critical mapping วิกฤติแผนที่

Page 1

1

วิกฤติการทําแผนทีกับสิ งท้ าทายใหม่ ในยุคไอที (The Critical Cartography and New Challenges in IT Age) นุชจรี ท้ าวไทยชนะ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลั ยราชภั ฏมหาสารคาม

Summary The critical cartography and new challenges in Information Technology (IT) Age are harmonious. These critiques come together with new challenges and new opportunities. If each science has not been changed in suitable time, it would be conflicted in itself. In case of the critical cartography, it has been adapted following to the advance and changing of technology development and modern society particularly principal of philosophy, theories, and concepts of cartography. Since 2000s, the cartography occurs at the great shifting from analog mapping to digital mapping coherently the expansion of advanced information technology and communication including GIS tools (Geographical Information Systems). Since the GIS has been developed in the late 1980s , from now to then , it effected to the cartography methodology significantly. According to the article, the critical cartography is composed of the critiques of cartography philosophy, cartographic theory, cartographic practice , and new challenges for instance: arts and mapping imagination, the daily produced mapping, and the map hacking. Keywords: the critical cartography, GIS, the arts and imagination of mapping, the modern cartography philosophy, the new cartography theories, the map hacking สาระสังเขป วิกฤติการทํ าแผนทีกับความท้าทายใหม่ในยุคไอที เป็ นเรื องทีดํ าเนินไปด้ วยกั นอย่างสอดคล้ อง การ เกิดวิกฤติม ั กมาพร้อมกับความท้าทายใหม่และโอกาสใหม่เสมอ หากศาสตร์ใดไม่มีการปรับตั วก็จะเกิดความ ขัดแย้ งในตัวมั นเอง กรณี วิกฤติการทํ าแผนทีก็เช่นเดียวกันซึ งจํ าเป็ นต้องมีการปรับตัวตามความก้าวหน้าและ การเปลียนแปลงการพั ฒนาทางเทคโนโลยีและสังคมสมั ยใหม่ โดยเฉพาะในด้านหลั กปรัชญา ทฤษฎี และ แนวคิดการทํ าแผนที ล้ วนเป็ นไปตามยุคสมั ยทีเปลียนไป ในยุค 2000s มานี ศาสตร์การทํ าแผนทีได้ปรับตัว ขนานใหญ่จากแผนทีอะนาล๊อกไปสู่แผนทีดิจิตอล พร้อมๆกับการขยายตั วทางเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสือสารทีก้าวหน้า โดยเฉพาะการพั ฒนาระบบ GIS (Geographical Information Systems) ขึ นมาในราว ปลายปี 1980s ได้ส่งผลกระทบต่อการทํ าแผนทีอย่างเห็นได้ชัดมาจนถึงทุกวั นนี ในบทความนี ได้ กล่าวถึง วิกฤติการทํ าแผนทีประกอบด้วย วิกฤติในเชิงปรัชญาการทํ าแผนที วิกฤติเชิงทฤษฏีการทํ าแผนที วิกฤติด ้าน การฝึ กฝนการทํ าแผนที และสิ งท้าทายใหม่ ได้แก่ ศิลปะและจินตนาการการทํ าแผนที การผลิตแผนทีขึ น ใหม่ทุกวั น และการโจรกรรมแผนที เป็ นต้น


2

คําสําคัญ: วิกฤติการทํ าแผนที , จีไอเอส, ศิลปะและจินตนาการของการทํ าแผนที, ปรัชญาการทํ าแผนที สมั ยใหม่, ทฤษฏีการทํ าแผนทีแบบใหม่, การโจรกรรมแผนที บทนํา ในช่วงทศวรรษ 2000s ทีผ่านมา การทํ าแผนทีมีล ั กษณะการก้าวกระโดดอย่างเห็นได้ชั ด ซึ งการทํ า แผนทีก่อนหน้านั นอยู่ภายใต้ การควบคุมของภาครัฐเป็ นเวลานานกว่าร้อยปี มาแล้ ว(โดยเฉพาะด้าน การทหาร หรื อผู้ น ําประเทศเท่านั น) ผู้ น ําเหล่านั นเป็ นผู้ ทีกุมอํ านาจการใช้แผนทีทั งในระดับจังหวั ด ประเทศ และภูมิภาค และน้อยมากทีทางสถาบันการศึกษาจะได้แผนทีมาใช้เพือการพั ฒนาการเรี ยนการสอน แต่ใน ปัจจุบันนี กลุ่มดังกล่าวกํ าลั งเผชิญกับความท้าทายใหม่ใน2 ลั กษณะ คือ 1) ธุรกิจการผลิตแผนทีซึ งรวบรวม ข้อมูลสเปเทียลและการทํ าแผนทีทั งหมดเข้าสู่วงการธุรกิจไปแล้ วในรู ปของแผนที3 มิติ โดยทีคนทั วไป สามารถเข้าถึงได้ หากมีเครื องคอมพิวเตอร์จากทีบ้านหรื อมีเครื อข่ายอินเตอร์เน็ต ก็สามารถเข้าถึงข้อมูลแผน ทีดังกล่าวได้ โดยง่าย นีคือยุคการทํ าแผนทีใหม่ล่าสุด ซึ งสอดคล้ องกับความก้าวหน้าของยุคเทคโนโลยี ไม่ เพียงแค่การมีซอฟแวร์การทํ าแผนทีแบบใหม่เท่านั น แต่ย ั งรวมถึงการผสมผสานซอฟแวร์ทีเป็ นแหล่ง โปรแกรมฟรี (open- source) ร่ วมกับเครื องมืออืนๆ อั นได้แก่การทํ าแผนทีผ่านเข้าไปในระบบมือถือ และ การต่อเชือมต่อเข้ากับพื นที(geotagging) ได้ทันที และ 2) ในขณะเดียวกั นแนวโน้มนี ก็ย ั งสัมพั นธ์ก ับการ พั ฒนาทางอุตสาหกรรมเกียวเนืองอืนๆ ส่งผลให้รูปแบบทางสังคมและวิถีชีวิตมีการเปลียนแปลงตามไปด้วย แผนทีในยุค 2000 นี จึงไม่ตอบสนองทางการเมืองได้เหมือนเมือก่อนอีกทั งยั งทํ าให้การเมืองมีความอ่อนแอ ลงไปอีกด้วย เพราะคนทั วไปสามารถเข้าถึงข้อมูลและทํ างานบนแผนทีได้ง่ายสะดวก และรวดเร็ว แต่ต ้อง ขึ นอยู่ก ับว่าแผนทีนั นมีความเฉพาะและให้ข ้อมูลได้อย่างถูกต้องแม่นยํ าหรื อไม่ ซึ งก็จะกลายเป็ นเครื องมือที ทรงพลั งไม่เพียงแค่ก ับภาครัฐเท่านั นแต่คนทั วไปก็สามารถเข้ามาร่ วมแข่งขั นด้านการตลาดข้อมูลแผนทีใน เรื องความถูกต้องแม่นยํ าแล้ วยั งสามารถสร้างอํ านาจต่อรองใหม่ขึ นมาได้ด้วยเช่นกั น ดังนั นการทํ าแผนทีกับ สังคมจึงมีความสัมพั นธ์ก ันมาโดยตลอดและทํ าให้เกิดรูปแบบการทํ าแผนทีทีเปลียนแปลงไปไปตามบริ บท ความต้องการของสังคมในยุคนั นๆ ทุกวั นนี ประเด็นการทํ าแผนทีมีล ั กษณะของการแพร่ กระจายจินตนาการและเน้นการทํ าแผนทีไม่ เพียงเหตุผลทางด้านการเมืองอย่างเดียว แต่กลั บเป็ นเหตุผลทางธุรกิจการทํ าแผนทีทีกํ าลั งเบ่งบานซึ งบางที พบว่าไม่ได้ใช้หลั กของการทํ าแผนทีเลย แนวโน้มทั งสองประเด็นนี ยั งคงอยู่และเป็ นเรื องท้าทายใน เชิง ทฤษฎีและการปฏิบัตอิ ั นส่งผลต่อสถาบันการศึกษาทีทํ าการสอนวิชาการทํ าแผนทีกํ าลั งตกอยู่ในภาวะจราจล หรื อเป็ นกบฏของความรู้ (insurrection of knowledge) โดยเกิดจากความอยากรู้อยากเห็นและเป็ นปฏิกิริยา ตอบโต้อย่างรุนแรง ทีไม่ได้เกิดจากการบังคับจากเบื องบนลงสู่สถาบันการศึกษาอีกต่อไป การขับเคลือนนี ยั งคงดํ าเนินอย่างต่อเนืองในสถาบันการศึกษาทีสอนการทํ าแผนทีแล้ วมีความพร้อมรับมือได้เท่าทั นกับการ เปลียนแปลงนีหรื อไม่ ในกรณี นี อาจเรี ยกได้ ว่า การทํ าแผนทีกํ าลั งเคลือนตัวออก จากหลั กการ (being


3

undisplined) โดยเริ มมีความเป็ นอิสระและเปิ ดเสรี ให้ก ับผู้ ท ํ าแผนทีอืนๆและใช้หลั กการอืนๆเข้ามาสู่ กระบวนการทํ าแผนทีในท้ายทีสุดนั นเอง การขับเคลือนการทํ าแผนทีในยุควิกฤติมีอยู2่ ประเด็นด้วยกัน คือ1) วิกฤติทางการเมืองซึ งเป็ นเรื อง ปกติอยู่แล้ ว และ2) วิกฤติในปัจจุบั นซึ งเป็ นส่วนหนึ งของวิกฤติการทํ าแผนทีทีผ่านมา เนืองด้ วยประวั ติการ ทํ าแผนทีมีความท้าทายอย่างต่อเนืองมาโดยตลอด นับตั งแต่การใช้ระบบGIS เติบโตมาตั งแต่ปลายปี 1980s จึงทํ าให้เกิดการทํ าความเข้าใจในระเบียบการทํ าแผนทีใหม่ ในขณะเดีวยกั นก็ท ํ าให้นักทํ าแผนที (cartographer) ได้กลายเป็ นทีรู้จ ั กทั วไปด้ วย ความเป็ นจริ งแล้ ว การทํ าแผนทีเป็ นแนวทางหนึ งของนํ าเสนอ ความรู้ของสิ งต่างๆ บนโลกทีเกิดจากความอยากรู้อยากเห็น แล้ วมีการจั ดสถานภาพของความรู้ให้สอดคล้ อง กับหลั กการทางภูมิศาสตร์นั นเอง วิกฤติการทําแผนที  วิกฤติเชิงปรัชญาการทําแผนที หากมีแผนทีหนึ งได้พูดกับคุณว่า “กรุ ณาอ่านฉันอย่างระมั ดระวั ง ทํ าตามคํ าสัของฉั ง นอย่างใกล้ ชิด โดยไม่ต ้องสงสัยใดๆ.... ฉันเป็ นโลกทีอยู่ในอุ ้ งมือของคุณ หากขาดฉันไป คุณจะโดดเดียวและหลงทาง” (Harley, 1989:1) แล้วก็เป็ นสิ งทีทุกคนต้องการอีกด้ วย การทํ าแผนทีในยุคนี กํ าลั งถูลก้ มล้ างให้อยู่ภายใต้อุ ้ ง มือ ดูเหมือนว่าแต่ละคนอาจจะถูกทํ าให้ตาบอดไปอีกครั งอย่างเช่นแต่ละเมืองถูกสร้างให้มีความแปลกหู แปลกตาออกไปจากประสบการณ์แผนทีทีเคยผ่านหูผ่านตามาก่อน แต่ละสถานทีสําคัญกํ าลั งเป็ นสัญลั กษณ์ ทีไร้ความหมายไปจนถึงไม่มีความหมายใดๆเลย ทั งๆทีในแนวคิดเดิมนั นแผนทีเป็ นเครื องมือหนึ งเพือใช้ว ั ด ขนาดและมาตรส่วนของวั ตถุและอยู่ในมือของช่างเขียนแผนที เพราะสมั ยก่อนนั นในการเขียนแผนทีขึ นมา อย่างหนึ งต้องประกอบด้ วยความคิดด้านทฤษฎีสารสนเทศ ( information theory) ภาษาศาสตร์( linguistics) วิชาทีว่าด้ วยสัญลั กษณ์ของการสือสาร(semiotics) โครงสร้างนิยม (structuralism) ปรากฏการณ์วิทยา ( phenomenology) ทฤษฎีพ ั ฒนาการ( developmental theory) ศาสตร์เกียวกับการแปล (hermeneutics) ศาสตร์ ทีเกียวกับการให้ความหมายของสัญลั กษณ์ (iconology) ลั ทธิมาร์กซิส ( Marxism) และอุดมการณ์ ( ideology) แต่ในปัจจุบั นการทํ าแผนทีกํ าลั งเปลียนแปลงไป เพราะนักเขียนแผนที (cartographer)ได้น ําระบบ GIS เข้ามาใช้เป็ นเครื องมือหลั ก และก็มีวารสารหนึ งทีควรจะเปลียนชือจาก The American Cartographer เป็ น Cartography and Geographical Information Systems น่าจะดีกว่า (Harley, 1989:2) อาจจะดูแปลกขึ น ไปอีกนิดจากท่าทีของสมาคมการทํ าแผนทีแห่งราชอาณาจั กร ได้ให้ค ํ านิยามแบบกํ ากวมของการเขียนแผนที ในยุคใหม่นีใน 2 ลั กษณะ กล่าวคือ 1) ความเป็ นมืออาชีพด้ านการทํ าแผนทีซึ งเป็ นทีรู้จ ักในทั วไปอยู่แล้ ว และ 2) การทํ าแผนทีเป็ นการสือสารกับสาธารณะซึ งศาสตร์การทํ าแผนทีเป็ นทัศาสตร์ ง ศิลปะ และ เทคโนโลยี เพือการวิเคราะห์และการตีความวั ตถุหรื อสิ งทีสัมพั นธ์ทางภูมิศาสตร์ และการสือสารถึงผลลั พธ์ ทีเกิดจากการให้ความหมายลงบนแผนที เป็ นทีสังเกตว่า คํ า ศิลปะ (Art) ไม่เคยปรากฏอยู่ในอาชีพการทํ า แผนทีมาก่อนหน้านั น แต่ในปัจจุบันสัญญาณนี ได้ กลายมาเป็ นส่วนหนึ งของความแปลก ใหม่ซึ งต้องกลั บมา


4

ทบทวนถึงธรรมชาติของแผนทีและความหลากหลายในมุมมองต่างๆทีกํ าลั งเปลียนไป หาตั งคํ าถามว่าเป็ น เพราะความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์เป็ นมายาทีส่งผลทํ าให้นักทํ าแผนทีได้พ ั ฒนาความเป็ นวิชาชีพของ ตน จนกลายเป็ นทียอมรับอย่างไม่ต ้องสงสัยเช่นนั นหรื อแต่ถ ้ าหากมองในเชิงประวั ติศาสตร์แล้ วนีคือความ ท้าทายของนักทํ าแผนที เพราะตามประวั ติศาสตร์การทํ าแผนทีมั กจะเติบโตในฐานะทีเป็ นพหุวิทยาการไป พร้อมกับการเปลียนแปลงของสังคม จนทํ าให้เกิดแนวคิดใหม่ทีจํ าเป็ นต่อมนุษย์ และสังคมในขณะนั น เช่น หลุยส์ มาริ น (Louis Marin) ราชาแห่งยีโอเมเตอร์ ทีฝรั งเศส (The King and his Geometer) เขียนประวั ติการ ทํ าแผนทีในช่วงศตวรรษที 17 และวิลเลียม โบเอลโฮเวอร์ (William Boelhower) เขียนเรื องวั ฒนธรรมการ ทํ าแผนที กล่าวถึงเรื องราวการทํ าแผนทีโลกของอเมริ กาในราวศตวรรษที 16 ทั งสองคนนี ถือได้ว่าอยู่ในช่วง ยุคหลั งสมั ยใหม่ (Postmodernism) แล้ วส่งผลต่อการปรับโครงสร้างการทํ าแผนทีขึ น โดยได้น ําแนวคิดความ เป็ นจริ ง (reality) และการนําเสนอ (representation) เข้าด้วยกันจนกลายเป็ นหลั กคิดการทํ าแผนที แล้วยั ง ผสมผสานแนวคิดไม่เพียงแค่ทางเรขาคณิ ตและเหตุผล (geometry and reason) เท่านั นแต่ย ั งรวมเอาแนวคิด พลั งทางสังคมและค่านิยมของสังคมด้ วย เพราะทั งหมดล้ วนเกียวข้องกับการแสดงออกซึ งอํ านาจ ผลกระทบ ของสังคมลงไปสู่ความรู้บนแผนที ในยุควิกฤติการทํ าแผนทีของยุคนี (รู ปที 1)

รู ปที 1 การนําหลักคิดทางเรขาคณิต เหตุผล พลังทางสังคม และค่านิยมเข้ ามาสู ่ การทําแผนที ทีมา: http://www.esquire.com/cm/esquire/images/cartography3-1208-lg-52870192.jpg นอกจากนี ฟูโกท์(Foucault1) ยั งได้ให้แนวคิดเชือมโยงความหลากหลายของความคิดต่างๆลงสู่ พื นทีใหม่ (a new terrain) ว่าการเชือมโยงทฤษฎีทางสังคมเข้ากับความลึกลั บของศาสตร์การทํ าแผนที โดยที ไม่ได้เสนอข้อสรุ ปในการตีความเชิงประวั ติศาสตร์ผ่านการบันทึกด ้วยแผนทีเลย และก็ไม่ได้เป็ นวิธีการที ชัดเจน หากแต่เป็ นเพียงวิธีการกว้ างๆทีช่วยในการกํ าหนดตํ าแหน่งซึ งถูกพลั งขับเคลือนบางอย่างเป็ น 1

Michel Foucault (มิเชล ฟูโกท์) เป็ นนักปรัชญา นักสังคมวิทยา และ นักประวั ตศาสตร์ ิ ชาวฝรั งเศส เขียนหนังสื อ History of Systems of Thought เป็ นหนังสื อทีสร้างชือเสี ยง เป็ นผู้ ทีมีชือเสี ยงด้านการศึกษาวิกฤติของสถาบันทางสังคม(critical studies of social institutions) เป็ นงานทีเกี ยวข้องกั บ อํ านาจ ความรู้ และวาทกรรม


5

พื นฐานเพือให้เกิดการทํ าแผนทีในสังคมยุโรปและนอกสังคมยุโรปด้ วย จากงานเขียนของฟูโกท์ ได้ กลายเป็ นกุญแจสําคัญของพลั งแห่งความรู้ทพบทั ี วไปในสาขาวิชาอืนๆด้วย เพราะไม่เพียงแค่เป็ นพลั งทีมอง ไม่เห็นหรื อมีนัยยะซ่อนเร้นอยูภ่ ายในสาขาต่างๆ แต่รวมไปถึงความรู้เฉพาะทีได้ถูกนําเข้าไปใส่ไว้ ในแผนที และสมุดแผนทีต่างๆด้วย อย่างเช่น ข้อเท็จจริ งทางแผนทีนั นก็เป็ นเพียงข้อเท็จจริ งเฉพาะทีเกิดจากมุมมอง ทางวั ฒนธรรม ซึ งเราเริ มทีจะเข้าใจว่าม ั นเป็ นแผนทีได้อย่างไร คล้ ายกับงานศิลปะ ทีดูห่างไกลออกจาก ความเป็ นจริ ง เหมือนกับการเปิ ดโลกกว้ าง แต่เป็ นเพียงวิถีหนึ งของมนุษย์ ก ับการมองโลกท่านั นเอง(รู ปที 2)

รู ปที 2 การทําแผนทีคล้ายกับงานศิลปะทีเป็ นโลกเสมือนแทนโลกแห่งความเป็ นจริง ทีมา: http://research.microsoft.com/en-us/groups/vgv/vgv1.jpg นอกจากนี แล้ ว ฮาร์เลย์( Harley (n.d): 4) ได้ กล่าวถึงกฎการทํ าแผนทีซึ งเป็ นการนําเสนอสิ งหรื อ วั ตถุทสร้ ี างขึ นมาให้มีความสัมพั นธ์ทางพื นทีอย่างถูกต้อ(a ง correct relational model of the terrain) กล่าวคือสิ งใดๆบนโลกเมือมีการย่อส่วนลงบนแผนทีแล้ วต้องแสดงว่ามีความเป็ นจริ งผู้ ท ํ าแผนทีสามารถทํ า ได้โดยอิสระภายใต้ การมองความเป็ นจริ งบนพื นที ใช้การคํ านวณด้วยแนวคิดทางคณิ ตศาสตร์ มีการสังเกต อย่างเป็ นระบบและวั ดได้ทีเป็ นข้อเท็จจริงของการทํ าแผนที และข้อเท็จจริ งมีความผั นแปรไปอย่างอิสระ ด้วย เป็ นต้ น วิธีการเหล่านี ได้จากการสํารวจและโครงสร้างของศาสตร์การท ํ าแผนที เพราะเอกสารแผนที เป็ นงานประวั ติศาสตร์ทีสามารถนําไปใช้อ ้ างอิไงด้โดยต้องการความถูกต้องชัดเจนในองค์ความรู้ของการทํ า แผนที จนกระทั งเกิดการพั ฒนาองค์กรวิชาชีพการทํ าแผนทีขึ นก็เพือรองรับความเป็ นมืออาชีพดังกล่าว ยิ ง ไปกว่านั นแม้ ว่าผู้ ท ํ าแผนทีจะกํ าลั งก้าวกระโดดไปสู่การให้บริ การทั งด้านศาสตร์และศิลป์ ของการทํ าแผนที ก็ตาม แต่ศิลปะทีเราเคยคุ ้นเคยนั นกํ าลั งจะถูกนํามาใช้ในงานเขียนแผนที ดูแล้ วคล้ ายกับเป็ นอุปกรณ์แต่งตัว มากกว่าความเป็ นบทบาทสําคัญของการสือสารด้วยแผนทีเสียอีกคล้ ายกับการทีเรี ยกว่า เป็ นการสือสารด้วย การมอง ( visual communication ) ซึ งแตกต่างจากงานศิลปะหรื อการวาดรู ป แต่เป็ นวิธีการของศาสตร์การ


6

ทํ าแผนที จนทุกวั นนี ผู้ ท ํ าแผนทีต่างก็มีความฉงนสงสัยตามกันไปด้ วยราวกับว่ากํ าลั งถูกรื อโครงสร้างศาสตร์ การทํ าแผนทีไปเลยซึ งต่างไปจากวิธีการเดิมทีเคยประสบมา สิ งหนึ งซึ งแผนทีกลายเป็ นทียอมรับ คือการเป็ นกระจกสะท้อนธรรมชาติ ( a mirror of nature) โดย มีเหตุผลว่า คุณลั กษณะวาทกรรมของการทํ าแผนทีไม่ได้เกิดขึนอย่างเห็นได้ชั ดนัก อย่างเช่นตามความเชือ ทีว่า แผนทีเป็ นศาสตร์ประยุกต์โดยเป็ นการนําเสนอความถูกต้องของความจริ งทีถูกผลิตขึ น วิธีการทํ าแผนที ก็ต ้องให้ความจริ งทีเป็ นไปได้ หรื อเพือยืนยั นความรูอย่้ างถูกต้องทีสุด นีคือคุณลั กษณะการสะท้อนของ ธรรมชาติ แต่เมือได้รับอิทธิพลทางวิทยาศาสตร์โดยการกํ าหนดมาตรฐานบางประการขึ นมา ทํ าให้ผู้ เขียน แผนทีต้องสร้างกํ าแพงป้ อมปราการของการทํ าแผนทีจริ งๆขึ นมาด้ วย (the true map) เพราะต้องมีความเป็ น มาตรฐานและวั ดได้ ทียิ งไปกว่านั นจนอาจจะไม่ใช่เป็ นการทํ าแผนทีเลยก็ได้ บางทีอาจจะซ่อนเงือนงํ า บางอย่างไม่ว่าจะเป็ นความไม่แม่นยํ า ความมีเงือนงํ า ตั ดสินบนความคิดตนเอง ค่านิยม และมโนคติ ทีทํ าให้ เกิดภาพทีบิดเบือนออกไป อีกทั งผู้ เขียนแผนทีเองก็ต ้องมีความรู้สึกถึงสิ งอืนๆร่ วมด้วย เพือเชือมความ สัมพั นธ์ก ับสิ งทีไม่สามารถนําไปปรากฏบนแผนทีได้ อย่างทีพบเห็นโดยทั วไปกลั บพบว่า ผู้ เขียนแผนทีจะ ใช้มาตรฐานทางรู ปธรรมเป็ นตัวกํ าหนดเรื องความแม่นยํ า และความเป็ นจริ งทีเห็นได้ ทั งนี ทัศนคติของผู้ ท ํ า แผนทีก็เป็ นสิ งจํ าเป็ นทีต้องนํามาทบทวนด้วยว่ามีพื นฐานความคิด เป้ าหมายการนําเสนอแผนทีเป็ นอย่างไร  วิกฤติเชิงทฤษฎีการทําแผนที วิกฤติเชิงทฤษฎีการทํ าแผนที เริ มขึ นในราวหลั งสงครามโลกครั งที1 โดยความพยายามค้ นหาการ นําเสนอข้อเท็จจริ งจากสิ งทีเป็ นจริ ง จึงทํ าให้ต้องทํ าแผนทีข้อเท็จจริ งขึ น(maps make reality) ให้ดีเท่าที ต้องนําเสนอมั นออกมาได้ดังที จอห์น พิกเกิลส์ (John Pickles) ได้ กล่าวว่า ...แทนทีจะเน้นสิ งทีเราสามารถกํ าหนดสิ ง(วั ตถุ)ลงบนแผนที... (เราสามารถทํ าได้) แต่กลั บเน้นไปที วิธีการของการทํ าแผนทีและการเพ่งไปทีแผนทีเฉพาะแค่การแทนด้วยรหัสของสิ ง(วั ตถุ)และแทน คุณลั กษณะทีทํ าขึ น... เพราะพิกเกิลส์ คิดว่าการทํ าแผนทีเป็นเหมือนการผลิตทางพื นที ภูมิศาสตร์ สถานทีและอาณาเขต เช่นเดียวกับคนทีอยู่ภายใต้การปกครองโดยไร้ซึ งทีอยู่ และได้สร้างพื นทีเหล่านี ขึ นมา ตัวแผนทีเองนั นถือ ได้ว่าเป็ นโครงสร้างของความรู้ ทีแสดงถึงอํ านาจและเป็ นเครื องมือการใช้อ ํ านาจในความหมายของการ เปลียนแปลงทางสังคมมาตั งแต่อดีตได้พิสูจน์ให้เห็นแล้ วว่าแผนทีใช้เป็ นเครื องมือควบคุมสังคมอย่างมี นัยยะสําคัญ ส่วนความเป็ นมาตรฐานตามประวั ติการทํ าแผนทีแล้ วได้รับการพั ฒนามาตั งแต่ทศวรรษ 1980s ถึง ต้นปี 1990s โดยได้รับอิทธิพลจากผลงานของ ไบรอั น ฮาร์เลย์(Brian Harley) เขียนเกียวกับทฤษฎีและวิกฤติ ของ GIS ซึ งได้เสนอแนวคิดเกียวกับ อํ านาจ แนวคิด การตรวจตรา และการให้เหตุผลซึ งไม่ได้เข้าถึงการทํ า แผนทีอย่างสมบูรณ์หากไม่ใช้แนวคิดเหล่านีเข้าไป แนวคิดดังกล่าวเป็ นวิธีการใหม่ซึ งไม่ใช่เพือภูมิศาสตร์ อีกต่อไป นอกจากนี แล้ วฮาร์เลย์ ย ั งได้ให้ข ้อโต้แย้ งทางด้านภูมิศาสตร์มนุษย์ และปฏิเสธสิ งตรงข้ามในสอง


7

รู ปแบบ (binary) ของการทํ าแผนทีซึ งโดดเด่นในช่วงเวลานั นได้แก่ ศิลปะกับศาสตร์ (art/science) รู ปธรรม กับนามธรรม (objective/subjective) และวิทยาศาสตร์ก ับมโนคติ (scientific/ideological ) เป็ นต้น ซึ งเป็ นสิ ง ตรงข้ามกันแต่สามารถนํามาอยู่ในเรื องเดียวกันของการทํ าแผนทีได้ดังตารางที 1 ตารางที 1 กฎความรู ้ เกียวกับโลก: สิงทีตรงข้ ามสามารถรวมเป็ นหนึงเดียวได้ จิตใจ (Mind) เชิงประจั กษ์ (Empirical) แท้ จริ ง (Absolute) การคิดเชิงรู ปธรรม (Nomothetic) มโนคติ (Ideological) นามธรรม (Subjective) แก่น สาระ (Essence) มั นคง แน่นอน(Static)

ร่ างกาย (Body) เชิงทฤษฎี (Theoretical) เทียบเคียง (Relative) การคิดเชิงนามธรรม (Ideographic) วั ตถุความจริ ง (Material) รู ปธรรม (Objective) แรงบั นดาล (Immanence) เปลียนแปลง (Becoming)

องค์ประกอบ(Structure) กระบวนการ (Process) การผลิต (Production) ตั วแทน (Representation)

ตั วแทน (Agency) รู ปแบบ (Form) การบริ โภค (Consumption) ตั วจริ ง (Practice)

ใช้ได้ จริ ง (Functional) ไม่เปลียนรู ป (Immutable) หั วข้ อหลั ก (Text) แผนที (Map)

เป็ นสัญลั กษณ์ (Symbolic) แปรเปลียน (Fluid) บริ บทแวดล้ อม (Context) อาณาเขต (Territory)

ทีมา: Kitchin, Chris Perkins and Martin Dodge (2009): 3. นอกจากนี ฮาร์เลย์ ยั งโต้แย้ งว่า ผู้ ท ํ าแผนทีต้องมีจริ ยธรรมความรับผิดชอบต่ อผลกระทบจากการทํ า แผนทีเหล่านี ด้วย อีกทั งยั งได้เสริ มอีกว่าความโดดเด่นของการทํ าแผนทีดูเหมือนเป็ นศาสตร์กลางๆ แต่ใน ความเป็ นจริ งแล้ วกลั บเป็ นตั วกลางทีสําคัญในเลือกข้างเพือรักษาผลประโยชน์ให้แก่รัฐนั นเอง ส่วนนักเขียนคนอืนๆ อย่าง พิกเกิลส์ ได้ยกประเด็น GIS ว่าเป็ นเรื องของกลุ่มขุนนางวิชาการทีมี ความเชียวชาญด้านเทคนิค (technocratic positivism) ในขณะทีสมิท (Smith) กล่าวว่า GIS เป็ นเครื องมือทาง การทหารของอเมริ ก ั นในช่วงสงครามอ่าวเปอร์เซีย เพราะการนําGIS ไปใช้นั นได้รับการโจมตีจากนัก ทฤษฏีทางสังคมทีเพิกเฉยต่อการมองเรื องการใช้งาน GIS ให้มีความลึกซึ งมากกว่านี และการโจมตีเป็ นเพียง หนึ งในหลายอย่างของหลั กการทางภูมิศาสตร์ทีเกิดในช่วง 2-3 ปี ข้อโต้แย้ งต่างๆได้แก่แนวคิดมุมมองทาง ภูมิศาสตร์ของวั ฒนธรรมการทํ าสงครามโดยใช้เครื องมือ GIS และในช่วงทศวรรษ 1990s การพั ฒนาแนวคิด การทํ าแผนทีนั นถูกกํ าหนดโดยสังคมหรื อเป็ นวิกฤติ GIS ด้วยตั วมั นเองก ันแน่ทีแยกความน่าสนใจ กับ วิกฤติการทํ าแผนที (critical cartography2)ออกจากกัน

2

วิกฤติ GIS และ วิกฤติการทํ าแผนที (Critical cartography)เป็ นคํ าทีซ้อนทั บกั นแต่ไม่ได้เกิ ดขึ นในเวลาเดียวกั น ในขณะทีทั งสองคํ านี เกิ ดขึ นจาก วิกฤติปรัชญามาก่ อน คํ าว่า วิกฤติ GIS นั นอ้างถึงนัยยะทีเกี ยวพั นกั บสังคม ปฏิสัมพั นธ์โดยตรง จากการแสดงผลและการวิเคราะห์ข้อมูลสเป เทียลทั งฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ วิกฤติการทํ าแผนทีนั นมีบริ บททีกว้ างกว่วาิกฤติแผนที กล่าวคือเป็ นการอ้างถึงแผนที การทํ าแผนที และ ผู้ ท ํ าแผนที อย่างไรก็ ตามหนึ งในความแตกต่างเหล่านี ขึ นอยู กั บ่ การใช้ค ํ าทีผั นแปรไปตามบริ บทนั นๆโดยตั งอยู่ก ั บการทํ าความเข้าใจหนึ งๆ


8

สิ งทีน่าสังเกตอีกประการหนึ งคือGIS ได้หลุดออกไปจากนอกวงการการศึกษา แต่กลั บมีล ั กษณะ การใช้งานเพือสร้างการมีส่วนร่ วมของชุมชน การให้บริ การทางสังคม GIS ซึ งเกิดจากนักภูมิศาสตร์มนุษย์ นําออกไปใช้ ทั งๆทีความจริ งแล้ วบทบาทของGIS นั นมีอย่างกว้ างขวาง กล่าวคือสามารถใช้เป็ นเครื องมือ ช่วยในการตัดสินใจทางสังคมเช่น การวิเคราะห์สุขภาพด้านสาธารณสุขการแพร่ กระจายโรค เป็ นต้ น วิกฤติทางทฤษฏีการทํ าแผนทีเหล่านี เป็ นไปได้ททํี าให้เกิดโอกาสการสร้างเข้มแข็งขึ นในเวลาเดียวกัน ตาม ประวั ติการทํ าแผนทีแล้ วพบว่า การทํ าแผนทีเกิดจากความรู้ของคนท้องถิ นโดยไม่ได้เป็ นศาสตร์มาก่อนเลย เช่น ภูมิปัญญา การทํ าแผนทีโดยไม่มีหลั กการ เรื องเหล่านี อยู่ในบริ บททางวั ฒนธรรมของมนุษย์ บางทีไม่ได้ สอดคล้ องกับตํ าราการทํ าแผนทีเลย ดังที ฮาร์เลย์กล่าวว่า แผนทีเป็ นการแสดงกราฟิ กทีเป็ นความเข้าใจสเป เทียล ของสิ ง วั ตถุ แนวคิด เงือนไข กระบวนการ หรื อเหตุการณ์ของโลกมนุษย์ โดยเน้นบทบาทของแผนที จากประสบการณ์ของมนุษย์ มากกว่าค้นหารู ปแบบการทํ าแผนที  วิกฤติด้านการฝึ กฝนการทําแผนที หากว่าวิกฤติทางทฤษฎีมีความชัดเจนในแนวคิดทางสเปซ(space)เพือการทํ าแผนทีทางเลือกแล้ ว อย่างนั นก็ต ้องมีนักทํ าแผนทีหลากหลายก็ต ้องเกิดขึ นนอกห้องเรี ยนเพือค้นหาว่าทฤษฎีนี มีความหมายในเชิง ปฏิบัตดิ ้วยว่าเป็ นอะไร เป็ นทีน่าสังเกตได้ว่าบางทีการทดลองการทํ าแผนทีเกิดจากชาวบ้านในท้องถิ น โดยเฉพาะอย่างยิ งการแสดงออกของการทํ าแผนทีซึ งเกิดจากความรู้สึก การให้ความหมายทางภูมิศาสตร์ มากกว่าความเป็ นศาสตร์เสียอีก อย่างเช่นแผนทีทีเกิดในช่วงทศวรรษที 1950s -1960s เป็ นแผนทีซึ ง ตอบสนองทางการเมือง รวมถึงผู้ ท ํ าแผนทีด้วย จนกระทัใงนปลายทศวรรษที 1980s มีการแพร่ กระจาย เทคโนโลยีการทํ าแผนทีขึ นถือได้ว่าเป็ นจุดเริ มต้นของกการค้นพบศิลปะการกํ าหนดตํ าแหน่ง(locative art) และเป็ นการทํ าแผนทีเชิงจิตวิทยาภูมิศาสตร์ (psychogeographical mapping) ทํ าให้เกิดการใช้เรขาคณิตเชิง อุดมคติ (euclidean space) เข้าสูง่ าน GIS เป็ นอย่างมาก และแนวคิดยูคลิเดียนสเปซนี เองได้เป็ นกุญแจสําคัญ ของการกลายเป็ นศาสตร์ทางพื นทีและกํ าลั งกลายเป็ นกฎเกณฑ์ทางพื นที(the scientization and regularization) ไปในทีสุด เช่น เมือต้องมีการปฏิบัตงิ านระหว่างกัน ก็ต ้องอาศั ยมาตรฐานข้อมูลเดียวกันไป ด้วย วิกฤติของยู คลิเดียนสเปซซึ งเน้นทีการเป็ นคุณสมบัติจ ํ าเพาะ(idiosyncrasies) ความเป็ นท้องถิ น หรื อ ความเป็ นธรรมชาติโดยบังเอิญ นั นหมายความว่า ไม่ใช่ความรู้ทั งหมดทีสามารถถูกทํ าให้เป็ นวิทยาศาสตร์ ได้ (be scientized) แต่ถ ้ าหากเฝ้ ามองถึงเป้ าหมายบางประการเพือนําไปสู่เทคโนโลยีการทํ าแผนทีเพือสังคม โดยตรงก็สามารถมองในมุมนี ได้ แต่สิ งทีกํ าลั งเผชิญหน้าคือ การทํ าแผนทีจากโปรแกรมเสรี หรื อ opensource บางครั งเรี ยกว่า การโจรกรรมแผนที(map hacking) ถือว่าเป็ นการช่วงชิงผลประโยชน์ในการ ประยุกต์ใช้โปรแกรมปฏิบัติการจาก open-source หรื อจากการต่อเชือมไซต์ (site’s functionality) เข้ากับอีก ไซต์หนึ ง ซึ งรู้จ ักในชือของmashups เพราะการเข้าไปดึงเอาผลประโยชน์จากไซต์ต่างๆ เป็ นผลมาจากการ โดยการเชือมโยงระหว่าง GIS และการทํ าแผนที ในกรณี นี จะไม่พยายามทีจะสร้างความแตกต่างระหว่างคํ าว่า การทํ าแผนที และGIS แต่ จะเน้นทีการผลิตแผนทีของตัวมันเอง ในฐานะทีเป็ นทั งGIS และการทํ าแผนที


9

ภาษา mashups ตระกูล XML และโปรแกรมปฏิบัติการ APIs (Application Programming Interfaces) โดย การกํ าหนดให้ APIs เป็ นส่วนหนึ งของซอฟแวร์เชือมต่อกั บซอฟแวร์อืนๆ แต่เมือมีการเปิ ดใช้open-source (ภายใต้ใบอนุญาตการใช้ซอฟแวร์ฟรีของบางแห่ง) นั นหมายความว่าได้เกิดนักพั ฒนาอิสระต่างๆมากมาย ที สามารถทํ าการเชือมต่อซอฟแวร์ของตนเข้ากับไซต์อืนได้อย่างเสรีอย่างเช่น Yahoo, Google, and Flickr เป็ นต้น และเมือเดือนมิถุนายน 2005 ทางบริ ษ ัท Google ได้ปล่อย Google Earth (แผนทีโลก 3 มิติเสมือน จริ ง มีความสามารถในการแสดงภาพอาคาร 3 มิติ การบิน มุมการเอียง และย่อ-ขยาย) ดึงดูดให้มีการ โจรกรรมแผนทีขึ นเป็ นจํ านวนมาก นอกจากนี แล้ วทางGoogle API ยั งอนุญาตให้น ําข้อมูลอืนๆ ทีเกียวข ้อง เชือมโยงและถูกนําเสนอลงไปใน Google map ได้อีกด้ วย อีกทังยั งนําเสนอแนวคิดการฝึ กฝนการทํ าแผนที สามารถทํ าได้ทุกวั นจาก Google Earth (GE) ครั งหนึ งทาง GE ได้ปล่อยภาพแสดงการเกิดพายุเฮอร์ริเคน แคททริ นา เมือปลายเดือนสิงหาคม 2005 จนกลายเป็ นจุดเด่นของ GE ทีสามารถตอบสนองต่อสาธารณชน ได้รับรู้ แล้ วตามมาด้ วยภาพถ่ายทางอากาศของเหตุการณ์มหันตภัยดังกล่าวซึ งได้ภาพมาจากหน่วยงานต่างๆ ภาพเหล่านีล้ วนมีประโยชน์ต่อการรับรู้ของสังคม ในครั งนั นมีคนเข้าใช้GE มากกว่า 275,000 คนทีจากที บันทึกไว้ และมากกว่า40,000 คนได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกในฟอรัมนี เพือถกปัญหาเกียวกับข้อมูลสเปเทียล ใหม่เป็ นจํ านวนมาก ประมาณการว่าทาง GE อาจจะมีสมาชิกเพิ มเป็ นล้ านๆ ในช่วงเวลาอั นรวดเร็ ว ในขณะเดียวกั นความสามารถของเทคโนโลยียีโอสเปเทียล ประเด็นหนึ งทีเห็นได้ชั ดคือ ความสามารถเหล่านี ไม่ได้กระโดดจากหลั กการทางการทํ าแผนทีหรื อGIS ซึ งก็ย ั งคงได้ รับการพั ฒนาจาก นักโปรแกรมเมอร์ทีพยายามให้สารสนเทศทีเป็ นประโยชน์ จริ งๆแล้ วเราแทบจะไม่ได้ใช้ค ้ นหาจุดอ้ างอิง หรื อพิก ัดทางแผนทีเลย เพราะการแสดงผลโลกความเป็ นจริ งนั นถูกใช้เพือประโยชน์ในด้านการนําทางและ การแสดงข้อมูลทีเป็ นผลลั พธ์สุดท้ายเท่านั น โดยไม่จ ํ าเป็ นต้องรู้ว่าสารสนเทศนั นมาจากทีไหนเพราะใน ชีวิตประจํ าวั นของเราอยู่บนโลกมือถือทุกวั นอยู่แล้ ว ดังนัทีนมาของการแสดงผลของความสามารถทางแผน ทีจึงเป็ นเรื องลึกลั บ ยิ งมีการทํ าแผนทีบนopen-source แล้ วนั นหมายความว่า ศาสตร์การทํ าแผนทีไม่ได้ เป็ นไปมากกว่าการจัดการของนักเขียนแผนที หรื อนัก GIS หากแต่เป็ นผู้ ใช้ต่างหากทีสามารถทํ าแผนทีขึ น ใช้เอง และส่งผ่านเข้าไปในระบบเครื อข่าย ดังรู ปที 2 แสดงถึงการทํ าแผนทีโดยเน้นการสือสารไปสู่ สาธารณะ และมีการนําเสนอออกไปแต่ไม่รู้แหล่งทีมาของการผลิตแผนทีทีชัดเจน


10

รู ปที 3 การทําแผนทีในยุคใหม่ ทีมา: Kitchin, Rob; Chris Perkins and Martin Dodge (2009) : 8. สิงท้ าทายใหม่ ทุกวั นนีนักทํ าแผนทีได้เคลือนตัวเหนือกว่านักเขียนแผนทีสมั ยก่อน ส่วนใหญ่เน้นการออกแบบการ สือสารแผนที (the map communication model) มากกว่าทีจะเรี ยนรู้ว่าแผนทีทํ างานอย่างไร นอกจากนี แล้ ว ยั งเน้นเรื องการแสดงผลทางพื นที(geovisualization) ซึ งเป็ นการรวมเข้าไปในการค้นพบ ผลทีตามมาทํ าให้ เกิดการทํ าแผนทีอยู่ทีมือผู้ เชียวชาญการทํ าแผนทีกับนักโจรกรรมแผนที และการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ โดยการตั งสมมุติฐานและรู ปแบบยืนยั นก็ย ั งไม่ชั ดเจนเพียงพอ นอกจากนี วิกฤติการทํ าแผนทียั งหมายถึงการ เกิดทางเลือกของโลกใหม่ เกิดสังคมใหม่ขึ นมา มีอยู่ 2 ประเด็นทีสําคัญคือ1) ทฤษฏีการทํ าแผนทีซึ งต้อง ตรวจสอบความต้องการของสังคมร่ วมด้วยทั งกลุ่มทีใช้ และความสัมพั นธ์เชิงอํ านาจทีส่งผลกระทบต่อการ ทํ าแผนที และ 2) การพั ฒนาของแหล่งซอฟแวร์เสรี (open-source) เป็ นการช่วยแพร่ กระจายความสามารถ ของการทํ าแผนที ดังนั นจึงทํ าให้เกิดความหลากหลายของแผนทีทีทํ าขึ นท่ามกลางช่วงวิกฤตินี เอง หรื อ เรี ยกว่า การก้าวย่างไปสู่วิกฤติการทํ าแผนทีร่ วมสมั ยก็ได้ มีด ้วยกั น5 ประการทีเกียวข้องกับวิว ั ฒนาการและ การนํามาใช้ร่วมในงาน GIS ทีกํ าลั งขยายตั วอย่างรวดเร็วแล้ วมีอิทธิพลต่ออุตสาหกรรมเทคโนยีโอสเปเทียล และสังคมผู้ ใช้ทีเกียวข้องโดยตรงกับการศึกษาและการวิจ ั ยมีดังนี 1. การแพร่ กระจายการคํ านวณคอมพิวเตอร์ข ั นสูง (Pervasive high-performance computing) 2. การเชือมโยงด้วยดิจิตอล (Digital connectivity) 3. การจับข้อมูลภูมิศาสตร์และการรวบรวมข้อมูล (Geographic data capture and compilation) 4. การจัดการข้อมูลภูมิศาสตร์และการแสดงผล(Geographic data management and visualization) 5.มาตรฐานและระบบเสรี ( Standards and open system) สิ งทีกล่าวมาทั งหมดเกียวข้องกับการพั ฒนาด้านเทคโนโลยีด้านยีโออินฟอร์เมติกส์ (geoinformatics) ทีนําไปสู่การแตกสาขาใหม่ๆออกมามากมาย (V. K. Dadhwal and P. L.N. Raju (n.d.): 4) และส่งผลต่อศาสตร์ทางยีโอสเปเทียล (ตารางที 2) ดังนี 

       

Spatial multimedia Open GIS/ Free GIS GIS Customization Spatial Modeling Geo-Visualization Data Warehouse and large database handling Knowledge discovery and Data mining Geo-Computation


11

       

Mobile GIS /Fleet Management / Location Based Services Web GIS /Distributed GIS Spatial Data Infrastructure and GeoInformation Management Digital Photogrammetry ALTM Sensor Web enablement Metadata and clearing houses Interoperability/Open standards and specifications ตารางที 2 สิงทีส่ งผลต่อความท้าทายใหม่ในการวิจัยด้ านยีโออินฟอร์ เมติกส์

สาขา การประยุกต์ใช้ Technology -DBMS -GPS -Mobile Devices -ICT -Location Based Service -Digital Photogrametry -LIDAR

ความท้ าทายและความเป็ นไปได้ ในด้ านการวิจัย -Object Oriented Data Models -Geodetic controls -Satellite base Automated Real-time distributed processing , XML, GML , integration -Geospatial data visualization algorithms for mobile devices -Protocols, Ontology Web Language, Wireless Application Protocols (WAP) -Road and flyover discrimination -3D Visualization of Urban Environment

Standards

-Software -Interoperability models -Metadata -Certification Algorithms -Spatial Data Infrastructure -Accessibility issues in distributed environment -Policies for Geoinformation Management อ้ างจาก V. K. Dadhwal and P. L.N. Raju (n.d.): 4. ทีมา : http://www.vpmthane.org/pub_2006_poly_geoinformatics/PAPER%201-10.pdf นอกจากนี สิ งทีเป็ นความท้าทายใหม่ในด้านอืนๆ อีกได้แก่ -นักศิลปะเข้ามาเกียวข้องกับงานทํ าแผนทีอย่างไม่เคยเห็นมาก่อน และเพิ มจํ านวนมากขึ นเพือเขียน แผนทีตามความเหมาะสม เรี ยกกลุ่มนี ว่า นักศิลปะแผนที เพราะการทํ าแผนทีเป็ นผลผลิตของสังคมทีเป็ นอยู่


12

ในขณะนั น นักศิลปะแผนทีจึงไม่ได้ปฏิเสธในงานแผนทีเลย แต่เขาจะปฏิเสธงานแผนทีซึ งดูแข็งทือและไม่ น่าดึงดูดใจ เพราะนักศิลปะแผนทีมั กจะสนใจงานทีจับต้องไม่ได้ หรื อเป็ นงานทีไม่เคยสร้างสรรค์มาก่อน เป็ นเป้ าหมายอยู่แล้ วอั นเป็ นเรื องของงานสร้างสรรค์จากจินตนาการ ดังทีกล่าวมานี จะเห็นได้ว่านี คืองาน ความท้าทายใหม่ทีเกิดขึ นกับนักทํ าแผนทีทีต้องอาศั ยทั งเรื อง สเปซ ความรู้ และอํ านาจ ในการสร้างสรรค ์ ผลงานออกมาอย่างมีศิลปะและจินตนาการ แตกต่างจากประสบการณ์ในอดีตทีการใช้แผนทีเพือการอ้ างอิง และบอกพิก ัดทีถูกต้องทางภูมิศาสตร์

[

รู ปที 4 ศิลปะและจินตนาการของการทําแผนที ทีมา: http://www.mad-blog.com/wp-content/uploads/2009/02/adidas_map_front2.jpg -การผลิตแผนทีใหม่ๆ สามารถทํ าได้ทุกวั นไม่ว่าจะเป็ นแผนที ทีเกิดจากการแสดงออก ความขบขัน ความเป็ นธรรมชาติ อารมณ์และประสบการณ์ หรื อบอกเล่าเรื องราว สะท้อนความคิดสร้างสรรค์ เป็ นต้น ล้ วนเป็ นบทบาทสําคัญของการดํ ารงชีวิตของสังคมซึ งแสดงออกต่อการมองโลกทั งสิ น เกิดการบูรณาการ อย่างมีนัยยะสําคัญต่อวิกฤติการทํ าแผนที แนวคิดจากศิลปะและการทํ าแผนทีสร้างได้ทุกวั น และการ ออกแบบแผนทีซึ งสอดคล้ องกับบริ บทของสังคม -แผนทีในฐานะทีเป็ นแรงต้าน เมือมีการทํ าแผนทีด้วย GIS เข้ามาบูรณาการร่ วมกันแล้ ว ทํ าให้การ ทํ าแผนทีกับการเมือง ได้ลดทอนอํ านาจรัฐลงจากทีเคยมีบทบาทในการเลือกผลิตแผนทีเพียงฝ่ ายเดียว ก็ต ้อง เผชิญกับผู้ ผลิตแผนหน้าใหม่ ทั งทีเป็ นหน่วยงานไม่แสวงหากํ าไร องค์กรเอกชน รวมไปถึงผู้ ใช้ ซึ งสามารถ ผลิตแผนทีได้เอง มีการตรวจสอบซึ งกันและกั น โดยไม่ได้เกิดจากหน่วยงานของรัฐอีกต่อไป การเปลียน อํ านาจได้ผ ั นออกจากมือรัฐไปสู่มือปัจเจกชนมากขึ น สามารถลดแรงปะทะระหว่างรัฐกัคบวามซ่อนเงือน ของการทํ าแผนทีได้ ผ่านการตรวจสอบ สร้าง และผลิตแผนทีได้ในหลายมุมอง จากหลายแหล่งทีมองเห็น และมองไม่เห็นตัวตนผู้ ผลิตแผนที


13

-การโจรกรรมแผนที จากการทีเกิดแหล่งซอฟแวร์เสรี หรื อ open-source และมีราคาถูกอีกด้ วย อีก ทั งยั งมีความสามารถในการทีจะบูรณาการความรู้ทางสเปเทียลเข้าไปสู่กระบวนการวิเคราะห์แบบใหม่ ซึ ง ไม่เพียงแค่การโจรกรรมข้อมูลแผนทีจากแหล่งต่างๆ ด้วยการพั ฒนาเทคโนโลยีทีก้าวหน้า การเป็ นมาตรฐาน ข้อมูลสเปเทียลเดียวกัน ล้ วนเป็ นสิ งทีทํ าให้ภาษาโปรแกรมมิงสือสารกันง่ายขึ น และง่ายต่อการโจรกรรม แผนทีจากแหล่งต่างๆ ด้วย แต่เมือมีโอกาสโจรกรรมมาแล้ ว ก็ต้องรู้ว่าจะใช้ม ั นได้อย่างไรและมีผลกระทบ อย่างไรด้วย -วิกฤติทางทฤษฎี เป็ นเรื องทีท้าทายใหม่ในการค้ นหาข้อสรุ ปทางสเปเทียล แหล่งทีตั ง การเกิด แนวทางอิสระในการเริ มต้ นเข้าสู่ยุคการทํ าแผนทีวิกฤติต่อไปในรู ปแบบใหม่ ทีรวมเอาศาสตร์การคํ านวณ เรขาคณิต พีชคณิ ต เมตริ ก สือในแบบของเสียง รู ปนิ ง และรู ปเคลือนไหว เข้ามาใช้ในการสร้างแผนทีใน รู ปแบบใหม่ทีเหนือกว่าความเป็ นแผนทีอีกต่อไป (ดังรู ปที 5)

รู ปที 5 ทิศทางการการท้าทายใหม่ ของการทําแผนที ทีมา: http://www.innovativegis.com/basis/Papers/Other/3D_GIS/Default_files/image003.png

-รู ปแบบแผนที เมือความท้าทายมาพร้อมกับการขยายตัวทางเทคโนโลยีและการสือสารแล้ ว ทํ าให้ดู เหมือนว่ากิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์ ถูกแปลงไปสู่ระบบดิจิตอลทั หง มด ได้แก่ 1) แผนทีดิจิตอล (Digital Map) สามารถในการเข้าถึงง่ายขึ น รวดเร็ ว และใช้ร่วมกับอุปกรณ์การสือสารอืนๆ เช่นการนําร่ องเครื องบิน การนําร่ องด้ วยจีพีเอส เป็ นต้น2) แผนทีจีไอเอส (GIS Mapping) ระบบจีไอเอสเข้ามามีบทบาทต่อการ จัดเก็บ จั ดการ ข้อมูลโดยเฉพาะการบอกตํ าแหน่ง แล้ วยั งมีประโยชน์กว้ างขวางในด้านต่างๆ ด้วยเหตุนี ทํ า ให้ GIS กลายเป็ นเครื องมือในการเรี ยนการสอนในหลายหลั กสูตร และ 3) แผนทีจีพีเอส (GPS Mapping)


14

ระบบนําร่ องจีพีเอสเป็ นการทํ างานร่ วมกันระหว่างดาวเทียมจีพีเอสกับคอมพิวเตอร์เพือใช้น ําร่ องเส้นทาง และรับสัญญาณ แผนทีจีพีเอสได้รับการพั ฒนาครั งแรกเมือปี1994 และมีประโยชน์มาจนถึงทุกวั นนี เช่น แผนทีจีพีเอสมีประโยชน์สําหรับหน่วยงานตํ ารวจและความมั นคงเพือการติดตามรถยนต์ทีถูกโจรกรรมไป สําหรับหน่วยงานทหารนั น ใช้แผนทีจีพีเอสสําหรับการบอกทิศทางและวางแผนทางการยุทธ์กลาง ทะเลทรายทีห่างไกล นอกจากนี ยั งสามารถติดตั งจีพีเอสไปกับบอลลูนเพือใช้ในการติดตามตรวจสอบ บรรยากาศชั นโอโซน เป็ นต้น รู ปแบบการทํ าแผนทีนี มีความก้าวหน้าอย่างมากต่อศาสตร์การทํ าแผนทีใน อนาคตและเป็ นประโยชน์ต่อมนุษยชาติยิ งขึ น สรุ ป วิกฤติการทํ าแผนทีและความท้าทายใหม่ เป็ นเรื องทีต้องกลั บมาทบทวนถึงปรัชญา และทฤษฎีการ ทํ าแผนทีว่ามีการเปลียนแปลงออกไปจากหลั กการเดิม ทีเคยเป็ นกระจกสะท้อนธรรมชาติจากมุมมองการ รับรู้โลกในสายตาของมนุษย์ จากแต่เดิมผู้ ท ํ าแผนทีอยู่ในแวดวงของนักภูมิศาสตร์และในวิชาการเขียนแผน ที เป็ นศาสตร์เฉพาะทีอาศั ยความรู้ความสามารถจนเป็ นอาชีพได้และมีองค์กรวิชาชีพรองรับ แต่ในยุคสอง พั นมานีตั งแต่มีการพั ฒนาระบบ GIS ขึ น ทํ าให้วงการทํ าแผนทีเกิดการสั นสะเทือนอย่างเห็นได้ชัด ประกอบ กับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีทีเกียวข้องกับระบบGIS เติบโตอย่างรวดเร็ ว ไม่ว่าจะเป็ นซอฟแวร์ ฮาร์ดแวร์ รวมถึง open-source รวมทั งmashups, geotagings, ภาษา XML, GML ต่างๆ ขยายตั วอย่างมาก ส่งผลให้การทํ าแผนทีตกอยู่ก ับมือผู้ ใช้ทีหลากหลายอาชีพ ซึ งสามารถผลิตแผนทีได้ทุกวั นโดยไม่ จํ าเป็ นต้องมีความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์อย่างเดียวหรื อเป็นผู้ เชียวชาญกรทํ าแผนทีอีกต่อไป เพราะกลุ่มผู้ ใช้ แผนทีและทํ าแผนทีมีความสามารถทั งมีการใช้ศิลปะและจินตนาการการทํ าแผนทีมาบูรณาการร่ วมกั นกับ ศาสตร์ทีตนมีอย่างทีไม่เคยปรากฏมาก่อน อย่างเช่นการเน้นทางด้าน visual presentation หรื อ geovisualization จนทํ าให้ต ้องบรรจุเนื อหาเหล่านี เข้าไปในระบบการทํ าแผนทีด้วย ทํ าให้การผลิตแผนทีมี ลั กษณะเหนือกว่าความเป็ นจริ งขึ นมาได้(รู ปที 5) แตกต่างจากแนวคิดการทํ าแผนทีแบบเดิม ซึ งเป็ นกระจก สะท้อนข้อเท็จจริ งบนพื นทีการบอกสัดส่วนของวั ตถุมีความถูกต้องการบอกระยะทางทีถูกต้องแม่นยํ าเป็ น ต้น ปรากฏการณ์ทีเปลียนไปเหล่านี ล้ วนสงผลต่อวิกฤติการทํ าแผนทีในยุคปัจจุบัน แต่ก็มาด้วยโอกาส เช่นกันกล่าวคือทํ าให้การผลิตแผนทีมีขยายตั วออกไปสู่มือผู้ ใช้ได้เต็มทีหลากหลายอาชีพ หลายกลุ่ม ซึ ง ไม่ได้ผูกขาดอยู่ก ับหน่วยงานรัฐซึ งเคยกุมอํ านาจเบ็ดเสร็ จในการผลิตแผนทีอีกต่อไป เพราะกลุ่มผู้ ใช้เหล่านี ความสามารถในการตรวจสอบ ติดตาม ความเปลียนแปลงได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ และแสดงผล ทางแผนทีมีความหลากหลายมากกว่าแต่ก่อน จนบางครั งไม่รู้ว่าใครเป็ นผู้ ผลิตแผนทีนั นๆ ขึ นมา และ บางครั งสังคมก็ไม่ต ้องการรู้ว่าใครผลิตแต่ต ้องการใช้ประโยชน์จากการได้มาซึ งแผนทีนั นตามทีตนต้องการ ก็เพียงพอแล้ ว ดังนั นถึงเวลาทีต้องหันกลั บมาทบทวนแนวคิดทฤษฎีการทํ าแผนทีในยุคใหม่เพือให้ทันต่อ การเปลียนแปลงสังคม ดังคํ ากล่าวว่าแผนทีกับสังคมมั กจะมีความสัมพั นธ์ต่อกั นมาช้านาน และในวิกฤติ


15

ย่อมมีโอกาสเสมอ เพียงแต่ว่าจะใช้โอกาสนี ปรับปรุ งเปลียนแปลงศาสตร์การทํ าแผนทีให้สอดคล้ องกับ บริ บทสังคมทีเปลียนไปโดยไม่เกิดความขั ดแย้ งในตัวเองได้อย่างไร เป็ นคํ าถามทีต้องช่วยกันคิดต่อไป …………………………….. เอกสารอ้างอิง Crampton, Jeremy W. and Krygier , John. “An Introduction to Critical Cartography” in ACME: An International E-Journal for Critical Geographies. 4 (1), 11-33. Retrieved July 24, 2010 , from http://www.acme-journal.org/vol4/JWCJK Dodge, Martin ; Perkins, Chris and Kitchin, Rob. “Mapping modes, methods and moments : A manifesto for map studies”. Retrieved July 24, 2010 , from http://makingmaps.files.wordpress.com/2009/08/rethinking_maps_conclusions_pageproofs.pdf Goodchild, Michael F. (1998). “Stepping over the Line : Technological Constraints and the New Cartography.” The American Geographer . 15(3) July, 311-319. Retrieved July 24, 2010, from http://www.geog.ucsb.edu/~good/papers/98.pdf Harley, J. B. (1989). “Deconstructing the Map.” Cartographica. 26(2) Summer, 1-20. Retrieved July 24, 2010 , from http://utpjournals.metapress.com/content/e635782717579t53/fulltext.pdf Kitchin, Rob; Chris Perkins and Martin Dodge. (2009). Thinking about Maps (n.p.). Retrieved July 24, 2010, from http://makingmaps.files.wordpress.com/2009/08/rethinking_maps_introduction_pageproof.pdf Perkins, Chris. (2003). “Cartography: Mapping Theory.” Progress in Human Geography 27(3), 341351. Retrieved July 24, 2010 , from http://phg.sagepub.com V. K. Dadhwal and P. L.N. Raju. (n.d.). “Geoinformatics Technological Trends – Expanding to Diversified Application Areas”. In National Conference GEO Informatics. India: Indian Institute of Remote Sensing (NRSA), Dehradun. Retrieved July 24, 2010 , from http://www.vpmthane.org/pub_2006_poly_geoinformatics/PAPER%201-10.pdf Wood, Denis and Krygier, John. “ Cartography: Critical Cartography” . Retrieved July 24, 2010 , from http://makingmaps.owu.edu/elsevier_geog_criticalcartography.pdf


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.