มกราคม / มีนาคม 2558
Vol.02
ASE AN from Below
ศูนย์อาเซียนศึกษา วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ถนนห้วยแก้ว ต�ำบลสุเทพ อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์: 053-943595-6 โทรสาร: 053-89-3279 Email: cascmu@cmu.ac.th บรรณาธิการ
ดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ
ผู้อ�ำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กองบรรณาธิการ
สมัคร์ กอเซ็ม อ.ดร.นัทมน คงเจริญ อ.ดร.มาโนช โพธาภรณ์ กาญจนา กุลพิสิทธิเจริญ ภาพปก
ASE AN from Below
Publication design: นับวงศ์ ช่วยชูวงศ์ >> nabw@me.com >> tel. 0814721400
สมัคร์ กอเซ็ม
Contents
บทบรรณาธิการ CMU Focus
02 04
สถานการณ์เขื่อนแม่น�้ำสาละวิน: ความต้องการพลังงาน จีน-ไทย บนฐานความขัดแย้งกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า
04
โดย อานนท์ ตันติวิวัฒน์
ASEAN Activities in CMU
โครงการ “ค่ายพัฒนาผู้น�ำเยาวชนสู่ประชาคมอาเซียน” บรรยายวิชาการเรื่อง “นับถอยหลัง AEC – ความท้าทาย และการเตรียมความพร้อมของประชาคมภาคเหนือ” ประชุม ‘ASEAN + 3 Rectors’ Conference ครั้งที่ 2 นิทรรศการภาพถ่าย A Photographic Journey Into Southeast Asian Movie Theater Architecture การรวบรวมจัดแสดงภาพสะท้อนผู้คนในอาเซียน Family Snaps: Photography in Southeast Asia “ตะอาง (ปะหล่อง) กลุ่มชาติพันธุ์สามแผ่นดิน: พม่า ไทย จีน” CAS Activities
11
11 12 12 13 14 14 15
19
ความแวดไวทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) ในสังคม พหุลักษณ์: แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้าง ความเข้าใจในการก้าวข้ามมายาคติทางชาติพันธุ์และ การสลายส�ำนึกเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างรัฐชาติอุษาคเนย์ 19 ธนพงษ์ หมื่นแสน
ความคาดหวังด้านอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ และ ความเข้าใจเรื่องกลุ่มชาติพันธุ์ในอาเซียนของ คนไทย ผ่านสื่อต่างๆ: กรณี น้องแนน สาวเสิร์ฟร้านลาบ เชียงใหม่ 23 สมคิด แสงจันทร์
มาโนช โพธาภรณ์
27
ธุรกิจ สิทธิมนุษยชน และสิ่งแวดล้อมในอาเซียน: ผลกระทบ ของโครงการเพาะปลูกอ้อยจังหวัดเกาะกงในกัมพูชา เพื่อการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะและการเยียวยา 28 แดเนียล คิง
ASEAN Watc h P h ili p p i n e s 3 1
การ “ต่อสู้” บนพื้นที่ความทรงจ�ำของคนจีนใน ฟิลลิปปินส์ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์
An Epic Voyage with Urbanscapes ความท้าทายของอุตสาหกรรมดนตรีในอาเซียนตอนใต้ กับ 13 ปีแห่งบทพิสูจน์ความเป็นผู้น�ำของมาเลเซีย คุณวุฒิ บุญฤกษ์
ASEAN Critical
เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ใต้เงา คสช. ความลักลั่นของโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจ บนฐานคิดความมั่นคง อานนท์ ตันติวิวัฒน์
ASEAN Economics
31
36 39
39 46
ทางสองแพร่ง: การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของอาเซียนและ สหภาพยุโรปที่แตกต่างกัน 46 ปริวรรต กนิษฐะเสน
ASEAN Thesis
โอกาสของการศึกษาข้ามแดนของนักศึกษาชาวเวียดนาม ระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ธนศักดิ์ โพธิ์ศรีคุณ
48
48
ASEAN Reflection
50
อาเซียนในเรื่องสั้น
50
วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์
ASEAN scape 51
เรื่องเหล้าจากติมอร์ตะวันออก อกนิษฐ์ หอรัตนคุณ
จาก GMS สู่ ASEAN: การขยายความเป็นไปได้ทาง ศิลปะวัฒนธรรม? สุทธิรัตน์ ศุภปริญญา
BOOK Review
ASEAN Watch Cambodia 28
33
ASEAN Watch Malaysia 36
ASEAN Art Update
ASEAN Watch Indonesia 27
รัฐสภาอินโดนีเซียให้การรับรองสนธิสัญญาอาเซียน เพื่อการควบคุมหมอกควันข้ามพรมแดน
จากชาตินิยม (Nationalism) สู่ลัทธิคลั่งชาติ (Chauvinism)?: การสร้างส�ำนึกสมบัติแห่งชาติของเวียดนามต่อหมู่เกาะ ในทะเลจีนใต้ มรกตวงศ์ ภูมิพลับ
ASEAN Research Workshop: “เติมเต็มความเข้าใจ เกี่ยวกับอาเซียน” 15 เวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการ เรื่อง “มุสลิมและกระแสอิสลาม ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” 16 อาเซียนเสวนา (ASEAN+ Studies Group) 17 ASEAN Youth
ASEAN Watc h V i etn a m 3 3
คาราวานและพ่อค้าทางไกล: การก่อเกิดรัฐสมัยใหม่ ในภาคเหนือของไทยและดินแดนตอนในของ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจ เผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์ Ghosts of the New City: Spirits, Urbanity, and the Ruins of Progress in Chiang Mai Ethnicity Borders and the Grassroots Interface with the State
51 54
54 58
58 59 60 61
B E C O M I N G / 02
ASEAN บทบรรณาธิการ fro ดร.ชยันต์ วรรธนะภูติ / ผู้อ�ำนวยการศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จดหมายข่าวของศูนย์อาเซียน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีชื่อเรียกว่า Becoming ทั้งนี้เพื่อสื่อความหมายถึงภาวะการเปลี่ยนผ่านไปสู่สถานะใหม่ท่ตี ่อเนื่องที่ก�ำลังเกิด ขึ้นในประชาคมอาเซียน จดหมายข่าวฉบับนี้ออกมาช้ากว่าก�ำหนดที่คาดไว้ เนื่องจาก ใช้เวลาในการเตรียมต้นฉบับนานกว่าที่ควร ทั้งนี้เพื่อให้มเี นื้อหาสอดคล้องกับกิจกรรม ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเป็นจ�ำนวนมากในช่วงเวลาที่ผ่านมา จดหมายข่าวของศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เกิดขึ้นเพื่อเป็นช่องทางในการน�ำเสนอเรื่องราวข่าวสารต่างๆ ของ อาเซียนที่ด�ำเนินการโดยหน่วยงานต่างๆ ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และกิจกรรมที่ศูนย์ อาเซียนได้ด�ำเนินการไปในการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2015 โดยหวังว่าจะท�ำให้ประชาคมมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสังคมโดยทั่วไปจะได้ทราบถึง เรื่องราวที่น่าสนใจในด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม สามารถก้าวทันกับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในประเทศสมาชิกของประชาคมอาเซียน ใน Becoming ฉบับที่ 2 ฉบับเดือน มกราคม-มีนาคม 2558 เล่มนี้ ท่านผู้อ่านจะ ไม่ได้เพียงรับทราบถึงข่าวสารความเคลื่อนไหวของคณะและหน่วยงานของมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ท่มี ีกิจกรรมที่น่าสนใจที่พยายามสร้างความร่วมเมือ และประสานสัมพันธ์กับ ประเทศต่างๆ เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เท่านั้น แต่จะได้เข้าถึงข้อมูลผ่านงานเขียน ของนักวิชาการ อาจารย์ และนักศึกษาที่ได้ศึกษาประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวกับประชาคม อาเซียนและประเทศสมาชิกในประชาคมอาเซียน ฯลฯ ส่วนใหญ่แล้ว เรื่องราวที่น�ำมา เสนอเหล่านี้ส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องราวของประชาชน หรือผู้คนธรรมดาเกี่ยวข้องหรือได้ รับผลกระทบในชีวิตประจ�ำวัน ดังนั้น จึงเป็นเสนอจากมุมมองของ ASEAN from Below มิใช่เป็นเรื่อง ราวเกี่ยวกับโครงสร้างในระดับชาติหรือภูมิภาค หรือกลไกเชิงสถาบันที่ขับ เคลื่อนประชาคมอาเซียน ส่วนหนึ่งของความหลากหลายในจดหมายข่าวเล่มนี้ ท่านผู้อ่านจะได้พบกับรายงาน สถานการณ์เขื่อนในลุ่มน�้ำสาละวิน จากการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้ง ที่ 1 ที่ศูนย์ภูมภิ าคด้านสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมซาสตร์และ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ The Salween-Thanlwin-Nu (STN) Studies Group ในหัวข้อ “State of Knowledge: Environmental Change, Livelihoods and
B E C O M I N G / 03
om Below Development” ที่ได้จัดขึ้นในช่วงเดือน พฤศจิกายน 2557 ที่ ผ่านมา ซึ่งทางส�ำนักข่าวประชาธรรม ได้สรุปประเด็นจากการ ประชุม ที่นักวิชาการจากประเทศต่างๆ นักพัฒนาและองค์กร ภาคประชาชนแสดงความห่วงใยถึงการขาดการมีส่วนร่วมและ ความโปร่งใสในการวางแผน รวมทั้งปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้น จากการสร้างเขื่อนในลุ่มน�้ำสาละวินเพื่อผลิตกระแส ไฟฟ้าสนอง ตอบต่อความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ปัญหาหนึ่งที่ได้น�ำมาพิจารณาก็คือ ความเสี่ยงจากการเกิด แผ่นดินไหวทั้งในบริเวณใกล้เคียงแม่น้�ำสาละวินในเขตประเทศ จีนและประเทศเมียนมาร์ตอนบน เนื่องจากแม่น้�ำสาละวินไหล ผ่านประเทศจีน ไทยและเมียนมาร์ ดังนั้น ที่ประชุมจึงได้เสนอ แนวคิดที่จะให้มีความร่วมมือประเหว่างปทเศในการจัดการแม่น�้ำ สาละวินร่วมกัน (Transboundary Management) มีองค์กรภาค ประชาชนที่ร่วมมือกันดูแล และติดตามการจัดการแม้น้�ำสายนี้ เพือ่ ให้ประชาชนในระดับล่างได้รบั ผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกัน มีความรับผิดชอบต่อการสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนา และการปกป้องทรัพยากร รวมทั้งการออกมาตรการต่างๆ ที่จะ ลดผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนใน พื้นที่
57 ว่า การก�ำหนดแนวทางเปิดพืน้ ที่เศรษฐกิจพิเศษจะไม่ได้มุ่ง เน้นแค่ช่องทางเข้า-ออก แต่ยงั รวมถึงเน้นไปสู่ชนบทด้วย แต่ด้าน หน่วยงานความมัน่ คงกลับมองว่าการเคลื่อนย้ายแรงงานข้าม ชาติโดยเฉพาะพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เป็นต้นเหตุให้เกิดการ กระท�ำความผิดทางกฎหมาย อาชญากรรม ยาเสพติด การกัก คนเหล่านี้ไว้ได้ตามแนวชายแดนจะท�ำให้ลดปัญหาตรงนี้ลงได้ ซึ่งท�ำให้เกิดความลักลั่นในการด�ำเนินแนวคิดเรื่องพื้นที่เศรษฐกิจ พิเศษที่ได้กล่าวไว้ แต่การเข้าใจถึงประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ค่อนข้างเข้าใจยาก เนื่องจากมีประเด็นที่ซับซ้อน ซึ่งในเร็วๆ นี้ ทางศูนย์อาเซียนศึกษาฯ กับ ส�ำนักข่าวประชาธรรม จะได้ร่วม มือกันจัดเวทีสาธารณะครั้งที่ 1 ในเรื่องสถานการณ์เศรษฐกิจการ ค้าชายแดนและการเคลือ่ นย้ายแรงงานในบริบทพื้นที่เศรษฐกิจ พิเศษชายแดนไทย-พม่า ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก ผ่านการพูดคุยเพื่อ เข้าใจความซับซ้อนของประเด็นนี้เพิ่มมากขึ้น
เนื้อหาของจดหมายข่าวที่กล่าวถึงข้างต้นนี้ น่าจะท�ำให้ผู้ อ่านได้ตดิ ตามความเคลื่อนไหวของภาวะการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน ซึ่งมักจะถูกก�ำหนดด้วยปัจจัยทางเศรษฐกิจ และการเมือง และมักจะมีผลกระทบต่อผู้คนในระดับล่าง ท่าน ผู้อ่านที่สนใจอาจจะขอรายละเอียดเพิ่มเติมจากศูนย์อาเซียน ประเด็นเรื่องเศรษฐกิจพิเศษ ของคุณอานนท์ ตันติวิวัฒน์ ศึกษาหรือเริ่มต้นค้นคว้าด้วยตนเองในโอกาสต่อไป หากท่านมี ประเด็น หรือเรื่องราวที่น่าสนใจ ที่จะส่งมาให้ตพี ิมพ์ในจดหมาย ที่ได้เขียนบทความ “เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด” ใต้เงาคสช. ความลักลั่นของโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานคิดความมั่นคง ข่าวของเรา ศูนย์อาเซียนยินดีอย่างยิ่งที่จะรับพิจารณา ที่ได้พยายามอธิบายถึงความย้อนแย้งของการพัฒนาเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นจากการบริหารของรัฐบาล คศช. ที่ด�ำเนินนโยบายทาง เศรษฐกิจตามระบบทุนเสรีค่อนข้างสวนทางกับ นโยบายความ มั่นคง จากกรณีนายกรัฐมนตรี ได้น�ำเสนอโรดแมปทางเศรษฐกิจ ผ่านรายการ “คืนความสุขให้คนในชาติ” ในวันศุกร์ท่ี 13 มิ.ย.
B E C O M I N G / 04
CM U Focus
สถานการณ์เขื่อนแม่น�้ำสาละวิน :ความต้องการพลังงานจีน-ไทย บนฐานความขัดแย้งกลุ่มชาติพันธุ์ในพม่า โดย อานนท์ ตันติวิวัฒน์ เผยแพร่ครั้งแรกในส�ำนักข่าวประชาธรรม ศาสตราจารย์หม่อง หม่อง เอ ประธาน Geographical Association of Myanmar (GAM) และ Patron & Chief Advisor, Myanmar Environment Institute (MEI) กล่าวในหัวข้อ “Situation analysis present plans, present politics and present situation on the ground” ว่า แม่น้ำ� สาละวินมีพื้นที่ประมาณ 320,000 ตร.กม. กินพื้นที่ประมาณร้อยละ 1.5 ในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มี ผู้คน 10 ล้านคน 13 ชาติพันธุ์ มีการกระจายตัวของผู้คนประมาณ 76 คน ต่อ 1 ตร.กม. มีพื้นที่เก็บน�้ำประมาณ 320,000 km2
ปากแม่น้ำ� สาละวินที่เมาะล�ำไย
พื้นที่แม่น้ำ� สาละวินเป็นพื้นที่ที่ถูกส�ำรวจเพื่อสร้างเขื่อน พลังงานไฟฟ้ามาตั้งแต่ทศวรรษ 1950 (ทศวรรษ 2490) เป็นต้นมา แต่เนื่องจากในอดีตลุ่มน�้ำที่ยังเข้าไม่ถงึ หลายแห่งจึงท�ำให้มีส�ำรวจ เมื่อวันที่ 14-15 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ศูนย์ภูมภิ าคด้าน เฉพาะพื้นที่ Baluchaung, Kayah State, Myanmar ต่อมาด้วยปัจจัย สังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน คณะสังคมศาสตร์, จากความต้องการพัฒนาทางเศรษฐกิจ, การเมืองที่ต้องการผนวก ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ The Salween- เอาแคว้นต่างๆ ฯลฯ ดังนั้นจึงมีความต้องการที่จะใช้เขื่อนพลังงาน Thanlwin-Nu (STN) Studies Group จัดประชุมวิชาการครั้งที่ 1 เรื่อง ไฟฟ้าบนแม่น้ำ� สาละวินเพื่อตอบสนองความต้องการด้านเอกภาพ, Salween-Thanlwin-Nu Studies ในหัวข้อ “State of Knowledge: ความเป็นเมืองและอุตสาหกรรมรวมถึงการเดินทางด้วยเรือ Environmental Change, Livelihoods and Development” ณ ส�ำนัก (หมายเหตุ-แม่น�้ำสาละวินไหลเชี่ยวและแรงมีเกาะแก่งจ�ำนวนมาก บริการวิชาการ (UNISERV) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ท�ำให้เรือสินค้าขนาดใหญ่ไม่สะดวกในการเดินทางขนส่งสินค้าซึ่ง เนื้อหาและข้อมูลในการเสวนาหัวข้อนี้ค่อนข้างน่าสนใจโดย การด�ำเนินการสร้างเขื่อนมีแผนที่บรรจุการระเบิดแก่งเหล่านี้เข้าไป เฉพาะข้อมูลเกี่ยวกับการแผนและแนวคิดการสร้างเขื่อนบนแม่น้�ำ ด้วยส่วนหนึ่งเพื่อท�ำให้เรือสามารถเดินทางได้) ด้วยเหตุปัจจัย เหล่านี้ท�ำให้ประเทศต่างๆ ที่แม่น้�ำสาละวินไหลผ่านเปิดเผยแผน สาละวินรวมถึงสถานการณ์ในพื้นที่ฝั่งรัฐฉานประเทศพม่า พัฒนาพลังงานและสิ่งก่อสร้างบนแม่น้�ำสาละวิน
B E C O M I N G / 05
ในปี 2003 ประเทศจีนประกาศแผนสร้างเขื่อน 13 เขื่อน ตลอดล�้ำน�ำ้ นู (Nu River สาละวินตอนบน) ใน Songta, Bingzhongluo, Maji, Lumadeng, Fugong, Bijiang, Yabiluo, Lushui, Liuku, Shitouzhai, Saige, Yansangshu and Guangpo รวมผลิต กระแส 23,320 MW. และทั้ง 13 เขื่อนจะผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ทั้งหมดประมาณ 21.32 ล้านเมกะวัตต์
“พื้นที่สร้างเขื่อน 9 จาก 13 อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติและ อยู่ใกล้พื้นที่มรดกโลก” “80 องค์กรเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและสิทธิมนุษยชนทั้งที่อยู่ใน ไทย พม่าและจีนออกแถลงการณ์ให้จนี ฟังความเห็นจากประเทศ ที่อยู่ปลายน�้ำก่อนด�ำเนินโครงการ และในเดือนเมษายนปี 2004 เหวิน เจีย เป่า ประธานาธิบดีจีนได้สั่งให้ยตุ ิโครงการ และด�ำเนิน การท�ำ EIA”
ในปี 2006 คณะกรรมการที่ด�ำเนินการภายใต้ National Environmental Protection Agency (NEPA) and the National Development and Reform Commission (NDRC) ได้มขี ้อสรุปออก มาว่าจะด�ำเนินการสร้างเขื่อนบนแม่น้�ำสาละวินตอนบน 4 เขื่อน โดยอาศัยตัวเลขความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าในประเทศซึ่ง ทางหน่วยงานของจีนมีแผนจะส�ำรองก�ำลังไฟฟ้าที่ 270,000 เมกะ วัตต์ภายในปี 2020
B E C O M I N G / 06
“ความต้องการการใช้พลังงานไฟฟ้าของจีนที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ท�ำให้ผมเชื่อว่าในท้ายสุดจะมีเขื่อนที่ถูกสร้างขึ้นมากกว่า 13 เขื่อนเพราะล่าสุดสื่อรายงานว่ายังไงโครงการเขื่อน 4 เขื่อนของจีนที่ลดขนาดลงยังคงด�ำเนินการต่อตอนนี้ได้เริ่ม ส�ำรวจและก่อสร้างเบื้องต้นในพื้นที่แล้ว” ส่วนที่ไทยและพม่าก็มกี ารศึกษาศักยภาพลุ่มน�้ำและความ เป็นไปได้ในการลงทุนในช่วงทศวรรษ 2510 แต่ต่างคนต่างศึกษา ต่อมาในปี 2532 ไทยและพม่าได้ต้งั คณะท�ำงานร่วมเรื่องเทคนิค เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ (feasibility studies )ในการสร้างเขื่อน ไฟฟ้าพลังงานน�้ำลุ่มน�้ำสาละวิน ในปี 2547 ไทยกับพม่าก็ตกลงที่จะร่วมกันสร้างเขื่อนบน แม่น�้ำสาละวิน 5 เขื่อน (ดูภาพประกอบ) โดยเขื่อนท่าซาง ถือว่า เป็นเขื่อนใหญ่ท่สี ุดมีศักยภาพในการผลิตไฟฟ้า 7,110 เมกะ วัตต์ มีความสูงมากกว่า 180 ม.ไฟฟ้าส่วนใหญ่จะขายให้กบั ประเทศไทยและจีน
“ปัจจุบันมีเอกสารและแผนก่อสร้างเขื่อนบนแม่น�้ำสาละวิน อยู่แต่ยังไม่มีโครงการขนาดใหญ่ก่อสร้างเสร็จแต่ในอนาคต น่าจะมีความเป็นไปได้มากโดยเฉพาะสาละวินตอนบน”
ตอนนี้ไทย จีน พม่ายังไม่มขี ้อตกลงร่วมกันในการจัดการ การใช้ทรัพยากรน�้ำในลุ่มน�้ำสาละวินเพราะฉะนั้นเห็นว่าทั้งสาม ประเทศควรจะมีแผนการตกลงร่วมกันในการปกป้องให้แม่น้�ำ นอกจากนี้ไทยยังมีโครงการที่จะผันน�้ำจากแม่น้ำ� สาละวินเข้า สาละวินไหลตามสะดวก ประเทศจีนยังไม่เคยเข้ามามีส่วนร่วมใน ล�ำน�้ำเจ้าพระยาผ่านแม่น้�ำปิงเข้าเขื่อนภูมิพลเพื่อแก้ปัญหาการ การพูดคุยเลยรวมถึงไม่เคยเชิญทั้งไทยและพม่าไปคุยเกี่ยวกับการ ขาดแคลนน�้ำอีกด้วย สร้างบนลุ่มน�้ำสาละวินตอนบนด้วย อย่างไรก็ตามก็มีการตกลงพูดคุยกันในระดับรัฐบาลอยู่บ้าง แต่ชาวบ้านระดับล่างหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบยังไม่ได้เข้าไปมีส่วน ร่วมในกระบวนการตัดสินใจต่างๆ เพราะฉะนั้นการวางแผนใช้ ทรัพยากรตามแหล่งน�้ำเหล่านี้ต้องดึงประชาชนที่เกี่ยวข้องเข้า มีส่วนร่วมมากที่สุดเพื่อป้องกันปัญหาความขัดแย้งโดยเฉพาะ สงครามระหว่างชาติพันธุ์
B E C O M I N G / 07
“ประเทศที่มีอ�ำนาจมากที่สุดคือ จีนมีทั้งอ�ำนาจทาง เศรษฐกิจและอ�ำนาจทหารมากกว่าไทยและพม่าฉะนั้นการดึง เข้ามาร่วมพูดคุยเป็นสิ่งที่ส�ำคัญมากโดยเฉพาะต้องดึงเข้ามาพูด คุยกับประชาชนในระดับล่างที่จะได้รับผลกระทบจากโครงการ ก่อสร้างเหล่านี้ ทั้งในไทยและพม่า” โดยสรุปแล้วเห็นว่าประเทศในลุ่มน�้ำควรจะมีหลักการดังนี้ ประชาชนต้องมาก่อนต้องมีความเสมอภาค มีความรับผิดชอบ สร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาและการปกป้องทรัพยากรจะ ต้องมีความร่วมมือกันระหว่างประเทศควรจะมีมาตรการอะไรบาง อย่างเพื่อที่จะเยียวยาหรือลดผลกระทบทางลบที่จะเกิดขึ้นต่อสิ่ง แวดล้อมไม่ว่าจะเป็นการท�ำตามกฎหมายท�ำตามข้อตกลงหรือ ระเบียบต่างๆ ในการศึกษาเรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมก่อน โครงการจะเสร็จ
ค�ำนิยามทีก่ ล่าวมาค่อนข้างส�ำคัญเพราะกลายเป็นวัฒนธรรม ครอบง�ำภาคอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้าทั้งในประเทศไทย รวมถึง จีนด้วยทั้งที่จริงแล้วพวกเขามีพลังงานไฟฟ้าอย่างเพียงพอ เมื่อดูคู่ไปกับค�ำนิยาม “พลังงานที่ย่งั ยืน” ซึ่งถูกให้ความ หมายว่า“พลังงานที่ถูกผลิตและใช้ในทางที่ค�้ำจุนพัฒนาการของ มนุษย์ในระยะยาวทั้งในด้านสังคม เศรษฐกิจ และมิติด้านสิ่ง แวดล้อม” เราจะเห็นถึงความแตกต่างกันถึงความหมายเพราะเมื่อเวลา คนพูดถึงความมั่นคงด้านพลังงาน เรากลับไม่สนใจในระยะยาว หรือคนรุ่นต่อๆ ไปพวกเขาเพียงแค่ต้องการท�ำให้ทกุ คนสะดวก สบายเท่าที่ผู้คนต้องการเท่านั้น
“ประเทศที่อยู่ตอนบนของแม่น้�ำควรจะมีความรับผิดชอบใน โครงการการของตัวเองรวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อประเทศ ปลายน�้ำประเทศทางตอนบนควรจะสนับสนุนให้มกี ารพูดคุยแลก เปลี่ยนถึงผลประโยชน์ส่วนรวมของหลายๆ ประเทศ”
“แม่น�้ำสาละวินควรจะเป็นแม่น�้ำแห่งสันติภาพ เป็นแม่น�้ำแห่ง ความร่วมมือและแม่น�้ำแห่งมิตรภาพระหว่างประเทศ” นายวิฑูรย์ เพิ่มพงศาเจริญ จากเครือข่ายพลังงาน เพื่อนิเวศวิทยาแม่น้�ำโขง (Mekong Energy and Ecology Network:MEE-NET) กล่าวในหัวข้อเดียวกันว่า World Energy Assessment ได้ให้นยิ าม “ความมั่นคงด้านพลังงาน” ว่ามีพลัง พร้อมใช้อยู่ตลอดเวลาจากหลายแหล่งในจ�ำนวนที่เพียงพอ และ ในราคาจะสามารถจ่ายได้”
จากภาพด้านบนจะเห็นถึงความแตกต่างของการใช้พลังงาน ของประเทศต่างๆ ในภูมภิ าคนี้ ประเทศไทยและจีนใช้ร้อยละ 99 จากประชากรทั้งหมดฉะนั้นกระแสไฟฟ้าในสองประเทศนี้ เพียงพอต่อการเลี้ยงประชากรได้เกือบทั้งประเทศอาจจะเกิน 100 เปอร์เซ็นต์ แต่เมื่อดูที่ประเทศพม่าใช้เพียงแค่ร้อยละ 23 จาก ประชากรทั้งหมดเมื่อดูประกอบแผนที่ด้านล่างจะเห็นว่าสีขาวเป็น
B E C O M I N G / 08
เขื่อนที่จะถูกสร้างบนแม่น้ำ� สาละวินจะผลิตก�ำลังไฟฟ้า เขตเมืองที่มีไฟฟ้าใช้โดยการควบคุมจัดการระดับชาติส่วนสีด�ำเป็น 14,405 เมกะวัตต์ค�ำถามคือสร้างส�ำหรับใครเมื่อดูภาพรวมของการ ส่วนที่ไม่มหี รือผลิตไฟฟ้าใช้เองในระดับท้องถิ่น สร้างแหล่งพลังงานในประเทศพม่าจะพบว่าจะมาอีกหลายแหล่ง ได้แก่ 92 Hydro potential sites (46,000 MW), 13 by MOEP1 (2,572 MW), 7 BOT by local private sector (560 MW) 44 FDI (BOT or JV) - 42,145 MW; 2 coal, 870 MW, 1 gas power generation, 470 MW}1 coal in Yangon, J power, 600 MW? (new) และต้องบอกว่าทั้งหมดนี้ลงทุนด้วยบริษัทต่างชาติโดยตรง ทั้งจากจีนและไทย
เมื่อดูแบบใกล้เข้าไปตามภาพด้านล่างที่เวิลด์แบงก์ศึกษา จะเห็นว่าก�ำลังไฟฟ้าที่ใช้ต่อหนึ่งครัวเรือนเฉลี่ย 2.7 กิ๊กกะวัตต์ และเมื่อค่าเฉลี่ยเมืองต่อเมือง ตอนนี้ตัวเลขที่เข้าถึงไฟฟ้า คือ 7,216,000 ครัวเรือน ซึ่งเฉลี่ยแล้วความต้องการไฟฟ้าในภาคครัว เรือนอยู่ท่ี 20,600 เมกะวัตต์
ถ้าดูเป็นกรณีจะพบว่าเขื่อนฮัตจีลงทุนโดยบริษัทไทยก็จะถูก ขายไฟฟ้าให้ไทยส่วนเขื่อนท่าซางจะถูกขายให้ไทยและจีนดังนั้น แหล่งพลังงานทั้งหมดที่ถูกสร้างขึ้นนั้นเพื่อส่งออกโดยการลงทุน จากต่างชาติ
ส่วนแผนพัฒนาพลังงานของไทย จากกราฟด้านล่างจะเห็น ว่าตั้งแต่ 1986 ความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปีมนั สัมพันธ์ ไปกับความเติบโตทางเศรษฐกิจ เมื่อดูในปี 1997 ความต้องการ น้อยเพราะเราเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจและในช่วงอื่นๆ ที่ความ ต้องการต�่ำก็เนื่องมาจากเศรษฐกิจจากฝั่งยุโรปเมื่อ 2007 และเมื่อ หม่องหม่องเอ บอกถึงก�ำลังไฟฟ้าที่เขื่อนท่าซาง 70,000 เมกะ มาดูฝั่งการคาดการณ์จะเห็นว่าเขาเผื่อความมั่นคงด้านพลังงาน วัตต์ โดยทางการพม่าอ้างถึงความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าใน ไว้เฉลี่ย 1491 เมกะวัตต์ต่อปี ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมตั้งแต่ปี 2012 ช่วงที่ขาดแคลนแต่เมื่อดูช่วงขาดแคลนไฟฟ้าในพม่าจะเห็นว่าขาด เป็นต้นมาถึง 830 เมกะวัตต์ เพียง 509 เมกะวัตต์และเมื่อดูแผนส�ำรองพลังงานของพม่าใน ปี 2013-2016 พบว่าส�ำรองจากทั้งพลังงานก๊าซ Hydelเป็นจ�ำนวน 2311 เมกะวัตต์ซึ่งเพียงพอต่อการใช้ไฟฟ้าในพม่าโดยไม่ต้องสร้าง เขื่อนบนแม่น้ำ� สาละวินหรืออิระวะดี
B E C O M I N G / 09
“ใน 15 ปีที่ผ่านมาเราสร้างความมั่นคงด้านพลังงานจากไม่ แน่นอนเรื่องความต้องการพลังงานไฟฟ้าโดยส�ำรองไว้ถงึ 1491 เมกะวัตต์ถ้าเราสามารถขยายตัวแทนพลังงานในการจ�ำหน่าย ไฟฟ้า,จัดการกับความต้องการด้านพลังงานไฟฟ้า,ส่งเสริมเรื่อง พลังงานทดแทนเราจะสามารถยกเลิกแผนการสร้างเขื่อนทั้งหมด ทั้งในไทยและในประเทศเพือ่ นบ้าน” ค�ำถามที่อาจสงสัยกันว่าท�ำไมเรายังต้องการไฟฟ้าเพราะ เมื่อดูข้อมูลตั้งแต่ต้นพบว่าตอบสนองประชาชนร้อยละ 99 ถ้าดู ตัวอย่างจากรูปที่ยกมาจะเข้าใจ
3 ห้างนี้ใช้ไฟฟ้ารวมทั้งหมด 278 GWh ในขณะที่เขื่อนอุบล, ปากมูล, สิรินธร รวมกันผลิตได้ 266 GWh ดังนั้นสามเขื่อนนี้ไม่ สามารถตอบสนองการใช้พลังงานของสามห้างนี้ได้และดูผลกระ ทบที่เกิดขึ้นกับเขื่อนปากมูลอย่างเดียว จะเห็นว่า 1700 ครอบครัว ต้องอพยพออกจากพื้นที่ 6,200 ครอบครัวต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ สูญเสียพันธุปลาในแม่น�้ำ 116 สายพันธุ์ คิดเป็นร้อย ละ 44 ของสายพันธุ์ปลาในแม่น้�ำมูล
“ใครล่ะที่ต้องการพลังงานเหล่านี้” ในขณะที่ นาง นาง จาม ตอง จากเครือข่ายผู้หญิงรัฐฉาน (Shan Women’s Action Network) ได้กล่าวถึงสถานการณ์ในพื้นที่ รัฐฉานว่าภายหลังจากการเจรจาหยุดยิงกับชาติพันธุ์กลุ่มต่างๆ อันเป็นหนึ่งในกระบวนการสันติภาพของรัฐบาล เต็ง เส่ง แต่ สถานการณ์กลับตรงกันข้ามเพราะทหารพม่ายังคงขยายก�ำลังเข้า มาในพื้นที่รัฐฉานและยังเกิดการสู้รบในบริเวณพื้นที่ที่จะสร้างเขื่อน ในบริเวณรัฐฉานอีกด้วย
B E C O M I N G / 10
บริเวณเขื่อนคุนลอง (Kun Long Dam) ซึ่งอยู่ห่างจากชายแดน จีน 25 กม.ได้ท�ำข้อตกลงสร้างเขื่อนกับจีนไปเมื่อวันที่ 24 พค. 57 ที่ผ่านมาก่อสร้างโดยบริษัทของจีนชื่อว่า China’s Hanergy Holding Group ซึ่งในพื้นที่นี้เมื่อปี 2009 ทหารพม่าได้โจมตีเขตพิเศษ โกก้าง ซึ่งเป็นเขตปกครองตนเองทางภาคเหนือของรัฐฉานท�ำให้ คนจ�ำนวน 37,000 คนอพยพลี้ภัยไปจีนและตอนนี้ก็ยังมีการสู้รบใน บริเวณนี้อยู่เมื่อเดือนธันวาคมปีท่แี ล้วมีการวางระเบิดและสังหาร เจ้าหน้าที่ต�ำรวจไปห้านาย ซึ่งบริเวณนี้ใกล้บริเวณที่จะสร้างเขื่อน อย่างไรก็ตามก็มีการด�ำเนินการสร้างเขื่อนควบคู่ไปกับสงคราม ด้วยมีการสร้างถนน ซึ่งต้องท�ำให้หลายหมู่บ้านอพยพออกไปสูญ เสียวิถีชวี ิตและความเป็นอยู่นอกจากนี้ผู้คนยังไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับ โครงการสร้างเขื่อนมากนัก ในบริเวณที่จะสร้างเขื่อนหนองพา (Nawngpha) และแมนทอง (Man Tong) ทหารพม่าก็ยังส่งทหารเข้ามาอยู่จนเกิดการสู้รบใน หลายพื้นที่ใกล้กับพื้นที่สร้างเขื่อน บริเวณเขื่อนท่าซาง ซึ่งเป็นเขื่อนที่ใหญ่ท่สี ุดจะก่อให้เกิด ผลกระทบหลายด้านคือคนหมื่นคนจะต้องสูญเสียบ้านและที่ดินท�ำ กินและพื้นที่รัฐฉานจะถูกแบ่งครึ่งด้วยน�้ำจากเขื่อน “เราอยากเรียกร้องต่อรัฐบาลพม่าให้ระงับการดึงเอา ทรัพยากรผ่านโครงการพัฒนาขนาดใหญ่ (เช่น เขื่อนในแม่น้�ำ สาละวิน) ในพื้นที่ความขัดแย้งของกลุ่มชาติพันธุ์จนกว่าจะมี ทางออกทางการเมืองในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งรวมถึงการ ปฏิรูปรัฐธรรมนูญเพื่อประกันสิทธิของคนในพื้นที่”
“กองทัพทหารพม่า ต้องหยุดโจมตียึดครองพื้นที่ในรัฐฉาน และพื้นที่ชาติพันธุ์อื่นโดยทันที และเอาทหารออกจากพื้นที่ความ ขัดแย้ง” “รัฐบาลพม่าต้องเริ่มต้นเจรจาปัญหาทางการเมืองกับกลุ่ม ชาติพันธุ์ต่างๆ ที่ต่อต้านแก้รฐั ธรรมนูญปี 2008 และเริ่มต้น กระบวนการประชาธิปไตยในพม่า” “และสุดท้ายขอเรียกร้องต่อรัฐบาลและบริษัทต่างชาติให้หยุด การลงทุนโครงการขนาดใหญ่ในพื้นที่ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาล พม่ากับชนกลุ่มน้อยทังหมดเพราะนั่นเป็นการท�ำลายกระบวนการ สันติภาพ”
B E C O M I N G / 11
AS E AN Activities in C M U
โครงการ “ค่ายพัฒนาผู้น�ำเยาวชน สู่ประชาคมอาเซียน” ศูนย์อาเซียนศึกษา ร่วมกับศูนย์ศึกษาอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้�ำ โขง (GMSS Centre) คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จดั โครงการความร่วมมือด้านวิชาการ เกี่ยวกับอาเซียนศึกษาในโครงการ “ค่ายพัฒนาผู้น�ำเยาวชนสู่ ประชาคมอาเซียน” ในวันที่ 23-26 กันยายน 2557 ที่ผ่านมา โดย เป็นกิจกรรมที่มุ่งส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้น�ำนักศึกษาร่วม กับนักศึกษาจากประเทศเพือ่ นบ้านในภูมิภาค ทั้งในส่วนของการ พัฒนาทักษะความเป็นผู้น�ำ กระบวนการสร้างจิตส�ำนึกสาธารณะ ที่ขยายขอบข่ายไปสู่ความมีจิตสาธารณะข้ามพรมแดน ทักษะการ ท�ำงานข้ามวัฒนธรรม และการเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจแก่ผู้น�ำ นักศึกษาเกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านในประชาคมอาเซียน ซึ่งการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ทางศูนย์อาเซียนศึกษา ร่วมกับ ศูนย์ศึกษาอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขง ได้รบั อาสาสมัครจากนักศึกษา ทั้งในคณะรัฐศาสตร์ฯ และต่างคณะจ�ำนวนทั้งสิ้น 42 คน และ
นักศึกษาช่วยงาน อีกจ�ำนวน 9 คน เข้าร่วมโครงการซึ่งจัดขึ้นที่ ศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่หริภุญชัย จังหวัดล�ำพูน กิจกรรมต่างๆ ประกอบไปด้วย กิจกรรมละลายพฤติกรรม หรือ กิจกรรมสันทนาการต่างๆ เพื่อสร้างความสนุกสนานและท�ำให้ นักศึกษาได้รู้จกั กัน การรับฟังบรรยายจากวิทยากรซึ่งเข้ามา บรรยายในหัวข้อต่างๆ ที่ส�ำคัญเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน, โดย ให้นักศึกษาจับกลุ่มเพื่อเขียนโครงการในหัวที่เกี่ยวกับประชาคม อาเซียน เพื่อเป็นการเสริมสร้างความรู้ และเปิดโลกทัศน์ให้แก่ นักศึกษา อีกทั้งการเขียนโครงการดังกล่าวสามารถน�ำไปต่อยอด ได้ในอนาคต เมื่อได้โครงการแล้วจึงจะน�ำไปเสนอแก่อาจารย์และ กรรมการตัดสิน
B E C O M I N G / 12
A S E AN Activities in C M U
บรรยายวิชาการเรื่อง “นับถอยหลัง ประชุม ‘ASEAN + 3 Rectors’ AEC – ความท้าทายและการเตรี Conference ครั้งที่ 2’ ยมความพร้อมของประชาคมภาค มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้รบั เกียรติในการเป็นเจ้าภาพ จัดการประชุม ‘ASEAN + 3 Rectors’ Conference ครั้งที่ 2’ ซึ่ง เหนือ” จะจัดขึ้นระหว่างวันพฤหัสบดี ที่ 6 – วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ธนาคารแห่ง ประเทศไทย (ส�ำนักงานภาคเหนือ) และธนาคารโลก จัดการ บรรยายวิชาการ “นับถอยหลัง AEC – ความท้าทายและการเตรียม ความพร้อมของประชาคมภาคเหนือ” ในวันพุธที่ 19 พฤศจิกายน 2557 เวลา 08.30 – 16.30 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ คณะ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หัวข้อการบรรยายประกอบ ด้วย เศรษฐกิจไทยมองไปข้างหน้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, ความพร้อมของภาคการเงินและศักยภาพของภาคเหนือ สู่ความ ท้าทายใน AEC, ภารกิจของสภาปฏิรูปแห่งชาติในการปฏิรูป (ด้าน เศรษฐกิจ), โครงสร้างตลาดแรงงานและความสามารถในการ แข่งขันของไทย, แรงงานแบบไหนที่นายจ้างต้องการ: เปรียบเทียบ ศักยภาพแรงงานไทยและแรงงานในประเทศสมาชิกอาเซียน
2557 ณ โรงแรมแคนทารี่ ฮิลล์ เชียงใหม่ โดยมีอธิการบดีและ ผู้บริหารระดับสูงจากมหาวิทยาลัย 36 แห่ง จาก 10 ประเทศ สมาชิกอาเซียน และ จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น เข้าร่วมประชุมหารือ เพื่อพิจารณาแนวทางการพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการ การ แลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากร ในกรอบความร่วมมือ ASEAN + 3 ซึ่งในการประชุมจะมีการรายงานความคืบหน้าของแต่ละ ประเทศในการด�ำเนินกิจกรรมความร่วมมือทางวิชาการ และร่วม กันพิจารณาแนวทางความเป็นไปได้ของความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยสมาชิกในด้านการแลกเปลี่ยน ทิศทาง และ ความ ริเริ่มใหม่ๆ ของความร่วมมือ นอกจากจะเป็นการประชุมระหว่าง ผู้บริหารระดับสูงที่มีความส�ำคัญต่อการก�ำหนดนโยบาย และการ ส่งเสริมเครือข่ายความร่วมมือด้านอุดมศึกษาของภูมภิ าคอาเซียน แล้ว ยังเป็นกิจกรรมทางวิชาการระดับนานาชาติท่จี ะสนับสนุน บทบาทของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในภูมภิ าคอาเซียน รวมถึง เป็นการฉลองครบรอบ 50 ปี ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
B E C O M I N G / 13
นิทรรศการภาพถ่าย A Photographic Journey Into Southeast Asian Movie Theater Architecture หน่วยศิลปวัฒนธรรมและชุมชน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ กลุ่มเมืองเมือง และ The Jim Thompson Art Center จัดนิทรรศการ A Photographic Journey Into Southeast Asian Movie Theater Architecture: โรงหนังในอาเซียน สถาปัตยกรรมย้อนอดีตจาก บันทึกการเดินทาง Images By Philip Japlon ระหว่างวันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม 2557 – วันศุกร์ท่ี 14 พฤศจิกายน 2557 เพื่อจัดกิจกรรมที่เปิดมุมมองทางสถาปัตยกรรมผ่านนิทรรศการภาพถ่ายของโรง ภาพยนตร์ประเภท Stand Alone Theater ในกลุ่มอาเซียน ซึ่งก�ำลังจะสูญหายไปจากวิถชี ีวิตของผู้คน และพื้นที่ทางสังคมในปัจจุบัน โดยมีพิธีเปิดนิทรรศการในวันศุกร์ที่ 24 ตุลาคม 2557 เวลา 18.00 น. ณ ศูนย์สถาปัตยกรรมล้านนา สี่แยกกลางเวียงเชียงใหม่
A S E AN Activities in C M U
B E C O M I N G / 14
“ตะอาง (ปะหล่อง) กลุ่มชาติพันธุ์ สามแผ่นดิน : พม่า ไทย จีน” เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2557 ทางศูนย์ ณ ห้อง HB 7802 ชั้น 8 อาคาร HB7 คณะมุนษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ มีการจัดบรรยายพิเศษ เรื่อง “ตะอาง (ปะหล่อง) สามแผ่นดิน: ชีวิตและภาษา” โดยมีวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.สุจริตลักษณ์ ดีผดุง จากสถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัย มหิดล พร้อมกับ อาจารย์ ดร.ศุภกิต บัวขาว คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้ร่วมกันบรรยายและ ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับประเด็นตะอาง (ปะหล่อง) A S E AN Activities in C M U
การรวบรวมจัดแสดงภาพสะท้อน ผู้คนในอาเซียน Family Snaps: Photography in Southeast Asia เมื่อวันที่ 7 – 14 พฤศจิกายน 2557 ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ได้ให้การสนับสนุนในการจัดงานแสดงภาพถ่ายสะท้อน ผู้คนในอาเซียน ภายใต้ช่อื งาน “Family Snaps: Photography in in South East Asia” โดย ZHUANG Wubin อาจารย์และนักเขียน จากประเทศสิงคโปร์ได้เป็นผู้รวบรวมงานจากช่างภาพฝีมอื ดีจาก ประเทศต่างๆ 5 คน 5 ประเทศ 5 บริบทสังคม ที่เล่าความสัมพันธ์ ระหว่างผู้ท่เี ป็นเจ้าของผลงานกับครอบครัวของพวกเขาผ่าน ภาพถ่าย ผลงานที่ได้เข้าร่วมจัดแสดงได้แก่ • Like My Father (2013) โดย MaikaElan (Vietnam) • The Relevancy of Restricted Things (2010) โดย Nge Lay (Myanmar) • Two People (2010 – Present) โดย Sean Lee (Singapore) Thoamada II (2013) โดย VuthLyno (Combodia) • Mer.rily, Mer.rily, Mer.rily, Mer rily โดย Minstrel Kuik (Malaysia)
และช่วงบ่าย ได้มกี ารเสวนาเรื่อง “การก�ำหนดวิจัยภาค สนามทางภาษาศาสตร์ท่ยี ูนนาน ประเทศจีน และรัฐฉาน ประเทศ พม่า” โดยมีวิทยากรร่วมเสวนา ดังนี้ • รองศาสตราจารย์ ดร.สุจริตลักษณ์ ดีผดุง สถาบันวิจัยภาษา และวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล • ดร.ศุภกิต บัวขาว คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น • ดร.อัมพิกา รัตนพิทักษ์ สาขาวิชาภาษาพม่า คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมี รองศาสตราจารย์ ดร.วีระ โอสถาภิรัตน์ เป็นผู้ด�ำเนิน รายการ
B E C O M I N G / 15
CAS Activities
ASEAN Research Workshop: “เติมเต็มความเข้าใจเกี่ยว กับอาเซียน” ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับศูนย์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้ด�ำเนินการจัดอบรมหลักสูตรระยะ สั้นในโครงการ ASEAN Research Workshop เติมเต็มความเข้าใจ เกี่ยวกับอาเซียน เพื่อให้นกั ศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิต ศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ สถาบันอื่นๆ เกิดความรู้ความเข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบท อาเซียน และยังเป็นการประสานงานทางด้านวิชาการกับสถาบัน อุดมศึกษาอื่นๆ ที่มีความสนใจในเรื่องอาเซียนเช่นเดียวกัน เพื่อ ท�ำให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวิชาการและการเรียนรู้เกี่ยวกับ อาเซียนในมิติต่างๆ ร่วมกันมากยิ่งขึ้น อันเป็นส่วนหนึ่งที่ท�ำให้ เกิดการร่วมมือในการติดตาม ศึกษา วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับ ประเทศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในหลากหลายมิติ ทั้ง ทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคมวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และสิทธิ มนุษยชน
ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เเละเรื่อง “สิทธิมนุษย ชนและกระบวนการยุติธรรมในอาเซียน” โดย อ.ดร. นัทมน คงเจริญ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สัมมนาหัวข้อ ASEAN 3 Pillars: A New Imagined Community- AEC,APSC, ASCC”+ Environment ได้แก่ “AEC- ประชาคมเศรษฐกิจ” โดย ผศ.สิทธิกร นิพภยะ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “APSC – ประชาคมการเมืองความมั่นคง” โดย อ.ดร.ประจักษ์ หัวข้อในการแลกเปลี่ยนได้แก่เรื่อง “เอกภาพของอาเซียน: ก้องกีรติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ “ASCC – มองจากมิติทางชาติพันธุ์เชิงประวัติศาสตร์” โดย ศ.สายชล สัตยาประชาคมสังคมวัฒนธรรม” โดย คุณสุเจน กรรพฤทธิ์ นิตยสาร นุรักษ์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย สารคดี และ“ASEAN Environmentality” โดย ผศ. ดร. ชูศกั ดิ์ เชียงใหม่, “Logistic Connectivity” โดย ผศ.ดร.ปุ่น เที่ยงบูรณวิทยาภัค ภาควิชาภูมศิ าสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, “Social เชียงใหม่ ในประเด็นสุดท้ายเรื่อง สัมมนาหัวข้อ “เยาวชนคนหนุ่ม Connectivity” โดย ดร. ชยันต์ วรรธนะภูติ ศูนย์อาเซียนศึกษา สาวกับโจทย์งานวิจัยใหม่ๆ เพื่ออนาคตอาเซียน” แบ่งเป็น “โจทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ทางวิจยั สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา” โดย อ.พรรณราย โอสถาภิ ในหัวข้อที่สอง เรื่อง สัมมนาหัวข้อ “ASEAN from Below” รัตน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่เรื่อง “เศรษฐกิจการค้าชายแดนภาคเหนือของไทยภาย “โจทย์วจิ ัยเชิงประวัติศาสตร์และความทรงจ�ำร่วม” โดย อ. มรกตใต้ AEC” โดย ผศ.ดร. นิสิต พันธมิตร คณะเศรษฐศาสตร์ วงศ์ ภูมพิ ลับ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, “ความขัดแย้งทางศาสนาและทรัพยากร โจทย์วจิ ัยเชิงอาณาบริเวณศึกษาและ บูรณาการโดย อ.ปองขวัญ ในบริบทของอาเซียน” โดย อ.ดร.ลลิตา หาญวงศ์ ภาควิชา สวัสดิภักดิ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
B E C O M I N G / 16
C A S Activities
วารสารธรรมศาสตร์
P R E S E N T
สุชาติ
ศรยุทธ
เศรษฐมาลินี
อสมา
เอี่ยมเอื้อยุทธ
ฮารา
ชินทาโร่
สมัคร์
มังกรชัย
ธานินทร์ สาลาม
ฟิล์ม กาวัน
กอเซ็ม
อรอนงค์ ทิพย์พิมล
คุณวุฒิ บุญฤกษ์
เวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการ
มุสลิมและกระแสอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ Muslim and Islamism in Southeast Asia
ร่วมอ่านบทกวี
“ โลกมนุษย์ - โลกมุสลิม ” โดย ซะการีย์ยา อมตยา และ กฤช เหลือลมัย ร่วมเสวนาในหัวข้อ l มุสลิมกับพหุวัฒนธรรม l อิสลามกับเพศสภาพ l การเมือง-วัฒนธรรมมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ l ตัวตนคนมุสลิมและชาติพันธุ์ในวัฒนธรรมภาคเหนือ ร่วมแลกเปลี่ยนความเห็นโดย l ชยันต์ วรรธนะภูติ lิ ยศ สันตสมบัติ l ประเสริฐ แรงกล้า l สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ วันที่ 13 - 14 กั น ยายน 2557 เวลา 8.30 - 16.00 น. ห้องประชุมใหญ่ ชั้น 2 คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เวทีแลกเปลี่ยนทาง วิชาการ เรื่อง “มุสลิมและ กระแสอิสลามในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้” เนื่องด้วยศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วม กับวารสารธรรมศาสตร์และกองบริหารการวิจัย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ได้จดั เวทีแลกเปลี่ยนทางวิชาการมุสลิมและกระแส อิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อให้ผู้ที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็น นิสิต นักศึกษา คณาจารย์ หรือบุคคลทั่วไป ได้เกิดความรู้ความ เข้าใจต่อการเปลี่ยนแปลงในบริบทอาเซียน ของประเด็นมุสลิม ศึกษาในหลากหลายมิติ ทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน โดยหวังให้เป็นพื้นที่ แลกเปลี่ยนพูดคุยถกเถียงกันในประเด็นดังกล่าวทั้งนี้ในกิจกรรม ครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมรับการอบรมทั้งสิ้น 141 คน โดยมีคณาจารย์มา เป็นผู้บรรยายและร่วมจัดการอบรมมีรายชื่อต่างๆ ดังต่อไปนี้
ประเด็น “มุสลิมกับพหุวัฒนธรรม” ได้แก่ เรื่อง การสร้าง สันติภาพในสังคมพหุลักษณ์ทางศาสนาชาติพันธุ์: กรณีศกึ ษาสังคมมุสลิมในภาคเหนือของไทย โดย สุชาติ เศรษฐมาลินี, เรื่อง “พหุ วัฒนธรรมจากเบื้องล่าง กรณีศึกษาจากสามจังหวัดภาคใต้” โดย สรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ ประเด็นที่สอง “อิสลามกับเพศสภาพ” ได้แก่ เรื่อง “อิสลาม กับสมัยนิยมในภาพยนตร์อนิ โดนีเซียหลังยุคระเบียบใหม่” โดย ฟิล์ม กาวัน เรื่อง “ค�ำสาปใต้ผิวหนัง: ชาติพนั ธุ์วรรณา รักร่วมเพศในโรงเรียนอิสลาม” โดย สมัคร์ กอเซ็ม และ เรื่อง “กฎหมายชารีอะห์กับผู้หญิงในอาเจะ” โดย อรอนงค์ ทิพย์พิมล ปิดท้าย ของสัมมนาด้วยการอ่านบทกวี “โลกมนุษย์-โลกมุสลิม” โดย ซะการีย์ยา อมตยา และ กฤช เหลือลมัย วันที่สองของสัมมนา เริ่มด้วยประเด็น “ตัวตนคนมุสลิมและชาติพันธุ์ในวัฒนธรรมภาคเหนือ” ได้แก่ งานเรื่อง “ผู้พลัดถิ่นชาวโร ฮิงญา: ภาพที่ “ซุกซ่อน” ในชุมชนมุสลิมชายแดนไทย-พม่า” โดย คุณวุฒิ บุญฤกษ์ และเรื่อง “อิสลามยะมาอัตตับลีก: พื้นที่แห่งการ อยู่ร่วมกันในสังคมเมืองปาย” โดย ธานินทร์ สาลาม ปิดท้ายด้วยประเด็นเรื่อง “การเมือง-วัฒนธรรมมลายูในสามจังหวัดชายแดนภาค ใต้” ได้แก่ งานเรื่อง “ชนชั้นน�ำมลายูและโครงสร้างอ�ำนาจชายแดนใต้” โดย อสมา มังกรชัย และงานเรื่อง “ภาษามลายู การแปลและ การเมือง” โดย ฮารา ชินทาโร่
B E C O M I N G / 17
C A S Activities
อาเซียนเสวนา (ASEAN+ Studies Group) ศูนย์อาเซียนศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่สร้างแนวทาง และแผนงานเพื่อสามารถเป็นหน่วยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัย เชียงใหม่เพื่อเป็นศูนย์กลางขององค์ความรู้เกี่ยวกับประเทศ สมาชิกของประชาคมอาเซียน ทั้งในด้านวิชาการความรู้ สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาต่างๆ ดังกล่าว ศูนย์อาเซียนศึกษาจึงจัดเตรียมให้ด�ำเนินกิจกรรมเพื่อ เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนทั้งในการเป็นศูนย์ข้อมูล และศูนย์แห่งการเรียนรู้ผ่านการจัดประชุม เวทีวิชาการ และ สัมมนา เพื่อเผยแพร่ความรู้วชิ าการ สู่สาธารณะให้แก่หน่วยงาน ในและนอกมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ร่วมกับสถาบัน ทางวิชาการภายในประเทศและกลุ่มประเทศสมาชิกประชาคม อาเซียน ศูนย์ฯ จึงเล็งเห็นถึงความส�ำคัญในการจัดประชุมสัมมนา วิชาการเพื่อเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการนี้ที่มุ่งให้เกิดความรู้และ ความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังเกิดขึ้น จุดประสงค์ของการ จัดอาเซียนเสวนาเพื่อมุ่งให้เกิดความรู้และความเข้าใจต่อการ เปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังเกิดขึ้นในประชาคมอาเซียน และกลไกต่างๆ รวมทั้งติดตาม ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับประเทศไทยในการ เข้าสู่ประชาคมอาเซียน ตลอดจนนักศึกษา คณาจารย์ และนัก วิจัยของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูล รวมทั้ง แสวงหาแนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอน การวิจัยใน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ให้สามารถตอบสนองกับการเกิดขึ้นของ ประชาคมอาเซียน ประเด็นในการสัมมนา ได้แก่ ครั้งที่ 1 เรื่อง รื้อถอนมายาคติ AEC โดย ปริวรรต กนิษฐะเสน จากส�ำนักนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ธนาคารแห่ง ประเทศไทย ได้ฉายภาพให้เห็นถึงมายาคติที่เกี่ยวกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 ว่าจะไม่มกี ารเปลี่ยนแปลงอะไร ที่เกิดขึ้นใน ลักษณะเป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ (Big Bang) แต่การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะเกิดขึ้นในลักษณะที่ค่อยเป็นค่อยไปมากกว่า (Baby step) เพราะเนื่องจากปัจจัยต่างๆ โดยเฉพาะปัจจัยความแตกต่างในหลายๆ ด้าน ทั้งเชิงกายภาพ ประชาการ และเศรษฐกิจ อันได้แก่ การเปิดเสรีการค้าสินค้าคืบหน้าไปมากแล้วในด้านการลดภาษีศุลกากร แต่ยงั มีมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีที่ยังเป็นอุปสรรคทางการค้าอยู่ (1) ด้านการค้าภาคบริการและการลงทุนส่วนใหญ่ยงั ไม่คบื หน้าเท่าที่ควร เนื่องจากประเทศสมาชิกยังยึดกฎหมายภายในประเทศ (2) ด้าน
B E C O M I N G / 18
แรงงานไม่ได้เปิดเสรีอย่างจริงจัง โดยท�ำเพียงข้อตกลงยอมรับคุณสมบัติวิชาชีพ ซึ่งเกือบจะไม่มผี ลกระทบเลยกับการเคลื่อนย้ายแรงงาน ภายในประเทศ และไม่เกี่ยวข้องกับแรงงานไร้ทกั ษะ หรือกึ่งทักษะ ที่เป็นแรงงานส่วนใหญ่ท่เี คลื่อนย้ายในอาเซียน ซึ่งตรงนี้ต้องคุยกัน อีกมากกว่าจะท�ำให้แรงงานเคลื่อนย้ายอย่างเสรี (3) ด้านเงินทุนเคลื่อนย้ายเปิดเสรีตามความพร้อมของแต่ละประเทศ และให้เปิดมาก ขึ้นกว่าปัจจุบัน (4) อาเซียนและยุโรปเดินคนละทางในการรวมกลุ่ม อาเซียนไม่มีเป้าหมาย และไม่พร้อมที่จะมีเงินสกุล ครั้งที่ 2 เรื่อง แรงงานข้ามชาติในสังคมไทย: สิทธิและสวัสดิการ โดย อดิศร เกิดมงคล จากเครือข่ายองค์กรด้านประชากร ข้ามชาติคุณอดิศรได้กล่าวถึง ข้อท้าทายการด�ำเนินนโยบายด้านแรงงานข้ามชาติ ได้แก่ 1.นโยบายการย้ายถิ่น พบว่ามีการแปรผันกับ การเมืองภายในของแต่ละประเทศ และการเมืองระหว่างประเทศในอาเซียนด้วยกันเอง ความเป็น/ไม่เป็นประชาธิปไตยมีผลต่อการ จัดการการย้ายถิ่นของภูมภิ าคนี้ 2.อาเซียนกลายเป็นชุมชนทางจินตนาการที่พยายามเปิดเสรีสำ� หรับทุน/รัฐราชการ แต่ไม่สามารถพ้น กรอบคิดอ�ำนาจอธิปไตยแบบเดิม และผลิตซ�้ำวาทกรรมความมั่นคง ที่เข้มงวดกับการเคลื่อนย้ายของผู้คนที่ไร้อ�ำนาจทางเศรษฐกิจ และการเมือง โดยเฉพาะภาคประชาชนขาดการมีส่วนร่วม 3.ข้อตกลงร่วมของอาเซียนพูดถึงเรื่องการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติแบบ จ�ำกัด แต่กย็ ังขาดกลไกการคุ้มครองที่แท้จริง หรือกฎหมายภายในยังไม่เอื้อต่อการคุ้มครองแรงงานข้ามชาติเท่าที่ควร 4.การย้ายถิ่น ของแรงงานข้ามชาติในช่วงที่ผ่านมาก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน การปะทะทางวัฒนธรรม และการเข้าสู่สงั คมแห่งความหลากหลายของ วัฒนธรรม ภายใต้กรอบคิดอ�ำนาจอธิปไตยและชาตินยิ มแบบเดิม 5.เรามองแรงงานข้ามชาติในฐานะแรงงาน แต่การด�ำรงอยู่ของพวก เขาท�ำให้การเกิดขึ้นของชุมชนแรงงานข้ามชาติ การแต่งงานข้ามวัฒนธรรม เราจะด�ำรงอยู่ท่ามกลางความหลากหลายอย่างไร 6.การ พัฒนาทางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค และการพัฒนาในพื้นที่ชายแดน ส่งผลกระทบต่อกลุ่มชาติพันธุ์ และคนยากจนในชุมชน และมีผล ต่อการเคลื่อนย้ายแรงงาน ในอีกด้านหนึ่งเรากลับละเลยการจัดการโดยชุมชน ครั้งที่ 3 เรื่อง ทหารกับการเมืองในอินโดนีเซีย: อดีต ปัจจุบัน อนาคต โดย ภาณุวัฒน์ พันธุ์ประเสริฐ คณะรัฐศาสตร์ และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งานเสวนาได้เสนอแนวคิดการศึกษาบทบาททหารกับการเมือง เหตุปัจจัยที่กองทัพ ในอินโดนีเซียเคยมีอ�ำนาจมาก แต่ปัจจุบนั ได้รับการยกย่องจากสื่อตะวันตกและองค์กร Freedom House ในฐานะเป็นแบบอย่างของ ประเทศที่เปลี่ยนแปลงเป็นประชาธิปไตย โดยใช้เวลาไม่ถงึ 20 ปีในการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย เหตุท่ที ำ� ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเข้า สู่ประชาธิปไตยในอินโดนีเซียขึ้นมาได้ ที่มีพ้ืนฐานเหตุการณ์ส�ำคัญ คือการลุกฮือของนักศึกษาประชาชนครั้งใหญ่ในปี 1998 โค่นล้ม รัฐบาลซูฮาร์โตลง โดยมีปัจจัยส�ำคัญจากผลกระทบของวิกฤติเศรษฐกิจปี 1997 ท�ำให้ประชาชนได้รบั ความเดือนร้อนทางเศรษฐกิจส่ง ผลท�ำให้กระแสของสังคมอินโดนีเซียตอนนั้น มีพลังมากพอท�ำให้ระบอบเผด็จการที่อยู่มายาวนาน 30 กว่าปีล้มลงได้ บรรยากาศความ คิดของคนในตอนนั้นปฏิเสธการปกครองแบบเก่าโดยสิ้นเชิง ไม่เอาเผด็จการชี้น�ำของซูฮาร์โต ขณะเดียวกันกองทัพก็มีภาพลักษณ์ที่ ตกต�่ำลงอย่างมาก ภายหลังการปราบปรามประชาชน พร้อมๆ กับความเชื่อว่าระบอบประชาธิปไตยจะท�ำให้สังคมดีขึ้นได้ แม้ปัจจุบัน กองทัพของอินโดนีเซียจะอยู่น่งิ ไม่ได้มีบทบาทการเมืองอย่างชัดเจน แต่บทบาทในด้านธุรกิจยังมีอยู่ ค่ายทหารทั่วประเทศยังมีบทบาท อยู่ แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าบทบาททางการเมืองของทหารจะหมดไป อาจจะยังมีบทบาทในทางหลังฉากอยู่ และเคลื่อนไหวโดนไม่ให้ เป็นข่าว ครั้งที่ 4 เรื่อง เปิดเสรีความเกลียดชัง: ส�ำรวจภูมิ(ไม่)คุ้มกันของคนไร้อ�ำนาจในอาเซียนภิวัตน์ โดย วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์ จากเครือข่ายศิษย์เก่าโรงเรียนแม่น้�ำโขง การเสวนาได้สะท้อนให้เห็นว่า ความเกลียดชังกันในพื้นที่รอบข้างประเทศไทย ประเทศเพื่อน บ้านอย่าง ลาว พม่า เวียดนาม ไม่ได้เกลียดชังเราในฐานะที่มีความบาดหมางกันทางประวัตศิ าสตร์ แต่เกิดจากการรุกคืบเข้าไปของ กระแสการพัฒนาจากไทยที่กระทบต่อวิถีชีวติ และความเป็นอยู่ในประเทศเพื่อนบ้าน คนไร้อำ� นาจที่ไร้ซึ่งภูมิคุ้มกันจึงถ่ายทอดความ เกลียดชังออกมาผ่านภาษา วัฒนธรรม พิธีกรรมบางอย่าง เพื่อใช้เป็นอ�ำนาจในการต่อรอง และเป็นการรวมพลังเข้าต่อสู้กบั ประเด็น ความไม่เป็นธรรม
B E C O M I N G / 19
AS E AN Youth
ความแวดไวทางวัฒนธรรม (Cultural Sensitivity) ในสังคมพหุลักษณ์: แนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริม สร้างความเข้าใจในการก้าวข้าม มายาคติทางชาติพันธุ์และการสลาย ส�ำนึกเส้นแบ่งพรมแดนระหว่างรัฐชาติ อุษาคเนย์ ธนพงษ์ หมื่นแสน
B E C O M I N G / 20
ความน�ำ กระแสโลกาภิวัตน์และระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมใหม่ใน ตอนต้นศตวรรษที่ 21 เป็นตัวแปรหลักส�ำคัญให้เกิดการย่นย่อ สังคมแห่งข้อมูลข่าวสารและสร้างการขยายตัวของตลาดการ ค้าระหว่างประเทศ ตลอดทั้งน�ำไปสู่การติดต่อเชื่อมโยงระหว่าง ผู้คนต่างวัฒนธรรมที่มีมากยิ่งขึ้น สังคมที่เต็มไปด้วยปฏิสัมพันธ์ ระหว่าง “พลโลก” (Global citizen) อันมีความหลากหลายทาง เชื้อชาติ ศาสนาและวัฒนธรรมนั้น ก่อตัวขึ้นมาหลายในรูปแบบ ทั้งระดับมหภาค อาทิเช่น ประชาคมเศรษฐกิจ การเมืองระหว่าง ประเทศ อนุภูมิภาค และภาคพื้นทวีป หรือระดับจุลภาคที่เป็น อาณาบริเวณเฉพาะ อาทิเช่น พื้นที่รอยต่อของเขตแดนระหว่าง ประเทศที่มีการติดต่อค้าขาย มีการอพยพของผู้คนและแรงงาน ข้ามพรมแดนไปมาซึ่งเต็มไปด้วยคนชายขอบหรือคนไร้รฐั ฯลฯ ประเทศไทยเป็นอีกหนึ่งในหลายๆ ประเทศที่ต่างก็ได้รับรู้เท่า ทันสอดรับกับประโยชน์อันผลพวงแห่งการเปลี่ยนแปลงที่เกิด ขึ้น ทว่าขณะเดียวกันก็ต้องเผชิญในส่วนของปัญหาที่ติดตามมา โดยเฉพาะปัญหาว่าด้วยความขัดแย้งทางสังคมและวัฒนธรรม ที่ก่อตัวขึ้น พร้อมๆ กันกับส�ำนึกความเป็นชาติภายใต้กรอบเส้น เขตแดนสมมุติของรัฐสมัยใหม่ซ่งึ คอยผลิตซ�้ำอุดมการณ์รฐั ชาติ ในแบบฉบับ “ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง” คอยหล่อหลอมและ หล่อเลี้ยงส�ำนึกของ “ประชารัฐ” ให้เป็นเนื้อหนึ่งเดียวกัน โดย ผลผลิตอันเป็นประชารัฐดังกล่าวนั้น ก็ล้วนคอยสร้างความ เป็นอื่น (Otherness) รวมทั้งผลัก “คนไร้รัฐ” สู่ความเป็นชาย ขอบและติดตามมาด้วยชุดค�ำอธิบายส�ำเร็จรูปที่อัดแน่นไปด้วย อคติ (Prejudice) ภาพลักษณ์ (Stereotype) การติดยึดชาติพันธ์ (Ethnocentrism ) มายาคติทางชาติพันธ์ (Ethnic Myth) ส�ำนึก ชาตินิยมสุดโต่ง (Ultra-Nationalism) ฯลฯ เหล่านี้เป็นสิ่งซึ่งสะท้อน ให้เห็นถึงปัญหา “ความไม่แวดไวทางวัฒนธรรม” ที่ล้วนแล้วแต่ เป็นอุปสรรคอย่างยิ่งต่อการเตรียมความพร้อมของประเทศไทย ให้ก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยจะมีการเริ่มเปิดเขต การค้าเสรี (ASEAN Economic Community – AEC) ในปี 2015 นี้ กระบวนทัศน์ทางการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 จึงมีส่วน ส�ำคัญอย่างยิ่งที่จะคอยปลดเปลื้องลักษณะของความไม่แวด ไวทางวัฒนธรรมเหล่านี้ให้ออกไปและเสริมสร้างความตระหนัก ทางวัฒนธรรม (Cultural Awareness) ให้เกิดขึ้นผ่านระบบการ ศึกษาสมัยใหม่ ในฐานะที่การศึกษานั้นถูกมองให้เป็นส่วนหนึ่งใน กระบวนการการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization) และส่งผ่านตัว แบบวัฒนธรรม (Cultural Model) บทความชิ้นนี้ จะน�ำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ว่าด้วย
“ความแวดไวทางวัฒนธรรม” ให้แฝงเร้นฐานคิดนี้ไว้ในหลักสูตร ปกติและมีอยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ของสถานศึกษาซึ่งจะ มีส่วนเสริมสร้างความเข้าใจต่อผู้เรียนในเรื่องของการก้าวข้าม มายาคติทางชาติพันธุ์ รวมทั้งการสลายส�ำนึกเส้นแบ่งพรมแดน ระหว่างรัฐชาติ อันจะเป็นส่วนสอดรับกับแนวทางการจัดการศึกษา เชิงพหุ-วัฒนธรรมในศตวรรษที่ 21 ทั้งยังช่วยคลี่คลาย ลดทอน ความไม่เข้าใจระหว่างกันและกัน รวมทั้งช่วยให้เกิดการ ก้าวข้าม อคติ ภายใต้กรอบทางวัฒนธรรมชาตินิยมแบบล้นเกิน ซึ่งเป็น ปัญหาอุปสรรคส�ำคัญภายใต้บริบทของการเมืองระหว่างประเทศ ที่ประเทศไทยนั้นจะได้เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในภูมภิ าคอุษาคเนย์ ที่ก�ำลังเป็น กระแสและก้าวเข้ามา
ความแวดไวทางวัฒนธรรมและการศึกษาเชิงพหุ วัฒนธรรม : ความหมาย ความส�ำคัญและแนวทาง การจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายภายใต้สงั คมที่มีความ เป็นพหุลักษณ์ จ�ำเป็นต้องวางอยู่บนพืน้ ฐานความเข้าใจระหว่าง กัน ความแวดไวทางวัฒนธรรมที่มอี ยู่ภายใต้แนวทางการจัดการ ศึกษาเชิงพหุวัฒนธรรม จึงเป็นปัจจัยด้านตัวบุคคลที่จะคอย ขับเคลื่อนนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner-centered Instruction) ที่ท�ำให้ครูผู้จดั การเรียนรู้เข้าใจ และยึดเป็นแนวปฏิบัติตามหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ได้อย่างถูกต้อง ฉะนั้น การศึกษาที่แวดไว ทางวัฒนธรรมจึงหมายถึง การจัดการศึกษาโดยตระหนักถึงความ แตกต่างและความเหมือนทางวัฒนธรรมมีผลกระทบต่อค่านิยม การเรียนรู้และพฤติกรรมของผู้เรียน ครูผู้จัดการเรียนรู้ต้องหนุน เสริมให้ผู้เรียนเกิดความตระหนักว่ามีวัฒนธรรมที่แตกต่างไปจาก วัฒนธรรมของตน จะต้องไม่พูดในทางที่จะท�ำให้ผู้อื่นรู้สกึ ว่าโดน ดูถูก พร้อมทั้งขยายและเพิ่มคุณภาพที่จะเปิดปรับรับกับความ ยืดหยุ่นในการติดต่อ สัมพันธ์กับผู้อื่น ซึ่งเป็นการท�ำความคุ้นเคย กับบางส่วนที่เลือกมาของลักษณะทางวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ค่านิยม ระบบความเชื่อและพฤติกรรมของสมาชิกของกลุ่ม ชาติพันธุ์อื่นที่ทั้งใช้ชวี ิตและเรียนร่วมอยู่ในสังคมเดียวกันกับเรา 1 การสร้างความแวดไวทางวัฒนธรรม สามารถมีแนวทางได้ใน หลายรูปแบบ ตั้งแต่การริเริ่มในการติดต่อสัมพันธ์ รู้จกั ที่จะแสดง 1 สรุปความได้จาก ค�ำอภิปรายในหัวข้อ “ความแวดไวทางวัฒนธรรม: ความหมาย ความส�ำคัญ และ กระบวนการนาสู่ปฏิบัติ” โดยอ.สามารถ ศรีจ�ำนง คณะศึกษาศาสตร์ ม.เชียงใหม่ ซึ่งกล่าวไว้เป็นครั้งแรกใน การ เสวนา “การศึกษากับความแวดไวทางวัฒนธรรม” เมื่อวันที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ. 2556
B E C O M I N G / 21
ความเคารพต่อวัฒนธรรมและประเพณีที่ต่างไปจากเรา เรียนรู้ ภาษาโดยการออกเสียงเรียกชื่ออย่างถูกต้อง พูดคุยด้วยกันอย่าง ช้าๆ ชัดๆ และให้เวลากับการรับฟังอย่างอดทน มีความแวดไวต่อ ความรู้สกึ ของคนอื่นที่เกี่ยวกับบ้านเกิดของเขา คอยสร้างความ จริงใจอย่างมีมิตรภาพและสิ่งส�ำคัญคือ อย่าปล่อยให้ความแตก ต่างทางวัฒนธรรมกลายมาเป็นฐานของการตัดสินแบบฟันธง
พวกต่อต้านการเหยียดผิว ต่อต้านการกีดกันทางเชื้อชาติและต่อ ต้านอคติทางเพศ โดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปตาม แนวทางข้างต้นจึงขึ้นอยู่กับกระบวนทัศน์ทางการศึกษาของครู ในฐานะผู้จดั กระบวนการเรียนรู้ ซึ่งจ�ำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ทางการศึกษาให้ก้าวเข้าไปสู่การแวดไว ทางวัฒนธรรม การจัดการเรียนรู้ต้องคอยมุ่งสร้างสถานการณ์ให้ผู้ เรียนได้รู้สกึ ตระหนักและเกิดการนึกคิดที่จะน�ำไปสู่ปฏิบัติการทาง ในขณะเดียวกันการจัดการศึกษาอย่างมีความแวดไวทาง สังคมให้มกี ารปรับเปลี่ยนทางพฤติกรรมเกิดขึ้นตามมา นั่นคือผล วัฒนธรรม ก็เป็นสิ่งสอดคล้องกับข้อเสนอของนักทฤษฏีการศึกษา จาก “การเรียนรู้” ของผู้เรียนเอง ในบริบทของการจัดการศึกษา สายNeo-Marxist ดังเช่น (Michael Apple, 2000; อ้างใน นงเยาว์, ภายใต้สงั คมที่เป็นพหุ-ลักษณ์หรือแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อ 2551: 119) ที่กล่าวไว้ว่า การเรียนรู้ทางวัฒนธรรมเป็นการเรียนรู้ การก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ควรต้องน�ำแนวทางนี้ไปใช้เป็นเครื่อง เพื่อเข้าใจรากเหง้าของอ�ำนาจที่ไม่สมดุลระหว่างประเทศสมาชิก มือในการปฏิบัติการและแทรกไว้ในหลักสูตร พื้นที่การจัดการเรียน ในชุมชนโลก ผลกระทบทางเศรษฐกิจของความเป็นพลเมือง รู้หรือองค์กรการจัดการเรียนรู้เพื่อหวังผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ชั้นสองและความเป็นชายขอบของนักเรียน ซึ่งในทางหลัก ก็คือ ตั้งแต่ระดับสถาบัน ระดับองค์กร ระดับปฏิสัมพันธ์และระดับ การจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนท�ำความเข้าใจกับอ�ำนาจ(Power) บุคคล การปฏิบัติอย่างยั่งยืนได้น้นั จะเกิดขึ้นก็เพราะการหนุน ต�ำแหน่ง (Positions) พื้นที่(Spaces) ความหมาย (meaning) ของ 2 เนื่องซึ่งกันและกัน ความเป็นเพศ ชาติพันธุ์ เชื้อชาติ ศาสนา ความเป็นพลเมืองและ ความเป็นพลเมืองของผู้อพยพย้ายถิ่น ข้อเสนอดังกล่าวจึงเป็น “วัฒนธรรม” จึงเป็น “ตัวแบบ” ที่คอยสร้างบรรทัดฐาน ทั้งการขยายขอบเขตและมุ่งจัดวางต�ำแหน่งที่ “หลากหลายอย่าง ทางด้านการคิด/การรู้สกึ /การกระท�ำ ครูในฐานะผู้ออกแบบ ไม่เท่าเทียม” ให้เกิดการขยับเคลื่อนจากฐานรัฐชาติสู่ฐานชุมชน กระบวนการเรียนรู้ ก็จึงควรที่จะเรียนรู้ “ตัวแบบวัฒนธรรม” นี้ โลก โดยถือว่าเป็นการท้าท้ายขนบของการศึกษาแบบเดิมและมุ่ง ของกลุ่มเป้าหมาย (ผู้เรียน) และบริบทพื้นที่ ที่มีจัดการศึกษาให้ เปลี่ยนมาเป็นการปลูกฝังให้เกิดความใกล้ชิดกลมกลืนและสร้าง เกิดความเข้าใจในความแวดไวทางวัฒนธรรมเสียก่อน ซึ่งจะช่วย ความคุ้นเคยเชิงพื้นที่เพื่อสนองตอบต่อความเป็นชุมชนที่เหนือกว่า ให้ครูผู้จดั การเรียนรู้ได้เกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับผู้เรียนอย่างตรง บริบทรัฐชาติ ยิ่งไปกว่านั้น การจัดการเรียนรู้ในทิศทางดังกล่าวยัง กับข้อเท็จจริง เช่น รู้ว่าผู้เรียนคิดหรือมีมโนทัศน์อย่างไรเกี่ยวกับ จะช่วยถักทอสังคมขึ้นมาจากความสัมพันธ์แบบหลากหลาย รอบ ตัวเลข พระอาทิตย์ สัตว์ การใส่บาตร การไหว้ ฯลฯ แล้วน�ำมา ทิศทาง ปรับเปลี่ยนส�ำนึกรวมทั้งพฤติกรรมอย่างไร้อคติและหนุน เป็น “วัตถุดิบน�ำเข้า” (Input) สู่กระบวนการออกแบบจัดการเรียนรู้ เสริมให้เกิดการก้าวข้ามพ้นมายาคติทางชาติพันธุ์ที่ก�ำหนดสร้าง รวมทั้งความจ�ำเป็นที่ครูจะต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับตัวแบบวัฒนธรรม ขึ้นมา เพื่อรับใช้ส�ำนึกและวิธีคิดของรัฐไทยสมัยใหม่ที่ถูกก�ำหนด ของนักเรียนแต่ละคน อย่า “ทึกทัก” เอาตามประสบการณ์เดิม (Dominate) ระเบียบวิธีคิด โลกทัศน์ในแบบเดียวกันกับศูนย์กลาง ที่คุ้นชิน เพราะผลผลิตของกระบวนการออกแบบจัดการเรียนรู้ อ�ำนาจ ที่ได้ อาจกลายเป็น ภาพเหมารวม (stereotype) ที่อาจจะไม่ตรง กับข้อเท็จจริงและแฝงฝังไว้ซ่งึ อคติทางวัฒนธรรม การรวบรวม การเบียดขับอคติ แทนที่ด้วยการเรียนรู้ ข้อมูลเหล่านี้อาจจะท�ำในรูปแบบของการวิจัยชั้นเรียน (Classroom หนึ่งในหลายๆ ข้อเสนอของ (สรุปความจาก Peter Research) ผ่านกระบวนการแนะแนวช่วยเหลือดูแลนักเรียนหรือ McLaren,1998; อ้างใน ศิวรักษ์, 2551:74-76) นักทฤษฏี Critical กระบวนการทางจิตวิทยาที่อยู่ภายใต้บริบททางวัฒนธรรมนั้นๆ Pedagogy ชาวอเมริกันได้กล่าวถึง การเรียนการสอนเชิงวิพากษ์ ผลที่ได้คือ ครูหรือผู้จดั การเรียนรู้เอง ก็จะเห็นประเด็นที่จะน�ำมาใช้ ว่า ต้องเป็นปากเสียงให้กบั คนในท้องถิ่นและค�ำนึงถึงบริบท โดย เป็นปัจจัยก�ำหนดกระบวนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างตรงเป้าหมาย จะต้องมองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างการวิพากษ์กบั การปฏิบัติการ ไม่เพียงแต่ในชั้นเรียนเท่านั้นหากแต่ครูและผู้บริหารสถานศึกษา ทางสังคม กล้าที่จะค้นหามิติเชิงพื้นที่ของมนุษย์ ทั้งคนในเมือง ยังสามารถน�ำมาแก้ปัญหาความสัมพันธ์ของนักเรียนได้ อาทิเช่น และคนในชนบทและต้องมีท้งั มิติบทบาทชายหญิงและเชื้อชาติ ด้วย เท่ากับเป็นการจัดการเรียนรู้ในสามมิติพร้อมกัน คือ พื้นที่ 2 อ้างใน ไพพรรณ เกียรติโชติชัย.กระบวนทัศน์ใหม่แห่งการศึกษาใน ความรู้และอ�ำนาจ ส่วนส�ำคัญคือ นักการศึกษานั้นจะต้องเป็น ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: การศึกษา, 2545.
B E C O M I N G / 22
การล้อเลียนชาติพันธุ์ที่มักเกิดขึ้นเสมอในโรงเรียนทั่วไป ครูจะต้อง • การเรียนรู้ลกั ษณะของตัวแบบทางวัฒนธรรมที่มีร่วมกันของ มีบทบาทที่จะเข้าไป “แทรกแซง” พร้อมทั้งเบียดทิ้งอคตินั้นๆ และ ผู้คนในพื้นที่ชายแดน เช่น ประเพณีสงกรานต์ระหว่างไทยแทนที่ด้วยการเรียนรู้ให้เกิดความเข้าใจที่จะอยู่ร่วมกัน เมียนมาร์ (มอญ) หรือระหว่างไทยกับลาว ประเพณีการไหล เรือไฟในล�ำน�้ำโขงระหว่างไทยกับลาว แม้กระทั่งความเชื่อ ก้าวข้ามมายาคติทางชาติพันธุ์ สลายส�ำนึกเส้นแบ่ง เรื่องการไหว้หรือนับถือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ท่แี ต่เดิมก็มีการข้าม พรมแดนระหว่างรัฐชาติผ่านระบบการจัดการศึกษา พรมแดนไปมาเพื่อแสวงบุญสักการะมาตั้งแต่อดีต เช่น การ ปัญหาส�ำคัญในสังคมไทยว่าด้วยระดับความรู้ ทัศนคติและ นับถือองค์พระธาตุพนม จังหวัดนครพนมของพี่น้องไทยความเข้าใจที่มีต่อประเทศรอบข้างในอุษาคเนย์ สะท้อนให้เห็น ลาวสองฝั่งโขงหรือประเพณีการร่วมเดินขึ้นพระธาตุดอยตุง ถึงกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมผ่านระบบการศึกษาที่เต็ม จังหวัดเชียงราย ของพี่น้องชาวเครือไตในรัฐฉาน ไปด้วยช่องว่างระหว่างองค์ความรู้ท่ถี ูกสร้างขึ้นในสังคมกับโลก • ความรู้เรื่องอัตราการแลกเปลี่ยนสกุลเงินเพื่อการติดต่อ แห่งความเป็นจริงซึ่งแตกต่างกัน ช่องว่างดังกล่าวถูกแทนที่ด้วย ค้าขาย รวมทั้งการเรียนรู้ภาษาเพื่อการสื่อสารอย่างง่ายของ มายาคติทางชาติพันธุ์ที่ค่อนข้างสวนทางกับทิศทางของการปะทะ ประเทศที่ตั้งอยู่ติดกับพรมแดนใกล้สถานศึกษานั้นๆ ฯลฯ ประสานระหว่างประชาคมในภูมภิ าคอุษาคเนย์ที่พยายามจะ ตัวอย่างที่ยกมาในข้างต้น จึงล้วนแล้วแต่เป็นวัตถุดิบป้อนเข้า ก้าวล่วงไปสู่ ภาวะไร้พรมแดน ทั้งในด้านของการลงทุน แรงงาน ในกระบวนการออกแบบจัดการเรียนรู้ที่สามารถจัดขึ้นได้ หากครู ย้ายถิ่น การรับและ การเสพสื่อ ทว่าการรับรู้และความเข้าใจ ในฐานะผู้จดั กระบวนการเรียนรู้มีความเข้าใจ พร้อมทั้งเปิดกว้างที่ ของสังคมไทยที่มีต่อโลกรอบข้างยังติดอยู่กับระนาบความรู้และ จะยอมรับน�ำเอาตัวแบบทางวัฒนธรรมอันหลากหลายเหล่านั้นมา จินตนาการเก่า ซึ่งเป็นผลผลิตในยุคสงครามเย็น การจัดการ เป็นส่วนหนึ่งในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนที่พร้อมจะก้าว ศึกษาตามแนวทางความแวดไวทางวัฒนธรรมจะต้องท�ำหน้าที่ ปลดเปลื้องภาพลักษณ์ที่มีอยู่ในตัวเนื้อหาหลักสูตรและส�ำนึกของ สู่ความเป็นพลโลกในศตวรรษที่21 ได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งอย่างไร ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ท่จี �ำต้องก้าวให้พ้นกรอบการมองประเทศ ก็ตามการที่จะก้าวพ้นกรอบการจัดการศึกษาในแบบฉบับเดิมๆ เพื่อนบ้าน ในฐานะศัตรูคู่แค้น โดยเดิมทีถูกสร้างขึ้นมาเพื่อสนอง นั้น อีกหนึ่งข้อเสนอของบทความชิ้นนี้ ก็คือ การเปิดช่องให้องค์กร กลุ่มผลประโยชน์ทางการเมือง และการจัดกระบวนการเรียนรู้จะ และชุมชนในส่วนของท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้มคี วามเข้าใจในบริบทพื้นที่ ต้องชี้ให้เห็นว่า กระบวนการดังกล่าวมีพัฒนาการเริ่มมาจากการ เข้ามามีสัดส่วนมากขึ้นในการก�ำหนดนโยบายการจัดการศึกษาที่ เขียน“ประวัติศาสตร์แห่งชาติ” ที่ยังคอยสอดแทรกส�ำนึกชาตินิยม มุ่งตอบสนองเพื่อคนในท้องถิ่นได้เอง และส่งผ่านสู่สงั คมในหลายรูปแบบ ที่ส�ำคัญส่งผ่านการศึกษาโดย สรุป รัฐเป็นผู้จดั การดูแลหลักสูตร การจัดการเรียนรู้รวมทั้งแบบเรียน การจัดการศึกษาตามแนวทางของความแวดไวทางวัฒนธรรม จนท้ายที่สุดก่อให้เกิดความทรงจ�ำ(ใหม่)ร่วมกัน ปลูกฝังให้มคี วาม รู้สึกว่าคนไทยมีสภาพเหนือกว่าและดูถูกเหยียดหยามในด้านเชื้อ เป็นสิ่งซึ่งหนุนเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความเข้าใจระหว่างกัน ในสังคมที่มีความเป็นพหุลักษณ์ อีกทั้งยังเป็นการมุ่งสร้างส�ำนึก ชาติและวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน3 ที่ว่า “เขามีเรา เรามีเขา เรามีกันและกัน”4 โดยผ่านการถ่ายทอด แนวทางที่จะก้าวล่วงไปสู่ภาวะไร้พรมแดนได้ในทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและส่งผ่านตัวแบบทางวัฒนธรรมอันจะคอยท�ำหน้าที่ การเมืองและวัฒนธรรม นั่นคือ การสร้างให้พ้นื ที่ร่วมทางการ ชอนไชและปลดเปลื้องมายาคติทางชาติพันธุ์ เพื่อการก้าวไปสู่ ศึกษาบนพื้นที่ชายขอบ โดยจัดให้มีกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ อย่าง ภาวะไร้ซ่งึ ส�ำนึกการมีอยู่ของเส้นเขตแดนระหว่างรัฐชาติอันพร้อม มีโลกทัศน์ท่กี ้าวข้ามพรมแดน ความรู้ของผู้เรียนต้องไม่จ�ำกัดหรือ ที่จะเกิดขึ้นบนหนทางแห่ง “ความคาดหวังร่วมที่มุ่งมองเห็นความ ติดอยู่ในกับดักของรัฐชาติ โดยจะขอยกเป็นตัวอย่างดังต่อไปนี้ เปลี่ยนแปลง” ของผู้คนและสังคมอุษาคเนย์ ได้ในอนาคต • มีการบูรณาการชุดความรู้ท่กี ้าวข้ามพรมแดนระหว่างรัฐ เช่น การเรียนรู้ลกั ษณะร่วมของสภาพภูมศิ าสตร์ (แม่น้�ำ ภูเขา พืชพันธุ์) ในบริเวณพื้นที่ชายแดน 3 สรุปความจาก สุเนตร ชุตินธรานนท์และคณะ. ชาตินิยมไทยในแบบ เรียน. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557
4 อ้างจาก งานเสวนาเรื่อง “มารยาทควรรู้ เมื่อเปิดประตูเพื่อนบ้าน” สมฤทธิ์ ลือชัย และ อัครพงษ์ ค�่ำคูณ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร เมื่อ 6 ส.ค 2557
B E C O M I N G / 23
A S E AN Youth
ความคาดหวังด้านอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ และ ความเข้าใจเรื่องกลุ่มชาติพันธุ์ในอาเซียนของ คนไทยผ่านสื่อต่างๆ: กรณี น้องแนน สาวเสิร์ฟ ร้านลาบ เชียงใหม่ สมคิด แสงจันทร์
“ฮือฮาสาวเสิร์ฟร้านลาบ เมืองเชียงใหม่ สวยหุ่นดี รับจ๊อบนางแบบเป็นงานอดิเรก เจ้าตัวเผยเป็นสาวไทยใหญ่อยู่เมือง ตองยี ประเทศพม่า มาท�ำงานในประเทศไทยตั้งแต่อายุ 17 ท�ำมาแล้วทุกอย่างทั้งแม่บ้าน คนงานก่อสร้าง ไปเจอช่างภาพ ถ่ายแบบ เลยลองถามพอเป็นนางแบบได้มั้ย จากนั้นก็มีงานถ่ายลงนิตยสาร-หนังสือพิมพ์ท้องถิ่นอยู่เรื่อยๆ ”1 “เชื่อว่าคุณผู้ชมหลายท่าน ที่เคยไปรับประทานอาหารที่ร้านลาบต้นยาง อยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ จะต้องสะดุดตากับสาว เสิร์ฟรายนี้อย่างแน่นอน เขาบอกว่าหน้าตาซะสวย ขอย�้ำนะคะว่านี่คือสาวเสิร์ฟ แต่ว่าเธอเป็นชาวเมียนมาร์ อายุ 25 ปี แล้วนะคะ”2 “คุณผู้ชมครับ วันนี้เราจะสัมภาษณ์ทางไกลนะครับ กับน้องแนนนะครับ ซึ่งเธออยู่ที่เชียงใหม่นะครับ...สวัสดีครับ แนน มิงกาลาบา (ค�ำทักทายภาษาพม่า แปลว่าสวัสดี) ....สุดท้ายนะครับ แนน แชมป์จัดไป ภาษาพม่าว่ายังไง ... แชมป์ เมีย ตระ (น้องแนนพูด)”3 นี้เป็นตัวอย่างของกระแสข่าวที่ดังอย่างต่อเนื่องจากรณีที่มีผู้คนแชร์ภาพนางแบบสาวสวย ในสังคมออนไลน์ และมีนกั ข่าวไป สัมภาษณ์ ปรากฏว่านางแบบสาวท่านนั้นแท้จริงแล้วเป็นสาวเสิร์ฟร้านลาบอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ จึงมีการแชร์กนั ต่อๆ ไปในโลกออนไลน์ จนกระทั้งสื่อทีวีเอาไปน�ำเสนอจนโด่งดัง 1 ข่าวสดออนไลน์ (http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=TVRRd09EQTNNREF6TUE9PQ==&sectionid= ) (เข้าถึงวันที่ 16 สิงหาคม 2557) 2 (เหมือนขวัญ ประสานพานิช นักข่าวช่องเจ็ด รายการ เช้านี้ที่หมดชิด วันที่ 15 สิงหาคม 2557) 3 รายการ แชมป์จดั ไป ช่อง 3 family วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม 2557 (http://www.frequency.com/video/shan-news-update-today-260820143/189551301?cid=5-2436 )
B E C O M I N G / 24
...เริ่มมีกระแสต่อต้าน และวิพากษ์วิจารณ์เธอในสังคมออนไลน์อีก ครั้ง ว่า เหตุใดเธอไม่ทักทายด้วยภาษาของไทใหญ่ ว่า “ใหม่สูงค่า” หรือไม่บอกสักนิดเลยว่าตัวเองเป็นคนไทใหญ่...
ภายใต้กระแสโด่งดังของตัวนางแบบสาวเสิร์ฟร้านลาบใน สังคมไทยนั้น ได้เกิดกระแสที่โด่งดังไม่แพ้กนั ในกลุ่มวัยรุ่นไทใหญ่ และชาวไทใหญ่ท่ไี ด้ตดิ ตามข่าวนี้ เนื่องจากนางแบบสาวท่านนั้น แท้จริงคือ สาวไทใหญ่ เมืองตองจี (โตนตี) รัฐฉาน ประเทศพม่า โดยกระแสแรกๆ นั้น คนไทใหญ่ต่างก็แชร์ภาพของนางแบบสาว และชื่นชมในความขยันกตัญญูและความสวยของเธอ ภูมใิ จที่เธอ เป็นสาวไทใหญ่ แต่ต่อมาไม่นานหลังจากมีนักข่าวไปสัมภาษณ์ 4 เธอ และท�ำคลิปออกมาเผยแพร่ทางเว็บไซต์ และเว็บเพจต่างๆ ของไทใหญ่5 ท�ำให้เกิดกระแสวิพากย์การน�ำเสนอตัวตนของ เธอ เนื่องจาก เธอให้ส�ำภาษณ์ว่า อาศัยอยู่ในพม่า เมืองตองจี ประเด็นนี้ กลุ่มไทใหญ่หลายกลุ่มออกมาต่อว่าเธอว่า ไม่มสี �ำนึก ความเป็นคนไต/ไทใหญ่ เพราะเธอไม่บอกว่าตัวเองเป็นชาวไท ใหญ่ มิหน�ำซ�้ำยังเรียกชื่อเมืองหลวงของรัฐฉานตามพม่าว่า ตองจี แต่ไม่เรียกตามภาษาไทใหญ่ว่า ต้นดี/โตนตี
แท้7” โดยมีการดึงสาวสวยชาวไทใหญ่ในเชียงใหม่ อีก 3 คนมา ร่วมใส่ชดุ ไทใหญ่ ไปถ่ายภาพที่วัดผาลาด อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ทางขึ้นดอยสุเทพ โดยจัดสาวสวยไทยใหญ่ 4 คนสวมชุดไทใหญ่ เป็นนางแบบ เพื่อเผยแพร่วฒ ั นธรรมชาวไทใหญ่บนผืนแผ่นดินไทย ภาพกิจกรรมชุดนี้ จึงได้มกี ารแชร์ต่อๆ กัน สร้างความภูมใิ จและ ยินดีในหมู่ชาวไทใหญ่เป็นอย่างมาก ที่สาวไทใหญ่สร้างชื่อเสียง และน�ำเสนออัตลักษณ์ของไทใหญ่ แต่จากนั้นเพียงไม่นาน เหตุการณ์กก็ ลับตาลปัตรอีกครั้งเมื่อ รายการ “แชมป์จดั ไป” ทางช่อง 3 family ได้มกี ารสัมภาษณ์ทาง ไกลกับน้องแนน พิธีกรชื่อดังของช่อง เริ่มต้นบทสนทนาด้วยการ ทักทาย เธอเป็นภาษาพม่า ตลอดรายการมีการถามถึงแต่เรื่องของ พม่า ทั้งเรื่องอาหารและเมืองที่น้องแนนอยู่ ยิ่งตอนท้ายรายการ พิธีกรยังขอให้ น้องแนน พูดชื่อรายการเป็นภาษาพม่าด้วย ซึ่งน้อง แนนก็ พูดว่า “แชมป์ เมีย ตระ” จากรายการนี้เองเริ่มมีกระแส ต่อต้าน และวิพากษ์วิจารณ์เธอในสังคมออนไลน์อกี ครั้ง ว่า เหตุ ใดเธอไม่ทกั ทายด้วยภาษาของไทใหญ่ ว่า “ใหม่สูงค่า” หรือไม่ บอกสักนิดเลยว่าตัวเองเป็นคนไทใหญ่ ซึ่งนั่นเท่ากับเป็นการไม่ ให้เกียรติชาติพันธุ์ของตนเอง โดยเฉพาะในเว็บเพจ ที่ชื่อว่า Tai community online ซึ่งมีผู้ตดิ ตามกว่าสองหมื่นคน และส่วนมากก็ เป็นวัยรุ่นชาวไทใหญ่ท้งั ในประเทศไทยและรัฐฉาน ได้น�ำประเด็น นี้มาขยายต่อ หรือแม้แต่หน้าเฟสของกลุ่มวัยรุ่นไตต่างๆ ก็จะเต็ม ไปด้วยค�ำวิพากษ์วจิ ารณ์ ต่างๆ นานา หลายคนรู้สกึ ผิดหวังที่เธอ มีชื่อเสียงระดับประเทศแล้วแต่มไิ ด้น�ำเสนอความเป็นไทใหญ่เลย
เหตุการณ์เริ่มคลี่หลายลง เมื่อมีส�ำนักข่าวของไทใหญ่6 ลงพื้นที่ไปสัมภาษณ์เธอแบบเจาะลึก ถึงสาเหตุท่ไี ม่บอกว่าเป็นคน ไทใหญ่ ซึ่งเธอตอบว่า เพราะนักข่าวรายงานไปตามบัตรประชาชน ของเธอซึ่งเป็นบัตรประชาชนของพม่า และที่ตอบว่า ตองจี เพราะ เป็นค�ำที่เธอคุ้นเคยมากกว่า แต่เธอยืนยันว่า เธอเป็นคนไต และรัก ในความเป็นไต การสัมภาษณ์ครั้งนี้เธอพูดด้วยภาษาไทใหญ่ บวก กับชุดที่เธอถ่ายแบบ หรือ ที่แชร์กนั ส่วนมากในโลกออนไลน์กเ็ ป็น ชุดไทใหญ่ ท�ำให้กระแสต่อต้านในตัวเธอลดน้อยลง จึงเริ่มมีการ ผลักดันให้เธอกลายเป็นภาพตัวแทนของคนไทใหญ่ เพื่อเผยแพร่ วัฒนธรรมไทใหญ่ ท�ำให้เธอกลายมาเป็นขวัญใจของคนไทใหญ่ อีกไม่กี่วนั ต่อมาเพจนี้ ก็ได้น�ำเสนอข้อความหนึ่ง ซึ่งอ้าง เพียงชั่วข้ามคืน เว็บไซต์/เว็บเพจ ต่างๆ ของไทใหญ่ ต่างลงข่าว ว่าเป็นค�ำชี้แจงของน้องแนนซึ่งได้เข้าไปแสดงความคิดเห็นใน เธอและชื่นชมเพิ่มมากขึ้น จากความโด่งดังนี้เอง ท�ำให้กลุ่มคน ทีๆ่ หนึ่ง ซึ่งน้องแนนขอร้องให้ทกุ คนเข้าใจการกระท�ำของเธอ ว่า สร้างภาพเชียงใหม่ซ่งึ เคยถ่ายแบบให้เธอจนโด่งดังในโลกออนไลน์ เนือ่ งจากทางรายการต้องการให้รายการออกมาในแนวนั้น เพื่อ จัดกิจกรรมถ่ายรูป ภายใต้แนวคิดที่ว่า “สาวไทใหญ่ หัวใจไทย การเข้าสู่ AEC พร้อมกับบอกเงื่อนไขของเธอว่า “ ...แนนเกิดใน พม่า และเรียนหนังสือพม่า และคนที่สั่งสอนแนนมาให้เป็นคน 4 http://www.youtube.com/watch?v=n4NB2gl9tBo ดีอยู่ทุกวันนี้ได้ นอกจากพ่อแม่แล้ว ก็มีแต่ครูพม่า จริงอยู่อาจ
5 เช่น page Tai community online , สมาคมคนรักสาวไทใหญ่ , สายน�้ำเตง ทุ่งสามรอ & Shan News update, 6 http://www.youtube.com/watch?v=QRkxnWsCL-U 7 http://www.manager.co.th/local/viewnews.aspx?NewsID=9570000096822
B E C O M I N G / 25
มีพม่าที่ไม่ดีมากมาย แต่ท่ไี ด้เจอล่วน (ล้วน) มีแต่คนดี...แนนก็ เป็นคนไตคนหนึ่ง ที่ต้องจากบ้านมาไกล ท�ำมาหากินและทุกวัน ก็ยังกินอาหารไต และฟังเพลงไต และรักความเป็นไต เพราะเรา เป็นไต...”8 ท�ำให้มีการถกเถียงกันไปมาระหว่างคนไทใหญ่ท่เี ข้า มาร่วมแสดงความคิดเห็น บางคนออกมาต่อว่า บางคนออกมา ให้กำ� ลังใจ และท�ำความเข้าใจ บางส่วนก็ปลง และ เสียดาย โอกาสที่คนไทใหญ่จะมีพ้นื ที่ได้แสดงอัตลักษณ์ของตนเองอย่าง เต็มที่ผ่านสื่อกระแสหลักของไทย ในขณะที่เว็บเพจดังกล่าวได้ โพสข้อความให้ผู้ตดิ ตามเลิกด่าว่าเธอ แต่กไ็ ด้มีการโพสข้อความ ในเชิงประชดประชันนางแบบสาวอีกหลายข้อความ ซึ่งในขณะ ที่ผู้เขียนบทความนี้ กระแสดังกล่าวก็ยังร้อนแรงมากในสังคม ออนไลน์ ซึ่งเป็นสื่อกระแสหลักที่คนไทใหญ่ซ่งึ เข้ามาเป็นแรงงาน ใช้ติดต่อสื่อสาร รวมถึงสร้างเครือข่ายต่างๆ แลกเปลี่ยนข้อมูลและ ประสบการณ์ต่าง ทั้งจากไทย และ รัฐฉานบ้านเกิด ท�ำให้เกิด เป็นชุมชนขนาดใหญ่ในสังคมออนไลน์ของกลุ่มวัยรุ่นและคนไท ใหญ่ที่เข้าถึงสื่อพวกนี้ ซึ่งส่วนมากเป็นแรงงานที่เข้ามาท�ำงานใน ประเทศไทยนานแล้ว ส่วนมากยังออกมาแสดงความรู้สกึ เสียดาย และผิดหวังกับตัวนางแบบสาว กรณีนี้ มีประเด็นที่ผู้เขียนเห็นว่าน่าสนใจและควรถกเถียง กันได้ในสังคม ก่อนที่ท้งั สิบประเทศในอาเซียน จะเข้าสู่ประชาคม อาเซียน นั่นก็คือ ความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ของกลุ่มต่างๆ ในภูมภิ าคอาเซียนนี้ รวมถึงมายาคติ มุมมองที่คน ไทยมีต่อกลุ่มชาติพันธุ์เหล่านี้ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงระบบการศึกษา ของไทยที่เน้นให้เห็นแต่ประวัติศาสตร์ของชาติมากกว่าจะท�ำความ เข้าใจความซับซ้อนทางชาติพันธุ์ การเปิดประชาคมอาเซียนนั้น นอกจากเป็นการเปิดเสรีด้าน การค้าแล้ว สิ่งที่จะตามมาอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้เลยก็คอื การไหล ข้ามไป-มาของวัฒนธรรมต่างๆ เนื่องจากกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ที่ ต้องเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในระบบแรงงาน ทั้งภาคอุสาหกรรมขนาด 8 https://www.facebook.com/www.Tairadio.net/photos/ pcb.695692920511254/695692513844628/?type=1&theater
ใหญ่ รวมถึงแรงงานรับจ้างทั่วไป เริ่มที่จะน�ำเสนออัตลักษณ์ของ ตัวเอง เพื่อแสดงถึงวัฒนธรรมของตนเอง ทั้งให้เกิดรับการยอมรับ และน�ำเสนอปัญหาของพวกเขาผ่านการน�ำเสนออัตลักษณ์ของตัว เองในพื้นที่สื่อสาธารณะ ผ่านการจัดกิจกรรมต่างๆ รวมทั้งผ่านสื่อ สังคมออนไลน์หลายๆ ทางเช่น facebook , เว็บเพจ, เว็บไซต์,และ ยูทูป กระแสของน้องแนน นางแบบสาวชาวไทใหญ่น้ี ท�ำให้เรา ต้องมาตั้งค�ำถามกับสื่อไทยหรือคนไทยที่ยังมีความรู้เกี่ยวกับ ประเทศเพื่อนบ้านไม่มากพอ ไม่เข้าใจบริบทของสังคมในประ เทศนั้นๆ คนไทยส่วนมากเลือกที่จะเสพความเป็นชาติพันธุ์ หรือ เสพความเป็นอื่น ผ่านภาพสวยงามของวัฒนธรรม และความ สวยความงามของผู้หญิงชาติพันธุ์น้นั ๆ และยอมรับกันในเชิง วัฒนธรรมว่าเป็นพี่น้องร่วมกันเผ่าพันธุ์ไทเดียวกัน แต่หากเป็น เรื่องที่เกี่ยวข้องกับปากท้องเศรษฐกิจ/ความมั่นคง คนไทยก็พร้อม จะมองเขาเป็นอื่น เป็นปัญหาสังคม เป็นแรงงานราคาถูก และแฝง ไปด้วยความรังเกียจทางชาติพันธุ์ เช่นชาวไทใหญ่ หากน�ำเสนอ ในเชิงวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ภาพลักษณ์ความสวยงาม การ แต่งกาย อาหาร คนไทยส่วนมากก็ยอมรับเขาว่าเป็นชาวไทใหญ่ ซึ่งเป็นพี่น้องเผ่าเดียวกันกับไทย แต่เมื่อลงรายละเอียดถึงเรื่อง ของการอพยพเข้ามาเป็นแรงงาน บ่อยครั้งสื่อไทยหรือคนไทย ก็ ไม่ได้ใช้สำ� นึกของความเป็นพี่น้องเผ่าเดียวกัน บ่อยครั้งเมื่อเกิด ปัญหาก็ผลักโยนให้พวกเขากลายเป็นเพียงแรงงานชาวพม่า เห็น ชัดว่าในกรณีของน้องแนนนั้นสื่อเลือกที่จะน�ำเสนอตัวเธอในฐาน แรงงานพม่าที่มีความสวยและเป็นถึงนางแบบเพื่อเล่นกับส�ำนึก ของคนไทยที่มองว่าแรงงานพม่าไม่น่าจะสวยหรือเป็นนางแบบได้ จึงกลายเป็นเรื่องแปลกและเรียกร้องความสนใจในสังคมได้ ทั้งนี้ นอกจากเรียกร้องความสนใจได้แล้วยังเป็นภาพสะท้อนกลับถึงวิธี คิดและมุมมองที่คนไทยมองกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อนบ้านอีกด้วย ซึ่งก็ ยังสนใจแค่ในเรื่องของความสวยงามหากแต่ไม่ได้สนใจหรือให้น�้ำ หนักกับการเป็นแรงงานของเธอ จึงท�ำให้กระแสของ น้องแนนนั้น ตอกย�ำ้ ความไม่เข้าใจในประเด็นเหล่านี้
B E C O M I N G / 26
...แต่หากเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับปากท้องเศรษฐกิจ/ความมั่นคง คน ไทยก็พร้อมจะมองเขาเป็นอื่น เป็นปัญหาสังคม เป็นแรงงานราคาถูก และแฝงไปด้วยความรังเกียจทางชาติพันธุ์ เช่นชาวไทใหญ่...
อีกด้านหนึ่งกระแสของน้องแนนนี้ยังแสดงให้เห็นสิ่งที่เรียก ว่า “ความคาดหวัง” ของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในการที่จะแสดง ตัวตนของตนเองออกมาให้เป็นที่ยอมรับ/หรือต้องการการยอมรับ จากสังคมภายนอกมากขึ้น นอกจากการมองพวกเขาเป็นเพียง แรงงาน/คนชายขอบ/ปัญหาสังคม กรณีของชาวไทใหญ่น้นั เห็น ได้ชัดว่า ชาวไทใหญ่ท่เี ข้ามาท�ำงานในประเทศไทยพยายามปรับ ตัวเข้ากับสังคมไทยเพื่อให้ได้รบั การยอมรับ การจัดงานต่างๆ ใน พื้นที่สาธารณะ ที่บ่อยครั้งมีการแสดงถึงความจงรักภักดีในสถาน บันกษัตริย์ ตอกย�้ำถึงการต้องการแสดงความใกล้ชดิ กับไทย การ แสดงอัตลักษณ์ของไทใหญ่น้นั แม้จะต้องการการยอมรับแต่ส่วน หนึ่งก็ยงั กระท�ำการภายใต้แนวคิดชาตินิยมที่มีพม่าเป็นคู่ขดั แย้ง กรณีที่น้องแนนซึ่งเป็นคนไทใหญ่แต่เติบโตและเรียนหนังสือใน โรงเรียนพม่า มีเพื่อน ครู ญาติพี่น้องเป็นชาวพม่า แต่ตวั เองก็ยัง รักและหวงแหนวัฒนธรรมไทใหญ่อยู่ จึงถูกคาดหวังจากชาวไท ใหญ่ส่วนหนึ่งว่าเธอต้องเป็นภาพตัวแทนของไทใหญ่มากกว่าพม่า ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริงความเป็นไทใหญ่น้นั มีความสัมพันธ์และ การผสมผสานกลมกลืนกับพม่ามากกว่าไทย ทั้งภาษา อาหารการ กิน หรือแม้แต่การเรียกชื่อเมืองต่างๆ ในพม่าในชีวิตประจ�ำวันชาว ไทใหญ่กน็ ิยมเรียกตามพม่ามากกว่า หลายคนพูดอ่านเขียนภาษา พม่าได้ดกี ว่าภาษาไทใหญ่ แต่เมื่อต้องแสดงอัตลักษณ์ของตนเอง ในพื้นที่สาธารณะ กลับพบว่าประเด็นเหล่านี้กลายมาเป็นข้อห้าม หรือข้อถกเถียง ประเด็นส�ำคัญก็คือ กลุ่มคนเหล่านี้ต้องการให้คน ไทยยอมรับและเข้าใจว่าพวกเขาต่างจากพม่า ไม่ใช่พม่า การปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของตัวเองให้ทนั สมัยของกลุ่มคน ไทใหญ่ สามารถผสมผสานกับวัฒนธรรมอื่นๆ ได้ เช่น แนวเพลง แบบเกาหลีหรือ K-POP การเสพสื่อที่เป็นเพลง/ละคร/หนังที่เป็น ของไทย การแต่งกายตามแบบแฟชั่นตะวันตก รวมถึงการพูด ภาษาอังกฤษ/ไทย ซึ่งบางครั้งไม่ได้มคี วามใกล้เคียงกันเลย แต่ กลับได้รับการยอมรับและส่งเสริม ไม่ใช้แนวคิดชาตินิยมมาจับ เลย แต่หากการปรับเปลี่ยนนั้นไปเชื่อมโยงกับพม่าซึ่งแม้จะมี ความคล้ายคลึงและผสมผสานกันมานานอยู่แล้ว กลับไม่ได้รบั การยอมรับจากคนไทใหญ่ เนื่องจากพวกเขาต้องการสร้างอัต
ลักษณ์ของตนเองให้แตกต่างจากพม่าให้มากที่สุด การได้รบั การ ยอมรับจากเพื่อนบ้านหรือที่คนไทใหญ่เรียกว่าพี่น้องอย่างไทย จึงเป็นสิ่งที่พวกเขาคาดหวังมาโดยตลอด พวกเขาพยายามสร้าง ความกลมกลืนภายใต้แนวคิด ไท-ไต อีกทั้งยังเชื่อว่าคนไทยส่วน มากเองก็ยังมองพม่าเป็นศัตรูเช่นเดียวกับตนเอง แต่ภายใต้การ เปิดประชาคมอาเซียนที่เน้นเรื่องของความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ มากกว่า ท�ำให้ความสัมพันธ์แบบพี่น้องของไทใหญ่กบั ไทย จึง ด้อยกว่าความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ซึ่งมีผลต่อภาคเศรษฐกิจ ของไทยมากกว่าการท�ำความเข้าใจเรื่องอัตลักษณ์ของกลุ่มต่างๆ และมองถึงปัญหาของความซับซ้อนนั้น สิ่งที่ผู้เขียนต้องการน�ำเสนอก็คอื การจะเข้าสู่ประชาคม อาเซียนนั้น ความเข้าใจเรื่องความหลากหลายทางชาติพันธุ์/ วัฒนธรรม/ปัญหาของกลุ่มต่างๆ นับเป็นสิ่งที่จ�ำเป็นอย่างมาก การเปิดพื้นที่ให้กลุ่มคนเหล่านั้นได้แสดงอัตลักษณ์และวัฒนธรรม ของตนเองรวมถึงน�ำเสนอสิ่งที่เขาคิดและต้องการจึงเป็นอีกวิธหี นึ่ง ที่จะช่วยให้ความซับซ้อนเหล่านั้นได้คลี่คลายลง และเป็นพื้นที่ที่ คนไทยจะได้ทำ� ความเข้าใจถึงความแตกต่างทางชาติพันธุ์และ ยอมรับพวกเขามากขึ้น ทั้งนี้เพื่อลดอคติของสังคมไทยที่มีต่อกลุ่ม ชาติพันธุ์ชายขอบ และสร้างความเข้าใจอันดีต่อกลุ่มต่างๆ
B E C O M I N G / 27
AS E AN Watch I ndone sia
รัฐสภาอินโดนีเซียให้การรับรองสนธิสัญญาอาเซียนเพื่อการ ควบคุมหมอกควันข้ามพรมแดน มาโนช โพธาภรณ์ เมื่อกลางเดือนกันยายนที่ผ่านมารัฐสภาอินโดนีเซียลงมติ เป็นเอกฉันท์ ให้การรับรองสนธิสัญญาเพื่อความคุมหมอกควัน ข้ามพรมแดนหรือที่เรียกว่า ASEAN Agreement on Transboundary Haze Pollution (AATHP) อินโดนีเซียเป็นประเทศสุดท้ายใน 10 ชาติสมาชิกอาเซียนที่ให้การรับรอง (Ratify) สนธิสัญญาดังกล่าว หากมองย้อนหลังจะเห็นว่ากระบวนการทางกฎหมายใช้เวลาถึง 12 ปีจากที่ AATHP ถือก�ำเนิดขึ้นจากมติที่ประชุมที่กัวลาลัมเปอร์ มาเลเซียในเดือนมิถุนายน ค.ศ.2002 แม้ยงั ถือการรับรองสนธิ สัญญาของอินโดนีเซียเป็นการแสดงออกเชิงสัญลักษณ์แต่ประเทศ เพื่อนบ้าน เช่น สิงคโปร์และมาเลเซียที่ได้รับผลกระทบจากฝุ่น ละอองจากการเผาป่าก็ให้การตอบรับเป็นอย่างดี
ที่ปรึกษาของ Joko Widodo ประธานาธิบดีคนใหม่ของ อินโดนีเซีย ให้สัมภาษณ์หนังสือพิมพ์ Strait Times ของสิงคโปร์ ว่า Jokoต้องการจะติดตามจุดก�ำเนิดไฟป่า และหาทางแก้ปัญหา ที่ต้นเหตุ (identify and nip sources of haze in the bud) และถือ ได้ว่าเป็นสัญญาณที่ส่งมาก่อนล่วงหน้าแม้รฐั บาลใหม่ยังไม่ได้ เข้าบริหารประเทศ และจนกว่าจะถึงวันที่ 20 ตุลาคม บ่งบอกถึง ความต้องการร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในการแก้ปัญหาใน ระดับภูมิภาค เป็นล�ำดับความส�ำคัญที่เร่งด่วนกว่าการเข้าไปร่วม กับการจัดการปัญหาความมั่นคงระดับโลก ในตะวันออกกลาง มีการตั้งข้อสังเกตว่า ไฟป่ายังคงไหม้อยู่ ขณะที่มีการ รับรองสนธิสญ ั ญา ไฟป่าในอินโดนีเซีย มีแหล่งก�ำเนิดจากที่เกาะ
B E C O M I N G / 28
A S E AN Watch C am bodia
ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงทิศทางลมที่พัดหมอกควันและฝุ่นละอองเข้ามายัง ประเทศสิงคโปร์ในวันที่ 15 กันยายน ซึ่งเป็นวันที่มลพิษทางอากาศในสิงคโปร์มี ความรุนแรงเพิ่มขึ้นเป็นอย่างมาก
สุมาตราตอนใต้ และเกาะกาลิมันตันตอนกลางและตะวันตก งาน วิจัยของ World Resource Institute แสดงเห็นว่าประมาณ25% ของฝุ่นละออง (particulate matter) ที่ก่อปัญหาต่อการหายใจและ การมองเห็น ในสิงคโปร์ มาเลเซีย และแม้แต่ภาคใต้ของไทย มา จากการเผาป่าในพื้นที่ปลูกปาล์มน�้ำมัน และป่าไม้เพื่อท�ำเยื่อ กระดาษ ในขณะเดียวกันมีการตั้งข้อสังเกตว่าการรับรองสนธิสัญญา 12ปีให้หลังอาจเป็นจุดเปลี่ยนส�ำคัญ แสดงถึงความพร้อมของ อินโดนีเซีย ในการเป็นผู้น�ำในภูมิภาค แม้ว่า เมื่อเดือนสิงหาคม ปีนี้ สิงคโปร์ได้ออกกฎหมายเอาโทษบริษัทที่มีส่วนก่อมลพิษทาง อากาศ ด้วยการปรับสูงสุดถึง $2 ล้านเหรียญ ไม่ว่าบริษัทผู้ก่อ มลพิษ จะมีจดทะเบียนในสิงคโปร์หรือไม่ก็ตาม แต่ในระยะเวลา 1-2 ปีท่ผี ่านมาถือว่ามีความคืบหน้าไป มาก กล่าวคือเมื่อเดือน ตุลาคม ค.ศ.2013 ผู้น�ำอาเซียนให้ลงมติ เห็นชอบกับความเห็นชอบกับระบบเฝ้าระวัง นักวิเคราะห์จาก world resource institute เห็นว่าการบังคับใช้กฎหมายขึ้นกับความ สามารถในการเฝ้าระวังและติดตาม ซึ่งสามารถระบุได้ว่าเกิดขึ้น มาจากแปลงการปลูกไม้เพื่อท�ำเยื่อกระดาษและสวนปาล์ม ที่มี เอกชนเป็นเจ้าของ
ธุรกิจ สิทธิมนุษยชน และ สิ่งแวดล้อมในอาเซียน: ผลกระทบของโครงการเพาะ ปลูกอ้อยจังหวัดเกาะกงใน กัมพูชาเพื่อการตรวจสอบ วิเคราะห์สถานะและการเยียวยา แดเนียล คิง ในกัมพูชาการไล่ร้อื ซึ่งเป็นผลมาจากสัมปทานที่ดินด้าน เศรษฐกิจขนาดใหญ่ (economic land concessions - ELCs) กับ หน่วยงานธุรกิจเป็นปัญหาสิทธิมนุษยชนร้ายแรง กรณีศึกษานี้ ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการให้สมั ปทานที่ดินด้านเศรษฐกิจส�ำหรับ โครงการเพาะปลูกอ้อยและโรงงานน�้ำตาลในจังหวัดเกาะกง ซึ่งอยู่ ทางภาคตะวันตกเฉียงใต้สดุ ของกัมพูชา โดยมีการเก็บข้อมูลการ ไล่รื้อโดยภาครัฐและหน่วยงานธุรกิจในปี 2549 เป็นอย่างดี เป็น กรณีศึกษาซึ่งสะท้อนถึงภาพรวมเกี่ยวกับโครงการสัมปทานที่ดิน ด้านเศรษฐกิจในกัมพูชา สะท้อนให้เห็นการขาดความโปร่งใสของ รัฐ และการที่รัฐมีส่วนร่วมในการไล่ร้อื ที่รุนแรง ส่วนหน่วยงาน ธุรกิจก็ขาดการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะสิทธิมนุษยชน ทั้งใน ส่วนของบริษัทที่ผลิตปัจจัยการผลิต และความยากล�ำบากของ ชุมชนในการเข้าถึงการเยียวยาอย่างเป็นผลเมื่อเกิดการละเมิดสิทธิ มนุษยชนขึ้นมา ในกรณีน้ี ชุมชนได้รบั การสนับสนุนจากเอ็นจีโอ
B E C O M I N G / 29
ระดับประเทศและระหว่างประเทศ พวก เขาได้พยายามเข้าถึงการเยียวยาทั้งระดับ ประเทศ ภูมภิ าค และระหว่างประเทศ ตามความเห็นของศาสตราจารย์ Surya P. Subedi ผู้รายงานพิเศษองค์การ สหประชาชาติว่าด้วยสถานการณ์สทิ ธิ มนุษยชนในกัมพูชาการให้และการจัดการ สัมปทานที่ดินด้านเศรษฐกิจขาดความ โปร่งใสและไม่เป็นไปตามกฎหมายที่มีอยู่ เป็นประโยชน์เฉพาะคน ส่วนน้อยและยัง สะท้อนถึงปัญหาข้อพิพาทเกี่ยวกับที่ดินที่ ยืดเยื้อ1 การละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ได้รับ การบันทึกข้อมูลเป็นอย่างดี เกี่ยวข้องกับ การจัดตั้งและการด�ำเนินงานในโครงการ เพาะปลูกอ้อยและโรงงานน�้ำตาลในจังหวัด เกาะกงซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าสัมปทานที่ดิน ด้านเศรษฐกิจเกิดขึ้นโดยส่งผลกระทบ อย่างมากต่อประชาชน ทั้งไม่ได้เป็นการส่ง 2 เสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน ชุมชนที่ได้รับผลก ระทบใช้เวลาถึงหกปีเพื่อพยายามกลับไป ยังที่ดินของตน หรือเพื่อเรียกร้องให้ได้ค่า ชดเชยที่เพียงพอ แต่ในขณะเดียวกันการ ไล่รื้อส่งผลกระทบในระยะยาวและรุนแรง ต่อการด�ำรงชีพและโอกาสทางเศรษฐกิจ ของชุมชน นอกจากนั้น หน่วยงานธุรกิจที่ เกี่ยวข้องยังต้องเผชิญกับข้อร้องเรียน การ 1 Prof. Surya Subedi, คณะมนตรีสิทธิมนุษยชน แห่งสหประชาชาติ, รายงานผู้รายงานพิเศษ องค์การสหประชาชาติว่าด้วยสถานการณ์สทิ ธิ มนุษยชนในกัมพูชา (Report of the Special Rapporteur on the situation of human rights in กัมพูชา), A/HRC/21/63/Ad. 1, 24 กันยายน 2555, จาก http://www.ohchr.org/Documents/ HRBodies/HRCouncil/RegularSession/ Session21/A-HRC-21-63-Add1_en.pdf 2 หมายถึงเอกสารและข้อตกลงอย่างเป็น ทางการที่มีอยู่ ที่ผ่านมามีการสัมภาษณ์ชาว บ้านที่ได้รบั ผลกระทบหลายคน มีรายงานข่าว และรายงานพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่จัดท�ำโดยกลุ่ม ภาคประชาสังคมและส�ำนักงานข้าหลวงใหญ่ ด้านสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UN Office of the High Commissioner for Human Rights - UNOHCHR) และผู้แทนพิเศษแห่ง สหประชาชาติ (UN Special Representative)
ประท้วงของชุมชน และการรายงานข่าวใน นี้ และพวกเรากลัว” เขากล่าว3 ชาวนา ด้านลบของสื่อมวลชน อีกคนหนึ่งที่ต้องสูญเสียที่ดินไปอธิบายว่า “ผมไม่มีอะไรจะกิน ได้แต่ปลูกข้าวในที่ดิน แม้ว่าทางชุมชนรณรงค์ให้ยกเลิก แปลงเล็กๆ ที่เหลืออยู่”4 เมื่อไม่มีทุ่งหญ้า สัมปทานที่ดินด้านเศรษฐกิจ และขอที่ดิน ท�ำให้สัตว์เลี้ยงของเกษตรกรผอมลงและ กลับคืนมา แต่ไม่ประสบความส�ำเร็จ พวก อ่อนแอ และเป็นเหตุให้ผู้เลี้ยงต้องขายใน เขายังสามารถกดดันให้สว.ลี ยอง พัท (Ly ราคาที่ขาดทุน แม้ว่าสัตว์เลี้ยงเหล่านั้นจะ Yong Phat) ซึ่งเป็นผู้ที่ร�่ำรวยและมีอิทธิพล 5 เคยเป็นแหล่งรายได้ทส่ี �ำคัญ มากสุดและมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับ โครงการสัมปทานที่ดินด้านเศรษฐกิจ ให้ มีการจ�ำกัดการเข้าถึงที่ดินในป่าน ต้องเจรจากับพวกเขา ในกัมพูชา การ อกเหนือจากที่ดินเกษตรกรรม ทั้งๆ ที่ แสวงหาความยุติธรรมในกรณีที่ต้องเผชิญ ชาวบ้านเคยใช้ประโยชน์ในการเก็บของ หน้ากับผู้มีอิทธิพลทางการเมือง เป็นภาระ ป่า ความเสียหายต่อที่ดินและแหล่งน�้ำส่ง ท้าทายที่ส�ำคัญ จึงถือได้ว่าความส�ำเร็จครั้ง ผลกระทบไม่เพียงเกษตรกรที่ได้รบั ผลก นี้เป็นชัยชนะที่ส�ำคัญ อย่างไรก็ดี หน่วย ระทบโดยตรง แต่สารเคมีท่ถี ูกใช้ในแปลง งานธุรกิจที่เกี่ยวข้องยังคงไม่ปฏิบัติตาม เกษตรขนาดใหญ่และในโรงงานน�้ำตาลยัง หลักการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะสิทธิ ปนเปื้อนแหล่งน�้ำในพื้นที่ ท�ำให้สัตว์น้ำ� เสีย มนุษยชน และที่ผ่านมายังไม่มีการเยียวยา ชีวิต ทั้งๆ ที่สัตว์น�้ำเหล่านี้เป็นแหล่งโปรตีน อย่างเป็นผลเพื่อแก้ปัญหาการละเมิดสิทธิ ที่ส�ำคัญของชุมชนละแวกนั้น 6 มนุษยชนอย่างเพียงพอ ส�ำหรับปัญหาที่ แม้แต่สตั ว์เลี้ยงของหลายครอบครัว เกิดขึ้นกับชุมชนในจังหวัดเกาะกง ก็กลายเป็นภาระการขาดทุน กล่าวคือเมื่อ การไล่ร้อื ส่งผลกระทบร้ายแรงและ วัวของพวกเขาพลัดหลงเข้าไปในที่ดินที่ถูก ต่อเนื่องกับการด�ำรงชีวติ และโอกาสด้าน บริษัทเกษตรกรรมครอบครองเอาไว้ ชาว เศรษฐกิจของประชาชนที่ถูกโยกย้ายใน บ้านบอกว่าทางบริษทั จ้างยาม และยาม จังหวัดเกาะกง จากการตรวจสอบค�ำร้อง เหล่านี้จะยิงหรือจับสัตว์เลี้ยงที่เดินเข้าไป ของชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบที่เสนอต่อ ในที่ดินของบริษัท ทั้งเจ้าหน้าที่รกั ษาความ หน่วยงานต่างๆ ชี้ให้เห็นว่า ผลกระทบ ปลอดภัยยังจับสัตว์เลี้ยงไว้เพื่อเรียกค่าไถ่ อย่างต่อเนื่องต่อชีวิตของชาวบ้านในเกาะ ด้วย7 และถ้าถูกจับบ่อยครั้ง ค่าไถ่ตวั ก็จะ กงได้แก่ การขาดความมั่นคงด้านอาหาร เพิ่มขึ้นไปด้วย การสูญเสียที่ดิน การสูญเสียที่อยู่อาศัย ผลจากการจับสัตว์เลี้ยงไว้โดย ผลกระทบด้านสุขภาพ การสูญเสียวิถีการ พนักงานบริษัท ยังรวมถึงการขาดโอกาส ด�ำรงชีพและโอกาสด้านการศึกษา ด้านการศึกษา ครอบครัวต่างๆ ในสาม ยกตัวอย่างเช่นในกรณีหนึ่ง ก่อนที่ หมู่บ้านให้ข้อมูลว่าต้องเอาลูกออกจาก จะถูกบังคับโยกย้าย เกษตรกรคนดังกล่าว สามารถปลูกมะม่วงหิมพานต์และขนุนเพื่อ 3 CHRAC 2552, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 52, น.17 เป็นรายได้เลี้ยงตัวเองและครอบครัว ต่อมา 4 เพิ่งอ้าง น. 15 5 เพิ่งอ้าง น. 15, 18 เขาต้องเปลี่ยนไปท�ำและขายขนมหวานที่ 6 โปรดดู Subedi 2555, อ้างแล้ว เชิงอรรถที่ 1 ท�ำจากมะพร้าว “ชีวิตเราล�ำบากมากตอน 7 สัมภาษณ์ชาวบ้านจากหมู่บ้านโชอัก (Chhouk) ชิกกอร์ลือคอมมูน (Chikhor Leur Commune) อ�ำเภอสะเลออัมบึล ส�ำเนาไว้โดย EarthRights International
B E C O M I N G / 30
โรงเรียนเพื่อมาเฝ้าสัตว์เลี้ยง ป้องกันไม่ให้ วัวเดินเข้าไปในที่ดินที่ถูกบริษัทยึดครอง8 สุดท้าย เนื่องจากการไล่ร้อื ส่งผลให้ วิถีชีวิตที่ยั่งยืนไม่สามารถด�ำรงอยู่ได้ ชาว บ้านจึงต้องหันไปประกอบอาชีพอื่นที่มัก ไม่มั่นคงและไม่มรี ายได้เพียงพอ จาก การศึกษาผลกระทบต่อวิถีชวี ิตเนื่องจาก โครงการเพาะปลูกในจังหวัดเกาะกงท�ำให้ พบว่า ครัวเรือนจ�ำนวนมากได้สูญเสียวิถี การยังชีพแบบเดิมไป และในปัจจุบันต้อง หันไปท�ำงานให้กบั บริษัทเกษตรกรรม ซึ่ง มักมีงานเฉพาะบางฤดูกาล และมีค่า 9 ตอบแทนน้อยกว่าอาชีพเดิม ส่วนที่เหลือ อย่างเช่น กรณีเกษตรกรที่กล่าวถึงข้างต้น เขาต้องหันไปขายขนมมะพร้าวแทน และมี ทางเลือกเพื่อการด�ำรงชีพที่ยั่งยืนน้อยลง
อื่นๆ อีกสี่คน”10 การละเมิดสิทธิมนุษยชน เหล่านี้ส่งผลให้ชาวบ้านยากจนลง การ ท�ำร้ายร่างกายท�ำให้พวกเขาหวาดกลัว ด้านความปลอดภัยแม้จะอยู่ในชุมชนของ ตนเอง กสม.ยืนยันว่าที่ผ่านมามีการละเมิด สิทธิมนุษยชนเกิดขึ้น ในการสอบสวน บริษัท น�้ำตาลขอนแก่น จ�ำกัด(มหาชน) จากไทย กสม.ระบุในข้อค้นพบเบื้องต้น ว่ามีการละเมิดหลักการและกฎบัตรสิทธิ มนุษยชน โดยจ�ำแนกว่า “มีความบกพร่อง ในการคุ้มครองสิทธิของประชาชนด้านการ พัฒนา รวมทั้งสิทธิที่จะได้เข้าร่วม มีส่วน สนับสนุน และได้รบั ประโยชน์จากการ พัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง”11
บกพร่องของการเยียวยาที่เป็นผลในระดับ ประเทศ ภูมภิ าค และระหว่างประเทศ ซึ่ง ครอบคลุมบรรษัทที่มีการด�ำเนินงานข้าม พรมแดน ยังไม่มีกลไกที่เชื่อมโยงระหว่าง การละเมิดของบรรษัทข้ามชาติ และกลไก ที่ช่วยสนับสนุนให้ชุมชนที่ได้รับผลกระทบ สามารถกดดันให้บรรษัทต้องรับผิดชอบต่อ การละเมิดหน้าที่ในการเคารพสิทธิมนุษย ชนในระหว่าง การด�ำเนินธุรกิจของตน
หลักการชี้น�ำก�ำหนดหลักเกณฑ์ ส�ำคัญส�ำหรับภาครัฐและหน่วยงานธุรกิจ ในการคุ้มครองและเคารพสิทธิมนุษยชน และยังเสนอกรอบที่ก�ำหนดความรับผิด ชอบอย่างเป็นรูปธรรมของบรรษัทแต่ละ แห่ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของสายพานการ ผลิตวัตถุดบิ ทั้งนี้เพื่อให้สามารถหลีกเลี่ยง ปัญหาการลอยนวลพ้นผิดเมื่อเกิดการ ชาวบ้านจากเกาะกงได้ท�ำการ ในกัมพูชา หน่วยงานของรัฐมีความ ละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้นมา กรอบดังกล่าว ประท้วงหลายครั้งเพื่อต่อต้านบริษัท แต่ รับผิดชอบต้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ส่วน เป็นเครื่องมือส�ำคัญที่บริษัทน�ำมาใช้เพื่อ การประท้วงโดยสงบของพวกเขามักถูก หน่วยงานธุรกิจก็มีความรับผิดชอบในการ ให้สามารถปฏิบัติตามความรับผิดชอบของ ปราบปรามด้วยความรุนแรง ทั้งจากการก คุ้มครองสิทธิมนุษยชนเช่นกัน อย่างไรก็ดี ตนเองได้ รวมทั้งข้อก�ำหนดให้มกี ารตรวจ ระท�ำของ “เจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัย กรณีศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า แม้ในกรณีท่มี ีการ สอบวิเคราะห์สถานะสิทธิมนุษยชนและการ ที่ติดอาวุธของบริษัท ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่ เก็บข้อมูลการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง ประกันการเข้าถึงกลไกการเยียวยา โดย ทหารด้วย ส่งผลให้มกี ารยิงปืนและการ เป็นระบบ แต่ชมุ ชนที่ได้รบั ผลกระทบก็ การจัดท�ำขั้นตอนรับข้อร้องเรียนหรือกลไก ท�ำให้ชาวบ้านที่เป็นผู้หญิงได้รับบาดเจ็บ อาจยังไม่สามารถเข้าถึงการเยียวยาที่เป็น ความร่วมมือในการเข้าถึง และยังมีการท�ำร้ายร่างกายชาวบ้านคน ผล ปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่ยังไม่ ระบบศาลและระบบอื่นๆ การตรวจ ยุติในจังหวัดเกาะกง เป็นผลมาจากความ บกพร่องของการตรวจสอบวิเคราะห์สถานะ สอบวิเคราะห์สถานะสิทธิมนุษยชนจะช่วย สิทธิมนุษยชนอย่างสม�่ำเสมอ โดยหน่วย ให้บริษัทตระหนักถึงปัญหาการละเมิด งานธุรกิจควรน�ำกระบวนการนี้มาใช้ตรวจ สิทธิมนุษยชนที่เกิดขึ้น และก�ำหนดให้ สอบสายพานการผลิตวัตถุดิบ และความ บริษัทต้องตอบสนองต่อข้อมูลที่รวบรวม ได้ การตรวจสอบวิเคราะห์สถานะที่ดีขึ้น 8 Bridges Across Borders Cambodia, Bittersweet: A Briefing Paper on Industrial 10 โปรดดู คณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแห่ง จะเป็นเกราะป้องกันบริษัทที่ด�ำเนินธุรกิจ Sugar Production, Trade and Human Rights เอเชีย ข้อเรียกร้องด่วน, Cambodia: Two in Cambodia, 3 กันยายน 2553, จาก http:// villagers shot and several injured during the ในจังหวัดเกาะกง ให้ปลอดจากความเสี่ยง babcambodia.org/developmentwatch/ illegal forced eviction in Koh Kong, มิถุนายน ต่อชื่อเสียงของตนเอง และทีส่ �ำคัญจะช่วย cleansugarcampaign/bittersweet.pdf 2549, จาก http://www.ahrchk.net/ua/mainfile. คุ้มครองชุมชนจากการละเมิดสิทธิมนุษย php/2549/1998/ 9 Ngo Sothath & Chan Sophal, Does Large ชน Scale Agricultural Investment Benefit 11 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, the Poor? 28-34, Cambodian Economic Association Research Report, 2 กรกฎาคม 2553, จาก http://www.cea.org.kh/index. php?option=com_docman&task=doc_ details&gid=11&Itemid=4
รายงานผลการตรวจสอบคณะอนุกรรมการ ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง คณะ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ในจังหวัด เกาะกง กรณีโครงการเพาะปลูกอ้อยใน กัมพูชา, 25 กรกฎาคม 2555
มีความจ�ำเป็นเร่งด่วนที่รัฐบาล กัมพูชาต้องเคารพพันธกรณีด้านสิทธิ มนุษยชนในแง่ท่เี กี่ยวกับสัมปทานที่ดิน
B E C O M I N G / 31
A S E AN Watch P hilip pi ne s
และการลงทุนในธุรกิจการเกษตร และการ ที่หน่วยงานธุรกิจที่ด�ำเนินงานและลงทุนใน กัมพูชา โดยเฉพาะในภาคธุรกิจการเกษตร จะต้องน�ำหลักการชี้น�ำนี้ไปปฏิบัติ โดย เฉพาะอย่างยิ่ง ต้องมีการปฏิบัติตาม พันธกรณีร่วมของรัฐและหน่วยงานธุรกิจ อย่างเคร่งครัด เพื่อประกันให้ชมุ ชนที่ได้รบั ผลกระทบทั่วอาเซียนสามารถเข้าถึงการ เยียวยาที่เป็นผลเมื่อเกิดการละเมิดสิทธิ มนุษยชนขึ้นมา เราจะต้องไม่ปล่อยให้กรณี อย่างจังหวัดเกาะกงเกิดขึ้นมาอีก และควร มีกลไกระดับภูมภิ าคเพื่อสอบสวนกรณีที่ เกี่ยวข้องกับหน่วยงานธุรกิจข้ามชาติ และ เพื่อประกันให้มกี ารน�ำหลักการชี้น�ำไปใช้ ทั่วภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งในพื้นที่ท่มี ีธร รมาภิบาลอ่อนแอ การสอบสวนของคณะ กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของไทย ในกรณีน้ี สะท้อนให้เห็นศักยภาพและ ความจ�ำเป็นของกลไกเพื่อตรวจสอบและ สอบสวนกรณีปัญหาข้ามพรมแดน และ เป็นเวทีให้ชุมชนสามารถแสดงข้อกังวล และเข้าถึงการเยียวยาเมื่อไม่มีหนทางร้อง เรียนอย่างอื่น
การ “ต่อสู้” บนพื้นที่
ความทรงจ�ำของคนจีนใน
ฟิลลิปปินส์ อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์
ด้วยความกรุณาของอาจารย์บญ ุ เลิศ วิเศษปรีชา แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ผู้ ซึ่งลงแรงกายแรงใจในการวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกอย่างน่าศรัทธาที่สุดเท่าที่ผมเคยพบ มา) ที่ต้องการให้ผมมีโอกาสได้เปิดหูเปิดตายามมาต่างแดน ท่านจึงพาผมไปชมเมือง เก่าอินทราโมรอส Intramoros ในเขตเมืองมะนิลา ประเทศฟิลปิ ปินส์ และพาเลยไปชม พิพิธภัณฑ์คนจีนในฟิลิปปินส์ (Bahay Tsinoy: Museum of Chinese in Philippine life) ที่ อยู่ในละแวกเดียวกัน จุดเน้นทางประวัติศาสตร์ท่สี �ำคัญของเมืองอินทราโมรอส ได้แก่ ป้อมซานติเอโก (Fort Santiago) ซึ่งถูกเน้นในสองลักษณะ ได้แก่ ความเป็นป้อมเก่าแก่ท่สี ร้างโดยเสปนใน สมัยปลายศตวรรษที่ ๑๖ อีกลักษณะหนึ่งที่เน้นมาก คือ การเป็นที่คุมขัง “วีรบุรุษแห่ง ชาติ” ได้แก่ โฮเซ่ ริซาล (Jose Rizal) ผู้อทุ ิศตนเองให้แก่การต่อสู้เพื่อเอกราชจากสเปน ดังนั้น ภายในป้อมจึงมีเรื่องราวของริซาลเป็นส่วนใหญ่ ความที่ป้อมแห่งนี้ถูกบรรจุไว้ด้วยความรักชาติ จึงท�ำให้ภาพยนต์จำ� นวนมากเกี่ยว กับการต่อสู้กบั ญี่ปุ่นเพื่อช่วยเชลยศึกชาวอเมริกาและฟิลิปปินส์ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ สอง มักจะเลือกใช้ป้อมแห่งนี้เป็นฉากหลังของหนัง (แน่นอน ว่าความอลังการของป้อมก็ มีส่วนในการตัดสินใจเลือกเป็นฉาก)
B E C O M I N G / 32
ผมประทับใจทั้งเมืองเก่า ป้อมปราการ (เก่าแก่แต่สร้างโดย สเปน) และความทรงจ�ำชีวิตวีรบุรุษโฮเซ่ ริซาลที่ฝังเอาไว้ในความ ทรงจ�ำร่วมของคนฟิลปิ ปินส์ แต่เมื่อเดินเข้าไปสู่พพิ ิธภัณฑ์คนจีน ในฟิลิปปินส์ ผมรู้สกึ ถึงความพยายามที่จะ “ต่อสู้” เพื่อแทรกตัว เข้าไปมีส่วนร่วมที่ส�ำคัญในความทรงจ�ำร่วมชาติฟิลิปปินส์ของคน จีนอย่างชัดเจน
จีนอีกกลุ่มหนึ่งที่เพิ่งเข้ามาในประเทศฟิลปิ ปินส์ในยุคสงครามเย็น แต่สร้างเนื้อสร้างตัวขึ้นมาอย่างรวดเร็ว โดยเชื่อมต่อเป็นเครือข่าย กันคนจีนเดิมที่อยู่มาก่อนแล้ว ความร�่ำรวยของคนจีนยุคหลังนี้ยิ่ง ท�ำให้เกิดความห่างไกลกันมากขึ้นระหว่างคนจีนกับคนฟิลิปปินส์ ดังนั้น ความสัมพันธ์ท่ไี ม่ได้เชื่อมต่อและกลืนกลายเช่นนี้ จึง ท�ำให้คนฟิลปิ ปินส์ทั้วไปยังมองคนจีนเป็นคนจีน ไม่ได้มองเป็น “ฟิลิปปินส์โน” หรือ “ฟินอย” อย่างแท้จริง
พิพิธภัณฑ์คนจีนในฟิลิปปินส์สร้างแล้วเสร็จและเปิดให้ชมใน ช่วงของการเกิดขบวนการลักพาตัวเพื่อเรียกค่าไถ่เกิด ปี พ.ศ ๒๕๔๒ โดยมูลนิธิการกุศลของ Teresita Ang-See โดยมี เป้าหมายที่ชัดเจนว่าต้องการแสดงให้เห็นและเข้าใจถึงความจงรัก ขึ้นอย่างกว้างขวางทั่วไปในฟิลิปปินส์ย่สี ิบปีก่อน นักวิชาการ ภักดีต่อชาติของคนจีน และความเข้าใจที่ดีมากขึ้นระหว่างคนจีน สัมภาษณ์นกั ศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งชาติฟิลิปปินส์ (University of The Philippines) ว่ากังวลและวิตกบ้างไหมกับปัญหานี้ พื้นถิ่นกับสังคมฟิลปิ ปินส์ นักศึกษาจ�ำนวนมากตอบท�ำนองว่าไม่กงั วลอะไร เพราะเขาไม่ใช่ อัตลักษณ์คนจีนในฟิลิปปินส์แตกต่างไปจากคนจีนใน “คนจีน” และไม่ “ร�่ำรวย” ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่าอัต ประเทศไทย กล่าวคือ แม้ว่าคนจีนในฟิลปิ ปินส์อยู่ในพื้นที่มาเนิ่น ลักษณ์ของคนจีนในฟิลิปปินส์น้นั แยกออกจากคนฟิลปิ ปินส์โดย นาน ตั้งแต่เข้ามาเป็นกรรมกรใช้แรงงานให้แก่สเปน จนกลายมา ทั่วไป แม้กระทั้งในปัจจุบัน เมื่อผมพูดคุยกับเพื่อนคนฟิลปิ ปินส์ เป็นมหาเศรษฐีที่ร�่ำรวยที่สุดในประเทศ (หกตระกูลหลัก) แต่ความ ปฏิกิริยาของพวกเขาทั้งหมดก็แสดงให้เห็นถึงการแยกกันระหว่าง สัมพันธ์ระหว่างอัตลักษณ์จนี กลับไม่กลืนกลายให้กลายเป็นหนึ่ง “พวกเรา” กับ “พวกเขา” อยู่อย่างชัดเจน เดียวกับเพื่อนร่วมชาติได้อย่างแท้จริง จึงไม่น่าแปลกใจที่การแสดงอัตลักษณ์ของคนจีนฟิลิปปินส์ ความแตกต่างทางฐานะได้ท�ำให้คนจีนที่ร�่ำรวยแยกตัวเอง จึงมักจะมี “ยัติภังค์” ( - Hyphen) อยู่ตรงกลางเสมอ (Chinese ออกจากสังคมโดยทั่วไป ลูกหลานของจีนร�่ำรวยก็จะไปเรียนต่อใน – Pilipino)ความพยายามจะลบ “ยัติภังค์” ออกจากการแสดงอัตต่างประเทศและมีชีวิตทางสังคมอยู่ในกลุ่มของตนเอง ขณะที่จีน ลักษณ์เกิดขึ้นจากกลุ่มคนจีนที่สร้างพิพิธภัณฑ์คนจีนในฟิลปิ ปินส์ ชนชั้นกลางและจีนจน (น่าสนใจมากในพื้นที่ “ส�ำเพ็ง/เยาวราช” นี่เอง ของฟิลิปปินส์ท่ยี ังเห็นจีนสามัญชนที่ยงั ขยับชนชั้นตนเองไม่ได้ พร้อมไปการลบ “ยัติภังค์” ออกไป กลุ่มคนจีนยังได้เปลี่ยน และยังอยู่แบบเดิมๆ เหมือนเมื่อหลายสิบปีก่อนของบ้านเรา) ก็จะ สรรพนามแทนคนจีนเสียใหม่ จากเดิมที่คนฟิลิปปินส์เรียนคนจีน กระจุกตัวรวมกลุ่มกันอยู่ในกลุ่มเครือข่ายของตนเอง ในเชิงที่ไม่ได้ยอมรับเป็นพวกว่า “INTSIK” ซึ่งมีนัยยะของการดูถูก แม้ว่าคนจีนร�่ำรวยหลายกลุ่มจะเลือกทางเดินเข้าสู่การเมือง (คงคล้ายๆ กับคนไทยเคยเรียกคนจีนในไทยว่า “เจ้ก”) โดยเน้นให้ ไม่ว่าจะด้วยเป้าหมายการพิทักษ์ทรัพย์สินของตนหรือเพื่อประเทศ กลายเป็นพวกเดียวกันมากขึ้นด้วยการเรียกว่า “TSINOY” ชาติ แต่กไ็ ม่สามารถท�ำให้เกิดการอัตลักษณ์ของความเป็นจีนที่ ความพยายามทั้งหลายได้ปรากฏรวมศูนย์อยู่ในพิพิธภัณฑ์ กลืนกลายเข้าความเป็นฟิลปิ ปินส์ได้อย่างแนบสนิท ตระกูลนักการ เมืองที่มบี ทบาทส�ำคัญก็ล้วนแล้วแต่มเี ชื้อสายจีน ที่ส�ำคัญได้แก่ คนจีนในฟิลปิ ปินส์ เมื่อก้าวเข้าไปสู่ส่วนแรกของพิพิธภัณฑ์จะพบ ว่าได้เริ่มต้นด้วยวิดีทัศน์เปิดตัวคนจีนออกมาพูดว่า “ก่อนหน้านั้น ตระกูลของคอราซอน อาคีโน (María Corazón Sumulong “Cory” เขาเป็นคนจีนเข้ามาใช้แรงงานในพื้นที่นี้ ต่อมาก็ได้กลายเป็นกลุ่ม Cojuangco Aquino) คนที่ ‘บรรลุความรู้’ (Ilustrados) และได้ต่อสู้กบั สเปนร่วมกับพี่น้อง เพราะว่าการพัฒนาเศรษฐกิจที่ผ่านมาไม่ได้ท�ำให้คนจีน ฟินอย ต่อมาก็ร�่ำรวยและพัฒนาประเทศ” ในท้ายสุดของวิดที ัศน์ ต้องเชื่อมต่อและกลืนกลายกับคนฟิลิปปินส์ทั่วไป คนจีนดั้งเดิมที่ คือการประกาศว่า เขาคือคนฟิลิปปินส์ ร�่ำรวยจ�ำนวนมากกลายเป็นเจ้าที่ดินที่ไม่จ�ำเป็นต้องง้อคนท�ำงาน การแสดงในพิพิธภัณฑ์ทั้งหมดเน้นให้เห็นถึงบทบาทคนจีนใน ในพื้นที่เกษตรกรรมของตนเอง บางตระกูลท�ำธุรกรรมทางการเงิน เป็นธนาคารขนาดใหญ่ (ซึ่งไม่ได้ขยายสาขาไปยังที่ห่างไกล ส่งผล การ “ร่วมสร้างชาติ” ฟิลปิ ปินส์ ในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะในส่วน ที่ต้องการเชื่อมต่อกับขบวนการกู้ชาติ/ต้อสู้เพื่อเอกราชจากสเปน ท�ำให้เกิดระบบการเงินอีกแบบหนึ่ง จะกล่าวในคราวหน้าต่อไป) ก็เน้นให้เห็นถึงสาแหรกของโฮเซ่ ริซาลที่มีเชื้อสายมาจากคนจีน ตระกูลจีนห้า-หกตระกูลซึ่งร�่ำรวยมากในปัจจุบันนี้ เป็นคน
B E C O M I N G / 33
A S E AN Watch Vietnam
และเน้นบทบาทเฉพาะด้านที่เป็นการสู้เพื่อ เอกราชของอามิลีโอ อาควินันโด (Emilio Aguinaldo) ซึ่งเป็นคนจีนที่มีบทบาทใน ขบวนการกาติปูนัน หลังจากนั้นก็เป็นการแสดงให้เห็นว่า บรรดาผู้น�ำส�ำคัญๆ ของประเทศล่วนแล้ว แต่มีเชื่อสายจีนทั้งสิ้น ในส่วนท้ายก็เน้น ให้เห็นบทบาททางสังคมของคนจีนที่มีต่อ ประเทศชาติ กล่าวได้ว่าอัตลักษณ์คนจีนใน ฟิลิปปินส์อยู่ในกระบวนการของความ เปลี่ยนแปลงเพื่อที่จะตอบสนองต่อความ เปลี่ยนแปลงของระบบความสัมพันธ์ ไม่มี อัตลักษณ์ใดคงที่ได้ตลอดกาล และการ ปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์นั้นจ�ำเป็นที่จะต้อง เข้าไปปรับเปลี่ยนในความทรงจ�ำร่วมของ ชาติด้วย
จากชาตินิยม (Nationalism) สู่ลัทธิคลั่ง ชาติ (Chauvinism) ?: การสร้างส�ำนึกสมบัติแห่งชาติของเวียดนามต่อ หมู่เกาะในทะเลจีนใต้ มรกตวงศ์ ภูมิพลับ หมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลีย์ในทะเลจีนใต้ เป็นหมู่เกาะที่มีเกาะเล็กเกาะ น้อยอยู่ในบริเวณเดียวกันเป็นจ�ำนวนมาก ชาวเวียดนามมีชื่อเรียกว่า เจื่องซา (หมู่เกาะ สแปรตลี) และ หว่างซา (หมู่เกาะพาราเซล) ซึ่งชาวเวียดนามไม่นยิ มเรียกพื้นที่ทางทะเล ว่า “ทะเลจีนใต้” เนื่องจากมีนัยแสดงความเป็นเจ้าของของจีน ดังนั้นชาวเวียดนามจึงได้ นิยามทะเลในแถบนี้ว่า “ทะเลตะวันออกเวียดนาม” เพื่อบ่งบอกถึงพื้นที่ทางทะเลนี้เป็น อธิปไตยของเวียดนาม หรือทางด้านฟิลปิ ปินส์ได้นิยามพื้นที่ทางทะเลนี้ว่า “ทะเลตะวัน ตกฟิลิปปินส์” โดยใช้หลักการเดียวกันกับเวียดนามและจีน กรณีพิพาทประเด็นหมู่เกาะพาราเซลและหมู่เกาะสแปรตลีย์ จะมีคู่กรณีอยู่ 6 ประเทศ คือ จีน ใต้หวัน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และบรูไน ทุกประเทศต่างใช้
B E C O M I N G / 34
หลักการข้อกฎหมายสากลในการแสดงความเป็นเจ้าของพื้นที่ ทางทะเลที่ไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล เมื่อลากเส้นพื้นที่ทางทะเลไม่ เกิน 200 ไมล์ทะเลแล้วทุกประเทศจะไม่ได้หมู่เกาะพาราเซลและ หมู่เกาะสแปรตลีย์เต็มจ�ำนวน แต่จะได้เพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ส่วน ประเทศที่น่าจะได้มากที่สุดหลังจากการลากเส้นพื้นที่ทางทะเล แล้ว คือ ฟิลปิ ปินส์ ที่จะได้พ้นื ที่ทางทะเลมากที่สุดแต่ประเทศคู่ กรณีต่างไม่ยอมรับเนื่องจากพื้นที่ทางทะเลนี้มีทรัพยากรธรรมชาติ ที่มีมูลค่ามหาศาล เช่น น�้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ อยู่อย่างหนาแน่น จึงท�ำให้ประเทศคู่กรณีทั้ง 6 ประเทศต่างไม่ยนิ ยอมและพร้อมที่จะ แย่งชิงพื้นที่เพื่อผลประโยชน์ของประเทศตนเอง
อันเดียวกันของชาวเวียดนาม ผ่านชุดความเชื่อทางประวัติศาสตร์ อันเดียวกัน คือ ลูกมังกรหลานนางฟ้า และผ่านการศึกษา ประวัติศาสตร์ของชาติในแบบเรียนที่ผ่านการจัดการมาแล้ว และมี การรวมศูนย์ทางประวัติศาสตร์เพื่อง่ายต่อการเขียนประวัติศาสตร์ ใหม่และง่ายต่อการจัดการประวัติศาสตร์ของเวียดนาม ที่ส�ำคัญ ประวัติศาสตร์ชาติเวียดนามไม่เปิดพื้นที่ของการศึกษาและจดจ�ำ ให้กับประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นหรือกลุ่มชน เช่น เวียดนามได้ เขียนประวัติศาสตร์เกี่ยวกับชนแขมร์ที่อยู่ทางตอนใต้ของเวียดนาม ว่า “เดิมที่พื้นที่ทางใต้เป็นอาณาจักรจ�ำปา โดยเวียดนามไม่ได้ เข้าไปรุกรานพื้นที่แต่อย่างใด แต่เป็นผลของความสัมพันธไมตรีอัน ดีระหว่างกันผ่านการแต่งงานของเจ้านายชั้นสูง แล้วกษัตริย์ทาง จ�ำปาได้ยกพื้นที่ส่วนนี้ให้เป็นของขวัญการแต่งงาน”
แต่หัวใจส�ำคัญของปัญหาข้อพิพาทไม่ได้อยู่เพียงแค่ความ อุดมสมบูรณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติเท่านั้น แต่ยังรวมถึงประเด็น ด้านยุทธศาสตร์ทางการเมืองหรือความมั่นคงระดับประเทศ ซึ่ง ทางเวียดนามได้มีความกังวลว่าหากประเทศคู่กรณีใดประเทศหนึ่ง หากย้อนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ระหว่างเวียดนาม สามารถยึดพื้นที่ทางทะเลจีนใต้ได้(ตามชื่อสากล) จะมีความได้ กับจ�ำปา ล้วนแล้วต่างมีสงครามระหว่างกันเกิดขึ้นในพื้นที่แต่ เปรียบทางการเมืองเป็นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อความมั่นคง กลับเขียนประวัติศาสตร์ในทิศทางตรงกันข้าม ดังนั้นการเขียน ต่อประเทศใกล้เคียงโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม ประวัติศาสตร์เช่นนี้ย่อมเกิดขึ้นจากการจัดการทางประวัติศาสตร์ เนื่องจากเวียดนามมีความกังวลที่พิเศษมากกว่าประเทศคู่ ของเวียดนาม กรณีอื่นตรงที่ลักษณะภูมิประเทศของเวียดนามมีลักษณะเป็นรูป การสร้างชุดความคิดว่าด้วย “หว่างซา” และ “เจื่องซา” ตัว S ยาวลงมาตามทะเลจีนใต้ ไม่มีความกว้างของประเทศมาก เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์หรือที่ชาวเวียดนามเรียกว่า นัก ดังนั้นแล้วหากประเทศใดสามารถยึดครองพื้นที่เกาะพาราเซล และหมู่เกาะสแปรตลีย์ได้สามารถที่จะสอดส่องหรือตรวจตราพื้นที่ “หว่างซา”และ “เจื่องซา” ถือเป็นดวงใจของชาวเวียดนามและ ประเทศเวียดนาม เป็นเส้นเลือดใหญ่ของประเทศที่หล่อเลี้ยงความ ภายในประเทศเวียดนามได้ท้งั ประเทศ เป็นชาติ และเป็นก้อนเนื้อที่รวบรวมความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ลัทธิชาตินิยมกับการสร้างชาติ ของชาวเวียดนาม อันเกิดจากการเสียสละของทหารกล้าในการ ลัทธิชาตินิยมของความสร้างชาติจะเกิดขึ้นพร้อมกับความ ปกป้องอธิปไตยจากศัตรู ทั้งยังพยายามน�ำเสนอว่าหว่างซาและเจื่ รักชาติ (Patriot) แต่หากว่ามีความรักชาติเกินพอดี เมื่อเกิด องซานี้เป็นของเวียดนามตลอดเวลา สถานการณ์บางอย่างขึ้นแล้วโดนกระทบต่อความรู้สกึ ทางความ “สมบัติของชาติ” กระบวนการกล่อมเกลาและสร้างส�ำนึก เชื่อหรือจิตใจ เช่น การสูญเสียระดับประเทศ การคุกคามจาก ชาตินิยมในเวียดนาม ภายนอกประเทศ ส่งผลท�ำให้ความรักชาติอาจกลายเป็นความ การย�ำ้ เน้นความคิดที่ต้องการปลูกฝังว่าหมู่เกาะทั้งสองเป็น คลั่งชาติ (Chauvinism) ได้ ซึ่งรัฐบาลหรือพรรคคอมมิวนิสต์ สมบัติแห่งชาติ เหล่าประชาชนเวียดนามในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็น เวียดนาม มีความสามารถที่จะโฆษณาชวนเชื่อ (Propaganda) ประชากรของตัวเองอย่างเข้มข้น กระบวนการชาตินยิ มและส�ำนึก ผู้หญิง หรือ ผู้ชาย ชนชั้นไหนก็ตามต้องมีหน้าที่ปกป้องอธิปไตย ทางทะเลของประเทศชาติ แม้แต่ตารางนิ้วเดียวก็ต้องปกป้อง ความเป็นชาติของเวียดนามตื่นตัวอย่างมากในช่วงที่ฝรั่งเศส ปกครองเวียดนาม ที่ได้เคลื่อนไหวปลุกส�ำนึกความเป็นกลุ่มก้อน รักษาเอาไว้ เพื่อเป็นเบื้องหลังที่ส�ำคัญของประเทศชาติในการร่วม หรือ ส�ำนึกความเป็นชาวเวียดนาม ในทัศนะคติของชาวเวียดนาม กันปกป้องอธิปไตยของชาติ จึงเกิดเป็นส�ำนึกผ่านกระบวนการ เคลื่อนไหวทางสังคมต่างๆ เช่น การประท้วงจีนกรณีจีนรุกคืบเข้า ที่มีต่อโฆษณาชวนเชื่อไม่ได้เป็นไปในเชิงลบ แต่กลับเป็นในเชิง บวกมากกว่า ชาวเวียดนามมีแนวความคิดว่าการโฆษณาชวนเชื่อ มาในพื้นที่เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์ นั้นเป็นเครื่องมือหรือกลไกที่ส�ำคัญในการสร้างความเป็นอันหนึ่ง
B E C O M I N G / 35
การเมืองเรื่อง “สมบัติแห่งชาติในเวียดนาม” รัฐบาลเวียดนามอยู่ในฐานะที่ล�ำบาก เนื่องจากรัฐบาล เวียดนามพยายามโฆษณาชวนเชื่อรวมถึงการจัดการ การเขียน ประวัติศาสตร์ของประเทศแบบใหม่อยู่ตลอดเวลา จึงท�ำให้ ประชาชนบางส่วนในบริเวณพื้นที่เวียดนามใต้มแี นวคิดไม่เห็นด้วย กับพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม และได้กล่าวหารัฐบาลเป็นสาเหตุ หลักที่ทำ� ให้ปัญหากรณีหมู่เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์เรื้อรัง ยากที่จะท�ำให้ปัญหายุติ เพราะพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเวียดนาม ขายชาติ เมื่อเวียดนามเหนือชนะเวียดนามใต้ได้และมีการเซ็นลง นามในจดหมายเวียนของประธานาธิบดี ฝั่ม วัน ด่ง ซึ่งในเนื้อหา จดหมายเวียนนั้น พรรคสังคมประชาธิปไตยแห่งเวียดนามเหนือได้ สนับสนุนอาณาเขตทางน�้ำของจีน ท�ำให้ปัจจุบันทางการจีนได้น�ำ เอกสารส่วนนี้มาเป็นหลักฐานในการแสดงสิทธิความเป็นเจ้าของ หมู่เกาะพาราเซลและสแปรตลีย์
ทางการเมืองได้ยากเนื่องจากจะรักษาระดับความสัมพันธ์กับจีน ได้อย่างไร และอีกส่วนหนึ่งที่สร้างเชื้อปะทุกับจีนคนประชาชนชาว เวียดนามที่พยายามรักษาสมบัติของชาติ -รัฐบาลไม่สามารถรับมือต่อกระแสแรงเสียดทานจากกลุ่มที่มี ความรักชาติและพร้อมที่จะปกป้องสมบัติของชาติโดนไม่สนใจการ ด�ำเนินนโยบายความสัมพันธ์ต่างประเทศของรัฐบาล ทั้งยังมีกลุ่ม ที่มีแนวคิดต่อต้านรัฐบาลมาก่อนหน้าแล้ว ที่ต้องการจะฉวยโอกาส นี้โจมตีรัฐบาลผ่านการเรียกร้องปกป้องอธิปไตยของชาติ -รัฐบาลเวียดนามก�ำลังเข้าสู่ความท้าทายในการจัดการ ปัญหาข้อพิพาทหมู่เกาะหว่างซาและเจื่องซา ที่อาจจะมีความร่วม มือผ่านการรวมกลุ่มอย่างอาเซียนหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ที่คอยเปิดโอกาสให้อยู่บ้าง โดยทางการจีนไม่ยินยอมเจรจา ระดับแบบพหุภาคีหรืออาเซียน แต่ยนิ ยอมเจรจาในระดับทวิภาคี ระหว่างเวียดนามกับจีนเท่านั้น
เวียดนามในภาวะวิกฤต
-เวียดนามได้มกี ลไกเพื่อหาทางระงับปัญหาข้อพิพาทพื้นที่ • เวียดนามก�ำลังเกิดปัญหาจากนโยบายการสร้างชาติให้เป็น ทะเลจีนใต้ ผ่านกลไกเลขาธิการอาเซียน ที่เป็นชาวเวียดนาม ที่ ชาตินิยมจนไม่อาจสามารถควบคุมได้ ที่ยังคลุมเครือระหว่าง ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งแต่มาจากการคัดสรรขึ้นมาด�ำรงต�ำแหน่ง รัฐบาลเวียดนามประสบความส�ำเร็จในการสร้างชาตินยิ มได้ ดังนั้นแล้วเลขาธิการอาเซียนคนนี้ย่อมเป็นตัวแทนของทางรัฐบาล หรือประสบความส�ำเร็จเกินไปจนไม่สามารถควบคุมให้อยู่ใน เวียดนามที่ถูกก�ำหนดงานหลักมาเพื่อให้หาทางระงับปัญหาที่เกิด ขึ้นในบริเวณทะเลจีนใต้ให้ได้ กรอบที่ควรเป็นได้ • เวียดนามก�ำลังประสบปัญหาขาดความเชื่อมั่นจากนักลงทุน ชาวต่างชาติ โดยเฉพาะนักลงทุนชาวจีน ถึงแม้ว่าการเมือง ของเวียดนามจะมีเสถียรภาพมากมาโดยตลอด ที่มีรัฐบาล พรรคคอมมิวนิสต์บริหารประเทศเพียงพรรคเดียว แต่กลับเกิด เหตุการณ์การเคลื่อนไหวภาคประชาชนที่รัฐบาลไม่สามารถ ควบคุมได้ ยิ่งท�ำให้เกิดความกังวลต่อนักธุรกิจชาวต่างชาติ ที่มาลงทุนถึงบทบาทและเสถียรภาพรัฐบาลหลังจากนี้ สรุป -รัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามไม่สามารถประเมินถึง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากการสร้างความเป็นชาตินิยมจากความรัก ชาติจนกลายเป็นความคลั่งชาติ อันน�ำไปสู่ความรุนแรงที่ไม่คาด คิดได้ จากเหตุการณ์บุกเผาโรงงานสัญชาติจีนได้เป็นเหตุการณ์ ตัวอย่างไปแล้วเกี่ยวกับการรุกล�้ำความเป็นสมบัติของชาติจากต่าง ชาติโดยเฉพาะจีน -สิ่งที่รัฐบาลเวียดนามก�ำลังเผชิญในปัจจุบันเกิดจาก กระบวนการกล่อมเกลาความเป็นชาติ ของกรณีหว่างซาและเจื่อง ซา ที่เป็นสมบัติของชาติ ส่งผลท�ำให้รัฐบาลเวียดนามวางบทบาท
-ทางด้านอ�ำนาจของจีนไม่ได้ใช้รูปแบบของอ�ำนาจทางการ ทหารเข้ามากดดันประเทศที่มีปัญหาแต่จะใช้ลกั ษณะอ�ำนาจทาง เศรษฐกิจเพื่อเข้ามากดดัน เช่น เมื่อปัญหาทางทะเลจีนใต้ถูกน�ำ ไปพูดในกรอบของอาเซียน ก็อาจท�ำให้ประเทศที่ได้รับการช่วย เหลืออย่างต่อเนื่องกับจีน เช่น กัมพูชา ลาว หรือ พม่า ไม่ยนิ ยอม ที่จะให้ปัญหาหยิบขึ้นมาพูดถึงในระดับอาเซียน
B E C O M I N G / 36
A S E AN Watch M alaysia
An Epic Voyage with Urbanscapes
ความท้าทายของอุตสาหกรรมดนตรีในอาเซียนตอนใต้ กับ 13 ปีแห่งบทพิสูจน์ความเป็นผู้น�ำของมาเลเซีย คุณวุฒิ บุญฤกษ์ บ่อยครั้งที่เราได้ยนิ การถกเถียงในแวดวงอิสลามว่าการแสดง ดนตรีนั้นเป็นเรื่องที่อนุญาตหรือไม่ หลายฝ่ายมองว่าดนตรีนั้นอาจ ท�ำให้ผู้คนลืมหน้าที่ทางศาสนาของตน เช่นเดียวกันกับในประเทศ มาเลเซีย เมื่อยุคหลายสิบปีก่อน ที่การแสดงศิลปะพื้นเมืองและ ดนตรีไม่เป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง จนกระทั่งรัฐบาลพรรค อิสลามแห่งมาเลเซียดูเหมือนจะมีท่าทีอ่อนลงเกี่ยวกับการแสดง คอนเสิร์ตที่ได้รับความนิยมตามกระแสโลก และเพื่อเรียกคะแนน เสียงกลับคืนมาหลังจากที่เสียไปให้แก่พรรคสหมาเลเซีย (UMNO) ที่ปกครองประเทศในการเลือกตั้งทั่วไปในช่วงปี 2004 ซึ่งในช่วง เวลาดังกล่าว การแสดงที่อยู่ในข่ายของงานศิลปะและคอนเสิร์ต นั้นมีสิ่งที่ต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดคือไม่ให้มีการเต้นหรือ เคลื่อนไหวร่างกายประกอบเพลงมากเกินไป ไม่มกี ารแสดงของ ผู้ขับร้องสตรี เพลงที่น�ำมาขับร้องต้องไม่มเี นื้อหาลบหลู่ศาสนา อิสลาม และผู้ชมชายหญิงต้องนั่งแยกกัน ย้อนกลับไปไม่ก่ปี ีนับจากเหตุการณ์ดังกล่าว เทศกาลเล็กๆ ที่ชื่อว่า Urbanscapes ถือก�ำเนิดขึ้น จากกลุ่มคนที่เคยเป็นนัก สร้างสรรค์ผลงานศิลปะ จัดงาน และ คอนเสิร์ตเล็กๆ (Gig) ใน สตูดิโอหรือไลฟ์เฮาส์ เพื่อแสดงผลงาน หรือ “ปล่อยของ” ทั้ง บทเพลงและสื่อร่วมสมัย จนกระทั่งปี 2002 เทศกาลดังกล่าวเริ่ม ขึ้นอย่างเป็นทางการ ซึ่งนัยส�ำคัญของการเริ่มต้นเทศกาลนี้คือผู้
ที่เกี่ยวข้อง ทั้งผู้จัด โปรดิวเซอร์ สตาฟ รวมถึงศิลปิน มีครบจาก ประชากรหลักของมาเลเซีย คือทั้งชาวมาเลย์ อินเดีย และจีน จากจุดเริ่มต้นจนถึงปัจจุบัน 13 ปีเต็มที่ Urbanscapes สามารถยืนหยัด และพูดได้เต็มปากว่าเป็นหนึ่งในสองเทศกาล ดนตรีในอาเซียน ที่ใหญ่ท่สี ุดและอยู่ยงคงกระพันมายาวนาน ขนาดนี้ พอฟัดพอเหวี่ยงกับ Baybeats Festival ของสิงคโปร์ ซึ่งรายนั้นแม้จะแจ้งเกิดพร้อมกันในปี 2002 แต่ต่างกันตรงที่ Urbanscapes ขยายสเกลงานให้ใหญ่ข้นึ และพัฒนาคอนเซปท์ ของงานให้เปลี่ยนไปทุกๆ ปี ขณะที่ Baybeats Festival เน้นการ คุมสเกลงาน จัดที่ Esplanade “Theatres on the Bay” ริมอ่าว ในสิงคโปร์เพียงที่เดียวไม่ย้ายไปไหน หรือแม้กระทั่งเทศกาล Fat Festival ในประเทศไทยที่มีประวัติมายาวนาน และมีจดุ พีคในช่วง ที่วงการเพลงอินดี้ทั่วโลกก�ำลังรุ่งเรือง ก็จบต�ำนานไว้เพียงแค่ 12 ปีเท่านั้น หน�ำซ�้ำความหลากหลายของวง และศิลปินนั้น ยังเป็น ศิลปินในประเทศเป็นหลัก ขณะที่ Urbanscapes มีวงและศิลปิน มากหน้าหลายตา แวะเวียนมาจากทั้งสิงคโปร์ และอินโดนีเซีย รวมถึงในช่วงปีหลังๆ ยังน�ำเข้าวงจากฝั่งยุโรป และอเมริกาอีกด้วย แรงผลักส�ำคัญที่ท�ำให้เทศกาลนี้มาไกลขนาดนี้ได้ คงต้องยก เครดิตให้กบั “วัยรุ่นมาเลเซีย” วัฒนธรรมสมัยนิยมเหล่านี้ เป็น วัฒนธรรมแห่งวัยรุ่น (culture of the youth) ซึ่งแน่นอนว่ามีผล
B E C O M I N G / 37
ที่ก�ำลังอยู่ในช่วงพีค เป้าหมายรายได้จากโครงการคือ 168 พัน ล้าน ภายในปี 2020 และ 36 ล้าน ภายในปีน้ี น่าสังเกตว่านักท่อง เที่ยวจากประเทศใกล้เคียงในอาเซียน รวมถึงประเทศอื่นๆ อาจ ไม่สามารถน�ำพาเม็ดเงินมหาศาลเข้าสู่มาเลเซียได้ภายในงาน เทศกาลแค่วนั สองวัน แล้วสิ่งที่ส�ำคัญกว่านั้นคืออะไร ผู้เขียนมีโอกาสไปเยือน Urbanscapes ครั้งแรกในปี 2012 โดยไม่ได้มจี ุดมุ่งหมายที่จะไปดูวงดนตรีในภูมิภาค (Local Band) และอิมพอร์ทจากประเทศใกล้เคียงอย่างสิงคโปร์ และอินโดนีเซีย เพราะในปีน้นั เป็นปีแรกที่เทศกาลเชิญวงต่างประเทศที่นอกเหนือ ไปจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มาร่วมในงาน ชื่อของวงไอซ์แลนด์ กระทบหรือเป็นที่ชื่นชอบโดยคนหนุ่มสาว โดยเฉพาะวัยรุ่นและวัย อย่าง “Sigur Ros” เรียกแขกได้มากพอสมควรและเป็นปีแรกที่บัตร ท�ำงาน ที่คนกลุ่มนี้มกี �ำลังผลิต ก�ำลังซื้อ ก�ำลังบริโภค และก�ำลัง Early Bird (บัตรราคาโปรโมชั่น) ของเทศกาล ขายหมดเกลี้ยงเพียง ในการติดตามแสวงหาความสนุกสนานรื่นรมย์ของชีวิตที่ได้จาก ไม่กี่วัน กระแสวัฒนธรรมสมัยนิยมรูปแบบต่างๆ ในขณะภายใต้โมงยาม สิ่งที่ผู้เขียนคิดว่าท�ำให้พื้นที่ของเทศกาลที่น่าสนใจขึ้นมา อันเร่งรีบแบบนี้ วัยรุ่นอย่างเราๆ ต่างอยู่ในภาวะของการดิ้นรน เรื่อยๆ คือปี 2013 ที่ผ่านมา เป็นครั้งแรกที่เทศกาลเชิญวงพังก์รอ็ ค แสวงหาอัตลักษณ์เป็นตัวตั้งส�ำคัญ ซึ่งหากจะว่าไปก็ถือเป็นเรื่อง จากพม่าวงเดียวที่เคยไปทัวร์คอนเสิร์ตต่างประเทศมาแล้ว วง ปกติ คนเราย่อมมีจริตจ�ำกัดเฉพาะทาง คนจ�ำนวนไม่น้อยโดย “Side Effect” มาเติมสีสันให้เทศกาล แม้ชาวมาเลเซียและคนส่วน เฉพาะวัยรุ่นมีสิทธิที่จะรู้สกึ ว่ากรอบการจ�ำกัดของอุตสาหกรรม ใหญ่อาจไม่สนั ทัดในแง่ของภาษา แต่พ้นื ที่ตรงนี้กลับไม่ได้สร้าง ดนตรีในยุคปัจจุบันมันไม่ไปไหนเอาเสียเลย จนต้องออกมาถาง ความแปลกแยกอะไร หน�ำซ�้ำเครือข่ายของวงดนตรีหน้าใหม่ใน ทางเอาเอง Urbanscapes จึงอาจเป็นอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่แสดง อาเซียนยังเชื่อมต่อกัน และผู้เขียนมั่นใจว่า อย่างไรก็ตาม Side ให้เห็นว่า วัยรุ่นในมาเลเซียไม่ได้เป็นเนื้อเดียวกับวัฒนธรรมหลัก Effect คงได้รบั เชิญมาตอกย�้ำความเป็นพังก์ร็อคเบอร์หนึ่งในพม่า ของอิสลาม และยังคงขับเคลื่อนความคิดความอ่าน ผ่านพื้นที่ที่ ที่ KL อย่างแน่นอน เราจะเห็นว่ามันสอดรับกับกระแสการเติบโตในวงการอุตสาหกรรม ในแง่ของสไตล์ดนตรี หากพูดแบบหยาบๆ แม้ “อัลเทอร์ ดนตรีโลกอย่างเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เนทีฟ” และ “โพสต์รอ็ ค” จะเป็นกระแสโลกในช่วงสองสามปี Urbanscapes ใช้สโลแกนติดต่อกันมายาวนาน 12 ปีว่า “The ที่ผ่านมา แต่ในเทศกาลดังกล่าว “World Music” จึงอาจนิยาม city’s creative art festival” ก่อนที่จะเปลี่ยนมาใช้สโลแกนที่บ่ง ความเป็นตัวตนของเทศกาล Urbanscapes ได้มากกว่า หรือแม้ บอกได้อย่างชัดเจนว่าเทศกาลระดับอาเซียนแบบนี้ มันยิ่งใหญ่ กระทั่งชื่อที่คุ้นหูอย่าง “อินดี้” (indie) ที่มองอย่างผิวเผินจะเห็นว่า และได้รับการยอมรับมากขึ้นเรื่อยๆ จนเปลี่ยนมาใช้ “Malaysia’s มันพึ่งผ่านพ้นไปไม่นาน ด้วยความที่มันจับต้องได้ง่าย ท�ำให้วัย creative art festival” ถึงขนาดนี้แคมเปญระดับประเทศอย่าง รุ่นเข้าถึง จนมันพัฒนาจนเข้าสู่เมนสตรีมเอาเสียอย่างนั้น “ความ “Visit Malaysia” ทีส่ ่งเสริมการท่องเที่ยวตามนโยบาย “Malaysia เป็นอินดี้” มันเลยอาจจะไม่อนิ ดี้สมชื่ออีกต่อไปแล้ว ที่ส�ำคัญ Truly Asia” เริ่มบรรจุเทศกาลนี้เข้าในโปรแกรมอย่างถาวรตั้งแต่ปี เทศกาลอินดี้ ที่เริ่มจะมีจ�ำนวนมากขึ้นในอาเซียน รวมทั้งใน 2013 จนถึงปัจจุบัน เพื่อกระตุ้นและเพิ่มรายได้ด้านการท่องเที่ยว ประเทศไทย ความต่อเนื่องและยาวนานอาจไม่สามารถสู้กบั ของประเทศ แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของกระแสวัฒนธรรม
B E C O M I N G / 38
เทศกาลหลักๆ ที่มีดนตรีหลากหลายแนวท�ำให้สามารถยืนระยะได้ นาน ล้อไปกับดนตรีจากวัฒนธรรมสมัยนิยมในกระแสโลก พัฒนาการเหล่านี้ชี้ให้เราเห็นว่าการเป็นผู้น�ำทางอุตสาหกรรม ดนตรีของมาเลเซีย ไม่ได้มาอย่างโชคช่วย แรงผลักจากกลุ่มผู้ฟัง ที่จงรักภักดีในมาเลเซียและประเทศใกล้เคียง มีส่วนส�ำคัญในการ อุ้มชูแวดวงนี้ให้ก้าวไปไกล ซึ่งในปัจจุบันเราจะเห็นมันพ้นไปไกล จากอาเซียนมากพอสมควร วงที่อยู่ในเทรนด์ของแวดวงดนตรีฝั่ง ตะวันตกหลายวง ถูกเชื้อเชิญไปทัวร์คอนเสิร์ต ส่งผลให้เครือข่าย ของอุตสาหกรรมดนตรียิ่งกว้างไกลขึ้นไปอีก มากไปกว่านั้นการที่ รัฐบาลมาเลเซียให้ความส�ำคัญกับกระแสความนิยมของกลุ่มวัย รุ่น ซึ่งน�ำมาใช้เป็นฐานในการต่อยอดทางความคิด ในการผสาน วัฒนธรรมดั้งเดิมให้วัยรุ่นสามารถเข้าถึงและคุ้นเคย อย่างเช่นวง “Salam Musik” ที่ใช้ความเป็น World Music ผสมผสานกับความ เป็นมาเลย์ได้อย่างลงตัว และ “The Tree and the Wild” ที่แม้ จะเป็นโพสต์รอ็ ค อย่างเต็มตัว แต่ในสตูดิโออัลบั้มยังคงใช้เครื่อง ดนตรีท้องถิ่น รวมถึงภาษาที่ใช้ยังคงเป็นบาฮาซาร์แทบทุกเพลง ปรากฏการณ์ดงั กล่าวอาจเป็นการสร้างทางรอดให้กบั วัฒนธรรม ดั้งเดิมผ่านการ Hybrid Culture เพื่อต่อยอดความนิยมไปยัง Traditional Culture ผู้เขียนเห็นว่า การจัดการกับอุตสาหกรรมดนตรีในมาเลเซีย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในอาเซียนตอนใต้นั้น กลุ่มวัยรุ่นรวมถึงผู้ที่ เกี่ยวข้อง ซึ่งในที่นี้อาจต้องยกเครดิตส่วนหนึ่งให้กับรัฐบาลที่เข้าใจ กระแสความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวท่ามกลางกระแสโลกาภิวฒ ั น์ (Globalization) โดยการมีส่วนร่วมกับคนรุ่นใหม่ เปิดพื้นที่ในการ จัดการวัฒนธรรม ด้านหนึ่งอาจเพื่อป้องกันวัฒนธรรมดั้งเดิม สูญหายไปจากการกลืนของวัฒนธรรมที่เหนือกว่า แม้ในอีกด้าน หนึ่งจะเป็นไปเพื่อผลประโยชน์ในเรื่องฐานเสียง และเรื่องอื่นๆ อย่างเช่น ค่าเงินทางการท่องเที่ยว ก็ตาม การดูคอนเสิร์ตในประเทศเพื่อนบ้าน ผู้เขียนพบว่ามีมันสเน่ห์ ซ่อนอยู่มากมาย นอกจากจะเป็นพื้นที่ให้เราได้เรียนรู้วฒ ั นธรรม ของคนรุ่นเดียวกันที่นอกเหนือไปจากเรื่องภาษาและไลฟ์สไตล์แล้ว ยังท�ำให้เราได้พบกับอีกหลายศิลปินที่ไม่คาดคิดว่าจะสร้างความ
ประทับใจให้กบั เราขนาดนี้ วงดนตรีจากภูมภิ าคหลายวงมีความ น่าสนใจที่จะติดตาม ทั้งวิธีคิดที่ถูกน�ำเสนอผ่านบทเพลง ไม่ว่าจะ เป็นการพูดถึงวัฒนธรรมบ้านเกิด การวิพากษ์ส่งิ ต่างๆ รอบตัว และ บางครั้งแตะไปถึงเรื่องการเมือง ก็ล้วนแล้วแต่น่าสนใจแทบทั้งสิ้น อย่างไรก็ตาม ด้วยความที่มาเลเซียเป็นประเทศที่อาจกล่าว ได้ว่ามีวัฒนธรรมหลักๆ อยู่สามแบบด้วยกันจาก มาเลย์ จีน และ อินเดีย ในขณะที่แวดวงดนตรีเติบโตมากขึ้นเรื่อยๆ เราอาจเคย ได้ยินเรื่องราวของการครอบง�ำทางวัฒนธรรม ด้วยวัฒนธรรมใหญ่ อย่างมาเลย์มสุ ลิม แต่ไม่ใช่ในพื้นที่ของอุตสาหกรรมดนตรี ที่นี่ เรา จะเห็นคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ของเขา ฟอร์มวงด้วยกัน ในวงมีตั้งแต่มา เลย์ อินเดีย ไปจนสิงคโปร์เชื้อสายจีน และแน่นอน ที่ Urbanscapes ภาพที่อาจแปลกตาไปสักหน่อยส�ำหรับชาวมุสลิม นั่นคือ ฮิญาบที่ พริ้วไหวอยู่ในเทศกาล รวมไปถึงวงอินดี้ท่มี ี Frontman เป็นมุสลิม ต่างก็สวมฮิญาบแทบทั้งสิ้น พื้นที่ๆ เราเคยคิดว่า เต็มไปด้วยความ เป็นตะวันตก ทั้วแนงเพลงและไลฟ์สไตล์ ที่ KL มันไม่เป็นเช่นนั้น ผู้ เขียนเห็นว่าเทศกาลดนตรีได้ดึงดูดอิสลามรุ่นใหม่สู่ความเป็นสมัย ใหม่และดนตรีจากกระแสโลก ซึ่งสิ่งที่น่าสังเกตคือ การมีเวทีให้ชาว มุสลิมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างกว้างขวางเกี่ยวกับความ เป็นสมัยใหม่แบบของอิสลามในมาเลเซีย รวมถึงมีวงดนตรีและ ศิลปินที่เป็นมุสลิมที่ค่อนข้างมากพยายามแสดงภาพอิสลามสาย กลางสมัยใหม่ผ่านเทศกาลดนตรีเหล่านี้
เทศกาล Urbanscapes ในปี 2014 จะจัดขึ้นในวัน ที่ 6 ธันวาคม ณ Horse Ranch, Resort World Genting ห่างจากตัวเมือง KL เพียง 40 นาที ประกาศรายชื่อศิลปินที่จะเข้าร่วม (Line Up) ออกมาแล้วหลายวง อาทิ Local Natives, The Lemonheads, CHVRCHES และ Najwa จองบัตรได้ที่ http://www.ticketpro.com.my ติดตามข่าวสารเทศกาลได้ที่ https://www.facebook. com/urbanscapes
B E C O M I N G / 39
A S E AN Critical
เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ใต้เงา คสช. ความลักลั่นของโจทย์การพัฒนาเศรษฐกิจ บนฐานคิดความมั่นคง อานนท์ ตันติวิวัฒน์
B E C O M I N G / 40
หลังจากที่ คสช. ได้ทำ�การรัฐประหาร ยึดอำ�นาจ รัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้ง จนสามารถตั้งคณะตน ขึ้นเป็นรัฐบาลบริหารประเทศได้ สปอร์ตไลท์ทุกดวง ได้สาดแสงไปที่ คสช. ทันที ว่าจะสามารถแก้ปัญหา และทำ�ความคาดหวังต่างๆ ในประเทศนี้ได้สมกับ ราคาคุยหรือไม่... ในช่วงเริ่มต้น นอกจากจะเริ่มท�ำให้อ�ำนาจของตนมี เสถียรภาพ โดยการพยายามปราบปราม ควบคุมตัวของนัก วิชาการ นักกิจกรรม นักเคลื่อนไหว และแกนน�ำฝ่ายต่างๆ แล้ว ยังเดินหน้าทางเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดเสถียรภาพ หลังจากชะงัก งันมาในช่วงที่มีการชุมนุมทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายหนี้ ชาวนา ฟื้นแผนโครงการจัดการน�้ำ ปรับโครงสร้างพื้นฐานจาก โครงการ 2.2 ล้านล้าน เป็น 3.3 ล้านบาท ฯลฯ จนท�ำให้หุ้นไทยที่ ตกในช่วงต้น 20 สิบกว่าจุด ทะลุขึ้นไป ณ วันนี้ เกือบ 100 จุด หากแต่ว่าเส้นทางในการบริหารเศรษฐกิจที่คสช.ต้องเดิน ไม่ ง่ายอย่างที่คิด เนื่องจากการด�ำเนินนโยบายเศรษฐกิจตามระบบ ทุนเสรีบางนโยบายค่อนข้างสวนทางกับ นโยบายความมั่นคง ดัง กรณีที่เราจะเห็นได้จากทันทีที่ออกนโยบายจัดระเบียบแรงงานข้าม ชาติ ก็เกิดข่าวลือจนแรงงานเขมรหนีกลับประเทศเป็นแสนๆ คน ส่งผลกระทบต่อธุรกิจประมง อสังหาริมทรัพย์ จนต้องมาแก้ข่าว กันระงม อย่างไรก็ดี เมื่อทหารได้เข้ามาบริหารประเทศแล้ว ก็ย่อม กลายเป็นความหวังของคนทุกกลุ่มไม่เว้นแม้แต่ภาคอุตสาหกรรม ธุรกิจ ล่าสุดเมื่อต้นเดือนมิถุนายน คสช.ได้ออกโรดแมปทาง เศรษฐกิจ และหนึ่งในแผนดังกล่าว คือ การท�ำเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน โดย พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้บญ ั ชาการทหารบก/ หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ กล่าวในรายการ”คืนความ สุขให้คนในชาติเมื่อวันศุกร์ ที่ 13 มิถุนายน 57 ว่า การก�ำหนด แนวทางเปิดพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ที่เรามุ่งเน้นคือไม่ใช่เฉพาะช่อง ทางเข้าออกเท่านัน้ เราเน้นไปสู่ในชนบทด้วย เพราะเราได้เคย เสนอมาทุกรัฐบาลแล้ว ในเรื่องของการท�ำอย่างไรจะไม่มคี นเข้า มาในพื้นที่ตอนใน ไม่มีการกระท�ำผิดกฎหมาย อาชญากรรม ยา เสพติดอะไรต่างๆ ก็แล้วแต่ ฉะนั้นถ้าเรากันคนเหล่านี้ไว้ได้ตาม แนวชายแดน ให้เขาสามารถที่จะมีรายได้ของเขาเช้าไปเย็นกลับ ได้จากเพื่อนบ้าน และคนของเราสามารถมีงานท�ำเพื่อจะให้คนใน ครอบครัวมีรายจ่ายประจ�ำวันได้ ก็จะลดปัญหาลงไปได้มาก “โดยเฉพาะอย่างยิ่งประการส�ำคัญคือในเรื่องของการสวม สิทธิ์ผลิตผลทางการ เกษตร ที่คุณภาพอาจจะต�่ำกว่าเรา ซึ่งมัก
จะเป็นปัญหามาโดยตลอด ถ้าเราสามารถท�ำได้ เป็นแนวคิดแนว พิจารณาในขณะนี้ ได้มอบไปแล้วว่า เป็นไปได้หรือไม่ถ้าเราจะ สร้างระบบสหกรณ์ของภาคประชาชนให้เข้มแข็งตามแนวพระ ราชด�ำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั สมมติว่าเข้มแข็งได้ ใน พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษเหล่านั้น จะมีการซื้อขายโดยมีข้อยกเว้นด้วย ภาษีและกฎหมายบางประการ” “ค�ำว่า “เศรษฐกิจพิเศษ” คือว่า ถ้าทุกคนยังถือกฎหมาย คนละฉบับ ท�ำอะไรไม่ได้ท้งั สิ้น ของเหล่านี้ก็รั่วไหลเลยเป็นบ่อ เกิดของการทุจริต ผิดกฎหมาย สารพัด ถ้าเราท�ำให้ถูกต้อง มีการ ยกเว้นได้บ้าง อันนี้เป็นแต่เพียงการพิจารณา ถ้าเป็นไปได้ จะได้ บรรเทาการลักลอบเข้ามาสวมสิทธิ์กันในประเทศได้อย่างยั่งยืน ต่อไป และการที่เอาเข้ามาตรงนี้ ไม่ใช่เข้ามาแล้วมาขายในบ้าน เรา คงไม่ใช่ เข้ามารวบรวมไว้มกี ารบริหารจัดการโดยท้องถิ่นอะไร ต่างๆ ก็แล้วแต่ แล้วเราปรับปรุงคุณภาพให้ดขี ึ้น จากคุณภาพ ต�่ำให้ดีข้นึ เราก็ไม่ขายในประเทศ เราอาจจะไปส่งขายในประเท ศอื่นๆ จะท�ำให้การสวมสิทธิ์ของเรานั้นลดลงโดยอัตโนมัติ” แต่อย่างที่กล่าวไปตั้งแต่ต้นว่า การท�ำนโยบายต่างๆ ไม่ ง่าย โดยเฉพาะเรื่องเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนแล้ว หากเราย้อน กลับไปดูมีแผนหรือแนวความคิดรวมถึงรูปแบบที่หลากหลายของ รัฐบาล พยายามจะน�ำเสนอ และการด�ำเนินการที่แตกต่างกัน มาหลายรัฐบาล ภาพที่คสช.ก�ำลังวาดฝันผ่านรายการคืนความ สุขนั้น เป็นการสะท้อนให้เห็นถึงการขาดความเข้าใจในเรื่องของ เขตเศรษฐกิจพิเศษที่ สลับซับซ้อน เพราะดันการคิดควบคู่ไปกับ นโยบายความมั่นคงและทัศนคติแบบทหาร ยังไม่ได้เสนอโมเดล อะไรที่แตกต่างไปจากเดิม นอกจากนี้ในพื้นที่ชายแดนนั้นยังมีประเด็นเรื่องของ คน สิทธิมนุษยชน การใช้แรงงาน (แบบพิเศษ) ที่องค์กรด้านสิทธิและ แรงงานหลายองค์กรตั้งประเด็นค�ำถามไว้มาก ซึ่งเราอาจจะเห็น ภาพชัดขึ้นเมื่อพิจารณาพื้นที่ อ.แม่สอด จ.ตาก
ย้อนรอยดูแผนและแนวคิดพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษพื้นที่ แม่สอด แนวความคิดเรื่องเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอดเกิดขึ้นครั้งแรก ในช่วงปี 2547 โดยหอการค้าจังหวัดตาก และราชการส่วนจังหวัด ได้น�ำเสนอต่อ พ.ต.ท.ดร.ทักษิณ ชินวัตร ซึ่งเป็นรัฐมนตรีสมัยนั้น ต่อมาเมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2547 มีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจร ที่ อ.แม่สอด จ.ตาก และทักษิณได้อนุมัติให้อ�ำเภอแม่สอดเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษ โดยจะครอบคลุมทั้งอ�ำเภอแม่สอด อ�ำเภอพบพระ และอ�ำเภอแม่ระมาด
B E C O M I N G / 41
จะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Economic แนวคิดในการผลักดันให้แม่สอดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ Community (AEC) ซึ่งประเทศต่างๆ ในอาเซียนจะเป็นเขตการ ของหอการค้าจังหวัดตาก นั้น คือการพัฒนาพื้นที่ 5,600 ไร่ จาก ค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) และไม่มี พื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ขึ้นมารองรับการด�ำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การเก็บภาษีสินค้าน�ำเข้า-ส่งออก ระหว่างประเทศ เพื่อให้แม่สอดเป็นเมืองเศรษฐกิจ-การค้าชายแดน เพราะมีศักยภาพและความพร้อมของเมืองสูงทั้งทางด้าน 4. ให้แรงงานพม่าเปิดบัญชีธนาคารในประเทศไทยอย่างเสรี เศรษฐกิจ-การลงทุนภาค อุตสาหกรรม-ภาคเกษตร และการท่อง เที่ยว เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ 5. ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องควรมีการปรับตัวอย่างเร่งด่วน เพื่อ รองรับ AEC เนื่องจากประเทศไทยมีเวลาก่อนเข้าเป็น AEC อาเซียน ในปี 2558 และเป็นประตูสู่อนั ดามันตามเส้นทางระเบียง เพียง 5 ปีเท่านั้น เศรษฐกิจ East West Economic Corridor และได้อนุมัติโครงการ หลายโครงการตามข้อเสนอของกระทรวง 23 กรม โดยมีส�ำนักงาน 6. เมื่อสามารถจัดตั้งนครแม่สอดแล้ว อาจมีการขยายเป็นเขต คณะกรรมการสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดังนี้ เศรษฐกิจพิเศษเพือ่ การลงทุนเป็น 3-5 อ�ำเภอในจังหวัดตาก คือ และควรมีการขยายผลกับ อปท. อื่นๆ ที่มีศักยภาพด้านต่างๆ ด้วย 1. สิทธิพิเศษของการลงทุน 2. สนับสนุนงบประมาณ ซึ่งตรงนี้เองที่ท�ำให้แนวคิดการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ 3. จัดท�ำร่างกฎหมายว่าด้วยเขตเศรษฐกิจพิเศษ แม่สอดเริ่มมีเส้นทางแนวคิดที่เป็นลักษณะคู่ขนานมากขึ้นเรื่อยๆ
เนื่องจากนักการเมืองสายพรรคประชาธิปัตย์และภาคธุรกิจบาง โดย มีชัย ฤชุพันธ์ ได้จัดร่างกฎหมายร่างพระราชบัญญัติ การจัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ แต่ยงั ไม่ทันผ่านที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ส่วนมองว่า การท�ำพื้นที่เขตเศรษฐกิจควรจัดตั้งองค์กรการบริหาร เขตเศรษฐกิจขึ้นมาดูแลโดยเฉพาะ เนื่องจากเป็นเรื่องใหญ่เกิน รัฐบาลก็สิ้นสุดวาระไปก่อน กว่าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะดูแลได้ ต่อมาในปี 2550 ทางส�ำนักงานจังหวัดตาก ได้จ้างสถาบัน พวกเขามองว่า ควรจัดท�ำเขตเศรษฐกิจพิเศษคล้ายโมเดล ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ (สปร.) โดย ของจีนสมัยเติ้งเสี่ยวผิง ที่เริ่มก�ำหนดเขตพิเศษในมณฑลกวางตุ้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาและจัดท�ำแนวทางการจัดตั้ง เขตปกครองพิเศษ (ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด”) โดยน�ำ คือ เสิ่นเซินเจิ้น ซัวเถา และจูไห่ โดยรัฐเป็นผู้เข้าลงทุนและดูแล แนวทางร่างกฎหมายพระราชบัญญัติการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยตรงในช่วงแรกเริ่ม ต่อมาภายหลังจึงตั้งเป็นเขตปกครองพิเศษ (เดิม) มาเป็นแนวทางในการจัดท�ำร่างกฎหมายและรับฟังความคิด นอกจากนี้พวกเขายังมองว่าแนวคิดดังกล่าว เป็นการคิดแบบ เห็นจากทุกภาคส่วน ภาครัฐ ภาคเอกชน ท้องถิ่น ประชาสังคม ไม่มองอนาคตข้างหน้าเพราะมองเรื่องการลงทุนและแรงงานเป็น ผลปรากฏว่าทุกภาคส่วนเห็นด้วยเป็นส่วนใหญ่ หลัก เท่านั้น แต่ไม่ได้มองว่าตรงนี้จะเป็นจุดยุทธศาสตร์ท่ตี ้องท�ำ แนวคิดเรื่องการตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษควบคู่กบั รูปแบบของ องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (อปท.)นั้นคือ 1. จะท�ำให้พื้นที่ที่เป็น อปท. รูปแบบพิเศษนครแม่สอด ได้รบั สิทธิและประโยชน์ด้านภาษีอากร ตาม พ.ร.บ. ส่งเสริมการ ลงทุนสูงสุด 2. ให้ มท. ด�ำเนินการเกี่ยวกับการอนุญาตให้แรงงานต่างชาติ เข้ามาท�ำงานในเขตนครแม่สอดได้โดยไม่ต้องมีใบอนุญาต 3. ให้มีการน�ำสินค้าเข้า-ส่งออก อย่างเสรี ในเขตพื้นที่นคร แม่สอดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่า โดยไม่ต้องมีการ ตรวจสินค้าและไม่มกี ารเก็บภาษี ทั้งนี้ให้มกี ารตรวจเฉพาะ สินค้าต้องห้ามเท่านั้น เนื่องจากในปี ค.ศ. 2015 ประเทศไทย
มากกว่าการมาตั้งนิคมอุตสาหกรรม
นายบรรพต ก่อเกียรติเจริญ ที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดตาก ได้ให้สัมภาษณ์กบั ประชาธรรมกล่าวว่า เรามองเขตเศรษฐกิจแค่ การเป็นนิคมอุตสาหกรรมที่ให้สิทธิพิเศษเฉพาะแรงงานราคาถูก หรือเขตภาษีในการลงทุนภาษีต�่ำอย่างเดียวไม่ได้ เรื่องการลดภาษี เงินได้ให้นกั ลงทุนมาลงทุนเป็นเรื่องเล็กน้อยมาก เราต้องมองคู่ ไปกับการเป็นพื้นที่ที่ได้เปรียบทางยุทธศาสตร์ ที่จะเชื่อมต่อไปยัง พม่า ท�ำให้นักลงทุนเห็นว่าการมาลงทุนในพื้นที่แห่งนี้จะส่งออกไป ประเทศต่างๆ ได้สะดวกและรวดเร็วมากกว่าที่อื่นๆ ท�ำให้ประหยัด ต้นทุน จากนั้นรัฐบาลจึงควรเริ่มลงทุนจากการพัฒนาระบบโลจิส ติกที่ใหญ่และเอื้ออ�ำนวยต่อการขนส่งสินค้า
B E C O M I N G / 42
“หากมองแค่การเป็นนิคมอุตสาหกรรมต้องเสนอรูปแบบให้ ชัดเจน เพราะปัจจัยด้านแรงงานเปลี่ยน เนื่องจากการขึ้นค่าแรง สามร้อยทั่วประเทศ ซึ่งนักลงทุนไม่จ�ำเป็นต้องมาชายแดน ก็จ่าย ค่าแรงเท่ากัน เขาคงจะเลือกลงทุนที่อื่นมากกว่า ดังนั้นต้องไป เสริมเรื่องปัจจัยอื่นๆ ไม่เช่นนั้น พื้นที่ก็ไม่เกิดประโยชน์ นักลงทุน ไม่มา” ที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่า ภาคธุรกิจบางส่วนมองเขตเศรษฐกิจ พิเศษในมุมที่ต่างจากแนวคิดตั้งต้น และรัฐส่วนกลางควรเป็นตัว หลักในการลงทุน เพราะระบบโลจิสติกที่ใหญ่ย่อมเกินศักยภาพ ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ความแตกต่างด้านแนวคิดนี้เอง ที่มีผลต่อการด�ำเนินการของรัฐบาลชุดต่างๆ ในสมัยหลังปี 2550 เป็นต้นมา ในปี 2551 ส�ำนักงานจังหวัดตากและเทศบาลเมืองแม่สอดใน ขณะนั้น ได้ท�ำหนังสือเสนอต่อรัฐบาลนายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ให้ น�ำกลับมาพิจารณาทบทวนเพื่อจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบพิเศษนคร แม่สอด โดยผ่านไปยังกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่นกระทรวงมหาดไทย แต่รฐั บาลได้หมดวาระลงเสียก่อน ต่อมาในสมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ได้ด�ำเนินการเขต เศรษฐกิจพิเศษพื้นที่แม่สอดในแนวทางที่แตกต่างจากพรรคเพื่อ ไทยอย่างชัดเจน ซึ่งจะสังเกตได้จากการด�ำเนินการในมติรัฐมนตรี ที่สอดคล้องกับแนวทางที่หอการค้าจังหวัดเสนอ มากกว่าจะเดิน เรื่องตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด โดยในวันที่ 6 ตุลาคม 2552 มีมติครม.อนุมัติหลักการ ก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่า ข้ามแม่น้�ำเมย แห่งที่ 2 พร้อม กับกันพื้นที่ป่า เพื่อก่อสร้างศูนย์บริการเบ็ดเสร็จและคลังสินค้า โดยมอบหมายให้กรมทางหลวงเร่งรัด ส�ำรวจและออกแบบสะพาน พร้อมทั้งหาพื้นที่จุดก่อสร้างสะพานต่อไป 19 ตุลาคม 2553 มีมติ ครม.อนุมตั ิหลักการแนวทางจัดตั้ง เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด พร้อมทั้งการจัดตั้งคณะกรรมการเขต เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด เห็นชอบการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย พม่าแห่งที่ 2 เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด 22 มีนาคม 2554 มีมติครม. อนุมัติให้กระทรวงพาณิชย์ โดย กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจ�ำปี 2554 งบกลาง รายการเงินส�ำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจ�ำเป็น (ป่ามติ ครม.) จ�ำนวน 5,603 ไร่ ระหว่างต�ำบลแม่ปะ และต�ำบล จ�ำนวน 14.044 ล้านบาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการ ท่าสายลวด อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ โครงการจัด จ้างออกแบบการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด พิเศษแม่สอด ในระหว่างด�ำเนินการออกกฎหมายว่าด้วยการจัด 26 เมษายน 2554 มีมติ ครม. เห็นชอบให้ใช้พื้นที่ป่าไม้ถาวร ตั้งองค์การบริหารเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ของคณะกรรมการ
B E C O M I N G / 43
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด (จะสังเกตว่าองค์การบริหารเขต นายกรัฐมนตรี ได้ลงนามในระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. 2556 และลงประกาศในราชกิจจา เศรษฐกิจพิเศษเป็นคนละองค์กรกับ อปท.) นุเบกษา เล่มที่ 130 ตอนพิเศษ 87 ลงวันที่ 24 กรกฎาคม 2556 30 พฤษภาคม 2554 มีการประชุมก�ำหนดจุดก่อสร้างสะพาน และนี่คือความคืบหน้าล่าสุดของการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ มิตรภาพไทย-พม่าแห่งที่ 2 เป็นการประชุมร่วมระหว่างกรม ทางหลวง และผู้แทนรัฐบาลสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ลง พิเศษแม่สอด ซึ่งจะเห็นว่า ในช่วง 10 ปีท่ผี ่านมาแนวคิดเรื่องการ นามบันทึกข้อตกลงก�ำหนดจุดก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-พม่า ท�ำเศรษฐกิจพิเศษใช่ว่าจะมีเอกภาพ แต่มลี ักษณะของความขัด แย้งบางประการอยู่ และคงเป็นโจทย์ท่ที ้าทายของ คสช.ไม่น้อย แห่งที่ 2 ณ วัฒนาวิลเลจ รีสอร์ท อ�ำเภอแม่สอด จังหวัดตาก อย่างไรก็ตามเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวทางของประ ชาธิปปัตย์กค็ ืบหน้ามาได้ เพียงเท่านี้ เพราะหลังจากนั้นรัฐบาล อภิสิทธิ์ แพ้การเลือกตั้ง รัฐบาลของยิ่งลักษณ์ ชินวัตรเข้ามา บริหารประเทศ แต่กไ็ ม่ได้ด�ำเนินการต่อตามนี้ แต่เลือกที่จะ ดันองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษนครแม่สอด และ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเดิม มากกว่าจะสร้างใหม่ตามที่ภาค ธุรกิจเสนอหรือต่อยอดจากมติคณะรัฐมนตรีชุดที่แล้ว
จุดยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของแม่สอดในมุมมอง หอการค้า
จากเส้นทางความพยายามท�ำให้พื้นที่แม่สอดเป็นเขต เศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งต่างฝ่ายต่างมีข้อเสนอของตน หากเราลอง พิจารณาจุดยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจของแม่สอดผ่านมุมมอง หอการค้าในระดับลึกลงไป อาจจะเห็นภาพแทนของแนวคิดของ กลุ่มธุรกิจกลุ่มหนึ่ง ที่มองเชื่อมโยงในระดับภูมภิ าคได้ ซึ่งในที่ที่นี้ ดังจะเห็นได้จากในวันที่ 20 มกราคม 2556 นายกรัฐมนตรี ไม่ได้ให้น้ำ� หนักว่าแนวคิดของหอการค้าเป็นแนวคิดที่ถูกต้องและ นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร พร้อมคณะได้ลงพื้นที่ตรวจราชการ ควรเดินตาม หากแต่เห็นว่ามุมมองของหอการค้านั้นจะท�ำให้เห็น อ�ำเภอแม่สอด มีนโยบาย “ให้พฒ ั นาปรับปรุงสิ่งที่มีอยู่คู่ขนานกับ ภาพกว้างในระดับภูมภิ าค ซึ่งหน่วยงานอื่นยังไม่ได้พูดถึง การพัฒนาสิ่งใหม่” และได้มอบหมายให้รฐั มนตรีว่าการกระทรวง นายบรรพต ก่อเกียรติเจริญ ที่ปรึกษาหอการค้าจังหวัดตาก มหาดไทย เป็นผู้รบั ผิดชอบติดตามโครงการพัฒนาพื้นที่อ�ำเภอ กล่าวว่า พื้นที่แม่สอดมีปัจจัยแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งหลายประการ แม่สอดที่ต้องเร่งด�ำเนินการ เพื่อรองรับการจัดตั้งเขตพัฒนา หนึ่ง พื้นที่ตดิ พม่าเป็นประตูทางด้านทิศตะวันตกของแนว East เศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ “นครแม่สอด” และ west พม่าจะเชื่อมออกสู่อาเซียน เส้นทางบกที่สะดวกที่สุดก็ต้อง การน�ำเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและร่วมประชุมเพื่อรับฟังความ เป็น แม่สอด เมียวดี สอง เป็นเส้นทางที่พม่าได้ปรับปรุงโครงสร้าง คิดเห็นของหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและภาคประชาสังคมใน พื้นฐานไว้รองรับเพื่อเชื่อมโยงท่าเรือย่างกุ้ง และเส้นทางการค้าที่ พื้นที่ และในที่ประชุม มีชัย ฤชุพันธุ์ ได้กล่าวไว้อย่างชัดเจนว่า จะต่อไปยังอินเดีย กับอาเซียนตะวันออก สาม สิทธิพิเศษ GSP ที่ ได้มีการศึกษาร่าง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการนครแม่สอด พม่าก�ำลังจะได้จากสหภาพยุโรป สี่ สามารถพัฒนาพื้นที่ได้ทันที พ.ศ. …. และคณะกรรมการกฤษฎีกา คณะที่ 1 ได้พจิ ารณาตรวจ ไม่ต้องกังวลเรื่องสิ่งแวดล้อมมากเนื่องจากมีงานวิจยั ศึกษาหลาย ร่างและเห็นชอบร่าง พ.ร.บ.ฯ แล้ว ถ้านครแม่สอดมีความพร้อม ชิ้น รองรับว่า เป็นพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม ก็สามารถจัดตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษในรูปแบบของ องค์กร “ปัจจุบันถ้าเราส่งสินค้าจากท่าเรือกรุงเทพไปยังท่าเรือย่างกุ้ง ปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ได้ทนั ที แต่ไม่ใช่เขตเศรษฐกิจพิเศษที่ ท�ำกันในประเทศจีน และหาก สศช. เห็นว่า จะด�ำเนินการเรื่องการ เราต้องใช้เวลาอย่างเร็ว 20-21 วัน แต่ถ้ามาทางแม่สอด สินค้า จัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษโดยการออกระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี จากกรุงเทพผ่านแม่สอด ไปเมียวดี ถึงย่างกุ้งใช้เวลาไม่เกิน 4 วัน แล้วจุดเปลี่ยนที่ส�ำคัญหลังจากนี้ ตั้งแต่ปี 58-59 คือ ถนนระหว่าง ก็ให้ดำ� เนินการผลักดันให้นครแม่สอดจัดตั้งเป็น อปท. รูปแบบ เมียวดีไปเมืองกุกกิก(กอกาเรก)ที่บริษัทซินแส่ไปท�ำให้ จะเป็นจุด พิเศษ เพราะในร่างกฎหมายดังกล่าวได้เขียนให้นครแม่สอดมี อ�ำนาจหน้าที่ที่จ�ำเป็น เกี่ยวกับการค้าชายแดนเพิ่มมากขึ้นอยู่แล้ว เปลี่ยนที่ส�ำคัญที่สุด เปลี่ยนยิ่งกว่าเออีซี เพราะจากนี้ไปพอถนน เมื่อมีความพร้อมและได้รบั ความยินยอมจากส่วนราชการเจ้าของ เสร็จรถบรรทุกสินค้าจะวิ่งได้ทกุ วัน (จากเดิมวิ่งได้วนั เว้นวัน เพราะ ถนนบนเขาบรรทัดวิ่งได้เลนเดียว) ทุกวันนี้เรามีตัวเลขการค้าที่ห้า อ�ำนาจ รวมทั้งได้รับความเห็นชอบจาก ครม. ก็จะมีอ�ำนาจที่ หมื่นล้านบาท ถ้าถนนเสร็จสินค้าวิ่งได้ทุกวัน เชื่อว่ามูลค่าการค้า จ�ำเป็นเพิ่มมากขึ้นและลดข้อจ�ำกัดลง จะเพิ่มขึ้น เพราะรถส่งสินค้าที่เป็นตู้คอนเทรนเนอร์กส็ ามารถวิ่ง ต่อมาวันที่ 21 มกราคม 2557 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ไปยังพม่าได้ การขนส่งทางบกที่ต้องเข้าพม่าต้องมาผ่านเส้นทาง
B E C O M I N G / 44
นี้ เพราะฉะนั้นเรื่องเขตเศรษฐกิจพิเศษมันต้องรวมไปถึงการค้า ชายแดน รวมถึงระบบ โลจิสติกส์ที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการค้าขาย ระหว่างไทยพม่า” “ในอนาคตจากนี้ไป พม่าก็จะได้สิทธิพิเศษที่เรียกว่า GSP จากยุโรป อเมริกา ญี่ปุ่นในอนาคต ซึ่งตรงนี้เป็นข้อได้เปรียบใน เชิงของการลงทุน และถ้ารัฐบาลไปเจรจากับพม่าและท�ำเป็นพื้นที่ ร่วมกัน เราสามารถใช้ประโยชน์จากเรื่องของแรงงาน GSP โดย ใช้ระบบ โลจิสติกส์ของเราที่สามารถเชื่อมกับประเทศต่างๆ ใน อาเซียน และที่ส�ำคัญเป็นพื้นที่เดียวที่เชื่อมต่อกับพื้นที่พม่าที่มี ระบบโครงสร้าง พื้นฐานที่พร้อมที่สุด” “ส่วนเรื่องพื้นที่ ตรงนี้ค่อนข้างพร้อม มีมติคณะรัฐมนตรีที่ อนุญาตให้เอาป่าเสื่อมโทรมมาใช้ประโยชน์ รัฐลงทุนสิ่งแวดล้อม ให้ คุณเข้ามาในพื้นที่นี้ เข้ามาใช้พื้นที่ได้เลย ไม่ต้องลงทุนสิ่ง แวดล้อม ไม่ต้องท�ำอีไอเอ เพราะรัฐลงทุนให้หมด”
มุมมองเปรียบเทียบ: จุดยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ ความ เคลื่อนไหวของแรงงาน และความลักลั่นบนฐานคิดความ มั่นคงของ คสช. หากพิจารณาถึงมุมมองต่างๆ ต่อพื้นที่แม่สอดในการเป็นเขต เศรษฐกิจ จะพบว่ามีความแตกต่างกันพอสมควร ซึ่งแต่ละมุมมอง นั้นมองผ่านด้วยสายตาและมโนทัศน์ของจุดที่ตัวเองยืน และบาง ประเด็นแนวคิดค่อนข้างที่จะขัดแย้งและสวนทางกัน และยิ่ง คสช. เข้ามาบริหารประเทศ ประเด็นเรื่องความมั่นคงได้เข้ามาเป็นส่วน หนึ่งของการพิจารณาพื้นที่นี้ อย่างมีนัยส�ำคัญ แต่อย่างไรก็ตาม หากเรามองควบคู่ไปกับข้อเท็จจริงและ ความเคลื่อนไหวที่เกิดในพื้นที่ดังที่จะกล่าวต่อไป หลายประเด็น พบว่า มุมมองเฉพาะของภาคธุรกิจเอกชน ภาครัฐ หน่วยงาน ความมั่นคง นั้นไม่เพียงพอที่จะท�ำความเข้าใจและน�ำมาซึ่งการ ออกนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่าย และบางอย่างคลาด เคลื่อนจากปรากฎการณ์ท่เี กิดขึ้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้มักจะน�ำมาซึ่ง ปัญหาเพราะเป็นการมองจากบนลงล่าง
แผนที่ และถนนเมืองกุกกิ
เส้นทางตัดใหม่ก่อน-หลัง
ขณะที่กลุ่มธุรกิจอุตสาหกรรมและข้าราชการมองว่า ต้อง ท�ำให้พื้นที่นี้มีสิทธิพิเศษด้านภาษี และค่าแรงต�่ำกว่าที่อื่น ด้าน หนึ่งเพื่อก�ำหนดโซนควบคุมแรงงานข้ามชาติง่ายต่อการจัดการ ด้านหนึ่งเพื่อจูงใจให้แรงงานไม่ต้องเคลื่อนย้าย
ประเด็นเรื่องการเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ โดย อธิบายถึงปัจจัยด้านความเคลื่อนไหวของแรงงาน ซึ่งทางกลุ่ม ธุรกิจการค้ามองว่า การขึ้นค่าแรง 300 บาท เป็นปัจจัยส�ำคัญที่ ด้านหน่วยงานความมั่นคงอย่าง คสช. มองว่า การเคลื่อน ท�ำให้แรงงานข้ามชาติแม่สอดย้ายไปท�ำงานที่อื่น เนื่องจากค่าแรง ย้ายของแรงงานข้ามชาติโดยเฉพาะพื้นที่ เป็นเหตุให้ “การกระท�ำ เท่ากันทั่วประเทศ ดังนั้นการเป็นเขตเศรษฐกิจต้องข้ามพ้นเรื่อง ผิดกฎหมาย อาชญากรรม ยาเสพติด ถ้ากันคนเหล่านี้ไว้ได้ตาม การก�ำหนดพื้นที่ให้เป็นสถานที่ ค่าแรงต�่ำ และมองให้กว้างกว่า แนวชายแดน ให้เขาสามารถที่จะมีรายได้ของเขาเช้าไปเย็นกลับได้ เดิม จากเพื่อนบ้าน …ก็จะลดปัญหาลงไปได้มาก”
B E C O M I N G / 45
ทั้งสามแนวคิดมองการเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติเพียงแค่ ปัจจัยด้านค่าแรง และเรื่องของความมั่นคง ทั้งที่จริงแล้วปัจจัย เรื่องการเคลื่อนย้ายแรงงานนั้นค่อนข้างหลากหลาย และไม่ได้ข้นึ อยู่กับฝ่ายนโยบายเพียงอย่างเดียว ยังมีปัจจัยอื่นๆ อีกมากมาย ในขณะที่งานวิทยานิพนธ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของนาย ภาสกร โกศัยกานนท์ ซึ่งท�ำการศึกษาวิจัย เรื่อง “แรงงานอพยพ ภาคอุตสาหกรรมในบริเวณชายแดนไทยพม่า: กรณีศึกษาแรงงาน สัญชาติพม่าในอ.แม่สอด จ.ตาก” ให้ภาพเกี่ยวกับสาเหตุและ ปัจจัยการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของแรงงานข้ามชาติไว้ อย่างน่า สนใจ เขาพบว่า ปัจจัยการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาติมีตั้งแต่ ปัจจัยแรงผลักในภาพใหญ่ท่ี เป็นเรื่องของการเมือง เศรษฐกิจและ สังคมในประเทศพม่าและการด�ำเนินนโยบายของไทย ไปจนถึง เรื่องปัจจัยภาพเล็กที่เป็นเรื่องของการตัดสินส่วนตัว เช่น เส้น ทางการอพยพ เครือข่ายท้องถิ่น แหล่งข้อมูลข่าวสาร ได้สรุปภาพรวมของย้ายถิน่ ของแรงงานข้ามชาติว่า สาเหตุ ของการเคลื่อนย้ายของแรงงานอพยพมีความเกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์ทาง ประวัตศิ าสตร์ การเมือง การปกครองและ เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในประเทศ และผลกระทบที่มาจากนอกประเทศ “แรงงานข้ามชาติให้เหตุผลเกีย่ วกับเรือ่ งเศรษฐกิจในการผลัก ดันให้ออกมามากที่สุด ได้แก่ โอกาสในการท�ำงานที่รายได้ดีกว่า รายได้ต่ำ� ไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่าย และขาดแคลนที่ดินท�ำกิน แม้ ปัจจัยเศรษฐกิจจะมีอิทธิพลมากที่สุด แต่ปัจจัยอื่นก็ควรได้รับการ พิจารณา ซึ่งเป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยทางด้านการเมืองการ ปกครอง คือ การปราบปรามชนกลุ่มน้อย ความไม่สงบตามแนว ชายแดน ทหารพม่ารีดไถ การถูกขับไล่จากทหารพม่า และการถูก เกณฑ์ไปเป็นแรงงาน”
งานศึกษาที่ยกมาเป็นกรณีตัวอย่างท�ำให้เห็นว่าความเข้าใจ ในเรื่องของการย้ายถิ่นของแรงงานข้ามชาติในพื้นที่แม่สอดของ แต่ละหน่วยค่อนข้างที่จะฉาบฉวย ซึ่งการมองแบบนี้จะท�ำให้ ละเลยมิติด้านอื่นๆ ไปเป็นจ�ำนวนมาก กล่าวคือ ทันทีที่มองว่า แรงงานข้ามชาติเป็นสิ่งที่เราควบคุมได้ด้วยปัจจัยที่เราก�ำหนด เช่นเรื่องค่าแรง นโยบายทางเศรษฐกิจ ฯลฯ เราก็จะวางนโยบาย ก�ำหนดจุดพื้นที่เศรษฐกิจ ให้ตรงนี้เป็นนิคมอุตสาหกรรมแรงงาน ราคาถูก เป็นพื้นที่ควบคุมการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาติ ฯลฯ โดยละเลยการค�ำนึงถึงมิติอื่นจนท�ำให้เกิดปัญหาต่างๆ ตาม มา อาทิ ขาดความยืดหยุ่นในการเตรียมพร้อมหากพม่ามีความ เปลี่ยนแปลงด้าน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม เช่น วันหนึ่งพม่า ประกาศขึ้นค่าแรงเท่ากับไทย หรือมีสวัสดิการแรงงานที่ดีขึ้น ก็จะ กลายเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจในการท�ำงานของแรงงาน ข้ามชาติ ซึ่งอาจท�ำให้พื้นที่บริเวณนี้ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนก็เป็นได้ หรือหากจ�ำกัดเขตหรือบีบเรื่องค่าแรงมากก็อาจจะกลายเป็นปัจจัย ผลักให้แรงงาน เคลื่อนย้ายออกไปที่อื่น หรือหากรัฐไทยไม่ประกัน ถึงหลักสิทธิแรงงาน และหลักสิทธิมนุษยชนในการจ้างงานก็อาจ จะน�ำมาซึ่งการย้ายออก จากการวิจัยระบุชัดว่าสาเหตุของการเข้า มาในพื้นที่แม่สอดเพราะโรงงาน เอื้อให้มพี ื้นที่ปลอดภัย มีบ้านพัก อาศัย มีชุมชนให้เขาสามารถติดตามข่าวสารและรู้สกึ อุ่นใจ
และที่น่าเป็นห่วงมากๆ คือ การใช้แนวคิดเรื่องความมั่นคง เข้ามาผสมโรงกับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งจากที่ยกมา ตั้งแต่ต้น จะเห็นว่าแนวคิดไม่ได้เสนออะไรใหม่ท่แี ตกต่างไปจาก เดิมเลย เพียงแต่พูดถึงแนวคิดที่เคยมีและเอาเรื่องความมั่นคงมา เสริม ซึ่งนอกจากจะขัดแย้งกันเองแล้ว ยังขัดแย้งกับข้อเท็จจริง ในพื้นที่ เป็นต้นว่า เมื่อคสช.พูดถึงเขตเศรษฐกิจพิเศษ พวกเขา คาดหวังให้เป็นพื้นที่ที่จะดึงดูดให้นกั ลงทุนเข้ามาลงทุน เกิดความ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยดึงดูดจากประเทศต้นทาง โดยแรงงาน เติบโตของมูลค่าทางเศรษฐกิจ เพราะเป็นพื้นที่ที่ให้สิทธิทางด้าน อพยพสัญชาติพม่ากล่าวถึงสภาพเศรษฐกิจแม่สอดว่า มีเศรษฐกิจ ภาษีและการลงทุน แต่ในขณะเดียวกันพวกเขาก็เชื่อว่าการจัดเขต เศรษฐกิจเป็นการจัดโซนให้หน่วยงานความมั่นคงสามารถที่จะ ที่ดี ค้าขายสะดวก มีที่ขายของ และสามารถหารายได้มากกว่า จ�ำกัดให้แรงงานข้ามชาติไม่เคลื่อนย้ายเข้ามา พื้นที่ด้านใน อันจะ การท�ำงานในประเทศพม่า โดยเหตุผลรองลงมาได้แก่ ความ เป็นต้นเหตุของปัญหาอาชญากรรมและความวุ่นวายต่างๆ ในเขต สงบในพื้นที่ และมีความปลอดภัย แหล่งจ้างงานมีความต้อง เมือง รวมถึงจะสามารถป้องกันการสวมสิทธิสินค้าเกษตรที่ท�ำให้ งานแรงงานจ�ำนวนมาก ความพอใจในสถานประกอบการที่เอื้อ อ�ำนวยความสะดวกในสิง่ ต่างๆ เช่นมีที่พัก หาแหล่งงานได้สะดวก เกษตรกรเสียประโยชน์ ฯลฯ ลักษณะงานไม่ต้องอาศัยฝีมือ ล�ำพังแค่ประเด็นเรื่อง การจ�ำกัดการเคลื่อนย้ายของแรงงาน ก็ค่อนข้างสับสน เพราะหนึ่งไปคิดคล้ายกับภาคธุรกิจว่า แรงงาน “นอกจากเหตุผลดังกล่าวที่เป็นปัจจัยผลักดัน และปัจจัย ดึงดูดแรงงานอพยพชาวพม่าแล้ว ครอบครัว เพื่อน และญาติ ยัง เป็นปัจจัยที่ควบคุมได้ เพียงแค่จ�ำกัดอยู่ในพื้นที่และให้ค่าแรง มีส่วนช่วยสนับสนุนให้เข้ามาท�ำงานอีกด้วย โดยผ่านการให้ข้อมูล ที่เหมาะสม ทั้งที่ความจริงแล้วตัวแรงงานเป็นปัจจัยที่มีพลวัตร เปลี่ยนแปลงตามบริบทและสภาพของเครือข่ายทางสังคมดังที่งาน ข่าวสาร” อ่านต่อหน้า 46
B E C O M I N G / 46
ศึกษาได้สรุปออกมา ในขณะที่คสช.ต้องการให้แรงงานข้ามชาติอยู่ในพื้นที่ ชายแดน แต่จากประสบการณ์ท่เี คยเกิดขึ้นในพื้นที่ต่างๆ นโยบาย ความมั่นคงมักจะไปบั่นทอนปัจจัยที่ดึงดูดแรงงานข้ามชาติให้อยู่ ใน พื้นที่ อาทิ การไม่ให้มกี ารรวมกลุ่ม จ�ำกัดสิทธิในการสื่อสารยิ่ง ตอนนี้อยู่ภายใต้กฎอัยการศึกวิทยุชุมชนชาติพันธ์ ที่เคยเป็นแหล่ง กระจายข่าวสารต้องปิดอยู่ สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือในการสร้างชุมชนเครือข่ายของ แรงงานข้ามชาติ ถึงแม้ปัจจัยเหล่านี้ ไม่ใช่ปัจจัยต้นๆ แต่งาน ศึกษาก็ยืนยันว่ามีความส�ำคัญที่ดงึ ดูดให้แรงงานข้ามชาติเข้ามา ท�ำงาน นอกจากนี้การไม่ปล่อยให้มสี ิทธิสื่อสารก็อาจจะท�ำให้เป็น ปัญหามากขึ้นอีก เพราะเขาไม่สามารถกระจายข้อมูลข่าวสารที่ ถูกต้องได้ กรณีแรงงานเขมรหนีกลับประเทศเป็นตัวอย่างได้เป็น อย่างดี ประเด็นเรื่องความเข้าใจการเคลื่อนย้ายของแรงงานข้ามชาติ กับการเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ เราก็จะเห็นความสลับซับซ้อน และ ความขัดแย้งทางแนวคิดของฝ่ายที่เป็นคนก�ำหนดนโยบายที่อยู่ ด้านบน ที่ส�ำคัญแนวความคิดที่น�ำเสนอนั้นเป็นเพียงแนวคิดของผู้ มีอ�ำนาจทางการเมือง และเศรษฐกิจที่จะก�ำหนดพื้นที่นี้เท่านั้น ซึ่ง หากมองให้กว้างออกไป จะพบว่ายังมีแนวคิดอื่นๆ ที่เราไม่เห็นอีก หลายด้าน หลายมุม ไม่ว่าจะเป็นความคิดของ “คนแม่สอด” นัก กิจกรรมและนักเคลื่อนไหวด้านสิทธิมนุษยชน หรือแม้แต่ข้อมูล พื้นที่ที่จะถูกก�ำหนดเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ว่าเป็นอย่างไร มี ความเห็นที่ตรงกันหรือขัดแย้งกับแนวคิดข้างต้นอย่างไรบ้าง
AS E AN Economic s
ทางสองแพร่ง: การรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจของอาเซียนและสหภาพ ยุโรปที่แตกต่างกัน ปริวรรต กนิษฐะเสน
กระแสการเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในปี 2015 ทำ�ให้เกิดคำ�ถามว่าอาเซียนเป็นการ รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในรูปแบบเดียวกันกับสหภาพ ยุโรปหรือไม่ คำ�ตอบที่ชัดเจนคือ “ไม่” หัวใจของการรวมกลุ่มเศรษฐกิจคือการลดอุปสรรคต่อการท�ำ กิจกรรมเศรษฐกิจข้ามชาติ โดยมีแรงจูงใจทั้งจาก ปัจจัยเศรษฐกิจ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพจากการประหยัดของการขยายขนาด การผลิต และปัจจัยการเมือง เช่น การเพิ่มอ�ำนาจในการต่อรองใน ฐานะที่เป็นกลุ่มเศรษฐกิจ การศึกษาเรื่องการรวมกลุ่มเศรษฐกิจเริ่มขึ้นในทศวรรษ 1950 เพื่อพยายามอธิบายการรวมกลุ่มที่เริ่มเกิดขึ้นในยุโรปในยุคนั้น โดยมีการจ�ำแนกการรวมกลุ่มเป็นขั้นตอนที่มีความลึกขึ้นในมิติ ต่างๆ เช่น ตลาดร่วม หรือสหภาพการเงินไปจนถึงการวมกลุ่มที่ สมบูรณ์ท้งั ในด้านเศรษฐกิจและการเมือง และการมุ่งไปสู่การรวม กลุ่มที่ซบั ซ้อนขึ้น โดยประเทศสมาชิกจ�ำเป็นต้องสละอธิปไตยบาง ส่วนให้กบั ส่วนกลางมากขึ้น
ถ้าไม่ทำ� ความเข้าใจถึงแนวคิดต่างๆ และข้อเท็จจริงในพื้นที่ ให้ดีๆ ยังฝืนดึงดันท�ำเขตเศรษฐกิจพิเศษผสมปนเปไปกับความ มั่นคง ที่ผูกติดกับอุดมการณ์ชาตินิยมอันล้าสมัย โดยไม่มองให้ หนทางของสหภาพยุโรป รอบด้าน แทนที่ก่อให้ก่อประโยชน์อนั เป็นรูปธรรมแก่ทกุ ฝ่าย กลับ การรวมกลุ่มในยุโรปเกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง โดย กลายเป็นจะน�ำปัญหาอีกนานัปการมาให้จดั การไม่จบสิ้น เห็นว่ายุโรปจะรักษาสันติภาพได้หากมีการรวมกลุ่มกันโดยใช้ เศรษฐกิจเป็นแรงผลักดัน การรวมกลุ่มเริ่มต้นในปี 1951 ด้วย ความร่วมมือในการผลิตถ่านหินและเหล็กเพื่อไม่สามารถให้ ประเทศใดประเทศหนึ่งน�ำไปใช้ส�ำหรับอุตสาหกรรมสงครามได้ ต่อมาได้ขยายการรวมกลุ่มไปยังสาขาเศรษฐกิจอื่นโดยเริ่มจากการ จัดตั้ง European Economic Community ในปี 1958 ซึ่งเป็นสหภาพ ศุลกากร ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อยกเลิกภาษีศุลกากรระหว่างประเทศ สมาชิกและใช้อตั ราศุลกากรที่เท่ากันส�ำหรับสินค้าน�ำเข้าจาก ประเทศนอกสมาชิก
B E C O M I N G / 47
ที่ส�ำคัญ ในยุคนั้น ยุโรปได้เริ่มใช้หลัก Four Fundamental Freedoms ในการรวมกลุ่ม คือ การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ แรงงาน และ เงินทุนที่เสรี ซึ่งคือนิยามของตลาดร่วม (Common Market) เมื่อท�ำได้ส�ำเร็จ ยุโรปได้ท�ำให้สมาชิกมีกฎเกณฑ์และ นโยบายที่สอดคล้องกันจึงถือว่าเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Union) ในปี 1992และหลังจากนั้นได้ก้าวต่อไปเป็น สหภาพการเงินยุโรปในปี 1999 ภายหลังจากเตรียมการด้านนี้มา หลายสิบปี การที่ยุโรปก้าวมาถึงจุดนี้ได้จ�ำเป็นจะต้องมอบอ�ำนาจ อธิปไตยในเรื่องต่างๆ ให้แก่สถาบันกลางในการด�ำเนินการแทน สถาบันของประเทศสมาชิก อาทิ European Commission ในด้าน บริหาร European Parliament ในด้านนิติบัญญัติ European Court of Justice ในด้านตุลาการ หรือ European Central Bank ในด้าน นโยบายการเงิน ซึ่งเป็นการเปลี่ยนรูปแบบความร่วมมือแบบให้ ประเทศสมาชิกตัดสินใจ (หลัก intergovernmentalism) เป็นแบบ การมอบอ�ำนาจการตัดสินใจให้แก่องค์กรกลางต่างๆ ที่มีอ�ำนาจ เหนือชาติ (หลัก supranationalism)
หนทางของอาเซียน การก่อตั้งอาเซียนในปี 1967 มีแรงผลักดันทางการเมืองเช่น เดียวกับยุโรป โดยมีเจตนารมณ์ท่จี ะเสริมสร้างความร่วมมือใน ภูมิภาคเพื่อต่อต้านภัยทางการเมืองในยุคนั้น แต่ไม่ได้เน้นด้าน เศรษฐกิจเลยจนปัญหาทางการเมืองคลี่คลาย การเริ่มรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจมีขึ้นอย่างจริงจังในปี 1993 จากการท�ำความตกลง เขตเสรีการค้าอาเซียน ซึ่งเป็นการลดอัตราศุลกากรภายในประเทศ สมาชิกอาเซียนเท่านั้น ไม่ใช่เป็นการก่อตั้งสหภาพศุลกากรเช่น เดียวกับยุโรปในช่วงแรก ภายหลังจากการเปิดเสรีด้านสินค้า อาเซียนได้ท�ำความตกลงด้านอื่นๆ เช่น บริการ การลงทุน จนใน ปี 2007 ผู้น�ำอาเซียนเห็นพ้องว่าควรจะรวบรวมงานต่างๆ ที่ได้ท�ำ
และตั้งเป้าให้เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ที่จะเป็น “ตลาดเดียวและฐานผลิตร่วม” ในปี 2015 อย่างไรก็ตาม แม้ว่าเป้าหมายของ AEC จะฟังดูคล้ายกับ Common Market ที่เกิดขึ้นในยุโรป แต่ในความเป็นจริง AEC ยัง ขาดคุณสมบัติหลายประการที่จะเป็น Common Market ที่แท้จริง ตามนิยามของทฤษฎีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ นั่นคือ การเปิด เสรีด้านการค้ายังติดเรื่องมาตรการที่ไม่ใช่ภาษีอยู่ ส่วนด้านบริการ และการลงทุนยังไม่เปิดเสรีมากกว่าที่ให้ในกฎหมายท้องถิ่น ใน ด้านแรงงานมีเพียงการรับรองคุณสมบัติทางวิชาชีพเท่านั้น ส่วน เงินทุนเคลื่อนย้ายได้เปิดเสรีตามความพร้อมของแต่ละประเทศ ดัง นั้น การรวมกลุ่มภายใต้ AEC จึงอยู่ในระดับระหว่าง FTA และ Common Market โดยเป็นลักษณะเฉพาะ (sui generis) ที่ส�ำคัญ ปัจจุบันอาเซียนยังคงเน้นการยึดหลัก intergovernmentalism โดยยังไม่ให้อ�ำนาจอธิปไตยแก่สถาบัน กลางในการตัดสินใจในประเด็นต่างๆ นอกจากนี้ อาเซียนยัง เน้นความยืดหยุ่นและหลักการตัดสินใจแบบฉันทามติ เนื่องจาก สมาชิกอาเซียนยังมีความแตกต่างทางเศรษฐกิจมาก ด้วยเหตุนี้ เองในปัจจุบัน อาเซียนจึงยังไม่มีเป้าหมายที่จะรวมกลุ่มให้ลึกและ ซับซ้อนจนถึงการเป็นสหภาพการเงินที่มีสกุลเงินร่วมกันดังเช่น สหภาพยุโรป
บทเรียนซึ่งกันและกัน การที่อาเซียนและยุโรปเลือกเดินคนละเส้นทางในการรวม กลุ่มทางเศรษฐกิจมาจากปัจจัยที่แตกต่างกัน แต่ไม่ได้หมายความ ว่าจะเรียนรู้ซึ่งกันและกันไม่ได้ วิกฤติเศรษฐกิจในยุโรปในช่วงที่ ผ่านมาส่วนหนึ่งเกิดขึ้นเพราะการรวมกลุ่มที่ไม่สมดุล คือ การเน้น ด้านการเงินแต่ละเลยด้านการคลัง ท�ำให้บางประเทศสามารถกู้ เงินและใช้เงินอย่างสุรุ่ยสุร่าย ประเด็นนี้เป็นบทเรียนที่ดสี �ำหรับ อาเซียน คือ เราควรรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจแบบบูรณาการโดย อ่านต่อหน้า 48
B E C O M I N G / 48
AS E AN Thesis
ต่อจากหน้า 47
ครอบคลุมทุกเรื่องและไปด้วย กัน เช่น การเปิดเสรีภาคการค้า สินค้านั้นก้าวหน้าไปมากแล้ว แต่การเปิดเสรีภาคบริการยัง ติดขัดอยู่ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อ การค้าในภูมภิ าคได้ เนื่องจาก ภาคบริการเป็นตัวขับเคลื่อน ส�ำคัญของภาคการค้า อาทิ ธนศักดิ์ โพธิ์ศรีคุณ การขนส่ง
โอกาสของการศึกษาข้ามแดนของนักศึกษา ชาวเวียดนามระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัย ราชภัฏอุบลราชธานี
นอกจากนี้ ยุโรปย่อม สามารถที่จะเรียนรู้จาก กระบวนการของอาเซียนเช่นกัน โดยเฉพาะเรื่องการเน้นความ ยืดหยุ่นและการเคารพเสียง ของประเทศเล็กหรือประเทศที่ มีระดับการพัฒนาน้อยกว่า ซึ่ง จะท�ำให้ประชาชนของประเทศ เล็กรู้สึกว่ามีส่วนร่วมในสหภาพ ยุโรปมากขึ้น
ความสัมพันธ์ของประเทศต่างๆ ในลุ่มแม่น้�ำโขง เริ่มเปลี่ยนท่าทีจากการเป็นศัตรูทางการเมือง สู่การเป็นมิตรทางเศรษฐกิจมากขึ้นหลังจากการสิ้นสุดของสงครามเย็นในภูมภิ าค ในช่วงทศวรรษ 1990s เมื่อการเมืองนิ่งประเทศต่างๆ ที่เป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมลุ่มน�ำ้ โขง ได้เริ่มมีการเปิดประเทศเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนสินค้า จนน�ำมาสู่การพัฒนาเป็นภูมภิ าคภายใต้ แผนการ (The Greater Mekong Subregion: GMS) ของธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) จนน�ำไปสู่การ สร้างถนนเศรษฐกิจหลักสองเส้นอันได้แก่ โครงการระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้ (North-South Economic Corridor) และโครงการระเบียงเศรษฐกิจวันออกตะวันตก (East-West Economic Corridor) โครงการ ถนนเศรษฐกิจทั้งสองเส้นได้ท�ำให้เกิดการไหลเวียนของสินค้า ผู้คนและวัฒนธรรมในภูมิภาค พื้นฐานผู้เขียนได้พบกับความเปลี่ยนแปลงในช่วงที่ผู้เขียนก�ำลังศึกษาอยู่ในระดับอุดมศึกษา ของมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มีการก่อสร้างสะพานมิตรภาพไทย-ลาวแห่งที่ 2 จากมุกดาหารไปยัง
B E C O M I N G / 49
จังหวัดสะหวันนะเขตของลาวและเชื่อมไปยังด่านลาวบ๋าว (Lao Bao) เชื่อมไปยังจังหวัดกว่างตริ (Quang Tri) ของประเทศเวียดนาม และเชื่อมไปยังท่าเรือในจังหวัดดานัง (Da Nang) นอกจากเส้น ทางการขนส่งสินค้าไปยังท่าเรือแล้ว ด้านบนของจังหวัดดานั งยังมีเมืองหลวงโบราณ คือ เมืองเหว๋ (Hue) ซึ่งเป็นแหล่งท่อง เที่ยวทางประวัติศาสตร์ท่นี ักท่องเที่ยวมักให้การเยี่ยมเยียนศึกษา ประวัติศาสตร์ของเวียดนาม เลือกซื้อสินค้า และชิมอาหารตาม ร้านต่างๆ เป็นที่นยิ มกันในหมู่นกั ท่องเที่ยวกระแสหลัก ซึ่งเรา สามารถเห็นความเข้มข้นทางเศรษฐกิจได้จาก จ�ำนวนรถบรรทุก รถโดยสารประจ�ำทาง และรถบัสของกรุ๊ปทัวร์ที่ผ่านเข้าออกวันละ หลายคัน
จังหวัด เจ้าของห้างร้านและกิจการต่างๆ ชาวเวียดนาม นักศึกษา ชาวเวียดนาม และยังมีกงสุลใหญ่ของเวียดนามจากจังหวัด ขอนแก่น ความเชื่อมโยงของกลุ่มทางสังคมต่างๆ ทั้งในระดับ ภูมิภาค รัฐ และท้องถิ่นนี้เองที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ใช้ชาวเวียดนามในท้องถิ่นเชื่อมโยงกับภูมิภาค
นักศึกษาเหล่านี้ในช่วงแรกๆ รู้จกั และเสนอความต้องการ ในการศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคอีสานของไทย ผ่าน โครงการแลกเปลี่ยน ซึ่งพวกเขาเหล่านั้นได้มองเห็นถึงโอกาสที่ เกิดขึ้นจากกระแสทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของตลาดใน ภูมิภาคที่ก�ำลังเติบโตในช่วงเวลานี้ จึงได้ขอผู้บริหารมหาวิทยาลัย ราชภัฏเข้าเรียนในระดับอุดมศึกษา โดยเรียนภาษาไทยก่อน 7 ในเชิงวัฒนธรรมแล้วเราจะเห็นความผสมปนเปของ เดือนแล้วเข้าเรียนในระดับปริญญาตรีร่วมกับนักศึกษาในท้องถิ่น วัฒนธรรมที่เข้มข้นขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับยุคก่อนและหลังสงคราม หลายคนที่ก�ำลังศึกษาอยู่ต่างมีเหตุผลในการเข้ามาศึกษาที่หลาก เย็นที่เทคโนโลยีและศักยภาพในด้านการขนส่งภายในภูมภิ าค หลาย อาทิ รุ่นแรกของนักศึกษาที่มาเรียนไม่สามารถจะสอบเข้า ยังไม่ได้ปะทะประสาน (articulate) กับกระแสเศรษฐกิจแบบ มหาวิทยาลัยในเวียดนามได้ และหลายคนเห็นโอกาสของการ โลกาภิวัฒน์ (Globalization) การเข้ามาของผู้คนทั้งจากนักท่อง แสวงหาความรู้ประสบการของการอยู่ในประเทศไทย เพื่อที่จะ เที่ยวและผู้คนในภูมภิ าคท�ำให้เศรษฐกิจรวมเข้ากับตลาดในระดับ เข้าไปเป็นแรงงานและผู้ประกอบการในตลาดในระดับภูมิภาค ภูมิภาคมากขึ้น ในกลุ่มคนเหล่านี้ผู้เขียนได้พบเจอและสนใจใน ปัจจุบันมีนักศึกษาสามรุ่นที่จบออกไปและเข้าไปเป็นแรงงาน การเข้ามาเรียนในระดับอุดมศึกษาของหนุ่มสาวชาวเวียดนามใน ของบรรษัทที่เกี่ยวเนื่องกับการค้าการลงทุนของทั้งสองประเทศ มหาวิทยาราชภัฏต่างๆ ในภาคอีสานของประเทศไทยซึ่งปรากฎ เช่น บริษัทน�ำเข้า-ส่งออก โรงพยาบาลเอกชนในกรุงเทพฯ บริษัท ขึ้นหลักการสร้างถนนและสะพานเชื่อมของโครงการระเบียง ค้าเพชรพลอย และที่มีชื่อเสียงมาก คือ บริษัทการท่องเที่ยวที่รบั เศรษฐกิจตะวันออกตะวันตก นักศึกษาเหล่านี้ส่วนใหญ่แล้วอาศัย นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวเวียดนาม ปัจจุบันบัณฑิตเหล่า อยู่ภาคกลางของเวียดนามโดยเฉพาะจังหวัดกว่างตริที่เคยเป็น นี้ได้เริ่มสร้างเครือข่ายกับทั้งผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ และภาค จังหวัดที่ยากจนที่สุดแห่งหนึ่งของเวียดนาม การเริ่มเข้ามาศึกษา ธุรกิจการท่องเที่ยวในทั้งสามประเทศโดยผ่านทั้งความสามารถใน ในระดับอุดมศึกษาของไทย ซึ่งสอดคล้องกับการยกระดับของ การใช้องค์ความรู้ทไ่ี ด้ร�่ำเรียนและประสบการณ์ในการใช้ชวี ิตอยู่ใน สถาบันราชภัฏต่างๆ ทั่วประเทศขึ้นเป็น “มหาวิทยาลัย” เพื่อที่จะ พื้นที่ในระดับภูมิภาค (regional sphere) ของตนเอง ตามข้อสังเกต มีอิสระในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยได้มากขึ้น มหาวิทยาลัย จากพื้นที่ภาคสนามของผู้เขียนแล้ว จึงพอสรุปได้ว่า การเดินทาง ราชภัฏต่างๆ ในภาคอีสานของไทยก็เริ่มมีการเบี่ยงเป้าหมายของ เข้ามาศึกษาในระดับอุดมศึกษาของหนุ่มสาวชาวเวียดนามนั้น มหาวิทยาลัยเองไปสู่ระดับภูมิภาคซึ่งเป็นระดับที่กว้างขึ้น คือ การ เป็นหนึ่งในแรงผลักทางด้านทุนวัฒนธรรม ที่จะน�ำไปใช้ประโยชน์ สานสัมพันธ์กบั สถาบันการศึกษาต่างๆ ในประเทศสมาชิกในอนุในการสร้างงานและรายได้อนั เป็นแรงผลักทางเศรษฐกิจสอดคล้อง ภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง กับการพัฒนาในระดับภูมิภาค บัณฑิตเหล่านี้เองเป็นกลุ่มที่ขยาย ในจังหวัดอุบลราชธานีเองก็มีนักศึกษาเวียดนามจ�ำนวน ปริมณฑลของชีวิตตนเองให้อยู่ในระดับภูมิภาค ผ่านการหาความรู้ หนึ่งที่ก�ำลังศึกษาอยู่ท้งั ในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิต ประสบการณ์ และสร้างเครือข่ายทางสังคมและทางธุรกิจในระดับ ศึกษา ซึ่งผู้เขียนสนและได้ท�ำการวิจัยผ่านสัมภาษณ์และการ อนุภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง ซึ่งหลังปี 2008 การข้ามแดนและการศึกษา ท�ำแบบสอบถาม โดยเริ่มตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคมปี ค.ศ. 2013 ในภูมิภาคลุ่มน�้ำโขง มีแนวโน้มขยายออกไปสู่วาทกรรมประชาคม โดยได้ไปร่วมงานปีใหม่ของชาวเวียตเกี่ยว (Việt Kiểu) ที่โรงเรียน อาเซียนในปี 2015 สามัคคีวทิ ยา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ๆ กับนิคมชาวญวนเดิมซึ่งเข้ามาตั้ง รกรากในช่วงสงครามฝรั่งเศสโดยเฉพาะเหตุการณ์ท่าแขกแตกในปี 1946 ในงานมีผู้แทนจากทั้งสถานบันการศึกษา ส่วนราชการระดับ
B E C O M I N G / 50
A S E AN Reflection
อาเซียนในเรื่องสั้น วีรฉัตร แก้วประดิษฐ์
“ม้าบินของมาเรีย ปินโต” เป็นหนึ่งในความพยายามของ สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทยที่ได้น�ำเรื่องสั้นจากประเทศ สมาชิกอาเซียนสิบแปดเรื่อง จากสิบประเทศที่แปลเป็นภาษาไทย มาเข้าสู่ยทุ ธภพของนักอ่านชาวไทย ซึ่งต่อไปนี้พวกเราจะไม่ใช่แค่ คนไทยแต่เพียงอย่างเดียว เรายังจะเป็นคนอาเซียนด้วย ค�ำถาม มีอยู่ว่าอะไรบ้างที่ท�ำให้เราเป็นคนอาเซียน ผมคิดว่าหนึ่งในนั้นคือ วรรณกรรมของพวกเรา ผมอ่านหนังสือเล่มนี้จบแล้วพบความน่า สนใจของการอ่านวรรณกรรมเพื่อนบ้านจึงอยากน�ำมาแลกเปลี่ยน กันดังนี้ หลายท่านอาจคุ้นเคยกับตัวเอกที่ชื่อ วณิดา ปวรรุจ พุฒิภัทร แฮร์ร่ี จอห์น เซโกะ ริวซัง แต่ในหนังสือเล่มนี้เราจะพบกับ เหงวียน เทวหยี่ จมา ซะนีห์ฯลฯ ชื่อเหล่านี้ท�ำให้ผมสะดุดเวลา อ่าน แต่มนั ท�ำให้ผมรู้สกึ ใกล้ชิดกับตัวละคร ราวกับว่าเขาก็ใช้ชีวิต อยู่ข้างบ้านเรานี่เอง อีกทั้งตัวละครในเรื่องยังเดินทางจากบ้านไป ย่างกุ้ง หรือคนหนุ่มสาวอพยพจากบ้านนอกเข้ามาท�ำงานในกรุง กัวลาลัมเปอร์ สถานที่เหล่านี้ท�ำให้เกิดจินตภาพต่างไปจากตัว ละครที่เดินทางจากมิวนิคไปเบอร์ลิน หรือโอซากามาโตเกียว ถ้า อาเซียนอยากท�ำให้เกิดประชาคมแห่งการเชื่อมต่อกัน (Community of Connectivity) ผมคิดว่าการเชื่อมต่อกันทางมโนภาพถือเป็น ยุทธศาสตร์หนึ่งที่ส�ำคัญ
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะมาเคาะประตูบ้านเราในอีก ไม่กี่เดือนที่จะถึงนี้ เมื่อท่องไปในที่แห่งใดก็พบธงของชาติอาเซียน ปลิวไสว หลายภาคส่วนจัดกิจกรรมรณรงค์เตรียมพร้อมเข้าสู่ อาเซียนกันอย่างต่อเนื่อง ซึ่งก็เสมือนเครื่องเตือนสติว่าเรายังไม่ พร้อมกันสักเท่าไร เมื่อดูสามเสาหลักอาเซียนนั้น เรื่องเศรษฐกิจดู จะแข็งแรงที่สุด แต่ประชาคมทางวัฒนธรรมนั้นอ่อนแอเหมือนเด็ก ขาดโภชนาการ แม้จะมีรางวัลซีไรต์มาตลอดหลายสิบปี กลับพบ ว่าเราลิ้มลองรสชาติทางวรรณศิลป์ของกันและกันน้อยนิด เหตุผล อาจเป็นได้หลายแบบ เช่น เราไม่ใช่สงั คมการอ่าน? ภาษาที่ต่าง กันและเราไม่เคยได้เรียนรู้ภาษาของกันและกัน ไปจนถึงความรู้สกึ เปื้อนอคติที่ว่าบ้านเราดีกว่าและน่าสนใจกว่า...กล่าวคือเราเรียนรู้ และเข้าใจกันในทางวัฒนธรรมในระดับเบาบาง
เวลาเดินทางไปต่างประเทศ หรือบ้านอื่นเมืองอื่น ค�ำถามที่ ได้รับเมื่อกลับถึงบ้านคือ บ้านเขาต่างกับเราอย่างไร เรามักคิดว่า คนพวกนั้นกินไม่เหมือนเรา อยู่ไม่เหมือนเรา เราแสวงหาความ ต่าง เพราะมันน่าสนใจกว่า บางครั้งเราใช้ชีวิตด้วยการเปรียบ เทียบโดยไม่รู้ตวั เอาเข้าใจสิ่งที่เรามีเหมือนๆ กันนั้นถูกมองข้าม ความเชื่อและวิถีชีวิตประจ�ำวันคล้ายคลึงกัน ท่านเคยสงสัยกันหรือไม่ว่าคนลาวกินอะไรเป็นอาหารเช้า แล้วคนเวียดนามประกอบพิธีกรรมเช่นใดเมื่อมีคนเกิดและมีคน ตาย เราสัมผัสบรรยากาศเหล่านั้นได้ในเรื่อง ‘นายพลหลังเกษียณ’ แม้จะเป็นเรื่องสั้นแต่เรื่องราวเหล่านี้ครอบคลุมถึงระบบความ สัมพันธ์แบบเครือญาติ ประเพณีพิธกี รรมที่ยึดเหนี่ยวสังคมในยุค สมัยนั้น เหล่านี้เป็นวัฒนธรรมที่ท�ำให้เรามองเห็นวิถีการด�ำรงชีวติ ที่เหมือนกันอย่างฉงนหรือแตกต่างกันอย่างงดงาม รวมถึงเรื่อง ใหญ่ๆ อย่างการนิยามความเป็นชาติและคนในชาติ เรื่องสั้นเหล่า นี้ท�ำให้ผมมองเห็นความเป็นพม่า ความเป็นมาเลเซีย และความ เป็นอะไรอีกหลายอย่าง นอกเหนือขอบฟ้าความเป็นไทย และที่น่า สนใจเป็นอย่างยิ่งคือประเทศเพื่อนบ้านเขามองเราอย่างไรในเรื่อง “ซิ่นไหมผืนเก่าๆ” ในเรื่อง ปู่ของจมา เราเห็นปฏิบัติการของอคติ
B E C O M I N G / 51
เชิงชาติพันธ์ที่รัฐสร้างขึ้นต่อคนในชาติ เมื่อ ปู่ของจมาซึ่งเป็นวีรบุรุษต่อสู้กบั ทหารญี่ปุ่น เพื่อปกป้องแผ่นดินพม่า กลับถูกเจ้าหน้าที่ รัฐพูดว่า เขาไม่ใช่คนพม่า เพราะไม่มี มุสลิมพม่า (หน้า 57) ความน่าสนใจเหล่านี้ เราสามารถสัมผัสได้จากหนังสือเล่มนี้ อาจด้วยสาเหตุมาจากกระบวนการ คัดสรรเรื่องที่แปล หรือด้วยสาเหตุส�ำคัญ ของสังคมของผู้เขียน เรื่องสั้นส่วนใหญ่ยัง คงมีกลิ่นไอภูมหิ ลังทางประวัติศาสตร์การ ต่อสู้ที่ส่งผลกระทบต่อตัวละครไม่ว่าทางใด ทางหนึ่งไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้นจากเวียดนาม ลาว หรือพม่า ล้วนมีฉากหลัง หรือเศษ เสี้ยวของบรรยากาศของสงคราม ไม่ว่าจะ เป็นสงครามที่มอดดับแล้ว หรือสงครามที่ ก�ำลังเกิดขึ้น หากมิใช่สงครามร้อนอย่าง สงครามอินโดจีน สงครามพม่า-ญี่ปุ่น ก็ เป็น ‘สงคราม’ แบบใหม่อย่างสงคราม ทางเศรษฐกิจ ที่แรงกดดันทางเศรษฐกิจ ส่งผลต่อชีวิตอย่างส�ำคัญ ราวกับว่าคนใน ภูมิภาคนี้ใช้ชีวิตจากสงครามหนึ่งเข้าสู่อกี สงครามหนึ่ง ความรัก และความโรแมนติคใน จินตนาการของเพื่อนบ้านชาวอาเซียนนั้น เป็นอย่างไรแน่ เป็นสิง่ ที่น่าค้นหายิ่งนัก เรื่องสั้นแต่ละเรื่องได้บรรจุความงามทาง วรรณศิลป์เหล่านั้นไว้อย่างน่ารื่นรมย์ เราจะพบปมส�ำคัญของเรื่องราวความรักที่ ชาวอาเซียนมีร่วมกันคือความยากล�ำบาก จากแรงกัดดันทางเศรษฐกิจที่เผชิญร่วมกัน ไม่แน่ใจว่าประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะ เป็นแสงส่องของปมปัญหาในเรื่องสั้นที่เรา ได้อ่านกันในหนังสือเล่มนี้หรือไม่ ขอเชิญ ทุกท่านร่วมกันหาค�ำตอบใน ม้าบินของ มาเรีย ปินโต 18 เรื่องสั้นอาเซียนคัดสรร
AS E AN scape
เรื่องเหล้าจาก ติมอร์ตะวันออก อกนิษฐ์ หอรัตนคุณ
เรื่องต่อไปนี้คือเรื่องเหล้าจากติมอร์ตะวันออก ครั้งแรกที่ผมได้ชิมเหล้าพื้นเมืองของดิลี คือตอนที่มอน (Maun) คอสต้า หัวหน้า ทีมนักวิจัยของที่ท�ำงานผมชวนไปงานปาร์ต้ฉี ลองให้หลานชาย เพราะน้องได้รบั ทุน รัฐบาลไปเรียนต่อที่สหรัฐฯ ก่อนจะไปงาน เพื่อนในออฟฟิศต่างก็สรวลเสท้าทาย “นี่มอนไก่ ไปงานมอนคอส ต้า อย่าลืมดื่มทัว (tua) นะ ดื่มแล้วจะติดใจ” เมื่อผมถามว่าไอ้ “ทัว” ที่ว่านี่มันคือ อะไร คนทั้งที่ท�ำงานต่างก็หัวเราะชอบใจกันยกใหญ่ “ดื่มเองแล้วก็จะรู้” ตกเย็นเมื่อมาถึงบ้านมอนคอสต้า สิ่งแรกที่ผมเห็นจังเบ้อเร่อบนโต๊ะขนาดยาว ท่ามกลางอาหารติมอร์ละลาน คือถังพลาสติกสีแดงแป้ดใบโตปิดด้วยฝาสีขาว มอน คอสต้าเมื่อเห็นผมก็รีบเชิญเข้าบ้าน และพาไปที่ ‘ถังทัว’ ทันที เมื่อเปิดออกมา ปรากฏ เป็นน�้ำใสแจ๋ว ลอยแก้วด้วยแอปเปิ้ลเขียวและส้มซันคิสฝานบาง กลิ่นหอมโชยอ่อนๆ ของผลไม้และเหล้าหมักลอยออกมาท�ำเอาผมกลืนน�้ำลาย มอนคอสต้าไม่รอช้า ตักทัว ใส่แก้วแจกผมและเพื่อนอย่างรู้ใจ
B E C O M I N G / 52
หรือการคบค้าสมาคมทั่วไปในหมู่บ้าน ผู้คนต่างใช้ทวั ในการเชื่อมสัมพันธไมตรี สร้างสายใยเครือข่ายอุปถัมภ์เชื่อมโยง ระหว่างกัน การดื่มทัวจึงเป็นเรื่องที่ยากจะ หลีกเลี่ยงส�ำหรับคนติมอร์ ไม่สามารถใช้ สายตาคุณธรรมเบาหวิวจากคนภายนอก ตัดสินเอาได้ง่ายๆ ว่าการดื่มทัวเป็นเรื่องถูก หรือผิด ในการจัดงานฉลองทั่วไป นอกจาก ขนาดของงานฉลอง ปริมาณอาหาร และ ผ้าทาอิส (tais) ชั้นดีแล้ว ทัวยังเป็น เครื่อง ที่ 5 ถึง15 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ทัวที่ขาย ชี้วัดถึงสถานภาพทางสังคมของเจ้าภาพ ดื่มไปก็ถึงบางอ้อ ไอ้ทวั ที่ว่าก็คือ ปาล์มไวน์ ท�ำนองเดียวกันกับน�้ำตาลเมา ตามท้องทางข้างถนนทั่วไป บรรจุขายใน ว่ากันว่าในงานแต่งงาน นอกจากจ�ำนวน ขวดพลาสติกใช้แล้วขนาดครึ่งถึงหนึ่งลิตร สินสอดที่บ่งชี้ถึงสถานภาพครอบครัวของ บ้านเรานั่นเอง เรียกว่าทัวซาบู (tua sabu) เป็นทัวน�้ำสอง เจ้าบ่าวและความสวยงามของเจ้าสาว ที่ติมอร์ อย่าว่าถึงโรงต้มเหล้าบ่มเบียร์ ท�ำโดยน�ำทัวมูทนิ เข้ากระบวนการกลั่นอีก แล้ว (เพื่อนผมแซวว่า หากอยากจีบสาว ปกติเลย แม้แต่บริการสาธารณูปโภคพื้น รอบ ท�ำให้เจือจางและเพิ่มฤทธิ์แอลกอฮอล์ ติมอร์ที่ งามล�้ำเลิศ ต้องเตรียมหาควาย ฐาน อย่างโรงไฟฟ้า โรงประปา ก็เพิ่งจะ จนอยู่ท่ปี ระมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ขึ้นไป อาจ ห้าสิบตัวไว้ได้เลย และแน่นอนว่าควาย บูรณะสร้างกันขึ้นมาใหม่เพียงแค่ทศวรรษ ผสมด้วยกลิ่นอื่นๆ เพื่อกลบกลิ่นฉุนเหล้า ตัวนึงราคาแพงระยับ) ทัวชั้นดียังบ่งถึง เดียวภายหลังการยุติรุกรานของกองทัพ ให้อารมณ์ประมาณเหล้าต้มเหล้าขาวบ้าน สถานภาพครอบครัว เป็นสัญลักษณ์ที่ อินโดนีเซียเมื่อปี 2542 ดังนั้นถ้าจะหาเหล้า เรา สนนราคาอยู่ท่ขี วดละ 50 เซ็นทาโวส์ แสดงถึงการหลอมรวมระหว่างครอบครัว เบียร์ติมอร์บรรจุขวดเป็นเรื่องเป็นราวก็ลืม ของเจ้าบ่าวและเจ้าสาวเข้าด้วย กัน และ หรือ 50 เซ็นต์สหรัฐ แต่ด่มื สองสามแก้ว กันไปได้เลย นอกจากเหล้าเบียร์น�ำเข้า เป็นสัญลักษณ์ของการเชิญสิ่งใหม่ๆ เข้า อาจเมาแอ๋ล้มหน้าคว�่ำเอาได้ จากอินโดนีเซีย ออสเตรเลีย จีน ไทย หรือ มา ในที่น้คี ือครอบครัวของเจ้าสาว ให้เข้า ด้วยความที่ทั้งถูกทั้งหาง่าย ทัวจึง โปรตุเกสแล้ว คนติมอร์ก็อาศัยทัวพื้นบ้าน มาหลอมรวมกับครอบ ครัวของเจ้าบ่าว ทัว ราคาย่อมเยา กรีดกลั่นขายกันเองตามท้อง กลายเป็นประเด็นถกเถียง ถึงขนาดเป็น จึงเป็นสัญลักษณ์ของการหลอมรวมเป็น ถนนหรือโชว์ห่วย ดื่มเพื่อให้กรึ่มๆ หรือหาย เรื่องที่มีการศึกษาอย่างจริงจัง หนึ่งเดียวและความร่วมมือร่วมใจ ดังนั้น อยากเหล้ากันไป เหล้าน�ำเข้าจึงไม่ได้รับความนิยมในการใช้ การดื่มทัวในติมอร์เรียกได้ว่าเป็น ประกอบพิธีกรรม เพราะทัวเป็นสัญลักษณ์ เมื่อถามกับเพื่อนแถวนั้น ได้ความว่า วัฒนธรรมที่หยั่งรากลึก อายุเฉลี่ยของ ทางวัฒนธรรมที่แสดงถึงอัตลักษณ์ ของ ทัวที่ผมดื่มถือได้ว่าเป็นทัวชั้นดีขึ้นมาหน่อย คนติมอร์ท่เี ริ่มดื่มทัวทั่วไปคือ 12 ปี ทั้งนี้ เรียกว่าทัวมูทิน (tua mutin) เป็นทัวน�้ำแรก ผู้ใหญ่อาจเป็นคนที่ชวนเด็กให้เริ่มดื่มทัวใน การเป็นคนชาติและความเป็นหนึ่งเดียวกัน กรีดออกมาจากต้นปาล์มซาโกหรือต้นปรง บ้าน เพื่อเป็นการเตรียมตัวลูกหลานเข้าสู่ ของชาวติมอร์ สาคูบ้านเรา แล้วน�ำมาบ่มจนได้ท่ี ปรุงแต่ง การคบค้าสมาคมกับชุมชน ทัวเป็นสิ่งที่ใช้ ในระดับหมู่บ้าน ผู้เถ้าผู้แก่หรือผู้ ประกอบพิธีกรรมมากมายไม่ว่าจะเป็นการ อาวุโสหมู่บ้านซึ่งส่วนใหญ่เป็นผู้ชาย จะ ด้วยน�ำ้ ผึ้ง ดอกไม้ ผลไม้ หรือกลื่นอื่นๆ ฉลองฤดูเก็บเกี่ยว งานขึ้นบ้านใหม่ (uma เป็นผู้น�ำงานฉลองหมู่บ้านและน�ำดื่มทัว อันนี้สูตรใครสูตรมัน ออกมาเป็นทัวหอม หวาน ปริมาณแอลกอฮอล์ไม่สูงมากนักอยู่ lulik) การเจรจาธุรกิจ การเมืองระดับชาติ
B E C O M I N G / 53
เพื่อเป็นการเคารพพระเจ้าและบรรพบุรุษ ทัวยังเป็นสิ่งที่ใช้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่คุ้มครอง พื้นที่ธรรมชาติป่าเขาหรือทาราบันดู (tara bundu) นอกจากนี้ ในบริเวณบางพื้นที่ของ ประเทศ เช่น แถวเมืองมอบิสซี (Maubisse) ซึ่งเป็นเมืองม่านหมอกบนภูเขา ห่างจาก ดิลีมาทางใต้ประมาณสามชั่วโมงขับรถใน แถบนั้นทัวเป็นที่นิยมดื่มหลังการคลอดของ แม่ เพื่อเป็นการชะล้างสิง่ สกปรกออกจาก ร่างกาย และเพิ่มอัตราการไหลเวียนของ เลือด แน่นอนว่าการดื่มทัวอย่างแพร่หลาย ย่อมเป็นดาบสองคม แรงกระทบที่ส�ำคัญ ของทัวคือการเพิ่มอัตราความขัดแย้งโดย เฉพาะในระดับเยาวชน ข้อมูลของยูนเิ ซฟ ระบุว่า ประชากรเกือบครึ่งหนึ่งของติมอร์ มีอายุต�่ำกว่า 18 ปี และอัตราการตั้งครรภ์ โดยเฉลี่ยของผู้หญิงติมอร์หนึ่งคนตลอด ช่วงอายุการตั้งครรภ์อยู่ท่ี 6 ครั้งต่อคน ซึ่ง
เป็นอัตราที่สูงที่สุดในอาเซียน และเกือบ ติดอันดับสูงที่สุดในโลก สาเหตุส่วนหนึ่ง เพราะติมอร์เป็นประเทศที่ผู้คนส่วนใหญ่ นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก อย่างเคร่งครัด การคุมก�ำเนิดจึงไม่ได้รบั ความนิยมและเครื่องมือคุมก�ำเนิดยังเข้า ไม่ถึงประชากรในบริเวณพื้นที่ที่ห่างจาก เมืองหลักของแต่ละเขต นั่นหมายความ ว่า ติมอร์เป็นประเทศทีม่ ีปริมาณเยาวชน มหาศาล และความรุนแรงทั่วไปบนท้อง ถนน เช่น การยกพวกตีรนั ฟันแทง (ที่นยิ ม ใช้คือมีดมาเช็ท) หรือการทะเลาะเบาะแว้ง ทั่วไป ก็มีทวั เป็นหนึ่งในปัจจัยหนุนเพิ่ม อัตราความขัดแย้ง ด้วยการหาซื้อทัวเป็น เรื่องที่ท�ำได้ง่าย เพราะไม่มกี ฎหมายเกี่ยว กับการดื่มสุราบังคับใช้ หาซื้อง่ายถึงขนาด ที่มีครั้งหนึ่ง ผมจ่ายเงินซื้อขวดน�้ำเปล่าใน ร้านของช�ำปากซอยหน้าบ้าน แต่กลับได้ เป็นทัวมาแทน เพราะราคาแทบจะไม่ต่าง
กัน การดื่มทัวจึงท�ำได้ตลอดเวลา และการ ดื่มจนเมามายก็เป็นเรื่องที่พบได้ไม่ยาก เพราะปริมาณแอลกอฮอล์ท่สี ูงลิบของทัว ซาบูและความถูกของมัน ด้วยเหตุผลที่เล่ามา เรื่องหนึ่งที่น่า หวั่นในดิลี คือการเดินบนท้องถนนยาม ค�่ำคืน นอกจากดิลีจะเป็นเมืองที่ไม่มีแสง ไฟบนท้องถนนแล้ว การพบเจอเด็กวัยรุ่น รวมตัวกันเป็นกลุ่มบนถนนก็ไม่ใช่เรื่องที่ ผิดแปลกอะไร แต่บรรยากาศที่คนต่าง ชาติหรือมาลาย (malai) อย่างผมสัมผัสได้ เพื่อพบเจอกับกลุ่มวัยรุ่นบางกลุ่มกลับเป็น ความรู้สกึ ใจเนื้อเต้นไม่อยู่กบั ตัว ประสาท สัมผัสได้ถึงความไม่ปลอดภัยที่อาจเกิดขึ้น เช่นเดียวกับเหตุอาชญากรรมที่พบในหน้า หนังสือพิมพ์ติมอร์ไม่เว้นวัน และบริเวณ แถวบ้านพักของผมก็เป็นที่รวมตัวยอดนิยม ยามค�ำ่ คืนของกลุ่มวัยรุ่นขนาดใหญ่หลาย กลุ่ม เป็นบริเวณพื้นที่สีแดง รัฐบาลติมอร์ ได้จัดให้ปัญหาความรุนแรงที่เกิดจากกลุ่ม วัยรุ่นเป็นปัญหาระดับชาติ ทัวเป็นส่วนหนึ่งของรากฐานทาง วัฒนธรรมที่สั่งสมมาอย่างยาวนาน แต่ในสภาพสังคมติมอร์ โดยเฉพาะ หลังเกิดความขัดแย้งขนานใหญ่และ สงครามกลางเมือง ในอีกด้านหนึ่งทัวจึง มีส่วนส�ำคัญในการเพิ่มความเสี่ยงต่อการ เกิดความรุนแรง และความขัดแย้งระหว่าง ผู้คนในสังคม ดังนั้น หากผมมองเห็นขวดทัวและ เสียงเมามายโหวกเหวกมาแต่ไกล ก็ต้อง เลี่ยงไปเดินทางอื่น หรือไม่ง้นั ก็ตัวใครตัว มัน!
B E C O M I N G / 54
ทันศิลป์
AS E AN Ar t U pdate
จาก GMS สู่ ASEAN: การขยายความเป็นไปได้ ทางศิลปะวัฒนธรรม? สุทธิรัตน์ ศุภปริญญา
เมื่อสิบปีก่อนหลายโครงการศิลปะวัฒนธรรมระหว่างชาติ ในประเทศไทยที่มีจุดประสงค์จะสร้างความร่วมมือระหว่าง ประเทศในแถบลุ่มแม่น�้ำโขงตอนล่าง หรือ GMS- Greater Mekong Subregion ล้วนได้รบั ทุนสนับสนุนทั้งจากรัฐและเอกชน ทุนจาก ต่างประเทศ ทั้งญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกา ภูมภิ าค GMS ประกอบ ด้วย ประเทศไทย เขมร ลาว เมียนมาร์ เวียดนาม มณฑลยูนนาน และเขตปกครองตนเองกวางสีในประเทศจีน ความสัมพันธ์ทาง ศิลปะวัฒนธรรมที่ได้เริ่มสร้างร่วมกันนั้นมิได้เกิดมาอย่างบังเอิญ แต่เกิดจากการริเริ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่ม แม่นำ�้ โขง (Greater Mekong Subregion Economic Cooperation) ตั้งแต่ปี 2535 (ค.ศ.1992) โครงการนี้ได้รับเงินอุดหนุนจาก ธนาคาร เพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย หรือ ADB ในการพัฒนาสาธารณูปโภค ขั้นพื้นฐานหลายแขนง โดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมทางถนน แต่ก็ รวมถึงระบบไฟฟ้า โทรคมนาคม สิ่งแวดล้อม และกฎหมาย
ผลงาน Monument of Round Trays โดยศิลปินเวียดนาม Ly Hoang Ly ที่เข้าร่วมนิทรรศการ Identity Versus Globalization? ในปีพ.ศ. 2547
แวดล้อมเมื่อทั้งโลกมีการตื่นตัวเรื่องโลกร้อน แต่กย็ ังมีกองทุน ย่อยของกองทุนนี้ คือ เอเชี่ยน เคลเจอราล เคาน์ซลิ ที่สนับสนุน โครงการวัฒนธรรมระหว่างประเทศเอเชียและสหรัฐอเมริกา อยู่ อย่างไรก็ตาม แม้จะลดการสนับสนุนลง แต่การเชื่อมความ สัมพันธ์ได้เกิดขึ้นแล้ว เรื่องราวต่างๆ ที่เคยถูกกดทับเอาไว้ต้งั แต่ ยุคอาณานิคม ซึ่งแยกผืนดินของภูมิภาคนี้ออกเป็นประเทศต่างๆ ได้ถูกถ่ายทอดต่อกันในรูปศิลปะแบบต่างๆ อย่างเช่น งานทัศนศิลป์ ศิลปะการเต้นร�ำ การแสดง ดนตรี และวรรณกรรม
กองทุนต่างประเทศอีกแห่งที่ยังสานต่อความสัมพันธ์ระหว่าง ภูมิภาคเอาไว้กค็ ือ กองทุนฟอร์ดและเอเชี่ยน เคลเจอราล เคาน์ ซิล ซึ่งสนับสนุนอาร์ท เน็ตเวิร์ค เอเชีย ในการให้ทนุ ขนาดกลาง และขนาดเล็กในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนท�ำงานด้าน วัฒนธรรมในเอเชีย องค์กรนี้เริ่มก่อตั้งเมื่อปี 2542 (ค.ศ.1999) และ ยังด�ำเนินการมาจนถึงปัจจุบัน มีส�ำนักงานอยู่ท่ปี ระเทศสิงคโปร์ การปลุกความสนใจทางศิลปะวัฒนธรรมในลุ่มแม่น้�ำโขงเห็น โครงการที่อยู่ในความสนใจของกองทุนนี้เป็นโครงการที่เกี่ยวกับ ได้ชัดเจนมากในช่วงระหว่างปี 2544-2551 (ค.ศ.2001-2008) ภาย ความร่วมมือระหว่างประเทศภูมภิ าคเอเชียอาคเนย์รวมทั้งประเทศ จีน หลังกองทุนที่เคยสนับสนุนก็เริ่มเปลี่ยนความสนใจไปเรื่องอื่นๆ เช่น กองทุนร็อกกี้ เฟลเลอร์ หันไปสนับสนุนโครงการทางสิ่ง
B E C O M I N G / 55
พิธีเปิดนิทรรศการ Riverscape In Flux ที่ Metropolitan Museum of Manila ประเทศฟิลปิ ปินส์ ในปีพ.ศ. 2556
ผลงาน Misconception โดยศิลปินมาเลเซีย Zaid Omar ที่เข้าร่วม นิทรรศการ Identity Versus Globalization? ใน ปีพ.ศ. 2547
กรอบความร่วมมือระหว่างชาติที่ยึดตามภูมศิ าสตร์ลุ่มน�้ำ โขงดูเหมือนจะเริ่มจางลงไป แต่ถูกขยายความร่วมมือให้กว้าง ขึ้นด้วยการรวมตัวของประชาคมอาเซียน โดยมี 2 นิทรรศการ ใหญ่ที่อาจจะเป็นการส่งท้ายแนวทางนี้ อันได้แก่ UNDERLYING: Contemporary Art Exhibition from the Mekong Sub-Regionในปี 2550 (ค.ศ.2007) มีมหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นเจ้าภาพ และได้ รับการสนับสนุนโดยกองทุนร็อกกี้ เฟลเลอร์ โดยมีสถาบันเกอเธ่ สนับสนุนในส่วนกิจกรรมทางการศึกษา โดยเป็นนิทรรศการที่เดิน ทางไปแสดงใน 4 ประเทศในกลุ่ม “อุษาคเนย์แผ่นดินใหญ่” อีก งานหนึ่งคือ งานนิทรรศการนานาชาติรายสามปี เอเชียแปซิฟิก ไทรอเนียล ครั้งที่ 6 ที่มีการจัดแสดงผลงานกลุ่มศิลปินที่มาจาก ลุ่มแม่น้ำ� โขง ที่หอศิลปะควีนส์แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย ใน ปี2552 (ค.ศ.2009) แม้ว่าการพูดถึงเรื่องการร่วมมือทางวัฒนธรรมระหว่าง ภูมิภาคเอเชียอาคเนย์จะยังไม่ชัดเจนนักในทศวรรษที่แล้ว แต่การ เกิดขึ้นของนิทรรศการศิลปะIdentities Versus Globalization? ก็ เป็นหมุดหมายส�ำคัญในการรวมศิลปิน และผลงานที่โดดเด่นของ ภูมิภาคอุษาคเนย์ทุกประเทศเป็นครั้งแรก และยังเป็นครั้งเดียวใน ประวัติศาสตร์ นิทรรศการนี้จัดโดย มูลนิธิไฮริคช บอลล์ ซึ่งเป็น กองทุนจากพรรคเขียว ประเทศเยอรมนี ซึ่งในขณะที่จัดนิทรรศการ ขึ้นในปี 2547 (ค.ศ. 2004) นั้น ส�ำนักงานใหญ่ยงั ตั้งอยู่ในจังหวัด เชียงใหม่ จึงเริ่มเปิดแสดงครั้งแรกที่เชียงใหม่ ตามด้วย กรุงเทพฯ และกรุงเบอร์ลนิ ประเทศเยอรมนี ศิลปินทั้งที่มีช่อื เสียงและหน้า ใหม่ของแต่ละประเทศได้มโี อกาสได้พบปะแลกเปลี่ยนความเห็นซึ่ง กันและกัน คุณจอมเพ็ท คุสวิดานานโต ศิลปินชาวอินโดนีเซีย ผู้ ซึ่งปัจจุบันมีชื่อเสียงมากท่านหนึ่งในเอเชีย เคยบอกกับผู้เขียนว่า
นิทรรศการนี้ท�ำให้เขาได้ร่วมแสดงผลงานในต่างประเทศเป็นครั้ง แรก ต่อมา หลังจากที่ผู้นําอาเซียน10 ประเทศ ได้ลงนามรับรอง กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)ในปี 2550 (ค.ศ. 2007) อันมี ผลให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีสถานะเป็นนิติบุคคลในฐานะที่เป็น องค์กรระหว่างรัฐบาล กฎบัตรอาเซียนกลายเป็นหลักการของการ สร้างประชาคมอาเซียนด้วยข้อผูกมัดของข้อตกลงทางกฎหมาย ร่วมกัน โดยมีการวางแผนให้มกี ารรวมตัวของประชาคมอาเซียน ภายในปี 2558 (ค.ศ. 2015) ความเคลื่อนไหวของการร่วมมือทาง ด้านวัฒนธรรมในภูมิภาคก็เริ่มก่อตัวชัดเจนขึ้น การศึกษาในหลาย สถาบันเริ่มเปลี่ยนจากสถาบันไทยศึกษา และแม่โขงศึกษา มา เป็นอุษาคเนย์ศกึ ษา หรือ Southeast Asian Studies เกิดกิจกรรม เทศกาล หรือ นิทรรศการที่มาจากภูมิภาคมากขึ้น ในปี 2555 (ค.ศ. 2012) สถาบันเกอเธ่ในภูมภิ าคร่วมกันจัด โครงการ Riverscape in Flux ซึ่งท�ำงานร่วมกับภัณฑารักษ์ และ ศิลปินจากประเทศต่างๆ สร้างผลงานศิลปะและนิทรรศการ เกี่ยวกับแม่น้ำ� ขึ้น มันท�ำให้เราได้เห็นภาพชีวิต ความเป็นอยู่และ สถานการณ์ปัจจุบันของแม่น้�ำในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิทรรศการนี้เดินทางไปแสดงในประเทศ เวียดนาม ไทย เขมร ฟิลิปปินส์ และ อินโดนีเซีย หลังจากนั้นอีกหนึ่งปีโครงการริเริ่มโดย เจแปนฟาวด์เดชั่ น เนื่องในโอกาสครบรอบ40 ปี ความร่วมมือญี่ปุ่น-อาเซียน ส�ำนักงานใหญ่ท่โี ตเกียวก็ได้เชิญภัณฑารักษ์รุ่นเยาว์จากประเทศ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไปอบรมปฏิบัติการที่โตเกียวพร้อมทั้ง ผสานความร่วมมือในการจัดนิทรรศการทางด้านสื่อใหม่ข้นึ มา
B E C O M I N G / 56
ผลงานบางส่วนของนิทรรศการ Riverscape In Flux ที่ Metropolitan Museum of Manila ประเทศฟิลปิ ปินส์ ในปีพ.ศ. 2556
โดยใช้ช่อื ว่า Media/ Art Kitchen: Reality Distortion Field โดยแต่ละประเทศได้เชิญศิลปินรุ่นเยาว์ท่โี ดดเด่นผลิตผลงานใหม่ รวมทั้งคัด เลือกผลงานสื่อศิลปะจากศิลปินญี่ปุ่นมาร่วมแสดงด้วยนิทรรศการนี้เน้นการมีส่วนร่วมของศิลปินและผู้ชมผ่านกิจกรรมย่อยต่างๆ ทั้งยัง มีกิจกรรมต่อเนื่องอื่นๆ หลังจากนิทรรศการจบไปแล้ว เช่นการเชิญศิลปินที่ร่วมโครงการไปมีประสบการณ์ในประเทศญี่ปุ่นในลักษณะ ศิลปินในสถานพ�ำนักเป็นต้น ยุทธศาสตร์ในการประสานความสัมพันธ์ทางศิลปะวัฒนธรรมของญี่ปุ่นมีชั้นเชิงที่มีหลากหลายระดับและ เป็นมืออาชีพมาก เนื่องจากได้คณ ุ โอกามูระ เคโกะ ภัณฑรักษ์มากประสบการณ์จาก มิวเซียมภาพถ่ายมหานครโตเกียว มาเป็นหัวหน้า ใหญ่ของโครงการ นอกจากนี้ ยังมีนิทรรศการที่จัดแสดงผลงานศิลปินที่มาจากภูมภิ าคอุษาคเนย์โดยองค์กรในประเทศในช่วงเวลาเดียวกันอีกคือ “ร่องรอย” ที่หอศิลป์บ้านจิมทอมป์สัน ในปี 2555 และ “มโนทัศน์ บริบท การต่อต้าน: ศิลปะและส่วนรวมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ในปีถดั มา ความริเริ่มใหม่อีกครั้งได้เกิดขึ้นที่ประเทศไต้หวัน ในปี 2555 กลุ่มศิลปินไทยและไต้หวันได้ริเริ่มสร้างโครงการแลกเปลี่ยนศิลปินทั้ง สองประเทศ โดยกลุ่มศิลปินไต้หวันสิบกว่าชีวิตหมุนเวียนกันมาอาศัยที่กรุงเทพฯ ในเวลาทั้งหมด6 เดือน สร้างกิจกรรมและความร่วม มือต่างๆ กับศิลปินไทยและลงท้ายด้วยนิทรรศการร่วมกัน ในทางกลับกันศิลปินไทยก็ได้มโี อกาสเดินทางไปประเทศไต้หวันเช่นกันใน เวลาถัดมา ทั้งหมดแสดงผลงานร่วมกันอีกครั้งที่เมืองไทเป โดยใช้ช่อื โครงการว่า Thaitai: A Measure of Understanding นอกจากนั้น การรวมตัวของภัณฑารักษ์และคนท�ำงานทางศิลปะอื่นๆ ที่มีพื้นฐานเป็นนักจัดการซึ่งใช้ช่อื กลุ่มว่า เดอะเอาท์ไซต์ เดอร์แฟคทอรี่ ซึ่งมีปรัชญาในการท�ำงานที่น่าสนใจมากคือมุ่งเน้นการแนะน�ำศิลปะร่วมสมัยที่ไม่ใช่แบบตะวันตก และช่วยศิลปินไต้หวัน ไปสู่เวทีโลกโดยใช้เวลาและร่วมกระบวนการการผลิตกับศิลปินแล้วหาความเป็นไปได้ในการคิวเรทนิทรรศการศิลปะเช่นเดียวกับกลุ่ม แรก พวกเขาเริ่มท�ำงานกับศิลปินเวียดนามในปี 2555 และวางแผนจะขยายไปประเทศอินโดนีเซีย ผู้อ�ำนวยการของกลุ่ม คุณโนบุโอะ ทาคาโมริ ได้ให้ความเห็นไว้อย่างน่าฟังว่า “ญี่ปุ่นนั้นเป็นอดีตของไต้หวัน (เนื่องจากเคยเข้ามาปกครอง) แต่ประเทศเอเชียอุษาคเนย์
B E C O M I N G / 57
ผลงานบางส่วนของเทศกาลศิลปะ โคกาเนโจบาซ่าร์ ผลงานชื่อ An Attempt โดยศิลปิน อินโดนีเซีย ยา ย่า ซุง
คืออนาคตของเรา” คนกลุ่มเล็กๆ เหล่านี้ได้สร้างความตื่นตัวต่อวัฒนธรรมของประเทศทางทิศใต้ ทั้งสองโครงการเป็นจุดเริ่มของความ สัมพันธ์ทางด้านศิลปะวัฒนธรรมของไต้หวันและภูมิภาคอีกครั้ง ก่อนที่กระทรวงวัฒนธรรมไต้หวัน จะได้รบั แรงกระเพื่อมในการเปิดให้ สมัครทุนเฉพาะเพื่อเชิญผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัฒนธรรมจากประเทศในอุษาคเนย์ มาท�ำกิจกรรมในประเทศได้ในวงเงินไม่เกิน 500,000 NT หรือประมาณ ห้าแสนกว่าบาทต่อโครงการ เมื่อเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา ฉันได้รับเชิญไปร่วมสัมมนา ทางอื่น หรือ Alternative Route ที่เป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลศิลปะ โคกา เนโจบาซ่าร์ เมืองโยโกฮาม่า ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งฉันได้เคยเข้าร่วมในฐานะศิลปินเมื่อปี 2554 (ค.ศ. 2011) แล้วหลังจากนั้นก็เป็นภัณฑารักษ์ร่วม ใน 2 และ 3 ปีถดั มา การสัมมนาได้เริ่มจัดขนานกันไปกับเทศกาลตั้งแต่เมื่อปีที่แล้ว โดยเน้นการร่วมงานกับองค์กรทางเลือก ทางศิลปะขนาดเล็กแต่เป็นลักษณะท�ำงานร่วมกับชุมชนในประเทศแถบตะวันออกเฉียงใต้เป็นหลัก โดยมีองค์กรจาก เชียงใหม่ ยอกยา การ์ตา โฮจิมินห์ซติ ีและมะนิลา เสริมไปกับ องค์กรจากไต้หวัน และจีน ในปีน้แี ม้จะมีองค์กรจากกรุงโซล ประเทศเกาหลี เข้าร่วมด้วย แต่ไฮไลท์หลักๆ ก็ยังอยู่ท่เี อเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเห็นได้จากจ�ำนวนศิลปินที่ถูกเชิญมาร่วมแสดง และการกล่าวเปิดตัวสัมมนาวัน แรก ที่ช่อื ว่า เอเชีย บิทส์ โดยให้คณ ุ อันตาริคซานักวิจัยจากศูนย์วฒ ั นธรรมศึกษาคุนจิ แห่งเมืองยอกยาการ์ตา มาเล่าผลงานวิจัยของ เขาที่เกี่ยวกับศิลปะอินโดนีเซียในช่วงการยึดครองของญี่ปุ่นบนอาณาจักรอินโดนีเซียช่วงปี 1940’s ซึ่งมันท�ำให้เห็น มุมมองด้านบวกต่อ ญี่ปุ่นว่าได้หยิบยื่นการศึกษาศิลปะให้ในขณะที่ปกครอง และพื้นฐานความคิดเรื่องการท�ำงานโดยการรวมกลุ่มที่ท�ำงานร่วมกับชุมชนที่ เป็นรากวัฒนธรรมเดิมของอินโดนีเซียนั้นตอบรับความคิดแบบ Genba-shugi ของญี่ปุ่นได้อย่างมีนัยส�ำคัญ ส่วนการเสนองานวิจัยของ ดร. มาซาโตะ คาราชิมะ จากมหาวิทยาลัยควันไซ กาคุอิน ก็มีความน่าสนใจ เขาพูดถึงการพัฒนาความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมและ เศรษฐกิจของญี่ปุ่นกับประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ช่วงสงครามเย็นญี่ปุ่นได้กลายเป็นคนกลางระหว่าง สหรัฐอเมริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เกิดสามเหลี่ยม US-JAPAN-SEA ขึ้น เพื่อป้องกันการก่อตัวของคอมมิวนิสต์ แต่น้นั ก็ได้ยำ�้ เตือนความสัมพันธ์อันดีระหว่างญี่ปุ่นและอินโดนีเซียให้โดดเด่นอีกครั้ง วัฒนธรรมยังถูกใช้เป็นการเชื่อมไมตรีที่เป็นมิตรอย่างละมุนละม่อม ทั้งกระตุ้นความสนใจคลั่งไคล้ แปรประวัติศาสตร์ และสร้าง ภาพใหม่ให้กบั ความสัมพันธ์ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นในกรอบ GMS หรือ ASEAN และประเทศอื่น การเข้าใจบริบทต่างๆ ที่แวดล้อมของ การเข้ามาของวัฒนธรรมใหม่น้ี น่าจะท�ำให้เราเข้าใจความผันแปรของสังคมโลก เพื่อปรับตัวไปกับความเปลี่ยนแปลงที่ก�ำลังจะมาถึง
B E C O M I N G / 58
BOOK Review
ปริทัศน์หนังสือ
คาราวานและพ่อค้าทางไกล: การ ก่อเกิดรัฐสมัยใหม่ในภาคเหนือของ ไทยและดินแดนตอนในของ เอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ แบบรัฐสยามในระยะที่สอง (ค.ศ.1911-1939) โดยพิจารณาผ่าน การค้าข้ามพรมแดน และการค้าทางรถไฟ การเกิดขึ้นของพื้นที่ ชายแดน และการค้าข้ามพรมแดนการขยายโครงสร้างพื้นฐานและ การแบ่งเขตการปกครอง การค้าทางรถไฟ ค.ศ.1911-1939 การ เปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจการค้าในภาคเหนือ การค้าชายแดนเป็นเหมือนกุญแจน�ำไปสู่ความเข้าใจการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบของรัฐบริเวณตอนในของเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้ภาคพื้นทวีป การขยายอ�ำนาจอาณานิคม และการแข่งขันทาง อ�ำนาจระหว่างสยามกับอาณานิคม และน�ำไปสู่การปรับเปลี่ยน รูปแบบของรัฐบริเวณตอนในระยะแรก ซึ่งต่างฝ่ายต่างไม่สามารถ ปฏิบัติการทางอ�ำนาจได้อย่างมีประสิทธิภาพมากนัก อย่างไร ก็ตามรัฐอาณานิคมอย่างพม่าของอังกฤษ ประสบความส�ำเร็จ ในการขยายตลาด และเส้นทางการค้า เพื่อเชื่อมโยงการค้าข้าม พรมแดนก่อนสยาม นั่นท�ำให้การค้าล้านนาและดินแดนตอนใน เนื้อหาในหนังสือได้กล่าวถึงผู้คน สินค้า เครือข่าย และ เชื่อมกับตลาดมะละแหม่ง ท�ำให้สินค้าสมัยใหม่กระจายเข้าสู่ พรมแดนการค้าบนเส้นทางยูนนานกับดินแดนตอนในของเอเชีย ตลาดตอนในรวมถึงเงินรูปี และน�ำไปสู่การขยายตัวของสินค้า ตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงก่อนสมัยใหม่ ถึงคริสต์ศตววรษที่ 19 เมือง ภายในท้องถิ่นทั้งไม้สกั และปศุสัตว์ ส่วนการขยายเส้นทางรถไฟ และตลาดส�ำคัญ บนเส้นทางยูนนาน-ดินแดนตอนในของเอเชีย สายเหนือของสยาม แสดงถึงการปรับเปลี่ยนรูปแบบของรัฐระยะที่ ตะวันออกเฉียงใต้ การค้าแบบคาราวาน และการแลกเปลี่ยน น�ำ สอง เมื่อสยามเป็นฝ่ายประสบความส�ำเร็จในการสร้างตลาด และ มาสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบรัฐระยะแรก (ค.ศ.1850-1911) ความ เส้นทางการค้าใหม่ อันหมายถึงการเปลี่ยนแปลงเส้นทางการค้าที่ เคลื่อนไหวของการค้า ผู้คน และสินค้า การปรับตัวของเครือข่าย พม่าของอังกฤษได้เริ่มไว้ก่อนหน้า คือเส้นทางการค้าระหว่างมะละ ความสัมพันธ์ทางการค้า การปะทะสังสรรค์ของอ�ำนาจบริเวณ แหม่งกับล้านนา มาสู่การค้าของล้านนากับกรุงเทพมหานคร ชายแดน การแข่งขันระหว่างอาณานิคมอังกฤษและฝรั่งเศสบน ส�ำหรับผู้ท่สี นใจประวัติศาสตร์การก่อเกิดรัฐสมัยใหม่ในภาค เส้นทางการค้ามุ่งสู่ยูนนาน การปรับเปลี่ยนรูปแบบรัฐสยามระยะ แรก (ค.ศ.1850-1911) ซึ่งศึกษาในประเด็นการจัดการปกครองของ เหนือของไทยและดินแดนตอนในของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไม่ ควรที่จะพลาดหนังสือคาราวานและพ่อค้าทางไกล: การก่อเกิดรัฐ รัฐสยาม และความเคลื่อนไหวในล้านนา การพิจารณาการปรับ เปลี่ยนอ�ำนาจรัฐสยามในหัวเมืองประเทศราช การปรับเปลี่ยนรูป สมัยใหม่ในภาคเหนือของไทยและดินแดนตอนในของเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ เล่มนี้เป็นอย่างยิ่ง
B E C O M I N G / 59
มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพล เหนือดินแดนและพันธกิจเผยแผ่ อารยธรรมในอุษาคเนย์ ท้าทายใหม่ๆ ในความสัมพันธ์ระหว่างจีนกับลุ่มน�้ำโขงโดยเน้น ประเด็นการลงทุน การค้า ความช่วยเหลือต่างประเทศ จีนอพยพ รุ่นใหม่ และผลกระทบของประเด็นเหล่านี้ในลุ่มน�้ำโขง
มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและพันธกิจ เผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์ เป็นรายงานวิจัยของ ศาสตราจารย์ ดร.ยศ สันตสมบัติ ที่น�ำเสนอบทวิเคราะห์ผลกระทบว่าด้วยการ เรืองอ�ำนาจของจีนที่มีต่อลุ่มแม่น้�ำโขงในแง่ต่างๆ ซึ่งเป็นประเด็น ร่วมสมัยที่ส�ำคัญอย่างยิ่ง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่าง รวดเร็วและต่อเนื่องในช่วงกว่าสามทศวรรษที่ผ่านมา ท�ำให้จีน เป็นมหาอ�ำนาจใหม่ท่มี ีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ การเป็นประเทศ ใหญ่ที่มปี ระชากรมากที่สุดในโลก และมีเศรษฐกิจเป็นอันดับสอง ของโลก ท�ำให้จีนกลายเป็นตัวแสดงที่ส�ำคัญบนเวทีโลกและเวที ภูมิภาค จีนกับลุ่มน�้ำโขงมีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจอย่างแนบ แน่น แม้กระนั้นก็ดี สัมพันธภาคระหว่างจีนกับลุ่มน�้ำโขงมีความ ซับซ้อนและคาบเกี่ยวพัวพันกับประเด็นทางการเมืองและสังคม วัฒนธรรมอื่นๆ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของ จีน มาพร้อมกับปัญหาสภาพแวดล้อม การแสวงหาความมั่นคง ทางพลังงานและวัตถุดิบในภูมภิ าคต่างๆ ทั่วโลก อีกทั้งการพัฒนา กองทัพสู่ความทันสมัย ล้วนแล้วแต่สร้างประเด็นปัญหาท้าทาย ใหม่ๆ ให้แก่ประเทศเล็กๆ ผู้ด้อยอ�ำนาจในลุ่มน�้ำโขง ปัญหา ท้าทายใหม่ท�ำหน้าที่ทั้งกระตุ้นเร้าและจ�ำกัดความร่วมมือระหว่าง จีนกับประชาคมอาเซียน โครงการวิจัยนี้ให้ความสนใจกับปัญหา
ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การเป็นกัลยาณมิตรกับจีนของ ประเทศลุ่มน�้ำโขงบนพื้นฐานสภาวะพึ่งพิงจีน ได้รับการสถาปนา ขึ้นภายใต้เงื่อนไขส�ำคัญ 3 ประการที่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่าง แนบแน่น คือ 1. การขยายตัวของการค้า การลงทุน และความ ช่วยเหลือต่างประเทศ 2. การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนผ่าน สัมปทานที่ดินและโครงการขนาดใหญ่ และ 3. การแพร่กระจาย ของวัฒนธรรมเศรษฐกิจจีนที่มาพร้อมกับการหลั่งไหลของจีน อพยพรุ่นใหม่สู่ล่มุ น�้ำโขง สัมพันธภาพระหว่างชาวจีนกับอนารยชนในอุษาคเนย์พฒ ั นา ขึ้นเป็นความสัมพันธ์ท่เี รียกกันว่าระบบบรรณาการ หรือความ สัมพันธ์เชิงการทูตระหว่างรัฐโบราณของอุษาคเนย์กับจีน รัฐ ชาติจีนมีบทบาทโดดเด่นในการเคลื่อนย้ายของผู้คนในกระบวน การโลกาภิวัตน์ และได้ใช้ยทุ ธวิธีต่างๆ เพื่อสร้างอิทธิพลต่อ จินตนาการของชาวจีนข้ามชาติ รัฐบาลจีนใช้ความพยายามอย่าง มากมายเพื่อสร้างความผูกพันและความจงรักภักดีของชาวจีนโพ้น ทะเลรุ่นใหม่และรุ่นเก่าต่อแผ่นดิน โดยการช่วยจัดตั้งองค์กรและ สมาคมจีนโพ้นทะเลให้มคี วามเข้มแข็ง และมีส�ำนึกแห่งความเป็น จีนอยู่ตลอดเวลา มังกรหลากสี: การขยายอิทธิพลเหนือดินแดนและ พันธกิจเผยแผ่อารยธรรมในอุษาคเนย์ เป็นหนังสือที่เหมาะ นักเรียน นักศึกษา ครู อาจารย์ และบุคคลทั่วไปผู้สนใจใคร่ศึกษา ประวัติศาสตร์จนี การก้าวขึ้นมายิ่งใหญ่และเป็นผู้น�ำของจีน ความสัมพันธ์ที่จีนมีต่อประเทศต่างๆ ในลุ่มน�้ำโขง
B E C O M I N G / 60
Ghosts of the New City: Spirits, Urbanity, and the Ruins of Progress in Chiang Mai ทางการเมืองของปี ค.ศ. 2006 ที่สร้างปัญหาและหลอกหลอน ต่อ ความพยายามที่จะสร้างเมืองเชียงใหม่ข้นึ มาใหม่ ส�ำหรับชาว เชียงใหม่จำ� นวนมาก มองว่าการพัฒนาใหม่จะเป็นเมล็ดพันธุ์ของ การแข่งขัน และน�ำมาซึ่งการปรากฏตัวของเรื่องผีและอาชญากรที่ ปกปิดตัวเองอยู่ข้างหลังแผ่นไม้อดั ความก้าวหน้าของเมือง วิญญาณและความกลัว มีรากเหง้าอยู่ในความคิดของ คนไทย มีความสัมพันธ์กบั พุทธศาสนา จอห์นสันระบุว่าเมือง ไทยมีศูนย์กลางอยู่ท่อี �ำนาจบารมีของพระมหากษัตริย์ บวกกับ ศาสนาพุทธ การปฏิบัติทางศาสนาที่เป็นที่นิยม และดึงแนวร่วม ระหว่างกลุ่มชาติพันธุ์ สถาปนิกพยายามที่จะฟื้นฟูเศรษฐกิจ และ โครงสร้างพื้นฐานของเชียงใหม่ จอห์นสัน พบว่าความหวังส�ำหรับ เมืองเชียงใหม่ (เมืองใหม่) ได้รบั ผลกระทบความเดือดร้อน ความคืบหน้ามีอยู่ในวาทกรรมเกี่ยวกับผีการก่อสร้างเมือง มีความ จากวิกฤตการเงินเอเชียในปี ค.ศ. 1997 ที่เรียกว่าวิกฤตต้มย�ำกุ้ง วิตกกังวลที่ซุ่มซ่อนของการแข่งขันที่เป็นไปได้ในอีกวาทกรรมที่ เกิดปัญหาฟองสบู่แตก ส่งผลให้ธรุ กิจอสังหาริมทรัพย์ภาคเหนือ เรียกประวัติศาสตร์ การตั้งค�ำถาม ด้วยวิธีนี้ผีของเมืองใหม่จึงดึง ของไทย ทรุดตัวลงพร้อมกับค่าเงินบาทที่ลอยตัวขึ้น ท�ำลายความ การเชื่อมต่อใหม่ระหว่างเมืองประวัติศาสตร์และศาสนาที่เป็นที่ ฝันของยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของความเจริญรุ่งเรืองทางตอนเหนือ นิยมที่มผี ลกระทบไกลเกินเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ของไทย Ghosts of the new city ถือเป็นหนังสือที่อ่านสนุก อ่านเพลิน ผีของเมืองใหม่ (Ghosts of The New City) ของ แอนดรู มีเนื้อหาเรื่องราวที่น่าติดตาม ชวนตั้งค�ำถาม และคิดตามตลอด อลัน จอห์นสัน (Andrew Alan Johnson) แสดงให้เห็นถึงการได้ ทั้งเรื่อง จึงถือเป็นหนังสือที่เหมาะกับบุคคลทุกเพศทุกวัย ที่รักการ รับความเสียหายทางเศรษฐกิจ ที่เกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในวิกฤติ อ่าน สนใจมิติมุมมองทางมานุษยวิทยา
B E C O M I N G / 61
Ethnicity Borders and the Grassroots Interface with the State หนังสือเล่มนี้รวบรวมงานวิจัยใหม่ท่นี ่าตื่นเต้นโดยนัก มานุษยวิทยาที่ท�ำงานในแผ่นดินใหญ่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นาม ว่า Charles F. Keyes เขามีแนวคิดของตัวเองในการท�ำงานด้าน เชื้อชาติศาสนาและความทันสมัยที่พวกเขาสามารถน�ำไปใช้กบั ประเทศของไทย, เวียดนาม, กัมพูชาและลาว Charles F. Keyes สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของนัก วิชาการที่ผ่านมาข้ามพรมแดน ประเด็นที่สะท้อนให้เห็นทั้งใน ความซับซ้อนของตัวตนที่กลุ่มชาติพันธุ์ขยายข้ามเขตแดน และใน การเพิ่มการเคลื่อนไหวข้ามพรมแดน ปริมาณจะแบ่งออกเป็นสาม ส่วนครั้งแรก “ของรัฐและสาธารณะพิธี” รวมถึงบทในพิธีมรดก ของชาติที่มีชื่อเสียงในประเทศเวียดนามและสหรัฐอเมริกาฉาน ริเริ่มสามเณรใกล้ชายแดนของพม่าในประเทศไทยและการฟื้นฟูของบวชในประเทศกัมพูชาส่วนที่สอง “รากหญ้าที่การเจรจาต่อรองของ ความทันสมัย“ มีบทที่เกี่ยวกับแนวคิดของ “พอเพียง” ในการผลิตของเกษตรกรไทยทันสมัยวิธีที่จะรู้สกึ ในหมู่ชาวลาหู่ในประเทศไทย และความซับซ้อนของระบบไทยบัตรประจ�ำตัวส่วนสุดท้าย “ข้ามพรมแดนของรัฐชาติ” มุ่งเน้นไปที่ประชากรไร้สญ ั ชาติลาวในภาคตะวัน ออกเฉียงเหนืออพยพเวียดนามลาวและตะวันตก (ฝรั่ง) ผู้ชายที่แต่งงานกับผู้หญิงไทยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้ รวมถึงนักวิชาการที่อยู่ในไทย, เวียดนาม, สหรัฐอเมริกาออสเตรเลียและเม็กซิโก หนังสือเล่มนี้เป็นอ้างอิงที่ทรงคุณค่าส�ำหรับนักวิชาการ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และยังจะดึงดูดความสนใจของผู้อ่านทั่วไป
สนใจส่งบทความ บทวิจารณ์ ภาพถ่าย หรือติชม
ติดต่อ คุณสมัคร์ กอเซ็ม นักวิจัยและกองบรรณาธิการจดหมายข่าว ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail: cascmu@cmu.ac.th โทรศัพท์: 094-048-3702
Teashops do not just brew tea but also brew Burmese cultural identity and social relationships. [Muslim Teashop in Mandalay, Myanmar] ภาพถ่ายโดย ชยันต์ วรรธนะภูติ
A S E AN Shot
ภาพอาเซียน