1
เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ตอน 2) : พหุวิทยาการร่ วมกับ GIT (Geographical Information Technology (2):Multidisciplinary with GIT) นุชจรี ท้าวไทยชนะ Nucharee Taothaichana คณะเทคโนโลยีส ารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภั ฎมหาสารคาม
Summary In 2000s, Geographical Information Technology (GIT) is newly term used in some country in Europe: Sweden, Germany, and Switzerland , and some of Asia : Japan, Taiwan, South Korea. The boundaries of GIT are connected to multidiciplinary subjests expecially the advance of Information Communication Technology (ICT) to which proficiently transmits the geographic information and efficently responses to clients in real – time processing. The article consists in 3 main points : 1) Meaning and Concepts of GIT, 2) From GIS to GIT, and 3) Timeline of Selected Events in the History fo the Mapping Sciences in the U.S. Keywords: Geographical Information Technology (GIT), Geographic Information Systems (GIS), GIScience, Geoinformatics, Geospatial, Cognitive Geography, Semantics สาระสังเขป เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographical Information Technology ) หรื อ GIT เป็ นคํ า ใหม่ซึ งเกิดขึ นมาราวต้ นปี2000s ใช้ในบางประเทศของยุโรป เช่น สวีเดน เยอรมนี และสวิสเซอร์แลนด์ เป็ นต้ น ส่วนในเอเชีย เช่น ญีปุ ่ น ไต้ หวั น เกาหลีใต้ เป็ นต้ น ขอบเขตความเป็ นเท คโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์เกียวโยงกันหลายศาสตร์ด้วยกั นหรื อทีเรี ยกว่า พหุ วิทยาการ โดยเฉพาะอย่างยิ งสอดคล้ องกับ ความก้าวหน้าและการพัฒนาของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารหรื อ ICT เป็ นสิ งสําคัญ โดยเฉพาะเกียวกับการรับ-ส่ งผ่านสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ให้เกิดประสิ ทธิภาพและตรงตามความ ต้ องการของผู้ ใช้และเป็ นปัจจุบ ั น ด้วยเทคโนโลยีดังกล่าวดังนั นในบทความนี ได้กล่าว3 เรื อง ได้แก่ 1. ความหมายทางด้าน GIT ประกอบด้ วยกระบวนการรับรู ้ทางภูมิศาสตร์ องค์ประกอบของแนวคิดทาง ภูมิศาสตร์ การศึกษาเชิงสัญลั กษณ์ของคํ าและความหมายทีเชือมโยงกับงานด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์ GIT_concepts2
2
(GI) และการบริการ 2. การเปลียนจาก GIS สู่ GIT ประกอบด้วยความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ดิจิตอล 3. ลํ าดับเหตุการณ์และพั ฒนาการของศาสตร์การทํ าแผนที ของสหรัฐอเมริ กา คําสําคัญ: เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ สารสนเทศภูมิศาสตร์ จีไอไซน์ ยีโออินฟอร์เมติกส์ ยี โอสเปเทียล กระบวนการรับรู ้ทางภูมิศาสตร์ การศึกษาเรืองสัญลักษณ์ คํ าและความหมาย คํานํา เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรื อ จีไอที (GIT:Geographical Information Technology) อาจจะเป็ นคํ าใหม่ซึ งใช้ ในบางประเทศได้แก่ สวีเดน เยอรมนี เกาหลีใต้ ญีปุ ่ นไต้ หวั นเป็ นต้น เริ ม ปรากฏคํ านีราวทศวรรษปี 2000s ในขณะทีในหลายประเทศยั งใช้ค ํ า GIS (Geographic Information System), GIScience, Geomatics, Geoinformatics เป็ นต้ น โดยพื นฐานแล้วเนื อหาสาระของGIT ก็ย ั ง เกียวพั นกับศาสตร์ทางด้านคอมพิวเตอร์ ตรรกะและคณิตศาสตร์ สารสนเทศภูมิศาสตร์ การสร้างโมเดล ทางพื นทีด้วยดิจิตอล การรับและส่ งผ่านสารสนเทศด้ วยระบบไอซีที อย่างระบบการประมวลผลแบบ เรี ยลไทม์ รวมไปถึงคลาว์คอมพิวติง และคลาวด์เซิร์ฟเวอร์ ต่างๆ เป็ นต้ น ล้ วนเป็ นการทํ างานบน ความก้าวหน้าทางด้านไอซีที และอาจจะทํ าให้GIT มีความโดดเด่นเฉพาะตั วมากขึ น 1. ความหมาย (Meaning and Concepts of GIT) คํ า GIT ประกอบด้ วย 3 คํ า คือ Geographical (ภูมิศาสตร์) Information (สารสนเทศ) Technology (เทคโนโลยี) อย่างไรก็ตามคํ าGIT มีรากฐานความสัมพั นธ์เกียวข้ องกับนวั ตกรรม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื อสาร หรื อเรี ยกว่า ไอที (Information Technology) และ ไอซี ที (Information Communication Technology) และเมือนําคํ าว่า Geographic ไปวางไว้หน้าคํ าIT ซึ งหมายถึงเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทีสัมพั นธ์กับระบบไอที และไอซีที เป็ นรู ปแบบการจัดการ การสือสารและการให้บริ การไปสู่ รูปแบบใหม่จากความก้ าวหน้าทาง เทคโนโลยีการสือสาร จนกลายมาเป็ นระบบทีมีการตอบโต้อย่างทั นที(Interface) และเป็ นการคํ านวณ
GIT_concepts2
3
แบบปัจจุบ ั น (Real -Time Computation) อย่างไรก็ตามยั งมีคํ าทีใช้ในความหมายใกล้เคียงกันและเป็ นที รู ้จักทั วไปได้แก่ คํ าว่า จีไอไซน์ (GIScience) เป็ นคํ าทีกํ าหนดในฐานะทีเป็ นพืนฐานการใช้ด้านการวิจัย เพือค้ นหานิยามใหม่ของแนวคิดด้ านภูมิศาสตร์โดยอิงกับการระบบ GIS ในฐานะที เป็ นเครืองมือหนึ ง อีกทั งยั งใช้เพือการตรวจสอบผลกระทบของ GIS ต่อสังคมและ บุคคลและจากสังคมสู่ GIS และใช้เพือการตรวจสอบกรอบบางประการในสาขาที เกียวข้ องกับศาสตร์ทางพื นทีอืนๆ ด้ วย เช่น ในสาขาภูมิศาสตร์ แผนที และยีโอเดสซี ในขณะเดียวกั นยั งบูรณาการและพัฒนาร่ วมไปกับศาสตร์ด ้ านกระบวนการรับรู้ (Cognition )และสารสนเทศศาสตร์ (Information Science) ด้วย นอกจากนี ยั งมี ลักษณะการซ้อนทั บกับสาขาทางด้านคอมพิวเตอร์ สถิติ คณิตศาสตร์ จิตวิทยา และ ศาสตร์อืนทีเกียวข้ อง เพือสนับสนุนการวิจัยในสาขาการเมืองการปกครองและ มานุษยวิทยา ซึ งอยู่บนพื นฐานภูมิสารสนเทศและสังคมนั นเอง คํ าว่า ยีโออินฟอร์เมติกส์ (Geoinformatics) หมายถึง ศาสตร์ซึ งพั ฒนาและใช้ สถาปัตยกรรมสารสนเทศศาสตร์เพือกํ าหนดปัญหาของศาสตร์ทางพื นที (Geosciences) และศาสตร์ อืนๆได้ แก่ ศาสตร์ทางด้ านวิศวกรรม โดยมีการบูรณาการ ด้านการวิเคราะห์เชิงพื นที (Geospatial analysis) และโมเดล (Modelling) การพัฒนา ฐานข้ อ มูลยีโอสเปเทียล การออกแบบระบบสารสนเทศ ปฏิสัมพั นธ์ระหว่างมนุษย์ กับ คอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีโครงข่ายไร้สาย และไม่ไร้สาย เป็ นต้น นอกจากนี Geoinformatics ยั งรวมเอา GIS (Geographic Information Systems) ระบบ SDSS (Spatiai Decision Support Systems) ระบบ GPS (Global Positioning Systems) และ RS (Remote Sensing ) เข้ ามาเป็ นส่ วนหนึ งด้ วย ทั งคํ าว่า GIScience และ Geoinformatics นี แม้จะมีระบบ GIS อยู่เบื องหลังก็ตาม แต่ใน สหรัฐอเมริ กานิ ยมใช้ค ํ า GIScience ค่อนข้างเข้าใจง่ายกว่าคํา Geoinformatics อีกทั งคํ า GIScience ยั ง เป็ นคํ าซึ งได้รับการพั ฒนาและมีความชัดเจนในตั วเอง ซึ งทางสมาคมภูมิศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริ กาเป็ นผู ้ กํ าหนดคํ านิยามให้ แต่ในขณะเดียวกัน สําหรับมุมมองของชาวยุโรปแล้วคํ าว่าGeoinformatics นั นเป็ น GIT_concepts2
4
มุมมองซึ งตั งอยู่บนฐานระบบGIS อันประกอบด้วย 3 ศาสตร์ด้วยกัน คือ ศาสตร์ทางคอมพิวเตอร์, ยีโอ เดสซี /การสํารวจ และแผนที (Cartography) อย่างไรก็ตามก็ย ั งคงมีข ้ อโต้ แย้เกีง ยวกั บการใช้ค ํ าว่า GIScienceในประเด็นทีกล่าวถึงความเป็ น GIScience นั นกลับไม่ได้ถูกนําไปใช้เพือเป็ นตั วแทนใน มุมมองทางภูมิศาสตร์เลย เพราะส่ วนใหญ่ให้ความสําคั ญไปที ยีโอเดสซีและคอมพิวเตอร์ศาสตร์เป็ น หลักจากการนําเอาคอมพิวเตอร์ศาสตร์ การบริ การบนเว็บ ยีโอเดสซีและ จีพีเอส จึงถูกนําเข้ ามาเป็ น ส่ วนสําคัญใน GIScience จึงทํ าให้มุมมองทางภูมิศาสตร์มีความอ่อนแอลงไปตามลํ าดับนั นเอง นอกจากนี ยั งมีการเปลียนแปลงทีสําคั ญอีกประการหนึ งเป็ นการประชุมนานาชาติครั งแรกใน เดือนตุลาคม ปี 1977 ใช้ชือหัวข้ อการประชุมว่า The First International Advanced Study Syposium on Topological Data Structure for Geographic Information Systems1 จัดโดยมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด มี รายงานการประชุมเกียวกับธรรมชาติของสารสนเทศภูมิศาสตร์ของระบบการคํ านวณทีเกียวข้ อง มากมาย แต่มีบทความชุดหนึ งซึ งมีอิทธิพลต่อวงวิชาการ คือ บทความของคริ สแมน (Chrisman, 1979) คุยเปอร์ส (Kuipers, 1979) และซินตั น (Sinton, 1979) โดยเฉพาะของ คุยเปอร์ส ได้กล่าวถึง องค์ประกอบของความรู ห้ ลักสําหรับงาน GIS เพือใช้เป็ นพื นฐานสําคั ญทางทฤษฎี และในปี เดียวกัน บทความของ เจอร์โรม อี. ดอปสัน (Jerome E. Dobson) ได้ตีพิมพ์บทความชือว่า Automated Geography ลงในวารสาร The Professional Geographer จนกลายเป็ นทีรู ้จักจนถึงทุกวั นนีก็เพือ ต้องการขยายความคิดการยอมรับรู ปแบบการคํ านวณแล้วนําไปสู่การเปลียนแปลงด้วยวิธีวิทยาใหม่ ต่อมาในราวปี 1987 จึงได้ ส่งผลทํ าให้เกิดแรงกระเพือมสู่สาธารณะมากขึ นแล้ วนําไปสู่แนวความคิด ของศาสตร์ค ํ าว่า สารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information) ถูกจัดให้อยูฐานะความเป็ ่ น วิทยาศาสตร์หรื อเป็ นศาสตร์ทีอยู่เบื องหลังของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS ) กันแน่ ความ อลหม่านดังกล่าวนี เกิดขึ นในช่วงปลายทศวรรษปี 1980s บางทีอาจจะกล่าวว่าเป็ นส่ วนหนึ งของทฤษฎี และเนื อหาทาง GIS ซึ งเริ มมีการอิ มตั วแล้วก็ได้ จากนั นได้ มีการจั ดการประชุมทีเมือง ซู ริก ประเทศ เยอรมนี ในเดือนมิถุนายน ปี 1990 โดยไมเคิล กู๊ดไซด์ (Michale Goodchild) ได้ใช้ค ํ าว่าThe Spatial Data Handing International Symposium สําหรับการประชุมครั งนั น เขาได้ใช้ชือ Spatial Information Science และคํ าว่าSpatial ก็ได้รับการยอมรับและเข้าไปแทนทีคํ าว่าGeographical เพือใช้ สําหรับ 1
http://www.cfc.umt.edu/giscertificate/Documents/Goodchild1.pdf
GIT_concepts2
5
การศึกษาในด้ านนีโดยเฉพาะ หลังจากนั นอีก2-3 ปี ถัดมา จึงเกิดสาขาใหม่ และศาสตร์ใหม่อีกด้วย อย่างเช่น สาขา GIScience (ดังกล่าวข้ างต้นแล้ว) (รู ปที 1 ) ราวปลายปี 1980s สารสนเทศภูมิศาสตร์ได้พัฒนาไปสู่ GIScience ด้วยตั วมั น เองอีกทั งยั งมี หน่วยงาน NCGIA (The National Center for Geographic Information and Analysis) ให้การสนับสนุน อยู่เบื องหลัง นอกจากนียั งมี The National Science Foundation ได้ก ํ าหนดเนื อหาสํา คั ญทางด้ านGI และ ตั งศูนย์วิจัยยั งทีต่างๆ หนึ งในนั นคือให้กสนั าร บสนุนพัฒนาด้ าน A General Theory of Spatial Relations and Database Structures เพือเชือมโยงกระบวนการรับรู ้ก ับการคํ านวณ (Cognition and Computation) เข้ าด้วยกัน แล้ วยั งช่วยในการออกแบบวิจัยด้วยซึ งเรี ยกว่Languages า of Spatial Relations ภายใต้ การกํ ากับดูแลของ NCGIA ในช่วงทศวรรษ 2000s เป็ นช่วงทีมีการเปลียนแปลงด้ านเทคโนโลยีแบบก้ าวกระโดด และ ส่ งผลกระทบต่อศาสตร์ทางยีโอสเปเทียล ซึ งจํ าเป็ นต้ องมีการปรับตั วตามไปด้วย
GIT_concepts2
6
ความสอดคล้องระหว่าง กระบวนการรับรู้ทางภูมิศาสตร์กับการพั ฒนาด้ านไอที นั นย่อมส่ งผล กระทบต่อการเปลียนแปลงและการพั ฒนางานด้ านนี อย่างหลีกเลียงไม่ได้ อย่างไรก็ตามเมือสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ (GI) ให้ความสําคั ญต่อกระบวนการรับรู ้ของมนุษย์ ซึ งเกียวข้ องกับกระบวนสร้างมโนภาพที เกิดจากการสัมผั สรู ้ของมนุษย์ แล้วแสดงผลของภาพนั นออกมาเป็ นการรับรู ้ทางพื นทีในลักษณะต่างๆ ประกอบกับการทํ าแผนทีดิจิตอลสมั ยใหม่ ก็ใช้ กระบวนการรับรู ้ทางภูมิศาสตร์เป็ นฐานสําคัญอยู่แล้ ว ก็ ได้รับผลกระทบและเกิดการสั นคลอนในศาสตร์การทํ าแผนทีด้วยเช่นกัน 1.1 กระบวนการรับรู ้ ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Cognition) ดังได้กล่าวแล้วว่านักทํ าแผนที หรื อ Cartographer2 นั นเชือว่าแผนทีไม่ได้แสดงโลกของความ เป็ นจริ งอย่างตรงไปตรงมาและโปร่งใส เพราะแผนทีเป็ นการนําเสนอซํ าของโลกในหลายๆ รู ปแบบ ของความเป็ นจริ งทีเกิดจากจิตใจของมนุษย์ (Human Minds) ในทางกลับกันจิตใจก็ได้นําเสนอรู ปแบบ การมองโลกด้ วยเช่นกันทีเราเรี ยกว่า Cognitive Maps (กระบวนการรับรู ้ทางจิตใจนําเสนออกมาเป็ น แผนที ) มานานกว่าร้อยๆ ปี แล้ว นักแผนทีก็ไม่เคยสงสัยเลยว่าแผนทีทีถูกสร้างขึ นมานั นเกิดจาก กระบวนการรับรู ้ทางจิตใจจากการมองโลกของมนุษย์ท ั งสิ น นักแผนทีบางคนถึงกั บเข้ า ใจถึง ความสําคั ญของการออกแบบแผนทีเพือใส่ข ้ อมูลโลกในใจลงไป แผนทีจึงถูกวางเป็ นCognitive devices (อุปกรณ์ของกระบวนการรับรู ้ของมนุษย์) ดังนั นการออกแบบแผนที หรือMap design อาจจะ เป็ น Mind design ก็ได้ เพราะแผนทีทีได้รับการออกแบบนั นได้รับอิทธิพลจากมุมมองการมองโลกที เกิดจากสิ งเร้าหรือ การสกัดกั นบางอย่างได้ กระบวนการรับรู ้เพือออกแบบแผนทีนั นเกิดจากกระบวนการรับรู ้ของมนุ ษย์ ทีอาจจะเรี ยกว่า เป็ นจิตวิทยาแผนที (Map psychology) อย่างไรก็ตามนักแผนทีก็ย ั งพอใจกับการทํ าแผนทีเช่นนี ตลอดมา จนถึงศตวรรษที 20 ซึ งไม่ใช่มองว่าเป็ นการทํ าแผนทีเป็ นเพียงเป็ นศิลปะหรืองานเชิงวิศวกรรมเท่านั น แต่ทุกวั นนี แผนทีได้ อยูในฐานะที ่ เป็ น Cognitive Devices (อุปกรณ์ทีเกิดจากกระบวนการรับรู )้ ได้กลาย 2
Cartography มาจากภาษากรี ก คํ าว่า Chartis=map และ Grahein=write เป็ นการฝึ กการทํ าแผนที (Mapping) บนฐานความเป็ น วิทยาศาสตร์ สุ นทรี ยศาสตร์ และเทคนิค การทําแผนทีจึงถูกสร้างขึ นเพือสื อสารสนเทศยีโอสแปเทียลบนความเป็นจริ งบนพื นที ประกอบด้วย การทํ าแผนทีเฉพาะตามจุ ด ประสงค์หนึงๆ การนําเสนอเป็ นแผ่น ระนาบสัมพั นธ์ ก ั บแม้ปโปรเจกชั น มีการวิเคราะห์ เพือ ก ํ าหนดแผนทีเพือการใช้เฉพาะอย่าง การลดความซับซ้อนของการทํ าแผนทีลง และการออกแบบแผนที ส่ วนการทําแผนทีสมัยใหม่ จะ สัมพั นธ์ก ั บGIScience บนฐานระบบ GIS GIT_concepts2
7
มาเป็ นมาตรฐานสําหรับการฝึ กฝนการทํ าแผนทีในศตวรรษที20 นี ยิ งไปกว่านั นการทํ าแผนทียั งมีการ พั ฒนาอย่างเป็ นระบบทีก้าวหน้ามีหลักการ ทฤษฎี และวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สนับสนุนมากขึ น จน เกิดการศึกษาแนวใหม่ทีเรี ยกว่า Cognitive Cartography ขึ น ซึ งเกียวข้ องกับ การรับรู ้ การเรี ยนรู ้ การ จดจํ า การคิด การแก้ปัญหา การให้เหตุผล และการสือสาร รวมอยู่ในศาสตร์การทํ าแผนทีสมัยใหม่จาก แนวคิดการทํ าแผนที (รู ปที 2) จะเห็นว่าการทํ าแผนทีประกอบด้วยศาสตร์และศิลป์ เข้ ามาประกอบการ สื อสารด้วยแผนที
รู ปที 2 กรอบของ Cartography ทีมา: http://www.geography.wisc.edu/histcart/v6initiative/12montello.pdf จนกระทั งการสื อสารด้ วยแผนทีได้เปลียนรู ปแบบไปสู่สมั ยใหม่ ทฤษฎีการออกแบบแผนทีจึง ไม่ใช่เกิดจากกระบวนการรับรู ้เพียงอย่างเดียว แต่อยู่เหนือกว่าความรู ้สึกออกไปเพือสือสารต่อกันให้มี ประสิ ทธิ ภาพมากขึ น และนีคือปลายขอบของทฤษฎีกระบวนการรับรู ้กําลังถูกสั นคลอนไปสู่ ศาสตร์การ ทํ าแผนทีในยุคปฏิว ัติดิจิตอล(Digital Revolution) ตั งแต่ทศวรรษ1980s เป็ นต้ นมา โดยการใช้ GIT_concepts2
8
คอมพิวเตอร์มาช่วยในงานออกแบบแผนที หรื อการทํ า Automated Cartography and GIS จนกลายเป็ น ทีนิยมมากในประเทศสหรัฐอเมริ กา จากนั นไม่นานรู ปแบบการทํ าแผนทีก็ปรับไปสู่ การนําเสนอ รู ปแบบใหม่ซึ งเกิดขึ นราวทศวรรษ1990s ทีเรี ยกว่า Geo-Visualizations เป็ นแนวคิดการสือสารบนแผน นั นไม่ใช่เป็ นเพียงเนื อหา (Content) เท่านั น แต่ให้ความสําคั ญเรื องการส่ งผ่าน(Transmit) ข้ อความไปสู่ ผู ้ ใช้ได้อย่างไรด้ วย และสอดคล้องกับการเติบโตของGIScience ในเวลาต่อมา ซึ งทํ าให้Cartography มี ความเป็ นวิทยาศาสตร์มากยิ งขึ น จากพั ฒนาการของ Automated Cartography และ GIS ก็ยิ งมีความเกียวพันกันมากขึ น ต่อมาไม่ นาน วาทกรรมด้ าน GIS ก็เริ มปรากฏมาตั งแต่กลางปี 1980s เมือนักวิจ ัยด้ านGIS ในช่วงนั น เห็นว่า ศั กยภาพของศาสตร์ด้ านกระบวนการรับรู ้ หรื อ Cognitive นั นสามารถพั ฒนาต่อไปได้หากมองให้ลึกลง ไปว่าควรจะพั ฒนาทฤษฎีให้มีความคมชัดได้อย่างไร จากการนําทฤษฎีทาง Euclidean Geometry3 and Graph Theory มาใช้ ตามมาด้ วยบทความทีสอดคล้องกับแนวคิดนี อย่างเช่นบทความของวี. บี. โรบิน สัน (V.B Robinson et al, 1985, 1986 a ) เขียนเรื องโมเดลตรรกะฟัซซี 4(Fuzzy Logic) บนนิยาม ความสัมพั นธ์ทางสเปเทียล อีกบทความหนึ งของ สมิท และคนอืน (Smith et al, 1987) ได้อธิบายถึง ฐานความรู ้ของ GIS ทีประกอบด้วยแนวคิดทางกระบวนการรับรู ้ (Cognitive Concepts) จากนั นแนวคิด ทาง Cognitive Aspects ได้นําไปใช้ร่วมกับGIScience อีกทั งยั งได้นําเสนอต่อทีประชุมนานาชาติ ณ เมืองคริสตั ลซิติ รัฐเวอร์จิเนีย (Crystal City , Virginia) ให้เป็ นทีรู ้จักมากขึ น อาจจะกล่าวได้ว่า Cognitive Geography และ Geographic Cognition ค่อนข้ างเป็ นหัวข้ อกว้ างสําหรับในบางมุมของ Geographic Cognition อาจมีเพียงบางส่วนทีสัมพั นธ์ก ับGIS ก็ได้ ดังนั นกรอบหัวข้ อดักล่ ง าวจะต้ องนํา กลับมาเพือทบทวนกั นอีกครั ง แม้ ว่าจะเป็ นหัวข้ อทีมีความสําคัญก็ตาม และยั งมีอีกหลายมุมองที ม ยั ง ต้ องมีการวิพากษ์วิจารณ์เพือให้เกิดความชัดเจนของกระบวนการรับรู ้ (Cognitive) ในงานสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ กล่าวคือ ประเด็นทีหนึ ง ความเกียวโยงกับศาสตร์ด้ านระบบการนึกคิด ( Neurophysiology and Neuropsychology) แม้ว่าการรับรู ้ของมนุษย์ตามระบบการเข้ าใจของมนุษย์ แล้ว ก็ย ั งต้ องอธิบายใน มุมการรับรู ซ้ ึ งเกิดจากการสังเกตและมุมมองพฤติกรรมทางสเปเทียลของมนุษย์ด ้วย ทีจํ าเป็ นต้ องแยก 3
Euclidean Geometry หมายถึง เรขาคณิตแบบอุดมคติ Fuzzy logic หมายถึง ตรรกศาสตร์คลุมเครือหมายถึง แบบหนึ งของตรรกะ ซึ งใช้ในระบบผู้ เชี ยวชาญ(expert system) ตรรกะ ประเภทนี ไม่ใช่มีแต่ ผิด-ถูก (กล่าวคื อ ถ้ าไม่ถ ูก ก็ ต้องผิดหรื อถ้าไม่ผิด ก็ ต ้องถูก) แต่ตรรกะแบบนี มีแถบขอบเขตกว้ างออกไป 4
GIT_concepts2
9
ออกจากการศึกษาหลักเพราะว่า ทุกวันนีศาสตร์ดังกล่าวมีขอบเขตของมั นเองหากจะดึงบางมุมมองมา ใช้อธิบายสเปเทียลก็ต ้ องเลือกให้เหมาะสม ยิ งไปกว่านั นทุกวั นนีแม้ ว่าจะมีวิธีการใหม่ทใช้ ี เครื องมือ ช่วยในการสังเกตให้ก ับสมองมนุษย์แต่กย็ ั งไม่สามารถวั ดรายละเอียดอย่างลึกซึ งได้อย่างเพียงพอ ถึง ระดับของคําถามทางด้าน GIScience ทั งหมดได้ ประเด็นทีสอง นอกจากการทียั งต้ องแยกกระบวนการ รับรู (้ Cognitive) ในเชิงความสัมพั นธ์ทางสเปเทียลและตํ าแหน่ ง ณ สเกลทียิ งใหญ่ออกไป แต่ก็ต ้ องมี ศั กยภาพทีน่าสนใจร่วมด้วย อย่างเช่นspace (ทีว่าง อวกาศ หรื อระยะทาง) ก็ไม่เหมือนกับคํ าว่า Terrestrial Spaces (พื นทีเกียวกับพื นโลก) ทั งนี จึงจํ าเป็ นต้ องแยกแยะแล้วมองให้ลึกถึงความเป็ น Geographic Cognition ส่ วนประเด็นทีสาม จําเป็ นต้ องแยกเหตุผลเกียวกับรู ปลั กษณ์ทางเรขาคณิต (Geometric fiqures) กับรู ปแบบ (Patterns) ออกจากกั น เพราะขอบเขตความสัมพั นธ์กบั ข้ อจํ ากัดของ space นั นยั งมีความเกียวโยงกันอยูแม้ ่ ว่าจะมีความใกล้ชิดกันด้วยเหตุผลทางภูมิศาสตร์และทาง เรขาคณิตแล้ วก็ตาม หรื อแม้ แต่ทางด้านไดอะแกรมก็ตาม เราก็เลือกกรณีประเด็นทีมีประโยชน์เพือใช้ ในการศึกษาในการทํ าความเข้ าใจของMap Cognition หรื อ Geographic Cognition ให้ได้ ยกตั วอย่าง เพือให้เห็นภาพทีชัดเจนขึ น หากต้ องจัดประเภททะเลสาบ คํ าถามทีเกิดขึ นคือ ทะเลสาบเป็ น 2 มิติ (ซึ งมองเป็ นแผ่นนํ าบนผิวโลก แล้วเติมนํ าเข้ าไป ) หรื อ 3 มิติ (ซึ งมองเป็ น Geographic space) กันแน่ การให้ค ํ านิยามของ ทะเลสาบและคํ าทีคล้ ายกันถือเป็ นมาตรฐานข้ อมูล Geographic หรื อข้ อมูล Cartographic ดังนั นต้ องกํ าหนดคํ านิยามให้ก ับสิ งทีเป็ นอยู่จริ ง ในทีนี คํ าว่า ทะเลสาบถือว่าเป็ น Space ได้ โดยอิงกับสิ งทีอยู่โดยรอบไม่ว่าจะเป็ นภูเขาล้ อมรอบ และก้นทะเลสาบ ซึ งมีนํ าปกคลุมอยู่ ถือว่มา ปี ริ มาตรของนํ าจากนั นก็สามารถวั ดระดับความลึกไปถึงก้นทะเลสาบได้ แล้ว จะสามารถบอกได้ว่ามีนํ าอยู่เต็ม หรื อ ทะเลสาบแห้งเหือดได้สิ งนี คือกระบวนการรับรู ้ทางภูมิศาสตร์ กับสิ งทีมีอยู่จริ ง5 1.2. องค์ประกอบแนวคิดทางภูมิศาสตร์ (Geographic Concept Components) แนวคิดทางภูมิศาสตร์ มีองค์ประกอบทีสําคั ญ ดังนี
5
David M. Mark, Barry Smith, and Barbara Tversky. Rertived from, http://www.geog.buffalo.edu/~dmark/COSIT99MST.pdf
GIT_concepts2
10
1. แนวคิดด้านภูมิศาสตร์ด้วยตัวของมั นอง ได้แก่ ระบบยีโอเดติก(the Geodetic System) , โปรเจคชัน (Projections), เมทริ กของระยะทาง (Metrics of Distance ) เป็ นต้ น 2. องค์ประกอบของศั พท์ภูมิศาสตร์ ซึ งใช้ในการกําหนดคุณลั กษณะทางพื นทีต่าง นเช่ คํ าว่า ทะเลสาบ อ่างเก็บนํ า แม่นํ า เมือง อาคารสิ งก่อสร้าง เป็ นต้ น 3. เนื อหาในอักขรานุกรมภูมิศาสตร์ ซึ งกํ าหนดการเรี ยกสถานทีต่างๆ 4. คํ าและวิลีทีระบุความสัมพั นธ์ระหว่างจุดทางภูมิศาสตร์(Point Sets) เช่น ใกล้ก ับ ทิศเหนือ ของ ตรงกั นข้ าม ตั ดกับเป็ นต้ น 5. การจัดประเภทกลุ่มของสิ งต่างๆ ซึ งกํ าหนดตามตํ าแหน่งทางภูมิศาสตร์(Geographic Locations) เช่น ความสู ง อุณหภูมิ สิ งปกคลุมดิน เจ้ าของทีดิน การจัดโซนนิง เป็ นต้ น ในบางแนวคิดอาจจะใช้การกํ าหนดตามมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์ แต่บางแนวคิดอาจจะไม่ ต้ องใช้ก็ได้ 1.3 การศึกษาเชิงสัญลักษณ์ของคําและความหมาย (Semantics Interoperability) เพือเชือมโยงกับ GI and Services6 เมือมีความจํ าเป็นต้ องเชือมโยงความหมายเชิงสัญลั กษณ์เข้ ากับระบบปฏิบ ั ติการในการทํ างาน ด้าน GI ร่ วมกันแล้ ว มีค ํ าถามทีสําคั ญอยู2่ ประการด้วยกัน คือ จะมั นใจได้อย่างไรว่าความหมายหรื อสัญลั กษณ์ทีใช้ สําหรับงานGI จะสามารถ สื อสารไปถึงผู ้ ใช้ได้ ความหมายโดยนัยจากข้อมูลภูมิศาสตร์และแนวคิดทีจะใช้เพือการสือสารจากผู ้ ผลิต ไปสู่ ผู ้ บริ โภคเป็ นอย่างไร GIS และ การให้บริการข้ อมูลสเปเทียลจํ าเป็ นต้ องอาศั ยแนวคิดการสื อสารและสารสนเทศไปสู่ ผู ้ ใช้ในกระบวนการรับรู ้ทีเพียงพอ เพราะผู ้ ใช้สามารถเข้ าใจสารสนเทศทีแตกต่างกันไปตามบริ บทที ต่างกัน การแปล (คํ า ความหมาย สัญลั กษณ์) เข้ าไปสู่สารสนเทศทีเข้ าใจร่ วมกันเป็ นเรืองจํ า เป็ น เช่นการ จับคู่ความเข้ าใจระหว่างความหมายเฉพาะซึ งต้ องการแนวคิดทฤษฎีว่ามนุ ษย์ มีความสามารถให้สังกัป 6
Martin Raubal. Retrived from , http://plone.itc.nl/agile_old/Conference/estoril/papers/35_Martin%20Raubal.pdf
GIT_concepts2
11
สภาพแวดล้ อมและได้ แสดงออกโดยการใช้ แนวคิดทางภาษาเป็ นอย่างไร สิ งเหล่านี ได้นําไปสู่การ เชือมโยงความหมายและสัญลั กษณ์ระหว่างระบบปฏิบ ั ติการใน2 วิธีการคือ การใช้ความหมายใน มุมมองทีเป็ นจริ ง (A Realist Sementics Perspective)หรื อจากมุมมองของกระบวนการรับรู ้ (A Cognitive Sementics Perspective) ซึ งจะต้องสร้างบนฐานทฤษฎีกระบวนการรับรู ้เชิงความหมายและ สัญลักษณ์และการะบวนการรับรู ้ทางยีโอสปเทียล ของมนุษย์ อย่างสัมพั นธ์ก ัน Cognitive Semantics เป็ นการให้ความหมายของคํ าทีอยู่ในหัวของมนุ ษย์ ส่วนมากจะอ้างถึงสิ ง ทีปรากฏบนโลกแห่ งความเป็ นจริ ง แต่บางทีอาจจะประสบปัญหาของสิ งทีเป็ นจริ ง (Realist Semantics) กับสิ งทีเผชิญหน้าจริ งๆ(Reality Faces) ตั วอย่าง การอธิ บายกระบวนการการเรียนรู้และโครงสร้างทาง จิตใจ ซึ งไม่ได้ตอบรับกับโลกแห่งความเป็ นจริ ง สําหรับความเป็ นจริ ง (Reaslist) ทีเข้ าถึงความหมาย เชิงสัญลั กษณ์สรุ ปว่าเป็ นความหมายทียังคงอยู่เพียงความสัมพั นธ์ระหว่างสัญลั กษณ์(Symbol) ทีเป็ น นามธรรมกับองค์ประกอบของโมเดลโลกแห่งความเป็ นจริงเท่านั น แต่มีเหตุผลหนึ งทีทํ าได้ก็คือเข้ าถึง การจัดการเชิงตรรกะของแต่ละสัญลั กษณ์และองค์ประกอบ จากประเด็นนี หากไม่มมี นุษย์เข้ าไป เกียวข้ องในสถานทีนั นโดยอ้ างจาก Realist Semantics นั นความสัมพั นธ์เชิงสัญลั กษณ์ (Symbol) ของ โลกก็ย ั งคงอยู่เช่นเดิม แต่ถ ้ าหากมีมนุษย์ เข้ าไปอยู่ในสถานทีนั นด้วยจะยั งคงความหมายเดิมอยู่หรื อไม่ ดังนั นระบบสารสนเทศ ซึ งเป็ นปฏิสัมพั นธ์ก ับผู ้ ใช้เพือทํ าความเข้ าใจร่วมกัน ก็ต ้ องการความแตกต่างใน การแสดงออกซึ งความรู ้ทางจิตใจแล้วก็แตกต่างไปตามผู ้ ใช้นั นๆดังนั นระบบ Semantic Reference System เป็ นเรืองทีจํ าเป็ นต่อระบบการอ้ างอิงทางสเปเทียล โดยเฉพาะการให้ความหมายทางพื นดินและ การแปลไปสู่ ชุมชนการใช้สารสนเทศทีแตกต่างกันออกไป ระบบการอ้างอิงนีต้ องเชือมต่อระบบการ คํ านวณการทํ าแผนทีอย่างเป็ นระบบบนมาตรฐานเดียวกัน 2. การเปลียนจาก GIS สู ่ GIT (From GIS to GIT) ในวงวิชาการได้ ใช้ค ํ าว่าGIS (Geographic Information System) เพืออธิ บายพลังอํ านาจของ เทคโนโลยีนี โดยทั วไปสัมพันธ์ก ับกับรู ปแบบการวิเคราะห์แบบดิจิตอล(Digital analysis) การจัดการ (Manipulation) การสื บค้น (Querying) การสือสาร (Communication) การเรียกค้ น (Retrieval) และการ นําออกข้ อมูล (Output) ทุกๆเวอร์ชันของซอฟแวร์ GIS ในช่วงแรกจะทํ างานบนเมนเฟรม (Large Mainframes) ต่อมาได้เปลียนมาทํ างานบนเดสทอป(Desktop workstations) จนทุกวั นนีGIS ต้ องทํ า GIT_concepts2
12
ความเข้ าใจใหม่ถึงระบบทีมีความซับซ้อนของการกระจายข้ อมูลและการปฏิบ ั ติการทีแตกต่างจาก เมือก่อน รวมไปถึงมีการออกแบบเพือสนับสนุนการปฏิบ ั ติการ(Manipulation) การวิเคราะห์ การทํ า โมเดล การตั ดสิ นใจบนฐานของ GI ดิจิตอล ทั งสิ น(รู ปที 2) เทคโนโลยีสารสนเทศดิจิตอลได้กลายเป็ นกระแสหลั กของโลกทุกวั นนี ซึ งยากทีจะไม่พบ ระบบดิจิตอลอยู่ในรูปแบบการใช้ชีวิตประจําวั นเลย อย่างเช่นการใช้โทรศั พท์ สือสารซึ งข้ ามกระโดด จากการใช้ ระบบการส่ งข้ อมูลเสี ยงแบบอนาล๊อกไปเป็ นดิจิตอลหมดแล้ว และกําลังเคลือนเข้ าสูPacket่ Switching Technology ซึ งสามารถจัดการรู ปแบบการสนทนาขนาดเล็ก อย่างเป็ นอิสระ หรือ Independent Packets of Bits ได้
รู ปที 2 ความเกียวโยงของ G+I+T เนืองจากเทคโนโลยีสารสนเทศดิจิตอลใช้ กันอย่างเป็ นทีแพร่ หลายดังกล่าว ก็ต ้ องมีความ ผิดพลาดในเนื อหาความถูกต้ องทางภูมิศาสตร์ได้ ดังตัวอย่าง แต่ก่อนมีการส่ งข้ อมูลแผนทีกระดาษผ่าน เครื องส่ งแฟกซ์ (เทคโนโลยีดิจิตอล) และการดิจิไตซ์จํ านวนข้ อมูลมหาศาลกว่าจะได้แผนทีมาใช้ และก็ ยั งคงมีการกํ าหนดรหัสดิจิตอลไปในบางจุดของข้ อมูล อย่างไรก็ตามรหัสข้ อมูลเหล่านี ก็มีโอกาสในการ นําไปแปลงเป็ นข้ อมูลอืนๆ ต่อไป ยิ งแปลงออกไปมากเท่าใด ความผิดพลาดก็เกิดขึ นได้มากไปด้วย เช่น หากสแกนข้ อมูลแผนทีด้วยความละเอียดทีS (ระดับทียอมรับเพือการแปลงค่าได้ จาก Plotting บน
GIT_concepts2
13
กระดาษ) แล้วลบรหัสทั งหมดออกเพือแปลงไปสู่ ความละเอียดทีน้อยกว่า S ก็ย่อมทํ าได้ ส่วนการดิจิ ไตซ์เส้นโค้งซึ งต้ องใช้ Polyline (ความต่อเนืองของจุดเชือมต่อกันจนเป็ นเส้น) แล้วลบรหัสออกก็ไม่ สามารถจับ Polyline ได้ สิ งทีกล่าวนี บ่งบอกถึงการสู ญเสี ยสารสนเทศทีไม่เชือมโยงกั น อั นเนืองมาจาก ผลของการลงรหัสในรู ปแบบดิจิตอลนั นเอง เพราะอาจจะทํ าให้เกิดรู ปแบบเสมือนขึ น ทั งนี จําเป็ นต้ อง ให้ความสนใจอย่างเพียงพอทีจะไม่ทํ าให้สารสนเทศดิจิตอลสูญเสียไป ส่ วนการสือสารซึ งถือเป็ นสื อที ผ่านโดย senses โดยการแสดงด้วยสัญญาณภาพและเสี ยงในรู ปแบบดิจิตอล ซึ งไม่เพียงแค่ง่ายต่อการ สื อสารแล้วยั งอาจจะทํ าให้เกิดความผิดพลาดในการจับสัญญาณด้วย อย่างไรก็ตามสิ งทีต้ องคํ านึงถึงคือ รหัสสัญญาณ ซึ งจะไม่ให้เกิดความล้มเหลวในการจับสัญญาณเพือจะไม่ท ํ าให้สารสนเทศหายไป ดังนั น จําเป็ นต้ องเลือกความสามารถในการเข้ าถึงระหว่างการสู ญเสี ยสัญญาณบางส่วนกับอุปกรณ์พกพา และ ปริ มาณของข้ อมูลและความง่ายต่อการจัดการร่ วมกับอุปกรณ์อืนๆ เพือประกอบการพิจารณาเลือกใช้ ท้ ายทีสุ ดแล้วโครงสร้างการแสดงผลข้ อมูลหรือเรี ยกว่า Visualization (อาจจะใช้ค ํ าว่า Spatialization ก็ได้) ของโลกยุคใหม่ด้วยหลักการสร้างโมเดลทีเป็ นอยู่(Existing) เพือการวิเคราะห์ การ เชือมโยงสัมพั นธ์ การบูรณาการ ซึ งจะแสดงผลออกมาในรูปแบบใหม่ลงบนแผนทีใน 4 ประเด็น ด้วยกั น คือ1. ระยะทาง Straight-line Euclidean distance ระหว่างจุด (Metric proximity) 2. การ เชือมโยงระหว่างจุด ( Network-topologic proximity) 3. การเชือมโยงเมทริกระหว่างจุดต่างๆ (Network-metric proximity) และ 4. สมาชิกของจุดต่างๆอยู่ในขอบเขตเดียวกัน (Hierarchical proximity)7 2.1 เทคโนโลยีสารสนเทศ8 (Information Technology) ความหมาย เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มาจากการผสมคํ าระหว่าง สารสนเทศ (Information) กับคํ าว่าเทคโนโลยี(Technology) ซึ งมีนักวิชาการได้ให้ ความหมายไว้ หลายท่าน ดังนี
7 8
http://www.geog.ucsb.edu/~sara/html/research/pubs/fabrikant_etal_gis02.pdf http://pirun.ku.ac.th/~g5166317/home%20work/02.Information%20Technology.doc
GIT_concepts2
14
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การนําคอมพิวเตอร์มาใช้ ในการประมวลผลข้อมูล และสามารถติดต่อสื อสารกับเครื อข่ายในการแลกเปลียนข้ อมูลระหว่างกัน (ชัยพจน์ รักงาม, 2540, หน้า42) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความรู ้ในวิธีการประมวล จัดเก็บรวบรวม เรี ยกใช้และ นําเสนอด้ วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิ กส์(พจนารถ ทองคําเจริ ญ, 2539, หน้า14) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การติดต่อสือสารข้ อมูลข่าวสารทุกรู ปแบบ ไม่วาจะ เป็ น ข้ อความ ตั วเลข เสี ยง ภาพ ผ่านสือต่างๆ(วิภาวดี ดิษฐสุธรรม, 2540, หน้า10) เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีทีเกียวข้ องกับการจัดเก็บ ประมวลผล และ เผยแพร่สารสนเทศ ซึ งรวมแล้วคือเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสือสาร โทรคมนาคม (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2540, หน้า17) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง รูปแบบของเทคโนโลยีทุกประเภท ทีนํามา ประยุกต์ ใช้ เพือการประมวลผล การจัดเก็บ และการถ่ายทอดสารสนเทศ ในรู ปของ อิเล็กทรอนิกส์ (ลูค ั ส จูเนียร์ (Lucas,JR 1997 : 7 ) เทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมถึง การจัดหา การจัดเก็บ การประมวลผล การค้นคืน และการแสดงผล ของสารสนเทศ โดยเครืองมือทางอิเลคทรอนิกส์ (กิลล์แมน (Gillman 1984 : 2535) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การกระทํ าโดยอั ตโนมั ติ เพือรวบรวม จั ดเก็บ ประมวลผล จั ดจํ าหน่าย และใช้สารสนเทศ โดยไม่ได้จ ํ ากั ดขอบเขตไว้ ที ฮาร์ดแวร์ หรื อ ซอฟต์แวร์ แต่เน้นความสําคั ญไปทีมนุษย์ ในฐานะทีเป็ นผูใช้้ ผู ้ สร้าง ผู ้ ควบคุม และผู ้ แสวงหาผลประโยชน์จากเทคโนโลยีนี(ซอร์โคซีย ์ (Zorkoczy 1984 : 3) เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยี ทีเป็ นการรวมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ก ับ สื อสารด้วยความเร็วเพือเชือมโยงการนําข้ อมูล เสี ยง และภาพ มาใช้(สเปนเซอร์ (Spencer 1992 : 206) เทคโนโลยีสารสนเทศ หรื อ ไอที (IT ย่อจาก Information Technology) หมายถึงเทคโนโลยี สําหรับการประมวลผลสารสนเทศ ซึ งครอบคลุมถึงการรับ-ส่ ง การแปลง การจัดเก็บ การประมวลผล GIT_concepts2
15
และการค้ นคืนสารสนเทศ ในการประยุกต์ การบริการ และพื นฐานทางเทคโนโลยี สามารถแบ่งกลุ่ม ย่อยเป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่ คอมพิวเตอร์, การสือสาร และข้ อมูลแบบมั ลติมีเดีย ซึ งในแต่ละกลุ่มนี ยั งแบ่งเป็ น กลุ่มย่อยๆ ได้อีกมากมาย องค์ประกอบทั ง3 ส่ วนนี ยั งต้องอาศั ยการทํ างานร่วมกั น ยกตัวอย่างเช่น เครื องเซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (คอมพิวเตอร์) เป็ นองค์ประกอบสําคั ญของระบบเครื อข่าย (การสือสาร) โดยมีการส่ งข้ อมูลต่างๆ ไปยั งเครื องลูก (ข้ อมูลแบบมั ลติมีเดีย) ในบางครั งจะมีการใช้ชือว่า เทคโนโลยี สารสนเทศและการสือสาร9 (Information and Communications Technology ย่อว่า ICT) จากความหมายดังกล่าวสรุ ปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การติดต่อสือสาร การส่ ง ข้ อมูลทุกรู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ น ข้ อความ ตั วเลข เสี ยง ภาพโดยผ่านสือต่างๆ รวมทั งการนําเสนอด้วย คอมพิวเตอร์ทีอยู่ในระบบเครือข่าย โดยผ่านระบบโทรคมนาคม จากการพัฒนาความก้าวหน้าทางIT และ ICT ย่อมส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมยีโอสเปเทียล และส่ งผลให้ต ้ องเปลียนไปตาม ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าวไปด้วย 2.2 เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดิจิตอล (Digital Geographic Information Technology) การใช้เทคโนโลยีดิจิตอลได้ เข้ ามาเปลียนแปลงรู ปแบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จากอนาล๊อก เป็ น ดิจิตอล ซึงมีการพัฒนาต่อเนืองไปอย่างรวดเร็วภายใต้GI Technology มากกว่า 40 ปี ทีผ่านมา ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ได้แก่GPS . Remote Sensing , Image Processing , Soft Photogrammety , the Survayor’s total station , Scanners, Virtual environments, and Plotters ทั งหมดเหล่านี มีระดับ ความเป็ นเทคโนโลยีเฉพาะต่องานด้ าน GI ดังนั นเทคโนโลยีดิจิตอลจึงมีความง่ายต่อการแก้ไข เพราะ ไม่จําเป็ นทีจะต้ องมีปฏิสัมพั นธ์ก ับโมเดลทางกายภาพโดยตรง(Physical model) แต่ใช้การคํานวณและ การจัดการข้ อมูล(Calculation and Manipulation of Data) ด้วยวิธีการปฏิบ ั ติการทางคณิตศาสตร์และ ตรรกศาสตร์ เพือการจั ดการและการเก็บข้ อมูลได้อย่างถูกต้ องและเชือถือได้ เพราะเป็ นวิธีการง่ายต่อ การป้ องกั นระบบจากสิ งทีไม่ต ้ องการเข้ ามาในระบบ นอกจากนี ยั งใช้วิธีการSharing เพราะว่า สารสนเทศดิจิตอลสามารถส่ งผ่านได้ด้วยความเร็วแสงและยั งมีราคาถูกอีกด้วย อาจจะกล่าวได้ว่าศาสตร์การทํ าแผนที มีความเหนื อกว่าคํ าว่าแผนทีแล้วก้ าวข้ า มออกไปสู่ ความ เป็ นแผนทีบนโลกเสมือนจริ งมากยิ งขึ น ซึ งสอดคล้ องกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี 9
จาก วิก ิ พีเดีย สื บค้ นวั นที5 พฤษภาคม 2553
GIT_concepts2
16
3. ลําดับเหตุการณ์พัฒนาการของศาสตร์ การทําแผนที ของประเทศสหรัฐอเมริกา (Timeline of Selected Events in the History fo the Mapping Sciences in the U.S) ปี เหตุการณ์ 1790 สมัยโธมั ส เจฟเฟอร์สัน(Thomas Jefferson) มีการสํามะโนประชากรครั งแรก ภายใต้ ความ รับผิดชอบของสํานักงานเลขาธิการแห่งรัฐ ใช้ม้ าเป็ นพาหนะเพือเก็บรวบรวมจํ านวน ประชากรจํานวน 3.9 ล้ านคน 1807 การสํารวจพื นทีชายฝั งและยีโอเดติค(U.S. Coast and Geodetic Survey) บนแผนทีแสดง ชายฝั ง เ พือช่วยการนําทางด้านประโยชน์ทางการค้ า (แต่ย ั งไม่ได้เริ มใช้จนถึงปี 1812 จากนั นไม่นานก็ได้กลายเป็ นส่ วนหนึ งของงานด้ านราชนาวี) 1810 เพิมรายการในสํามะโนประชากร การได้มาซึ งสารสนเทศด้านอุตสหกรรมการผลิต ปริ มาณ และคุณค่าของผลิตภั ณฑ์ 1820 นครรัฐนิวยอร์คได้สนับสนุนทุนการพั ฒนาด้ านการสํารวจทางธรณีเพือปรับปรุ ง การเกษตรในเขตอัลบานี เคาน์ตี (Albany County) 1823 รัฐน๊อตแคโรไลน่า ได้ทํ าการสํารวจธรณีอของรัฐ 1824 สภาคองเกรสให้นักวิศวกรรมทางทหารทํ าการสํารวจถนนและคลองเพือจุดประสงค์ ด้าน การทหาร การพาณิชย์ และไปรษณีย์ ต้ นปี ทํ าการสํารวจทางธรณีของรัฐทางตะวั นออกและรัฐในภาคกลาง 1830 1834 ทางสภาคองเกรสได้ให้ สํานักงานแผนทีภูมิประเทศแห่งกองทัพสหรัฐอเมริกา ผลิตแผนที ธรณีของสหรัฐทั งหมด 1848 ก่อตั งกระทรวงมหาดไทย สํานักงานทีดิน สํานักงานบํานาญ สํานักงานรับเรืองชนเผ่า อินเดียน และสํานักงานสํามะโนประชากร 1850 สํานักงานสํามะโนประชากรเก็บรวบรวมข้ อมูลภาษี วั ด ความยากจน และอาชญากรรม จอร์จ ที. โฮป (George T. Hope) ให้แนวคิดสําคั ญและรายละเอียดของการทํ าแผนที ประกันไฟของสหรัฐ ราวปี 1850 โฮปซึ งในขณะนั นเป็ นเลขาของบริ ษ ัทเจฟเฟอร์สัน ประกันภัย เริ มแปลงข้ อมูลแผนทีมาตราส่ วนใหญ่ของเมืองนิ วยอร์คเพือใช้ในการคํ านวณ ความเสียงในการเกิดอัคคีภัย ความพยายามนี ได้กลายมาเป็ นส่ วนหนึ งของงานในบริ ษ ัทแซ นบอร์น (Sanborn) GIT_concepts2
17
ปี เหตุการณ์ 1853 สภาคองเกรสให้วิศวกรของกองทั พสหรัฐ ในส่วนงานแผนทีภูมิประเทศ ทํ าการสํารวจ และกํ าหนดเส้นทางรถไฟทีดีทีสุ ดจากแม่นํ ามิสซิสซิปปี ถึงมหาสมุทรแปซิฟิก 1860 สภานิติบัญญัติของรัฐแคลิฟอร์เนีย ให้ท ําการสํารวจธรณีวิทยาของรัฐ (ซึ งเป็ นหน่วยงาน เดียวในขณะนั นทีทํ าการสํารวจด้ านธรณีในสงครามกลางเมืองพอดี) 1867 สภาคองเกรสให้ท ํ าการสํารวจธรณีวิทยาทางตะวั นตกและทรัพยากรธรรมชาติตลอดเส้น ขนานที 40 ด้วยความร่ วมมือระหว่างวิศวกรของกองทั พสหรัฐ และการสํารวจธรณีของ รัฐเน-บราสกา ภายใต้ สํานักงานทีดิน กระทรวงมหาดไทย 1867 บริ ษ ัทแผนทีแซนบอร์น (the Sandborn Map Company) ได้ผลิตแผนทีประกั นอั คคีภัยขึ น เป็ นครั งแรก 1869 แผนทีรัลด์ แมคนัลลี (Rand McNally map) เกียวกับเส้นทางรถไฟสายตะวันตก ( the Western Railway Guide) ได้ผลิตขึ นเป็ นครั งแรก 1870 การก่อตั งการบริการด้านภูมิอากาศแห่งชาติ (เดิมเป็ นหน่ วยงาน เทเลแกรมส์ และการ รายงานเพือผลประโยชน์ทางการค้ าของกระทรวงพาณิชย์) จากเลขาด้ านการสงคราม 1878 การก่อตั งหน่วยงานสํารวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐด้วยงบประมาณ 100,000 ดอลล่าร์สหรัฐ มี พนักงานทั งสิ น38 คน 1883 มิสเตอร์ แซนบอร์น เริ มการทํ าทะเบียนแผนทีอย่างเป็ นระบบ มีการเก็บแผนทีผลิตซํ า มา ตั งแต่ปี1883 อยู่ในห้องสมุดรัฐสภาอเมริ ก ัน แล้ วดี.เอ. แซนบอร์น เสี ยชีวิตเมือปี 1883 1886 ดร. เฮอร์เบิร์ต โฮลเลอไรท์ (Dr. Herbert Hollerith) ได้ผลิตและทดสอบเครืองจั กรกลทีเขา ประดิษฐ์ขึ นเรียกว่า “tabulating machine” สามารถบั นทึกสถิติให้แก่หน่วยงานสุขภาพของ รัฐบั ลติมอร์ และได้จดสิ ทธิบ ัตรในปี 1889 1888 ก่อตั งสมาคมภูมิศาสตร์แห่งชาติ(The National Geographic Society) 1890 ดร. เฮอร์เบิร์ต (นักสํามะโนสถิติประชากร) ได้ท ํ าบัตรเจาะรู(punched-card) ใช้ก ับเครื อง tabulating machines เพือใช้ สําหรับข้ อมูลสํามะโน เครื องจั กรนี ใช้ไฟฟ้ าในการอ่านช่องที เป็ นรู จากบั ตรเพือนับจํานวนข้ อมูลทั งหมด ซึในขณะนั ง นมีถึง 63 ล้ านคน 1896 ดร. เฮอร์ แมน โฮลเลอไรท์ ลูกชายของผู ้ เข้ าเมืองชาวเยอรมั นและเป็ นนักสํามะโนสถิติ ประชากร ได้ก่อตั งบริษัท Tabulating Machine Company 1899 บริ ษ ัทแซนบอร์น แตกตัวเป็ นบริ ษ ัท เพอร์รีส และบราวนี( Perris and Browne firm) แล้ว
GIT_concepts2
18
ปี
1902 1904 1909
1910
1911
1917 1924
เหตุการณ์ เปลียนชือมาเป็ น Sanborn Perris Map Company Ltd. กระทั งในปี 1902 เปลียนมาใช้ชือ Sanborn Map Company สํานักงานสํามะโนประชากรกลายมาเป็ นองค์กรหลักของสภาคองเกรส ก่อตั งสมาคมยานยนต์อเมริก ันขึ นที รัฐชิคาโก บริ ษ ัท Rand McNally ขยายธุรกิจด้ านการขนส่ งเชือมโยงกั บมอเตอร์คาร์ และตีพิมพ์ เอกสารชือ the New Automobile Road Map of New York City & Vicinity เป็ นครั งแรก ก่อตั งสมาคมนักภูมิศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริก ัน แอล.พี. โลวี (L.P. Lowe) ประธานสมาคมยานยนต์รัฐแคลิฟอร์เนีย ( CSAA :the California State Automobile Association ) ได้ประกาศว่า “รัฐแคลิฟอร์เนียจะเป็ นรัฐแรกทีผลิตแผนที ทางหลวงทีน่าเชือถือและถูกต้ อ” แผนทีนี ได้แสดงเส้นทางหลวงสายหลักของรัฐ แคลิฟอร์เนี ยและรัฐเนวาดา ส่ งไปให้แก่สมาชิก ถือว่าเป็ นการสร้างชือเสี ยงให้แก่สมาคม CASS ในเชิงการทํ าธุรกิจแผนที บี.เอฟ.กู๊ดริ ช (B.F. Goodich) เป็ นบริ ษ ัทยางรถยนต์ช ั นนําของประเทศ ได้ผลิตหนังสืชอุด แผนทีเส้นแสดงเส้นทางและสัญลั กษณ์ต่างๆ และยั งระบุจุดนําทาง“ guide posts” จากฝั ง หนึ งถึงฝั งหนึ งแสดงระยะทางแบริ ง และข้ อมูลทิศทาง ภายใต้โลโกกู๊ดริ ช ระบบนี ให้ ประโยชน์แก่ผู ้ ข ั บขีรถยนต์ซึ งได้ใช้มาเป็ นสิ บปี จนกระทั งแจกเป็ นของฟรีแล้ว แผนทีถนน บอกสถานีแกสกลายมาเป็ นสิ งทีเข้ าใจง่ายขึ นจนกระทั งแผนทีชนิดนี เริ มเสือมความนิยม ลง อย่างไรก็ตามก็เป็ นตัวกระตุ ้ นผู ้ ใช้รถใช้เป็ นแนวทางทํ าธุ รกิจสปอนเซอร์แทน ก่อตั งสมาคมโฟโตแกรมมิทริและรีโมทเซนซิงสากล(International Society for Photogrammetry and Remote Sensing ) บริ ษ ัท IBM ก่อตั งขึ นทีรัฐนิวยอร์คในฐานะทีเป็ น “ Computing-Tabulating –Recording Company, C-T-R” แล้วเปลียนชือมาเป็ น IBM ในปี 1924 หนึ งในบริษ ัทร่ วมคือบริ ษ ัท Herbert Hollerith’s Tabulating Machine Company บริ ษ ัท Randy MaNally ใช้ระบบกํ าหนดหมายเลขถนนสําหรับรัฐอิลินอยส์ และยั งคงใช้ อยู่ ในปัจจุบ ั น (รวมทั ง เส้นทาง66 (Route 66)) ลงบนแผนที การประชุมแห่งชาติว่าด้วยความปลอดภัยในการใช้ ถนนและทางหลวง โดยประธานเป็ น เลขาจาก Commercial Herbert Hoover ซึ งเป็ นคณะกรรมในการกําหนดรหัสเครื องยนต์ ให้ก ับ 48 รัฐ และ 2 ปี ถั ดจากนั น กํ าหนดเป็ นกฎหมายและเป็ นทียอมรับในการประชุมใน
GIT_concepts2
19
ปี
1924- 1925
1934 1939
1941 1953 1960
1961
1962 1963
เหตุการณ์ ครั งที2 โดยรัฐแต่ละรัฐไม่ได้ยอมรับโดยทั นที และบางรัฐก็ยอมรับเพียงบางส่วนเพือ นําไปปฏิบ ั ติได้ แต่การกําหนดรหัสมาตรฐานถือเป็ นกฎหมายและเป็ นกฎระเบียบ การจราจรแห่ งชาติอย่างมีประสิ ทธิ ภาพด้วย ทศวรรษ 1920s บริ ษัทเอกชนอย่างRand McNally ได้เริ มผลิตแผนทีแอดลาสเส้นทาง สมัยใหม่ขึ นเป็ นครั งแรกในปี 1924 (หรื อ 1925) เรี ยกว่า the Rand MaNally Auto Chum ส่ วนบริษ ัท Hammond and Gallup ได้ผลิตแผนทีแอดลาสถนน ในแต่ละแผนทีจะแสดง ลักษณะจําเพาะ ส่ วน Clason ได้ผลิตแผนทีแอดลาส แสดงคุณลักษณะรูปทางกราฟิ กซึ งมี ความเหมาะสมกับภูมิประเทศทางตะวั นตก ส่ วน Jenney ได้ผลิตแผนทีตามแบบฉบับ ตะวั นนอกด้ วยสิ งปกคลุมซึ งตกแต่งรู ปเชิงศิลปะ ก่อตั งสมาคมโฟโตแกรมมิทริและรีโมทเซนซิงแห่งอเมริ กัน ในช่วงปี 1939 เยอรมั นบุกโปแลนด์ ทางRand McNally ได้ผลิตแผนทีเส้นทางเพือการ หลบหนีสําหรับนักบิน มีรูปสถานทีปลอดภัยใต้ดินด้วย นอกจากนี ยั งเป็ นกระดาษทีทํ าจาก เยือผั กซึ งสามารถกินได้ เพือป้ องกันแผนทีนี ตกไปยังมือข้ าศึก ก่อตั งหน่ วยงานทํ าแผนทีและการสํารวจแห่งสหรัฐอเมริ กา OMB ได้ส่งหนังสือเวียน เอ-16 (Circular A-16) เพือให้สมาพันธ์การทํ าแผนทีและการ สํารวจได้พิจารณาเกียวกับมาตรฐานทางยีโอสเปเทียลและทีเกียวข้ องอืนๆ วิลเลียม (เบล) เฟตเตอร์ (William (Bell) Fetter )ของบริ ษ ั ทโบอิง ได้ใช้ค ํ าComputer Graphics ขึ นเพืออธิบายงานทีเขากํ าลังทํ าเกียวกับการวิเคราะห์ปัจจั ยมนุษย์สําหรับใช้ใน ห้องเครืองฝึ กหัดการขั บเครืองบิน ดร. เอ็ดการ์ โฮร์วู๊ด (Dr. Edgar Horwood) แห่งมหาวิทยาลั ยวอชิงตันได้ รับเทปบั นทึก ข้ อมูลสํามะโนประชากร แต่ในขณะนั นไม่มเครื ี องจักรเพือการจํ าแนกข้ อมูลสํามะโน ดิจิตอลนี (เทปนี เป็ น internal artifact =สิ งประดิษฐ์ภายใน) ดร.โฮร์วู๊ด (Horwood), ฮิวห์ แคลคินส์ (Hugh Calkins) และคนอืนๆ ใช้เวลา 2 สัปดาห์เพือ ฝึ กการใช้ข ้ อมูลสํามะโนประชากรและการทํ าแผนทีคอมพิวเตอร์(เดิมเป็ นของ URISA) โรเจอร์ ธอมลินสัน (Roger Thomlinson) ใช้ค ํ าGeographic Information System ในฐานะ เป็ นส่ วนหนึ งของงานวิเคราะห์ทีดินในแคนาดา ซึ งต่อมาเรียกว่า CGIS จากการประชุมครั งแรกของURISA ทีลอส แองเจอเลส มีผู ้ ร่วมประชุม48 คน โดย นายกเทศมนตรี ยอร์ตี (Mayor Yorty’s office) ได้กล่าวถึงข้ อตกลงความร่ วมมือในการใช้
GIT_concepts2
20
ปี
1964
1966 1967
1969 1971 1972 1973 1974 1975 1976-
เหตุการณ์ ระบบสารสนเทศและคอมพิวเตอร์สู่กระบวนการบริ หารของรัฐ โฮวาร์ด ฟิ ชเชอร์ (Howard Fischer) ได้พ ั ฒนาตั วอย่างของSYMAP (Synagraphic Mapping System) ขึ นทีมหาวิทยาลัย น็อทเวสเทอร์น (เชือมโยงกับกับเทปสํามะโน ประชากร) กระทรวงกลาโหม ได้พ ั ฒนาGPS ขึ น การประชุมครั งที 2 ของ URISA ทีมหาวิทยาลัยพิทสเบร์ก (University of Pittsburgh) มี ผู ้ เข้ าร่วมประชุม175 คน ตั งการคณะกรรมการพิเศษด้ านต่างๆ ขึ นมาเฉพาะอย่างเป็ น ทางการ ระบบ SYMAP ได้นําออกมาใช้ OMB ได้ปรับปรุ งจดหมายเวียน เอ-19 (Circulat A-16) กํ าหนดน้าทีในการทํ าร่าง แผนที สําหรับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงพานิช แห่งรัฐ DIME ไฟล์ฟอร์แมต (Dual Incidence Matrix Encoding ภายหลังเปลียนชือเป็ น Dual Independent Map Encoding) ได้รับการพัฒนาโดยเจ้ าหน้าทีสํานักสํามะโนประชากรซึ ง ทํ างานร่ วมกับห้องปฏิบ ั ติการHarvard Graphic Lab และศูนย์การศึกษา The New Haven Census Study แจค และ โลรา แดนเจอร์มอนด์ (Jack and Laura Dangermond) ก่อตั งบริ ษ ัทESRI จิม มิดล๊อก และเพือนอีก 4 คน ได้ ก่อตั งบริ ษ ัทM&S Computing (ภายหลังเปลียนชือเป็ น Intergraph) ก่อตั งหน่ วยงานทํ าแผนทีของกระทรวงกลาโหม (Defense Mapping Agency) องค์ การนาซา ส่ งดาวเทียม ERTS-1 (Landsat -1) สิ นสุ ดปฏิบ ั ติการในปี 1978 รัฐแมรี แลนด์ (โดย จอห์น แอนทีนุคชี : John Antenucci) พยายามให้มีการใช้ GIS ใน ระดับรัฐ (Marryland Automated Geographic Informatio System)โดยทํ างานร่ วมกับESRI ทีอังกฤษเริ มใช้ระบบดิจิไตซ์แผนที(U.K Ordnance Survey) USGS เริ ม ดิจิไตซ์แผนทีการใช้ทีดินและสิ งปกคลุม(Geographic Information Retrieval and Analysis) นาซาส่ งดาวเทียมแลนด์แซต-2 (สิ นสุ ดปฏิบ◌ัติการในปี 1981) USGS เริ มการสํารวจและทํ าแผนทีชั นความสู งDigital Elevation Models (DEM) และการ
GIT_concepts2
21
ปี 1977
เหตุการณ์ ทํ า digital line graphs (DLG) จากการผลิตแผนทีจากกระดาษ และได้ รับการยอมรับ แนวคิดในการทํ าแผนทีฐานดิจิตอลระดับชาติ ในปี 1977 (the National Digital Cartographic Data Base) 1978 นาซาส่ งดาวเทียมแลนด์แซต-3 (สิ นสุ ดปฏิบ ั ติการในปี 1983) 1979- ประธานาธิ บดีคาร์เตอร์และเรแกน เร่ งกํ าหนดให้ดาวเทียมแลนด์แซตใช้ในเชิงพานิช 1981 1980 รายงานการทํ าแผนทีภาษีหลายจุดประสงค์ของNRC นําออกสู่ สาธารณะ การบูรณาการหน่วยงานการจัดการฉุกเฉินแห่ งชาติร่วมกับUSGS 1:2 ล้ านแผนที 1981 ก่อตั งFICCDC (Federal Interagency Coordinating Committee on Digital Cartography) 1982 ก่อตั งAutomated Mapping/Facilities Mapping (AM/FM) ภายหลังเปลียนชือเป็ น GITA (Geospatial Information and Technology Association) นาซาส่ งดาวเทียมแลนด์แซต-4 ระบบ TM (Thematic Mapper data) สิ นสุ ดปฏิบ ั ติการปี 1992 1983 ก่อตั งบริ ษ ัทEtak Inc. 1984 นาซ◌่าส่ งดาวเทียมแลนด์แซต-5 (ยั งปฏิบ ั ติการอยู)่ 1985 ส่ งดาวเทียม GPS ขึ นโคจรเป็ นครั งแรก 1986 การประชุมด้ าน GIS/LIS (Land information systems) เป็ นครั งแรก โดยได้รับการ สนับสนุนจาก ASPRS (มีการประชุมต่อเนืองมาจนถึงปี 1996 โดยได้รับการสนับสนุนจาก AAG, ASPRS, ACSM, AM/FM-GITA, URISA) 1987 แต่งตั งคณะกรรมการด้ านศาสตร์การทํ าแผนที(Mapping Science) 1988 NCGIA (National Center for Geographic Information and Analysis) ได้รับงบประมาณ สนับสนุนจาก National Science Foundation 1990 หนังสือเวียน A-16 ระบุให้มีการใช้วิธีการอ้ างอิงทางภูมิศาสตร์ด้วยรู ปแบบข้ อมูลดิจิตอล และใช้ตามรู ปแบบของคณะกรรมการข้ อมูลภูมิศาสตร์แห่งชาติ(FGDC) 1991 แผนทีชุดภูมิประเทศของ USGS ได้เสร็ จสมบูรณ์ 1992 ก่อตั งNSGIC (National States Geographic Information Council ) OMB ทํ าจดหมายเวียน เอ-130 (Circular A-130) เป็ นประเด็นสําคั ญ(ด้ านนโยบายและการ
GIT_concepts2
22
ปี 1993 1994 1995 1996 1999 2002
เหตุการณ์ จัดการสารสนเทศแห่งรัฐเพือใช้เป็ นแนวทางกํ าหนดนโยบาย10) รายงานของ NRC เรื อง Toward a Coordinated Spatial Data Infrastructure for the Nation เป็ นประเด็นสําคั ญ การคํ านวณภาพระยะไกล ได้ ถูกนํามาใช้ ก่อตั งสมาคมโอเพ่นจีไอเอส(Open GIS Consortium) แต่งตั งคณะกรรมการเทคนิคด้ าน ISO จํ านวน 211 คน ประธานาธิ บดีคลินตั น ได้ลงนามแต่งตั งระดับผูบริ้ หารในตําแหน่งต่างๆ จํ านวน12,906 ตํ าแหน่งเพือการพัฒนาสถาปัตยกรรมข้ อมูลพื นทีแห่งชาติ ก่อตั งหน่ วยงานข่าวกรองในFGDC (FGDC clearinghouse) ก่อตั งหน่ วยงานมาตรฐานเมต้ าดาต้ าในFGDC (FGDC metadata standard) ซอฟแวร์มืออาชีพจากบริ ษ ัท MapInfo มีศ ักยภาพดี ก่อตั งOGIS Specification V1 ส่ งดาวเทียม IKONOS ขึ นโคจร นาซาส่ งดาวเทียมแลนด์แซต-7 (ส่ งข้ อมูลผิดปกติเมือ พฤษภาคม2003) จดหมายเวียน เอ-16 (Circulation A-16) ได้รับการแก้ไขให้ชัดขึ นโดยFGDC และ NSDI ก่อตั งGeospatial One-Stop e-government เป็ นครั งแรก
4. สรุ ป เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรื อ GIT อาจจะเป็ นคํ าทีไม่ค่อยคุ ้ นเคยเท่ากับGIS หรื อ GI Science หรื อ Geoinformatics แต่ด้วยหลั กการพื นฐานแล้ วมีความเกียวโยงกับศาสตร์ทางเทคโนโลยี สารสนเทศ หรือ ไอที และ ไอซีที ตามลํ าดับ ประกอบด้วยโครงสร้างสถาปัตยกรรมข้ อมูล เซิร์ฟเวอร์ Visualization ด้วยระบบดิจิตอล ตรรกะและการคํ านวณทีหลากหลายวิธี เป็ นต้ น ตลอดจนไปถึงระบบ การสือสาร การส่ งผ่าน การรับสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการให้บริการแบบ Geotelespatial และเป็ น เรี ยลไทม์ (Real Time Computation) จนทํ าให้แผนทีมีความเป็ นยิ งกว่าแผนที (Beyond Mapping) หรื อ
10
สื บค้ น จาก OMB from, http://www.whitehouse.gov/omb/rewrite/circulars/a130/a130.html
GIT_concepts2
23
เป็ นแผนทีเสมือ นจริ ง (Virtual Mapping) ซึ งมีความแตกต่างจากรู ปแบบแผนทีทีผ่านมา ส่ งผลกระทบ ต่อกระบวนการรับรู ้ทางภูมิศาสตร์ (Geographic Cognition) ซึ งได้ รับการสั นคลอนไปตามๆ กั น ....................................... เอกสารอ้ างอิง ครรชิต มาลัยวงศ์. (2540). ทัศนะไอที. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั น. ชัยพจน์ รักงาม. (2540). “เทคโนโลยีสารสนเทศ”. วารสารวิทยบริการ. 8(2): 41-53. พจนารถ ทองคํ าเจริ ญ. (2539). สภาพความต้องการและปัญหาการใช้ อินเตอร์ เน็ตในการ เรียนการสอนในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. วิทยานิ พนธ์ปริ ญญาครุ ศาสตร์ มหาบั ณฑิต, สาขาโสตทั ศนศึกษา บั ณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิยาลัย. พรเพ็ญ ทั ศนิจ. (2543). เจตคติต่อคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ของอาจารย์ สาขาวิชาการศึกษาสถาบันอุดมศึกษาภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริ ญญาการศึกษา มหาบั ณฑิต, สาขาเทคโนโลยีทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา. วิภาวดี ดิษฐสุธรรม. (2540). ก้าวสู ่ ยุค IT ก้าวสู ่ คุณภาพชีวิต. นักบริ หาร, 17(3):10. Brown, Brock J., and Le Vasseur, Michal L. (2006). Geographic Perspective Content Guide for Educators. USA, Alabama : National Geographic Society. Retrived on April 22, 2010 from http://www.nationalgeographic.com/xpeditions/guides/geogpguide.pdf Committee on Beyond Mapping: The Challenges of New Technologies in the Geographic Information Sciences, The Mapping Science Committee, National Research Council. (2006). Beyond Mapping: Meeting National Needs Through Enhanced Geographic Information Science. USA, Washington: The National Acacemies Press. Retrived on April 22, 2010 from http://www.nap.edu/catalog/11687.html Sara Irina Fabrikant, and others. (n.d). The First Law of Cognitive Geography: Distance and Similarity in Semantic Spaces. (n.p). Retrived on April 22, 2010 from http://www.geog.ucsb.edu/~sara/html/research/pubs/fabrikant_etal_gis02.pdf Goodchild, Michael F. (n.d). Geographical Information Science. USA.: National Center for
GIT_concepts2
24
Geographic Information and Analysis, University of California. Retrived on April 22, 2010 from http://www.cfc.umt.edu/giscertificate/Documents/Goodchild2.pdf Goodchild, Michael F. and others. (1998, April). “Whither Geographic Information Science? The Varenius Project A Special Issue of the International Journal of Geographical Information Science Introduction to the Varenius Project.” Human Geography, 16(2): 257– 271. n.p. Retrived on April 22, 2010 from http://www.cfc.umt.edu/giscertificate/Documents/Goodchild1.pdf Grejner-Brzezinska, Dorata A., Ron Li, Norbert Haala, and Charles Toth. (2004, February). “ From Mobile Mapping to Telegeoinformatics: Paradigm Shift in Geospatial Data Acquisition, Processing, and Management.” Photogrammetric Engineering & Remote Sensing. 70(2): 197-210. Retrived on April 22, 2010 from http://shoreline.ceegs.ohio-state.edu/publications/pers70_2.pdf Folger, Peter. (2009). “Geospatial Information and Geographic Information Systems (GIS): Current Issues and Future Challenges” in CRS Report for Congress Prepared for Members and Committees of Congress. USA., Washington D.C. : CRS. Retrived on April 22, 2010 from http://fas.org/sgp/crs/misc/R40625.pdf Mark, David M. (n.d). “Chapter 1:Geographic Information Science: Defining the Field” in Geographic Information Science. USA, New York: Department of Geography, University of Buffalo. Retrived on April 22, 2010 from http://www.cfc.umt.edu/giscertificate/Documents/Mark.pdf Montello, Daniel R. (2002). “Cognitive Map-Design Research in the Twentieth Century: Theoretical and Empirical Approaches”. Cartography and Geographic Information Science. 29(3): 283-304. Retrived on April 22, 2010 from http://www.geography.wisc.edu/histcart/v6initiative/12montello.pdf Radk, John and others. (2000, Spring). “Application Challenges for Geographic Information Science: Implications for Research, Education, and Policy for Emergency Preparedness and Response.” URISA Journal. 12(2 ): 15-30. Retrived on April 22, 2010 from http://www.urisa.org/files/RadkeVol12No2-2.pdf Šolar, Renata and Radovan, Dalibor. (2008). “The Change of Paradigms in Digital Map Libraries.”
GIT_concepts2
25
e-Perimetron. 3(2): 53-62. Retrived on April 22, 2010 from http://www.e-perimetron.org/Vol_3_2/Solar_Radovan.pdf Transportation Research Board of the National Academies. (2004). TCRP SYNTHESIS 55: Geographic Information Systems Applications in Transit a Synthesis of Transit Practice. USA.,Washington D.C.: Transit Cooperative Research Program. Retrived on April 22, 2010 from http://onlinepubs.trb.org/onlinepubs/tcrp/tcrp_syn_55.pdf United Nations. (2004). Integration of GPS, Digital Imagery and GIS with Census Mapping. New York, United Nations: Department of Economic and Social Affairs. Retrived on April 22, 2010 from http://unstats.un.org/unsd/demographic/meetings/egm/CensusEGM04/docs/AC98_14.pdf Wolfgang Reinhardt, Munich. (n.d). Some Thoughts on a Body of Knowledge for Different Purposes in GI Education. Germany, M체nchen: Universit채t der Bundeswehr M체nchen. Retrived on April 22, 2010 from http://lazarus.elte.hu/cet/academic/icc2009/reinhardt.pdf
GIT_concepts2