Map history

Page 1

1

แผนการสอนบทที่ 1 ความรูพื้นฐานและพัฒนาการของแผนที่ (เวลาเรียน 4 คาบเรียน)

จุดมุงหมายเฉพาะ เพื่อใหผูเรียน 1. สามารถบอกความหมายและอธิบายถึงพัฒนาการของแผนที่ไดอยางถูกตอง 2. สามารถอธิบายถึงขอบขายของการศึกษาวิชาแผนที่ได 3. สามารถจําแนกประเภทของแผนที่ และลักษณะในการใชประโยชนไดอยางถูกตอง และครบถวน 4. สามารถอธิบายถึงประวัติและพัฒนาการของแผนที่ได 5. สามารถอธิบายประโยชนและความสําคัญของแผนที่ได

หัวขอเนื้อหา 1. 2. 3. 4. 5.

ความหมายของแผนที่ ประวัติและพัฒนาการในการศึกษาแผนที่ จําแนกชนิดของแผนที่ ขอบขายของการศึกษาวิชาแผนที่ ความสําคัญประโยชนและของวิชาแผนที่

กิจกรรมและวิธีสอน 1. นักศึกษา ศึกษาแผนที่ในแตละประเภทและแตละชวงเวลา 2. นักศึกษา นิยามความหมายของแผนที่จากแผนที่แตละประเภท 3. ผูสอนนําเสนอ นิยามของแผนที่จากหนวยงานที่ใชแผนที่ นักศึกษาอภิปราย และสรุป ความหมายของแผนที่ 4. นักศึกษา ศึกษาแผนที่แตละประเภทและอภิปรายการจัดประเภทของแผนที่ 5. ผูสอนบรรยายประเภทของแผนที่ และขอบขายของการศึกษาวิชาแผนที่ 6. นักศึกษา อภิปรายและสรุปถึงประเภทของแผนที่ และขอบขายของแผนที่


2

7. นักศึกษาอภิปรายถึงประโยชน และความสําคัญของแผนที่ 8. นักศึกษาและผูสอนสรุปถึงประโยชน และความสําคัญของแผนที่

สื่อการเรียนการสอน 1. 2. 3. 4. 5.

ลูกโลกจําลอง แผนที่มาตราสวน 1: 50,000 แผนที่มาตราสวน 1: 250,000 แผนที่โบราณของจีน กรีก แผนใสเรื่องความรูพื้นฐานและพัฒนาการของแผนที่จํานวน 13 แผน

การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตพฤติกรรมในการรวมกิจกรรมและการอภิปราย 2. คําถามทายบท


3

บทที่ 1 ความรูพื้นฐานและพัฒนาการของแผนที่ แผนที่เปนเครื่องมือของมนุษยที่แสดงถึงความสัมพันธของมนุษยกับลักษณะทางกายภาพ ของพื้นผิวโลก แผนที่ในอดีตมีความงายไมสลับซับซอนและพัฒนามากขึ้นตามความเจริญกาวหนา ของมนุษย แผนที่สามารถทําใหมนุษยเขาใจถึงลักษณะทางกายภาพของพื้นผิวโลกอันนํามา ซึ่งประโยชนตอกิจกรรมของมนุษยไดดีขึ้น

1.1 ความหมายของแผนที่ นับตั้งแตแผนที่ที่งายๆ ในอดีตจนถึงแผนที่ที่ใชเฉพาะดานทันสมัยในปจจุบันจะสามารถ เห็นถึงพัฒนาการของแผนที่มาโดยตลอด แมจะมีแผนที่และพัฒนาการในวิทยาการของการทํา แผนที่ที่แตกตางกันทําใหนิยามของแผนที่กวางขึ้นตามเวลา แตพอจะสามารถนิยามความหมายของ แผนที่ไดดังนี้ หนวยงานดานสนามของกองทัพสหรัฐอเมริกา (Department of Army field Manual, USA) ไดนิยามไววา “แผนที่ คือ การนําเอารูปภาพของสิ่งตางๆ บนพื้นผิวของโลก (earth’s surface) มา ยอสวนใหเล็กลง แลวนํามาเขียนบนกระดาษหรือวัตถุที่แบนราบ สิ่งตางๆ บนพื้นผิวโลกประกอบ ดวยสิ่งที่เกิดเองตามธรรมชาติ (Natural) และสิ่งที่มนุษยทําขึ้น (Manmade) สิ่งเหลานี้แสดงบน แผนที่โดยใชสี เสน หรือรูปตางๆ เปนสัญลักษณแทน” พจนานุกรมภูมิศาสตรของโลธา (R.M. Lodha) ไดนิยามไววา “แผนที่หมายถึง การแสดง สัญลักษณหรือภาพลงบนพื้นผิวที่แสดงเปนพื้นผิวโลก โดยมีการยอสวน ซึ่งทําใหเห็นการกระจาย ทางพื้นที่ (Spatial Distribution)” พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ. 2523 ไดใหความหมายไว วา “แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งที่เปนอยูตามธรรมชาติ และที่ปรุงแตงขึ้น โดย แสดงลงในพื้นแบนราบดวยการยอสวนใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและอาศัยเครื่องหมายกับ สัญลักษณที่กําหนดขึ้น” ธวัช บุรีรักษและบัญชา คูเจริญไพบูลย (2530) ไดใหความหมายไววา “แผนที่ คือ สิ่งที่ แสดงลักษณะของผิวโลก ทั้งที่เปนอยูตามธรรมชาติและมนุษยสรางขึ้น โดยแสดงบนพื้นราบ อาศัยการยอสวนใหเล็กลงตามขนาดที่ตองการและใชเครื่องหมายหรือสัญลักษณแทนสิ่งที่ปรากฎ อยูบนผิวโลก หรืออาจกลาวไดวา แผนที่ คือ สิ่งที่บันทึกเรื่องราวและความรูทางภูมิศาสตร”


4

ทวี ทองสวาง และคณะ (2533) ไดใหความหมายไววา “แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะ ภูมิประเทศของผิวโลกทั้งที่เปนอยูตามธรรมชาติและสวนที่มนุษยปรุงแตงขึ้น โดยนํามาแสดงลง ในพื้นราบจะเปนกระดาษหรือวัตถุอยางใดอยางหนึ่งที่แบนดวยการยอสวนใหเล็กลงตามขนาดที่ ตองการ ซึ่งตองอาศัยเครื่องหมาย สัญลักษณ ทิศทาง มาตราสวนและสิ่งอื่นๆ ที่ทําใหการอาน ลักษณะภูมิประเทศไทยถูกตองและแมนยํายิ่งขึ้น” โดยสรุปจะเห็นไดวา แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลก ทั้งสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น และตามธรรมชาติลงบนพื้นราบ โดยมีการยอสวนและใชสัญลักษณ เพื่อนํามาเปนเครื่องมือ ในการศึกษาดําเนินการเกี่ยวกับโลก

1.2 ประวัติและพัฒนาการในการศึกษาแผนที่ การบันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับโลกออกมาเปนแผนภาพมีมานานจากหลักฐานพบการทําแผนที่ ของมนุษยลงในแผนดินเหนียว กระดาษปาปรุส ฯลฯ ทําใหสามารถแบงแผนที่ออกตามยุคได คือ แผนที่โบราณ (Primative Maps) แผนที่สมัยกลาง (The Middle Ages) โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1.2.1 แผนที่โบราณ (Primative Maps) เปนแผนที่ในยุคเริ่มตนของมนุษยชาติที่สรางขึ้นเพื่อหาตําแหนงของพื้นผิวโลก โดย ใชวัสดุงายๆ เปนสําคัญโดยพบแผนที่โบราณดังนี้ 1.2.1.1 แผนภูมิเดิมเรือของชาวหมูเกาะ (Islanders’ Sea Charts) ลักษณะแผนที่โบราณที่พอจะนํามาเปนตัวอยางไดคือ แผนภูมิเดินเรือ ของชาวเกาะมารแชลล (Marshall Is.) แผนภูมินี้ทําดวยเปลือกหอย ซึ่งผูกติดกับโครงที่ทําดวย กานมะพราว แผนภูมินี้ชาวเกาะใชสําหรับเดินเรือระหวางเกาะ กานมะพราวซึ่งผูกเปนเสนตรงใช แทนบริเวณพื้นทะเลสวนที่ทําลักษณะโคงใชแทนคลื่น สวนตัวเกาะใชเปลือกหอยแทน 1.2.1.2 แผนที่ของชาวเอสกิโม (Eskimo Maps) มีการเขียนเรื่องราวความสามารถในการทําแผนที่ของชาว Eskimo อยู หลายแหง ในภาพที่แสดงหมูเกาะเบลเคอร (Belcher) ซึ่งเขียนดวยดินสอของชาวเอสกิโมในอาว ฮัดสัน Wetaltok ชาวเอสกิโมผูนี้มิเคยเขาศึกษาในโรงเรียน ไมมีเครื่องมือสํารวจ แตเมื่อนํามา เปรียบเทียบกับแผนที่ซึ่งไดมีการสํารวจแลว จะเห็นวามีสวนใกลเคียงและถูกตอง บริเวณที่เปน แผนที่นั้นมีเนื้อที่หลายพันตารางไมล (ดังภาพที่ 1.1)


5

ภาพที่ 1.1 แผนที่เอสกิโมแสดงหมูเกาะ Belcher ในอาวฮัดสัน มีลักษณะเหมือนกับแผนที่ที่ทํา การสํารวจ ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3) 1.2.1.3 แผนที่ของชาวอินเดียนเผาแอสเตค (Indian and Aztec Maps) ความสามารถในการทําแผนที่ของพวกอินเดียนแดงที่ยกยองกันทั่วไป แต การทําแผนที่ไมละเอียดเทากับของชาวเอสกิโมเมื่อนํามาเทียบกัน แผนที่อันเปนสิ่งที่นาสนใจและ ทําขึ้นโดยมากอินเดียนเผาแอสเตค (Aztec) นั้นยังมีเหลืออยูเปนจํานวนมาก พวกอินเดียนแดงนี้ ชอบบันทึกประวัติ เชน การรบ การกอสรางเขียนลงในแผนที่และเขียนรูปภาพใสลงไป บันทึก เกี่ยวกับประวัติสิ่งตางๆ มากกวาลักษณะของภูมิประเทศ ลักษณะแมน้ํา ปาไม และโบสถ จะ พยายามทําใหเหมือนจริง มีรูปภาพเด็กในบริเวณหมูบานนั้นๆ ตามปกติจะมีรูปภาพประดับประดา เต็มไปหมด (ดังภาพที่ 1.2)

ภาพที่ 1.2 แผนที่ของอินเดียนเผาแอสเตค ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3)


6

1.2.1.4 แผนที่ของชาวบาบิโลน (Babylonian Maps) นับวาเปนแผนที่ที่เกาแกที่สุดที่คนพบ และจัดตั้งอยูที่พิพิธภัณฑ มหาวิทยาลัยฮารวารด (Harvard University) คนพบโดยคณะโบราณคดีของมหาวิทยาลัยนี้ ขณะที่ ไปสํารวจชุดคนโบราณวัตถุที่เมืองกะซูร (Ga Sur) ซึ่งหางจากรุงบาบิโลนไปทางเหนือประมาณ 200 ไมล ที่นี้ไดขุดพบแผนอิฐจํานวนหลายรอยแผน แตละแผนมีอักษรสุเมเรียน (Sumerian) และ แอกกาเดียน (Akkadian) เขียนอยูในจํานวนนั้น มีแผนหนึ่งที่แสดงทรัพยสินของผูรํา่ รวยสมัยนั้นๆ ซึ่งเชื่อกันวาบริเวณที่เขียนไวในแผนอิฐนั้นอยูตอนเหนือของอิรัก แผนที่นี้แสดงบริเวณกลุมแมน้ํา Euphrates และมีภูเขาซึ่งแสดงไวในรูปของเกล็ดปลา อยูขนาบแมน้ําไหลออกทะเลมีดินดอน สามเหลี่ยม 3 ตอน ทิศ เหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ไดแสดงไวดวยวงกลม แผนอิฐดัง กลาวมีขนาดเล็กมากจนสามารถเก็บซอนไวในฝามือได มีบางสวนไดแตกหักไปแตยังชัดเจน สันนิษฐานวามีอายุมาไดไมนอยกวา 4,500 ป บางตําราวามีอายุ 5,775 ป กอนคริสตศักราชา 2,500 ป หรือกอนพุทธศักราช 3,043 ป (ดังภาพที่ 1.3)

ภาพที่ 1.3 แผนที่บาบิโลนเปนแผนที่ที่เกาแกที่สุด เมื่อ 2,500 ป กอนคริสตศักราช ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3) 1.2.1.5 แผนที่ของจีนโบราณ (Early Chinese Maps) จีนไดพัฒนาปรับปรุงการทําแผนที่ขึ้นเอง เชนเดียวกับชนชาติอื่นๆ จนมี ลักษณะแตกตางจากทางดานยุโรป ราวกับคนทั้งสองพวกอยูกันคนละโลก การทําแผนที่ในจีนเจริญ ขึ้นขณะที่ยุโรปกําลังเสื่อมในสมัยกลาง จีนไดสรางแผนที่อยางละเอียดกอนที่ชาวยุโรปไดไปถึง ประเทศนั้นเสียอีก มีแผนที่เกาๆ หลายแผน ซึ่งปรากฏอยูตามสิ่งกอสรางสาธารณะตามเมืองใหญๆ


7

แตอยางไรก็ตามการศึกษาคนควาจริงๆ ยังไมไดทํากันเต็มที่ แผนที่ของจีนซึ่งมีการกลาวอางถึงนั้น เขาใจวาไดทําขึ้นภายหลักจากการคนพบกระดาษราวๆ 227 ปกอนคริสตศตวรรษ ค.ศ. 100 แผนที่ ของจีนไดมีทั่วๆ ไปนอกนั้นนําไปใชเปนประโยชนในการปกครองดวย นักแผนที่สําคัญ คือ เจี๊ยตาน (Chia Tan) ค.ศ. 730-805 ไดสรางแผนที่ขนาด 30 ตารางฟุต ครอบคลุมภาคพื้นทวีปเอเชียทั้งหมด มาตราสวน 1 : 1,000,000 ใชเวลาทํา 16 ป (ค.ศ. 775-791) ความคิดเห็นของคนจีนเกี่ยวกับเรื่องโลกตอนนี้ คอนขางกลมแตแผนที่ดังกลาวไมมีเหลือ ไวใหศึกษาเชนกัน แตมีหินสลักซึ่งสรางในศตวรรษที่ 12 โดยลอกบางสวนของแผนที่เจี๊ยตาน รอยสลักนี้แสดงสวนโคงทางตะวันออกเฉียงเหนือของแมน้ําฮวงโห (Hwang Ho) อยางถูกตอง และ ยังแสดงกําแพงใหญของจีนไวอีกดวย (ดังภาพที่ 1.4)

ภาพที่ 1.4 แผนที่ที่เกาแกที่สุดของจีนที่สลับบนกอนหิน ป ค.ศ. 1137 (พ.ศ. 1680) แสดงกําแพง เมืองจีนที่ตัดขามแมน้ําเหลือง ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3) แผนที่ที่ถูกตองตามหลักวิทยาศาสตรมากที่สุดในโลกสมัยนั้น ไดแกแผนที่เมืองจีนซึ่ง ทําขึ้นในสมัยราชวงศซอน และจีนเปนประเทศแรกที่ไดเผยแพรแผนที่ดวยการพิมพ โดยยางเจีย เปนชาวจีนคนแรกที่ใชวิธีพิมพแผนที่ ราว ค.ศ. 1155 ภายหลังเมื่อมีการติดตอกับโลกตะวันตกมากขึ้น ในคริสตศตวรรษที่ 16 การทําแผนที่ ของจีนจึงไดรับอิทธิพลของนักทําแผนที่ชาวตะวันตก แมกระนั้นก็ตามแผนที่จีนปจจุบันก็ยังนําบาง สวนของแผนที่จีนโบราณมาเปนพื้นฐานมากกวาที่จะสํารวจดวยเครื่องมือ


8

1.2.1.6 แผนที่สมัยกรีก (Greeks Maps) นับวารากฐานของการทําแผนที่ในปจจุบัน เปนผลสืบเนื่องมาจากนัก ทําแผนที่ชาวกรีกในสมัยโบราณซึ่งไดพัฒนากิจการทําแผนที่ไปเปนอันมาก เมื่อสิ้นสมัยกรีกแลว คนสมัยหลังตามไมทัน จวบจนกระทั่งศตวรรษที่ 16 จึงไดรื้อฟนมาศึกษากันใหม กรีกเชื่อวาโลก มีสัณฐานตันทึบและประกอบดวยขั้วศูนยสูตร และทรอปก (Tropic) และคิดไดเกี่ยวกับระยะละติจูด และลองจิจูด จึงไดคิดสรางเสนโครงแผนที่ (Projection) ขึ้น และไดคํานวณขนาดของโลก 1.2.2 แผนที่สมัยกลาง (The Middle Ages Maps) ในสมัยกลางการทําแผนที่มีลักษณะผิดธรรมชาติ เพราะเนื่องจากตกไปอยูในอิทธิพล ของคริสตศาสนา นักทําแผนที่ไมพยายามที่จะแสดงลักษณะของโลกตามที่เปนจริง ตรงกันขาม ได พยายามแสดงลักษณะของโลกตามความนึกคิดของตนเองและมุงไปทางดานศิลปะ รูปเครื่องหมาย ตางๆ ลักษณะโดยทั่วๆ ไปของแผนที่เปนรูปกลมแบบตามแบบโรมัน แตขยายใหมีขอผิดพลาด จากหลักภูมิศาสตรมากยิ่งขึ้น เริ่มตั้งแตศตวรรษที่ 4 นักบวชชื่อ St.Jerome ไดสรางแผนที่แสดง บริเวณ Holy Land ใหมีขนาดผิดไปจากที่เปนจริง ในศตวรรษที่ 8 นักบวชชาวสเปนชื่อ Beatus ไดพยายามสรางแผนที่ตามแนวหรือ หลักของโรมัน (ดังภาพที่ 1.6) ซึ่งยึดถือความจริงทางภูมิศาสตรเล็กนอย ภายหลังมีผูออกแบบสราง แผนที่ทําใหรูปรางของแผนที่โลกเปนเหลี่ยมบางบางครั้งก็กลม

ภาพที่ 1.5 แผนที่ของ St.Beatus ป ค.ศ. 776 ยึดแนวของโรมัน ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3)


9

1.2.2.1 แผนที่ TO (TO Maps) โดยทั่วไปมีลักษณะที่เรียกวา “T-in-O” ซึ่งมี Asia อยูตอนบนของวงกลม สวนยุโรปและแอฟริกาอยูครึ่งลาง (ยุโรปซายแอฟริกาขวา) ตรงกลางเปนเยรูซาเล็ม (Jerusalem) สวนบนเปนเอเชีย เยรูซาเล็มอยูตรงกลาง ทางลางซายเปนยุโรป สวน ลางขวาเปนแอฟริกา (ดังภาพที่ 1.6)

ภาพที่ 1.6 แผนที่สมัยกลาง “T-in-O” คือรูปตัว “ที” อยูตรงกลางของรูปตัวโอ ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3) นับวายังมีแผนที่โลกอีกลักษณะหนึ่งในสมัยกลาง ซึ่งใชแนวความคิดที่วาโลกมี รูปทรงทึบกลมแผนที่แบที่วานี้ มีเหลืออยูเปน Cartograms อยางงายๆ แผนที่มีชื่อเสียงชื่อ “Macrobius” แผนที่เหลานี้มีความสําคัญที่ชวยรักษาความคิดที่วาโลกมีทรงกลม ตัน ทึบ ใหคง เหลืออยู และไดมีการแบงเขตตามแนวของกรีก มีแผนที่เปนจํานวนมากไดสรางขึ้นระหวางศตวรรษที่ 8 ถึงตอนกลางศตวรรษที่ 15 ปจจุบัน รวบรวมไดมากกวา 600 แผน แตสวนใหญเปนแบบงายๆ ซึ่งแสดงเปนลักษณะ T-in-O นอยแผนที่มีรายละเอียดใหทราบ ที่สําคัญมี 2 แผน คือ ของ Hereford และ Ebstorf สรางขึ้นใน ราวปลายศตวรรษที่ 13 อันเปนสมัยที่สถาปตยกรรมแบบโกธิค (Gothic) เจริญสุดยอด 1.2.2.2 แผนที่อาหรับ (Arabic Cartography) ขณะนั้นนักทําแผนที่ทางตะวันตกไดพยายามทําแผนที่เพื่อเปนเครื่อง ประดับความเชื่อทางศาสนา ทางฝายมุสลิม (Moslem) ไดนําวิธีการของกรีกมาใช โดยแกไขให ถูกตอง (ดังภาพที่ 1.7) ประกอบกับพวกอาหรับนี้มีความรูทางคณิตศาสตร ดาราศาสตร และ


10

เรขาคณิตศาสตร เปนอยางดี จึงเปนนักภูมิศาสตรและนักทําแผนที่ที่เชี่ยวชาญ ในทางศาสนานั้น มี หลักวาทุก ๆ สุเหราตองหันหนาไปสู Mecca ซึ่งเปนผลที่ใหเกิดความรูทางดานที่ตั้ง นอกจากนี้ พวกอาหรับไดรับเอาตํารา Geographic ของกรีดไปใช ซึ่งพวกตะวันตกไดละทิ้งตํารา นี้เสีย

ภาพที่ 1.7 แผนที่อาหรับมีลักษณะเปน Cartograms ทวีปแอฟริกาตอเนื่องกับทวีปเอเซีย โดยมี มหาสมุทรอินเดียยื่นล้ําเขาไป ที่มา (พรทิพย กาญจนสุนทร, 2541, หนา 3)

1.3 การจําแนกชนิดของแผนที่ เนื่องจากแผนที่ที่ใชกันอยูในปจจุบันมีอยูหลายชนิดดวยกัน ดังนั้นจึงตองจําแนกแผนที่ ออกเปนชนิดตางๆ กัน ในการจําแนกชนิดของแผนที่อาจแบงได 3 วิธี คือ 1.3.1 การจําแนกชนิดของแผนที่แบบทั่วไป แบบนี้จําแนกแผนที่ออกเปน 3 ชนิด คือ 1.3.1.1 แผนที่แบบเบนราบ (Planimetric Map) คือแผนที่แสดงพื้นผิวโลกใน ทางราบเทานั้นไมสามารถบอกความสูงต่ําได ใชแสดงตําแหนงของสิ่งตางๆ ตลอดจนทางน้ํา ถนน ฯลฯ 1.3.1.2 แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) เปนแผนที่แสดงใหเปนความสูงต่ํา ของภูมิประเทศสวนรายละเอียดตางๆ ก็มีแบบเดียวกับแผนที่แบบเบนราบ มักเปนแผนที่มาตรา สวนใหญ 1.3.1.3 แผนที่ภายถาย (Pictorial map) เปนแผนที่ที่ทําขึ้นจากภาพถายทางอากาศ โดยการโมเซคใชสีสัญลักษณ ประกอบเพิ่มเติม สามารถทําไดรวดเร็วแตอานยาก ไมสามารถ สังเกตความสูงต่ําของภูมิประเทศไดชัดเจนดวยตาเปลา


11

1.3.2 การจําแนกชนิดของแผนที่ตามขนาดของมาตราสวน 1.3.2.1 แบงในทางภูมิศาสตร มี 3 ชนิด คือ - แผนที่มาตราสวนใหญ ไดแกแผนที่มาตราสวนใหญกวา 1 : 250,000 - แผนที่มาตราสวนปานกลาง ไดแกแผนที่มาตราสวนตั้งแต 1 : 250,000 ถึง 1 : 1,000,000 - แผนที่มาตราสวนเล็ก ไดแกแผนที่มาตราสวนเล็กกวา 1 : 1,000,000 1.3.2.2 แบงในกิจการทหารมี 3 ชนิด คือ - แผนที่มาตราสวนใหญ ไดแกแผนที่มาตราสวนตั้งแต 1 : 75,000 และใหญกวานั้น - แผนที่มาตราสวนปานกลาง ไดแกแผนที่มาตราสวนใหญกวา 1 : 600,000 แตเล็กกวา 1 : 75,000 - แผนที่มาตราสวนเล็ก ไดแกแผนที่มาตราสวนตั้งแต 1 : 600,000 และเล็กกวานั้น 1.3.1 การจําแนกชนิดของแผนที่ตามชนิดของการใชและชนิดของรายละเอียด การจําแนก แผนที่ตามชนิดการใชและชนิดของรายละเอียด แบงออกไดดังนี้ 1.3.3.1 แผนที่ทั่วไป (General Maps) เปนแผนที่ที่ใชมาตราสวนเล็กกวา 1 : 1,000,000 แสดงเขตการปกครอง เชน เขตประเทศ เขตจังหวัด ตลอดจนแสดงความสูงต่ําของ ภูมิประเทศโดยใชแถบสีตางๆ 1.3.3.2 แผนที่ยุทธศาสตร (Stratigic Maps) เปนแผนที่มาตราสวน 1 : 1,000,000 เพื่อใหคลุมพื้นที่ไดกวางขวาง ใชสําหรับการวางแผนทางทหาร 1.3.3.3 แผนที่ยุทธศาสตร – ยุทธวิธี (Stratigic Maps) เปนแผนที่ที่มีมาตราสวน ใหญขึ้น เพื่อใหมีมาตราสวนมากกวาแผนที่ยุทธศาสตร ใชมาตราสวน 1 : 250,000 1.3.3.4 แผนที่ยุทธวิธี (Tactical Maps) เปนแผนที่ภูมิประเทศ มาตราสวนใหญ มีรายละเอียดมากเพื่อใชปฏิบัติงานทางยุทธวิธีของกองทหาร ใชมาตราสวน 1 : 50,000 1.3.3.5 แผนที่ที่ใชในกิจการทหารปนใหญ (Artillery Maps) เปนแผนที่มาตราสวน ใหญมีรายละเอียดมากกวาแผนที่ยุทธวิธี มีเสนโครงกริดประกอบไวเพื่อใหมีความสะดวกใน การใชประกอบการยิงปนใหญใชมาตราสวน 1 : 25,000 1.3.3.6 แผนที่เดินเรือ (Nautical Charts) เปนแผนที่ที่ใชในการเดินเรือ ในทะเล ในมหาสมุทร แสดงความลึกของทองน้ํา สันดอน แนวปะการัง ฯลฯ


12

1.3.37 ผนที่การบนิ (Aeronautical Charts) เปนแผนที่ที่ทําขึ้นเพื่อใชในการ เดินทางในอากาศ เพื่อใหทราบถึงตําแหนงและทิศทางของเครื่องบิน 1.3.3.8 แผนที่ถนน (Road, Highway Maps) เปนแผนที่ที่ทําขึ้นเพื่อใชในการ เดินทางในอากาศ เพื่อใหทราบถึงตําแหนงและทิศทางของเครื่องบิน 1.3.3.9 แผนที่ตัวเมือง (City Maps) เปนแผนที่มาตราสวนใหญเพื่อแสดง รายละเอียดตางๆ ไดมากและชัดเจน เชน ถนน อาคาร สถานที่สําคัญ เปนตน ใชมาตราสวน 1 : 20,000 1.3.3.10 แผนที่ทรวดทรง (Relief Maps) เปนแผนที่แสดงความสูงต่ําของ ภูมิประเทศแบบหุนจําลอง ทําดวยปลาสติคหรือดระดาษแข็ง 1.3.3.11 แผนที่เฉพาะวิชา (Topical Maps) หรือ (Themetic Maps) แบงออกเปน (1) ประเภทแสดงคุณลักษณะ (Quanlitative Maps) เชน แผนที่แสดง ชนิดของปาไม ชนิดของดิน ฯลฯ เปนตน (2) ประเภทแสดงปริมาณ (Quatitative Maps) เปนแผนที่แสดงสถิติ ตางๆ เชน แผนที่แสดงปริมาณน้ําฝน อุณหภูมิ ความหนาแนนของประชากร เปนตน 1.3.3.12 แผนที่เศรษฐกิจ (Economic Maps) เปนแผนที่ใชแสดงปจจัยที่มี ความสําคัญทางเศรษฐกิจ เชน แหลงทรัพยากร เขตเกษตรกร เปนตน 1.3.3.13 แผนที่โฉนด (Cadastral Maps) เปนแผนที่แสดงการถือกรรมสิทธิ์ที่ดิน ของเจาของที่ดิน 1.3.3.14 แผนที่การใชที่ดิน (Landuse Maps) เปนแผนที่แสดงลักษณะการใชที่ดิน ในบริเวณนั้น เชน ใชทํานา ทําไร ทําสวน ฯลฯ มักใชสีแสดงลักษณะการใชที่ดินแบบตางๆ 1.3.3.15 แผนที่รัฐกิจ (Political Maps) เปนแผนที่แสดงเขตการปกครอง เชน แสดงเขตประเทศตางๆ หรือแบงเขตจังหวัดเปนตน 1.3.3.16 แผนที่ประวัติศาสตร (Historical Maps) เปนแผนที่แสดงอาณาเขตสมัย ตางๆ 1.3.3.17 แผนที่เพื่อการนิทัศน (lllustrations Maps) เปนแผนที่แสดงแหลง ทองเที่ยวอาจมีสภาพสถานที่สําคัญหรือสวยงาม เหมาะแกการทองเที่ยวประกอบไวดวย 1.3.3.18 แผนที่เคาโครง (Outline Maps) เปนแผนที่แสดงเคาโครง เชน เขตทวีป หรือเขตประเทศ แตไมมีรายละเอียดอื่นๆ ใชประกอบการสอนหรือทําแบบฝกหัด (ธวัช บุรีรักษ และ บัญชา คูเจริญไพบูลย, 2529)


13

1.4 ขอบขายของการศึกษาวิชาแผนที่ วิชาแผนที่เปนวิทยาศาสตรแขนงหนึ่ง ดังนั้นในการศึกษาวิชานี้ จึงตองมีความรูความเขา ใจวิชาอื่นๆ ประกอบดวย แผนที่เปนวิชาที่สอนใหรูจักขนาดและรูปรางสัณฐานของโลก กับสอน ใหรูจักแสดงลักษณะตางๆ บนพื้นผิวโลก นํามาเขียนในแผนราบ การศึกษาวิชาแผนที่จึงตองนําวิชา อื่นๆ เหลานี้มาเกี่ยวของดวย เชน วิชาดาราศาสตร (Astronomy) ฟสิกส (Physics) วิชาทฤษฎี คาดคะเน (Probability) วิชาสถิติ (Statistics) เปนตน การศึกษาวิชาแผนที่แบงออกเปน 3 ระดับ คือ 1.4.1 ศึกษาใหรูจักรูปพรรณสัณฐานของรูปหนึ่งซึ่งมีลักษณะคลายโลกมากที่สุด ศึกษา รูปทรงสเปยรอยด (spheroid) และขนาดของโลกโดยละเอียดถี่ถวน มีวิชาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดย เฉพาะ คือ วิชายีออเดซี (Geodesy) จากวิชายีออเดซี ทําใหเราทราบวาโลกวาโลกไมไดกลมที่ เดียว แตเปนรูปทรงรี มีแกนยาวทั้งสองไมเทากัน การศึกษารูปพรรณสัณฐานของโลก อยางละเอียด เปนแนวทางสําคัญและเปนความรูพื้นฐานเบื้องตนในการศึกษาวิชาแผนที่ ถาไม มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับโลกแลว ก็เปนการยากในการศึกษาวิชาแผนที่ตอไป 1.4.2 ศึกษาใหรูจักกําหนดจุดตางๆ ลงบนพื้นพิภพ หรือใหรูจักสิ่งตางๆ ที่อยูในโลก จากผิวโคงถายทอดไปยังผิวราบวิชาที่วาดวยการศึกษาเรื่องนี้ คือ วิชาภูมิมาปนะวิทยา (Topography) 1.4.3 ศึกษาใหรูจักการแสดงพื้นที่ของผิวพิภพ ตลอดจนรายละเอียดทั้งมวล เปนการ แสดงสิ่งตางๆ ที่ไดกําหนดตําแหนงรายละเอียดไวบนพื้นที่ของรูปวงรีตามวิชาภูมิมาปนะวิทยา แลวถายทอดลงบนแผนราบ ซึ่งเปนการถายทอดลักษณะผิวโคงลงบนพื้นราบ วิชาที่วาดวยเรื่องนี้ คือ Cartography วิชา Cartography นอกจากจะวาดวยการจําลองแผนที่แลว ยังคลุมไปถึงการถายรูป การพิมพ การยอ การขยายแผนที่ดวย วิชาแผนที่ (Mapping) ยีออเดซี (Geodesy) การหาเวลา อะซิมุท ละติจูด, ลองจิจูด งานสามเหลี่ยม ฯลฯ

ภูมิมาปนะวิทยา (Topography) งานวงรอบ detail

ภาพที่ 18 แผนผังการศึกษาวิชาแผนที่ ที่มา (บัญชา คูเจริญไพบูลย, 2529, หนา 28)

การทําแผนที่ (Cartography) เขียน จําลอง ยอ ขยาย ถายรูป พิมพ


14

1.5 ความสําคัญและประโยชนของแผนที่ แผนที่มีประโยชนตอการศึกษาของมนุษยในหลายดาน เนื่องจากเปนเครื่องมือในการศึกษา ความสัมพันธของมนุษยในพื้นที่ ประโยชนที่สําคัญไดแกประโยชนทางดานการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจ 1.5.1 ประโยชนทางดานการเมือง แผนที่มีสวนเขาไปเกี่ยวของกับกิจของรัฐมากมายหลายสาขา ที่เกี่ยวของสวนใหญ และเห็นไดชัด คือ งานดานภูมิศาสตรการเมือง งานดานภูมิรัฐศาสตร ไมวาจะพิจารณาในดานสวน ประกอบคงที่ (Static Elements) หรือสวนประกอบไมคงที่ (Dynamic Elements) ที่เกี่ยวของกับภูมิ รัฐศาสตรอันเกี่ยวกับการปฏิบัติการของรัฐในทางการเมือง เพื่อใหบรรลุเปาหมาย คือ ความมั่นคง และความเจริญกาวหนาของประเทศชาติ นักภูมิรัฐศาสตรจําเปนตองมีเครื่องมือ หรืออุปกรณชนิดหนึ่งซึ่งจะขาดเสียมิได คือ “แผนที่” นักภูมิรัฐศาสตรชั้นสูง จะตองมีความรูใน กิจการแผนที่เปนอยางดี มีความสามารถในการอานแผนที่ จึงจะสามารถรอบรูสภาพการณทาง ภูมิรัฐศาสตรไดอยางกวางขวาง สามารถวางแผนดําเนินการเตรียมรับ หรือแกไขสถานการณที่ อาจเกิดขึ้นไดอยางถูกตองสภาพในทางภูมิรัฐศาสตรที่เกี่ยวของกับแผนที่มากที่สุด เชน แนว พรมแดนระหวางประเทศ (International Boundary) ถานักภูมิรัฐศาสตรไมเขาใจในเรื่องแผนที่ เสียแลว ก็จะตกอยูในฐานะเปนผูเสียเปรียบ ตัวอยางเชน กรณีเขาพระวิหาร ประเทศไทยจําตอง เสียดินแดน และโบราณสถานสวนหนึ่งไปตามคําพิพากษาของศาลยุติธรรมระหวางประเทศ (15 มิถุนายน ค.ศ. 1962) ก็เพราะเหตุมาจาก ในแผนที่ของคณะกรรมการปกปนเขตแดน ค.ศ. 1904 ซึ่งฝรั่งเศสเปนผูทําขึ้นแตเพียงฝายเดียวนั้น ไดเขียนเอาปราสาทเขาพระวิหารไวในเขตของฝรั่งเศส หรือของเขมรในปจจุบัน โดยตกแตงแผนที่ใหผิดไปจากความเปนจริง เมื่อศาลยุติธรรมระหวาง ประเทศจะตัดสินขั้นเด็ดขาด เขมร (โดยความชวยเหลือของฝรั่งเศส) ก็นําแผนที่การปกปนเขต แดนชิ้นนี้ขึ้นอางเปนหลักฐานสําคัญ จึงทําใหไทยแพคดีในที่สุด อาจจะเปนเพราะวาคนไทยสมัย นั้นยังไมมีความรูความจัดเจนในเรื่องแผนที่นั่นเอง นี่เปนตัวอยางที่เห็นไดชัด อีกตัวอยางหนึ่งก็คือ การปกปนเขตแดนระหวางไทยกับลาวตามลําน้ําโขง ไทยเสียเปรียบฝรั่งเศสอีก เพราะฝรั่งเศส เปนผูทําไวสมัยปกครองลาว ก็หนีไมพนเรื่องแผนที่ เพราะเราไมชํานาญและเราไมเขาใจในการทํา แผนที่ จึงทําใหเกิดเหตุการณกระทบกระทั่งกับลาวอยูบอยๆ ตามแนวพรมแดนทางแมน้ําโขง นอกจากนั้น แผนที่ยังเกี่ยวของกับทางการเมืองในดานอื่นๆ อีก เชน การปราบปรามและปองกันผู กอการราย เปนตน


15

1.5.2 ประโยชนทางดานการทหาร มีคํากลาวในวงการทหารวา “แผนที่เปนเครื่องมือรบชั้นแรกของทหาร” ในการ พิจารณาวางแผนยุทธศาสตรทางการทหารของชาตินั้น จําเปนตองแสวงหาขอมูล พื่อใชประกอบ การพิจารณากอนการวางแผน ขอมูลหรือขาวสารที่เกี่ยวกับสภาพทางภูมิศาสตรและตําแหนงของ สิ่งแวดลอมทางยุทธศาสตรตางๆ ยอมมีความสําคัญและจําเปนแผนที่จึงเปนเอกสารชิ้นแรกที่จะ ตองจัดทําหรือจัดหาใหไดมา เพราะแผนที่สามารถที่จะใหขาวสารโดยละเอียดถูกตองแนนอน เกี่ยวกับระยะทางตําแหนงความสูง เสนทาง ลักษณะภูมิประเทศที่สําคัญ และขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวกับ ภูมิประเทศ ทั้งที่เกื้อกูลและขัดขวางการปฏิบัติการ สงครามในปจจุบันยอมไมจํากัดอยูเฉพาะในพื้น ที่ที่เรารูจักคุนเคยเทานั้น แตอาจจะเปนยุทธบริเวณที่แผไพศาลอยูตามสวนตางๆ ของโลกที่ผู บังคับบัญชาไมเคยมีประสบการณมากอน ผูบังคับบัญชาหนวยทหารจําเปนตองพิจารณา ภูมิประเทศ ศึกษาลักษณะภูมิประเทศที่หนวยทหารของตนจะเขาปฏิบัติการ สิ่งซึ่งเกิดขึ้นเอกงตาม ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นซึ่งมี่อยูในภูมิประเทศบริเวณที่จะปฏิบัติการ อาจเปนไปไดทั้ง เรื่องเกื้อหนุนและอุปสรรคในการปฏิบัติการ การวางแผนการรบก็ดี การปฏิบัติการรบก็ดี จําเปน ตองใชแผนที่เปนเครื่องประกอบการพิจารณาแผนที่จึงนับวาเปนเครื่องมือรบขั้นแรกของผูบังคับ หนวยทหารทุกระดับหนวย นักการทหารบางทานกลาวไววา “ทหารที่ทําการรบโดยปราศจากแผน ที่จะมีสภาพ เชนเดียวกับทหารตาบอดทําการรบ” ดังนั้นการดําเนินกิจการทางทหารจะขาดแผนที่มิ ไดเปนอันขาด จากประวัติศาสตรของการพัฒนากิจการแผนที่ปรากฏใหเห็นเดนชัดวา พัฒนาการ ทางวิชาการดานแผนที่สวนใหญ เกิดจากความตองการทางทหารเปนแรงผลักดัน กิจการแผนที่ทาง ทหารตองสามารถผลิตขึ้นไดรวดเร็วทันตอสถานการณ ขาวสารที่แสดงไวในแผนที่ตองใหม และ ทันสมัยอยูเสมอ มีความละเอียดถูกตอง เหมาะสม เชื่อถือได และมีปริมาณเพียงพอแกการใชงาน ความตองการดังกลาวมีผลผลักดันใหนกั วิชาการและผูมีหนาที่รับผิดชอบทําการ คนควาทดลอง หากรรมวิธีและทฤษฎีใหมๆ ขึ้นใชในการสํารวจหาขอมูล และการผลิตแผนที่ และ พยายามคิดคนหาเครื่องมือและอุปกรณที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพสูง มาใชในกิจการแผนที่อยูเสมอ จะเห็นวาหนวยงานที่รับผิดชอบในเรื่องแผนที่ จึงมักจะเปนหนวยงานที่มีสวนรับผิดชอบตอกิจการ ทางทหารเปนสวนใหญ 1.5.3 ประโยชนทางดานเศรษฐกิจ กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เปนระบบและมีประสิทธิภาพนั้น ตองอาศัยแผนที่เปน อุปกรณสําคัญ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติก็เหมือนกัน จําเปนตองใชแผนที่เปนเครื่องมือใน การวางแผนและในการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน ตัวอยางที่เห็นไดชัด เชน การดําเนินโครงการพัฒนา กลุมน้ําโขง ของสภาเศรษฐกิจและสังคมองคการสหประชาชาติ (ECAFE) แผนที่เปนอุปกรณที่


16

สําคัญและจําเปนเรงดวนอันดับแรกที่จะตองผลิตขึ้นมาเพื่อใชงาน เริ่มตั้งแตใชงานในขั้นวางแผน ตลอดไปจนถึงขึ้นปฏิบัติการตามแผน เพราะบริเวณดังกลาวยังไมมีแผนที่ที่มีคุณลักษณะเหมาะกับ การดําเนินงาน แผนที่ที่จัดทําขึ้นจากโครงการนี้เปนอุปกรณสําคัญยิ่งของเจาหนาที่วางแผนและ ปฏิบัติการใหบรรลุตามเปาหมาย

1.6 สรุป แผนที่คือสิ่งที่แสดงลักษณะของพื้นผิวโลกทั้งสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นและตามธรรมชาติลงบน พื้นราบโดยมีการยอสวน และใชสัญลักษณ เพื่อนํามาเปนเครื่องมือในการศึกษาดําเนินการเกี่ยวกับ โลก มนุษยไดสรางแผนที่ขึ้นเพื่อใชประโยชนในการทําความเขาใจเกี่ยวกับโลกมานาน โดยเริ่มจาก แผนที่แบบงายๆ เพื่อหาตําแหนงที่ตั้งและเสนทางและพัฒนาขึ้นอยางซับซอนในโลกปจจุบัน จึงทํา ใหสามารถจําแนกแผนที่ไดหลายประเภทตามลักษณะของแผนที่และลักษณะการใชประโยชนใน ปจจุบันแผนที่สามารถนํามาเปนเครื่องมือในการวางแผนในดานตางๆ เชน การทหาร การแพทย และสาธารณสุข การศึกษา และทางเศรษฐกิจ

1.7 คําถามทายบท 1. จงอธิบายถึง ความหมายและพัฒนากรของแผนที่ในแตละยุคโดยละเอียด 2. วิชาแผนที่มีขอบขายในการศึกษาอยางไรบาง 3. การจําแนกแผนที่ สามารถจําแนกไดกี่วิธีอะไรบาง 4. แผนที่มีประโยชนอยางไรตอการศึกษาวิชาภูมิศาสตร 5. ทานเห็นดวยหรือไมกับประโยคที่วา “แผนที่เปรียบเสมือนชวเลขที่ดียิ่งของนัก ภูมิศาสตร (Geographer’s Shorthand)”


17

เอกสารอางอิงและเอกสารอานประกอบ ทวี ทองสวาง, ไพทรูย ปยะภรณ, วินทนีย ศรีรัฐและวินิตา เผานาค. (2533). การอานแผนที่และ ภาพถายทางอากาศ. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง. ธวัช บุรีรักษและบัญชา คูเจริญไพบูลย. (2524). การแปลความหมายในแผนที่และภาพถายทาง อากาศ. กรุงเทพฯ: อักษรวัฒนา. พรทิพย กาญจนสุนทร. (2541). แผนที่และการแปลตีความแผนที่. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. ราชบัณฑิตยสถาน. (2523). พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: นนทชัย. วินัย บุษบา. (2538). แผนที่และการแปลความหมายจากแผนที่. กําแพงเพชร: สถาบันราชภัฏ กําแพงเพชร. Lodha R.M. ( 1992). Dictionary of Geography. New delhi: Acadamic. Mayhew, S.& Penny A. (1992). The Goncise Oxford Dictionary of Geography. New york: Oxford University. **************************


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.