คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
พฤศจิกายน 2555
1
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
2
คานา คู่มือการจัดทาโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographical Information Technology: GIT) เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนอยู่ในรายวิชาโครงงานของ นักศึกษาระดับปริญญาตรี เพื่อฝึกกระบวนการคิดและการเขียนโครงงานอย่า งเป็นระบบ ซึ่งคู่มือที่จะ ช่วยให้นักศึกษาได้มองเห็นแนวทางในการทาโครงงานได้อย่างมีคุณภาพทั้งเนื้อหาและรูปแบบ ตั้งแต่ การเริ่มต้นค้นหาปัญหา การกาหนดจุดประสงค์ การดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย การสรุป ผลและ ข้อเสนอแนะ คู่มือนี้จะให้รายละเอียดในทุกขั้นตอนของการทาโครงงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่อง การอ้างอิงจากสิ่งที่นักศึกษาได้ไปศึกษาค้นคว้าและได้นามาใช้ในงานค้นคว้าหรือวิจัยของตนเอง ต้อง ใช้ระบบการเขียนเชิงอรรถและเอกสารอ้างอิงที่ถูกต้องตามระบบ Chicago style ซึ่งเป็นระบบการ อ้างอิงตามมาตรฐานสากลสาหรับงานวิจัยหรือโครงงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ดังนั้นจึงให้นักศึกษาได้ยึดคู่มือนี้เป็นแนวทางการจัดทาโครงงาน แล้วดาเนินการ จัดทาให้ถูกต้อง รอบคอบ และระมัดระวังในทุกขั้นตอน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการนาผลงานดังกล่าว ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ พฤศจิกายน 2555
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
สารบัญ คานา บทที่ 1. ความสาคัญของการทาโครงงาน 1.1 ความสาคัญ 1.2 จริยธรรมในทาโครงงาน 2. แนวทางการจัดทาโครงงาน 2.1 ส่วนประกอบหลักของการทาโครงงาน 2.2 แนวทางการทาโครงงานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.3 ส่วนประกอบของโครงงานและการเรียงลาดับ 2.3.1 ส่วนนา 2.3.2 ส่วนเนื้อหา 2.3.3 ส่วนท้าย 2.4 ขั้นตอนการทาโครงงาน 3. รูปแบบการพิมพ์โครงงาน 3.1 หลักเกณฑ์การพิมพ์ 4. ระบบการอ้างอิงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบ CMC หรือChicago style) 4.1 วิธีการอ้างอิงด้วยระบบ Chicago style โดยสรุป 5. โครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 5.1 การได้มาซึ่งหัวข้อปัญหาของโครงงาน 5.2 ตัวอย่าง โครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก ภาคผนวก
ก ตัวอย่างการพิมพ์โครงงาน ข ระบบการอ้างอิงทางด้านวิทยาศาสตร์แบบ Chicago Style ค แบบฟอร์มต่างๆ ง ตัวอย่างการกาหนดกรอบแนวคิด จ ตัวอย่างแนวคิด ทฤษฎี โมเดล ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์
หน้า ก 1 4 4 6 6 6 6 7 7 9 10 10 12 12 15 16 17 17 20
3
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
4
บทที่ 1 ความสาคัญของการทาโครงงาน1 1.1 ความสาคัญ โครงงานเป็นงานค้นคว้าที่มีลักษณะคล้ายกระบวนกางานวิจัย ซึ่งมีหัวข้อที่อาจจะไม่ครบถ้วน ทีน่ ักศึกษาได้จัดทาขึ้นจากหัวข้อเรื่องที่สนใจให้ความสนใจ (หรืออาจเรียกว่าปัญหาการวิจัย ซึ่งหัวข้อ เรื่องดังกล่าวควรจะเป็นประโยชน์ และสร้างสรรค์) โดยการแสวงหาคาตอบตามกระบวนการวิจัยที่ นักศึกษาเลือก จนกระทั่งนักศึกษาได้คาตอบสาหรับหัวข้อดังกล่าวและนาเสนอออกมาในรูปของ รายงานการวิจัย โดยโครงงานนั้นจะต้องผ่านการตรวจสอบจากคณะกรรมการโครงงาน และได้รับการ ยอมรับถึงคุณภาพของโครงงาน และระดับความรู้ความสามารถของผู้จัดทาโครงงานดังกล่าว โครงงานที่จัดทาขึ้นเป็นไปตามหลักสูตรของวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ สามารถทาได้ทั้งภาคภาษาไทย และภาษาอังกฤษ และนักศึกษาสามารถเลือก วิธีการวิจัยได้หลากหลายรูปแบบซึ่งขึ้นอยู่กับหัวข้อการวิจัย เช่น การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิง คุณภาพ การวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยและพัฒนา เป็นต้น โดยนักศึกษาจะต้องคานึงถึงความ เหมาะสมของวิธีวิทยาที่เลือกใช้ คานึงถึงสิทธิและจริยธรรมในการทาวิจัยเพื่อมิให้เกิดการละเมิดต่อ สิทธิของผู้อื่นซึ่งอาจมีผลต่อการเผยแพร่ของโครงงานนั้นๆ ได้ นักศึกษาควรจะศึกษาถึงองค์ประกอบ ของการทาโครงงานซึ่งได้กล่าวไว้ในบทที่ 2 แนวทางการจัดทาโครงงาน เพื่อให้การทาโครงงานมี คุณภาพ มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงาม และมีรูปแบบในการจัดพิมพ์ที่เหมาะสมต่อการ เผยแพร่ การศึกษาคู่มือการจัดทาโครงงานอย่างละเอียดรอบคอบก่อนทาโครงงานจะช่วยให้นักศึกษา สามารถวางแผนการทางานในขั้นตอนต่าง ๆ ได้เหมาะสมกับเวลาที่มีอยู่ และยังช่วยให้นักศึกษาไม่ เสียเวลาที่จะต้องย้อนกลับมาแก้ไขรูปแบบหรือองค์ประกอบภายหลัง ซึ่งส่วนใหญ่แล้วนักศึกษามักจะ เหลือเวลาค่อนข้างจากัด
1.2 จริยธรรมในทาโครงงาน โครงงานหรื อ การวิ จั ย เป็ น กระบวนการที่ ส าคั ญ ในการสร้ า งและสั่ ง สมองค์ ค วามรู้ แ ละ ประสบการณ์ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตทางสังคมของผู้คนจานวนมากได้ ดังนั้น สิทธิและจริ ยธรรมในการวิจั ยจึงเป็นประเด็นที่มีความส าคัญยิ่งที่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะต้อง ตระหนั กเพื่อป้ อ งกัน ผลกระทบที่ไม่ พึงประสงค์อันเนื่องจากการวิ จัย และคุ้มครองสิ ทธิข องผู้ ที่ เกี่ยวข้องตั้งแต่เริ่มการวิจัย ระหว่างดาเนินการวิจัย และหลังจากการวิจัยสิ้นสุดลง และให้ถือเป็น หน้าที่ที่ผู้วิจัยจะต้องระมัดระวัง และรับผิดชอบต่อประเด็นในด้านสิทธิและจริยธรรมในการวิจัย อัน ได้แก่ 1
http://grad.swu.ac.th/thesis3.asp
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
5
1. จริยธรรมในการใช้ประโยชน์จากผลงานของผู้อื่น เนื่ อ งจากการท าโครงงาน (อาจจะไม่ เที ย บเท่า กั บ งานวิ จั ย เต็ มรู ป แบบ) จ าเป็น ต้ อ งต่ อ ยอดจากฐานขององค์ความรู้เดิมซึ่งได้พบมาก่อนนั้น ความรู้ดังกล่าวอาจอยู่ในรูปของแนวคิด ทฤษฎี ข้อเขียน ความคิด และข้อค้นพบจากงานวิจัย เป็นต้น ซึ่งเท่ากับว่าเจ้าของผลงานทางวิชาการ ดังกล่าวเป็นผู้ที่มีคุณูปการทางวิชาการ ดังนั้นการใช้ประโยชน์จากผลงานของผู้อื่นนั้น แม้ว่านักศึกษาจะได้เขียนเรียบเรียงขึ้นใหม่ นักศึกษาก็จะต้องระบุว่าเป็นการเขียนและเรียบเรียงขึ้นมาจากข้อความ คาพูด ความคิด หรือข้อ ค้นพบ เป็นต้น ของผู้ใดและจะต้องไม่กระทาการใดๆ ที่ทาให้เกิดความเข้าใจผิดว่าผลงานวิชาการ ของผู้อื่นเป็นผลงานของตนเอง ทั้งจากการไม่อ้างอิงและการอ้างอิงไม่ถูกต้อง ใ น ส่ ว น ข อ ง ก า ร ทบทวนวรรณกรรม นักศึกษาจะต้องเป็นผู้ที่ประมวลความรู้ต่างๆ ขึ้นมาด้วยตนเอง โดยจะต้องไม่ลอก เลียนหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่นที่เคยนาเสนอไว้แล้วมาเสนอใหม่ในงานของตน แบบคาต่อคา บรรทัดต่อบรรทัด หรือหน้าต่อหน้า ในกรณีที่จาเป็นต้องคัดลอกก็ต้องใช้การอ้างอิงที่ถูกต้อง เพื่อให้ เห็นชัดเจนว่าคัดลอกจากแหล่งใด 2. จริยธรรมในการดาเนินการวิจัย 2.1 สิทธิและความยินยอมของผู้ให้ข้อมูล ให้ถือเป็นหน้าที่ที่ผู้วิจัยจะตระหนักในสิทธิที่ผู้ให้ข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่างที่จะต้อง ได้รับการชี้แจงเกี่ยวกับงานวิจัยและผลกระทบที่อาจจะได้รับจากการเข้าร่วมการวิจัย อย่างครบถ้วน ครอบคลุม และตรงไปตรงมา ทั้งนี้โดยที่ผู้วิจัยจะต้องไม่กระทาการใดๆ อันเป็นการละเมิดต่อเสรีภาพ ในการตัดสินใจของผู้ให้ข้อมูลหรือกลุ่มตัวอย่าง ในกรณีที่เป็นการวิจัยที่จาเป็นต้องดาเนินการโดยที่ไม่สามารถเปิดเผยให้ผู้ถูกศึกษา ทราบได้ว่ากาลังถูกศึกษา เนื่องจากจะมีผลต่ อความถูกต้องของผลการวิจัย จะต้องเพิ่มความ ระมัดระวังผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อผู้ถูกศึกษา ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม และจะต้องไม่ ดาเนินการวิจัยอันเป็นผลต่อการละเมิดหรือลิดรอน หรือลดทอนศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ของผู้ถูก ศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้อง 2.2 การรักษาความเป็นส่วนตัวของผู้ให้ข้อมูล ผู้วิจัยพึงรักษาข้อมูลการวิจัยไว้เป็นความลับ ไม่ว่าข้อมูลดังกล่าวจะอยู่ในรูปของ แบบสอบถาม ภาพ และเสียงให้สัมภาษณ์ เป็นต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในกรณีที่ผลการวิจัยจะ ส่งผลกระทบต่อผู้ให้ข้อมูล โดยจะต้องมีแนวทางในการป้องกันไม่ให้ตรวจสอบย้อนกลับไปได้ว่าข้อมูล ดังกล่าวเป็นข้อมูลของใคร เช่น การใช้นามสมมติ หรือสถานที่สมมติ เป็นต้น หรือการวิเคราะห์ข้อมูล อาจจะอยู่ในระดับที่เป็นการวิเคราะห์ภาพรวมในระดับของชุมชน สถาบัน หรือหน่วยงานต่าง ๆ 2.3 ความซื่อตรงทางวิชาการของผู้วิจัย ผู้วิจัยจะต้องมีความซื่อตรงทางวิชาการต่อกระบวนการวิจัย เริ่มตั้งแต่การทบทวน วรรณกรรม การอ้างอิง การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนาเสนอผลการวิจัย ซึ่งจะต้อง เป็นไปตามข้อเท็จจริงโดยจะต้องไม่บิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์แอบแฝงใดๆ
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
6
บทที่ 2 แนวทางการจัดทาโครงงาน 2.1 ส่วนประกอบหลักของการทาโครงงาน มี 3 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 : ส่วนประกอบตอนต้น 1. ปกนอก (Binding) 2. ปกใน (Title page) 3. บทคัดย่อภาษาไทย (Abstract in Thai) 4. บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (Abstract in English) 5. หน้าอนุมัติ (Approval sheet) ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 6. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) 7. สารบัญ (Table of contents) 8 สารบัญตาราง (List of tables) 9. สารบัญภาพประกอบ (List of illustrations and figures) 10. คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (Abbreviation) ส่วนที่ 2 : ส่วนเนื้อหา 1. บทนา 2. แนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 3. วิธีดาเนินการวิจัย 4. ผลการวิจัย 5. สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ส่วนที่ 3 : ส่วนท้าย 1. เอกสารอ้างอิง (References) 2. ภาคผนวก (Appendix) 3. ประวัติย่อผู้วิจัย (Curriculum vitae)
2.2 แนวทางการทาโครงงานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เนื้อหาของโครงงานทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีประกอบด้วยส่วนหลัก 3 ส่วน คือ บท นา ตัวเรื่อง ข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่ควรทาต่อในอนาคต โดยแต่ละส่วนมีรายละเอียดดังนี้ 1. บทนา จะกล่าวถึงความเป็นมา ปัญหาและความส าคัญของปัญหา แนวทางหรือ หลั กเกณฑ์ที่ใช้ใ นการแก้ ปั ญหา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการวิจัย วิธี ที่ดาเนิ นการวิจั ยโดยย่ อ
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
7
ประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย รายละเอียดอื่นๆ (ถ้ามี) ให้อยู่ในดุลพินิจของกรรมการที่ปรึกษา โครงงาน 2. ตัวเรื่อง ซึ่งจะเป็นเนื้อหาของโครงงาน จะแบ่งเป็น 5 บทก็ รูปแบบการเขียนตัวเรื่อง ที่นิยมจะมี 2 ประเภท ได้แก่ ประเภทที่ 1 จะมี บ ทต่ างๆ แยกไว้ชั ดเจน คือ บทปริทั ศน์ ว รรณกรรม (Literature review) และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทบรรยายวิธีการวิจัยที่ใช้โดยละเอียด อุปกรณ์ที่ใช้ในการวิจัยทั้งที่มี อยู่แล้วและที่ออกแบบ สร้างหรือประกอบเพื่อใช้ในโครงงานนี้ รวมถึงเครื่องมือและวิธีการวิเคราะห์ และบทผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง ประเภทที่ 2 เป็นการเขียนที่นิยมเขียนให้จบลงในแต่ละบท จึงมีลักษณะการเขียนในเชิง บทความในวารสารทางวิทยาศาสตร์ คือ ในแต่ละบทจะมี ปริทัศน์วรรณกรรมและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วิธีการวิจัยที่ใช้ อุปกรณ์ที่ใช้ เครื่องมือและวิธีการวิเคราะห์ ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง รวมทั้งสรุ ป และวิจ ารณ์ ผ ลการทดลอง ข้ อส าคัญ ในการเขีย นโครงงานประเภทนี้ คือ จะต้อ งหา ความสัมพันธ์และความเกี่ยวเนื่องของแต่ละบทมาสรุปและวิจ ารณ์ให้เหมาะสมกับส่วนของบทสรุป และข้อเสนอแนะตามส่วนที่ 3 3. ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เป็นตอนสรุปเรื่องราวในโครงงานทั้งหมด ทั้งนี้ข้อสรุป จะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ นอกจากนี้ควรชี้ให้เห็นถึงจุดเด่นและประโยชน์ที่ได้จากการ ทาโครงงาน ข้อจากัดของการทาวิจัยหรือข้อจากัดที่ใช้ในการสรุปงานวิจัยนี้ (ถ้ามี) ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการวิจัยในขั้นต่อไป และการประยุกต์ผลการวิจัยเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ นอกจากนี้งานวิจั ยทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีจะมีส่วนเพิ่มเติม คือ รายการอ้างอิง (References) ซึ่งประกอบด้วยรายชื่อหนังสือ วารสาร และสิ่งพิมพ์อื่นๆ รวมทั้งข้อมูลที่นามาจาก เว็บไซต์ที่เชื่อถือได้การอ้างอิงที่อยู่ในส่วนเนื้อเรื่องจะปรากฏอยู่ในส่วนอ้างอิง ซึ่งจะพิมพ์ไว้หลังส่วน เนื้อความ (หลังบทสรุปและข้อเสนอแนะ) และก่อนภาคผนวก ในการเขียนบทความทางวิทยาศาสตร์ การอ้างอิงจะไม่นิยมใช้การอ้างอิงในเชิงอรรถ การอ้างอิงที่อยู่ในส่วนเนื้อเรื่องจะนิยมใช้ 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 เป็นการใช้ตัวเลขหลังข้อความที่ต้องการอ้างอิง วิธีที่ 2 พิมพ์ชื่อผู้แต่งและปีไว้ในวงเล็บ แล้ววางไว้หลังข้อความที่ต้องการอ้างอิง การลง รายการอ้างอิงให้พิมพ์เฉพาะเอกสารที่มีการอ้างอิงในเนื้อหาของโครงงานเท่านั้น
2.3 ส่วนประกอบของโครงงานและการเรียงลาดับ โครงงานจะประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนนา ส่วนเนื้อหา และ ส่วนท้าย 2.3.1 ส่วนนา ประกอบส่วนต่าง ๆ เรียงตามลาดับดังต่อไปนี้ 1) ปกนอก เป็นปกแข็งสีน้าเงินเข้ม ตัวอักษรบนปกนอกพิมพ์ ด้วยอักษรสีเงินโดยมี ข้อความเหมือนปกในภาษาไทยทุกประการ 2) สันปก ให้พิมพ์ชื่อโครงงาน ผู้แต่ง และปีการศึกษาที่จบด้วยอักษรสีเงิน
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
8
3) กระดาษเปล่า ถัดจากปกแข็งด้านหน้าและก่อนปกแข็งด้านหลังให้มีกระดาษสีขาวด้าน ละแผ่น 4) ปกใน อยู่ถัดจากกระดาษเปล่า ตามด้วยปกในภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตามลาดับ ในกรณีที่ผู้แต่งมากกว่า 1 คน ให้เว้น 1 บรรทัดระหว่างชื่อผู้แต่ง 5) หน้าอนุมัติ อยู่ถัดจากปกในภาษาอังกฤษ ทั้ง ที่เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประกอบด้วย 5.1 ชื่อเรื่อง 5.2 ชื่อผู้แต่ง 5.3 สาขาให้เป็นสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5.4 คณะ ให้เป็นคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.5 อาจารย์ที่ปรึกษา 5.6 ปีการศึกษาที่จบ 5.7 ลายมือชื่อจริงของประธานสาขาวิชาและกรรมการสอบ โดย ประธานกรรมการให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา (คนใดคนหนึ่ง ถ้ามีอาจารย์ที่ปรึกษาหลายคน) และที่เหลือให้เป็นกรรมการ 5.8 ระบุคาว่า ลิขสิทธิ์ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม 6) บทคัดย่อ มีทั้งบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยอยู่ถัดจากใบรับรอง จากคณะกรรมการสอบ ในเนื้อหาของบทคัดย่อโดยปกติแล้ว จะประกอบด้วยเนื้อหาสาคัญๆ ที่เป็น หัวใจของงานวิจัยเรื่องนั้น ซึ่งได้แก่ 6.1 วัตถุประสงค์ของงานวิจัย (purpose) ซึ่งจะอธิบายเหตุผลสาคัญของ การทาวิจัยเรื่องนี้ 6.2 วิธีการวิจัย (research design/methodology/approach) เป็นการอธิบายว่าจะตอบวัตถุประสงค์การวิจัยที่วางไว้อย่างไร โดยปกติ จะอธิบายแนวทาง (approach) เช่น เป็นงานวิจัยเชิงสารวจ งานวิจัย กรณีศึกษา เป็นต้น และวิธีการ (method) ในการดาเนินการวิจัย เช่น เก็บรวบรวมข้อมูลอย่างไร ใครเป็นประชากรและกลุ่มตัวอย่าง และ อธิบายวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น 6.3 ผลการวิจัย (findings) จะอธิบายสิ่งที่ค้นพบจากการวิจัยสาคัญๆ ซึ่งจะ ล้อตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ 6.4 ความริเริ่มหรือความใหม่และคุณค่าของงานวิจัย (originality/value) เนื่องจากบทความวิจัยเป็นการนาเสนอผลการ ค้นพบหรือข้อเสนอใหม่ๆ ดังนั้นในบทคัดย่อจึงควรนาเสนอว่าบทความ วิจัยนี้ได้นาเสนออะไรใหม่ๆ บ้าง และสิ่งเหล่านั้นมีคุณค่าต่อวงวิชาการ และต่อสังคมอย่างไร
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม
9
ดังนั้นในบทคัดย่อจะประกอบด้วย ชื่อเรื่อง (title) บทคัดย่อ (abstract) และคาสาคัญ (keywords) เป็นหลัก โดยจะทาให้บทความของเราสามารถถูกค้นหาได้แม่นยามากยิ่งขึ้น (ท่ามกลาง บทความนับแสนนับล้านในโลกอินเตอร์เน็ต) 7) กิตติกรรมประกาศ อยู่ถัดจากบทคัดย่อภาษาอังกฤษ เป็นข้อความกล่าวขอบคุณผู้ที่ให้ ความช่วยเหลือและความร่วมมือจนโครงงานสาเร็จลุล่วงด้วยดี และหากโครงงานใดได้รับทุนอุดหนุน การทาโครงงาน ควรระบุแหล่งที่มาของทุนอุดหนุนด้วย 8) สารบัญ อยู่ถัดจากกิตติกรรมประกาศ เป็นรายการที่แสดงส่วนประกอบที่สาคัญทั้งหมด ของโครงงาน หากสารบัญไม่จบในหนึ่งหน้าให้พิมพ์คาว่า “สารบัญ (ต่อ)” กลางหน้ากระดาษถัดไป 9) สารบัญตาราง เป็นส่วนที่แจ้งหมายเลขหน้าของตารางทั้งหมดที่มีอยู่ในโครงงานโดยจะอยู่ ถัดจากสารบัญ หากสารบัญตารางไม่จบในหนึ่งหน้าให้พิมพ์คาว่า “สารบัญตาราง (ต่อ)” กลาง หน้ากระดาษถัดไป 10) สารบัญภาพ เป็นส่วนที่แจ้งหมายเลขหน้าของภาพทั้งหมดที่มีอยู่ในปริญญานิพนธ์โดย จะอยู่ถัดจากสารบัญตาราง หากสารบัญภาพไม่จบในหนึ่งหน้าให้พิมพ์ “สารบัญภาพ (ต่อ)” กลาง หน้ากระดาษถัดไป 11) คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ อยู่ถัดจากสารบัญภาพ เป็นส่วนที่อธิบายถึงสัญลักษณ์ และคาย่อต่าง ๆ ที่ใช้ในการทาโครงงาน ทั้งนี้สัญลักษณ์และคาย่อมีความหมายเดียวกันตลอดทั้งเล่ม และให้พิมพ์เรียงตามลาดับตัวอักษร 2.3.2 ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วย 5 บท ดังนี้ 1) บทที่ 1 บทนา เป็นบทแรกของโครงงาน ครอบคลุมถึง ปัญหา ที่มา หรือมูลเหตุจูงใจ ในการทาโครงงาน วัตถุประสงค์และขอบเขตของโครงงาน ทฤษฎีและแนวความคิดที่จะนามาใช้ใน การทาโครงงานโดยย่อ ตลอดจนประโยชน์ที่จะได้รับจากการทาโครงงาน 2) บทที่ 2 ทฤษฎี แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หมายถึงรายละเอียดของเนื้อหาทฤษฎี ที่นามาใช้ในโครงงาน 3) บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย หมายถึง รายละเอียดของขั้นตอนการ ทาโครงงาน หรือขั้นตอนการทดลอง กรอบแนวคิดที่นามาใช้ในการดาเนินการวิจัย 4) บทที่ 4 ผลการวิจัย หมายถึง รายละเอียดของผลที่เกิดจากการวิจัย เป็นไปตาม ขั้นตอนและกรอบแนวคิดที่วางไว้ พร้อมทั้งสรุปผลในภาพรวมที่เกิดขึ้นได้ 5) บทที่ 5 สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ควรจะมีการอภิปรายในส่วนของ ผลการทดลอง และสรุปเฉพาะในประเด็นที่สาคัญ ทั้งนี้อาจมีข้อเสนอแนะโดยย่อเกี่ยวกับการพัฒนา โครงงานต่อไป ตลอดจนประโยชน์ที่อาจได้รับจากการประยุกต์ใช้โครงงานนี้
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 10
2.3.3 ส่วนท้าย ประกอบด้วย 1) เอกสารอ้างอิง เป็นส่วนที่แสดงรายชื่อหนังสือหรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ที่ใช้สาหรับการ ค้นคว้าอ้างอิงประกอบการเขียนโครงงาน โดยจะอยู่ถัดจากส่วนเนื้อหาและก่อนภาคผนวก 2) ภาคผนวก (ถ้ามี) เป็นส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นเพื่อช่วยเสริมความเข้าใจในเนื้อหาสาระของ โครงงานให้มากขึ้น ส่วนใหญ่มักเป็น แบบสอบถาม การจัดทาคู่มือการใช้งานที่เกิดจากการพัฒนา โปรแกรม เป็นต้น ซึ่งอาจมีหรือไม่มีก็ได้ตามความเหมาะสมและความจาเป็น 3) ประวัติผู้แต่ง ประกอบด้วยชื่อโครงงาน สาขาวิชา คณะ ชื่อผู้ทาโครงงาน และประวัติ โดยย่อซึ่งประกอบด้วยประวัติการศึกษาและสถานที่ติดต่อ
2.4 ขั้นตอนการทาโครงงาน 1) นักศึกษาต้องลงทะเบียนวิชาโครงงาน 2) นั ก ศึ ก ษาเสนอโครงงานและเสนอรายชื่ อ คณะกรรมการควบคุ ม การท าโครงงาน ต่ อ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร 3) สาขาวิชาดาเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการควบคุมการทาโครงงาน โดยคณะกรรมการบริหาร หลักสูตรให้ความเห็นชอบเพื่อให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา 4) จัดประชุมพิจารณาเค้าโครง และเสนอต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตร เพื่อดาเนินการ แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาเค้าโครงฯ 5) ปรั บ ปรุ ง /แก้ ไ ขเค้ า โครงฯ ตามที่ ค ณะกรรมการพิ จ ารณาฯ เสนอแนะ และเสนอต่ อ คณะกรรมการควบคุมการทาโครงงาน 6) เสนอเค้าโครงฯ ที่แก้ไข เพื่อขออนุมัติการทาโครงงาน และเสนอต่อคณะ และคณะกรรมการ บริหารหลักสูตร 7) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอนุมัติเค้าโครง 8) ดาเนิ น การจั ดทาโครงงาน และรายงานความก้า วหน้าในการจัดทาต่อคณะโครงงานต่ อ คณะกรรมการควบคุมการทาโครงงาน 9) จัดทาโครงงานเสร็จ และเสนอขอสอบปากเปล่าต่อประธานคณะกรรมการควบคุมการทา โครงงาน เสนอคณะกรรมการบริห ารหลั กสู ตรดาเนินการฯ แจ้ง ไปทางคณะเพื่อแต่งตั้ ง คณะกรรมการสอบปากเปล่าโครงงาน 10) ส่งโครงงานฉบับสมบูรณ์ ให้กับฝ่ายวิชาการของคณะ 11) แก้ไขรูปแบบการพิมพ์ตามคาแนะนา 12) ส่งโครงงานฉบับสมบูรณ์ 1 ชุด เพื่อจัดทาปก สาเนาจานวน 5 เล่ม พร้อม แผ่นบันทึกข้อมูล 1 ชุด (โดยกรรมการลงนามทุกสาเนา) 13) บทคัดย่อภาษาไทย 5 ชุด บทคัดย่อภาษาอังกฤษ 5 ชุด ให้กับศูนย์ภาษาตรวจสอบความ ถูกต้อง 14) ยื่นขอจบการศึกษา และตรวจสอบคุณสมบัติอื่นๆ ได้แก่ การศึกษาครบตามหลักสูตร หรือไม่
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 11
ขั้นตอนการทาโครงงาน เริ่ม นักศึกษาเสนอหัวข้อต่อผู้ประสานงาน นศ.ยื่นแบบฟอร์ม ขอเสนอโครงงาน ผู้ประสานงานกาหนด อ.ที่ปรึกษา
แบบฟอร์มแต่งตั้ง อ.ที่ปรึกษาโครงงาน
อ.ที่ปรึกษาพิจารณาโครงงาน ขอบเขต วัตถุประสงค์ ขั้นตอนการดาเนินงาน แนวคิด ทฤษฎี กาหนดวันขึ้นสอบเค้าโครง
ช่วงที่ 1 นักศึกษาออกแบบ /สร้าง/ ทดสอบ/ปรับปรุงระบบ/ จัดทาคู่มือ ตามคาแนะนาของ อ.ที่ปรึกษา
นักศึกษาพบอ.ที่ปรึกษาต่อเนื่อง อ.ที่ปรึกษาพิจารณาขอบเขต / วัตถุประสงค์ /เนื้อหา ยื่นแบบฟอร์ม นาส่งโครงงานที่เสร็จสมบูรณ์ จานวน 5 เล่ม แก่คณะกรรมการสอบ นักศึกษา นาส่งโครงงานที่เสร็จสมบูรณ์ เสนอต่อผูป้ ระสานงาน ช่วงที่ 2 ผู้ประสานงานกาหนดตารางการนาเสนอโครงงาน ต่อคณาจารย์ในโปรแกรมวิชา
กาหนดวันขึ้นสอบโครงงาน แต่งตั้งคณะกรรมการสอบโครงงาน
นักศึกษานาเสนอโครงงานต่อคณาจารย์ในโปรแกรม วิชาเพื่อพิจารณา
ประกาศผลการสอบ แก้ไขเล่มครั้งสุดท้าย แล้วทาสาเนา จานวน 5 เล่ม นาส่งที่คณะ
ช่วงที่ 3 จบ
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 12
บทที่ 3 รูปแบบการพิมพ์โครงงาน 3.1 หลักเกณฑ์การพิมพ์ 1) กระดาษที่ใช้ เป็นกระดาษปอนด์ขาวพิเศษไม่มีเส้นบรรทัด ขนาดมาตรฐาน A4 น้าหนัก 80 กรัม ใช้พิมพ์เพียงหน้าเดียวเท่านั้นตลอดทั้งเล่ม 2) การตั้งขอบกระดาษ เว้นขอบระยะห่างจากริมกระดาษดังนี้ 2.1 หัวกระดาษให้เว้น 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) ยกเว้นหน้าที่ขึ้นบทใหม่ของแต่ละบทให้ เว้น 5.08 เซนติเมตร (2 นิ้ว) 2.2 ขอบล่างและขวามือ ให้เว้น 2.54 เซนติเมตร (1 นิ้ว) 2.3 ขอบซ้ายมือ ให้เว้น 3.81 เซนติเมตร (1.5 นิ้ว) 3) การลาดับหน้าและเลขหน้า 3.1 การลาดับหน้าในส่วนนาเรื่อง ให้ใช้ตัวอักษรเรียงตามลาดับพยัญชนะในภาษาไทย ก, ข, ค, . . . โดยพิมพ์ลาดับหน้าไว้กลางหน้ากระดาษด้านล่างห่างจากขอบกระดาษขึ้นมา 1.27 เซนติเมตร (0.5 นิ้ว) โดยเริ่มนับจากหน้าปกใน แต่จะไม่พิมพ์ลาดับหน้าในหน้าปกใน ให้เริ่มพิมพ์ ลาดับหน้าจากใบรับรองจากคณะกรรมการสอบเป็นต้นไป 3.2 การลาดับหน้าในส่วนเนื้อหาและส่วนท้าย ให้ใช้ตัวเลขอารบิค 1, 2, 3, . . . กากับหน้า เรียงลาดับตลอดทั้งเล่ม โดยพิมพ์ไว้ริมขอบขวาของกรอบกระดาษห่างจากขอบบนและขอบขวามือ ของกระดาษด้านละ 2.54 เซนติเมตร (1 นิ้ว) ยกเว้นหน้าแรกของบทที่ขึ้นบทใหม่ และหน้าแรกของ ภาคผนวกแต่ละภาค ไม่ต้องใส่เลขหน้ากากับแต่ให้นับจานวนหน้ารวมไปด้วย 4) การพิมพ์ 4.1 ขนาดและแบบตัวพิมพ์ ให้ใช้ตัวพิมพ์ชื่อ ThaiKrub ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ส าหรั บ ตัว อักษรธรรมดาที่เป็ น ตัว พื้ นของการพิมพ์ ตลอดทั้งเล่ ม ส่ ว นภาษาอังกฤษให้ ใช้ตั ว พิม พ์ Times New Roman ขนาด 12 พอยต์ 4.2 การพิมพ์บทที่ เมื่อขึ้นบทใหม่ให้ขึ้นหน้าใหม่เสมอและมีเลขประจาบทโดยให้ใช้เลข อารบิคเท่านั้น เช่น การพิมพ์บทที่ 1 ให้พิมพ์คาว่า “บทที่ 1” ไว้ตรงกลางตอนบนสุดของ หน้ากระดาษ ส่วนชื่อบทให้พิมพ์ไว้กลางหน้ากระดาษในบรรทัดถัดไปโดยไม่ต้องเว้นบรรทัด การ พิมพ์บทที่และชื่อบทให้ขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ ตัวหนา สาหรับบรรทัดถัดไปให้เว้น 1 บรรทัดจากชื่อ บท 4.3 หัวข้อสาคัญ ให้พิมพ์ชิดกรอบกระดาษด้านซ้ายมือ ด้วยขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ ตัวหนา การพิมพ์บรรทัดต่อ ๆ ไป ไม่ต้องเว้นบรรทัด 4.4 หัวข้อย่อย ให้พิมพ์ย่อหน้าโดยเว้นระยะให้ตรงกับตัวอักษรตัวแรกของชื่อข้ อความของ หัวข้อสาคัญนั้น ๆ โดยใช้ระบบตัวเลขทั้งหมด
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 13
4.5 คาศัพท์ภาษาต่างประเทศ ให้พิมพ์เป็นภาษาไทยและวงเล็บเป็นภาษาต่างประเทศใน ครั้ งแรกที่กล่ าวถึง หลั งจากนั้ น ไม่ต้องวงเล็ บอีก ส าหรับ การพิ มพ์เป็น ภาษาไทยอาจยึดตามการ บัญญัติศัพท์ที่ทาไว้แล้วโดยราชบัณฑิตยสถาน วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ศัพท์เทคนิคทาง คอมพิวเตอร์ หรือตามความเหมาะสม แต่ให้ใช้เหมือนกันตลอดทั้งเล่ม 5) การพิมพ์ตาราง ภาพประกอบ และสมการ 5.1 ตาราง ให้พิมพ์คาว่า “ตาราง” ชิดริมกรอบกระดาษซ้ายมือ ตามด้วยเลขที่ของตาราง ตามการแบ่งบท และ ชื่อตาราง กากับไว้ด้านบนของตารางนั้น โดยเรียงลาดับหมายเลขตารางตาม บทจาก 1 ไปจนจบบท คาว่าตารางและเลขที่ของตารางให้พิมพ์ด้วยตัวหนา เช่น ตารางที่ 1-1 (ตารางที่ 1 ในบทที่ 1), ตารางที่ 2-5 (ตารางที่ 5 ในบทที่ 2), ตาราง ก-1 (ตารางที่ 1 ในภาคผนวก ก) เป็นต้น 5.2 ภาพ เหมือนกับการพิมพ์ตาราง แต่ให้กากับไว้ใต้ภาพประกอบกลางหน้ากระดาษ โดย ภาพใด ๆ ก็ตาม จะต้องทาเป็นภาพอัดสาเนาบนกระดาษให้ชัดเจน ห้ามใช้วิธีการติดภาพ 5.3 สมการ ให้พิมพ์เรียงลาดับหมายเลขของสมการตามบทจาก 1 ไปจนจบบทอยู่ภายใน วงเล็บ โดยให้พิมพ์เป็นตัวอักษรธรรมดาและอยู่ชิดกรอบกระดาษด้านขวามือ เช่น สมการที่ 4 ในบท ที่ 2 ให้พิมพ์ (2-4) , สมการที่ 3 ในภาคผนวก ข ให้พิมพ์ (ข-3) 6) การเขียนอ้างอิง ให้เป็นแบบตัวเลขเป็นการระบุแหล่งที่ใช้อ้างอิงในการเรียบเรียงปริญญา นิพนธ์เป็นหมายเลขเรียงลาดับกันไป โดยใช้รูปแบบการอ้างอิง Chicago Style โดยมีวิธีการดังนี้ 6.1 ใส่ตัวเลขกากับไว้ท้ายข้อความหรือชื่อบุคคลที่อ้างอิงด้วยตัวเลขอารบิค ในเครื่องหมาย วงเล็บสี่เหลี่ยม [ ] เช่น [1], [2] เป็นต้น 6.2 ตัวเลขเรียงลาดับตั้งแต่เลข 1 เป็นต้นไปจนจบเล่ม 6.3 ในกรณีที่มีการอ้างอิงซ้าให้ใช้ตัวเลขเดิมที่เคยใช้อ้างอิงมาก่อนแล้ว 6.4 แหล่งที่ใช้อ้างอิงทั้งหมดนั้น จะไปปรากฏอยู่ในเอกสารอ้างอิง 7) การพิมพ์เอกสารอ้างอิง อยู่ต่อจากส่ ว นเนื้อหา และก่อนภาคผนวก ให้พิมพ์คาว่า “เอกสารอ้างอิง” กลางหน้ากระดาษ โดยเว้นขอบกระดาษพิมพ์เช่นเดียวกับการเริ่มบทใหม่ และให้ เว้น 1บรรทั ดจึ ง เริ่ มพิม พ์ร ายการของเอกสารอ้ างอิ ง ส าหรับ รายการของเอกสารอ้างอิง ให้ เ รีย ง ตามลาดับหมายเลขที่ได้กากับไว้ภายในเครื่องหมายวงเล็บสี่เหลี่ยมที่ได้อ้างถึงในเนื้ อหาของปริญญา นิพนธ์ โดยไม่ต้องเรียงตามตัวอักษร และพิมพ์หมายเลขของทุกเอกสารให้ชิดกับของกระดาษด้านซ้าย ถ้าข้อความในเอกสารอ้างอิงข้อใดข้อหนึ่งมีความยาวมากกว่า 1 บรรทัด ให้พิมพ์บรรทัดถัดไปโดยย่อ หน้าเว้นระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 นิ้ว) 8) การพิมพ์ภาคผนวก อยู่ถัดจากเอกสารอ้างอิง โดยให้พิมพ์อยู่กลางหน้ากระดาษ และเว้น 1 บรรทัด จึงพิมพ์ชื่อของภาคผนวก ถ้าภาคผนวกมีภาคเดียว ให้ใช้เป็น “ภาคผนวก ก” แต่ถ้ามีหลาย ภาคให้ใช้เป็น “ภาคผนวก ก” , “ภาคผนวก ข” ฯลฯ และให้ขึ้นหน้าใหม่เมื่อขึ้นภาคผนวกใหม่ 9) การพิมพ์ประวัติผู้แต่ง อยู่ถัดจากภาคผนวก 10) การทาสาเนา จะต้องมีความชัดเจนและถูกต้องเช่นเดียวกันกับต้นฉบับ และทุกเล่มต้องมี ลายมือชื่อจริงของคณะกรรมการสอบทุกคน
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 14
บทที่ 4 ระบบการอ้างอิงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบ CMS หรือ Chicago ในโปรแกรม MS Word ตั้งแต่เวอร์ชัน 7 เป็นต้นไปจะมีเมนูการอ้างอิงข้อมูล (รูปด้านล่าง)ให้ เลือกหลากหลายประเภท แต่สาหรับโครงงานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้นักศึกษาเลือก รูปแบบลักษณะการอ้างอิงแบบ Chicago Style นอกจากนี้นักศึกษาควรศึกษารายละเอียดระบบการ อ้างอิงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพิ่มเติมจากเว็บไซต์ http://www.makecitation.com/chicago_book.php โดยนักศึกษาสามารถเข้าไปกรอก รายละเอียดต่างๆที่ใช้ในโครงงานได้ การอ้ างอิง
เลือก Chicago style
คลิกที่ แทรกข้ อมูลอ้ างอิง เพื่อกรอกข้ อมูลเอกสารที่ใช้
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 15
4.1 วิธกี ารอ้างอิงด้วยระบบ Chicago Style โดยสรุป เป็นดังนี้ การอ้างอิงหนังสือทั้งเล่ม เลขลาดับที่. ชื่อผู้เขียน นามสกุล, ชื่อหนังสือ(เมืองที่พิมพ์: แหล่งพิมพ์, ปีที่พิมพ์), เลขหน้า. 7. Peter Skehan, A Cognitive Approach to Language Learning (Hong Kong: Oxford University Press, 1998), 25-26. การอ้างอิงบางส่วนของหนังสือ เลขลาดับที่. ชื่อผู้เขียน นามสกุล, “ชื่อตอน,” in ชื่อหนังสือ, ed. ชื่อนามสกุล บก (เมืองที่พิมพ์ : แหล่งพิมพ์, ปีที่พิมพ์), เลขหน้า. 8. Erik Borg, "Citation practices in academic writing," in Patterns and perspectives: Insights in EAP writing practice, ed. Paul Thompson, (Reading: Centre for Applied Language Studies, 2000), 27-45. การอ้างอิงบทความจากวารสารวิชาการ เลขลาดับที่. ชื่อผู้เขียนนามสกุล, “ชื่อตอน,” ชื่อวารสาร เล่มที่ (ปีที่พิมพ์): เลขหน้า. 1. Laura Saunders, “Exploring Connections between Information Retrieval Systems and Information Literacy Standards,” Library & Information Science Research 30 (2008): 86-93. การอ้างอิงบทความจากอินเตอร์เน็ต เลขลาดับที่. ชื่อผู้เขียน. นามสกุล, “ชื่อหัวข้อบทความ”. ชื่อหนังสือ, วันเดือนปี, URL address (accessed วันเดือนปี). 1. Janette P Green and Kathy Eagar, “The Health of People in Australian Immigration Detention Centres” The Medical Journal of Australia, January 18, 2010, http://www.mja.com.au/ (accessed January 28, 2010).
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 16
บทที่ 5 โครงงาน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 5.1 การได้มาซึง่ หัวข้อปัญหาของโครงงาน 5.1.1 ความหมาย โครงงาน คือ การเรียนรู้ที่เกิดจากความต้องการรู้ของนักศึกษา และต้องการหา คาตอบของเรื่องนั้นๆ 5.1.2 ประเภทของโครงงาน 1) โครงงานสารวจ 2) โครงงานค้นคว้าทดลอง 3) โครงงานศึกษาความรู้ ทฤษฎี หลักการ หรือแนวคิดใหม่ 4) โครงงานประดิษฐ์ คิดค้น นวัตกรรม 5.1.3 การวางแผนจัดการเรียนรู้ 1) อาจารย์และนักศึกษาสนทนาร่วมกันถึงสิ่งที่น่าสนใจ จัดสถานการณ์เพื่อกระตุ้น ให้เกิดความสนใจใคร่รู้ 2) วางแผนหาคาตอบจากเรื่องหรือสิ่งที่นักศึกษาแต่ละคนสนใจ ต้องการรู้อะไร คาดว่าคาตอบจะเป็นอย่างไร จะไปหาคาตอบได้จากที่ไหนบ้าง จะใช้วิธีการใดหาคาตอบนั้นได้อย่างไร จะเก็บรวบรวมคาตอบได้อย่างไร 3) การวางแผนเพื่อหาคาตอบ คาถาม
คาตอบที่คาดเดา
วิธหี าคาตอบ
แหล่งคาตอบ
การเก็บรวบรวมคาตอบ
1. 2. 3.
4) การวางแผนการทาโครงงาน คาถามต่างๆที่นักศึกษาอยากรู้ นาไปสู่ การกาหนดวัตถุประสงค์ คาตอบที่นักศึกษาคาดเดาไว้ล่วงหน้า นาไปสู่ การตั้งสมมุติฐาน
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 17
สถานที่ เอกสาร บุคคล ที่นักศึกษาไปหาคาตอบ นาไปสู่ แหล่งเรียนรู้หรือ แหล่งข้อมูล การหาคาตอบจากการอ่าเอกสาร สัมภาษณ์ สังเกต อื่นๆ นาไปสู่ วิธีการ แสวงหาความรู้ หรือการรวบรวมข้อมูล สิ่งที่นักศึกษาใช้ในการรวบรวมคาตอบหรือบันทึก นาไปสู่ การกาหนด เครื่องมือ 5) การเขียนเค้าโครง ชื่อโครงงาน ชื่อผู้ทาโครงงาน /ชั้นปี/ ปีการศึกษา ชื่อที่ปรึกษาโครงงาน ความเป็นมาและความสาคัญ (ของปัญหาหรือสิ่งที่สนใจหรือสิ่งที่ต้องการ ปรับปรุง) โดยการอธิบายความเป็นมาและความสาคัญในภาพกว้าง แล้วโยง เข้าสู่หัวเรื่องที่ต้องการทาโครงงาน ชี้ให้เห็นถึงความสาคัญว่าเพราะเหตุใด จึงต้องทาโครงงานนี้ วัตถุประสงค์ ต้องระบุให้ชัดเจน กระชับ เช่น เพื่อศึกษา.....เพื่อออกแบบ/ สร้าง/ประกอบ/ทดสอบ (อะไร)..... ขอบเขตของโครงงาน เช่นข้อจากัดในเรื่องสถานที่ เวลา เนื้อหา ประชากร แนวคิด ทฤษฎี โมเดล เอกสารที่เกี่ยวข้อง เป็นการอธิบายทฤษฎี/แนวคิด ด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ รีโมทเซนซิง จีพีเอส คอมพิวเตอร์ เป็นต้น เพื่อนามาใช้ในการทาโครงงาน เช่น การคานวณระยะ ทฤษฎีแหล่ งกลาง ทฤษฎีการเคลื่อนย้าย ทฤษฎีโครงข่าย แบบจาลองเชิงพื้นที่ ทฤษฎีจาลอง แรงโน้มถ่วง ทฤษฎีจาลองเชิงพฤติกรรมทางพื้นที่ ทฤษฎีการแพร่กระจาย ทางพื้นที่ ทฤษฎีการจาแนกข้อมูลภาพ ทฤษฎีการซ้อนทับ แบบจาลอง ฐานข้อมูล ความสัมพันธ์ของข้อมูล แนวคิดการออกแบบฐานข้อมูล ทฤษฎี การกาหนดน้าหนัก แนวคิดการกาหนดแนวกันชน แนวคิดการประมาณค่า เชิงพื้นที่ เป็นต้น โดยไม่ใช่การแสดงตัวอย่างการคานวณ หากกรณีมีหลายโมเดล หลายทฤษฎีในเรื่องเดียวกัน ควรอธิบาย ด้วยว่าเพราะเหตุใดจึงเลือกทฤษฎีนั้นๆ มาใช้ เอกสารหรืองานที่เกี่ยวข้อง ในกรณีที่เป็นโครงงานที่ทาต่อเนื่อง หรือทราบว่ามีบุคคลอื่นที่ทาในลักษณะเดียวกัน ให้อธิบายว่างานดังกล่าว นั้นทาอย่างไร ได้ผลอย่างไร สรุปอย่างไร หรือหากไม่รู้ว่ามีผู้ทามาก่อน
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 18
หรือไม่ ก็ต้องอธิบายถึงสภาพความเป็นไปในปัจจุบันว่าโครงงานที่จะทานั้น มีสถานภาพอย่างไร เพื่อเป็นข้อมูลอ้างอิงในการวิเคราะห์และสรุปผล วิธีการดาเนินโครงงาน (ต้องคานึงเสมอว่า บุคคลอื่นเมื่อทาตามแล้ว สามารถทาได้ผลเหมือนผู้เขียน) วัสดุ ต้องระบุรายละเอียดทางเทคนิคมากพอ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจตรงกัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านกายภาพหรือเคมี (แล้วแต่เหมาะสม) ที่สาคัญ เครื่องมือ / อุปกรณ์ ต้องระบุที่มีนัยสาคัญต่อผลที่ได้ เช่นเครื่องมือวัด อุณหภูมิ ความดัน ความชื้น ระยะทาง น้าหนัก เป็นต้น รวมถึงข้อมูล ทางเทคนิค (ผู้ผลิต รุ่น ความแม่นยา) กรณีเป็นซอฟแวร์และ คอมพิวเตอร์ให้ระบุทางเทคนิค (ชื่อซอฟแวร์ รุ่น ศักยภาพการ ประมวลผล ) วิธีการดาเนินการ ต้องอธิบายรายละเอียดแต่ละขั้นตอนย่อยที่มี นัยสาคัญต่อผล เช่นวิธีการเลือกตัวอย่าง วิธีการเก็บข้อมูล วิธีการเลือก สถานที่ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล จานวนครั้งที่ทาซ้า และต้องระบุ ค่าพารามิเตอร์ที่เป็นตัวชี้วัดไว้ชัดเจน ผลการทดลองและวิเคราะห์ อาจจะสรุปผลอยู่ในรูปของตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพตามที่คิดว่าสื่อความหมายได้ง่ายและชัดเจน (ข้อมูลดิบเอาไว้ ที่ภาคผนวก) โดยทุกตาราง แผนภูมิ แผนภาพต้องอธิบายว่าแสดงอะไร ผู้เขียนเห็นอะไร ส่วนการวิเคราะห์ผลนั้น แสดงให้รู้ว่าผู้เขียนคิดอย่างไร ประกอบการอ้างอิงกับทฤษฎีจากงานที่เกี่ยวข้องตรงไหนบ้าง โดยทาได้ดังนี้ อธิบายผล เทียบเคียงกับทฤษฎี อธิบายผล ความเป็นไปได้ที่เกี่ยวกับผลที่ได้มา เปรียบเทียบผลที่ได้กับงานที่เกี่ยวข้อง การสรุปและข้อเสนอแนะ โดยต้องสรุปตามวัตถุประสงค์หลักของโครงการ แล้วดูผลที่ได้จากโครงการ พร้อมทั้งผลการวิเคราะห์ที่สาคัญ พบข้อจากัด อะไรบ้าง (หากไม่บรรลุวัตถุประสงค์) และสุดท้ายสรุปความคิดรวบยอดที่ ได้จากโครงงาน ส่วนข้อเสนอแนะ เป็นการให้คาแนะนาถึงแนวทางน่าจะดาเนินการต่อไปใน อนาคต หรือเป็นข้อเสนอแนะที่จะนาผลจากโครงการนี้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ (แต่ไม่ใช่เสนอแนะให้ไปซื้อเครื่องมือใหม่) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 19
เอกสารอ้างอิง ตามระบบการอ้างอิงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบ Chicago Style
5.2 ตัวอย่างโครงงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 20
ภาคผนวก ก ตัวอย่างการพิมพ์โครงงาน
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 21
การพิมพ์ข้อความเฉพาะปก (พื้นสีนาเงิ ้ นเข้ม ตัวหนังสือสีเงิน) ภาษาไทย
(ชื่อเรื่องภาษาไทย) _________________________________________________ ______________________________________ _________________________ (ฟ้อนท์ ThKrub ขนาด 20 พ้อยต์ )
(ชื่อผู้แต่งภาษาไทย)
คานาหน้าชื่อ+ชื่อ**นามสกุล (ขนาด 18 พ้อยต์)
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ปีการศึกษา _________(ให้ใช้เป็นปี พ.ศ.) (ขนาด 18 พ้อยต์)
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 22
การพิมพ์ข้อความปกในภาษาอังกฤษ
(ชื่อเรื่องภาษาอังกฤษ) _________________________________________________ ______________________________________ _________________________ (Times New Roman ขนาด 16 พ้อยท์)
(ชื่อผู้แต่งภาษาอังกฤษ) NAME SURNAME
(ขนาด 14 พ้อยต์)
A PROJECT REPORT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF GEOGRAPHICAL INFORMATION TECHNOLOGY FACULTY OF INFORMATION TECHNOLOGY RAJABHAT MAHA SARAKHAM UNIVERSITY ACADEMIC YEAR _____________(ให้ใช้เป็นปี ค.ศ.)
(ขนาด 14 พ้อยต์)
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 23
การพิมพ์บทคัดย่อภาษาไทย
บทคัดย่อ <เว้น 1 บรรทัด>
(ให้เว้นย่อหน้า 1.5 เซนติเมตร) ________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ คาสาคัญ: ไม่เกิน 5 คา (อยูร่ ะหว่าง 300-350 คา)
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 24
ก
การพิมพ์บทคัดย่อภาษาอังกฤษ(เนื้อความเป็น Times New Roman ขนาด12 พอยต์) Abstract <เว้น 1 บรรทัด>
(ให้เว้นย่อหน้า 1.5 เซนติเมตร) _______________________________________________________________ _____ _________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ Keywords: ไม่เกิน 5 คา
(อยู่ระหว่าง 250-400 คา)
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 25
ข การพิมพ์ข้อความในใบรับรองจากคณะกรรมการสอบที่เป็นภาษาไทย ระยะ 4 ซม. โครงงานเรื่อง : ชื่อ :(กรณีที่มีผู้แต่งมากกว่า1คนให้พิมพ์ชื่อคนละบรรทัด สาขาวิชา :เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะ :เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ที่ปรึกษา : ปีการศึกษา :(ใช้เป็นปี พ.ศ.) <เว้น 1 บรรทัด> คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อนุมัติให้ปริญญานิพนธ์นี้เป็น ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ <เว้น 1 บรรทัด> ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระยะ1.5 ……………………………….…… ซม.
(____________________)
<เว้น 1 บรรทัด>
…………………………………… ประธานกรรมการ (____________________) <เว้น 1 บรรทัด>
…………………………………… กรรมการ (____________________) <เว้น 1 บรรทัด>
……………………………..……. กรรมการ (____________________) <เว้น 1 บรรทัด>
ลิขสิทธิ์ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 26
ค การพิมพ์ข้อความในใบรับรองจากคณะกรรมการสอบเป็นภาษาอังกฤษ ระยะ 4 ซม. Project Title : Name :(กรณีที่มีผู้แต่งมากกว่า 1 คนให้พิมพ์ชื่อคนละบรรทัด) Major Field :Geographical Information Technology Faculty :Information Technology Project Advisor(s) : Academic Year :(ใช้เป็นปี ค.ศ.) <เว้น 1 บรรทัด> Accepted by the Faculty of Information Technology, Rajabhat Maha Sarakham University in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree of Bachelor of Geographical Information Technology <เว้น 1 บรรทัด>
………………………
Head of the Geographical Information Technology Program
ซม. ระยะ 1.5(__________________)
……………………… Chairperson (__________________) ……………………… Member (__________________)
……………………… Member (__________________) <เว้น 1 บรรทัด > Copyright of the Geographical Information Technology Program, Faculty of Information Technology, Rajabhat Maha Sarakham University
ง
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 27
การพิมพ์กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ <เว้น 1 บรรทัด>
(ให้เว้นย่อหน้า 1.5 เซนติเมตร) ________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________ ชื่ อ ผู้ แ ต่ ง **นามสกุ ล (ไม่ต้องใส่คานาหน้าชื่อ)
จ
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 28
การพิมพ์สารบัญ
สารบัญ หน้า ก ข ค ง จ ช ซ ฌ
บทคัดย่อภาษาไทย บทคัดย่อภาษาอังกฤษ หน้าอนุมัติ ภาษาไทย หน้าอนุมัติ ภาษาอังกฤษ กิตติกรรมประกาศ สารบัญตาราง สารบัญภาพ คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ (เว้น 1 บรรทัด)
บทที่ 1 บทที่ 2
บทที่ 3
บทที่ 4 บทที่ 5
บทนา แนวคิด ทฤษฎี และ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 หัวข้อสาคัญ 2.2 หัวข้อสาคัญ ……. วิธีดาเนินการวิจัย 3.1 หัวข้อสาคัญ 3.2 หัวข้อสาคัญ ……. ผลการวิจัย สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ (เว้น 1 บรรทัด)
เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก ประวัติย่อผู้วิจัย
1
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 29
ฉ การพิมพ์สารบัญตาราง
สารบัญตาราง <เว้น 1 บรรทัด>
ตารางที่ 1-1 ____________________________________________ 1-2 ____________________________________________ 2-1 ____________________________________________ 2-2 ____________________________________________ 2-3 _____________________________________________ 2-4 ____________________________________________ 3-1 ____________________________________________ 3-2 ____________________________________________ 3-3 ____________________________________________ 4-1 ____________________________________________ 4-2 ____________________________________________ ก-1 ____________________________________________ ก-2 ____________________________________________ ข-1 ____________________________________________
หน้า 4 7 11 12
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 30
ช การพิมพ์สารบัญภาพ
สารบัญภาพ <เว้น 1 บรรทัด>
ภาพที่ 1-1 1-2 2-1 2-2 2-3 2-4 3-1 3-2 3-3 4-1 4-2 ก-1 ก-2 ข-1
หน้า _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________ _________________________________________________________
6 9 11 15 _ _ _ _ _ _ _ _ _ _
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 31
การพิมพ์คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ
ซ
คาอธิบายสัญลักษณ์และคาย่อ <เว้น 1 บรรทัด>
สัญลักษณ์และคาย่อ คาอธิบาย __________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ระยะ 4 ซม.
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 32
ฌ การตั้งขอบกระดาษ
2.54 ซม
3.81 ซม.
3.81 ซม. (1.5 นิ้ว)
การแบ่งบทและหัวข้อในบท (ขนาดตัวอักษร 20 พอยต์ตัวหนา)
2.54 ซม.(1 นิ ้ว)
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 33
บทที่ 1 บทนา <เว้น 1 บรรทัด> 1.1 ประเทศไทย (ขนาดตัวอักษร 16 พอยต์ตัวหนา) 1.1.1 ภาคเหนือ ………………………………………………………………………………... การพิมพ์ตารางและภาพประกอบ
ตารางที่ 1-1 การจาแนกการใช้ที่ดนิ ปี 2555 ประเภท
ตารางกิโลเมตร
ร้อยละ
17,813.3
58.7%
สวนสาธารณะ
3,877.9
12.8%
แหล่งน้า
1,674.0
5.5%
พื้นที่ว่างเปล่า
1,660.8
5.5%
สถานที่ราชการ
1,469.5
4.8%
พานิชกรรม
1,443.7
4.8%
ถนน
1,422.8
4.7%
939.3
3.1%
-
0.0%
30,301.3
100%
ที่อยู่อาศัย
อุตสาหกรรม การเกษตร รวม
ภาพที่ 4-2 แผนที่การใช้ที่ดินและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศเมียนมาร์
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 34
การพิมพ์เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง 1. บัณฑิตวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. คู่มือการทาวิทยานิพนธ์. (กรุงเทพฯ : 21 เซ็นจูรี่, 2544), 25-30. (กรณีผู้แต่งเป็นนิติบุคคล) 2. วัชรพงศ์ ยะไวทย์. E-Commerce และกลยุทธ์การทาเงินบนอินเทอร์เน็ต. (กรุงเทพฯ : ซีเอ็ด ยูเคชั่น, 2542), 40-49. (กรณีผู้แต่ง 1 คน) 3. Hughes, D. E. P. and M. J. Maloney. Advanced theoretical chemistry. (London : Chatto & Windus, c1999), 100-112. (กรณีผู้แต่ง 2 คน) 4. วัฒนา วิริยะดนตรีม สุปกิต ประติมากรณ์ และ ศิริชัย มงคลสิทธิ์. คู่มือการเรียนรู้โปรแกรม Photoshop 5 technic. (กรุงเทพฯ : Imagination, 2542), 44-60. (กรณีผู้แต่ง 3 คน) 5. Coffee, Peter, et al. How to program JavaBeans. (Emeryville, Calif. : Ziff-Davis Press, c1997), 60-77. (กรณีผู้แต่งมากกว่า 3 คน) 6. H. P. Blom. et al., “ How to find the new tools” Journal of Applied Polymer Science 58, (1995): 995-1006. 7. Jaccard, J., Knox, R., and Brinberg, D. “Prediction of dehavior from celiefs : An extension and test of a subjective probability model.” Journal of Personality and Social Psychology 37 (July 1979) : 1239-1248. (บทความจากวารสาร) 8. สุขเกษม มานพพงศ์. “สภาพการจัดการเรียนการสอนกลุ่มวิชาชีพเลือก สาขาวิชาพณิชยการ ของสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา ภาควิชาบริหารเทคนิคศึกษา บัณฑิตวิยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2541. (ศึกษาวิธีการอ้างอิงระบบ Chicago Style เพิ่มเติมในภาคผนวก ข)
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 35
การพิมพ์ประวัติผู้แต่ง
ประวัตผิ แู้ ต่ง <เว้น 1 บรรทัด>
โครงงานเรื่อง : สาขาวิชา : เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะ : เทคโนโลยีสารสนเทศ ชื่อ : ประวัติ (ย่อหน้า 1.5 ซม.) __________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ __________________________________________________________ (เว้น 1 บรรทัด) ชื่อ : ประวัติ __________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________ ระยะ 4 ซม.
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 36
ภาคผนวก ข ระบบการอ้างอิงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบ Chicago Style ในระบบออนไลน์ที่เว็บไซต์ http://www.makecitation.com/chicago_book.php Chicago-Style Citation Quick Guide2 The Chicago Manual of Style presents two basic documentation systems: (1) notes and bibliography and (2) authordate. Choosing between the two often depends on subject matter and the nature of sources cited, as each system is favored by different groups of scholars. The notes and bibliography style is preferred by many in the humanities, including those in literature, history, and the arts. This style presents bibliographic information in notes and, often, a bibliography. It accommodates a variety of sources, including esoteric ones less appropriate to the author-date system. The author-date system has long been used by those in the physical, natural, and social sciences. In this system, sources are briefly cited in the text, usually in parentheses, by author’s last name and date of publication. The short citations are amplified in a list of references, where full bibliographic information is provided. Aside from the use of notes versus parenthetical references in the text, the two systems share a similar style. Click on the tabs below to see some common examples of materials cited in each style, including examples of common electronic sources. For numerous specific examples, see chapters 14and 15 of the 16th edition of The Chicago Manual of Style. Notes and Bibliography: Sample Citations The following examples illustrate citations using the notes and bibliography system. Examples of notes are followed by shortened versions of citations to the same source. For more details and many more examples, see chapter 14 of The Chicago Manual of Style. For examples of the same citations using the author-date system, click on the Author-Date tab above.
Book One author 1. Michael Pollan, The Omnivore’s Dilemma: A Natural History of Four Meals (New York: Penguin, 2006), 99–100. 2. Pollan, Omnivore’s Dilemma, 3. 2
http://www.chicagomanualofstyle.org/tools_citationguide.html
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 37 Pollan, Michael. The Omnivore’s Dilemma: A Natural History of Four Meals. New York: Penguin, 2006.
Two or more authors 1. Geoffrey C. Ward and Ken Burns, The War: An Intimate History, 1941–1945 (New York: Knopf, 2007), 52. 2. Ward and Burns, War, 59–61. Ward, Geoffrey C., and Ken Burns. The War: An Intimate History, 1941–1945. New York: Knopf, 2007.
For four or more authors, list all of the authors in the bibliography; in the note, list only the first author, followed by et al. (“and others”): 1. Dana Barnes et al., Plastics: Essays on American Corporate Ascendance in the 1960s . . . 2. Barnes et al., Plastics . . . Editor, translator, or compiler instead of author 1. Richmond Lattimore, trans., The Iliad of Homer (Chicago: University of Chicago Press, 1951), 91–92. 2. Lattimore, Iliad, 24. Lattimore, Richmond, trans. The Iliad of Homer. Chicago: University of Chicago Press, 1951. Editor, translator, or compiler in addition to author 1. Gabriel García Márquez, Love in the Time of Cholera, trans. Edith Grossman (London: Cape, 1988), 242–55. 2. García Márquez, Cholera, 33. García Márquez, Gabriel. Love in the Time of Cholera. Translated by Edith Grossman. London: Cape, 1988. Chapter or other part of a book 1. John D. Kelly, “Seeing Red: Mao Fetishism, Pax Americana, and the Moral Economy of War,” in Anthropology and Global
Counterinsurgency, ed. John D. Kelly et al. (Chicago: University of Chicago Press, 2010), 77. 2. Kelly, “Seeing Red,” 81–82. Kelly, John D. “Seeing Red: Mao Fetishism, Pax Americana, and the Moral Economy of War.” In Anthropology and Global
Counterinsurgency, edited by John D. Kelly, Beatrice Jauregui, Sean T. Mitchell, and Jeremy Walton, 67–83. Chicago: University of Chicago Press, 2010.
Chapter of an edited volume originally published elsewhere (as in primary sources) 1. Quintus Tullius Cicero, “Handbook on Canvassing for the Consulship,” in Rome: Late Republic and Principate, ed. Walter Emil Kaegi Jr. and Peter White, vol. 2 ofUniversity of Chicago Readings in Western Civilization, ed. John Boyer and Julius Kirshner (Chicago: University of Chicago Press, 1986), 35. 2. Cicero, “Canvassing for the Consulship,” 35. Cicero, Quintus Tullius. “Handbook on Canvassing for the Consulship.” In Rome: Late Republic and Principate, edited by Walter Emil Kaegi Jr. and Peter White. Vol. 2 ofUniversity of Chicago Readings in Western Civilization, edited by John Boyer and Julius Kirshner, 33–46. Chicago: University of Chicago Press, 1986. Originally published in Evelyn S. Shuckburgh, trans., The Letters of
Cicero, vol. 1 (London: George Bell & Sons, 1908).
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 38
Preface, foreword, introduction, or similar part of a book 1. James Rieger, introduction to Frankenstein; or, The Modern Prometheus, by Mary Wollstonecraft Shelley (Chicago: University of Chicago Press, 1982), xx–xxi. 2. Rieger, introduction, xxxiii. Rieger, James. Introduction to Frankenstein; or, The Modern Prometheus, by Mary Wollstonecraft Shelley, xi–xxxvii. Chicago: University of Chicago Press, 1982.
Book published electronically If a book is available in more than one format, cite the version you consulted. For books consulted online, list a URL; include an access date only if one is required by your publisher or discipline. If no fixed page numbers are available, you can include a section title or a chapter or other number. 1. Jane Austen, Pride and Prejudice (New York: Penguin Classics, 2007), Kindle edition. 2. Philip B. Kurland and Ralph Lerner, eds., The Founders’ Constitution (Chicago: University of Chicago Press, 1987), accessed February 28, 2010, http://press-pubs.uchicago.edu/founders/. 3. Austen, Pride and Prejudice. 4. Kurland and Lerner, Founder’s Constitution, chap. 10, doc. 19. Austen, Jane. Pride and Prejudice. New York: Penguin Classics, 2007. Kindle edition. Kurland, Philip B., and Ralph Lerner, eds. The Founders’ Constitution. Chicago: University of Chicago Press, 1987. Accessed February 28, 2010. http://press-pubs.uchicago.edu/founders/.
Journal article Article in a print journal In a note, list the specific page numbers consulted, if any. In the bibliography, list the page range for the whole article. 1. Joshua I. Weinstein, “The Market in Plato’s Republic,” Classical Philology 104 (2009): 440. 2. Weinstein, “Plato’s Republic,” 452–53. Weinstein, Joshua I. “The Market in Plato’s Republic.” Classical Philology 104 (2009): 439–58.
Article in an online journal Include a DOI (Digital Object Identifier) if the journal lists one. A DOI is a permanent ID that, when appended to http://dx.doi.org/ in the address bar of an Internet browser, will lead to the source. If no DOI is available, list a URL. Include an access date only if one is required by your publisher or discipline. 1. Gueorgi Kossinets and Duncan J. Watts, “Origins of Homophily in an Evolving Social Network,” American Journal of
Sociology 115 (2009): 411, accessed February 28, 2010, doi:10.1086/599247. 2. Kossinets and Watts, “Origins of Homophily,” 439.
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 39 Kossinets, Gueorgi, and Duncan J. Watts. “Origins of Homophily in an Evolving Social Network.” American Journal of Sociology 115 (2009): 405–50. Accessed February 28, 2010. doi:10.1086/599247.
Article in a newspaper or popular magazine Newspaper and magazine articles may be cited in running text (“As Sheryl Stolberg and Robert Pear noted in a New York Times article on February 27, 2010, . . .”) instead of in a note, and they are commonly omitted from a bibliography. The following examples show the more formal versions of the citations. If you consulted the article online, include a URL; include an access date only if your publisher or discipline requires one. If no author is identified, begin the citation with the article title. 1. Daniel Mendelsohn, “But Enough about Me,” New Yorker, January 25, 2010, 68. 2. Sheryl Gay Stolberg and Robert Pear, “Wary Centrists Posing Challenge in Health Care Vote,” New York Times, February 27, 2010, accessed February 28, 2010, http://www.nytimes.com/2010/02/28/us/politics/28health.html. 3. Mendelsohn, “But Enough about Me,” 69. 4. Stolberg and Pear, “Wary Centrists.” Mendelsohn, Daniel. “But Enough about Me.” New Yorker, January 25, 2010. Stolberg, Sheryl Gay, and Robert Pear. “Wary Centrists Posing Challenge in Health Care Vote.” New York Times, February 27, 2010. Accessed February 28, 2010. http://www.nytimes.com/2010/02/28/us/politics/28health.html.
Book review 1. David Kamp, “Deconstructing Dinner,” review of The Omnivore’s Dilemma: A Natural History of Four Meals, by Michael Pollan, New York Times, April 23, 2006, Sunday Book Review, http://www.nytimes.com/2006/04/23/books/review/23kamp.html. 2. Kamp, “Deconstructing Dinner.” Kamp, David. “Deconstructing Dinner.” Review of The Omnivore’s Dilemma: A Natural History of Four Meals, by Michael Pollan. New York Times, April 23, 2006, Sunday Book Review. http://www.nytimes.com/2006/04/23/books/review/23kamp.html.
Thesis or dissertation 1. Mihwa Choi, “Contesting Imaginaires in Death Rituals during the Northern Song Dynasty” (PhD diss., University of Chicago, 2008). 2. Choi, “Contesting Imaginaires.” Choi, Mihwa. “Contesting Imaginaires in Death Rituals during the Northern Song Dynasty.” PhD diss., University of Chicago, 2008.
Paper presented at a meeting or conference 1. Rachel Adelman, “ ‘Such Stuff as Dreams Are Made On’: God’s Footstool in the Aramaic Targumim and Midrashic Tradition” (paper presented at the annual meeting for the Society of Biblical Literature, New Orleans, Louisiana, November 21–24, 2009). 2. Adelman, “Such Stuff as Dreams.” Adelman, Rachel. “ ‘Such Stuff as Dreams Are Made On’: God’s Footstool in the Aramaic Targumim and Midrashic Tradition.” Paper presented at the annual meeting for the Society of Biblical Literature, New Orleans, Louisiana, November 21–24, 2009.
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 40
Website A citation to website content can often be limited to a mention in the text or in a note (“As of July 19, 2008, the McDonald’s Corporation listed on its website . . .”). If a more formal citation is desired, it may be styled as in the examples below. Because such content is subject to change, include an access date or, if available, a date that the site was last modified. 1. “Google Privacy Policy,” last modified March 11, 2009, http://www.google.com/intl/en/privacypolicy.html. 2. “McDonald’s Happy Meal Toy Safety Facts,” McDonald’s Corporation, accessed July 19, 2008, http://www.mcdonalds.com/corp/about/factsheets.html. 3. “Google Privacy Policy.” 4. “Toy Safety Facts.” Google. “Google Privacy Policy.” Last modified March 11, 2009. http://www.google.com/intl/en/privacypolicy.html. McDonald’s Corporation. “McDonald’s Happy Meal Toy Safety Facts.” Accessed July 19, 2008. http://www.mcdonalds.com/corp/about/factsheets.html.
Blog entry or comment Blog entries or comments may be cited in running text (“In a comment posted to The Becker-Posner Blog on February 23, 2010, . . .”) instead of in a note, and they are commonly omitted from a bibliography. The following examples show the more formal versions of the citations. There is no need to add pseud. after an apparently fictitious or informal name. (If an access date is required, add it before the URL; see examples elsewhere in this guide.) 1. Jack, February 25, 2010 (7:03 p.m.), comment on Richard Posner, “Double Exports in Five Years?,” The Becker-Posner Blog, February 21, 2010, http://uchicagolaw.typepad.com/beckerposner/2010/02/double-exports-in-five-years-posner.html. 2. Jack, comment on Posner, “Double Exports.”
Becker-Posner Blog, The. http://uchicagolaw.typepad.com/beckerposner/.
E-mail or text message E-mail and text messages may be cited in running text (“In a text message to the author on March 1, 2010, John Doe revealed . . .”) instead of in a note, and they are rarely listed in a bibliography. The following example shows the more formal version of a note. 1. John Doe, e-mail message to author, February 28, 2010.
Item in a commercial database For items retrieved from a commercial database, add the name of the database and an accession number following the facts of publication. In this example, the dissertation cited above is shown as it would be cited if it were retrieved from ProQuest’s database for dissertations and theses. Choi, Mihwa. “Contesting Imaginaires in Death Rituals during the Northern Song Dynasty.” PhD diss., University of Chicago, 2008. ProQuest (AAT 3300426).
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 41
ภาคผนวก ค แบบฟอร์มต่างๆ
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 42
แบบเสนอนขอออนุมตั โิ ครงงาน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์ เสนอต่อ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ชื่อ-นามสกุล
นักศึกษา ………………..………………รหัส ………….……………………….. โทร: .........................................................อีเมล์:....................................................... ชื่อโครงการ ไทย)............…………………………….………..…………..……………………… (อังกฤษ) …………………………..………………………..……..………………. อาจารย์ทปี่ รึกษา…………………………..………………………………………………………. 1.ความเปนมาและความสาคัญ …………………………………………………………………………………………………………………...……………………… ………………………………………………………………………………………………………..…………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………..………………………………..……………………………………………… 2.วัตถุประสงค 1 เพื่อ……………………………………………..……………………………………… 2 เพื่อ.………………………………………….………………………………………… 3. เครือ่ งมือ/วัสดุ/อุปกรณทีใ่ ช 1. ดานฮารดแวร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ดานซอฟตแวร ………………………………………………………………………………………..…………………………………………………… 4. ขอบเขตของโครงการ 1. ด้านพื้นที่ (สถานที่) ………………………………………………………………………….…………………………………….…………………………… 2. ด้านเนื้อหา …….............…………………………………………………...……………………………………………………………………… 3.ด้านเวลา …………………………………………………………………..……..………………………………………………………………… 5. กรอบแนวคิด (ทฤษฎี/แนวคิดหลัก/โมเดล โดยอ้างจากของใคร) ………………………………..…………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………..………… ………………………………..……………………………………………………………………………………………………………
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 43
ก.ย.55 ต.ค.55 ...... ...... ....... ก.พ.56 มี.ค.56
6. ขั้นตอนการดา เ นิ น ง า น (เปนขั้นตอนในกระบวนการดาเนินงานโครงงาน) (เขียนเป็น Flow Chart หรือ ลาดับกระบวนการดาเนินการตั้งแต่ต้นจนจบ) ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………..…………………………………………………………………………………………………………………………… 7. ตารางการดาเนินโครงงาน ระยะเวลา ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.สารวจปัญหา 2. ทบทวนวรรณกรรม 3.ขั้นดาเนินการ 3.1 3.2 3.3 4.ผลการดาเนินโครงงาน 5.สรุป และรายงานผล ทาเล่ม 8. ผลทีค่ าดวาจะไดรับ 1………………………………………………………………………………………… 2………...………………………………………………………………………………
ลงชื่อ…………………………………. (......................................................) ......./............./.............. ลงชื่อ………………………………….อาจารย์ที่ปรึกษา (......................................................) ......./............./.............. การพิจารณาเบือ้ งตนของอาจารยผูประสานงาน ไดผานการพิจารณาโดยละเอียดแลว เห็นวาสมควรใหทาโครงงานได ไดพิจารณาแลว เห็นวาควรมอบหมายให …………………………………….เปนที่ปรึกษาโครงการ อาจารย ……………………………………..เป็นที่ปรึกษาโครงการ (ร่วม ถ้ามี) อาจารย ……………………………………..เป็นกรรมการ อาจารย ……………………………………..เป็นทีผ่ ู้ทรงคุณวุฒิ ความเห็นอื่น ๆ ............................................................................................................................ ................................. ............................................................................................................................................................. ลงนาม........................................................ ( ) (ผูประสานงาน) ......./................./................
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 44
ภาคผนวก ง ตัวอย่างการกาหนดกรอบแนวคิด เรือ่ งการทาแผนทีพ่ บิ ตั ภิ ยั น้าท่วม
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 45
ตัวอย่าง เรือ่ ง การทาแผนทีไ่ ฟป่า
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 46
ภาคผนวก จ ตัวอย่างแนวคิด ทฤษฎี โมเดล วิธกี าร ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศภูมศิ าสตร์
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 47
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 48
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 49
คู่มือการจัดทาโครงงาน สาขาเทคโนโลยี สารสนเทศภูมิศาสตร์ ม.รภ.มหาสารคาม 50