Ban Laoh Project 2012

Page 1

โครงการ ฟื้นฟูสุขภาวะชุมชนที่ประสบอุทกภัย ต.เหล่า อ.โกสุมพิสัย จ. มหาสารคาม (Communities Health Rehabilitation after the Flood at Tambon Lhao, Amphoe Kosumphisai, Changwat Mahasarakham)


โครงการ ฟื้นฟูสุขภาวะชุมชนที่ประสบอุทกภัย ต.เหล่า อ.โกสุมพิสัย จ. มหาสารคาม ภายใต้ การสนับสนุนจาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ประจาปี 2555 รหัส โครงการที่ 55-00441 ดาเนินการโดยศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนตาบลเหล่า (ศอช. ต.เหล่า) ได้ขอ ความร่วมมือมายังสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ให้เป็น วิทยากร ปรึกษาหารือ และร่วมเขียนโครงการนี้ เพื่อประโยชน์สาหรับการนาไปใช้เป็นฐานข้อมูลที่ สาหรับการตัดสินใจเชิงพื้นที่ในด้านการการพัฒนาโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน โดยเน้นไปที่ กลุ่มแกนนาของแต่ละหมู่บ้านทั้ง 11 หมู่ จานวนกว่า 70 คน โดยเน้นการอบรมเรื่อง การอ่านแผนที่ เพื่อสุขภาวะชุมชน อบรมการใช้ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูง อบรมการใช้เครื่องมือกาหนดพิกัด อบรมการทาแผนที่สุขภาพชุมชน อบรมการกาหนดพิกัดจีพีเอสบนแผนที่ และสารวจพื้นที่ชุมชน เพื่อ จัดทาแผนที่ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม ในการนี้ได้รบั ความร่วมมือจาก สานักบริการวิชาการ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ดูแลงานทางด้านบริการวิชาการให้เป็นที่ปรึกษาโครงการ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างเรียบร้อย ในโอกาสนีน้ ายศักดา นามโยธา (ประธาน ศอช. ต.เหล่า) ขอขอบคุณทีมวิทยากรจากสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสาคาม คือ อาจารย์นุชจรี ท้าวไทยชนะ อาจารย์อานาจ แสงกุดเลาะ อาจารย์ชนะชัย อวนวัง และ อาจารย์อมรรัตน์ สอนสา ที่ลงพืน้ ที่นา ชาวบ้านทากิจกรรมการอบรมในด้านต่างๆ จัดทาแผนที่ชุมชนด้วยระบบจีไอเอส (ระบบสารสนเทศ ภูมศิ าสตร์) และเขียนรายงานความคืบหน้า ตลอดจนสรุปการถอดบทเรียนของกิจกรรมต่างๆจน โครงการแล้วเสร็จ ขอขอบคุณสานักบริการวิชาการนาโดย ผูช้ ่วยศาตราจารย์ ดร.ณัฏฐชัย จันทชุม อาจารย์เมตตา เก่งชูวงศ์ รวมทั้ง น้องเม่น น้องติ๊ก เจ้าหน้าที่สานักฯ ในฐานะเป็นที่หน่วยงานทีป่ รึกษา โครงการ และบุคคลสาคัญอีกท่านหนึ่งคือ คุณบรรพต ผูต้ ิดตามโครงการจาก สสส. ที่ได้ลงพืน้ ที่ ติดตามความคืบหน้าของโครงการเป็นระยะๆ พร้อมกับให้คาปรึกษาหารือในด้านต่างๆ เพื่อให้การ ดาเนินโครงการเป็นไปเรียบร้อยไม่สะดุด สุดท้ายสาคัญที่สุดไม่อาจลืมได้ คือ ชาวบ้าน แกนนา ผูน้ า ชุมชนทุกหมูบ่ ้านที่ให้ความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ เข้ารับการอบรม และทากิจกรรมต่างๆ แม้ว่าการ อบรมปฏิบัติการนี้จะเป็นเรื่องยากแต่ทุกคนกว่า 70 คนก็ไม่ลดละความพยายามที่จะทาให้โครงการนี้ สาเร็จได้ จนกระทั่งทุกหมู่บ้านได้ผลผลิตเป็นแผนที่ของตนเอง อันเป็นสิ่งที่นามาซึ่งความภาคภูมใิ จที่ เกิดจากความการมีส่วนร่วมและความสามัคคีของทุกคน นุชจรี ท้าวไทยชนะ ผูเ้ รียบเรียง กุมภาพันธ์ 2556


หน้า คานา ส่วนที่ 1

ส่วนที่ 2

การถอดบทเรียน เวทีการเปิดใจ ผูน้ าการเปลี่ยนแปลง การนาความรูส้ ู่การปฏิบัติ การเตรียมการก่อนเปิดเวที เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การเชื่อมโยงความรูเ้ พื่อนาไปใช้ประโยชน์ การยกระดับความรู้ การเรียนรูจ้ ากหมู่บ้านอื่น เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง เห็นจริง และรู้จริง การทาแผนที่ชุมชน การทาแผนที่ฐาน แผนที่มีรายละเอียดมาก จะจดจาได้อย่างไร การวาดแผนที่ เรียนรู้จากผูร้ ู้ในพืน้ ที่ ย้าถึงคุณค่าของการทางานร่วมกัน ถอดบทเรียนหลังจากจบกิจกรรม การออกแบบกระบวนการ

1 2 11 12 12 18 19 20 22 24 25 27 28 30 39 39 40 42

ข้อมูลพื้นฐานตาบลเหล่า ประวัติศาสตร์ชุมชน อาณาเขตติดต่อ เส้นทางคมนาคม สภาพทั่วไปของชุมชนตาบลเหล่า ลักษณะการประกอบอาชีพ ลักษณะเศรษฐกิจทั่วไป

44 44 45 45 46 47 48


ลักษณะสังคม/ประเพณีวัฒนธรรม ด้านการศึกษา ด้านศาสนา ด้านสาธารณสุข ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ข้อเท็จจริงเชิงพื้นที่ ด้านภัยธรรมชาติ น้าท่วมและภัยแล้ง ลมฟ้าอากาศ ปัญหาทั่วไปที่พบในชุมชน แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดนิ รายหมู่บ้าน แผนที่แสดงพื้นที่นาท่ ้ วมระหว่าง ปี 2551-2554 รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ

หน้า 54 55 56 56 61 63 66 71 73 80 89 100


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.