Improvement plan 56 git

Page 1

รายงาน แผนพัฒนาคุณภาพ (Improvement Plan)

ปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์

คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 0

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


คานา รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (SAR) ประจาปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ได้รับผลการประเมินการประกัน คุณภาพปี 2555 อยู่ในระดับ 4.39 และได้นาผลมาสรุปและจัดทาแผนปรับปรุงคุณภาพหรือ Improvement Plan ของปีการศึกษา 2556 โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ทราบถึง สถานภาพการจัดการศึกษาตามพันธกิจหลัก 5 ประการ ทั้งนี้ในส่วนของสาขาวิชาได้เน้น 4 พันธกิจหลัก ตามการประเมินคุณภาพภายใน ได้แก่ พันธกิจด้านการจัดการ เรียนการสอน ด้านการวิจัย ด้านบารุงศิลปวัฒนธรรม และด้านการบริการชุมชน ส่วนการประเมินคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF:HEd ซึ่งมี 12 ตัวบ่งชี้ ทางสาขาฯได้รายงานสรุปผลการประเมินเพียง 11 ตัวบ่งชี้ โดยพิจารณาในด้าน จุดแข็ง จุดที่ควรพัฒนา และวิธีปฏิบัติที่ดี ทั้งนี้ การรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (SAR) และผลการประเมินตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ TQF:HEd ที่ผ่านมาในรอบปีการศึกษา 2555 นี้ ทางสาขาฯ ได้คะแนน 4.39 อยู่ในระดับดี อย่างไรก็ตามก็ยังมีบางตัวชี้วัดที่ยังไม่บรรลุเป้าหมายจึงจาเป็นต้องใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการศึกษาของสาขาให้ ดีขึ้นในปี 2556 ต่อไป เพื่อไต่ระดับไปสู่ความมาตรฐานการจัดการศึกษาอุดมศึกษาสากลอย่างเป็นรูปธรรม อันจะส่งผลดีต่อคณะ และมหาวิทยาลัยในลาดับต่อไป

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ

1

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


รายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รายองค์ประกอบ ปีการศึกษา 2556 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดาเนินการ

องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน

องค์ประกอบที่ 3

ผลการประเมินของคณะกรรมการ จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง - เป็นหลักสูตรใหม่ระบบ TQF:HEd จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง - ในการปฏิบัติงานของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ ปีงบประมาณ 2556 นั้นตามประเด็นยุทธศาสตร์โดยเฉพาะ เป้าหมายที่ระบุไว้ค่อนข้างกว้าง ต้องระบุให้เป็นตัวบ่งชี้หรือเป้าหมายที่ชัดเจน เช่น มีนักศึกษาระดับปริญญาตรีเข้าร่วมใน โครงการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 จากจานวนนักศึกษาทั้งหมด วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง - มีการดาเนินการ การพัฒนาและบริหารหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ(TQF) จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง - พบว่าอาจารย์ในสาขาไม่มีวุฒิปริญญาเอก ซึ่งควรผลักดันและส่งเสริมการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้น โดยคณะควร จัดทาแผนการพัฒนาบุคลากรที่มีแนวทางการผลักดันให้เกิดความสาเร็จอย่างชัดเจน - สาขาวิชาฯควรจัดทาแผนพัฒนาบุคลากร ให้มีแนวทางการผลักดันให้อาจารย์ขอตาแหน่งทางวิชาการ ตามแผนที่นาทาง (Roadmap) ที่ชัดเจนว่าอาจารย์แต่ละท่านในการกาหนดระยะเวลายื่นขอตาแหน่งทางวิชาการ วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง

2

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบ กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย

องค์ประกอบที่ 5 การบริการทางวิชาการแก่สังคม

ผลการประเมินของคณะกรรมการ - สาขาฯเน้นการออกภาคสนามที่บูรณาการร่วมกับงานวิจัยและบริการวิชาการสู่ชุมชน เข้าสู่กระบวนการเรียนการสอนอย่าง เป็นระบบ จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง - สาขาฯ ควรเน้นกิจกรรมที่เสริมสร้างคุณลักษณะที่ดีทั้ง 5 ประการตามกรอบ TQF: HEd วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง - สาขาฯ ควรมีระบบกลไกการพัฒนางานวิจัย การบูรณาการงานวิจัยเข้ากับการเรียนการสอน สนับสนุนพันธกิจตามอัตลักษณ์ ของมหาวิทยาลัยและตอบสนองความต้องการของชุมชนได้ สามารถนามาบูรณาการร่วมกับการเรียนการสอนได้อย่างเป็นรูปธรรม - กระตุ้นให้อาจารย์ได้รับทุนวิจัยจากภายนอก - อาจารย์ในสาขาฯ ได้แสวงหาทุนวิจัยภายนอกเป็นจานวนมาก ได้แก่ งานวิจัยในชั้นเรียน โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยสีเขียว จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง -สาขาวิชาฯ มีการพัฒนาด้านการบริการวิชาการแก่สังคมที่โดดเด่น มุ่งเน้นสู่กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายสอดคล้องกับพันธกิจ มหาวิทยาลัยที่เน้นบริการวิชาการวิชาการสู่ชุมชน รวมทั้งมีความร่วมมือในระหว่างองค์กรภายในและภายนอกที่เห็นผลชัดอย่างเป็น รูปธรรม โดยเฉพาะการจัดให้มีการเตรียมฝึกประสบการณ์ฯ ตามหน่วยงานราชการต่างๆภายในจังหวัด จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม - มีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรมทั้งภายในและภายนอกอย่างเป็นรูปธรรม โดยประสานความ 3

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบ องค์ประกอบที่ 6 การทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

องค์ประกอบที่ 9

ผลการประเมินของคณะกรรมการ ร่วมมือทางวิชาการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในเขตจังหวัดมหาสารคามโดยส่งนักศึกษาฝึกงาน 90 ชั่วโมงเป็นเวลา 3 สัปดาห์ เพื่อให้เกิดประสบการณ์ภายนอกห้องเรียนและสามารถช่วยเหลือหน่วยงานราชการดังกล่าวได้ จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง - มีการใช้สื่อสังคมออนไลน์และเว็บเพจเป็นช่องทางการเผยแพร่สารสนเทศด้านศิลปวัฒนธรรม - สาขาวิชาฯมีการพัฒนาระบบการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องไปกับงานวิจัยและบริการวิชาการ - ทุกปีการศึกษา ทางสาขาฯ มีรายวิชาฝึกภาคสนามและออกสารวจพื้นที่ต่างๆ รวมทั้งแหล่งวัฒนธรรมต่างๆ จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง - สาขาฯมีระบบการวางแผนการบริหาร ดาเนินการ และติดตามประเมินผลที่เป็นระบบชัดเจน - มีการจัดทารายงานดาเนินงานที่ชัดเจน จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงวิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม -มีระบบการจัดทารายงานผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจน จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง -มีแผนกลยุทธ์ทางบริหารจัดการการเงินที่มีความชัดเจนไปตามยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ มาตรการ -มีการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีงบประมาณ 2556 และรายงานผลการดาเนินการในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมาอย่างเป็น ระบบ และทุกปี จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงวิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรมจุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง 4

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบ ระบบและกลไกการประกัน คุณภาพ

องค์ประกอบที่ 11 อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (คณะ)

ผลการประเมินของคณะกรรมการ -มีการรายงานผลการประเมินตนเองที่เป็นไปตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพในปี 2556 อยู่ในระดับดี คือ 4.09 จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง - เป็นสาขาฯ ที่มีลักษณะเฉพาะที่แตกต่างไปจากกลุ่มสาขาอื่นในคณะ ซึ่งสามารถสร้างอัตลักษณ์ความโดดเด่นของสาขาได้ - เป็นสาขาฯ ที่สอดคล้องกับงานบริการวิชาการชุมชน และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ตั้งแต่ระดับรากหญ้าไปจนถึงองค์กร ระหว่างประเทศ - มีเครือข่ายความร่วมมือทั้งในระดับมหาวิทยาลัย ระดับจังหวัด และระดับชาติ ซึ่งควรขยายเครือข่ายความร่วมมือไปสู่ระดับ นานาชาติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจนต่อไป จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง -ควรบริการอบรมความรู้ทางด้าน GIS and Remote Sensing Application ให้กับนักศึกษา และบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้าง มาตรฐานทางวิชาชีพทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม -

5

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


รายงาน การปรับปรุงแผนพัฒนาคุณภาพ ปีการศึกษา 2555 องค์ประกอบที่ 1: ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดาเนินงาน ข้อเสนอแนะ 1.คณะฯ จัดทาแผนกลยุทธ์ และควร จัดสัมมนาให้กับคณาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา โดยได้กาหนดเป้า หมายความเป็น SMART IT เพื่อให้ คณาจารย์ดาเนินการจัดการเรียนการ สอนที่บูรณาการงานวิจัยงานบริการ วิชาการไปสู่การเรียนการสอน -แปลงแผนกลยุทธ์ไปเป็นปฏิบัติการ ประจาปีครบทั้ง 4 พันธกิจหลัก

เรื่องที่แก้ไข 1. กระบวนการพัฒนา แผน

แนวทางพัฒนา 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างคณาจารย์ นักศึกษาและ เจ้าหน้าที่ เพื่อร่วมกันกาหนด แนวทาง/ทิศทาง การพัฒนาการ เรียนการสอนให้สอดคล้องกับ กระบวนการการประกันคุณภาพ

6

โครงการ 1. เสริมศักยภาพบุคลากรด้าน GIT

Improvement Plan 2556

ผลการปรับปรุง 1.รายงานทบทวน 2. เสนอแผนปฏิบัติการ ประจาปีต่อกรรมการประจา คณะปีละครั้ง

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบที่ 2: การเรียนการสอน ข้อเสนอแนะ 1.คณะฯกาหนดแนวปฏิบัติในการ เปิด-ปิดหลักสูตรที่ชัดเจน และ ดาเนินการตามกรอบมาตรฐาน TQF:HEd ตาม มคอ. 3-7 2.สนับสนุนทุนสาหรับอาจารย์ให้ ศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น 3.ส่งเสริมให้อาจารย์รุ่นใหม่ผลิตผล งานวิชาการ และงานวิจัย เพื่อขอ ตาแหน่งทางวิชาการเพิ่มขึ้น 4.ดาเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ได้พัฒนาความรู้ทางวิชาการและ วิชาชีพอย่างเป็นรูปธรรม

เรื่องที่แก้ไข -

-

5.จัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้อย่าง เป็นรูปธรรม 6.สื่อและอุปกรณ์การเรียนการสอนไม่ เพียงพอ 7.คณะจัดหาต้นแบบ หรือแนวทาง การทา มคอ. 3-7 ให้แก่บุคลากรสาย

-

แนวทางพัฒนา โครงการ -สาขาฯ ได้ส่งคู่มือหรือแนวทางการจัดทา มคอ. 3-7 ให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้องเพื่อ ดาเนินการให้สอดคล้องกับการประเมิน คุณภาพตามกรอบมาตรฐาน TQF:HEd -สอดคล้องกับมหาวิทยาลัยสนับสนุน - กาลังศึกษาต่อระดับ ทุนการศึกษา ป.เอก - คณะฯ ส่งเสริมให้อาจารย์เข้าสู่ตาแหน่ง วิชาการ - มีแผนหรือคู่มือพัฒนาบุคลากร

ผลการปรับปรุง มคอ. 3-7 ของทุกรายวิชา

-ได้รับทุนวิจัยจากสานักวิจัย ทั้งวิจัยเดี่ยว วิจัยเป็นทีม และวิจัยสถาบัน -จานวนคน/ครั้งของการเข้า รับการอบรมตรงตามสาขา วิชาชีพ

-โครงการสนับสนุนให้ อาจารย์และบุคลากรได้ เข้ารับการอบรม เสริม ทักษะความรู้ ความสามารถต่างๆ -คณะจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อ -จัดหาอุปกรณ์ สื่อการ ต่อนักศึกษาอย่างมีคุณภาพ สอนที่เหมาะสม เพียงพอ -คณะจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สาหรับการเรียน -อาจารย์แสวงหางานวิจัย การสอนได้ครบถ้วน และเพียงพอต่อ และได้จัดหาวัสดุอุปกรณ์ นักศึกษา เพื่อการเรียนการสอนเพิ่ม -คณะจัดหาวัสดุ อุปกรณ์สาหรับการเรียน การสอนได้ครบถ้วน และเพียงพอต่อ 7

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


ข้อเสนอแนะ การสอนและสายสนับสนุนให้เพียงพอ

เรื่องที่แก้ไข

8.คณะจัดหาตัวอย่างหรือแนวทางการ ทา มคอ. 3-7 ให้บุคลากรสายการ สอนและสายสนับสนุนให้เพียงพอ 8.ทาแผนพัฒนากิจกรรมนักศึกษา

-

แนวทางพัฒนา

โครงการ

นักศึกษา -คณะจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่เอื้อ ต่อนักศึกษาอย่างมีคุณภาพ -คณะฯประชุมชี้แจงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ การเรียนการสอน ตามกรอบมาตรฐาน TQF:HEd -แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ การเรียนการสอน -คณะฯประชุมชี้แจงการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ การเรียนการสอน ตามกรอบมาตรฐาน TQF:HEd -แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ การเรียนการสอน

8

ผลการปรับปรุง

-

-โครงการสร้างความเป็น เลิศทางด้าน GIT สู่ อาเซียน

Improvement Plan 2556

-มคอ. 3-7 - แต่งตั้งคณะกรรมการฯ -รายงานผลการดาเนินงาน ต่อคณะกรรมการบริหาร ของคณะ --โครงการจัดหาอาจารย์ พิเศษทั้งในและต่างประเทศ (ออสเตรเลีย) คือ อ. Malcolm ผู้เชี่ยวชาญ ทางด้านธรณีวิทยา และ อ. Luca จากเยอรมนี

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบที่ 3: กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ข้อเสนอแนะ 1.คณะจัดทาคู่มือพัฒนานักศึกษา

2.คณะควรจัดทาเว็บไซต์ศิษย์เก่าเพื่อ การติดต่อสื่อสารถึงกันได้สะดวก 3. ควรจัดโครงการพัฒนา ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ศิษย์เก่า

เรื่องที่แก้ไข -

-

4.สโมสรนักศึกษาควรสรุปโครงการทุก โครงการ และจัดส่งเป็นรูปเล่มให้กับ ทางคณะฯ

5.คณะควรเน้นกระบวนการทา โครงการแบบ PDCA แก่นักศึกษา

-

แนวทางพัฒนา - เปิดโอกาสรับฟังความคิดเห็นใน การพัฒนาการบริการแก่ศิษย์เก่า ผ่านทาง ช่องทางต่าง ๆ เช่น จุล สารคณะ หรือ Website -

โครงการ -อบรมโปรแกรม GIS สาหรับ นักศึกษาและบุคคลทั่วไป

ผลการปรับปรุง -คณะได้ถ่ายทอดวิชาการลง ไปสู่นักศึกษาอย่างเป็น รูปธรรม

-พัฒนาเว็บไซต์ของสาขา

-

- ส่งเสริมการจัดกิจกรรม/โครงการ ในการพัฒนาประสบการณ์วิชาชีพ อย่างน้อยปีละครั้ง - สโมสรนักศึกษา อาจารย์ที่ ปรึกษาโครงการ ต้องติดตามให้ นักศึกษาสรุปโครงการ และสรุปผล การประเมินโครงการ โดยจัดทา เป็นรูปเล่มส่งคณะฯ ภายหลังเสร็จ สิ้นโครงการไปแล้ว 15 วันเป็น อย่างช้า - ส่งเสริมให้นักศึกษาประชุม ติดตามผลการดาเนินกิจกรรม โครงการฯ พร้อมสรุปแนวทางการ ปรับปรุงต่อไป ส่งให้อาจารย์ที่ ปรึกษาโครงการทุกโครงการ

-อาจารย์(พิเศษ)ทั้งในและ ต่างประเทศมาช่วยสอนใน รายวิชาที่ขาดแคลน -โครงการส่งเสริมกิจกรรม นักศึกษาคณะไอที

-

-นักศึกษาสามารถเขียน โครงการได้

-

9

Improvement Plan 2556

-รายงานสรุปโครงการ/ กิจกรรมโดยจัดทาเป็น รูปเล่ม

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบที่ 4: การวิจัย ข้อเสนอแนะ 1.คณะจัดทาแผนพัฒนางานวิจัย

เรื่องที่แก้ไข -

2.จัดระบบบริหารงานวิจัยให้สามารถ เชื่อมโยงภารกิจการเรียนการสอนและ การบริการวิชาการ 3.คณะควรกาหนดนโยบายให้อาจารย์ อาวุโสช่วยผลักดัน สนับสนุน หรือ ทางานวิจัยกับอาจารย์ใหม่ หรือ นักวิจัยรุ่นใหม่

แนวทางพัฒนา -คณะฯจัดทาแผนหรือคู่มือพัฒนา งานวิจัย

โครงการ โครงการอบรมทางวิชาการสู่ ชุมชน

-คณะฯส่งเสริมให้มีงานวิจัยควบคู่ ไปกับงานบริการวิชาการสู่ท้องถิ่น -ประชุม เน้นการทา KM ด้านการ วิจัยอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อค้นหา ปัญหาที่จะทาวิจัย - คณะฯ สนับสนุนงบประมาณ ด้านวิจัย เพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง - ส่งเสริมให้มีการทาวิจัยร่วมกัน ระหว่างอาจารย์ใหม่กับอาจารย์ อาวุโสที่มีประสบการณ์ - ส่งเสริมให้อาจารย์ขอสนับสนุน ทุนจากแหล่งทุนภายนอกเพิ่มขึ้น

-วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อ การศึกษาพื้นที่บริการ การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม -

10

Improvement Plan 2556

ผลการปรับปรุง -แผนพัฒนางานวิจัย -คณะฯนาผลงาน วิจัยและ การอบรมต่างๆ ขึ้นเว็บไซต์ -สาขานาผลงานวิจัยและ การอบรมวิชาการต่างๆ ขึ้น เว็บไซต์ -คณะนาผลงานวิจัยขึ้นเว็บ

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบที่ 5: การบริการทางวิชาการแก่สังคม ข้อเสนอแนะ 1.ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการเชื่อมโยง และบูรณาการบริการงานวิชาการฯ เข้ากับการเรียนการสอน การวิจัย หรือการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม

เรื่องที่แก้ไข -

2. จัดหาแหล่งบริการวิชาการใน ช่องทางอื่นๆ เช่น ฐานข้อมูล หรือ URL ที่เกี่ยวเกี่ยวข้องกับงานวิจัยอย่าง เป็นระบบ

แนวทางพัฒนา โครงการ - ส่งเสริมให้อาจารย์นา -สารวจพื้นที่สิ่งแวดล้อมทาง ประสบการณ์ การให้บริการ กายภาพ วิชาการ หรือการอบรมต่างๆ มาใช้ ในการเรียนการสอน และการวิจัย โดยระบุไว้ใน Course Specification -กระตุ้นการใช้แหล่งการเรียนรู้ของ นักศึกษา

11

Improvement Plan 2556

ผลการปรับปรุง -

-

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


องค์ประกอบที่ 6: การทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ข้อเสนอแนะ 1.ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการบูรณา การงานด้านทานุบารุงศิลป วัฒนธรรม กับพันธกิจด้านอื่น ๆเพื่อให้สอดคล้อง กับปรัชญา ปณิธานและพันธกิจของ สถาบัน

เรื่องที่แก้ไข

องค์ประกอบที่ 7: การบริหารและการจัดการ ข้อเสนอแนะ เรื่องที่แก้ไข 1.ควรประเมินภาวะผู้นาทุกระดับให้ เป็นรูปธรรม 2.ควรกาหนดนโยบายให้ทุกหน่วยงาน มีความรู้ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ คือมีความรู้ เข้าใจ นาไปประยุกต์ได้ ความรู้ใหม่แล้วนามาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ร่วมกันทั้งภายในคณะ ระหว่าง คณะ และระหว่างสถาบันด้วย กระบวนการ KM 3.คณะค้นหาความเป็น Tacit Knowledge and Explicit

แนวทางพัฒนา - จัดกิจกรรม/โครงการ ด้านทานุ บารุงฯ โดยประยุกต์ใช้กับการ เรียนการสอนอย่างน้อย 1 วิชา -วางแผน กาหนดกิจกรรมด้าน ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมร่วมกับ นักศึกษาและจัดทาเป็นปฏิทิน กิจกรรมตลอดปีการศึกษา

แนวทางพัฒนา - คณะฯ ควรมีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานของผู้บริหารทุกระดับ - คณะฯ จัดทาแผนการจัดการความรู้ และกิจกรรมการดาเนินงานให้เป็นไป ตามเป้าหมาย ร้อยละ 100

โครงการ -โครงการทานุบารุงศิลปะและ วัฒนธรรม

โครงการ -เตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

- จัดเวที เสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของ -โครงการพัฒนาเว็บไซต์ของ อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษาอย่าง สาขา 12

Improvement Plan 2556

ผลการปรับปรุง -เว็บไซต์งานทางด้าน ศิลปวัฒนธรรมจาก คณาจารย์ที่อยู่ในรูปแบบสื่อ มัลติมีเดียต่างๆ -คณะจัดมุมศิลปวัฒนธรรม

ผลการปรับปรุง -รายงานผลการประเมิน ผู้บริหารทุกระดับ -รายงานผล KM

-สาขามีเว็บเพจ และ เครือข่ายสังคมออนไลน์ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


ข้อเสนอแนะ เรื่องที่แก้ไข Knowledge เพื่อพัฒนาองค์กรแห่ง การเรียนรู้ 4พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้สมบูรณ์ และมีระบบข้อมูลสารสนเทศ (IT)เพื่อ การบริหารและการสอน

5.ทาแผนจัดการความเสี่ยงระดับสาขา -

แนวทางพัฒนา ต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการ KM - ติดตาม ตรวจสอบ E-learning ให้ สมบูรณ์ และสามารถใช้งานได้ - ปรับปรุง พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่มี อยู่ให้มีประสิทธิภาพและเป็นปัจจุบัน - จัดทาระบบการเรียนการสอน ออนไลน์บนเครือข่ายสังคมออนไลน์ -ประชุมหารือ เพื่อค้นหาปัจจัยความ เสี่ยงทั้งภายในและภายนอกของแต่ละ สาขา

โครงการ

ผลการปรับปรุง

-กิจรรมที่อาจารย์สามารถสร้าง หน้าเว็บเพจบนเครือข่ายสังคม ออนไลน์ได้ด้วยตนเอง

-โครงการจัดทาแผนประเมิน ความเสี่ยง

-แผนจัดการความเสี่ยงของ แต่ละสาขา

โครงการ -โครงการบริหารจัดการคณะ

ผลการปรับปรุง -แผนปฏิบัติการประจาปีของ สาขา

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์

องค์ประกอบที่ 8: การเงินและงบประมาณ ข้อเสนอแนะ 1.ควรดาเนินการปรับปรุงแก้ไขการ ดาเนินงานเมื่อมีการประเมินผลงาน แล้ว

เรื่องที่แก้ไข -

แนวทางพัฒนา - นาผลการวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย งบประมาณไปประชุม เพื่อหา แนวทางในการแก้ไขการ ดาเนินงานต่อไป โดยกาหนดให้มี การประชุมทุก ๆ ไตรมาส

13


องค์ประกอบที่ 9: ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ข้อเสนอแนะ 1. พัฒนากลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมิน และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนา คุณภาพอย่างต่อเนื่อง 2. พัฒนาคู่มือคุณภาพในงานให้ ครอบคลุม เพื่อกากับการดาเนินงาน

เรื่องที่แก้ไข

-

แนวทางพัฒนา โครงการ - จัดประชุมติดตาม การดาเนิน -โครงการประกันคุณภาพของ งานประกันคุณภาพของคณะฯ ทุก คณะ 3 เดือน

ผลการปรับปรุง -แผนประกันคุณภาพของ สาขา และผู้มีส่วนได้เสีย

- มีคู่มือประกันคุณภาพภายในของ -โครงการประกันคุณภาพของ คณะฯ และคู่มือประกันคุณภาพใน คณะ งานแต่ละงาน

-แผนประกันคุณภาพของ สาขา และผู้มีส่วนได้เสีย

องค์ประกอบที่ 11: อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย (คณะ) ข้อเสนอแนะ -

เรื่องที่แก้ไข

แนวทางพัฒนา -นามหาวิทยาลัยสู่อาเซียน

14

โครงการ -เตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Improvement Plan 2556

ผลการปรับปรุง -จัดระบบการเรียน ภาษาต่างประเทศให้กับ นักศึกษาชั้นปีที่ 1-2 ร่วมกับ ศูนย์ภาษาฯ

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


รายงานการปรับปรุงพัฒนาสาขาตามแผนพัฒนาคุณภาพ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา (TQF:HEd) (จานวน 12 ตัวบ่งชี้ ) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ ใช้ 9 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

ข้อเสนอแนะ/ ผลการประเมิน

กิจกรรม/แผนงาน ที่จะพัฒนา

ระยะเวลา ดาเนินการ

สาขา

เป้าหมาย โครงการ

สิ่งที่ได้

1.อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวน การดาเนินงานหลักสูตร

จุดที่ควรพัฒนา -

-การประชุมระดับสาขา เพื่อ วางแผน ติดตาม การดาเนินการ หลักสูตรตามกรอบ TQF:HEd

เทอมละ 2 ครั้ง

ทุกสาขา -

1.รายงานการประชุม การทบทวน ติดตาม การดาเนินงานของ หลักสูตร

2.มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ หรือ มาตรฐาน คุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) 3.มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียด ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.3 และมคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอน ในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา

จุดที่ควรพัฒนา -

-

-

ทุกสาขา -

มคอ. 2

4.จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา

จุดที่ควรพัฒนา -ประชุมวางแผน และเตรียมความ ก่อนเปิดเทอม ทุกสาขา -เร่งจัดทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 พร้อมก่อนเปิดเทอม และประธาน ก่อนเปิดเทอม 1 เดือน สาขาแจ้งรายวิชาที่จะเปิดสอน ของแต่ละเทอมเพื่อทา มคอ. 3 และ มคอ. 4 ก่อนเปิดเทอม จุดที่ควรพัฒนา -ประชุมสาขา และจัดทารายงาน สิ้นเทอม ทุกสาขา วิเคราะห์ผลการสัมฤทธิ์

15

Improvement Plan 2556

มคอ. 3 และ มคอ. 4 ทุกรายวิชา

มคอ. 5 และ มคอ. 6

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ และรายงานผลการดาเนินการของประสบ การณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษา ที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา 5.จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา 6.มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชา ที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา 7.มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการ สอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผลการ เรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงานที่ รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว 8.อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รบั การ ปฐมนิเทศหรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียน การสอน 9.อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทาง วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่ง ครั้ง

ข้อเสนอแนะ/ ผลการประเมิน

กิจกรรม/แผนงาน ที่จะพัฒนา

-ทา มคอ. 5 และ มคอ. 6 หลัง สิ้นสุดการเรียนการสอนภายใน 30 วัน

ผลการเรียนของรายวิชา ภายหลัง สิ้นสุดการเรียนการสอนของแต่ละ เทอม

จุดที่ควรพัฒนา -ทา มคอ. 7

-ประชุมทารายงานผลการสัมฤทธิ์ การเรียนรู้ ตามกรอบ มคอ.7

ระยะเวลา ดาเนินการ

สาขา

ทุกรายวิชา

สิ้นปี การศึกษา

กาลังดาเนินการ ปรับปรุงหลักสูตร

-

-

จุดที่ควรพัฒนา -อาจารย์ใหม่ทุกคนปฏิบัติตาม กรอบ TQF:HEd จุดที่ควรพัฒนา -คณะสนับสนุนให้อาจารย์เข้า รับการอบรมพัฒนาความรู้ทาง วิชาการ

สค. 55

คณะ

16

ทุกรายวิชา

รายงานสรุป มคอ. 7 หลังสิ้นสุดปีการศึกษา แต่ละปี รายงานการประเมินผล สัมฤทธิ์จากผูม้ ีส่วนได้ ส่วนเสีย

สิ้นเทอม

ตามโอกาส

สิ่งที่ได้

ทุกสาขา โครงการประชุมผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียในการผลิต บัณฑิต ทุกสาขา โครงการทวนสอบแต่ละ รายวิชา

จุดที่ควรพัฒนา -ทวนสอบผลการสัมฤทธิ์การ -ทวนสอบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 เรียนรู้ ตามกรอบ มคอ. 3 และ มคอ. 4 จากผู้เชี่ยวชาญภายนอก ของแต่ละสาขา หรือผู้ใช้บัณฑิต จุดที่ควรพัฒนา -

ประชุม ชี้แจงให้อาจารย์ใหม่ ตระหนักถึงความสาคัญของการ ทา มคอ.3-7 -จัดประชุมวิชาการ -ส่งอาจารย์เข้าอบรมพัฒนา วิชาการหรือวิชาชีพ

เป้าหมาย โครงการ

-

โครงการพัฒนา อาจารย์ ในการทา มคอ. 3-7 ทุกสาขา -ประชุมวิชาการ -สร้างเครือข่ายงาน ทางด้านจีไอทีระหว่าง หน่วยงานต่างๆ

Improvement Plan 2556

รายงานการประชุม

เครือข่ายความร่วมมือ

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ 10.จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี 11.ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่ น้อยกว่า 3.5จากคะแนนเต็ม 5.0 12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มตี ่อ บัณฑิตใหม่ เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนน เต็ม 5.0

ข้อเสนอแนะ/ ผลการประเมิน

กิจกรรม/แผนงาน ที่จะพัฒนา

ระยะเวลา ดาเนินการ

สาขา

เป้าหมาย โครงการ

สิ่งที่ได้

จุดที่ควรพัฒนา -คณะสนับสนุนให้บุคลากรสาย สนับสนุนได้พัฒนาวิชาการหรือ ทาวิจัย จุดที่ควรพัฒนา -

คณะสนับสนุนให้บุคลากรสาย ตามโอกาส สนับสนุนได้มโี อกาสเข้าร่วม ประชุม อบรม ความรู้ทางวิชาการ และวิชาชีพ อย่างน้อยคนละครั้ง -

คณะ

โครงการสนับสนุนทุน วิจัย การอบรมต่างๆ

บุคลากรสายสนับสนุน เข้าร่วมพัฒนาวิชาการ จานวน 3 คน

-

-

อยู่ในระบบ MIS ของ มหาวิทยาลัย

จุดที่ควรพัฒนา -

-

-

-

ระหว่างดาเนินการ

-

17

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


จัดทาโดย นางสาวกนกลดา ท้าวไทยชนะ นายชนะชัย อวนวัง นายอานาจ แสงกุดเลาะ

ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ อาจารย์ อาจารย์

18

Improvement Plan 2556

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศภู มิศาสตร์


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.