญ่ ้ ๆ 3 ขันตอน ้ คือ กระบวนการวางแผนก่อนการผลิต กระบวนการในขันตอนการผลิ ้ ต และกระบวนการหลังการผลิต โดยจะกล่าวถึงต่อไป การจัดทํ าหนังสือพิม พ์ หรื อสิ่งพิม พ์ ใดๆ ก็ ตาม ก่ อนอื่ นผู้จัดทํ าจํ า เป็ นต้ อ งพิจ ารณาเลือกระบบการพิ มพ์ ใ ห้ ถูก ต้ อ ง เหมาะสมกับลักณะงานที่จะพิมพ์ เพราะจะทําให้ สะวก ประหยัด และรวดเร็ วยิ่งขึ ้น การเลือกใช้ วสั ดุการพิมพ์ เช่น กระดาษปก กระดาษเนื อ้ ใน หรื อ วิ ธี ก ารเข้ า เล่ม ก็ มี ค วามสํา คัญ เช่ น เดี ย วกัน นอกจากนี ย้ ัง ควรมี ค วามรู้ เกี่ ย วกับ การจัด เตรี ย มต้ น ฉบับ การจั ด ทํ า อาร์ ต เวิ ร์ ก และการประเมิ น ราคาสิ่ ง พิ ม พ์ บ้ างพอสมควร เพื่ อ ให้ สามารถติ ด ต่ อ กั บ โรงพิ ม พ์ ไ ด้ อย่ า งสะดวก และรวดเร็ วถูกต้ องยิ่งขึ ้น การวางแผนการผลิต การออกแบบสิ่ง พิ ม พ์ จํ า เป็ นต้ อ งคํ า นึง ถึ ง ขัน้ ตอนการผลิ ต ทัง้ หมด เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บัติ ง านในแต่ ล ะขัน้ ตอนสอดคล้ อ ง และดํ า เนิ น ไปได้ อย่ า งถู ก ต้ อง มี ก ารสื่ อ ความหมายและความเข้ าใจที่ ต รงกั น ทํ า ให้ การปฏิ บั ติ ง านไม่ ผิ ด พลาด หรื อ เกิดการผิดพลาดน้ อยที่สดุ การเตรียมต้ นฉบับ ต้ นฉบับ (Menuscript) เป็ นหัวใจสําคัญของการจัดพิมพ์งานต่างๆ เพราะเป็ นสิ่งสําคัญที่จะทําให้ หนังสือพิมพ์หรื อสิ่งพิมพ์ ออกมาถูกต้ อง สวยงาม เรี ยบร้ อยหรื อไม่ ต้ นฉบับที่เป็ นต้ นเรื่ องที่ผ้ ูเขียนเขียนขึ ้น อาจอยู่ในรู ปของลายมือหรื อพิมพ์ เป็ นไฟล์ ด้ วยโปรแกรมจัดการตัวอักษรก็ ได้ ต้ นฉบับที่เป็ นต้ นเรื่ องนี ้ หากจะส่งโรงพิมพ์เพื่อจัดพิมพ์แล้ วควรเป็ นต้ นฉบับที่ได้ ตรวจทาน ความถูกต้ องเรี ยบร้ อยแล้ ว เพื่อจะได้ ไม่มีการแก้ ไขอีกเโดยเฉพาะอย่างยิ่งคําศัพท์ที่เป็ นคําเฉพาะต่างๆ ที่ไม่ได้ ใช้ กันโดยทัว่ ไป ถ้ าต้ นฉบับเรี ยบร้ อยถูกต้ อง งานพิมพ์จะรวดเร็ วถูกต้ อง และประหยัด (วันชัย ศิริชนะ : 2536, หน้ า 4) การแก้ ไขเพิ่มเติมตัดทอนข้ อความในต้ นฉบับภายหลังจากส่งเรี ยงพิมพ์แล้ วเป็ นสิง่ ที่ไม่สมควรทําอย่างยิ่ง เพราะจะทําให้ ลา่ ช้ า เพิ่มค่าใช้ จ่าย และผิดพลาดได้ ง่าย ยกเว้ น กรณีที่จําเป็ นจริ งๆ เท่านัน้ ตารางแสดงข้ อดีข้อเสียของการเตรียมต้ นฉบับด้ วยคอมพิวเตอร์ • • • • • • • •

ข้ อดี การทํางานสะดวก รวดเร็ ว งานที่ได้ มีความประณีต เรี ยบร้ อย สวยงาม การแก้ ไขหรื อทําซํ ้า สามารถทําได้ งา่ ย ข้ อมูลที่ทําเสร็ จแล้ วสามารถเก็บไว้ ใช้ ได้ อีก ประหยัดการใช้ วสั ดุตา่ งๆ ลงมาก ประหยัดพื ้นที่ในการทํางานและพื ้นที่เก็บฟิ ล์ม มีความยืดหยุน่ ในการทํางานสูง มีอปุ กรณ์เสริ ม มากมาย ข้ อมูลที่จดั ทําไว้ สามารถนําไปใช้ ประโยชน์ตอ่ ไปได้ อย่างกว้ างขวาง

• • • • •

ข้ อเสีย ต้ องอาศัยเครื่ องมีเครื่ องจักที่มีราคาแพง ต้ องใช้ บคุ ลากรที่มีความสามารถมากขึ ้น ข้ อมูลมีโอกาสสูญหายหรื อเสียหายได้ อาจเกิดปั ญหาระบบคอมพิวเตอร์ ขดั ข้ อง ก า ร จั ด ก า ร ข้ อ มู ล มี ค ว า ม ส ลั บ ซั บ ซ้ อ น ม า ก ก ว่ า ต้ องเรี ยนรู้มากขึ ้น

ที �มา : บุญชัย วลี ธ รชี พ สวัสดิ� , เอกสารประกอบการสัม มนาเรื � อง “การจัดเตรี ยมและการวางแผนเพื �อผลิ ต สื �อสิ� งพิ ม พ์ ” . สํานักส่งเสริ มและฝึ กอบรมมหาวิ ทยาลัยเกษตรศาสตร์ , 24 มี นาคม 2542.


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

10

สําหรั บต้ นฉบับที่เป็ นภาพถ่ายกราฟ แผนผัง หรื ออื่นๆ นัน้ ควรจัดหาหรื อจัดทําให้ พร้ อม และตรวจทานให้ เรี ยบร้ อย ไม่ควรหวังว่าโรงพิมพ์จะทําให้ ได้ ทกุ อย่าง องค์ ประกอบที่เกี่ยวข้ องกับต้ นฉบับ การสร้ างต้ นฉบับ ที่ ส มบูร ณ์ แ ละมี คุ ณ ภาพจะช่ ว ยทํ า ให้ ประหยัด เวลาและค่ า ใช้ จ่ า ย และรั ก ษาระดับ คุ ณ ภาพ ได้ เป็ นอย่างดี (วิชยั พยักฆโส : หน้ า 60-62) ซึง่ ต้ นฉบับโดยทัว่ ไปจะประกอบด้ วย 3 ส่วน คือ เนื ้อหา, ปก และภาพ 1. ต้ นฉบับส่ วนเนือ้ หา ควรมีลกั ษณะดังนี ้ 1.1. สมบูรณ์ และถูกต้ อง หมายถึง มีเนื ้อหาครบถ้ วนสมบูรณ์ ไม่ต้องเพิ่มเติมและแก้ ไขอีก อักขระถูกต้ องตาม พจนานุกรมหรื อ ตามหลักภาษาที่ ถูก ต้ อ ง ทัง้ นีเ้ พื่ อช่ วยในการคํ า นวณราคา และความหนาของสิ่งพิ ม พ์ ได้ ถกู ต้ อง 1.2. ชั ด เจน ได้ ม าตรฐาน หมายถึ ง ควรกํ า หนดใช้ ตัว พิ ม พ์ ขนาดกระดาษที่ ใ ช้ ความกว้ า งของบรรทัด ความยาวของบรรทั ด ใน 1 หน้ า การย่ อ หน้ า การเว้ นวรรค ให้ เป็ นมาตรฐานเดี ย วกั น เพื่อความสะดวกต่อการตรวจปรู๊ฟและการเรี ยงพิมพ์ 1.3. ครบถ้ ว น หมายถึ ง เนื อ้ หาควรจั ด ให้ ครบถ้ วนทุ ก หน้ า เพราะถ้ าเว้ นหน้ าไว้ ไม่ อ าจจั ด ทํ า อาร์ ตเวิ ร์ ก หรื อลําดับหน้ าต่อไปได้ จะทําให้ งานล่าช้ าออกไปอีก 2. ต้ นฉบับส่ วนปก ปกและเนื ้อในจะสัมพันธ์ กนั ในเรื่ องของขนาดสิ่งพิมพ์นนๆ ั ้ การกําหนดลักษณะภาพ ข้ อความ สี และองค์ ป ระกอบต่ า งๆ ต้ องถู ก ต้ องชั ด เจน เพราะหากต้ องแก้ ไขจะทํ า ให้ เสี ย เวลาในการจั ด ทํ า เพิ่ ม เนื่องจากการตรวจปรู๊ฟปกจะใช้ การปรู๊ปสีจริ งที่มีการใช้ วสั ดุตา่ งๆ ไปมากแล้ ว เช่น ฟิ ล์ม และ เพลท เป็ นต้ น 3. ต้ นฉบับส่ วนภาพ ภาพที่จะใช้ ในการพิมพ์ แบ่งออกได้ เป็ น 3.1. ภาพลายเส้ น เป็ ฯภาพที่ มี ล ัก ษณะขาวจัด ดํ า จัด ไม่ มี สี อ่ อ นหรื อ สี เ ข้ ม เช่ น ภาพที่ เ ป็ นลายเส้ น ปากกา ภาพกราฟเส้ น แผนภู มิ การทํ า ให้ ภาพมี ค วามดํ า มากหรื อน้ อย ทํ า ได้ โดยการเพิ่ ม เส้ นหนั ก -เบา หรื อให้ เส้ นมีความถี่-ห่างกัน จึงอาจเขียนภาพลายเส้ นให้ ดเู หมือนเป็ นภาพจริ ง มีลกั ษณะเหมือนกับว่ามีสีเข้ ม สี อ่ า นได้ ภาพที่ ใ ช้ พิ ม พ์ ด้ วยระบบเลตเตอร์ เพรสในระยะต้ นๆ ที่ ยั ง ไม่ มี ก ารค้ นพบการทําภาพ โดยการใส่เม็ดสกรี นลงบนภาพก็ทําด้ วยวิธีนี ้ทังสิ ้ ้น 3.2. ภาพสี เป็ นภาพที่ มี สี เ หมื อ นของจริ ง อาจเป็ นภาพที่ อั ด ลงบนกระดาษ หรื อภาพสไลด์ สี ก็ ได้ แต่ถ้าจะนํามาใช้ เพื่อการพิมพ์สอดสีแล้ วควรใช้ เป็ นภาพที่เป็ นภาพสไลด์เพราะจะทําให้ ได้ ภาพที่มีสีใกล้ เคียง กับของจริ ง แบ่งเป็ น 3.2.1. ภาพสี โ ปร่ ง ใส ได้ แ ก่ สไลด์ สีข นาดต่า งๆ ขนาดต้ น ฉบับ ใดเท่า ใดจะทํ า ให้ คุณ ภาพการขยายภาพ เมื่อพิมพ์แล้ วดีและสวยงามกว่าภาพขนาดเล็ก แล้ วขยายให้ มีขนาดโตมากๆ จึงควรมีขนาดขยายไม่เกิน 3 เท่า 3.2.2. ภาพสีสะท้ อนแสง ได้ แก่ ภาพถ่ายสี ภาพเขียนด้ วยสีนํ ้า ดินสอสี สีนํ ้ามันหรื อภาพที่พิมพ์แล้ ว ต้ นฉบับที่ดี สา ม า ร ถ แ ย ก สี ไ ด้ คุ ณ ภา พ สู ง ใ ก ล้ เ คี ย ง กั บ ห มึ ก ท า ง ก า ร พิ ม พ์ ไม่ ค ว ร ใ ช้ สี ส ะ ท้ อ น แ ส ง เพราะหมึกพิมพ์ จะยอมให้ แสงผ่านทะลุไปสู่กระดาษก่อนแล้ วสะท้ อนแสงออกมา จึงทําให้ พิมพ์แล้ ว ไม่ เ หมื อ นกับ ต้ น ฉบับ และไม่ ค วรใช้ ภาพที่ พิ ม พ์ แ ล้ ว เพราะมี จุ ด เล็ ก ๆ ของสกรี น อยู่ก่ อ นแล้ ว เมื่อนํา มาถ่า ยทําใหม่ จะเกิ ด เป็ นลายที่เ รี ยกว่า “ลายเสื่อ ” (Moire Pattern) ดูแล้ วไม่คมชัด


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

11

และไม่สวยงามเมื่อนํามาพิมพ์ใหม่ 3.3. ภาพขาวดํา หมายถึง ภาพถ่ายที่มีสีขาว-ดํา เหมาะที่จะใช้ เป็ นต้ นฉบับในการพิมพ์ขาว-ดํา มากกว่าพิมพ์สี เพราะจะได้ ค วามคมชัด มากกว่ า ภาพที่ เ หมาะสมจะใช้ เ ป็ นภาพต้ น ฉบับ ในการพิ ม พ์ ควรเป็ นภาพ ที่มีขนาดประมาณ 5x7 นิ ้ว ผิวมัน มีความละเอียด คมชัดและมีความขาวด-ดํา (contrast) พอเหมาะ เพราะภาพที่มีสีดจัดเกินไปจะไม่สามารถให้ รายละเอียดของภาพได้ ดีพอ งานพิมพ์ถ้าต้ องการพิมพ์สีเดียว ไม่ ค วรใช้ ภาพสี ม าเป็ นต้ นฉบั บ เพราะการแยกรายละเอี ย ดของสี ไ ม่ อ าจแยกได้ ชั ด เจนเหมื อ นกั บ ความขาวและความดํา ทําให้ ภาพมืด ดูแล้ วไม่ชัดเจนหรื อขาดรายละเอียดบางส่วนไป ดังนัน้ ถ้ าหากเป็ น ภาพลายเส้ น ควรเขีย นด้ วยหมึก สีดํา บนกระดาษสีขาว และถ้ าเป็ นภาพเขี ยนควรเขี ยนหรื อ ระบาย ด้ วยสีนํ ้าสีดํา หมีกดําหรื อดินสอดํา ระบายความอ่อนแก่ของโทนตามความต้ องการ ถ้ าเป็ นภาพถ่ายควรเป็ น ภาพถ่ายขาวดํา ที่มีความต่างค่าความดํากับความขาวค่อนข้ างสูง ต้ นฉบับภาพสีสะท้ อนแสง และภาพขาวดํา ควรเป็ นภาพขนาดอย่างน้ อยเท่าแบบหรื อขนาดโตเป็ น 2 เท่าของขนาดภาพที่จะพิมพ์จริ ง เพราะจะสามารถ ลบรอยขรุขระและความไม่เรี ยบร้ อยของเส้ นภาพต่างๆ ลงได้ เมื่อถ่ายย่อลงมา ความสําคัญของการเตรียมต้ นฉบับ การเตรี ยมต้ นฉบับ เพื่ อ การพิม พ์ มีค วามสํา คัญ ต่อการผลิต สื่อ สิ่งพิ ม พ์ ใ ห้ ได้ คุณ ภาพเป็ นอย่า งมาก เพราะมีผ ลต่อ คุณภาพของสือ่ สิง่ พิมพ์ ดังนี ้ 1. ภาพพิมพ์สามารถพิมพ์ให้ สวยที่สดุ ได้ เพียงแค่เกือบเท่าความสวยของต้ นฉบับเท่านัน้ 2. ต้ นฉบับที่ดีช่วยให้ การผลิตงานพิมพ์ปราศจากปั ญหา 3. ต้ นฉบับที่ไม่สมบูรณ์เพียงเล็กน้ อยก็เป็ นสาเหตุให้ งานพิมพ์ขาดความสมบูรณ์ไปทังหมด ้ 4. หากเพิ่มความพิถีพิถนั ในการปรับปรุงต้ นฉบับอีกเพียงเล็กน้ อย สิง่ พิมพ์ที่ได้ จะมีคณ ุ ค่าเพิ่มขึ ้นมาก 5. การแก้ ไ ขความผิด พลาดของต้ น ฉบับ ที่ป รากฏบนงานพิ มพ์ มี ความสูญเสีย มากกว่าการแก้ ไ ขความผิด พลาด ขณะยังเป็ นต้ นฉบบมากมายอย่างไม่อาจเทียบกันได้ เลย 6. การตรวจความถู ก ต้ องของต้ นฉบั บ เป็ นหน้ าที่ ข องคนตรวจปรู๊ ฟก็ จ ริ ง แต่ ทุ ก คนในทุ ก กระบวนการ ที่เกี่ยวข้ องกับงานพิมพ์ควรช่วยเป็ นหูเป็ นตาด้ วย เพราะความผิดพลาดที่เกิดขึ ้นคือความสูญเสียของทุกคน 7. ผู้ ทํ า ต้ น ฉ บั บ ค ว ร ห มั่ น ฝึ ก ฝ น ใ น ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ฝี มื อ แ ล ะ เ พ ◌ิ ◌่ ม พู น ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร ทํ า ง า น เพื่อให้ การผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

หลักการเตรียมต้ นฉบับเนือ้ หา การเตรี ยมต้ นฉบับเนื ้อหาสําหรับสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเทภ มีความแตกต่างกันไปขึ ้นอยู่กบั รู ปแบของข้ อเขียนนันๆ ้ ด้ วย เช่น บทความ เรี ยงความ ตํารา แผ่นพับ โปสเตอร์ หนังสือ หรื อหนังสือพิมพ์ ฯลฯ ในการเตรี ยมต้ นฉบับเนื ้อหา ผู้เขียนจึงจําเป็ น ต้ องประยุกต์ใช้ หลักเกณฑ์ 3 ประการ (สมพิศ คูศรี พิทกั ษ์ : 2539, หน้ า 438-450) คือ ในการกําหนดแนวทางการเขียน หลักเกณฑ์ในการใช้ ภาษา และหลักเกณฑ์ลกั ษณะการเขียนตามประเภทของสือ่ 1. หลั ก เกณฑ์ ใ นการกํ า หนดแนวทางการเขี ย น เป็ นขัน้ ตอนสํา คัญ สํ า หรั บ การนํ า เสนอเนื อ้ หาสาระที่ ดี หากกํ า หนดเป็ นกฎเกณฑ์ ที่ ใ ช้ เป็ นหลัก แล้ ว จะทํ า ให้ สามารถผลิ ต ต้ นฉบั บ งานเขี ย นได้ อย่ า งสมบู ร ณ์


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

12

ตามวัตถุประสงค์ อันได้ แก่ 1.1. การจัดระเบียบความคิด อาจจัดแบ่งเป็ นหมวดหมู่ เป็ นกลุ่ม เพื่อเรี ยบเรี ยงระบบระเบียบตามลําดับข่าว เป็ นต้ น 1.2. การวิ เ คราะห์ เ รื่ อ ง ทั ง้ ขอบเขตเนื อ้ หาสาระ เพื่ อ กํ า หนดประเด็ น ต่ า งๆ ที่ จ ะนํ า เสนอให้ ชั ด เจน และกําหนดวัตถุประสงค์ในการเขียนชิ ้นนันๆ ้ 1.3. การวางโครงเรื่ องที่ดี ควรดําเนินดังนี ้ 1.3.1. ศึกษาค้ นคว้ าข้ อมูลเบื ้องต้ น (จากการอ่น การฟั ง ประสบการณ์) และแหล่งข้ อมูลให้ มากเท่าที่จะทําได้ 1.3.2. จั ด ระเบี ย บความรู้ และความคิ ด โดยกํ า หนดประเด็ น หลั ก ก่ อ นแล้ วจึ ง กํ า หนดหั ว ข้ อย่ อ ย จากนันนํ ้ ามาเรี ยงลําดับความสําคัญ 1.3.3. เขี ย นโครงเรื่ อ งในรู ป หั ว ข้ อ(นํ า ประเด็ น มาเขี ย นเป็ นคํ า หรื อ วลี ส ัน้ ๆ) หรื อ เขี ย นโครงเรื่ อ ง ในรูปประโยค(สําหรับข้ อเขียนที่เป็ นทางการ) 2. หลักเกณฑ์ ในการใช้ ภาษา ต้ องพิจารณาจากสิง่ ต่างๆ ดังนี ้ 2.1. การเลือ กระดับ ภาษา จากการจัด ระดับ 3 ระดับ คื อ ระดับ ภาษาปาก(พูด ) ระดับ กึ่ ง แบบแผน และระดับ แบบแผน ซึ่ ง ใช้ แตกต่ า งกั น ตามโอกาส ซึ่ ง ต้ องพิ จ ารณาจากความเหมาะสมของภาษา จากพื ้นฐานความรู้และประสบการณ์ของผู้อา่ นประกอบด้ วย 2.2. การเลือกใช้ คํา ประโยค และการเรี ยงลําดับความ 2.3. มีความชัดเจน สามารถสือ่ ความเข้ าใจได้ จากคําที่รัดกุม กระชับ 2.4. มี ค วามเรี ย บง่ า ย สามารถเข้ าใจง่ า ยจากถ้ อยคํ า ธรรมดา หลี ก เลี่ ย งคํ า ฟุ่ มเฟื อย เช่ น ใช้ ประโยคว่ า “ไม่มีใครเลยที่ไม่เคยทําผิด” อาจเขียนให้ เรี ยบง่าย โดยใช้ วา่ “ทุกคนย่อมทําผิดได้ ” 2.5. มีความประทับใจ สามารถเร้ าความรู้สกึ ของผู้อา่ นโดยการเน้ นคํา หรื อใช้ คําที่ขดั แย้ งกันในประโยค 2.6. มี โ ครงสร้ างของย่ อ หน้ าที่ ดี หมายถึ ง แต่ ล ะย่ อ หน้ าต้ องมี ใ จความสํ า คั ญ เพี ย งเรื่ องเดี ย ว หากมีใจความสําคัญใหม่ ต้ องขึน้ ย่อหน้ าใหม่ เป็ นต้ น เช่น การเขียนข่าว ในย่อหน้ าหนึ่งอาจใช้ เพียง 3-4 บรรทัดเท่านัน้ เนื่องจากเมื่อนําไปจัดวางหน้ าในคอลัมน์แล้ วก็จะได้ จํานวนบรรทัดประมาณ 7-8 บรรทัด ซึง่ ไม่เยิ่นเย้ อเกินไป โดยเฉพาะในหนังสือพิมพ์ที่คอลัมนิสต์มกั ย่อหน้ าบ่อยๆ เพราะทําให้ นา่ อ่านขึ ้นนัน่ เอง 3. หลั ก เกณฑ์ ลั ก ษณะการเขี ย นตามประเภทของสื่ อ แต่ ล ะประเภทจะมี วิ ธี ก ารเขี ย นที่ แ ตกต่ า งกั น หากเป็ นหนังสือพิมพ์ หรื อโปสเตอร์ จะจัดเป็ นสือ่ ที่ให้ ขา่ วสาร จึงควรเลือกวิธีการเขียนให้ ได้ ตามเป้าประสงค์ด้วย ตัว อย่ า งผลกระทบจากการเตรี ย มต้ นฉบั บ คื อ การเตรี ย มผลงานที่ เ กิ ด จากการเขี ย นของผู้ เขี ย น ทั ง้ ภายใน กองบรรณาธิการที่มีหน้ าที่โดยตรง รวมทังผู ้ ้ เขียนจากภายนอกกองบรรณาธิการ เช่น นักเขียนรับเชิญ หรื อคอลัมนิสต์กิตติมศักดิ์ ซึง่ ต้ นฉบับในที่นี ้หมายรวมถึง เนื ้อหา รูปภาพประกอบเรื่ อง คําบรรยายภาพ แผนภูมิ กราฟิ กต่างๆ เป็ นต้ น

การบรรณาธิกร(Editing) การบรรณาธิกร(Editing) หมายถึง การเตรี ยม การตรวจแก้ ต้นฉบับ การเลือกเฟ้ นเรื่ อง การเลือกอักษรพิมพ์ การพาดหัว การเขีย นชื่ อ เรื่ อ ง การใช้ ภาพ และการวางรู ป แบบ เพื่อการนํ าลงพิม พ์ (ชวรั ต น์ เชิ ด ชัย : 2519, หน้ า 2) ผู้ที่มีห น้ า ที่


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

13

ในการบรรณาธิ ก รจะยึด รู ป แบบเหล่า นี ้ ซึ่ง เป็ นเอกลัก ษณ์ ข องหนัง สื อ พิ ม พ์ แ ต่ล ะฉบับ เรี ย กว่า “สไตล์ บ๊ ุค (Style Book) หรื อสไตล์ชีท (Style Sheet)”

สไตล์ บ๊ ุค (Style Book) หรือสไตล์ ชีท (Style Sheet) การกํ า หนดรู ป แบบเอกลัก ษณ์ ข องหนัง สื อ พิ ม พ์ แ ต่ ล ะฉบับ จะมี รู ป แบบที่ แ ตกต่า งกัน ออกไป ทัง้ นี ใ้ นการกํ า หนด นโยบายการใช้ งานนั น้ ควรกํ า หนดแนวทางการใช้ ให้ เป็ นไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น เพื่ อ ความสะดวกในการดํ า เนิ น งาน นอก จา กรู ปแ บบ ตั ว อั ก ษ ร ขน าด สี ส ั น ทั ง้ กา รใ ช้ สํ า ห รั บพ าด หั ว ห รื อ เป็ น ข้ อ ค ว าม ห รื อ กา รว าง เลย์ เ อา ท์ ขององค์ ป ระกอบทางกราฟิ กต่า งๆ แล้ ว ยัง รวมไปถึ ง การใช้ ภ าษาในงานบรรณาธิ ก ร การเว้ น วรรคตอน การแบ่ง ย่อ หน้ า ทัง้ ภาษาไทยและภาษาต่ า งประเทศ หากมี ก ารทับ ศัพ ท์ ภ าษาต่ า งประเทศ ทัง้ ในกรณี ถ อดแบบมา หรื อ เขี ย นตามเรื่ อ ง บรรณาธิ ก ารต้ องระบุ ไ ว้ ให้ ชั ด เจนในสไตล์ บ๊ ุ ค หรื อสไตล์ ชี ท ว่ า จะเขี ย นเป็ นภาษาไทยแล้ ววงเล็ บ ภาษาอั ง กฤษ หรื อเขียนทับศัพท์ภาษาอังกฤษเลย เป็ นต้ น การตรวจแก้ ไขต้ นฉบับสื่อสิ่งพิมพ์ (rewrite) การตรวจแก้ ไขต้ นฉบับสือ่ สิง่ พิมพ์ก่อนที่จะส่งไปเรี ยงพิมพ์เป็ นภาระงานที่สาํ คัญอย่างหนึง่ ในขันตอน ้ การผลิตสือ่ สิ่งพิมพ์ ทัง้ นี เ้ พราะค้ น ฉบับ ที่ ไ ด้ มานัน้ อาจจะยัง มี ข้ อ ผิ ด พลาดในเรื่ อ งต่ า งๆ ที่ ผ้ ูเ ขี ย นละเลยหลงลื ม หรื อ รู้ เท่ า ไม่ ถึ ง การณ์ เช่ น ข้ อ เท็จ จริ ง ที่ เสนอมาผิ ดพลาด เนื อ้ หาบางตอนอาจมี ข้ อความที่ ล ะเมิ ดลิข สิท ธิ์ ผ้ ูอื่ น อัน อาจเป็ นเหตุใ ห้ มีก ารฟ้ องร้ องกัน ได้ หรื อ เนื อ้ หาที่ ถูก ต้ อ งแต่ ใ ช้ ภาษาไม่ เ หมาะสม เช่ น ใช้ ภาษาปาก ภาษาสแลง ไม่ เ หมาะสมกับ รู ป แบบสื่ อ และกลุ่ม ผู้อ่ า น ใช้ คํ า ที่ มี ค วามหมายเดี ย วกั น ต่ า งๆ กั น จนทํ า ให้ ผู้ อ่ น เกิ ด ความสับ สน หรื อ อาจเขี ย นในรู ป แบบที่ ผิ ด จากสากลทั่ว ไป หรื อจากผ◌ู ◌้ผลิตสิง่ พิมพ์นนๆ ั้ ดังนันการตรวจแก้ ้ ไขต้ นฉบับที่สมบูรณ์ก็คือการทําหน้ าที่ในการดูแลความถูกต้ องเรี ยบร้ อยทังหมดตลอดจนตระหนั ้ กถึงก ฎหมาย จรรยาบรรณ และหน้ าที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สัง คม ผู้ ตรวจแก้ ไขต้ นฉบั บ (Rewriter) หรื อ บรรณาธิ ก าร จึงจําเป็ นต้ องตรวจแก้ ไขทังในส่ ้ วนของเนื ้อหา สาระ สํานวนภาษา และรูปแบบของสือ่ สิง่ พิมพ์ การพิสูจน์ อักษร (Proof reading) การพิสูจน์ อักษรแตกต่างจากการตรวจแก้ ไขต้ นฉบับ เพราะการตรวจแก้ ไขต้ นฉบับ จะครอบคลุมถึ งความสมบูร ณ์ ความถูก ต้ อ งของข้ อ เท็ จ จริ ง ในเนื อ้ หาของต้ น ฉบับ และการเรี ย บเรี ย งให้ เ ป็ นลํ า ดับ ต่ อ เนื่ อ ง สามารถสื่ อ ความหมายได้ ดี ตลอดจนตรวจแก้ การใช้ ภาษาที่ถกู ต้ อง ส่วนการพิสจู น์อกั ษรมีวตั ถุประสงค์เพื่อการตรวจแก้ ไขการเขียน เช่น ตัวสะกด การันต์ ให้ ถกู ต้ องตามหลักภาษาเป็ นสําคัญ การตรวจแก้ ไขรูปแบบต้ นฉบับหนังสือพิมพ์ การที่บรรณาธิ การจะสามารถตรวจแก้ ไขรู ปแบบของต้ นฉบับให้ ถูกต้ องได้ นนั ้ บรรณาธิ การจํ าเป็ นต้ องรู้ จักลักษณะ และโครงสร้ างของสื่อสิ่งพิมพ์แต่ละประเภทต่างๆ จึงจะสามารถตัดสินได้ ว่าเขียนผิดจากรู ปแบบที่กําหนด ซึ่งแต่ละประเภท จะมี ค วามแตกต่ า งกั น ออกไป สํ า หรั บ หนั ง สื อ พิ ม พ์ นั น้ จํ า นวนคอลั ม น์ ที่ ป รากฏในหน้ าหนั ง สื อ พิ ม พ์ แ ต่ ล ะฉบั บ ทํา ให้ ห นัง สือ พิ ม พ์ มี รู ป แบบที่ แ ตกต่า งกัน ในแต่ล ะฉบับ หนัง สือ พิ ม พ์ ที่ มี ข นาดเดี ย วกัน ก็ อ าจมี จํ า นวนคอลัม น์ ไ ม่เ ท่า กัน แต่โดยทัว่ ไปหนังสือพิมพ์ขนาดเล็กจะมีคอลัมน์ประมาณ 4-7คอลัมน์ หากเป็ นหนังสือพิมพ์ขนาดมาตรฐานก็จะมีคอลัมน์ประมาณ


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

14

5-10 คอลั ม น์ หนั ง สื อ พิ ม พ์ ใ ดมี จํ า นวนคอลั ม น์ ม าก ขนาดของคอลั ม น์ ก็ ย่ อ มจะเล็ ก ลง แต่ ถ้ ามี ค อลั ม น์ น้ อย ขนาดของคอลัมน์ก็จะใหญ่ขึ ้นน ดังนัน้ การจัดคอลัมน์ตา่ งกันก็จะมีผลกระทบต่อการตกแต่งต้ นฉบับด้ วย

ขนาดคอลัม น์ ที่ แ ตกต่ า งกั น นี ้ การเตรี ย มต้ นฉบั บ จะต้ องปรั บ แก้ ให้ มี ค วามยาวของย่ อ หน้ าพอเหมาะ เช่ น คอลัมน์ในหนังสือหรื อตํารา อาจมีความยาวย่อหน้ าละ 5-6 บรรทัด ขณะที่หนังสือพิมพ์และนิตยสาร อาจมีความยาวย่อหน้ าละ 34 บรรทัด นอกจากนี ้ หนังสือพิมพ์แต่ละฉบับจะแบ่งจํานวนคอลัมน์เท่าๆ กันในทุกหน้ า แต่บางฉบับก็อาจจะแบ่งจํานวนคอลัมน์ ให้ เท่ากันเฉพาะหน้ าแรกๆ ส่วนหน้ าในจะแบ่งจํานวนคอลัมน์ไม่เท่ากัน ทังนี ้ ้ขึน้ อยู่กับนโยบายหรื อแบบฉบับของหนังสือพิมพ์ แต่ละฉบับ กระบวนการในขัน้ ตอนการผลิต (Press) กระบวนการในขันตอนของการผลิ ้ ตสือ่ สิง่ พิมพ์ แบ่งได้ เป็ น 3 ขันตอนใหญ่ ้ ด้วยกัน (จันทนา ทองประยูร : 2537, หน้ า 21) ได้ แก่ งานก่อนพิมพ์(prepress work) งานพิมพ์(press work) และงานทําสําเร็ จ(finishing after press work) ขัน้ ตอนของการผลิต ทัง้ หมดข้ า งต้ น จะกระทํ าภายหลังผ่า นกระบวการก่อ นการผลิต ได้ แ ก่ การวางแผนการผลิต การเตรี ยมต้ นฉบับ และการบรรณาธิกร หรื อการตรวจแก้ ต้นฉบับเสร็ จสิ ้นสมบูรณ์แล้ ว ได้ แก่ งานก่ อ นพิมพ์ ประกอบด้ วยขัน้ ตอนต่างๆ ได้ แก่ การเรี ย งพิมพ์ การพิสูจน์ อักษร การทําอาร์ ตเวิร์ก การถ่ ายฟิ ล์ ม และการเตรี ยมพิมพ์ งานพิมพ์ ประกอบด้ วยการถ่ายทอดภาพและข้ อความจากแม่พิมพ์ลงบนวัสดุพิมพ์โดยใช้ เครื่ องพิมพ์ งานทําสําเร็ จ ได้ แก่ ขันตอนการพั ้ บวัสดุพิมพ์ การเข้ าเล่ม การทําเล่ม การเข้ าปก การตัดเจี ยน และการแปรสภาพ งานพิมพ์ เช่น การอาบมัน(vanishing) การเคลือบพลาสติก(laminating) การเดินทอง(hot stamping) การพิมพ์นนู (embossing) เป็ นต้ น ในงานพิมพ์สื่อสิ่งพิมพ์ทกุ ชนิด แม้ จะมีลกั ษณะ ประเภท รู ปแบบ วัตถุประสงค์ วัสดุที่ใช้ พิมพ์ และกรรมวิธีในการพิมพ์ ที่ แ ตกต่า งกัน แต่ สิ่ง พิ ม พ์ ทุก ชนิ ด จะต้ อ งผ่ า นกระบวนการพิ ม พ์ เ หมื อ นๆ กัน กล่า วคื อ มี ลํ า ดับ ขัน้ ตอนของกระบวนการ ผลิตสือ่ สิง่ พิมพ์ มีขนตอนเป็ ั้ นพื ้นฐาน ดังนี ้ 1. การเรี ยงพิมพ์ (Computgraphic) 5. การทําแม่พิมพ์ (Printed plate) 2. การจัดวางหน้ า หรื อ เลย์เอาต์ (Lay out) 6. การตีพิมพ์ (Press) 3. การจัดทําอาร์ ตเวิร์ก (Art work) 7. การเข้ าเล่ม 4. การพิสจู น์อกั ษร (Proof reading)

1. การเรียงพิมพ์ (Computgraphic) เทคโนโลยีของการเรียงพิมพ์ การเรี ยงพิ ม พ์ เ พื่ อ ทํ า ต้ นแบบที่ เ ป็ นอาร์ ตเวิ ร์ กของการพิ ม พ์ อ อฟเซต ทํ า ได้ หลายวิ ธี เช่ น พิ ม พ์ ดี ด เรี ย งพิ ม พ์ โ ดยตัว โลหะ(เลตเตอร์ เพรส) เรี ย งพิ ม พ์ ด้ วยเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ แต่ ล ะวิ ธี ก็ มี ค วามเหมาะสม คุ ณ ภาพ


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

15

และราคาแตกต่างกันออกไป (วันชัย ศิริชนะ : 2536, หน้ า 4) 1) การเรี ยงพิมพ์ด้วยมือด้ วยตัวเรี ยงโลหะ เป็ นเทคนิคการเรี ยงพมิพ์ที่เก่าแก่ที่สุดของการพิมพ์ เลตเตอร์ เพรส และยังคงมีใช้ มาจนถึงปั จจุบนั ถึงแม้ ว่าได้ รับความนิยมน้ อยลงก็ตาม แต่ด้วยคุณสมบัติเฉพาะหลายอย่างที่ดี ก็ทําให้ ยงั มีความจําเป็ นต้ องใช้ อยู่ 2) ก า ร เ รี ย ง พิ ม พ์ ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง พิ ม พ์ ดี ด ห รื อ เ ค รื่ อ ง ไ ม โ ค ร ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ เ ป็ น ก า ร เ รี ย ง พิ ม พ์ เพื่ อนํ าไปทํา ต้ น ฉบับ ของการพิ มพ์ อ อฟเซต มี คุณ ภาพพอใช้ ได้ ราคาย่อมเยา มี การใช้ ในวงการศึก ษา เป็ นส่วนใหญ่ ในการทางค้ ามีใช้ บ้างแต่ไม่มากนัก 3) การเรี ยงพิ ม พ์ ด้ วยเครื่ องเรี ยงพิ ม พ์ ค อมพิ ว เตอร์ หรื อการเรี ยงพิ ม พ์ ด้ วยแสง เป็ นการเรี ยงพิ ม พ์ เพื่อการนําไปทําเป็ นต้ นฉบับเพื่อการพิมพ์ออฟเซตหรื อการพิมพ์ ระบบอื่นๆ ได้ ข้ อดีของการเรี ยงพิมพ์วิธีนี ้ คือรวดเร็ ว มีตวั อักษรให้ เลือกมากแบบมากขนาด สามาถทํางานเรี ยงพิมพ์ได้ มากกว่าการเรี ยงด้ วยมือประมาณ 6-7 เท่า ข้ อเสียก็คือ ตัวเครื่ องและวัสดุที่ใช้ ประกอบ เช่น กระดาษไวแสง และนํ ้ายา มีราคาแพง แนวปฏิบตั ิของการเรียงพิมพ์ จากการวิจยั ความสามารถในการอ่าน พบว่าเวลาอ่านหนังสือสายตาของคนเราจะกวาดผ่านหน้ ากระดาษในลักษณะ ของการกระโดดและหยุดเป็ นช่วงๆ โดยจะหยุดเพ่งดูบางกลุม่ คําเป็ นเวลา ครัง้ ละประมาณเศษหนึง่ ส่วนสีข่ องวินาที แล้ วก็จะกวาด สายตาต่อและกระโดดข้ ามไปยังกลุม่ คําต่อๆ ไป นอกจากนี ้ การวิจยั ยังพบว่า เมื่ออ่านหนังสือสายตาจะให้ ความสําคัญที่ครี่ งบน ของตัวอักษรแต่ละตัวมากกว่าบริ เวณครี่ งล่าง หากแบบของตัวอักษรที่เลือกใช้ ของส่วนบนของตัวอักษรแต่ละตัวแตกต่างกัน อย่างชัดเจนแล้ ว จะยิ่งช่วยทําให้ อ่านข้ อความได้ อย่างรวดเร็ วและเข้ าใจได้ ง่ายขึน้ สุรพล เวสารั ชเวศย์ (2523) ให้ ตวั อย่าง ของแนวปฏิบตั ิในการเรี ยงพิมพ์ไว้ ตอ่ ไปนี ้ • รู ปร่ างของตัวอักษร ตัวอักษรประเภทบีบผอม (condensed) หรื อประเภทกว้ าง (expand) จะอ่านยากกว่า ตัวอักษรที่มีความกว้ างปกติ ตัวอักษรที่มีลกั ษณะรู ปทรงเรขาคณิตของตัวอักษรแบบ San Serifs บางรุ่ น จะอ่านยาก เพราะแต่ละตัวอักษรมีรูปทรงคล้ ายๆ กัน ยากที่จะแยกความแตกต่างออกจากกัน • ช่ องไฟระหว่ างตัวอักษร มีสว่ นสําคัญที่ทําให้ อ่านง่ายหรื อไม่ ตัวอักษรที่ชิดเกินไปทําให้ ไม่น่าอ่าน แต่ถ้าห่าง เกินไปก็จะทําให้ อา่ นยาก • การใช้ ตัวเลข ตัวเลขขอลชุดตัวอักษรแบบดังเดิ ้ ม (old style) จะอ่นง่ายกว่าตัวเลขของชุดตัวอักษรแบบ สมัยใหม่ ผู้อ่านจะรั บรู้ จํ านวนที่เป็ นตัวเลขได้ ง่ายกว่าจํ านวนที่เป็ ฯตัวอักษรหรื อเลขโรมัน ผู้อ่านส่วนใหญ่ ชอบดูตารางมากกว่าแผนภูมิ แต่บางครัง้ แผนภูมิอาจดูเข้ าใจได้ ง่ายกว่า ในกรณีที่จัดเรี ยงเป็ นตาราง ควรใช้ ตัวเลขที่มีขนาดไม่ตํ่ากว่า 8 พอยท์ ด้ วยช่องว่างระหว่างแต่ะละคอลัมน์ไม่น้อยกว่า 1 ไพก้ า • ตัวประดิษฐ์ (display type) หากมีขนาดที่แตกต่างกันไม่ค่อยมีผลมากต่อความสามารถในการอ่าน การรู้ จกั ใช้ พื ้นที่ขาวจะช่วยให้ ข้อความนันน่ ้ าอ่านมากขึ ้น • ปั ญหาเกี่ยวกับสี ตัวอักษรที่อ่านง่ายที่สดุ คือตัวอักษรสีดําที่พิมพ์บนกระดาษสีขาว การใช้ ค่สู ีที่ผิดจะทําให้ ตัว อัก ษรอ่ า นยาก เช่ น ตัว อัก ษรแดงบนพื น้ สีดํ า หรื อ ตัว อัก ษรสีข าวบนพื น้ สีเ หลือ ง หรื อ ตัว อัก ษรสี ข าว บนพื ้นสีฟ้า ส่วนคูส่ ที ี่ช่วยให้ อา่ นง่าย ได้ แก่ ตัวอักษรสีเหลืองบนพื ้นสีนํ ้าเงิน สีแดง หรื อสีมาเจนต้ า • การย่ อหน้ า การย่อหน้ าที่ต้นบรรทัดประมาณ 2-3 เซนติเมตร จะช่วยให้ อ่านง่ายกว่าไม่มีการย่อหน้ าเสียเลย หากไม่ประสงค์จะย่อหน้ าที่ต้นบรรทัดแล้ ว ควรมีการเว้ นบรรทัดว่างช่วย


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

16

• ช่ องว่ างระหว่ างบรรทัด ถ้ าเรี ยงตัวอักษรชิ ดกันมากจะอ่านยากและดูอึดอัด ควรจัดเรี ยงให้ แต่ละบรรทัด ห่างกันเล็กน้ อย โดยเพิ่มอีกประมาณ 20% ของขนาดตัวอักษรจากระยะบรรทัดปกติ (solid) ตัวอักษรที่เป็ น ตัว หนาต้ อ งการระยะห่ า งระหว่ า งบรรทัด มากกว่ า ตัว ที่ บ างกว่ า โดยทั่ว ไปแล้ ว ช่ อ งว่า งระหว่า งบรรทัด ควรมากกว่าช่องว่างระหว่างคํา • การใช้ ตัวนําและตัวตาม ตัวตาม(lowercase) อ่านง่ายกว่าตัวนํา (upper case) อย่างมากในส่วนของ เนื ้อความในส่วนใหญ่ ยกเว้ นในส่วนซึง่ เป็ นหัวข้ อที่มีข้อความไม่ยาวมากนัก อาจจะไม่ค่อยมีความแตกต่างกัน มากนัก การเริ่ ม ต้ น แต่ล ะประโยคด้ ว ยตัว นํ า และข้ อ ความไม่ ย าวมากนัก จะช่ ว ยให้ เ นื อ้ ความอ่ า นง่ า ย ตัว ประดิษ ฐ์ ซึ่ง เรี ย งเป็ นตัวนํ า ทัง้ มหดจะอ่า นยาก เนื อ้ ความ(body copy) ซึ่ง เรี ย งเป็ นตัว นํา ทัง้ หมด ยิ่งอ่านยากไปใหญ่ เพราะผู้อ่านจะต้ องอ่านทีละตัวอักษรแทนที่จะอ่านแบบเป็ นกลุ่มคํา ทําให้ ความเร็ ว ในการอ่านช้ าลงประมาณ 15% • ความยาวของบรรทั ด ขึ น้ อยู่ กับ ขนาดและแบบของตัว อัก ษรที่ ใ ช้ บรรทัด ที่ ส ัน้ เกิ น ไปหรื อ ยาวเกิ น ไป ย่อมทําให้ อา่ นยากทังสิ ้ ้น สําหรับตัวอักษรขนาด 9-12 พอยท์ แต่ละบรรทัดควรมีความยาวประมาณ 10-12 คํา ซึง่ อาจจะมีความยาว บรรทัดละ 18-24 ไพก้ า ถ้ าใช้ ตวั อักษรขนาดเล็กลง ความยาวบรรทัดก็ควรจะหดแคบลง ตามส่วน การเรี ยงพิมพ์แบบ 2 คอลัมน์จะช่วยให้ อา่ นง่ายกว่าการเรี ยงแบบคอลัมน์กว้ างๆ เพียงคอลัมน์เดียว • ตัวเจาะขาว ตัวอักษรสีขาวบนพื ้นดําจะอ่านยากกว่าตัวอักษรสีดําบนพื ้นสีขาวประมาณ 15% จากการวิจยั พบว่าผู้อ่านมากกว่า3 ใน 4 ชอบอ่านข้ อความที่เป็ นตัวอักษรสีดําบนพื ้นสีขาวมากกว่า ถ้ าจําเป็ นต้ องใช้ ตัวอักษรเจาะขาว ไม่ควรใช้ ตวั เล็กกว่า 12 พอยท์ • การใช้ พืน้ ขาว ยิ่งรู้จกั การใช้ พื ้นขาวมากเท่าไรก็ยิ่งสามารถดึงดูดความสนใจจากผ◌ู ◌้อา่ นได้ มากเท่านัน้ • นํา้ หนั กที่ต่างกันของตัวอักษร ตัวอักษรที่มีนํ ้าหนักขนาดปานกลางจะอ่านง่ายกว่าตัวหนาหรื อตัวบาง ตัวปกติจะง่ายกว่าตัวเอน ตัวหนา ตัวบีบผอม และตัวกว้ าง ถึงแม้ ตวั เอนจะดูสวยงามก็ตาม แต่การใช้ ตวั หนา เป็ นการเน้ นข้ อความสําคัญจะดีกว่า แต่ถ้าใช้ ตวั หนามากเกินไปจะทําให้ สายตาล้ าได้ ง่าย หน่ วยวัดในการพิมพ์ 1 นิ ้ว = 1 ไพก้ า =

6 ไพก้ า 12 พอยท์

=

72 พอยท์

2) การจัดวางหน้ า หรือ เลย์ เอาต์ (Lay out) การจัดวางหน้ า หรื อการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ประกอบด้ วยขันตอนสํ ้ าคัญ 4 ขันตอน ้ คือ การกําหนดรู ปแบบและขนาด, การทําแบบร่ างหยาบ(rough layout), การทําแบบร่ างสมบูรณ์(Comprehensive layout) และการทําแบบจําลองของสื่อสิ่งพิมพ์ สําเร็ จ หรื อดัมมี่(Dummy) โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 2.1) การกําหนดรู ปแบบและขนาด เป็ นการหารู ปแบบเฉพาะตัวของสื่อสิ่งพิมพ์ที่จะออกแบบ เช่น การออกแบบสื่อ สิง่ พิมพ์เป็ นหนังสือพิมพ์พร้ อมกับขนาด เป็ นต้ น 2.2) การทําแบบร่ างหยาบ(rough layout) เป็ นการแปลงรู ปแบบความคิดจากข้ อแรกสูร่ ู ปแบบที่มองเห็นได้ นิยมทํา เป็ นขนาดเล็ ก กว่ า ของจริ ง แต่ ไ ด้ สัด ส่ ว นทัง้ รู ป ร่ า งและขนาด การทํ า แบบร่ า งหยาบอาจทํ า หลายชิ น้ และหลายแบบ เพื่อให้ เจ้ าของงานเลือก โดยเลือกทําเฉพาะหน้ าสําคัญ เช่น หน้ าปก หน้ าแรก นอกจากนี ้ ควรมีการกําหนดตําแหน่งตัวอักษร


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

17

และภาพประกอบ ในการกําหนดตําแหน่งตัวอักษรนิยมใช้ ตวั อักษรสมมติ(blind text) เช่น ใชัตวั ก หรื อ NO แทนข้ อความทังหมด ้ 2.3) การทําแบบร่ างสมบูรณ์ (Comprehensive layout) เป็ นการทําร่ างหยาบให้ สมบูรณ์ขึ ้น นิยมทําเป็ นขนาดเท่ากับ สิ่งพิมพ์ ที่จะทําและใช้ กระดาษที่จะใช้ ในการพิมพ์ จริ ง โดยมีการกํ าหนด ลักษณะ ขนาด แบบตัวพิมพ์ (typeface) หรื อแบบ ตัวอักษรและภาพประกอบ โดยใช้ สญ ั ลักษณ์แทนขนาดและช่วงบรรทัด หรื อช่องว่างระหว่างบรรทัด นอกจากนี ้ยังมีการกําหนด รายละเอียดและเทคนิคพิเศษอื่นๆ ในการจัดทํา เช่น การกําหนดสี การกําหนดเปอร์ เซ็นต์เม็ดสกรี น และรายละเอียดอื่นๆ 2.4) การทําแบบจําลองของสื่อสิ่งพิมพ์ สําเร็ จ หรื อดัมมี่(Dummy) เป็ นการทํารู ปแบบจําลองของสิ่งพิมพ์สําเร็ จ เพื่ อ ใช้ ควบคุม การพับ และการจัด หน้ า นิ ย มทํ า เป็ นขนาดย่ อ ส่ว น ถ้ าสิ่ ง พิ ม พ์ ที่ จ ะทํ า มี ข นาดใหญ่ จะใช้ การพับ กระดาษ ให้ มีลกั ษณะเป็ นรู ปสิ่งพิมพ์ที่จะจัดทํา แล้ วเขียนรายละเอียดของแต่ละหน้ าลงไป ความละเอียดของดัมมี่ขึ ้นอยู่กับความยาก หรื อความซับซ้ อนในการจัดทําส◌ิ ◌่ งพิมพ์ ถ้ าเป็ นสิ่งพิมพ์ที่ใช้ ขนตอนง่ ั้ ายๆ การทําดัมมี่อาจเป็ นการทําแบบหยาบ แต่ถ้าเป็ น สิง่ พิมพ์ที่ใช้ ความซับซ้ อนในการจัดทํา การทําดัมมี่ควรเป็ นแบบละเอียดเพื่อให้ ผ้ ปู ฏิบตั ิงานในแต่ละขันตอนทราบข้ ้ อมูลที่เกี่ยวข้ อง และสามารถสือ่ ความหมายได้ ตรงกับที่ผ้ อู อกแบบต้ องการ ข้ อมูลที่ควรกําหนดในดัมมี่แบบละเอียด(dummy scale) ได้ แก่ ขนาดหนังสือ การลําดับเลขหน้ า การลําดับ เนื ้อหา ขนาดและแบบตัวพิมพ์หรื อตัวอักษร จํานวนสีที่ใช้ จํานวน ขนาด และรูปแบบของคอลัมน์ในแต่ละหน้ า การจัดวางตัวอักษร ให้ เรี ยงชิดซ้ าย(flush left หรื อ left alignment) หรื อให้ มีการปรับแบบเต็มแนว(Justification) หรื อการเรี ยงชิดซ้ ายและชิดขวา ในบรรทัดเดียวกัน นอกจากนี ้ ยังควรกําหนดความยาวของบรรทัด ตําแหน่งและขนาดของภาพประกอบ ตารางประกอบ แผนภูมิ การเน้ นหัวเรื่ อง การกําหนดความยาวบรรทัด ลักษณะการพับ การเก็บเล่ม การเข้ าเล่ม และรายละเอียดอื่นที่จําเป็ นต่อการจัดท ◌ําสือ่ ส◌ิ ◌่ งพิมพ์ 2.5) การจัดทําต้ นแบบสื่อสิ่งพิมพ์ (Mock-up) หมายถึง การจัดทําสื่อส◌ิ ◌่ งพิมพ์จําลอง เพื่อทดสอบความเป็ นไปได้ และหยั่งรู้ ความรู้ สึกของผู้อ่า นเมื่อ พบเห็น งาน ตลอดจนความรู้ สึก ของลูก ค้ า ผู้เป็ นเจ้ า ของงาน ส่วนใหญ่ จะใช้ วิธีพิ มพ์ ออก ทางเครื่ องพิมพ์ เลเซอร์ แล้ วประกอบเป็ นเล่มต้ นแบบขึน้ มาดู ในปั จจุบันการจัดทําสื่อสิ่งพิมพ์ บางประเภท ผู้จัดทํานิยมจัดทํา ต้ นแบบจําลองของสื่อสิ่งพิมพ์ที่จะจัดทําขึ ้นมาพิจารณาความเป็ นไปได้ ในการจัดพิมพ์ รวมทังความเป็ ้ นไปได้ ในแง่การจําหน่าย และหาผู้สนับสนุนการจัดพิมพ์ เช่น ผู้ลงโฆษณา เป็ นต้ น ซึง่ เรี ยกต้ นแบบนี ้ว่า “Mock up” 3) การจัดทําอาร์ ตเวิร์ก (Art Work) กระบวนการจัดทําอาร์ ตเวิร์กจะดําเนินการต่อเนื่องมาจากการจัดวางหน้ าหรื อการวางเลย์เอาต์ เป็ นการจัดทํางานศิลป์ โดยจัดวางองค์ประกอบในหน้ าสือ่ สิง่ พิมพ์ ได้ แก่ ข้ อความ รูปภาพประกอบ กราฟิ กต่างๆ มาจัดวางตามที่ได้ กําหนดไว้ ในเลย์เอาต์ ถือเป็ นการจัดทําต้ นฉบับจริ งขึ ้น ก่อนที่จะส่งไปทําแม่พิมพ์นนั่ เอง ปั จจุบนั นี ้นิยมใช้ คอมพิวเตอร์ และโปรแกรมผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ ในการจัดทํา

4) การพิสูจน์ อักษร (Proof Reading) มีวัตถุประสงค์ เพื่อตรวจสอบความเรี ยบร้ อยของชิ น้ งานอาร์ ตเวิร์กก่อนส่งไปเข้ าสู่กระบวนการจัดทําแม่พิมพ์ ต่อไป ซึ่งการพิสูจ น์ อักษรเน้ นในด้ า นความถูกต้ องในการใช้ ภาษา เช่น การสะกด การั นต์ การขึน้ ย่อ หน้ าใหม่ การจัด วางรู ป แบบ ภาพประกอบเรื่ อง และคําบรรยายใต้ ภาพ 5) การทําแม่ พิมพ์ (Printed Plate)


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

18

สําหรับการพิมพ์ในปั จจุบนั ที่ใช้ กนั ส่วนมากคือ การพิมพ์แบบดิจิทลั และการพิมพ์แบบออฟเซต

การพิมพ์ แบบดิจิทัล 1 เทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิทลั เป็ นวิวฒ ั นาการการพิมพ์ยคุ ใหม่ เพราะอาศัยเทคนิคการพิมพ์ที่ไม่จําเป็ นต้ องใช้ แม่พิมพ์ อีกต่อไป ปั จจุบนั เครื่ องพิมพ์ระบบดิจิทลั กําลังได้ รับความนิยมอย่างแพร่ หลายกับวัสดุสิ่งพิมพ์ กระดาษ ตัวอย่างของเครื่ องพิมพ์ ระบบดิจิทลั ได้ แก่ พริ นเตอร์ Ink jet และพริ นเตอร์ เลเซอร์ เป็ นต้ น การนําเครื่ องพิมพ์แบบดิจิทลั มาใช้ ในการพิมพ์สิ่งทอนันยั ้ งคงมี ข้ อ จํ ากัดอยู่มาก และต้ องมีก ารลง ทุนการวิ จัย และพัฒนาด้ านนีอ้ ี กมาก ในปั จจุบันข้ อจํ า กัด ของการพิม พ์ ระบบดิจิทัลคื อ ความเร็ วที่ยงั สู้การพิมพ์ด้วยเครื่ องพิมพ์สกรี นทรงกระบอกไม่ได้ แต่มีข้อได้ เปรี ยบถ้ าหากนํามาใช้ ในการพิมพ์ปรู๊ ฟสี ซึ่งทําให้ ลด ต้ นทุนการผลิต ลงได้ มากและช่วยทําให้ ป ระหยัดเวลา เพราะไม่มีค วามจํ าเป็ นต้ องเตรี ยมแม่พิ มพ์ แต่ข้อจํ า กัดอันสําคัญคื อ ความเร็ วในการพิมพ์ที่คอ่ นข้ างช้ าโดยเฉลีย่ 2 ตร.ม./นาที ในขณะที่อตั ราเร็ วของการพิมพ์ด้วยเครื่ องพิมพ์สกรี นทรง กระบอกเฉลี่ย อยูท่ ี่ 39 ตร.ม./นาที ทําให้ การเจริ ญเติบโตของตลาดเครื่ องพิมพ์ดิจิทลั สําหรับการพิมพ์สงิ่ ทอมีอตั ราการเจริ ญ เติบโตที่คอ่ นข้ างตํ่า ส่วนใหญ่จะเป็ นตลาดสําหรับการพิมพ์ปรู๊ ฟ พิมพ์ภาพ ศิลปะบนเสื ้อผ้ า และการพิมพ์ที่ มีจํานวนออเดอร์ ตํ่าและต้ องการความ รวดเร็ วในการส่งมอบ 0

การพิมพ์ ระบบพ่ นหมึก หลักการทํางาน ของเครื่ องพิมพ์ระบบพ่นหมึกนัน้ หัวพิมพ์จะ ทําหน้ าที่สร้ างละอองหมึกที่มีขนาดเล็กๆ และจะถูกพ่นออก ทางปลาย nozzles ที่มีขนาดเล็กๆ ละอองหมึกพิมพ์เหล่านี ้จะถูกบังคับให้ พ่งุ ตกลงในตําแหน่งที่ ต้ องการบนวัสดุพิมพ์ได้ อย่าง แม่นยํา ระบบการพิมพ์แบบ พ่นหมึกสามารถแบ่งออกเป็ น 2 กลุม่ ใหญ่ๆ คือ 1. ระบบพ่น หมึกแบบต่อเนื่อง (Continuous ink jet) เทคนิคของการพิมพ์แบบ นี ้ หมึกพิมพ์จะ ถูกพ่นออกมาตลอดเวลา ละอองหมึกพิมพ์จะ ถูกชาร์ จให้ มีประจุด้วย Charge electrode หลังจากนันหมึ ้ กพิมพ์จะถูกบังคับให้ เคลื่อนที่ เบี่ยงเบนด้ วย Deflection plate ให้ ไปตกลงบนกระดาษพิมพ์ในตําแหน่งที่ต้องการ 2. ระบบพ่น หมึกตามสัง่ (Drop on demand) หลักการทํางานของ เครื่ องพิมพ์แบบนี ้ ละอองหมึกจะถูกพ่นออกมาเมื่อถูก สัง่ โดยที่ละอองหมึกจะถูกพ่นออกมาที ละหยด ทุกหยดจะถูกนําไปใช้ หมด ระบบการพิมพ์แบบ นี ้ไม่จําเป็ นต้ องชาร์ จประจุหมึก เหมือนกับระบบพ่นหมึกแบบต่อเนื่อง จึงสามารถใช้ พิมพ์สนี ํ ้า (สีรีแอคทีฟ, สีแอซิด)

สูตรหมึกพิมพ์ สาํ หรับ เครื่องพิมพ์ ระบบดิจิทัล หมึกพิมพ์สําหรับ นํามาใช้ กบั เครื่ องพิมพ์ระบบดิจิทลั นัน้ จําเป็ นต้ องให้ ความพิถีพิถนั ในการเตรี ยมเป็ นพิเศษ ทังนี ้ ้เพราะ หมึกพิมพ์ต้องมีสมบัติพิเศษที่แตกต่างจากหมึกพิมพ์สําหรับพิมพ์ซิลค์สกรี นทัว่ ไป เช่น สมบัติแรงตึงผิวของหมึกพิมพ์ และสมบัติ การแห้ ง ตัวของหมึกพิมพ์ต้อง เหมาะสม สมบัติแรงตึงผิวของหมึกพิมพ์นนจะเป็ ั้ นตัวควบคุมไม่ให้ ละอองหมึกพิมพ์ยบุ ตัวหรื อแตก เสียก่อน ก่อนที่จะพุง่ ไปตกลงบนวัสดุพิมพ์ ส่วนสมบัติการแห้ ง ตัวของหมึกพิมพ์ก็ ต้ องควบคุมให้ มีความเหมาะสมด้ วย ทังนี ้ ้เพราะ ถ้ าหมึกพิมพ์แห้ งตัวเร็ วจนเกินไปก็อาจจะทําให้ ปลายของท่อส่งหมึก นันเกิ ้ ดการอุด ตันเกิดขึ ้น แต่ถ้าหมึกพิมพ์แห้ ง ช้ าจนเกินไปก็ 1

ที่มา : บทความเรื่ อง เทคโนโลยีการพิมพ์ระบบดิจิทลั (Digital Printing Technology) โดย ดร.กาวี ศรี กลู กิจ : ภาควิชาวัสดุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

19

อาจจะทําให้ ลายพิมพ์บนวัสดุพิมพ์นนไม่ ั ้ ชดั เจนเนื่องจากการแพร่ ของหมึกพิมพ์ หมึกพิมพ์สําหรับ เครื่ อง Ink jet นัน้ ส่วนใหญ่จะ ใช้ สรี ี แอคทีฟ และสีดิสเพิส การพิมพ์ แบบออฟเซต เนื่องจากการพิมพ์สว่ นมากนิยมใช้ ระบบการพิมพ์แบบออฟเซต ซึ่งการทําแม่พิมพ์เริ่ มต้ นตังแต่ ้ การนําชิ ้นงานอาร์ ตเวิร์ก มาแยกสี เพื่อให้ ได้ ฟิล์ม แล้ วนําไปถ่ายลงบนแผ่นสังกะสีเคลือบนํ ้ายาสารเคมี เพื่อให้ เกิดรู ปรอยตามต้ นฉบับ ต่างกับการพิมพ์ ในระบบเลตเตอร์ เพรส ซึ่ ง การทํ า แม่ พิ ม พ์ เ ป็ นเพี ย งการนํ า บล็ อ กโลหะ เช่ น ตั ว อัก ษรที่ มี ก ารจั ด ทํ า ไว้ เรี ย บร้ อยแล้ ว มาเรี ยงต่อกันตามต้ นฉบับ สิ่งพิมพ์ ท่ เี หมาะ กับ offset 2 ระบบออฟเซตเป็ นระบบการพิมพ์ที่ใช้ กนั มาก ที่สดุ ทัว่ โลกในปั จจุบนั เพราะให้ งานพิมพ์ที่สวยงามมีความคล่องตัวในการจัด อาร์ ตเวิร์กและไม่วา่ จะออกแบอย่างไรการพิมพ์ก็ไม่ยงุ่ ยากมากจนเกินไปประกอบกับ ความก้ าวหน้ าในการทําฟิ ล์มและการแยกสี ในปั จจุบนั ทําให้ ยิ่งพิมพ์จํานวนมากเท่าไหร่ก็จะยิ่งถูกลง สิง่ พิมพ์ที่จะพิมพ์ด้วยระบบออฟเซตควรมีลกั ษณะดังต่อไปนี ้ 1. มีจํานวนพิมพ์ตงแต่ ั ้ 3,000 ชุด ขึ ้นไป 2. มีภาพประกอบหรื องานประเภท กราฟ มาก 3. ต้ องการความรวดเร็ วในการจัดพิมพ์ 4. ต้ องการความประณีต สวยงาม 5. เป็ นการพิมพ์ หลายสี หรื อภาพ สีส่ ที ี่ต้องการความสวยงามมากๆ 6. มีงานอาร์ ตเวิร์กทีม่ ีความยุง่ ยากสลับซับซ้ อนมาก 7. มีงบประมาณในการจัดพิมพ์เพียงพอ ระบบออฟเซตสามารถให้ งานพิมพ์ ท่ คี ุณภาพดีได้ เพราะ 1. การถ่ายทอดภาพกระทําโดยการถ่ายทอดลงบนผ้ ายางแบลงเกตก่อนแล้ วจึงถ่ายทอดลงบนกระดาษ ทําให้ การ ถ่ายทอดหมึกเป็ นไปอย่างสมํ่าเสมอ 2. สามารถใช้ สกรี นที่มคี วามละเอียดมากๆ ถึง 175 -200 เส้ น/นิ ้วได้ ทําให้ ภาพที่ออกมามีความละเอียดสวยงาม 3. การพิมพ์ภาพสีส่ ที ําได้ สะดวก เพราะสามารถปรับตําแหน่งของแม่พิมพ์และกระดาษให้ ลงในตําแหน่งที่ตรงกันของแต่ ละสีได้ ง่าย 4.สามารถพิมพ์ลงบนกระดาษได้ เกือบทุกชนิด การนับสีในระบบออฟเซต พิมพ์ 1 สี การพิมพ์สเี ดียว เป็ นงานพิมพ์ที่เราเห็นกันทัว่ ไป ส่วนใหญ่เป็ นงานขาวดําเช่น หนังสือเล่มทังหลาย ้ ตําราเรี ยน พ็อคเก็ตบุ๊คส์ แต่เป็ นหน้ าในนะครับ ไม่ใช่ปก แต่จริ งแล้ วงานสีเดียวจะพิมพ์สีอะไรก็ได้ เช่น แดง เหลือง หรื อนํ ้าเงิน และในสีที่พิมพ์นนก็ ั ้ เลือก ความเข้ มได้ หลายระดับ ทําให้ ดเู หมือนว่าพิมพ์หลายสีได้ เช่น 2

ความรู้ สงิ่ พิมพ์ที่เหมาะกับ offset ที่มา : ระบบออนไลน์ http://bangkokprint.com


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

20

พิมพ์สแี ดงบนกระดาษขาว ถ้ าพิมพ์จางๆก็จะได้ สชี มพูเป็ นต้ น พิมพ์สนี ํ ้าตาลสีเดียว พิมพ์สนี ํ ้าเงินสีเดียว พิมพ์สเี ขียวสีเดียว สีขาวเป็ นสี ของกระดาษ พิมพ์นํ ้าตาลสีเดียว สีขาวเป็ นสีของ กระดาษ ตัวอย่างงานพิมพ์ 1 สี เช่น บิล หน้ าในของตําราเรี ยน, พ็อคเก็ตบุ๊คส์ งาน 1 สีไม่จําเป็ นต้ องเป็ นหมึกสีดําเสมอไป อาจเป็ นสี อะไรก็ได้ เช่น แดง นํ ้าเงิน เขียว ฯลฯ การพิมพ์ 1 สี มีคา่ ใช้ จ่ายตํ่าสุด ถ้ ามีงบจํากัดก็เลือกพิมพ์สเี ดียวนี่แหละครับ นิยมใช้ พิมพ์ บิล ใบปลิว คูม่ ือการใช้ งาน เนื ้อในหนังสือ ฯลฯ พิมพ์ 2-3 สี (พิมพ์ หลายสี) การพิมพ์สีเดียวอาจจะดูไม่น่าสนใจนัก ถ้ าต้ องการความสวยงามหรื อเพิ่มความน่าสนใจก็อาจจะต้ องพิมพ์หลายสี เช่น พิมพ์ 2 สี หรื อ 3 สี เป็ นต้ น ส่วนใหญ่จะนิยมพิมพ์ 2 สีครับ เช่น ดํากับแดง หรื อดํากับนํ ้าเงิน หรื อคู่สีอะไรก็ได้ ค่าใช้ จ่ายก็เพิ่มจาก พิมพ์สเี ดียวขึ ้นมาอีกบางส่วน เพราะโรงพิมพ์จะต้ องเพิ่มแม่พิมพ์ตามจํานวนสี และต้ องเพิ่มเที่ยวพิมพ์หรื อรอบพิมพ์ตามไปด้ วย พิมพ์ 2 สี นํ ้าตาลกับสี เขียว พิมพ์ 2 สีฟ้ากับสีดําสีขาวเป็ นสีของกระดาษ พิมพ์ 3สี ฟ้ าดําและส้ ม พิมพ์ 4 สี ฟ้ า ดํา ส้ มและแดง พิมพ์ สี่สี (แบบสอดสี) หมายถึ ง การพิ ม พ์ ง านที่ มี ม ากกว่า 1 สี ซึ่ง เรี ย กกัน ติ ด ปากว่า “พิ ม พ์ สี่ สี่” ภาษาอัง กฤษเรี ย กว่า “full color” ช่า งพิ ม พ์ จ ะต้ อ งทํ า แม่พิ มพ์ จํ า นวน 4 แผ่น เพลทแผ่น หนึ่ง สํา หรั บ พิ มพ์ ห มึก สีดํ า (black) อี ก 3 เพลทสํา หรั บ พิ ม พ์ สี หมึกม่วงแดง(magenta) หมึกพิมพืสเี หลือง(yellow) และหมึกพิมพ์สีฟ้า(cyan) เมื่อพิมพ์หมึกทังสี ้ ่สีนี ้ซ้ อนทับกันตามแม่พิมพ์แล้ ว หมึกสีก็จะผสมกันทําให้ เกิดภาพสีสวยงาม ถ้ าต้ องการพิมพ์ภาพที่มีสสี นั สวยงาม เหมือนกับที่ตาเราเห็นก็ต้องพิมพ์สี่สีแบบสอดสี เรานิยมเรี ยกกันสันๆว่ ้ าพิมพ์ 4 สี การพิมพ์แบบนี ้ไม่ว่าสิ่งที่เราต้ องการพิมพ์มีกี่ร้อยกี่พนั สี โรงพิมพ์ก็จะใช้ วิธีพิมพ์สีหลักสี่สี แล้ วมันจะผสมกันออกมาได้ สารพัดสี ตามที่ต้องการ ซึง่ แน่นอนว่าขันตอนยากกว่ ้ าสองแบบแรก ค่าใช้ จ่ายก็สงู กว่า เพราะต้ องใช้ แม่พิมพ์ถึง 4 ตัว แล้ วก็ต้องพิมพ์สี่รอบ ไม่น่าเชื่อว่า สี่สีนี ้ผสมกันออกมา จะให้ เป็ นสีอะไรก็ได้ เป็ นล้ านสี พวกปกหนังสือ โปสเตอร์ สวย หน้ าแฟชัน่ ในนิตยสารก็ล้วนแต่ พิมพ์สสี่ เี ป็ นส่วนใหญ่ การพิมพ์สที ีละสีจนได้ สที ี่ต้องการนัน้ มีการผสมสีอยู่ 2 ระบบคือ ระบบการผสมสีแบบบวก เป็ นการผสมสีที่เราพบเห็นอยู่ ทัว่ ไปในธรรมชาติ คือ สีมว่ ง คราม นํ ้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง เมื่อมาผสมรวมกันจะได้ แสงสีขาว คือ แสงแดด การผลิตภาพสีอีกระบบหนึ่งเรี ยกว่า ระบบการผสมสีแบบลบ ซึ่งเป็ นระบบที่ใช้ ในการพิมพ์ ระบบนี ้มีแม่สีเป็ นหลัก และ หักลบกับแสงสีที่สอ่ งมาบนกระดาษหรื อส่องลงมายังฟิ ล์ม ซึง่ จะได้ สตี า่ งๆ ดังนี ้ นํ ้าเงินเขียว + เหลือง = เขียว นํ ้าเงินเขียว + ม่วงแดง = นํ ้าเงิน เหลือง + ม่วงแดง = แดง เหลือง + ม่วงแดง + นํ ้าเงินเขียว = ดํา พิมพ์ สีพิเศษ


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

21

สําหรับงาน พิมพ์ที่เราต้ องการความโดดเด่น พิเศษ แปลกตา เช่น สีบอนซ์เงิน , สีบอนซ์ทอง, สีสะท้ อนแสง หรื อ สีที่ไม่ สามารถใช้ หมึก CMYK ทับกันให้ ได้ สที ี่เราต้ องการ การนับสีในระบบซิลค์ สกรีน การพิมพ์ระบบซิลค์สกรี น เป็ นการพิมพ์สพี ื ้นตาย (มีความเข้ มเท่ากันหมด ไม่มีการไล่โทนสีจากอ่อนไปเข้ ม) ซึ่งไม่สามารถ นําสี 2 สี มาพิมพ์สที บั กันได้ เพื่อให้ เป็ นอีกสีหนึง่ ได้ เพราะฉะนันเวลานั ้ บสีจะนับเท่าทีตาเราเห็นได้ เลยว่าในงานนี ้มีกี่สี่ การนับสีในระบบดิจิทัล การพิมพ์ระบบดิจิทลั เป็ นการพิมพ์โดยใช้ เครื่ องพิมพ์ดิจิทลั (คล้ ายๆ การพิมพ์งานจากปริ นเตอร์ ที่เราใช้ กนั ในออฟฟิ ศ) การ นับสี จะเป็ นดังนี ้คือ จะมีสดี ํา เท่านันที ้ ่นบั เป็ นพิมพ์ 1 สี ส่วนถ้ าพิมพ์สอี ื่นๆ ไม่วา่ จะเป็ น สีชมพู สีเขียว สีส้ม แม้ จะพิมพ์เป็ นงาน 1 สีดงั กล่าว ก็ถือว่าเป็ นงาน 4 สี เนื่องจากเครื่ องพิมพ์ดิจิทลั นันจะดึ ้ งหมึกจากตลับสีแต่ละตลับมาผสมกันออกมา ให้ เป็ นสีที่เรา ต้ องการ ซึง่ จะมีคา่ เท่ากับพิมพ์งาน 4 สีเป็ นภาพ การแยกสี (color scanning) หมายถึงการนําข้ อมูลจากต้ นฉบับภาพสีไปสร้ างเป็ นภาพสกรี นบนฟิ ล์ม 4 ชิ ้น เพื่อนําไปทําแม่พิมพ์ 4 แผ่น สําหรับในไป พิมพ์ด้วยหมึกสีฟ้า (cyan) ม่วงแดง (magenta) เหลือง (yellow) และดํา (black) ลงบนพื ้นสีขาว ให้ ภาพแต่ละสีซ้อนทับตรงกันได้ เป็ นภาพสีเหมือนตามต้ นฉบับ การเกิดสีสนั ในการพิมพ์ภาพสีเกิดจากหมึกสีฟ้า ม่วงแดง และเหลือง ภาพพิมพ์จากหมึกพิมพ์ 3 สี มีความดําไม่พอ ภาพ จะไม่สวยงาม ดังนัน้ การพิมพ์สดี ําลงไปในภาพทําให้ ภาพพิมพ์เกิดความเปรี ยบต่าง(contrast) เพิ่มขึ ้น ในกรณีที่ภาพประกอบเป็ นภาพถ่าย หรื อฟิ ล์มสไลด์ เพื่อให้ ได้ ภาพพิมพ์สีที่ใกล้ เคียงธรรมชาติ ผู้ออกแบบต้ องสัง่ การให้ ช่างควบคุมการถ่ายเพลทแยกสีจากฟิ ล์มได้ ถกู ต้ อง ตลอดจนควบคุมปริ มาณหรื อนําหนักของสีที่จะพิมพ์ในแต่ละเพลท ก็สามารถ แยกสีเป็ นแผ่นเพลท (printing plate) การพิมพ์ ปรู๊ฟ การทําแม่พิมพ์จะต้ องมีการปรู๊ฟงานพิมพ์ก่อนทําการพิมพ์จริ ง เพื่อความสมบูรณ์เรี ยบร้ อยของแม่พิมพ์ ในปั จจุบนั วิธีการ ปรู๊ฟแม่พิมพ์มีหลายวิธี เช่น ปรู๊ฟได้ จากแผ่นฟิ ล์ม ปรู๊ฟจากแท่นปรู๊ฟ และปรู๊ฟด้ วยดิจิทลั ปรู๊ฟ(digital proof) นอกจากนี ้เพื่อให้ การ ปรู๊ฟได้ งานพิมพ์ที่มีคณ ุ ภาพสูง จึงควรสร้ างมาตรฐานการปรู๊ฟด้ วยการทํา “ซีเอ็มเอส” (Color Management System : CMS) การ ปรู๊ฟจะต้ องคํานึงถึงว่าภาพที่ได้ จากการปรู๊ฟสามารถนําไปพิมพ์ได้ จริ งบนแท่นพิมพ์ ทังนี ้ ้ ระบบการปรู๊ฟจะต้ องจําลองสถานการณ์ จริ งให้ มากที่สดุ ทังเฉดสี ้ หมึก กระดาษพิมพ์ เม็ดสกรี น และแรงกดในการพิมพ์ ในขณะเดียวกันต้ องมีการควบคุมคุณภาพของ กระบวนการเตรี ยมต้ นฉบับอย่างแม่นยํา เพื่อรักษาความต่อเนื่องจากผลการปรู๊ฟ 6) การตีพิมพ์ (Press) การพิมพ์ให้ ได้ คณ ุ ภาพ ผู้จัดทําจะต้ องคํานึงถึงปั จจัยต่างๆ หลายประการ ได้ แก่ การใช้ วสั ดุที่มีคณ ุ ภาพเหมาะกับงาน และพิมพ์ได้ ดี การใช้ เครื่ องพิมพ์ที่มีสภาพดี ควบคุมได้ ง่าย ช่างพิมพ์มีทกั ษะความชํานาญในการพิมพ์ในกรณีการพิมพ์สอดสี (พิมพ์สี่สี) การพิมพ์แต่ละสีจะต้ องซ้ อนทับตรงกัน มีรอยฉากตรงตามที่กําหนด การพิมพ์มีการปล่อยหมึกเข้ มพอดี การถ่ายทอด ภาพคมชัด เม็ดสกรี นไม่บวม สีของภาพถูกต้ อง ชิ ้นงานสะอาดเรี ยบร้ อย หมึกแห้ งเร็ วดี ไม่มีปัญหาเปรอะเปื อ้ น อย่างไรก็ตาม การ พิมพ์จะมีคณ ุ ภาพดีได้ ผ้ จู ดั พิมพ์ควรมีความรู้ความเข้ าใจระบบการพิมพ์เป็ นพื ้นฐาน


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

22

การจัด ทํ าหนัง สือ พิม พ์ ห รื อ สื่อ สิ่ง พิ ม พ์ ใดๆ ก็ ต าม ก่ อ นอื่น ผู้จัด ทํ าจะต้ อ งพิ จารณาเลือ กระบบการพิ ม พ์ ใ ห้ ถูก ต้ อ ง เหมาะสมกับลักษณะงานที่จะพิมพ์ เพราะจะทําให้ สะดวก ประหยัด และรวดเร็ วยิ่งขึ ้น การเลือกใช้ วสั ดุการพิมพ์ เช่น กระดาษเนื ้อ ใน กระดาษปก หรื อวิธีการพับ การเข้ าเล่มก็มีความสําคัญเช่นกัน นอกจากนี ้ยังควรมีความรู้ เกี่ยวกับการจัดเตรี ยมต้ นฉบับ การ จัดทําอาร์ ตเวิร์ก และการประเมินราคาสิง่ พิมพ์บ้างพอสมควร เพื่อให้ สามารถติดต่อกับโรงพิมพ์ได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ วถูกต้ อง ยิ่งขึ ้น 6.1) การพิมพ์ เป็ นยก ในการพิมพ์หนังสือ หนังสือพิมพ์ หรื อสิง่ พิมพ์อื่นๆ ที่มีจํานวนมากๆ นัน้ โดยปกติแล้ วจะไม่พิมพ์ ทีละหน้ า เพราะเสียเวลาและค่าใช้ จ่ายสูงและไม่มีความจําเป็ นที่จะต้ องทําเช่นนัน้ แต่จะพิมพ์มากกว่าครัง้ ละหนึง่ หน้ าเสมอ เช่น 2 หน้ า 4 หน้ า 8 หน้ า และ 16 หน้ า เป็ นต้ นไป จะพิมพ์ด้านละกี่หน้ า ก็ขึ ้นอยู่กบั ขนาดของสิ่งพิมพ์และแท่นพิมพ์นนๆ ั ้ เมื่อพิมพ์ครบ ทังสองหน้ ้ าแล้ ว จึงนํามาพับให้ ได้ ขนาดรู ปเล่มของสิ่งพิมพ์ที่ต้องการ แต่ละแผ่นที่พิมพ์ครบทังสองหน้ ้ าแล้ ว นํามาพับให้ ได้ ขนาด ตามที่ต้องการนีเ้ รี ยกว่า “ยก” หรื อ “ยกพิมพ์ ” ภาษาอังกฤษใช้ คําว่า “Signature” เช่น ขนาด 8 หน้ ายก ก็ คือ กระดาษที่เข้ า เครื่ องพิมพ์ด้านละ 4 หน้ า 2 ด้ าน เมื่อนํามาพับตังฉากกั ้ น 2 ครัง้ จะได้ จํานวนทังหมด ้ 8 หน้ า เป็ นต้ น ดังนัน้ ความหมายของคําว่ายกในการพิมพ์ คือ จํานวนของหน้ าหนังสือที่จะพิมพ์ลงบนกระดาษแผ่นใหญ่ 1 แผ่น ทัง้ 2 หน้ านัน่ เอง แท่นพิมพ์ขนาดใหญ่ จึงสามารถพิมพ์จํานวนหน้ าต่อยกได้ มากขึ ้น 6.2) ขนาดของการพิมพ์ ในวงการพิมพ์สามารถจําแนกขนาดหนังสือพิมพ์ที่นิยมกันได้ 2 ขนาด คือ ขนาด 31×43 นิ ้ว เรี ยกอีกอย่างว่าขนาดมาตรฐาน เมื่อนําไปแบ่งครึ่ ง เรี ยกว่า “กระดาษตัด 2” นําไปพิมพ์กบั เครื่ องพิมพ์ลงตัวพอดี งานพิมพ์ที่ใช้ กระดาษแผ่นนี ้เรี ยกว่า “ขนาดธรรมดา” เช่น พิมพ์ยกละ 8 หน้ า เรี ยกว่า “ขนาด 8 หน้ ายกธรรมดา” ส่วนกระดาษอีกขนาดคือ ขนาด 24×35 นิ ้ว เมื่อนําไปพิมพ์ที่มีจํานวนยกพิมพ์เท่ากัน (สมมติวา่ พิมพ์ขนาด 8 หน้ ายก) จะได้ สอื่ สิง่ พิมพ์ที่มีขนาดใหญ่กว่าการ พิมพ์ด้วยกระดาษขนาด 31×43 นิ ้ว เล็กน้ อย เรี ยกว่า “ขนาด 8 หน้ ายกพิเศษ” ขนาดของกระดาษ (Paper Size) กว้ าง X ยาว มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรและเป็ นนิ ้วตามมาตรฐานสากล Paper Size : A size x Millimeters x Inches A0841 X 118933.11 X 46.81 A1594 X 84123.39 X 33.11 A2420 X 59416.54 X 23.39 A4210 X 2978.27 X 11.69 A5148 X 2105.83 X 8.27 A6105 X 1484.13 X 5.83 A774 X 1052.91 X 4.13 กระดาษแผ่ นใหญ่ มาตรฐานสากล ซึง่ ใช้ อยูใ่ นประเทศไทยมี 2 ประเภท คือ − ประเภท กว้ าง 31 นิ ้ว ยาว 43 นิ ้ว − ประเภท กว้ าง 24 นิ ้ว ยาว 35 นิ ้ว กระดาษแผ่ นใหญ่ มาตรฐาน


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

− − − − − − − −

23

พับได้ 4 ส่วน เรี ยกว่า 4 หน้ ายก พับได้ 8 ส่วน เรี ยกว่า 8 หน้ ายก พับได้ 16 ส่วน เรี ยกว่า 13 หน้ ายก พับได้ 32 ส่วน เรี ยกว่า 32 หน้ ายก 4 หน้ ายก ปกติจะเป็ นหนังสือพิมพ์ 8 หน้ ายก เป็ นหนังสือขนาดใหญ่ มี 8 หน้ ายกใหญ่และเล็ก 16 หน้ ายก เป็ นหนังสือขนาดกลาง มี 16 หน้ ายกใหญ่และเล็ก 32 หน้ ายก เป็ นหนังสือขนาดเล็ก มี 32 หน้ ายกใหญ่และเล็ก

ขนาดหน้ ายกของหนังสือทั่วไป มีดังนี ้ − 1 หน้ ายก ขนาดที่แพร่หลาย คือ 31 X 43 − 4 หน้ ายก ขนาดประมาณ 14.5 X 22.5 หรื อขนาดใกล้ เคียง − 8 หน้ ายก ขนาดประมาณ 7.5 X 10.25 หรื อขนาดใกล้ เคียง − 16 หน้ ายก ขนาดประมาณ 5 X 7.25 หรื อขนาดใกล้ เคียง − 32 หน้ ายก ขนาดประมาณ 3 X 4.5 หรื อขนาดใกล้ เคียง − ขนาดความหนาของหนังสือตามปริ มาณกระดาษ เรี ยกตามภาษาธุรกิจการพิมพ์วา่ ยก ดังนันกระดาษแผ่ ้ นใหญ่แผ่นหนึง่ จะเป็ นปริ มาณกระดาษ 4 ยก − กระดาษในท้ องตลาดทัว่ ไป จะขายเป็ นม้ วนหรื อเรียกว่า ลูก ปริ มาณกระดาษ นํ ้าหนัก 30 กิโลกรัม เรี ยกว่า 1 รี ม 1 รี ม มีกระดาษ 500 แผ่น − 1 รี ม ปริ มาณกระดาษ 2,000 ยก

ตารางเปรียบเทียบขนาดกระดาษ


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

กระบวนการในขัน้ ตอนหลังการพิมพ์ (Afterpress)

24


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

25

งานพิมพ์ที่พิมพ์เสร็ จสิ ้นแล้ ว 3 โดยทัว่ ไปยังไม่สมบูรณ์เป็ นชิ ้นงานตามที่ต้องการ จึงต้ องผ่านกระบวนการต่อไปนี ้เสียก่อน การตกแต่ งผิวชิน้ งาน (Surface Decoration) งานพิมพ์บางประเภทต้ องการการเคลือบผิวเพื่อจุดประสงค์ต่างๆ กัน เช่น ป้องกันการขีดข่วน ป้องกันความชื ้น ต้ องการ ความสวยงาม เป็ นต้ น การตกแต่งผิวมีดงั นี ้ - การเคลือบผิว (Coating) เช่น การเคลือบวาร์ นิช วาร์ นิชด้ าน วาร์ นิชแบบใช้ นํ ้าเป็ นตัวทําละลาย (Water based varnish) การเคลือบยูวี ยูวีด้าน การเคลือบพีวีซีเงา พีวีซีด้าน การเคลือบเงาเฉพาะจุด (Spot UV) การเคลือบวาร์ นิชจะ ให้ ความเงาน้ อยที่สดุ ในขณะที่การเคลือบพีวีซีเงาจะให้ ความเงามากที่สดุ - การรีด/ปั๊ มแผ่ นฟอยล์ (Hot Stamping) คือ การปั๊ มด้ วยความร้ อนให้ แผ่นฟอยล์ไปติดบนชิ ้นงานเป็ นรู ปตามแบบปั๊ ม มีทงการปั ั้ ๊ มฟอยล์เงิน/ทอง ฟอยล์สตี า่ งๆ ฟอยล์ลวดลายต่างๆ ฟอยล์ฮาโลแกรม เป็ นต้ น - การปั๊ มนูน/ปั๊ มลึก (Embossing/Debossing) คือการปั๊ มชิ ้นงานให้ นนู ขึ ้นหรื อลึกลงจากผิวเป็ นรูปร่างตามแบบปั๊ ม เช่น การปั๊ มนูนตัวอักษร สัญลักษณ์ 2

การขึน้ รูป (Forming) ได้ แก่ การตัดเจียน เช่น งานทําฉลาก การขึ ้นเส้ นสําหรับพับ การปั๊ มเป็ นรู ปทรง การไดคัท เช่น งานทํากล่อง งานเจาะ หน้ าต่างเป็ นรู ปต่างๆ การพับ การม้ วน เช่น งานทํากระป๋ อง การทากาวหรื อทําให้ ติดกัน เช่น งานทํากล่อง งานทําซอง การหุ้ม กระดาษแข็ง เช่น งานทําปกแข็ง งานทําฐานปฏิทิน การทํารูปเล่ ม (Book Making) เป็ นขันตอนสํ ้ าหรับทํางานประเภทสมุด หนังสือ ปฏิทิน ฯลฯ มีขนตอนคื ั้ อ - การตัดแบ่ ง เพื่อแบ่งงานพิมพ์ที่ซํ ้ากันในแผ่นเดียวกัน - การพับ เพื่อพับแผ่นพิมพ์เป็ นหน้ ายก - การเก็บเล่ ม เพื่อเก็บรวมแผ่นพิมพ์ที่พบั แล้ ว/หน้ ายกมาเรี ยงให้ ครบเล่มหนังสือ - การเข้ าเล่ ม เพื่อทําให้ หนังสือยึดติดกันเป็ นเล่ม มีวิธีตา่ งๆ คือ การเย็บด้ วยลวด เย็บมุงหลังคา การไสสันทากาว - การเย็บกี่ทากาว การเย็บกี่ห้ มุ ปกแข็ง การเจาะรู ร้อยห่วง เมื่อผ่านการยึดเล่มติดกัน ก็นําชิ ้นงานมาตัดเจียนขอบสาม ด้ านให้ เรี ยบเสมอกันและได้ ขนาดที่ต้องการ (ยกเว้ นงานที่เย็บกี่ห้ มุ ปกแข็งและงานที่เจาะรู ร้อยห่วงจะผ่านการตัดเจียน ก่อนเข้ า เล่ม) การบรรจุหีบห่ อ (Packing) และจัดส่ ง (Delivery) เมื่อได้ ชิ ้นงานสําเร็ จตามที่ต้องการ ทําการตรวจสอบชิ ้นงาน แล้ วบรรจุหีบห่อพร้ อมส่งไปยังจุดหมายปลายทางต่อไป

การตรวจสอบไฟล์ งาน

3

กระบวนการหลังการพิมพ์ (After Press Process) ที่มา : ระบบออนไลน์ http://www.planprinting.co.th


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

26

มีประโยชน์กบั การทํางานในส่วนของโรงพิมพ์ เนื่องจากไฟล์งานที่มีความสมบูรณ์จะช่วยลดความผิดพลาดที่จะเกิดขึ ้น เช่น ความคมชัดของรูปภาพรูปแบบฟอนต์ ขนาดงาน รวมถึงปั ญหาต่างๆ ที่จะเกิดขึ ้นจากการนําไฟล์งานไปเปิ ดในเครื่ องอื่นหรื อ การเปิ ดไฟล์งานด้ วย โปรแกรมที่มีเวอร์ ชนั ต่างกันได้ สิง่ ต่างๆ ที่ควรทําการตรวจสอบ คือ 1. รู ปภาพ ภาพที่ใช้ ในงานสิ่งพิมพ์เป็ นสีระบบ CMYK โดยไปที่เมนู Image > Image Size….. รู ปที่ใช้ ควรมีขนาดที่ เหมาะสมกับขนาดงาน เพราะการย่อหรื อขยายรู ปเมื่อนํางานไปพิมพ์แล้ วจะทําให้ รูปไม่ชดั โดยไฟล์ภาพที่นิยมใช้ กบั งานพิมพ์คือ TIFF, PSK, PSD, BMP, JPG 2. ฟอนต์ หลังจากตรวจสอบความถูกต้ องเสร็ จเรี ยบร้ อยแล้ ว ควรทําการ Create Outlines โดย ไปที่เมนู Type > Create Outlines เนื่องจากการนําไฟล์งานไปเปิ ดในเครื่ องอื่นถ้ าเครื่ องเครื่ องนันไม่ ้ มีฟอนต์ ที่ใช้ ในงานอยู่ โปรแกรมจะนํา ฟอนต์อื่นมาแสดงผลแทน 3. สี โหมดสีที่ใช้ ในไฟล์งานและ Document Color Mode ต้ องเป็ น CMYK ซึ่งสามารถตรวจสอบ Document Color Mode ได้ โดยดูที่มมุ ซ้ ายบนของหน้ าต่างงานว่าเป็ น CMYK Color (กรเปลี่ยนแปลง Document Color Mode ในภายหลังจะ ทําให้ คา่ สีที่ใช้ งานทีการเปลีย่ นแปลง) Brush ถ้ ามีการใช้ Brush ในการวาดรู ปควรทําการแปลงให้ เป็ นลายเส้ น โดยไป ที่เมนู Object > Expand AppearanceSymbol การใช้ Symbol ต้ องแปลงให้ เป็ นลายเส้ น โดยไปที่ เมนู Object > Expand.. Crop Mark การกํ า หนดแนวเส้ นในการตั ด เจี ย นกระดาษ เพื่ อ บอกถึ ง ขอบเขตงานที่ ใ ช้ จริ ง หลั ง จากพิ ม พ์ ง านเสร็ จ โรงพิมพ์จะนํางานไปตัดโดยตัดตามเส้ นตัดที่กําหนดไว้ ในไฟล์งาน การสร้ าง Crop Area และ Crop Marks - สร้ างเส้ นตัดได้ โดยในขันแรกให้ ้ สร้ างกล่องสี่เหลี่ยมที่มีขนาดเท่ากับขนาด งานของท่าและคลิกเอกกล่อสี่เหลี่ยมไว้ หลังจากนันเลื ้ อกการสร้ างเส้ นตัดซึง่ มี 2 แบบ ดังนี ้ - แบบ Crop Area : ในเมนู Object > Crop Area > Make เนื่องจาก Crop Area เมื่อสร้ างขึ ้นแล้ วจะไม่สามารถคลิกได้ ถ้ าต้ องการลบทิ ้งให้ ไปที่เมน Object > Crop Area > Release การใช้ Crop Area ใช้ ได้ กบั รูปทรงสีเ่ หลีย่ มเท่านัน้ และเส้ นตัดที่ได้ จะมองเห็นเฉพาะในโปรแกรมเท่านันถ้ ้ าพิมพ์งานออกมา ดูจะมองไม่เห็นเส้ นตัด - แบบ Crop Marks : ไปที่เมนู Filter > Create > Crop Marks การใช้ Crop Marks เส้ นตัดที่ได้ มาจะสามารถคลิกเลือกได้ และสามารถใช้ กบั รูปทรงอื่นได้ อีกด้ วย การเผื่อเนื ้อที่ในการตัดเจียนขอบกระดาษ ในกรณีที่ชิ ้นงานมีพื ้นสีหรื อรู ปภาพวางอยู่ที่ขอบของเนื ้องาน ควรทําการขยาย พื ้นที่ออกไปจากขอบเขตงานจริ งประมาณ 3 มิลลิเมตร เนื่องจากงานที่พิมพ์ เสร็ จเมื่อนําไปตัดอาจมีการเหลือ่ มซึง่ จะก่อให้ เกิดการ เหลือ่ มขาวขึ ้น

การเตรียมไฟล์ ส่งโรงพิมพ์ โดยทัว่ ไปการส่งไฟล์ให้ กบั โรงพิมพ์มกั จะใช้ การเขียนลง CD หรื อ DVD ไฟล์ที่ต้องรวบรวมประกอบด้ วยไฟล์ งาน อาจจะส่ง


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

27

เป็ น 2 ไฟล์คือ ไฟล์ที่ได้ Create Outlines แล้ ว และไฟล์ที่ยงั ไม่ได้ Create Outlines เพื่อใช้ ในการแก้ ไขภายหลังรู ปภาพ รวบรวม รูปภาพที่ใช้ ในไฟล์งานทังหมด ้ ทังรู้ ปที่ Link และไม่ Link ท่านสามารถตรวจสอบว่ารู ปใดที่ใช้ ในไฟล์งานบ้ างได้ จาก Palette Link ฟอนต์ ควร Save ฟอนต์ทกุ ตัวที่ได้ ใช้ ประกอบภายในหน้ างานส่งไปยังโรงพิมพ์ด้วย เพื่อรองรับความผิดพลาด หรื อการแก้ ไขไฟล์ งานเล็กๆ น้ อยๆ ที่อาจเกิดขึ ้น ซึง่ ก่อนการ Create Outline จะสามารถตรวจดูได้ วา่ ฟอนต์ที่ใช้ ในงานมีฟอนต์ใดบ้ างที่เมนู Type > Find Font… ฟอนต์ที่ใช้ ทงหมดจะอยู ั้ ใ่ นช่อง Fonts in Document ใบพริ นต์งาน (ตัวอย่างชิ ้นงาน) เป็ นงานที่เสร็ จสมบูรณ์แล้ ว ควร ทําการพิมพ์ ส่งไปเป็ นตัวอย่างเพื่อให้ โรงพิมพ์ตรวจสอบความถูกต้ องด้ วย คําแนะนําสําหรับการเตรียมไฟล์ ให้ เหมาะสมกับการพิมพ์ 4 3

1. นักออกแบบควรจะใช้ โปรแกรมออกแบบให้ ตรงตามประเภทของงานก่อนตังแต่ ้ ต้น เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดความสูญเสีย คุณภาพของงาน การใช้ โปรแกรมผิดประเภท นอกจากจะไม่ได้ งานตามที่ควรจะเป็ นแล้ ว ยังทําให้ เกิดความยุ่งยากเมื่อเข้ าสู่ ขันตอนการพิ ้ มพ์ Photoshop เหมาะสําหรับงานออกแบบทัว่ ไป โปสเตอร์ โบรชัวร์ ออกแบบหน้ าปกหนังสือ งาน Ads เป็ นชิ ้น ๆ มีเพียง 12 หน้ า งานที่เ น้ นไปที่ การทํางานเกี่ ย วกับภาพเป็ นหลัก ไม่ว่าจะเป็ นภาพถ่า ยจากกล้ อ งดิจิ ทัล หรื อ ภาพที่ได้ มาจาก Photostock เป็ นโปรแกรมตังต้ ้ นสําหรับจัดการกราฟิ ก เพื่อนําไปใช้ กบั โปรแกรมอื่น ๆ ไม่เหมาะกับการนํามาออกแบบหนังสือ เป็ นเล่มโดยตรง ถึงแม้ วา่ จะทําได้ ก็ตาม Illustrator เหมาะสําหรับงานออกแบบทัว่ ไป ไม่ว่าจะเป็ น โปสเตอร์ โบรชัวร์ หน้ าปกหนังสือ กล่องผลิตภัณฑ์ ฯลฯ การ ทํางานส่วนใหญ่จะทําใน Illustrator เป็ นหลัก ทางโรงพิมพ์แนะนําให้ ตกแต่งภาพให้ เสร็ จเรี ยบร้ อยใน Photoshop เสร็ จแล้ วค่อย นําภาพเข้ ามาใช้ (Place) ใน Illustrator อีกทีหนึง่ InDesign เหมาะสํา หรั บ การออกแบบงานหนัง สื อ นิ ต ยสาร หรื อ หนัง สือ พิ ม พ์ ที่ เ ป็ นลัก ษณะเล่ม ๆ มี ห ลาย ๆ หน้ า ลักษณะการใช้ งานจะเป็ นในลักษณะ “จัดหน้ าหนังสือ” มากกว่า “ออกแบบกราฟิ ก” ภาพและกราฟิ กที่ใช้ มกั จะตกแต่งแล้ ว เสร็ จมาจาก Photoshop/Illustrator แล้ วค่อยนํามาวางใน InDesign เพื่อจัดรูปเล่มหนังสืออีกต่อหนึง่ 2. กําหนดขนาดของงานให้ เรี ยบร้ อยก่อนลงมือทํา Artwork เพราะเมื่อออกแบบไปแล้ ว แล้ วมาแก้ ไขทีหลัง จะทําให้ เสียเวลา สิ ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายไปโดยไม่จําเป็ น เช่นกรณีที่ออกแบบมาเป็ น A5 แต่ spec จริ งเป็ น A4 การขยายขนาดจาก 100% เป็ น 200% นัน้ ทําให้ คณ ุ ภาพของงานดรอปลงอย่างมาก โดยเฉพาะภาพจําพวก JPEG 3. การกําหนดขนาดงาน “จะต้ องบวกพื ้นที่การทํางานออกไปเสมอ“ เพื่อเผื่อตัดตก ตัดตก คือการออกแบบงานให้ เลย ยื่นออกนอกเนื ้อที่งาน เพื่อที่จะได้ ไม่เกิดขอบขาว เวลาโรงพิมพ์เจียนงานทิ ้ง สิ่งนี ้จําเป็ นมากและนักออกแบบส่วนใหญ่ที่ไม่เคยมี ประสบการณ์ทํางานกับโรงพิมพ์มาก่อนจะไม่ร้ ู งานที่ไม่ได้ เผื่อตัดตก บางครัง้ จะทําให้ มีขอบขาวๆ เกิดขึ ้นเวลาพิมพ์งานจริ ง โรง พิมพ์บางแห่งจะแก้ โดยการขยายงานออกไปข้ างละ 3mm (หรื อประมาณ 1/8 นิ ้ว) ทําให้ Artwork ที่ลกู ค้ าทํามานัน้ ใหญ่เกินจริ งไป ราว ๆ 2% 4. ขันตอนการทํ ้ างานขันถั ้ ดไป แยกตามโปรแกรมที่ใช้ งาน

4

เตรี ยมไฟล์อย่างไรถึงจะเหมาะกับงานพิมพ์. ที่มา : ระบบออนไลน์ http://www.wacharinprint.com


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

28

ตัวอย่างการตังค่ ้ าหน้ ากระดาษสําหรับการออกแบบโบรชัวร์ ด้วย Photoshop

1. เลือกขนาดงานทีต่ ้ องการเช่น A4 (ส่วนใหญ่งานที่ผลิตในไทย จะใช้ Standard ของ International Paper) 2. ให้ เผื่อขนาดตัดตกออกไปทุกด้ าน (บน ล่าง ซ้ าย ขวา) ด้ านละ 3 mm 3. Resolution ที่ใช้ เป็ น 300 Pixel/inch ไม่จําเป็ นต้ องมากไปกว่านี ้ และไม่ควรน้ อยไปกว่านี ้ Resolution ที่มากเกินไป ไม่ได้ ทําให้ ความคมชัดของงานพิมพ์เพิ่มขึ ้นแต่อย่างใด 4. สําหรับงานที่สง่ โรงพิมพ์แล้ ว จะต้ องใช้ โหมดสีเป็ น CMYK เสมอ เมื่อเริ่ มทํางานแล้ ว ให้ ตงั ้ guide ให้ กบั wordspace ดังนี ้


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

29

ไกด์งานที่เห็นในภาพ เป็ นไกด์งานขนาด A4 ที่เผื่อขอบออกไปด้ านละ 3mm อยูแ่ ล้ ว ส่วนที่ยื่นออกไปนอกไกด์ จะถูกเจียนทิ ้งทังหมด ้ แต่ไม่มีไม่ได้ ฉะนัน้ นักออกแบบควรจะพิจารณาให้ ดีว่า จะวาง Layout อย่างไรให้ มีตําแหน่งที่ เหมาะสม 5. ทางโรงพิมพ์พบปั ญหาเรื่ อง Font บ่อยมาก ทําให้ ต้องเสียเวลาติดต่อนักออกแบบหลายรอบ ดังนันหากมี ้ การใช้ Font พิเศษ ให้ นกั ออกแบบ Rasterize ฟอนต์มาด้ วยนะครับ (Click ขวาที่ Text Layer นัน้ ๆ แล้ วเลือก Rasterize Type) การ Rasterize จะแปลง Text Layer นันให้ ้ กลายเป็ นภาพกราฟิ ก จึงไม่สามารถแก้ ไขข้ อความต่อไปได้ การ Rasterize จึง ไม่ใช่การแก้ ปัญหาที่ดีที่สดุ แต่ในขณะเดียวกัน วิธีนี ้เป็ นวิธีที่สะดวกที่สดุ 6. เมื่อออกแบบเสร็ จแล้ ว ให้ เซฟเป็ นไฟล์ PSD, Tiff หรื อรูปแบบไฟล์ที่โรงพิมพ์รองรับส่งโรงพิมพ์ได้ เลย


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

30

วิธีการคล้ ายๆ กันกับ Photoshop แต่ Illustrator มี feature ที่เพิม่ ขึ ้นมาดังนี ้

1. เลือกขนาดงานทีต่ ้ องการออกแบบ 2. ให้ set ขนาดตัดตก ทุกด้ าน ด้ านละ 3mm (สําหรับ Illustrator ให้ ตงที ั ้ ่ Bleed ทุกด้ าน ๆ ละ 3mm ตามรูปครับ) 3. ส่วนที่ 3 นี ้ ไม่ต้องเซ็ตอะไร เพราะเป็ นค่าเริ่ มต้ นสําหรับ Illustrator อยูแ่ ล้ ว แต่ให้ เช็คเพื่อความแน่ใจว่า ค่าที่ได้ ได้ เหมือนดังภาพเป็ นอย่างน้ อย หน้ าตาของ Workspace ที่ได้ ก็จะประมาณนี ้

เมื่อมองจากภาพขยาย กรอบสีดําด้ านในที่เห็นอยู่ก็คือกรอบขนาดไซส์งานจริ งที่เราเลือกไว้ ในที่นี ้คือขนาด A4 ส่วนเส้ นกรอบสีแดงด้ านนอกคือ เส้ น Bleed หรื อ เส้ นแสดงของเขตตัดตกนัน่ เอง บริ เวณที่อยู่เลยขอบสีดําออกมา นันจะถู ้ กเจียนทิ ้งทังหมดเวลาผลิ ้ ตงานพิมพ์


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

31

สําหรับ Adobe InDesign แนะนําเพิ่มเติมในส่วนของการ Export ไฟล์เป็ น PDF มาด้ วย เพราะหลายครัง้ พบว่าลูกค้ า ของโรงพิมพ์สร้ าง Package ไม่เป็ น ทําให้ การส่งไฟล์ PDF ให้ กบั โรงพิมพ์จะผิดพลาดน้ อยลง

1. เริ่ มจากการสร้ าง Document ใหม่ ให้ นกั ออกแบบเลือกขนาดงานสําเร็ จที่ต้องการได้ เลย เช่นหากต้ องการพิมพ์ หนังสือขนาด A4 ก็ให้ เลือก Page Size เป็ น A4 ได้ เลย หน่วยที่แสดงในรู ปจะเป็ น Pica ซึ่ง 1 Pica จะยาวประมาณ 4.233 mm หรื อ 0.166 นิ ้ว (1 Pica = 12 Point) แต่ถ้านักออกแบบท่านไหนถนัดหน่วยอื่น ก็สามารถไปเปลี่ยนได้ ในภายหลัง ต่อมาคือ จํานวน Column ถ้ าเป็ นหน้ าเดี่ยว ๆ ก็ปล่อยไว้ เฉย ๆ ไม่ต้องไปเปลีย่ นก็ได้ แต่ในที่นี ้ เป็ นการออกแบบงานที่มี 2 column เลยต้ อง ตังค่ ้ าเป็ น 2 ส่วน Gutter คือระยะห่างระหว่างคอลัมน์ ลงมาที่ Margin เป็ น Guide ภายในหน้ าหนังสือ เอาไว้ สําหรับวาง text ตัวหนังสือ Margin 3 Pica เป็ นค่า standard สําหรับหนังสือทัว่ ๆ ไป ที่นิยมใช้ ต่อมาคือส่วนที่สําคัญที่สดุ ที่จะกล่าวถึง คือเรื่ องของ Bleed (ส่วน Slug คือพื ้นที่ที่เลย Bleed ออกไปอีก มีไว้ สาํ หรับคนของโรงพิมพ์ใส่ข้อมูลที่จําเป็ นในการพิมพ์ เช่น ไกด์สี ฯลฯ นักออกแบบไม่จําเป็ นต้ องใช้ ในส่วนนี ้) Bleed ที่ปกติทางโรงพิมพ์ทวั่ ไปนิยมใช้ กนั คือ 3 mm (หรื อประมาณ 1/8 นิ ้ว) เท่านัน้ ไม่จําเป็ นต้ องน้ อยไปกว่านี ้


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

32

2. พอสร้ าง document ใหม่เสร็ จ เราจะเห็น Workspace ของเรามีเส้ นอยู่ 3 เส้ นหลัก ๆ เส้ นตรงกลาง สีดํา : คือเส้ นขอบเขตงาน ในที่นี ้จะมีขนาด = กระดาษ A4 ตามที่เราเซ็ตไว้ ตงแต่ ั ้ ต้น  เส้ นนอกสุด สีแดง : คือเส้ น Bleed จะบวกจากเส้ นสีดําออกไป 3mm ครับ  เส้ นในสุด สีมว่ ง : คือเส้ น Margin ห่างจากเส้ นขอบเขตงาน 3 Pica หรื อ 36 Point หรื อตามทีก ่ ําหนดไว้ ในส่วนของการออกแบบ นักออกแบบจะต้ องวางงานให้ จรดเส้ น Bleed พอดีทกุ ครัง้ ทุกด้ าน กราฟิ กที่ยื่นเกินเส้ นขอบเขต งาน (สีดํา) ออกไปจะถูกตัดทิ ้งทังหมด ้ ตัวหนังสือที่ไม่ใช่ graphic แต่เป็ น ตัวหนังสือจําพวก text เอาไว้ ให้ คนอ่าน ควรจะอยู่ ภายในเส้ น Margin เรี ยกว่าอยูใ่ นระยะ Safety Area คือ บางครัง้ เวลาเจียนงาน อาจจะมีบ้างที่เหลือ่ มไปเหลือ่ มมา ถ้ าตัวหนังสือ อยูน่ อก Margin จะทําให้ มองดูไม่สมดุล ไม่สวยงาม อาจจะเกินออกไปได้ เล็กน้ อย แต่ไม่ควรยื่นลํ ้าออกไปมาก 


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

3. พอออกแบบงานเสร็ จแล้ ว ก็มาถึงขันตอนการ ้ Export เป็ น PDF แนะนําให้ ผ้ อู อกแบบเลือก Profile ดังนี ้  Preset : High Quality Print

33

Standard : PDF/X-4 5 หากเราทํางานโดยไม่ได้ ย่งุ เกี่ยวกับใคร หรื อเราทํางานกันแบบรู้ จุดหมายปลายทางเดียวกัน อันนี ้เราก็จะใช้ PDF/X1-a เพราะรู ปแบบนีจ้ ะทําการฝั งข้ อมูลการจัดการสีปลายทางติดแน่นไปกับไฟล์แล้ ว ไม่ควรจะเปลี่ยนแปลง เป้าหมายปลายทางหรื อโปรไฟล์สอี ีก แต่ถ้ามีความรู้เกี่ยวกับการจัดการสีเราก็ควรจะมาใช้ เป็ น PDF/X-3 ที่ยงั สามารถใช้ ระบบจัดการสีที่ปลายทางได้ เพราะในระหว่างที่เราทําการ Export ไฟล์ไปเป็ น PDF กระบวนการจัดการสียงั ไม่มีการ ทํางาน Convert โปรไฟล์สี ยกเว้ นเราทํางานด้ วยเอฟเฟ็ ค ที่มี เรื่ องของ Transparency มาเกี่ยวข้ อง โปรแกรมจะไม่สา มารคงโปรไฟล์สีไว้ ได้ ต้ องมีการ Flatten Transparency ให้ เป็ น CMYK ตาม Profile ของ Documment ที่กําหนดไว้ ซึ่ง ทัง้ PDF/X-1a และ PDF/X-3 นันอยู ้ ่ในมาตรฐานของ PDF 1.3 ที่มีข้อจํากัดเรื่ องนี ้ ทําให้ มีการคิดแก้ วิธีการจนได้ มาถึง แนวทางที่จะให้ PDF/X-4 PDF/X-4 เป็ นทางออกของข้ อจํากัดการทํางานที่ต้องการคงไว้ ซึ่งการเป็ น Transparency โดยที่ยงั ไม่มีการ Flatten Transparency และที่สาํ คัญคือการที่จะมาตอบสนองการใช้ งานที่ยงั คงไว้ ซงึ่ Layer นอกจากนี ้ยังต้ องเตรี ยมการ ใช้ งานที่เกี่ยวข้ องกับคําสัง่ Conditionnal Text ที่ถือว่าเป็ นความสามารถหนึ่งที่จะต่อเชื่อมไปถึงระบบการพิมพ์แบบ Variable Data (VDP) จึงเป็ นเหตุผลหนึง่ ที่ PDF/X-4 ต้ องก้ าวเข้ ามาอยู่ในมาตรฐานของ PDF 1.6 แต่สามารถเปิ ดให้ ใช้ PDF 1.4 ได้ ไหม คําตอบคือได้ แต่จะไม่มีการทํางานในรู ปแบบ Optional Layer มันก็เหมือนกับมันไม่สอดคล้ องกับ เจตนาของการทํางานที่แท้ จริ ง 

5

ความรู้ PDF/X-4 ที่มา : ระบบออนไลน์ http://www.indesignthai.com


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

34

เสร็ จแล้ วให้ เลือกที่ Tab “Marks and Bleeds” แล้ วทําการ check box ที่ “Crop Marks” และ “Bleed Marks” ขันตอนนี ้ ้จะเป็ นการใส่ Bleed Mark + Crop Mark ลงไปใน PDF ไฟล์ด้วย เวลาโรงพิมพ์ทํางาน จะได้ ตัดสินใจได้ แม่นยําว่า จุดไหนคือขอบเขตของงานกันแน่  Bleed and Slug ให้ ทําการ check box ที่ “Use Document Bleed Settings” ด้ วยเพื่อเป็ นการบอกว่า ให้ เรา ใช้ Bleed ตามที่เราได้ เลือกไว้ ตงแต่ ั ้ ตอนเริ่ มเปิ ดไฟล์งานเลย ไม่จําเป็ นต้ องไปเซ็ตใหม่ เมื่อเสร็ จแล้ ว ก็ทําการ export ออกมาเป็ น PDF ได้ เลย 

4. ถ้ านักออกแบบเปิ ดไฟล์ PDF ที่ถกู export ออกมา ก็จะพบ Trim Mark (Crop Mark) และ Bleed Mark ตามรู ป ด้ านบนนี ้ 5. ขันตอนสุ ้ ดท้ ายก็คือ ตรวจทานไฟล์งานอีกรอบอย่างละเอียดทังหมด ้ ทังในเรื ้ ่ องของการจัดหน้ า การวาง layout เรื่ อง ของสี, กราฟิ ก, รู ปภาพ และหากไม่แน่ใจในเรื่ องของการพิสจู น์อกั ษร แนะนําว่า ให้ print งานออกมาตรวจทานอีกรอบก่อน เพราะว่าทางโรงพิมพ์จะยึดเอาไฟล์ PDF ที่ลกู ค้ า approve แล้ วส่งมา เป็ นหลักยึดในการทํางาน


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

35

คําศัพท์ ทางการพิมพ์ 6 5

คําบางคําที่โรงพิมพ์ชอบใช้ กนั ซึง่ มีประโยชน์เวลาติดต่อคุยกับโรงพิมพ์ในการสือ่ สารได้ เพลท = แม่ พิมพ์ : ถ้ าเป็ นการพิมพ์ออฟเซตแม่พิมพ์จะมีลกั ษณะเป็ นแผ่นโลหะบางๆ เคลือบด้ วยสารเคมีบางอย่าง ต้ นทุนในการทําแม่พิมพ์ เป็ นต้ นทุนคงที่ เช่น แม่พิมพ์ 4 สี สมมติว่าต้ นทุน 10,000 บาท ถ้ าคุณพิมพ์ โปสเตอร์ 1 ใบก็ต้องเสียค่าแม่พิมพ์ 10,000 บาท แต่ ถ้ าพิมพ์ 1,000 ใบค่าแม่พิมพ์เฉลี่ยแล้ วเหลือใบละ 10 บาท ถูกลงไปมาก ดังนันถ้ ้ าคุณพิมพ์ยอดน้ อยๆก็ต้องทําใจว่า ต้ นทุนต่อ หน่วยค่อนข้ างจะสูง ใบชุด = จํานวน สําเนาของใบเสร็จแต่ ละชุด (รวมต้ นฉบับ) : คือเวลาพิมพ์ใบเสร็ จ 1 เล่มจะมี 50 ชุด แต่ละชุดจะมีสาํ เนา ถ้ าบอกว่าใบเสร็ จ 4 ใบชุด หมายถึง ใบเสร็ จแต่ละชุด (แต่ละ เลขที่) จะมี สําเนา 3 ใบรวมต้ นฉบับเป็ น 4 ใบ เจียน = คือ การตัดขอบกระดาษที่เผื่อไว้ ในตอนพิมพ์ ออก : โดยปกติเวลาพิมพ์งาน โรงพิมพ์จะพิมพ์กระดาษแผ่นใหญ่แล้ วค่อยมาตัดแบ่งออกเป็ นชิ ้นงาน ตามขนาดที่ ต้ องการ เช่น โบรชัวร์ ขนาด A4 โรงพิมพ์อาจจะพิมพ์ครัง้ ละ 8 หน้ าแล้ วค่อยมาตัดแบ่งเป็ น A4 ภายหลัง ในการตัดแบ่งจะต้ องตัดขอบออก อาจจะตัดหยาบๆ ออกเป็ น 8 แผ่นก่อน ตัดมาแล้ วขนาดอาจจะยังไม่ถกู ต้ องดี เช่น ใหญ่กว่าสัก 2-3 มิลลิเมตร ดังนันจึ ้ งต้ องเอาแต่ ละแผ่นมาตัดละเอียดอีกครัง้ หนึง่ วิธีการลักษณะนี ้เรี ยกว่า “เจียน” ไดคัท มี 2 ความหมาย : ความหมายแรก = คือการตัดขอบกระดาษแต่ไม่เหมือนกับการเจียน การเจียนจะตัดเป็ นเส้ นตรง ส่วนไดคัท เป็ นการตัด ขอบตามรู ปทรงต่างๆ จะหยักจะโค้ งอย่างไรก็ได้ ค่าใช้ จ่ายจะสูงกว่าการเจียน เพราะจะต้ องทําบล็อกไดคัทขึ ้นมาโดยเฉพาะ ซึ่ง จะต้ องจ้ างช่างทําขึ ้นเป็ นรูปทรงต่าง ๆ ที่ต้องการ โดยช่างจะใช้ ใบมีดมาดัดให้ เป็ นรูปทรงที่เราต้ องการจะตัดกระดาษ เช่น รูปใบไม้ , รูปดอกจิก เป็ นต้ น โดยใบมีดจะถูกติดตังบนแบบไม้ ้ อดั เมื่อต้ องการใช้ จะถูกนําไปติดตังบนเครื ้ ่ องปั ม้ ไดคัทอีกทีหนึง่ และจะปั ม้ ออก มาได้ ทีละใบ จึงมีคา่ ใช้ จ่ายสูงกว่าการเจียน ความหมายที่สอง = คือการลบฉากหลังของภาพออก เช่น ถ่ายภาพบ้ านจัดสรรมาแล้ วฉากหลังไม่สวยงาม จึงลบฉากหลัง ออกเพื่อนําไปวางลงบนฉากหลังอื่นหรื อไม่เช่นนันก็ ้ ปล่อยให้ เป็ น ฉากหลังขาว พิมพ์ ก่ สี ี = การนับจํานวนสี นับจากสีท่ พ ี ิมพ์ ไม่ นับสีของกระดาษ : เช่นกระดาษพื ้นมีชมพู พิมพ์สดี ํา อย่างนี ้เรี ยกพิมพ์ 1 สี ในงานพิมพ์อาจจะมีสีเทาอ่อน เทาแก่ ก็นบั เป็ นสีเดียว เพราะเป็ น การลดนํ ้าหนักสี แต่หมึกที่ใช้ เป็ นหมึกสีดํา กระดาษเคมี = เป็ นกระดาษ สําหรับพิมพ์ ใบเสร็จ : 6

ความรู้ คําศัพท์ทางการพิมพ์ ที่มา : ระบบออนไลน์ http://www.108graphicdesign.com


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

36

เป็ นกระดาษที่เขียนด้ านบนแล้ ว จะติดลงไปถึงแผ่นที่อยู่ด้านล่างด้ วย โดยไม่ต้องใช้ กระดาษคาร์ บอน หรื อ จะเรี ยกว่า กระดาษก็อปปี ใ้ นตัวก็ได้ คําศัพท์ ด้านการพิมพ์ 2/0 : วิธีที่โรงพิมพ์เขียนสันๆ ้ หมายถึงพิมพ์ด้านหน้ า 2 สี ด้ านหลังไม่พิมพ์4/1 :วิธีที่โรงพิมพ์เขียนสันๆ ้ หมายถึงพิมพ์ด้านหน้ า 4 สี ด้ านหลังพิมพ์ 1 สี4+UV /4 :วิธีที่โรงพิมพ์เขียนสันๆ ้ หมายถึงพิมพ์ด้านหน้ า 4 สี อาบ UV ด้ านหลังพิมพ์ 4 สี C (Cyan) : สีฟ้าซึง่ เป็ นแม่สหี นึง่ ในสีส่ ใี นระบบการพิมพ์แบบสอดสี M (Magenta) : สีชมพูซงึ่ เป็ นแม่สหี นึง่ ในสีส่ ใี นระบบการพิมพ์แบบสอดสี Y (Yellow) : สีเหลืองซึง่ เป็ นแม่สหี นึง่ ในสีส่ ใี นระบบการพิมพ์แบบสอดสี K (Black) : สีดําซึง่ เป็ นแม่สหี นึง่ ในสีส่ ใี นระบบการพิมพ์แบบสอดสี C10 M20 Y100 K0 : วิธีเขียนสันๆ ้ สําหรับบอกค่าเปอร์ เซ็นต์ความหนาแน่นของเม็ดสกรี นของแม่สีแต่ละสี ในที่นี ้คือ Cyan 10% Magenta 20% Yellow 100% Black 0% CIP 4 : คือ การร่ วมมือ กันระหว่างผู้ค้า กับผู้ที่อ ยู่ในอุต สาหกรรมการพิ มพ์ เกี่ ย วกับ เรื่ องการพิมพ์ การออกแบบ ส่วนงานที่ เกี่ยวข้ อง และยังครอบคลุมไปถึงเครื่ องมือ เครื่ องจักร ซอฟต์แวร์ และกระบวนการต่าง ๆ CMYK :

ย่อมาจาก Cyan Magenta Yellow และ Black ซึง่ เป็ นแม่สที งสี ั ้ ข่ องการพิมพ์แบบสอดสี

Color Bar : คือ แถบสีบนแผ่นพิมพ์ ซึ่งอยู่นอกพื ้นที่ของเนื ้องาน ทางโรงพิมพ์ใช้ สําหรับตรวจดูปริ มาณหมึกที่จ่ายลงบนแผ่นพิมพ์ให้ อยูใ่ นเกณฑ์ และใช้ ในการดูคณ ุ ภาพของงานพิมพ์ด้านต่างๆ Colorimeter : เครื่ องมือสําหรับวัดค่าสีตามที่ตาเห็น


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

37

Computer-to-Plate (CTP) : เป็ นระบบที่สามารถแปลงไฟล์งานออกมาเป็ นเพลทแม่พิมพ์ที่มีภาพพร้ อมใช้ พิมพ์ได้ โดยไม่ต้องทําเป็ นฟิ ล์มก่อนทําเพลท Cure : คือกระบวนการทําให้ หมึกพิมพ์หรื อนํ ้ายาเคลือบต่างๆ แห้ งสนิทติดกับผิวกระดาษได้ ดี ไม่หลุดลอกหรื อถลอกง่าย Dot : คือเม็ดของสีที่มีการเรี ยงตัวก่อให้ เกิดภาพพิมพ์ DPI (Dots per Inch) : เป็ นหน่วยวัดความละเอียดของภาพ เท่ากับจํานวนของเม็ดสีที่เรี ยงกันในความยาวหนึ่งนิ ้ว ค่า DPI ยิ่งสูง ภาพก็จะมี รายละเอียดและความคมชัดสูง Duotone : คือภาพพิมพ์ที่พิมพ์โดยใช้ หมึกพิมพ์ 2 สี มีชนของความลึ ั้ กดีกว่าพิมพ์สเี ดียว หากมีการเลือกคู่สีที่เหมาะสม ภาพที่ได้ จะ ดูสวยงาม Feeder : ส่วนของเครื่ องพิมพ์ที่ทําหน้ าที่ป้อนกระดาษทีละแผ่นจากตังกระดาษเข้ ้ าไปยังหน่วยพิมพ์ Hot Stamping : คือกรรมวิธีที่โรงพิมพ์ทําภาพพิมพ์บนกระดาษโดยใช้ แม่พิมพ์ที่มีความร้ อนรี ด แผ่นฟิ ล์ม/ฟอยล์ให้ ติดผิวกระดาษจนเกิด ภาพตามแม่พิมพ์แผ่นฟิ ล์ม/ฟอยล์ Imagesetter : เครื่ องสร้ างภาพ (ประกอบด้ วยเม็ดสกรี นที่เรี ยงตัวกัน) ลงบนแผ่นฟิ ล์มแยกตามสีแต่ละสีที่จะนําไปใช้ ทําเพลทแม่พิมพ์ Line Screen : การวัดความละเอียดของชิ ้นงานพิมพ์เป็ นจํานวนเส้ นของเม็ดสกรี นต่อหนึ่งหน่วย ความยาว หากค่าดังกล่าวยิ่งสูง ภาพ จะมีความคมชัดและมีรายละเอียดยิ่งดีขึ ้น Lithography : คือ ระบบการพิมพ์ที่ใช้ หลักการว่า นํ ้ากับนํ ้ามันจะไม่รวมตัวกันในการพิมพ์ระบบออฟเซ็ต เพลทแม่พิมพ์จะผ่านลูกนํ ้า เพื่อสร้ างเยื่อนํ ้าบางๆ บนเพลท ผิวของเพลทจะมีสว่ นที่เป็ นเม็ดสกรี นซึง่ เคลือบด้ วยสารที่ไม่รับนํ ้า นํ ้าจึงไม่เกาะติด เมื่อเพลทผ่าน ลูกหมึก หมึกจะไม่ไปเกาะผิวเพลทส่วนที่เป็ นนํ ้าแต่จะไปเกาะที่เป็ นเม็ดสกรี น ทําให้ เกิดภาพตามที่ต้องการถ่ายทอดลงบนผ้ ายาง และกระดาษในที่สดุ


กระบวนการผลิตสื่อสิ่งพิมพ |

38

LPI (Lines per Inch) : ความละเอียดของภาพพิมพ์เป็ นจํานวนเส้ นสกรี นต่อนิ ้ว ค่า LPI ยิ่งสูงภาพยิ่งละเอียด การพิมพ์บนกระดาษปรู๊ฟ โรงพิมพ์ ควรใช้ ความละเอียดไม่เกิน 125 LPI กระดาษปอนด์ไม่ควรเกิน 150 LPI กระดาษอาร์ ตปกติใช้ 175 LPI แต่มีโรงพิมพ์หลายแห่งใช้ ความละเอียดสูงกว่านี ้ Pantone Matching Systems (PMS) : ระบบการตังรหั ้ สมาตรฐานสําหรับสีแต่ละเฉดสีเพื่อความเข้ าใจตรงกันของผู้ใช้ สี และทําให้ สามารถเลือกสีได้ ถกู ต้ องจาก รหัสของสีนนๆ ั้ Resolution : หมายถึงความละเอียดของภาพ มีหน่วยวัดเป็ นจํานวนเม็ดสีตอ่ หนึง่ หน่วยความยาว เช่น DPI คือ dots per inch RIP (Rastor Image Processor) : เครื่ องแปลงภาษาของซอฟต์แวร์ ที่ใช้ ในการจัดทําต้ นฉบับ เช่น Postcript PDF ให้ เป็ นภาพที่มีความละเอียดสูงเพื่อนําไป พิมพ์ภาพที่เครื่ องพิมพ์ตอ่ ไป Typesetting : คือการจัดเรี ยงตัวอักษร ลายเส้ นต่างๆ ประกอบกันขึ ้นเพื่อจัดทําอาร์ ตเวิร์กสําหรับหน้ าหนังสือ หรื อสิ่งพิมพ์อื่นๆ แล้ ว นําไปใช้ ในการพิมพ์ตอ่ ไป _________________________________________________________________________ บรรณานุกรม • จุฑามาศ มโนสิทธิกลุ . 2554. สร้ างงานสื่อสิ่งพิมพ์ แบบฉบับมืออาชีพ. บริ ษัท เน็ทดีไซน์ พับลิชชิ่ง จํากัด. • จันทนา ทองประยูร. 2537. การออกแบบและจัดหน้ าสิ่งพิมพ์ . นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. • ดรุณี หิรัญรักษ์ . 2543. การัดการธุรกิจหนังสือพิมพ์ . กรุงเทพฯ : บริ ษัทเอกพิมพ์ไทย จํากัด. • ปราโมทย์ แสงผลสิทธิ์. 2540. การออกแบบนิเทศศิลป์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ วี.เจ. พริ น้ ติ ้ง. • สุรสิทธิ์ วิทยารัฐ. 2546. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ . กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือสวนสุนนั ทา. • สดศรี เผ่าอินจันทร์ . 2543. การออกแบบหน้ าหนังสือพิมพ์ . นครราชสีมา : โคราชพริ น้ ติ ้ง. • มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2552. การผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ . สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช หน่วยที่ 1-7. • อารยะ ศรี กลั ยาณบุตร. 2550. การออกแบบสิ่งพิมพ์ . กรุงเทพมหานคร : วิสคอมเซ็นเตอร์ . • Harrower, Tim. 2002. The Newspaper Designer’s Handbook. Boston ; London : MaGraw-Hill.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.