CAS Workshop Border Methodology

Page 1

การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

วิธีวิทยาในชายแดนศึกษา: กรณีศึกษาชายแดนไทย-ลาว-พม่า 9 มีนาคม 2558 เวลา 09.00-17.00 น. ห้องประชุม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรณีศึกษาชายแดน :วิธีวิทยาในชายแดนศึกษา“ การจัดประชุมเชิงปฎิบัติการในหัวข้อ ที่จัดขึ้นในงานประชุม เป็นการจัดประชุมสืบเนื่องจากเวทีในหัวข้อเดียวกัน ”พม่า-ลาว-ไทย นานาชาติไทยศึกษา ณ มหาวิทยาลัยซิดนีย์ นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย ช่วงวันที่ 22-24 เมษายน 2557 จากนั้นได้มีการจะสานต่อโดยนำบทความที่นำเสนอในเวทีดังกล่าวมารวมเล่ม จักร.ดร.ฉบับพิเศษในวารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีผศ ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะ.ดร.กริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผศ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมเป็นบรรณาธิการ เนื่องด้วยผู้ร่วมนำเสนอบทความทางวิชาการและผู้ให้ความเห็นบทความในเวทีนี้เห็น พ้องต้องกันว่า ปัจจุบันมีผู้ศึกษาและนักวิจัยจำนวนมากที่ทำงานศึกษาที่บริเวณชายแดนในฐานะ ที่เป็นพื้นที่ทางกายภาพและบริบทในการวิจัย โดยเฉพาะนักวิชาการไทยที่ศึกษาพื้นที่ชายแดน ไทยที่ติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน อย่างไรก็ตาม นักวิจัยที่ศึกษาชายแดนจำนวนมากยังไม่ค่อย สร้างเวทีถกเถียงในเรื่องวิธีวิทยา ข้อท้าทาย และสถานการณ์ที่ยากลำบากในระหว่างเก็บข้อมูล ภาคสนาม ดังนั้น งานประชุมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อที่จะอภิปรายถึงแนวโน้ม ของการศึกษาชายแดนในบริบทร่วมสมัย และเพื่อชักชวนให้นักวิจัยในพื้นที่ชายแดนแลก เปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนประสบการณ์ในเชิงวิธีวิทยาที่นำมาปฏิบัติในพื้นที่ โดยมี ประเด็นและคำถามหลัก ดังต่อไปนี้ 1. วิธีวิทยาหรือวิธีปฏิบัติในการเก็บข้อมูลภาคสนามในพื้นที่ชายแดนนั้นมีความ คล้ายคลึงหรือแตกต่างกันอย่างไร และมีความแตกต่างของวิธีวิทยาที่ชายแดนกับพื้นที่ศึกษา อื่นๆที่นอกเหนือจากชายแดนหรือไม่ 2. มีความท้าทายและอุปสรรคในการใช้วิธีวิทยาดังกล่าวในการเก็บข้อมูลภาคสนาม อย่างไร 3. วิธีวิทยาใหม่ๆที่เกิดขึ้นในสถานการณ์นั้นๆเป็นการสร้างขึ้นหรือเลือกใช้เพื่อทำความ เข้าใจต่อระบบสังคมหรือบริบทอื่นๆที่ชายแดนอย่างไร 4. การใช้แนวทางหรือวิธีวิทยาดังกล่าวได้สร้างคุณูปการในการก่อรูปหรือสร้างแนวทาง เฉพาะในการศึกษาชายแดนอย่างไร 5. พื้นที่ชายแดนทั้งในฐานะพื้นที่กายภาพและบริบทในการศึกษาสะท้อนความสัมพันธ์ ระหว่างศูนย์กลางและชายขอบ (center-periphery) อย่างไร ทั้งในระดับท้องถิ่น ภูมิภาค และ ระดับชาติ


ผู้นำเสนองาน 1. จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. สร้อยมาศ รุ่งมณี คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. นายสมัคร์ กอเซ็ม ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5. นายวินัย บุญลือ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6. บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยอัมสเตอร์ดัม 7. พรพรรณ กาญจนาธิวัฒน์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล 8. อรุษา ปัญญากดแก้ว สาขาพัฒนาสังคม คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ดำเนินรายการ 1. พิสิษฏ์ นาสี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. คุณวุฒิ บุญฤกษ์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยน 1. จารุวรรณ ไพศาลธรรม มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก 2. ศิราพร แป๊ะเส็ง คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. วุฒิพงษ์ ศรีศิลป์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 4. กรรณาภรณ์ สอนสมฤทธิ์ Plan international Thailand 5. ประวิทย์ วงค์เป็ง มูลนิธิรักษ์เด็ก 6. ศิริญญา ศิริญานันท์ คณะนวัตกรรมและการจัดการ ราชภัฎสวนสุนันทา 7. พัชรี กล่อมเมือง ศูนย์เอเชียศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 8. อภิรดา ชะเอมจันทร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 9. แสงวรรณ์ ปาลี ผู้ช่วยนักวิจัย 10. อัษฎาวุธ มงคลแก้ว คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 11. นิชาภา อินทะอุด คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 12. ชำนาญ จันทร์เรือง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13. ดุจฤดี คงสุวรรณ์ สานักวิชาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 14. งามศุกร์ รัตนเสถียร สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 15. ประทับจิต นีละไพจิตร สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล 16. สมฤดี พิมนาถเกษรา สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหิดล 17. Nisanee Chaiprakobwiriya University of Leeds, UK 18. อารียา รัตนเวียงผา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 19. เรืออากาศเอก ปกรณ์ ตันติทวีวัฒน์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 20. วชิระ โชติรสเศรณี ส่วนกิจการชายแดน และผู้อพยพ กรมการปกครอง ผู้ประสานงาน 1. ปณิธาน พุ่มบ้านยาง ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2. ณัฐกานต์ ทาจันทร์ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 3. ริชซ่า อิตางาคิ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


กำหนดการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง

วิธีวิทยาในชายแดนศึกษา: กรณีศึกษาชายแดนไทย-ลาว-พม่า 9 มีนาคม 2558 เวลา 09.00-17.00 น. ห้องประชุม สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

09.00 - 09.15

นำเสนอบทความเรื่อง บทสะท้อนการทำงานภาคสนามในพื้นที่ชายแดน อีสาน-ลาว โดย สร้อยมาศ รุ่งมณี คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

09.15 - 10.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

10.00 - 10.15

นำเสนอบทความเรื่อง ความท้าทายในการศึกษาการค้าข้าวข้ามโขง: ความลักลั่นในความหมายของวัตถุศึกษาสู่การสะท้อนย้อนคิดทางวิธี วิทยา โดย อรุษา ปัญญากดแก้ว สาขาวิชาการพัฒนาสังคม ภาควิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

10.15 - 11.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

11.00 - 11.15

นำเสนอบทความเรื่อง จาริกยาตรา: การเดินทางด้วยจิตแห่งการ ไตร่ตรอง โดย วินัย บุญลือ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

11.15 - 12.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

12.00 - 13.00

รับประทานอาหารกลางวันร่วมกัน ณ ลานหน้าสถาบันวิจัยสังคม มช.

13.00 - 13.15

นำเสนอบทความเรื่อง มองผ่านความลื่นไหล: ว่าด้วยวิธีวิทยาการศึกษา ชายแดน โดย จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

13.15 - 14.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

14.00 - 14.15

นำเสนอบทความเรื่อง การวิจัยทางสตรีนิยมและมุมมองทางเพศภาวะใน พื้นที่ชายแดนไทย – พม่า: บทบาทของงานหัตถกรรมผ้าในขบวนการ ของผู้หญิงพลัดถิ่นชาวกะเหรี่ยง โดย พรพรรณ กาญจนาธิวัฒน์ สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล


14.15 - 15.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

15.00 - 15.15

นำเสนอบทความเรื่อง มโนทัศน์ในฐานะวิธีวิทยา: บทสะท้อนจากบันทึก สนามงานวิจัยเรื่องศาสนาในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า โดย สมัคร์ กอเซ็ม ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

15.15 - 16.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

16.00 - 16.15

นำเสนอบทความเรื่อง จากชาติพันธุ์วรรณาแบบพหุสนามสู่ “หมู่บ้านของ ฉัน” และการเดินทางเชิงชาติพันธุ์วรรณาในพื้นที่ชายแดนไทย และรัฐ ฉาน ประเทศพม่า โดย บุศรินทร์ เลิศชวลิตสกุล ภาควิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยอัมสเตอร์ดัม

16.15 - 17.00

แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมประชุม

ผู้ทรงคุณวุฒิผู้ร่วมแลกเปลี่ยนทุกบทความ โดย

ผศ.ดร.จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ดำเนินรายการ โดย

พิสิษฏ์ นาสี และคุณวุฒิ บุญฤกษ์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ผู้ประสานงานหลัก ติดต่อ ปณิธาน พุ่มบ้านยาง โทรศัพท์ 085-532-5371 อีเมล panitan.phumbanyang@cmu.ac.th


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.