20180316 cpn ar2017 th

Page 1



รายงานประจำปี 2560


สารบัญ

14

16

18

22

26

บทที่ 1

บทที่ 2

บทที่ 3

บทที่ 4

บทที่ 5

วิสัยทัศน์และ พันธกิจ

ค่านิยมองค์กร

ข้อมูลทางการเงิน ที่สําคัญ

สารจาก คณะกรรมการบริษัท

รายงาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

36

38

42

48

บทที่ 11

บทที่ 12

บทที่ 13

บทที่ 14

บทที่ 15

พัฒนาการที่สําคัญ ในรอบปี 2560

รางวัล แห่งความภาคภูมิใจ

ภาวะเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม

ลักษณะ การประกอบธุรกิจ

โครงสร้าง การถือหุ้น

165

64

134

136

148

167

บทที่ 21

บทที่ 22

บทที่ 23

บทที่ 24

บทที่ 25

โครงสร้าง องค์กร

โครงสร้าง การจัดการ

การกํากับดูแล กิจการ

การสรรหากรรมการ และผู้บริหาร

ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร

197

198

204

207

211

บทที่ 31

บทที่ 32

บทที่ 33

บทที่ 34

บทที่ 35

รายชื่อกรรมการ ในบริษัทย่อย

สรุปข้อมูลทั่วไปของ นิติบุคคลที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป

ศูนย์การค้าภายใต้ การบริหารงานของ CPN

ข้อมูลสําหรับนักลงทุน และบุคคลอ้างอิง

สรุปตําแหน่งรายการ ที่กําหนดตามแบบ 56-2


28

30

32

34

บทที่ 6

บทที่ 7

บทที่ 8

บทที่ 9

บทที่ 10

รายงานคณะกรรมการ สรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน

รายงานคณะกรรมการ นโยบายความเสี่ยง

รายงานคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและ การพัฒนาอย่างยั่งยืน

คณะกรรมการ บริษัท

คณะผู้บริหาร

65

66

72

บทที่ 16

บทที่ 17

บทที่ 18

บทที่ 19

บทที่ 20

โครงสร้างรายได้

การบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน

ปัจจัยความเสี่ยง

การวิเคราะห์ และคําอธิบาย ของฝ่ายจัดการ

ผลการดําเนินงาน ด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืน

170

175

176

บทที่ 26

บทที่ 27

โครงสร้างเงินทุน และนโยบายการจ่าย เงินปันผล

การควบคุม ภายใน

212

214

บทที่ 36

บทที่ 37

ใบรับรองตัวชี้วัด ด้านความยั่งยืน จากหน่วยงาน ภายนอก

GRI INDEX AND UNGC PRINCIPLES

78

35

88

183

184

บทที่ 28

บทที่ 29

บทที่ 30

รายการระหว่างกัน

ข้อพิพาททาง กฎหมาย

รายละเอียดเกี่ยวกับ กรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจควบคุม และ เลขานุการบริษัท


Ce

nter Of

C om munity

CENTER Of

เป็นศูนย์การค้าที่สังคม

เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้า

มอบประสบการณ์

เป็นศูนย์การค้าที่สร้าง

ชุมชน พนักงาน และคู่ค้า

ที่มุ่งมั่นในการเป็น

แปลกใหม่ที่ตอบโจทย์

ประสบการณ์ความสุข

เลือกสร้างความสําเร็จ

ศูนย์กลางการใช้ชีวิต

ทุกไลฟ์สไตล์

ด้วยบริการที่เหนือ

ร่วมกัน

ของทุกคน

ความคาดหมาย


CPN ยึ ด ถื อ ลู ก ค้ า เป็ น ศู น ย์ ก ลางในการพั ฒ นา และบริ ห ารโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ เพื่ อ มุ่ ง สู่ เป้ า หมายการเป็ น ศู น ย์ ก ลางในการใช้ ชี วิ ต ที่ตอบสนองความต้องการและมอบประสบการณ์ แปลกใหม่ ใ ห้ กั บ ลู ก ค้ า ภายใต้ วิ สั ย ทั ศ น์ ใ นการเป็ น “ผู้ พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ในระดั บ ภู มิ ภ าค ที่ ไ ด้ รั บ การ ชื่นชมสูงสุดจากทุกคน และไม่หยุดนิ่งในการสร้าง ประสบการณ์ แ ห่ ง ความสุ ข ในระดั บ โลก”



C E NT E R

of COMMUNITY

ENGAGEMENT WITH SUSTAINABILITY

CPN ไม่เพียงแต่ให้ความสําคัญในการพัฒนาศูนย์การค้าให้ทันสมัย แต่ยังมุ่งมั่นพัฒนาให้เป็น ศูนย์กลางการใช้ชีวิตของผู้คนในทุก ๆ ชุมชน ทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ด้วยการสร้างคุณค่า ที่โดดเด่นแตกต่าง โดยการสรรหาผลิตภัณฑ์ และมอบประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่ตอบสนองลูกค้า คู่ค้า และผู้เช่า ทั้งนี้ยังต้องเป็นศูนย์การค้าที่ทุกคนชื่นชม และเป็นที่ที่สังคม ชุมชน พนักงาน และคู่ค้า เลือกสร้างความสําเร็จควบคู่ไปกับการดูแลสิ่งแวดล้อมร่วมกัน สะท้อนในนวัตกรรมงานออกแบบ ทางสถาปัตยกรรมที่ผสมผสานวัฒนธรรมท้องถิ่นและคํานึงถึงการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ การสานต่อนโยบายประชารัฐในการสนับสนุนโครงการ SMEs ผลักดันและเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการ ท้องถิ่นได้สร้างความสําเร็จทางธุรกิจไปด้วยกัน รวมถึงโครงการ CPNlead ที่ CPN พัฒนา หลักสูตรเฉพาะ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการ SMEs รุ่นใหม่ทั้งที่เป็นลูกค้า และยังไม่เป็นลูกค้า ได้เข้ามาเรียนรู้และเปิดประสบการณ์ในการดําเนินธุรกิจร่วมกัน


C EN T ER

of L I F ES T Y L E

A DESTINATION FOR ALL

CPN ตระหนักเสมอถึงรูปแบบการใช้ชีวิตของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดนิ่งตามกระแส ของยุคดิจิทัล จึงเป็นความท้าทายสําคัญในการพัฒนาศูนย์การค้าให้เป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิต ทุกรูปแบบ ด้วยการสรรหา Lifestyle Innovation หรือนวัตกรรมรังสรรค์ใหม่ ๆ ที่ตอบโจทย์ การใช้ชีวิตยุคใหม่ การพัฒนาและเพิ่มสัดส่วนองค์ประกอบของร้านค้าและโซนต่าง ๆ ให้สามารถรองรับพฤติกรรมและเทรนด์ที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภค เพื่อให้ศูนย์การค้าของ CPN เป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิตที่รองรับทุกไลฟ์สไตล์ ทั้งที่มาเพื่อรับประทานอาหาร ทํางาน พักผ่อน ช้อปปิ้ง เดินเล่น อ่านหนังสือ ชมงานศิลปะ ดนตรี และเล่นกีฬา ตลอดจนอัพเดทเทรนด์ใหม่ ๆ พร้อมทั้งรับประสบการณ์ใหม่ผ่านโปรแกรมสะสมคะแนนผ่านทุกยอดการซื้อสินค้า และบริการ ของลูกค้า The 1 Card นอกจากนี้ ยังดําเนินกลยุทธ์การเปิดป๊อปอัพสโตร์ เพื่อให้ลูกค้าได้ ทดลองสัมผัสสินค้าจริง และมอบประสบการณ์ช้อปปิ้งในรูปแบบใหม่ ๆ ให้กับผู้บริโภค



C EN T E R

of ACTIVITIES AND NEW EXPERIENCES

OUTSTANDING DYNAMIC AND INSPIRATIONAL

ในยุคที่อินเตอร์เน็ตเป็นทุกสิ่ง พฤติกรรมผู้คนกับสื่อสังคมออน์ไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจําวัน ของผู้คนทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นการแชร์เรื่องราว คอมเม้นต์บนสื่อสังคมออนไลน์ การจับจ่ายซื้อของ ผ่านเว็บไซต์ การทําธุรกรรมการเงินต่าง ๆ ผ่านทางแอปพลิเคชั่น จึงเป็นโอกาสของ CPN ในการนําเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ด้านการสื่อสารองค์กร กิจกรรมและโปรโมชั่นต่าง ๆ ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียของ CPNLife ทางยูทูบ เฟสบุ๊ก และอินสตาแกรม นอกจากนี้ยัง จับมือกับพันธมิตร และธนาคารในการนําเทคโนโลยีมาเพิ่มช่องทางในการชําระเงินผ่าน e-Wallet และการสแกน QR Code เพื่อเตรียมเข้าสู่สังคมไร้เงินสดอย่างเต็มรูปแบบ




CENTER

for A L L G E N E R AT I ON S

SERVICES AND FACILITIES BEYOND EXCELLENCE

การพลิกบทบาทของศูนย์การค้าจากสถานที่จับจ่ายใช้สอย สู่การเป็นสถานที่ ที่สร้างประสบการณ์ความสุข เป็น “Center of Life” ให้กับทุกคน CPN จึงคำนึงถึง การให้บริการและการอำนวยความสะดวกอย่างเหนือชั้นให้ผู้ใช้บริการทุกช่วงวัย ไม่ว่าจะเป็น การให้บริการระบบจอดรถอัจฉริยะ การให้บริการช่องจอดรถชาร์จไฟฟ้า การให้บริการพื้นที่จอดรถสำหรับสุภาพสตรี ผู้พิการ ผู้สูงอายุ และพื้นที่ออกกำลังกาย สำหรับคนรักสุขภาพ รวมถึงการออกแบบ Playground สถานที่พักผ่อนให้เป็นทั้ง สนามเด็กเล่นที่ปลอดภัยและดีต่อสุขภาพของเด็กและผู้สูงอายุ และการบริการรถเข็น สำหรับเด็ก รถเข็น Wheel Chair สำหรับผู้พิการหรือผู้สง ู อายุ การสร้างห้องน้ำ สำหรับเด็ก จัดสรรพื้นที่สำหรับสัตว์เลี้ยงคู่ใจ ตลอดจนการให้บริการสัญญาณไร้สาย Wi-Fi โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และอื่น ๆ อีกมากมาย


วิสัยทัศน์ “ผู้พัฒนาศูนย์การค้าในระดับภูมิภาค ที่ได้รับการชื่นชมสูงสุดจากทุกคน และ ไม่ ห ยุ ด นิ่ ง ในการสร้ า งประสบการณ์ แห่งความสุขในระดับโลก”

วิสัยทัศน์ พันธกิจ

และ

พันธกิจ CPN มีพันธกิจ 4 ประการที่ต้องดําเนินการ เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร

14

24


01. เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ทุกคนชื่นชม (Most Admired Retail Developer of All Stakeholders)

03. เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าระดับภูมิภาค (Regional Retail Developer)

“เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ทุกคนชื่นชม โดยสร้างคุณค่าที่โดดเด่น แตกต่างและเหนือความคาดหมายของทุกคน”

“เป็นผูพ ้ ฒ ั นาศูนย์การค้าทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการเป็นผูน ้ าํ ในระดับภูมภ ิ าค และเป็นที่จับตามองในตลาด”

• เป็นศูนย์การค้าทีน ่ ก ั ลงทุนเลือก โดยมอบผลตอบแทนทีด ่ แ ี ละยัง ่ ยืน ให้กับผู้ถือหุ้น นักลงทุน และพันธมิตร • เป็นศูนย์การค้าที่ลูกค้าเลือก โดยสร้างประสบการณ์แห่งความสุข ให้กับลูกค้า • เป็นศูนย์การค้าที่ผู้เช่าและคู่ค้าเลือก โดยสร้างความสําเร็จทาง ธุรกิจร่วมกัน ควบคู่ไปกับการสร้างความสัมพันธ์ในระยะยาว • เป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า ที่ พ นั ก งานเลื อ ก โดยให้ โ อกาสในการเรี ย นรู้ การพัฒนาตนเอง และการเติบโตทางหน้าที่การงาน ตลอดจน สร้างสังคมการทํางานที่มีความรักความผูกพันกัน • เป็นศูนย์การค้าทีส ่ ง ั คมและชุมชนเลือก โดยพัฒนาศูนย์การค้าทีม ่ ี ความโดดเด่ น เป็ น ที่ ภู มิ ใ จของชุ ม ชน ควบคู่ ไ ปกั บ การดู แ ล สิ่งแวดล้อม สังคม และชุมชน

CPN มุง ่ มัน ่ ทีจ ่ ะเติบโตอย่างต่อเนือ ่ งและยัง ่ ยืน การเติบโตเป็นองค์กร ระดับภูมิภาคคือก้าวต่อไปของ CPN ดังนั้น CPN จึงมุ่งมั่นที่จะ เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่เป็นที่รู้จักและมีโครงการที่ประสบความ สําเร็จอย่างรวดเร็วในภูมิภาคนี้ CPN ได้ระบุตลาดที่จะขยายธุรกิจ ไปอย่างชัดเจน บนพื้นฐานความรอบคอบ มีกลยุทธ์ แผนธุรกิจ และ แผนการสร้างพันธมิตรที่สามารถตอบสนองกับโอกาสทางธุรกิจได้ อย่ า งทั น ท่ ว งที ในขณะที่ อ งค์ ก รและที ม งานมี ก ารพั ฒ นาอย่ า ง ่ ะสามารถดําเนินธุรกิจ ต่อเนือ ่ งเพือ ่ ให้มศ ี ก ั ยภาพ และความพร้อมทีจ ในต่างประเทศได้ตามเป้าหมาย

02. เป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าที่ไม่หยุดนิ่ง (Dynamic Retail Developer)

04. เป็นผู้สร้างประสบการณ์ความสุขที่เหนือกว่า (World-Class Rewarding Experience)

“เป็ น ผู้ พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ไ ม่ ห ยุ ด นิ่ ง ในการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า รูปแบบใหม่ มีรา้ นค้าใหม่ทห ี่ ลากหลายและทันสมัย ตอบสนองวิถช ี ว ี ต ิ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย”

“เป็นศูนย์การค้าที่ลูกค้าเลือกจะมา เพื่อสัมผัสประสบการณ์ความสุข ในการช้อปปิ้งที่เหนือกว่าคู่แข่งในทุกตลาดที่เปิดดําเนินการ”

CPN ตระหนักดีว่า ความไม่หยุดนิ่งของลูกค้า คือ ความท้าทายที่ สํ า คั ญ ลู ก ค้ า มี ค วามคาดหวั ง ที่ สู ง ขึ้ น มี ค วามต้ อ งการที่ ซั บ ซ้ อ น มากขึ้น เข้าถึงสารสนเทศได้ง่ายขึ้น ความไม่หยุดนิ่งของ CPN จะ เป็นสิ่งที่ผลักดันให้ศูนย์การค้าภายใต้การบริหารของ CPN มีความ ทันสมัยที่สุด และสามารถตอบสนองวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วของลูกค้าได้ดี โดยการพัฒนาศูนย์การค้ารูปแบบใหม่ การ สรรหาร้านค้าใหม่ที่มีความทันสมัยและตรงกับความต้องการลูกค้า เข้ามาอยู่ในศูนย์การค้าอย่างต่อเนื่อง การนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมา ใช้ในการอํานวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการ การสร้างกิจกรรมที่มี ความโดดเด่น แตกต่าง และสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับลูกค้า ั ในเครือเพือ ่ ตอบสนองความต้องการ ตลอดจนการผสานพลังกับบริษท ของลู ก ค้ า ควบคู่ ไ ปกั บ การสร้ า งความประทั บ ใจสู ง สุ ด ให้ กั บ ผู้ ใ ช้ บริการ

CPN ตระหนั ก อยู่ เ สมอว่ า CPN ไม่ ไ ด้ เ ป็ น เพี ย งแค่ ผู้ พั ฒ นา ศูนย์การค้าเท่านั้น แต่ยังเป็นผู้สร้างประสบการณ์แห่งความสุขให้ กับทุกคน ดังนั้น ทุกองค์ประกอบในศูนย์การค้า CPN จะคํานึงถึง ผู้ใช้บริการเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการคัดสรรร้านค้าให้มีความหลากหลาย และแปลกใหม่ การจัดกิจกรรมทีน ่ า่ สนใจ การจัดให้มส ี ง ิ่ อํานวยความ สะดวกต่าง ๆ อย่างครบครัน CPN เชื่อว่ามาตรฐานที่สูงและเป็น สากลจะเป็นสิ่งที่ทําให้องค์กรเป็นผู้นําในตลาดได้ ความเป็นระดับ สากลและระดับโลก (World-Class) จึงเป็นสิ่งที่ CPN มุ่งมั่นมา ตลอดและเชื่ อ มั่ น ว่ า การสร้ า งประสบการณ์ แ ห่ ง ความสุ ข ในระดั บ สากล จะเป็นสิ่งที่ทําให้ CPN ก้าวขึ้นเป็นหนึ่งในผู้นําด้านการพัฒนา ศูนย์การค้าระดับภูมิภาคได้ในอนาคต

15

บทที่ 1

รายงานประจํ า ปี 2560


ค่านิยมองค์กร

ภายใต้การขยายตัวทางธุรกิจที่เติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่องทุก ๆ ปี ส่งผลให้เกิดการจ้างงาน สร้างรายได้ เกิด บุคลากรใหม่ ๆ เข้ามาเติมเต็ม และเป็นส่วนหนึ่งของพนักงานในกลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งปัจจุบันกลุ่มเซ็นทรัลมีพนักงาน รวมกันทุกธุรกิจมากกว่า 60,000 คน ดังนั้น จึงจําเป็นต้องมี “ค่านิยมองค์กรของกลุ่มเซ็นทรัล” ในการ ขับเคลื่อนแนวคิด การตัดสินใจ และพฤติกรรมของพนักงานทุกคนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน “CPN ถือว่าเป็นหนึ่งในกลุ่มธุรกิจหลักของการเติบโตครั้งนี้” จะเห็นได้จากการที่ศูนย์การค้าของ CPN เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย ที่กระจายตัวอยู่ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดสําคัญ ๆ ของประเทศไทย ส่งผลให้ต้องมี วัฒนธรรมองค์กร (Corporate Culture) ของกลุ่มเซ็นทรัล เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในเครื่องมือที่ทําให้องค์กรเติบโต ไปแบบมั่นคงและยั่งยืน ซึ่งพวกเราชาว CPN ต้องให้การสนับสนุนและส่งเสริมค่านิยมหลัก (Core Values) ทั้ง 5 ประการ ที่รวมค่านิยมองค์กรจากทั้งกลุ่มธุรกิจมาเป็นหนึ่งแนวคิดและแนวทางการดําเนินชีวิตการทํางาน สําหรับพนักงานทุกคนในกลุ่มเซ็นทรัล ที่เรียกว่า

I-INOVATION สร้างสรรค์คิดสิ่งใหม่

R-RELATIONSHIP จิตผูกพันพึ่งพา

CPN ใช้ น วั ต กรรมในการออกแบบศู น ย์ ก ารค้ า โดยคํ า นึ ง ถึ ง

CPN ส่ ง เสริ ม การมี ส่ ว นร่ ว มของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทั้ ง ภายในและ

สถาปั ต ยกรรมที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยการประยุ ก ต์ ใ ช้

ภายนอกองค์กร อาทิ เพื่อนพนักงาน พันธมิตร และสังคม พร้อม

นวัตกรรมด้านประหยัดพลังงาน ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน โดยใช้น้ํา Reuse มารดน้ําต้นไม้ รวมถึงการเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่เป็น

รักษาคํามั่นสัญญาเพื่อสร้างความเชื่อมั่นและไว้วางใจ ให้คุณค่า และเคารพความแตกต่างหลากหลายของผู้อื่น ทั้งอายุ เพศ และ

มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม พร้อ มทั้ ง เสริ ม สร้ างและส่ ง เสริ ม ให้ บุ ค ลากร

วั ฒ นธรรม ทํ า งานด้ ว ยความยื ด หยุ่ น และสนุ ก สนานเพื่ อ สร้ า ง

ทุ ก คนมี ค วามคิ ด ริ เ ริ่ ม จุ ด ประกายความคิ ด สร้ า งสรรค์ แนวคิ ด

บรรยากาศการทํ า งานที่ ดี ทํ า งานด้วยความเอาใจใส่ จริงใจ และ

วิธีการ หรือนวัตกรรมใหม่ ๆ ตลอดเวลา

ห่วงใยผู้อื่นอยู่เสมอ มีความสํานึกรับผิดชอบต่อสังคม

C-CUSTOMER ใส่ใจในลูกค้า

E-ETHIC มุ่งรักษาจริยธรรม

CPN ยึดถือลูกค้าเป็นสําคัญ เพือ ่ เป็นการตอบสนองความต้องการ

CPN มุ่งรักษาจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ การกํากับดูแลกิจการ

ของลูกค้าในทุกมิติ เพื่อให้ศูนย์การค้าภายใต้การบริหารของ CPN

ที่ดี เสริมสร้างให้บุคลากรทํางานอย่างมีความรับผิดชอบ มีความ

เป็นศูนย์กลางเพื่อการค้าปลีก สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เป็นแหล่ง ่ ี เสริมสร้างการเรียนรู้ พร้อมเน้นย้าํ ให้บค ุ ลากรสร้างความสัมพันธ์ทีด

ซื่อสัตย์สุจริต และความน่าเชื่อถือทั้งต่อตนเองและผู้อื่น ตลอด

ต่ อ ผู้ อื่ น โดยให้ ค วามร่ ว มมื อ ช่ ว ยเหลื อ ส่ ง เสริ ม สนั บ สนุ น ให้

เติบโตอย่างสมดุลและยั่งยืน และมีกระบวนการป้องกันการทุจริต

จนปฏิบัติตามหลักจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ จะช่วยให้องค์กร

ข้อมูล สําหรับบุคคลภายในองค์กรและภายนอกองค์กรด้วยความ

คอร์รัปชั่น มีความโปร่งใสและเป็นธรรม ตลอดจนการมีช่องทางใน

เต็มใจ

การรับแจ้งข้อมูลหรือข้อร้องเรียน

A-ALLIANCE ก้าวหน้าทั้งกลุ่มธุรกิจ CPN เคารพคุณค่าความแตกต่างและทํางานร่วมกันเป็นทีม เพื่อ ความก้าวหน้าทั้งกลุ่มธุรกิจ เสริมสร้างความยั่งยืนให้กับพันธมิตร และกลุ่ ม ธุ ร กิ จ โดยมี จุ ด มุ่ ง หมายในการทํ า เพื่ อ องค์ ก รภายใต้ เป้าหมายเดียวกันเคารพในมุมมองที่แตกต่าง สร้างความสัมพันธ์ เพื่อยกระดับองค์ความรู้และประสบการณ์ร่วมกัน รวมพลังระหว่าง กลุ่มธุรกิจสู่ความเป็นหนึ่ง

16


บทที่ 2

รายงานประจํ า ปี 2560

17


ข้อมูลทางการเงินที่สําคัญ

สั ด ส่ ว นรายได้ แ ยกตามประเภทธุ ร กิ จ (ร้ อ ยละ)

ศู น ย์ ก ารค้ า 2

4

5

7

รายได้ อ ื ่ น ๆ

82

/1

ศู น ย์ อ าหาร โรงแรม อาคารสำนั ก งาน

2556

2557

2558

2559

92

1,663,744

94

1,595,248

94

1,561,090

1,275,785

1,374,973

96

96

ศู น ย์ ก ารค้ า

2560

พื ้ น ที ่ เ ช่ า ศู น ย์ ก ารค้ า (ตร.ม.)

อั ต ราการเช่ า พื ้ น ที ่ (ร้ อ ยละ)

2556

2557

2558

2559

พื ้ น ที ่ เ ช่ า อาคารสำนั ก งาน (ตร.ม.) หมายเหตุ :

18

/1

94

171,591

97

98

170,487

169,152

169,466

170,342

97

98

อาคารสำนั ก งาน

2560

อั ต ราการเช่ า พื ้ น ที ่ (ร้ อ ยละ)

ไม่ ร วม ดอกเบี ้ ย รั บ เงิ น ปั น ผลรั บ ส่ ว นแบ่ ง กำไรจากเงิ น ลงทุ น ในบริ ษ ั ท ร่ ว ม และรายได้ ท ี ่ ม ิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ ้ น เป็ น ประจำ


รายงานประจํ า ปี 2560

2559

2560

2556 255 6

2558

2558

2559

2557 255

2559

2558

2559

2556 255 6

2557 255

(บาทต่ อ หุ ้ น )

(บาทต่ อ หุ ้ น )

2558

2.06

2559

หมายเหตุ :

/2 /3

2558

2559

/3

2560

ไม่ ร วมรายการที ่ ม ิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ ้ น เป็ น ประจำ รออนุ ม ั ต ิ จ ากที ่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู ้ ถ ื อ หุ ้ น ประจำปี 2561

19

2557 255

0.70

2558

0.83

1.40

2556 255 6

2560

0.65

11.59

0.55

9.14

2557

10.24

8.15

13.77

เงิ น ปั น ผลต่ อ หุ ้ น

1.73

1 58 1.58

2.20

2560

มู ล ค่ า ตามบั ญ ชี ต ่ อ หุ ้ น

2556

2560

/2

63,880

1.33

36,824

53,005

(บาทต่ อ หุ ้ น )

46,801

(ล้ า นบาท)

41,748

กำไรสุ ท ธิ ห ลั ง ปรั บ ปรุ ง ต่ อ หุ ้ น

2557

30,875

7,746

2558

ส่ ว นของผู ้ ถ ื อ หุ ้ น

2556

2560

/2

9,242

2556 255 6

2560

7,083 7,08 3

5,915 5,91 5

40,715

2557

2559

56,694

(ล้ า นบาท)

51,523

(ล้ า นบาท) 56,244

กำไรสุ ท ธิ ห ลั ง ปรั บ ปรุ ง

47,287

หนี ้ ส ิ น รวม

2556

29,234

25,713

23,668 23,6 68

2557 255

2559

2560

บทที่ 3

2558

/2

9,893

2557

21,234 21,2 34

77,539

2556

120,574

(ล้ า นบาท)

104,527

(ล้ า นบาท) 103,045

รายได้ ร วม

89,035

สิ น ทรั พ ย์ ร วม


ข้อมูลทางการเงินที่สําคัญ ณ 31 ธันวาคม

2556

2557

2558

2559

2560

พื้นที่ให้เช่ารวม (ตร.ม.)

1,4 5 1,310

1,550,8 12

1,732,999

1,767,302

1,836,902

ศูนย์การค้า

1,275,785

1,374,973

1,561,090

1,595,248

1,663,744

169,152

169,466

170,342

170,487

171,591

561

561

561

561

561

6,373

6,373

1,567

1,567

1,567

ศูนย์การค้า

96

96

94

94

92

อาคารสํานักงาน

98

97

98

97

94

โรงแรม

76

75

77

83

85

อาคารสําหรับพักอาศัย

67

53

30

21

21

ผลการดําเนินงานภายใต้การบริหารงานของ CPN

อาคารสํานักงาน โรงแรม (ห้อง) อาคารสําหรับพักอาศัย อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ)

ข้อมูลสําคัญจากงบกําไรขาดทุน (หน่วย: พันบาท) รายได้รวม (1)

21,234,033

รายได้จากการเช่าและบริการ ขายอาหารและเครื่องดื่ม โรงแรม 19,913,174

23,667,717 25,713,003 29,233,920 30,875,333 22,307,540 24,282,565

27,633,700 28,785,006

ต้นทุนค่าเช่าและบริการ ขายอาหารและเครื่องดื่ม โรงแรม

10,541,623

11,616,239

12,633,723

14,040,598 14,518,159

กําไรขั้นต้น (2)

10,692,410

12,051,478

13,079,280

15,193,322

16,3 57,1 74

กําไรสุทธิ

6,292,529

7,306,953

7,880, 3 1 0

9,243,797

13,567,645

กําไรสุทธิหลังปรับปรุง (2)

5,915,196

7,083,269

7,745,9 1 2

9,243,797

9,892,890

ข้อมูลสําคัญจากงบดุล (หน่วย: พันบาท) สินทรัพย์รวม

77,538,774

89,035,187 103,044,632 104,527,348 120,573,590

หนี้สินรวม

40,715,1 3 3

47,287,267 56,243,51 5

หนี้สินสุทธิที่มีภาระดอกเบี้ย (3)

1 7,972,416

12,245,660

ส่วนของผู้ถือหุ้นและส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย

36,823,641

41,747,921 46,801, 1 1 7 53,004,802 63,879,787

กําไรสะสม

25,419,599

30,258,196 35,174 , 1 4 7 41,276,432 5 1 , 1 1 4 ,634

5 1 ,522,547 56,693,804

18,297,5 1 8 14,700,5 1 3

4,057,880

ทุนที่ออกและชําระแล้ว

2,244,000

2,244,000

2,244,000

2,244,000

2,244,000

จํานวนหุ้น (‘000 หุ้น)

4,488,000

4,488,000

4,488,000

4,488,000

4,488,000

20


รายงานประจํ า ปี 2560

2556

2557

2558

2559

2560

อัตราส่วนทางการเงินรวม อัตราส่วนหนีส ้ น ิ สุทธิทม ่ี ภ ี าระดอกเบีย ้ ต่อส่วนของผูถ ้ อ ื หุน ้ (3) (เท่า)

0.49

0.29

0.39

0.28

0.07

50.36

50.92

50.87

51.97

52.98

26.41

28.60

29.10

30.70

31.17

8.55

8.77

8.21

8.91

12.05

20.45

18.93

18.12

18.87

23.84

1.42

1.63

1.76

2.06

3.02

1.33

1.58

1.73

2.06

2.20

8.15

9.14

10.24

11.59

13.77

0.55

0.65

0.70

0.83

1.40 (6)

184,008

204,204

210,936

254,694

382,602

41.00

45.50

47.00

56.75

85.25

(8)

50.25

49.25

61.75

87.00

ราคาต่ําสุด (บาท)

35.50

36.25

39.75

43.00

53.75

ราคาเฉลี่ย (บาท)

50.80

44.92

44.61

54.35

68.95

P/E (เท่า)

32.56

28.22

27.08

28.50

28.42

5.34

5.21

4.79

5.11

6.42

อัตรากําไรขั้นต้น (2) (ร้อยละ) อัตรากําไรสุทธิ (2) (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนของสินทรัพย์ (ร้อยละ) อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้น กําไรต่อหุ้น

(5)

(4)

(ร้อยละ)

(บาท)

กําไรสุทธิหลังปรับปรุงต่อหุ้น

(2)(5)

(บาท)

มูลค่าตามบัญชีต่อหุ้น (บาท) เงินปันผลต่อหุ้น (จ่ายปีถัดไป) (บาท) ข้อมูลหุ้น CPN (7) มูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาด ณ สิ้นปี (ล้านบาท) ราคาปิด ณ สิ้นปี (บาท) ราคาสูงสุด (บาท)

106.00

P/BV (เท่า)

หมายเหตุ : (1) ไม่รวม ดอกเบี้ยรับ เงินปันผลรับ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และรายได้ที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา (2) ไม่รวม รายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา (3) หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ย ไม่รวมเงินกู้ยืมจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน (4) อัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นไม่รวมส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อยในบริษัทย่อย (5) กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน เฉพาะส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นสามัญ (6) รออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 (7) ข้อมูลจาก SETSMART (8) บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุ้นจาก 1 บาทต่อหุ้น เป็น 0.5 บาทต่อหุ้น มีผลบังคับวันที่ 7 พฤษภาคม 2556

21

บทที่ 3

ณ 31 ธันวาคม


สารจาก คณะกรรมการบริษัท

22


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ CPN) ดําเนินธุรกิจภายใต้กลยุทธ์การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ควบคู่กับการกํากับ ดูแลกิจการอย่างโปร่งใส มีมาตรฐานด้านจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นพัฒนา และบริหารศูนย์การค้าของ CPN ให้เป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิตของคนทุกวัย และท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก เทคโนโลยี และพฤติกรรมผู้บริโภค ส่งผลให้วิถีการใช้ชีวิตของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปเช่นกัน บริษัทฯ จึงได้สร้างสรรค์นวัตกรรมและแนวคิดใหม่ ๆ ในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ให้ตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค พร้อมทั้งนําพาความเจริญไปสู่ชุมชน และมีส่วนสําคัญใน ้ บริษท ั ฯ การผลักดันเศรษฐกิจทัง ้ ในระดับท้องถิน ่ และระดับประเทศ นอกจากการลงทุนพัฒนาศูนย์การค้าในประเทศในทําเลทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพแล้วนัน ยังได้กระจายการลงทุนในรูปแบบอื่น ได้แก่ การลงทุนในต่างประเทศ และการลงทุนพัฒนาอสังหาริมทรัพย์อื่นในรูปแบบโครงการพัฒนา พื้นที่แบบผสม (Mixed-use Development) ที่หลากหลายมากขึ้น โดยในปีที่ผ่านมา ถือว่าเป็นอีกปีที่บริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการ ดําเนินธุรกิจตามแผนงานที่วางไว้ และมีผลการดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย

การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ พัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ในรูปแบบผสม ทีร่ วมทัง ้ ศูนย์การค้า

ในปีที่ผ่านมา CPN ได้เปิดศูนย์การค้าใหม่ 2 โครงการในต่างจังหวัด ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา ศูนย์การค้าลําดับที่ 31 และเซ็นทรัล

ที่อยู่อาศัย โรงแรม และสํานักงาน เพื่อสนับสนุนและสร้างมูลค่าเพิ่ม

พลาซา มหาชั ย เป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า ลํ า ดั บ ที่ 32 และมี ก ารปรั บ ปรุ ง

ให้ กั บศู นย์ การค้ าซึ่ งเป็ นธุ รกิ จหลักอย่ างต่ อเนื่อง โดยหลั งจากที่

ครั้งใหญ่ที่ศูนย์การค้า 2 แห่ง คือ เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา

โครงการคอนโดมิเนียม 3 โครงการแรกในบริเวณศูนย์การค้าของ

พระราม 3 เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า สิ น ทรั พ ย์ แ ละศั ก ยภาพในการแข่ ง ขั น

CPN ที่ เ ซ็ น ทรั ล เฟสติ วัล เชี ย งใหม่ เซ็ น ทรัล พลาซา ระยอง และ

ตลอดจนเสริมสร้างภาพลักษณ์ให้มีความทันสมัย และในปี 2561 นี้

เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น ประสบความสําเร็จและมีความคืบหน้าเป็น

บริษัทฯ กําหนดเปิดศูนย์การค้าอีก 2 แห่ง โดยเป็นศูนย์การค้าใน

ไปตามแผนทีก ่ าํ หนดไว้ซง ึ่ จะแล้วเสร็จพร้อมโอนได้ในปี 2561 บริษท ั ฯ

ประเทศ 1 แห่ง คือ เซ็นทรัลภูเก็ต และเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์การเป็นผู้นํา

จึงได้พฒ ั นาโครงการคอนโดมิเนียมอีก 3 โครงการ ทีเ่ ซ็นทรัลพลาซา

ตลาดในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในภูมภ ิ าค บริษท ั ฯ ได้ขยายธุรกิจ

นครราชสี ม า เซ็ น ทรั ล พลาซา เชี ย งราย และเซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล

ไปยังต่างประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศที่มี

เชียงใหม่ ซึง ่ ได้รบ ั การตอบรับเป็นอย่างดี จากความโดดเด่นด้านทําเล

ศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง โดยบริษัทฯ จะเปิด

ที่ตั้ง รูปแบบโครงการ และความสะดวกสบาย ทั้งนี้ บริษัทฯ มีแผน

ศูนย์การค้าในต่างประเทศแห่งแรกของ CPN คือ เซ็นทรัล ไอ-ซิตี้

ที่จะพัฒนาโครงการที่พักอาศัยอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น เมื่อ

ในประเทศมาเลเซีย อีก 1 แห่ง

ต้นปี 2560 CPN ได้ประกาศร่วมทุนกับบริษัท ดุสิตธานี จํากัด

จากสภาพแวดล้ อ มการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ในปั จ จุ บั น ที่ มี ก ารแข่ ง ขั น สู ง

(มหาชน) เพื่ อ ลงทุ น ในการพั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์

ทัง ้ จากผูป ้ ระกอบการรายเดิมและรายใหม่ รวมทัง ้ ราคาทีด ่ น ิ ทีป ่ รับตัว

รู ป แบบผสม บนที่ ดิ น บริ เ วณหั ว มุ ม ถนนสี ล มและถนนพระราม 4

สูงขึ้นส่งผลให้ต้นทุนการพัฒนาโครงการเพิ่มขึ้นตาม บริษัทฯ จึงได้

กรุงเทพมหานคร ซึ่งจะใช้เวลาการพัฒนาโครงการประมาณ 5-7 ปี

23

บทที่ 4

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น


นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ และความเป็นเลิศในการ

ผลประกอบการเติบโตต่อเนื่อง ฐานะการเงินแข็งแกร่ง รวมถึง

บริหารจัดการและการให้บริการ

การจัดหาแหล่งเงินทุนและบริหารการเงินอย่างรอบคอบ

เพื่อตอบโจทย์วิถีการดําเนินชีวิต (Lifestyle) ของผู้บริโภค CPN

บริษัทฯ และบริษัทย่อยรายงานกําไรสุทธิสําหรับปี 2560 จํานวน

จึงได้พฒ ั นาศูนย์การค้าให้เป็น “ศูนย์กลางการใช้ชว ี ต ิ ของคนทุกวัย”

13,568 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 46.8 จากปีก่อน และมีรายได้รวม

(Center of Life) ด้วยการสร้างสรรค์นวัตกรรม และนําแนวคิดใหม่ ๆ

เท่ากับ 34,594 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 18.3 จากปีก่อน เนื่องจากมี

เข้ า มาสร้ า งความแตกต่ า งและนํ า เสนอประสบการณ์ แ ปลกใหม่ ที่

รายการที่มิได้เกิดขึ้นประจํา คือ เงินค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์

โดดเด่ น ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ผู้ เ ข้ า มาใช้ บ ริ ก ารในศู น ย์ ก ารค้ า ทั้ ง การสร้ า ง

ประกันการก่อการร้ายจากโครงการเซ็นทรัลเวิลด์ จํานวน 3,500

บรรยากาศในศูนย์การค้าให้นา่ ตืน ่ ตาตืน ่ ใจ การเป็นศูนย์รวมกิจกรรม

ล้านบาท และรายได้และค่าใช้จ่ายจากการแปลงสภาพกองทุนรวม

และเป็นจุดหมายสําหรับลูกค้าทีจ ่ ะเข้ามาใช้บริการทีห ่ ลากหลาย ได้แก่

สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNRF) เป็นทรัสต์

Food Destination, Think Space, Market-Market และ

เพื่ อ การลงทุ น ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ CPN รี เ ทล โกรท

Government Center เป็ น ต้ น และสร้ า งจุ ด สนใจในการดึ ง ดู ด

(CPNREIT) พร้อมกับโอนสิทธิการเช่าในโครงการเซ็นทรัลเฟสติวัล

นักท่องเที่ยว เช่น Fish Market, Public House และการนําสถานที่

พัทยา (บางส่วน) และโรงแรมฮิลตัน พัทยา ให้กับ CPNREIT ลงทุน

ท่องเทีย ่ วสําคัญ ๆ ในภูมภ ิ าคมาไว้บริเวณทีพ ่ ก ั ผ่อนภายในศูนย์การค้า

เพิ่มเติมถ้าหากไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นประจํา บริษัทฯ มีกําไร

เป็นต้น

9,893 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 7.0 และมีรายได้รวมเท่ากับ 30,875

นอกจากนี้ CPN ยั ง ได้ นํ า เทคโนโลยี ม าช่ ว ยในด้ า นต่ า ง ๆ ทั้ ง

นครศรี ธ รรมราช ในปี 2559 และศู น ย์ ก ารค้ า ที่ ป รั บ ปรุ ง คื อ

ล้ า นบาท เติ บ โตร้ อ ยละ 5.6 เป็ น ผลจากการเปิ ด เซ็ น ทรั ล พลาซา ด้านการบริการลูกค้า ด้านการสือ ่ สารการตลาดผ่านช่องทางออนไลน์

เซ็นทรัลพลาซา ปิน ่ เกล้า และเซ็นทรัลมารีนา ประกอบกับผลประกอบการ

เพื่อนําเสนอข่าวสารและกิจกรรมการตลาดได้อย่างกว้างขวางและ

ที่ ดี ข องศู น ย์ ก ารค้ า ที่ เ ปิ ด ดํ า เนิ น การอยู่ แ ล้ ว รวมถึ ง การบริ ห าร

ทั่วถึงมากขึ้น และด้านการประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม

ต้นทุนดําเนินงานและค่าใช้จ่ายการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้

ทั้งนี้ CPN จะดําเนินการพัฒนานวัตกรรมและแนวคิดใหม่ ๆ เพื่อให้

เมือ ่ พิจารณาผลการดําเนินงาน ฐานะทางการเงิน และสภาวะเศรษฐกิจ

ศูนย์การค้าเป็นที่ยอมรับของลูกค้าชาวไทย และนักท่องเที่ยวอย่าง

โดยรวม คณะกรรมการบริษัทจึงมีมติเห็นควรเสนอที่ประชุมสามัญ

ต่อเนื่อง

ผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 พิจารณาอนุมัติจ่ายเงินปันผลในอัตราหุ้นละ 1.40 บาท โดยบริ ษั ท ฯ ยั ง มี โ ครงสร้ า งทางการเงิ น ที่ แ ข็ ง แกร่ ง และมีความยืนหยุ่นในการจัดหาเงินเพื่อรองรับการขยายธุรกิจใน อนาคต นอกจากนี้ จากความสําเร็จในแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT และได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเรียบร้อยแล้ว เมื่อเดือนธันวาคมที่ผ่านมา ส่งผลให้ CPNREIT เป็นกองทรัสต์ที่มี ขนาดสินทรัพย์ใหญ่ทส ี่ ด ุ ในประเทศไทย และมีการลงทุนในศูนย์การค้า เป็นหลัก โดยมีบริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด ทําหน้าที่เป็น ผู้ จั ด การกองทรั ส ต์ และ CPN ทํ า หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห ารทรั พ ย์ สิ น ของกองทรัสต์

24


รายงานประจํ า ปี 2560

CPN มุ่งมั่นดําเนินธุรกิจด้วยหลักจรรยาบรรณ บรรษัทภิบาลเพื่อ

ในนามของคณะกรรมการบริษัท ขอขอบคุณผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่าย

ให้เกิดการพัฒนาและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และ

ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ร้านค้าผู้เช่า ลูกค้าผู้เข้ามาใช้บริการ คู่ค้า สถาบัน

ยึดมัน ่ ในแนวทางการดําเนินธุรกิจเพือ ่ การเติบโตอย่างยัง ่ ยืน รวมทัง ้

การเงิน สือ ่ มวลชน ตลอดจนหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทีเ่ กีย ่ วข้อง

เป็ น องค์ ก รที่ พ ร้ อ มสร้ า งความเจริ ญ ก้ า วหน้ า ให้ กั บ ชุ ม ชน สั ง คม

ที่ได้ให้ความไว้วางใจและสนับสนุนการดําเนินงานของบริษัทฯ ด้วยดี

ประเทศ และภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และก้าวสู่การเป็นผู้นํา

เสมอมา และพนักงานทุกคนทีใ่ ห้ความร่วมมือร่วมใจในการดําเนินงาน

ธุ ร กิ จ ในระดั บ ภู มิ ภ าคอย่ า งยั่ ง ยื น ตามวิ สั ย ทั ศ น์ ข องบริ ษั ท ฯ ในปี

อย่างเต็มที่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายทั้งในด้านการเติบโตของรายได้

2560 คณะกรรมการบริษัทร่วมภูมิใจกับผู้บริหารและพนักงานของ

การขยายสาขา การดูแลผูเ้ ช่า ลูกค้า และพนักงานในองค์กรเป็นอย่างดี

ั คัดเลือกเข้าเป็นสมาชิกดัชนีความยัง ่ ยืน Dow Jones บริษท ั ฯ ทีไ่ ด้รบ

รวมถึ ง การร่ว มกัน ประหยั ด พลั ง งานและใส่ ใ จสิ่ ง แวดล้ อ ม ชุ ม ชม

Sustainability Indices ในกลุ่มตลาดประเทศเปิดใหม่ (Emerging

สั ง คมอย่ า งต่ อ เนื่ อ งและจริ ง จั ง ตลอดจนการปฏิ บั ติ ต ามหลั ก

Markets) เป็นปีที่สี่ติดต่อกัน นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รับรางวัล

บรรษัทภิบาลของบริษัทฯ จนได้รับการยอมรับและเป็นที่น่าเชื่อถือไว้

จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยอีก 2 รางวัล คือ รางวัลบริษัท

วางใจในระดับสากล ทัง ้ นี้ คณะกรรมการบริษท ั ขอให้ทก ุ ท่านเชือ ่ มัน ่ ว่า

จดทะเบียนด้านความยั่งยืน-Rising Star และรับรางวัล “หุ้นยั่งยืน”

บริ ษัท ฯ จะมุ่ ง มั่ น ดํา เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยหลั ก บรรษั ท ภิ บ าลและสํ านึก ใน ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมเพื่ อ ประโยชน์ สู ง สุ ด แก่ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

ประจําปี 2560 เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน

ทุกฝ่าย และหวังว่าทุกท่านจะร่วมกันพัฒนาและเติบโตไปพร้อมกับ บริษัทฯ อย่างยั่งยืนต่อเนื่องในทุก ๆ ปี

นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ

นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

25

บทที่ 4

ธุรกิจเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


รายงานคณะกรรมการ ตรวจสอบ เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการตรวจสอบ ประกอบด้วย กรรมการอิสระผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน โดยมีนายไพฑูรย์ ทวีผล ซึ่งเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ เพียงพอในการสอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินเป็นประธานกรรมการตรวจสอบ นายการุณ กิตติสถาพร นางโชติกา สวนานนท์ และนายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ เป็นกรรมการตรวจสอบ งานตรวจสอบภายในโดยจัดทําเป็นประจําทุก 5 ปี ในปี 2560 นี้

ปี 2560 มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบรวมทัง ้ สิน ้ 11 ครัง ้ โดย ได้หารือร่วมกับฝ่ายบริหาร สํานักตรวจสอบภายในและผูส ้ อบบัญชีใน

สํานักตรวจสอบภายในได้รับการประเมินโดยบริษัท ไพร้ซวอเตอร์

เรื่องที่เกี่ยวข้อง และได้แสดงความเห็นรวมทั้งให้ข้อเสนอแนะอย่าง

เฮาส์คเู ปอร์ส เอบีเอเอส จํากัด อีกทัง ้ มีการประเมินโดยคณะกรรมการ

อิสระตามที่พึงจะเป็น คณะกรรมการตรวจสอบได้รายงานผลการ

ตรวจสอบเป็นประจําทุกปี โดยอ้างอิงมาตรฐานสากลการปฏิบต ั ง ิ าน

ดําเนินงานต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ทั้งสิ้น 6 ครั้ง สรุปสาระ

วิชาชีพการตรวจสอบภายใน ซึง ่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็น

สําคัญของผลการดําเนินงานและการให้ความเห็นในเรือ ่ งต่าง ๆ ดังนี้

ว่าสํานักงานตรวจสอบภายในได้ปฏิบต ั ง ิ านเป็นไปตามมาตรฐานสากล ทีก ่ าํ หนดไว้ และผลักดันให้สาํ นักตรวจสอบภายในดําเนินการปรับปรุง

ความถูกต้อง ครบถ้วน และเชื่อถือได้ของรายงานทางการเงิน

มาตรฐานการทํางานให้ดียิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่อง

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานงบการเงิ น รายไตรมาส

การกํากับดูแลด้านการต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชั่น

งบการเงินประจําปี นโยบายบัญชีที่สําคัญ รายงานทางการเงินที่มี นัยสําคัญ และจากการพิจารณาขอบเขต แผนการตรวจสอบ วิธก ี าร

ปี 2560 บริษัทฯ ได้ยื่นต่ออายุแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทย

ตรวจสอบ และประเด็นทีต ่ รวจพบ ร่วมกับฝ่ายจัดการและผูส ้ อบบัญชี

ในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2560

รวมถึ ง การจั ด ประชุ ม เป็ น การเฉพาะกั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ มี

โดยคณะกรรมการแนวร่วมปฏิบัติฯ ได้มีมติให้การรับรองการต่อ

ฝ่ายจัดการเข้าร่วม 2 ครั้ง เพื่อหารือเกี่ยวกับความเป็นอิสระในการ

อายุบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) เป็นสมาชิกแนวร่วม

ปฏิบัติหน้าที่ คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายงานทาง

ปฏิบัติภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น เมื่อวันที่

การเงินของบริษัทฯ ได้จัดทําขึ้นตามมาตรฐานบัญชีที่กําหนดโดย

12 กุมภาพันธ์ 2561

สภาวิ ช าชี พ ฯ มี ค วามถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น และเชื่ อ ถื อ ได้ รวมทั้ ง คณะกรรมการตรวจสอบให้ ค วามสํ า คั ญ ด้ า นการกํ า กั บ ดู แ ลการ

การเลือกใช้นโยบายการบัญชีมีความสมเหตุสมผล

ปฏิบัติงานและสอบทานแนวทางการต่อต้านทุจริตและคอร์รัปชั่น ความเพียงพอของระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน

โดยกํากับดูแลในเรือ ่ งการขยายแนวทางปฏิบต ั ก ิ ารต่อต้านทุจริตและ

การบริหารความเสี่ยง และการกํากับดูแลกิจการที่ดี

คอร์รป ั ชัน ่ ของฝ่ายจัดการไปยังลูกค้าและคูค ่ า้ ให้เกิดความสมดุล เช่น หลักเกณฑ์การประเมินคู่ค้า จัดทําจรรยาบรรณและแนวทางปฏิบัติ

คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานรายงานผลการตรวจสอบของ

ของคู่ค้า (Code of Conduct for Supplier) แนวทางปฏิบัติในการ

สํานักตรวจสอบภายใน และของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการประเมิน

รับและให้ของขวัญ เป็นต้น

ระบบควบคุมภายใน สอบทานให้บริษัทฯ มีการบริหารความเสี่ยงและ การปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

การกํากับดูแลกิจการที่ดี และให้ข้อเสนอแนะที่จําเป็นเพื่อการพัฒนา ติดตามการปรับปรุงการปฏิบัติงานของผู้บริหารตามข้อเสนอแนะ

ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และกฎหมายที่

ในรายงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพิจารณากระบวนการภายในเกี่ยวกับ

เกีย ่ วข้องกับธุรกิจของบริษท ั ฯ

การรับแจ้งเบาะแสและการรับข้อร้องเรียน คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบได้สอบทานการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมายว่าด้วย

มีความเห็นว่า ระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีความเพียงพอ

หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์

และเหมาะสม โดยผู้บริหารระดับสูงให้ความสําคัญและติดตามการ

แห่งประเทศไทย (“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ

ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง

ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และติ ด ตามแนวทางการปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขของ ฝ่ายจัดการอย่างสม่ําเสมอ ตลอดจนกํากับดูแลในเรื่องการทบทวน

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ส อบทานและให้ ค วามเห็ น ชอบต่ อ แผนงานตรวจสอบภายในประจําปี ทีจ ่ ด ั ทําโดยใช้หลักเกณฑ์ตามฐาน

จรรยาบรรณและนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การให้ เ ป็ น ไปตาม

ความเสี่ยง รวมทั้งได้หารือกับผู้บริหารสํานักตรวจสอบภายในโดย ไม่มีฝ่ายจัดการอย่างสมํ่าเสมอ นอกจากนั้นมีการประเมินคุณภาพ

มาตรฐานใหม่และมาตรฐานสากล ซึ่งมีการปรับปรุง เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2560 โดยมอบหมายให้ฝ่ายจัดการสอบทานการปฏิบัติ

26


งานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามแนวทางหลักการบริหารกิจการที่ดี

โดยมีความเห็นชอบเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทให้แต่งตั้งบริษัท

(CG Code) สําหรับปี 2560 คณะกรรมการตรวจสอบมีความ

เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด (ผู้สอบบัญชีหลัก) เป็นผู้สอบ

เห็ น ว่ า บริ ษั ท ฯ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว่ า ด้ ว ยหลั ก ทรั พ ย์ แ ละ

บัญชีและแสดงความคิดเห็นต่องบการเงินของบริษท ั ฯ และบริษท ั ย่อย

ตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ฯ และกฎหมายที่

ประจําปี 2561 และอนุมัติค่าสอบบัญชีประจําปี 2561 วงเงินไม่เกิน

เกี่ยวข้องกับธุรกิจของบริษัทฯ

7,970,000 บาท และค่ า สอบบั ญ ชี สํ า หรั บ ผู้ ส อบบั ญ ชี ร องของ บริ ษั ท ย่ อ ยที่ จั ด ตั้ ง และจดทะเบี ย นในต่ า งประเทศ วงเงิ น ไม่ เ กิ น

รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น หรื อ รายการที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ทาง

749,470 บาท

ผลประโยชน์

ความเห็นและข้อสังเกตโดยรวมจากการปฏิบต ั ห ิ น้าทีต ่ ามกฎบัตร

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ใ ห้ ค วามสํ า คั ญ เป็ น กรณี พิ เ ศษในการ

คณะกรรมการตรวจสอบ

พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกัน และรายการที่อาจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามกฎหมายและข้ อ กํ า หนดของตลาด

คณะกรรมการตรวจสอบประเมินผลการปฏิบัติงานตนเองประจําปี

หลักทรัพย์ฯ เป็นประจําทุกไตรมาส และมอบหมายให้สาํ นักตรวจสอบ ภายในติดตามสอบทานความถูกต้องในเบือ ้ งต้น และเน้นยาํ้ ให้ทก ุ ฝ่าย

2560 โดยสรุ ป ผลการประเมิ น ภาพรวมเป็ น รายคณะ ในวั น ที่ 8 มกราคม 2561 ซึ่งแบบประเมินฯ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1

ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติงานให้เป็นไปตามนโยบายที่กําหนดไว้ รวมทั้งให้

การทําหน้าที่โดยรวมของคณะกรรมการตรวจสอบ และส่วนที่ 2

ผู้ ส อ บ บั ญ ชี ส อ บ ท า น ร า ย ก า ร ดั ง ก ล่ า ว เ ป็ น ป ร ะ จํ า ทุ ก ปี ซึ่ ง

การปฏิบัติหน้าที่เฉพาะด้านของคณะกรรมการตรวจสอบ สําหรับ

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่ารายการที่เกี่ยวโยงกันที่ได้

ส่วนที่ 2 แบ่งเป็น 6 ด้าน ดังนี้ 1) การสอบทานให้บริษท ั ฯ มีการรายงาน

พิจารณานั้น เป็นรายการที่เข้าข่ายเป็นธุรกิจปกติที่มีเงื่อนไขการค้า

ทางการเงินอย่างถูกต้องและเพียงพอ 2) การสอบทานให้บริษัทฯ

ทั่วไป มีความสมเหตุสมผล เป็นธรรม และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อ

มีการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิภาพและ

บริษัทฯ

ประสิทธิผล 3) การสอบทานให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วย หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์

้ อบบัญชี การพิจารณา คัดเลือก และเสนอ ความเหมาะสมของผูส

แห่ ง ประเทศไทย และกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ

แต่งตั้งผู้สอบบัญชี

4) การพิจารณาคัดเลือกเสนอแต่งตั้งผู้สอบบัญชี 5) การพิจารณา

คณะกรรมการตรวจสอบได้ ป ระเมิ น ความเป็ น อิ ส ระและผลการ

รายการที่เกี่ยวโยงกัน และ 6) การจัดทํารายงานของคณะกรรมการ

ปฏิบัติงานสําหรับปี 2560 ผลการประเมินด้านการปฏิบัติงานโดย

ตรวจสอบ

รวมอยูใ่ นระดับดี มีความเป็นอิสระเพียงพอ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบมี ค วามเห็ น โดยรวมว่ า คณะกรรมการ

ได้ประชุมหารือร่วมกับผูส ้ อบบัญชีโดยไม่มฝ ี า่ ยจัดการเข้าร่วมจํานวน

ตรวจสอบได้ ป ฏิ บั ติ ต ามหน้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบที่ ไ ด้ ร ะบุ ไ ว้ ใ น

2 ครั้ง เพื่อขอความเห็นจากผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน

กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการ

ตรวจสอบและปัญหาการทํางานร่วมกับฝ่ายจัดการที่เกี่ยวข้อง

บริษัทอย่างเพียงพอและครบถ้วน โดยใช้ความรู้ความสามารถและ

ในการพิจารณาคัดเลือกและเสนอแต่งตัง ้ ผูส ้ อบบัญชีสาํ หรับปี 2561

ความระมั ด ระวั ง รอบคอบ มี ค วามเป็ น อิ ส ระอย่ า งเพี ย งพอ เพื่ อ

นั้น คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาผลการปฏิบัติงาน ขอบเขต

ประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเท่าเทียมกัน

และปริมาณงานเทียบกับค่าบริการสอบบัญชีสาํ หรับปี 2561 ทีเ่ สนอมา

คุณไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการตรวจสอบ

27

บทที่ 5

รายงานประจํ า ปี 2560


รายงานคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

เรียน ท่านผู ผู้ถ ู ือหุ้น ุ ในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 2 ครั้ง และได้รายงานสรุปผลการดําเนินงานทุกครั้งให้ คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการดําเนินงานที่สําคัญในปี 2560 สรุปได้ดังนี้ 1.

2. พิ จ า ร ณ า กํ า ห น ด ค่ า ต อ บ แ ท น ป ร ะ จํ า ปี 25 6 0 สํ า ห รั บ คณะกรรมการบริ ษั ท และคณะกรรมการชุ ด ย่ อ ย ซึ่ ง ประกอบ ด้วย คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน และคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง เพื่อเสนอ ต่อคณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ ความสําเร็จ ในการปฏิ บั ติ ง านที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ ผลประกอบการ และปั จ จั ย ่ วข้อง ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบกับอัตรา แวดล้อมอืน ่ ทีเ่ กีย ค่ า ตอบแทนของบริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น หรื อ ใกล้เคียงกับบริษท ั ฯ ซึง ่ ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ได้มม ี ติอนุมต ั ต ิ ามทีเ่ สนอ

พิจารณาสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการเพื่อ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริ ษั ท และที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจําปี 2560 โดยบริษท ั ฯ เปิดโอกาสให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ รายย่อยสามารถ เสนอรายชือ ่ บุคคลเข้ารับการสรรหาเป็นกรรมการบริษท ั ได้ตง ั้ แต่ วันที่ 23 กันยายน 2559 ถึง 15 มกราคม 2560 แต่ไม่มีผู้ถือหุ้น รายใดเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการ ดังนั้น คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนจึงเสนอให้ พิจารณาแต่งตั้งกรรมการที่ออกตามวาระประจําปี 2560 กลับ เข้าดํารงตําแหน่งกรรมการอีกวาระหนึง ่ โดยทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ได้ มีมติอนุมัติแต่งตั้งกรรมการทุกท่านตามที่เสนอ

28


3. พิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประจําปี 2559 และกําหนดเป้าหมายรวมทั้งวิธีการประเมินผล การปฏิบัติงานของกรรมการผู้จัดการใหญ่ ประจําปี 2560 โดย กรรมการผู้จัดการใหญ่มีส่วนร่วมในการกําหนดเป้าหมายและ วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง

7. พิจารณาติดตามความคืบหน้าและให้ความเห็นเกี่ยวกับนโยบาย และการดํ า เนิ น งานด้ า นการบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ แ ละการบริ ห าร องค์กร อาทิ แผนงานและผลการดําเนินงานในปี 2560 การ สรรหาพนักงาน อัตราการลาออก และแผนการพัฒนาบุคลากร เป็นต้น

4. พิ จ ารณาแผนสื บ ทอดตํ า แหน่ ง กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ โดย กรรมการผู้จัดการใหญ่มีส่วนร่วมในการพิจารณาและนําเสนอ ข้อมูล

8. พิ จ ารณาทบทวนกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท และกฎบั ต ร คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยในปี 2560 มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้เนื้อหาสอดคล้องกับหลักการกํากับ ดูแลกิจการทีด ่ ใี นปัจจุบน ั และมีความชัดเจนในแนวทางปฏิบต ั ม ิ าก ยิ่งขึ้น

5. พิ จ ารณารั บ ทราบ Board Diversity ของบริ ษั ท ฯ ประจํา ปี 2560 ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลเกี่ยวกับจํานวนกรรมการอิสระ เพศ อายุ ระยะเวลาการดํ า รงตํ า แหน่ ง และ Board Skill Matrix เพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ประกอบการพิ จ ารณาเสนอแต่ ง ตั้ ง กรรมการที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสม มี ค วามรู้ ค วามสามารถอั น หลากหลาย และเป็นประโยชน์ต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ว ้ ยความ รอบคอบ ซื่อสัตย์สุจริต ตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่กําหนดไว้ใน กฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยยึดมั่น ในหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีอย่างเพียงพอและเหมาะสม เพื่อ ประโยชน์ที่สมดุลและยั่งยืนของผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วน

6. พิ จ ารณารั บ ทราบผลการประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการ สรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ประจําปี 2559 เพื่อเป็นข้อมูลใน การพั ฒ นาการปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องคณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทนตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี

นายการุณ กิตติสถาพร ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

29

บทที่ 6

รายงานประจํ า ปี 2560


รายงานคณะกรรมการ นโยบายความเสี่ยง

เรียน ท่านผู ผ้​้ถือ อห้ หุ้น บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ให้ความสําคัญเป็นอย่างยิ่งกับการบริหารความเสี่ยงแบบยั่งยืนเพื่อเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยได้กําหนดเป็นนโยบายการบริหารความเสี่ยงอย่างชัดเจนและมุ่งพัฒนาให้มีการบริหารความเสี่ยงที่ครอบคลุมทุกกิจกรรม ทางธุรกิจและผลักดันให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการทํางานในองค์กร ซึ่งการระบุปัจจัยเสี่ยงสําคัญ (Key Risk Factors) จะครอบคลุม ทุกมิตท ิ ง ั้ ในระดับองค์กรและในระดับหน่วยธุรกิจเพือ ่ ใช้กลยุทธ์การบริหารความเสีย ่ งทีเ่ หมาะสมในการจัดการกับปัจจัยเสีย ่ งดังกล่าวให้ลดลง อยู่ในระดับที่องค์กรยอมรับได้ ภายใต้การกํากับดูแลของคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยงและดําเนินการบริหารจัดการความเสี่ยงโดย คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ในปี 2560 ที่ผ่านมา คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยงมีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง และคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงมีการประชุมทั้งสิ้น 4 ครั้ง มีผลการดําเนินงานที่สําคัญโดยสรุปดังนี้ 1.

(Operational Risk) 3) ความเสีย ่ งด้านการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย และกฎระเบี ย บ (Compliance Risk) 4) ความเสี่ ย งด้ า น การเงิน (Financial Risk) และ 5) ความเสีย ่ งด้านความปลอดภัย จากภัยอันตราย (Hazard Risk) ซึ่งได้กล่าวถึงรายละเอียด ของความเสี่ยงแต่ละด้านไว้ในหัวข้อ ปัจจัยความเสี่ยง และมี การสํารวจความคิดเห็นจากคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง คณะกรรมการบริหารความเสีย ่ งและผูบ ้ ริหารระดับสูง เพือ ่ ประเมิน ความเสี่ยงที่สําคัญในระดับองค์กรร่วมกัน

ทบทวนประเด็ น ความเสี่ ย งระดั บ องค์ ก รประจํ า ปี โดยมี ก าร พิ จ ารณาถึ ง พลวั ต การเปลี่ ย นแปลงภายนอก ทั้ ง ทางด้ า น เศรษฐกิจ สังคม สภาพภูมิอากาศ และนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อ รู ป แบบการดํ า เนิ น ชี วิ ต และพฤติ ก รรมของ ผู้ บ ริ โ ภค รวมถึ ง การแข่ ง ขั น ที่ รุ น แรงขึ้ น ทั้ ง จากคู่ แ ข่ ง ภายใน อุตสาหกรรมเดียวกันและจากคู่แข่งรายใหม่จากอุตสาหกรรม ทดแทนอืน ่ ๆ ประกอบกับปัจจัยภายใน เพือ ่ กําหนด Risk Universe ซึ่งครอบคลุมความเสี่ยงที่สําคัญ ทั้ง 5 ด้านคือ 1) ความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) 2) ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ

30


2. พิจารณาทบทวนความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ (Emerging Risks) ทีอ ่ าจมีผลกระทบอย่างมีนย ั สําคัญต่อพันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ หรื อ การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โดยคณะกรรมการนโยบาย ความเสี่ยงได้คํานึงถึงความเสี่ยงดังต่อไปนี้ 1) ความเสีย ่ งจากภัยคุกคามด้านไซเบอร์ (Cyber Risk) บริษท ั ฯ ตระหนักถึงภัยคุกคามด้านไซเบอร์ ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นใน ปัจจุบันจากการพึ่งพาเทคโนโลยีและระบบดิจิทัลที่เข้ามามี บทบาทมากขึน ้ ในภาคธุรกิจ ส่งผลให้เกิดการโจรกรรมข้อมูล และการโจมตีผา่ นระบบไซเบอร์ (Cyber-Attack) เพิม ่ มากขึน ้ อย่ า งหลี ก เลี่ ย งไม่ ไ ด้ ซึ่ ง อาจส่ ง ผลกระทบอย่ า งมากต่ อ การดํ า เนิ น งานหรื อ ชื่ อ เสี ย งของบริ ษั ท ฯ โดยบริ ษั ท ฯ มี มาตรการเพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบคอมพิวเตอร์และ ระบบเครือข่ายอย่างต่อเนือ ่ ง ให้มค ี วามทันสมัยและสามารถ ป้องกันภัยจากการโจมตีผ่านระบบไซเบอร์ในรูปแบบต่าง ๆ ผ่ า นการประสานงานกั บ ผู้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการป้ อ งกั น ภั ย จากระบบไซเบอร์ และมี แ ผนความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ (Business Continuity Plan: BCP) ที่ครอบคลุมด้าน เทคโนโลยี ส ารสนเทศให้ ส ามารถกู้ คื น ระบบกลั บ คื น มาได้ ภายในระยะเวลาอันสั้น รวมทั้งภัยด้านไซเบอร์จากพนักงาน ภายในบริษท ั ฯ เอง โดยบริษท ั ฯ ได้ดาํ เนินการโครงการ Data Confidentiality Management เพื่อกําหนดโครงสร้าง การจัดการเอกสารสําคัญ และกําหนดสิทธิเฉพาะผูม ้ อ ี าํ นาจ ผูท ้ เี่ กีย ่ วข้องในการเข้าถึงเอกสาร ข้อมูลต่าง ๆ รวมทัง ้ ลงทุน พัฒนา Hardware และ Software อย่างต่อเนื่อง ให้มี ความทั น สมั ย เพื่ อ รั บ มื อ กั บ อาชญากรรมทางไซเบอร์ รูปแบบใหม่และป้องกันการเข้าถึงข้อมูลโดยผู้ไม่เกี่ยวข้อง ทําให้ข้อมูลที่สําคัญมีความเสถียรและปลอดภัยมากขึ้น 2) ความเสี่ยงจากการกระจายข่าวเชิงลบในสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media Risk) เนื่องจากบริษัทฯ ได้ดําเนินธุรกิจ ด้ า นการบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า ที่ จ ะต้ อ งให้ บ ริ ก ารแก่ ร้ า นค้ า ผู้เช่าและลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการจํานวนมากในแต่ละวัน โดย มีหลายเหตุการณ์ทเี่ กิดขึน ้ ในศูนย์การค้าได้มก ี ารเผยแพร่ขา่ ว ในเชิงลบต่อร้านค้าผูเ้ ช่าหรือต่อการบริหารศูนย์การค้าของ บริ ษั ท ฯ ในสื่ อ สั ง คมออนไลน์ ที่ ส ามารถขยายตั ว เป็ น

3)

4)

5)

6)

วงกว้ า งอย่ า งรวดเร็ ว ซึ่ ง อาจไม่ มี มู ล ความจริ ง หรื อ คลาดเคลื่อนไปจากสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงไปอย่างมาก ทําให้ภาพลักษณ์ที่ดีและความน่าเชื่อถือของบริษัทฯ ได้รับ ความเสียหาย ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความเสี่ยงใน ด้านนี้และมีมาตรการรองรับ โดยมีหน่วยงานติดตามการ ร้องเรียนของลูกค้าในสือ ่ สังคมออนไลน์อย่างต่อเนือ ่ งและจะ ดํ า เนิ น การประสานกั บ ผู้ บ ริ ห ารจากฝ่ า ยที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ การชีแ ้ จงข้อเท็จจริงทีถ ่ ก ู ต้องให้รบ ั ทราบโดยทัว ่ กัน ผ่านฝ่าย ประชาสัมพันธ์ของบริษัทฯ หรือพิจารณาดําเนินการอย่าง เหมาะสมและทั น ต่ อ สถานการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ สร้ า งความ เชื่อมั่นในความปลอดภัยและคุณภาพของการมาใช้บริการ ของศูนย์การค้าให้กับทุกภาคส่วน พิจารณาเห็นชอบการจัดทําทะเบียนข้อมูลความเสีย ่ ง (Risk Register) กําหนดตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สําคัญ (Key Risk Indicator) และระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ติ ด ตามสถานะความเสี่ ย งของความเสี่ ย งที่ สํ า คั ญ และ พิจารณาแผนจัดการความเสีย ่ งทีส ่ อดคล้องเหมาะสม (Risk Response Plan) ของหน่วยงานเจ้าของความเสี่ยง (Risk Owner) ติดตามการบริหารความเสีย ่ งในระดับสาขา โดยมีการทบทวน ่ งเหล่า ความเสีย ่ งทีเ่ กิดขึน ้ ใหม่และจัดทําแผนจัดการความเสีย นั้นในทุกสาขาอย่างต่อเนื่อง พิจารณาเห็นชอบการทบทวนระบบการบริหารความเสีย ่ งให้ เหมาะสมกับการดําเนินธุรกิจและการปฏิบัติงานในปัจจุบัน เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยงได้มีการรายงานผลการบริหาร ความเสี่ยงให้กับคณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างต่อเนื่อง โดยใน ปี ที่ ผ่ า นมา คณะกรรมการนโยบายความเสี่ ย งและคณะกรรมการ บริหารความเสี่ยงได้พิจารณาครอบคลุมปัจจัยเสี่ยงทุกด้าน มีการ บริหารและติดตามความเสี่ยงที่สําคัญอย่างต่อเนื่องและสม่ําเสมอ โดยบริษท ั ฯ ได้บริหารจัดการความเสีย ่ งทีส ่ าํ คัญระดับองค์กรอย่างมี ประสิทธิภาพและอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งได้ช่วยส่งเสริมให้องค์กร ่ าํ หนดไว้ได้อย่าง สามารถบรรลุผลสําเร็จตามวิสย ั ทัศน์และพันธกิจทีก สมบูรณ์

นายไพฑูรย์ ทวีผล ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง

31

บทที่ 7

รายงานประจํ า ปี 2560


รายงานคณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

เรียน ท่านผู้ถือหุ้น คณะกรรมการบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) กําหนดให้บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจภายใต้จรรยาบรรณและนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ด้วยความมุ่งมั่นอย่างต่อเนื่อง ควบคู่กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืนกํากับดูแล ่ ยืน ติดตามแผนงาน และสือ ่ สารให้มก ี ารปฏิบต ั ต ิ ามอย่างทัว ่ ถึงทัง ้ องค์กร โดยในปี 2560 คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยัง มีการประชุมรวมทั้งสิ้น 6 ครั้ง และได้รายงานให้คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทรับทราบตามลําดับ ซึ่งการดําเนินงานที่ สําคัญในปี 2560 มีดังนี้

1.

ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยมีหลักการพืน ้ ฐานในการเปิดเผย ข้อมูล การรักษาข้อมูลภายใน การปฏิบัติต่อกลุ่มผู้มีส่วนได้เสีย อย่างเป็นธรรมและเท่าเทียมกัน รวมทั้งการปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความซื่อสัตย์สุจริต

พิจารณาปรับปรุงจรรยาบรรณและนโยบายการกํากับดูแลกิจการ และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ให้สอดคล้องกับหลัก ั จดทะเบียน ปี 2560 (CG การกํากับดูแลกิจการทีด ่ ส ี าํ หรับบริษท Code) แนวปฏิบัติในการต่อต้านการทุจริต เป็นต้น เพื่อเป็น แนวทางในการดําเนินธุรกิจและให้บุคลากรของบริษัทฯ ยึดถือ ปฏิบัติ โดยที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติตาม ที่เสนอ

3. พิจารณาและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดําเนินงานเพื่อยื่นต่อ อายุการรับรองโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยใน การต่อต้านการทุจริต (CAC Recertification) โดยเสนอต่อ ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบเพื่อพิจารณา และที่ประชุม คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาอนุมัติตามที่เสนอ

2. พิจารณากําหนดจรรยาบรรณนักลงทุนสัมพันธ์ ให้สอดคล้อง กั บ หลั ก เกณฑ์ ข องตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย เพื่ อ ให้ นักลงทุนสัมพันธ์ยึดถือเป็นกรอบแนวทางในการปฏิบัติหน้าที่

32


ของประเทศไทย โดยในอี ก 5 ปี ข้ า งหน้ า กํ า หนดให้ มี ก ารใช้ พลังงานสะอาดคิดเป็นร้อยละ 10 ของการใช้พลังงานทั้งหมด ขององค์กร และดําเนินการผลักดันการเติบโตของเศรษฐกิจระดับ ภูมิภาคอย่างมีนัยสําคัญ

4. พิ จ ารณาและให้ คํ า แนะนํ า แก่ ค ณะทํ า งานในการจั ด กิ จ กรรม รณรงค์สอ ื่ สาร โดยมุง ่ เน้นการสร้างวัฒนธรรมองค์กรทีซ ่ อ ื่ สัตย์ มีน้ําใจ และต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น 5. จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ตนเองตามหลั ก บรรษั ท ภิ บ าล (C G Individual Assessment) สําหรับพนักงานและผู้บริหารเป็น ประจําทุกปี เพือ ่ นําข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาแผนงานการส่งเสริม บรรษัทภิบาลต่อไป

10. ผู้บริหารดําเนินการผลักดันและเป็นแบบอย่างที่ดีในบทบาทผู้นํา ด้านความยัง ่ ยืน (SD Champion) เพือ ่ ให้เกิดผลการดําเนินงาน ตามเป้าหมายความยั่งยืนที่กําหนด และตามหลักบรรษัทภิบาล และจรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจขององค์กร พร้อมพิจารณา ประเด็ น การเปิ ด เผยข้ อ มู ล รวมไปถึ ง รั บ ทราบและติ ด ตาม สถานการณ์ ต ลาดและแนวโน้ ม ของโลกที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปตาม กรอบสิ่งแวดล้อม สังคม และการกํากับดูแลกิจการ หรือ กรอบ ESG (Environment, Social and Governance)

6. นําแนวทาง เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในกรอบสหประชาชาติ (UN-Sustainable Development Goals - SDGs) มาผนวก ในการกําหนดประเด็นสาระสําคัญด้านความยั่งยืน โดยมุ่งเน้นใน เป้าหมายที่สอดคล้องกับบริบทการดําเนินธุรกิจ และสามารถ ผลักดันให้เห็นผลได้อย่างเป็นรูปธรรม

11. สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มโดยการสื่ อ สารและทํ า ความเข้ า ใจตาม ้ ส ี ว ่ นได้ แนวทางการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนตามกรอบ ESG ให้กบ ั ผูม เสียหลักที่สําคัญ ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ร้านค้า ลูกค้า พนักงาน และ สังคม ผ่านกิจกรรมและสื่อประชาสัมพันธ์ที่เหมาะสม ทั้งภายใน และภายนอก

7. พิจารณาทบทวนและอนุมต ั ป ิ ระเด็นสาระสําคัญด้านความยัง ่ ยืน ความเสี่ยงและโอกาสที่มีนัยสําคัญ เพื่อใช้ในการกําหนดกลยุทธ์ ่ ารเป็นศูนย์กลางของการใช้ชว ี ต ิ (Center และแผนดําเนินงานสูก of Life) และศูนย์กลางของชุมชน (Center of Community) โดยบูรณาการพันธกิจความยัง ่ ยืน 10 พันธกิจเดิมในการกําหนด กลยุทธ์องค์กรสู่ความยั่งยืน

ทั้งนี้ ด้วยความร่วมมือของพนักงานและผู้บริหารทุกระดับ ผนวก กั บ ความมุ่ ง มั่ น ติ ด ตามแผนงานและเอาใจใส่ จ ากคณะกรรมการ และคณะทํางานที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง ส่งผลให้ในปี 2560 บริษัทฯ ได้รับการประเมินให้เป็นสมาชิกของดัชนีความยั่งยืน ดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices: DJSI) อย่าง ต่ อ เนื่ อ งเป็ น ปี ที่ สี่ อี ก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ ยั ง ได้ รั บ SET Sustainability Awards 2017 ประเภท Rising Star ในกลุ่มบริษัทที่มีมูลค่าตลาดสูง กว่า 100,000 ล้านบาท จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รวม ไปถึ ง ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล อี ส ต์ วิ ล ล์ ได้ รั บ รางวั ล ด้ า น นวั ต กรรมในการออกแบบ Asia-Pacific Shopping Center Awards 2017 ในหมวด New Developments จากทาง International Council of Shopping Centers (ICSC) ซึง ่ รางวัล เหล่านี้เปรียบเสมือนเครื่องยืนยันความสําเร็จของความตั้งใจจริงใน การดําเนินธุรกิจของบริษท ั ฯ โดยยึดหลักบรรษัทภิบาลและการพัฒนา อย่ า งยั่ ง ยื น อั น คํ า นึ ง ถึ ง ประโยชน์ ข องผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย สั ง คม และ สิ่งแวดล้อม อันนําไปสู่การพัฒนาผลิตภัณฑ์และนวัตกรรมที่ได้รับ การชื่นชม และความสามารถในการเติบโตได้อย่างยั่งยืนอันเป็นที่ ยอมรับอย่างกว้างขวางในระดับสากลอย่างแท้จริง

8. อนุ มั ติ แ ละติ ด ตามแผนดํ า เนิ น งานตามกลยุ ท ธ์ สู่ ค วามยั่ ง ยื น และบู ร ณาการในแผนดํ า เนิ น งานของแต่ ล ะสายงานในห่ ว งโซ่ คุณค่าขององค์กร โดยแบ่งเป็นแผนดําเนินงาน 4 หมวด ได้แก่ ก. การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ (Diversification) ข. นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ความเป็นเลิศในการ บริ ห ารจั ด การและการให้ บ ริ ก าร (Innovation and Operation Excellence) ค. ก า ร ดู แ ล แ ล ะ ส ร้ า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ เ สี ย (Stakeholder Engagement) ง. การจัดหาแหล่งเงินทุนและบริหารการเงินอย่างรอบคอบ (Prudent Financial Management and Funding Strategy) 9. กํ า หนดเป้ า หมายความยั่ ง ยื น ของ CPN ให้ ส อดคล้ อ งกั บ เป้าหมายการพัฒนาทีย ่ ง ั่ ยืนในกรอบสหประชาชาติและเป้าหมาย

นายปรีชา เอกคุณากูล ประธานกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน

33

บทที่ 8

รายงานประจํ า ปี 2560


คณะกรรมการบริษัท

1.

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

12.

ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์

2. นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ

3. นายไพฑูรย์ ทวีผล กรรมการอิสระ

4. นายการุณ กิตติสถาพร กรรมการอิสระ

5. นางโชติกา สวนานนท์ กรรมการอิสระ

6. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ กรรมการอิสระ

7. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ กรรมการ

8. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ

9. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการ

10. นายกอบชัย จิราธิวัฒน์ กรรมการ

11. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการ

12. นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการ

34


รายงานประจํ า ปี 2560

คณะผู้บริหาร

บทที่ 9, 10

1.

1.

2.

3.

4.

5.

นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

2. นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

3. นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ และบริหารโครงการก่อสร้าง

4. นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ

5. นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง

35


พัฒนาการที่สําคัญ ในรอบปี 2560 มีนาคม

กันยายน

CPN ประกาศร่วมทุนกับ DTC พัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพย์รป ู แบบผสม (Mixed-use Development)

จัดตั้งบริษัทร่วมทุน เพื่อรองรับการขยายธุรกิจในอนาคต CPN ร่วมกับ บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม จํากัด จัดตั้ง บ ริ ษั ท ร่ ว ม ทุ น ชื่ อ บ ริ ษั ท ซิ น เ น อ ร์ จิ ส ติ ก พ ร็ อ พ เ พ อ ร์ ตี้ ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด ขึ้น เพื่อศึกษาโอกาสทางธุรกิจในอนาคต ร่ ว มกั น โดยแบ่ ง สั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 50:50 ในบริ ษั ท ร่ ว ม ทุ น ซึ่ ง จั ด ตั้ ง ขึ้ น ด้ ว ย ทุ น จ ด ท ะ เ บี ย น 1 0 0,0 0 0 บ า ท ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 1,000 หุ้น มูลค่าหุ้นละ 100 บาท

ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 2/2560 เมื่ อ วั น ที่ 27 กุ ม ภาพั น ธ์ 2560 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารทํ า รายการได้ ม าและจํ า หน่ า ย ไปซึ่งสินทรัพย์การร่วมทุนระหว่าง CPN กับบริษัทดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) (DTC) เพือ ่ ลงทุนในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ รูปแบบผสม ประกอบด้วย โรงแรม ที่พักอาศัย ศูนย์การค้า และ อาคารสํ า นั ก งาน บนที่ ดิ น บริ เ วณหั ว มุ ม ถนนสี ล มและถนน พระราม 4 กรุงเทพมหานคร ขนาดที่ดินประมาณ 23 ไร่ 2 งาน 2.72 ตารางวา ภายในวงเงิ น ลงทุ น ของ CPN ไม่ เ กิ น 17,393 ล้านบาท โดยเริ่มทยอยลงทุนตั้งแต่ปี 2560-2567

คดีเรียกค่าสินไหมทดแทนจากเหตุเพลิงไหม้โครงการ เซ็นทรัลเวิลด์ จากบริษัท เทเวศประกันภัย จํากัด (มหาชน) สิ้นสุดลง ศาลฎีกาในคดีเรียกค่าสินไหมทดแทนจากเหตุเพลิงไหม้โครงการ เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ใ นปี 2553 จากบริ ษั ท เทเวศประกั น ภั ย จํ า กั ด (มหาชน) ตามกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย คุ้ ม ครองความเสี่ ย งภั ย ทุ ก ชนิ ด มี คํ า สั่ ง ไม่ อ นุ ญ าตให้ ฎี ก า และไม่ รั บ ฎี ก าของบริ ษั ท ฯ อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ได้ทําประกันภัยการก่อการร้ายวงเงิน 3,500 ล้ า นบาท ไว้ อี ก กรมธรรม์ ห นึ่ ง และได้ ดํ า เนิ น การเรี ย กค่ า สิ น ไหม ทดแทนตามกรมธรรม์ดังกล่าว โดยกองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ซึ่ง เป็นบริษัทย่อยของบริษัทฯ และเป็นเจ้าของสิทธิการเช่าโครงการ เซ็นทรัลเวิลด์ได้รับเงินค่าสินไหมดังกล่าวในเดือนกันยายน 2560 เรียบร้อยแล้ว

เมษายน การจ่ายเงินปันผล 0.83 บาทต่อหุ้น ที่ ป ระชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ครั้ ง ที่ 1 ประจํ า ปี 2560 เมื่ อ วั น ที่ 24 เมษายน 2560 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารจ่ า ยเงิ น ปั น ผลจากผลการ ดําเนินงานปี 2559 ในอัตรา 0.83 บาทต่อหุ้น คิดเป็นจํานวนเงิน ปันผลรวม 3,725 ล้านบาท

สมาชิกดัชนีความยั่งยืนของดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices-DJSI) เป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน

พฤษภาคม CPN ประกาศร่วมทุนเพื่อพัฒนาโครงการธีมปาร์คภายใน ศูนย์การค้าเซ็นทรัลภูเก็ต ที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้ ง ที่ 4/2560 เมื่ อ วั น ที่ 31 พฤษภาคม 2560 มี ม ติ อ นุ มั ติ ก ารร่ ว มทุ น เพื่ อ พั ฒ นาโครงการ ธี ม ปาร์ ค ภายในศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต โดยได้ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ร่วมทุน คือ บริษัท ฟีโนมินอน ครีเอชั่น จํากัด ซึ่งถือหุ้นโดยบริษัท บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ จํากัด (ซึ่ง CPN ถือหุ้นทางอ้อม ผ่านบริษัทย่อยในสัดส่วนร้อยละ 99.99) สัดส่วนร้อยละ 51 และ บริษัท ไรท์แมน จํากัด ถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 49 สําหรับมูลค่าการ ลงทุนในโครงการเท่ากับ 550 ล้านบาท

CPN ได้รับคัดเลือกเป็นสมาชิกของดัชนีความยั่งยืน Dow Jones Sustainability Indices (DJSI) ประจําปี 2560 กลุ่มดัชนี DJSI E me rg ing Ma rke ts ห รื อกลุ่ มต ล า ดเ กิ ด ใ ห ม่ ใ นห มวด อุตสาหกรรมพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate) ต่อเนื่องเป็น ปี ที่ 4 โดยเป็ น บริ ษั ท อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ายแรกและรายเดี ย วใน ประเทศไทยที่ได้รับคัดเลือก สะท้อนให้เห็นถึงการดําเนินธุรกิจอย่าง ยั่ ง ยื น และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพโดดเด่ น จนสร้ า งความสํ า เร็ จ และ ค ว า ม เ ชื่ อ มั่ น ทั้ ง จ า ก ลู ก ค้ า แ ล ะ นั ก ล ง ทุ น ร ว ม ทั้ ง ยึ ด ห ลั ก บรรษั ท ภิ บ าลที่ คํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุกฝ่าย

กรกฎาคม

ทริสเรทติ้งเพิ่มอันดับเครดิตองค์กรเป็น ‘AA’ ด้วยแนวโน้ม ‘คงที่’ ทริ ส เรทติ้ ง เพิ่ ม อั น ดั บ เครดิ ต องค์ ก รและหุ้ น กู้ ไ ม่ ด้ อ ยสิ ท ธิ ไม่ มี หลั ก ประกั น ของ บริ ษั ท เซ็ น ทรั ล พั ฒ นา จํ า กั ด (มหาชน) เป็ น ระดับ “AA” จากเดิมที่ระดับ “AA-” สะท้อนถึงสถานะทางการเงิน ของบริ ษั ท ฯ ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ผลมาจากการ ดําเนินงานที่แข็งแกร่งและแหล่งที่มาของรายได้ที่แน่นอน สถานะ ความเป็นผู้นําในธุรกิจศูนย์การค้า ตลอดจนผลงานในการบริหาร ศูนย์การค้าคุณภาพสูง กระแสเงินสดที่สม่ําเสมอจากรายได้ค่าเช่า และบริการ รวมถึงนโยบายทางการเงินที่มีความระมัดระวัง และ แนวโน้มอันดับเครดิต “คงที่” สะท้อนถึงความคาดหวังว่า CPN จะยั ง คงรั ก ษาผลการดํ า เนิ น งานที่ แ ข็ ง แกร่ ง เอาไว้ ไ ด้ อี ก ทั้ ง ยั ง

ซื้อหุ้นบริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด เพื่อได้มาซึ่งสิทธิการ เช่าช่วงที่ดินสําหรับรองรับการขยายธุรกิจ CPN ได้ซื้อหุ้นบริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด จํานวน 26 ล้านหุ้น จากบริษัท พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน) คิดเป็นร้อยละ 65 ของจํานวนหุ้นทั้งหมด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิ การเช่าช่วงที่ดินในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สําหรับรองรับการ ขยายธุรกิจ โดย CPN ได้ทําสัญญาเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560 เป็นไปตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครั้งที่ 3/2560 เมื่อ วันที่ 12 พฤษภาคม 2560

36


รายงานประจํ า ปี 2560

CPN ได้ รั บ รางวั ล Rising Star สํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ เ ริ่ ม ดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนได้โดดเด่น ทั้งนี้ บริษัทที่อยู่ในรายชื่อหุ้น ยั่ ง ยื น เป็ น บริ ษั ท ที่ มี ก ระบวนการจั ด การและบริ ห ารความเสี่ ย ง และห่ ว งโซ่ อุ ป ทานอย่ า งเป็ น ระบบและมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง มี การส่ ง เสริ ม การพั ฒ นานวั ต กรรมทางธุ ร กิ จ และสั ง คมให้ เ กิ ด ขึ้ น ภายในองค์ ก ร สะท้ อ นจากการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ มี ก ารกํ า กั บ ดู แ ล กิ จ การที่ ดี แ ละดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ โดยคํ า นึ ง ถึ ง ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย เพื่ อ ให้ ธุ ร กิ จ มี ก ารเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ควบคู่ ไ ปกั บ การพั ฒ นาสั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งสมดุ ล ตลอดจนสามารถเปิ ด เผยข้ อ มู ล ผลการดํ า เนิ น งานด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า ง ครบถ้วน

พฤศจิกายน เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา ศูนย์การค้าลําดับที่ 31 เปิ ด ให้ บ ริ ก ารอย่ า งเป็ น ทางการเมื่ อ วั น ที่ 3 พฤศจิ ก ายน 2560 เป็ น โครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แบบผสม ยิ่ ง ใหญ่ แ บบ “มหานคร แห่งอีสาน” ประกอบด้วยศูนย์การค้า โรงแรม และคอนโดมิเนียม ตั้งอยู่บนเนื้อที่ 65 ไร่ มูลค่าการลงทุนกว่า 5,100 ล้านบาท โดย มุ่ ง มั่ น เป็ น Lifestyle Innovation และศู น ย์ ก ลางการใช้ ชี วิ ต แห่ ง ใหม่ ที่ ต อบรั บ กั บ รู ป แบบการใช้ ชี วิ ต ของชาวโคราชและ คนอีสานได้ครบ การออกแบบตัวอาคารภายนอก ได้แรงบันดาลใจ จากกลี บ ดอกสะเลเต หรื อ ดอกมหาหงส์ โดยใช้ โ ทนสี ข าวตั ด สี ส้ ม เฉดชมพู ส่ ว นภายในศู น ย์ ก ารค้ า ตกแต่ ง ด้ ว ยแนวคิ ด “Seasons of Life” ในบรรยากาศสีสัน 5 ฤดูกาล ด้วย Interactive Feature ล้ําสมัย

ธันวาคม การแปลงสภาพกองทุนรวมสิทธิการเช่าสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNRF) เป็นทรัสต์เพื่อการลงทุนใน สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) ที่ประชุมผู้ถือหน่วยลงทุนของ CPNRF เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2560 ได้มีมติอนุมัติการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT และการให้ เ ช่ า ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล พั ท ยา บี ช (บางส่วน) และโรงแรมฮิลตัน พัทยา แก่ CPNREIT ในมูลค่า ทรัพย์สินสุทธิเท่ากับ 11,908 ล้านบาท เป็นระยะเวลาประมาณ 20 ปี โดยสิทธิการเช่าจะสิ้นสุดลงในวันที่ 31 สิงหาคม 2580 และได้ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท ซี พี เ อ็ น รี ท แมเนจเม้ น ท์ จํ า กั ด ซึ่ ง เป็ น บริษัทย่อยของ CPN เป็นผู้จัดการกองทรัสต์ของ CPNREIT

เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ศูนย์การค้าลําดับที่ 32 เปิ ด ให้ บ ริ ก ารอย่ า งเป็ น ทางการเมื่ อ วั น ที่ 23 พฤศจิ ก ายน 2560 เพื่อเป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิตของชาวจังหวัดสมุทรสาคร และสมุทรสงคราม และเป็นจุดหมายปลายทางของคนกรุงเทพฯ นั ก เดิ น ทางท่ อ งเที่ ย ว และคนจั ง หวั ด ใกล้ เ คี ย ง ตั้ ง อยู่ ริ ม ถนน พระราม 2 ขาเข้ากรุงเทพฯ บนที่ดิน 100 ไร่ มูลค่าการลงทุนกว่า 3,400 ล้ า นบาท การออกแบบอาคารทั้ ง ภายในและภายนอกใช้ แนวคิ ด “มหานาวา” มี รู ป ทรงคล้ า ยเรื อ เดิ น สมุ ท รขนาดใหญ่ พร้ อ มกั บ บรรยากาศของท่ า เรื อ และหมู่ บ้ า นประมงอั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องสมุ ท รสาคร นอกจากนี้ ยั ง มี โ ซนที่ เ ป็ น จุ ด เด่ น ที่ ไม่ เ คยมี ม าก่ อ น คื อ “EATALAY” ตลาดอาหารทะเลที่ ตื่ น ตา ตื่นใจที่สุด และปักหมุดเป็น “The Best Highway Destination” จุ ด แวะพั ก เติ ม ความสดชื่ น ที่ ดี แ ละสมบู ร ณ์ แ บบที่ สุ ด กั บ ความ สะดวกครบวงจร และห้องน้ําสะอาด

CPNREIT ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2560 และ ได้ ดํ า เนิ น การเช่ า ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล พั ท ยา บี ช (บางส่ ว น) และโรงแรมฮิ ล ตั น พั ท ยา แล้ ว เสร็ จ ในวั น ที่ 1 ธันวาคม 2560 โดยหน่วยทรัสต์ CPNREIT ได้เปิดซื้อขาย วันแรกวันที่ 14 ธันวาคม 2560

เปิดขายคอนโดมิเนียม 3 โครงการ ที่นครราชสีมา เชียงราย และเชียงใหม่ มูลค่า 2.2 พันล้านบาท บริ ษั ท ซี พี เ อ็ น เรซซิ เ ด้ น ท์ จํ า กั ด ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ย่ อ ยของ CPN เปิ ด ตั ว โครงการที่ พั ก อาศั ย ในรู ป แบบคอนโดมิ เ นี ย มบนที่ ดิ น บริ เ วณศู น ย์ ก ารค้ า 3 แห่ ง คื อ เซ็ น ทรั ล พลาซา นครราชสี ม า เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ มูลค่า โครงการรวมประมาณ 2,200 ล้านบาท โดยโครงการทั้ง 3 แห่ง ได้ ผ ลตอบรั บ เป็ น อย่ า งดีอั น เนื่ อ งมาจากความโดดเด่ นด้านทํ า เล ที่ ตั้ ง และรู ป แบบโครงการที่ ต รงตามความต้ อ งการของลู ก ค้ า ทั้งนี้ คาดว่าจะเสร็จและพร้อมโอนได้ในปี 2562

37

บทที่ 11

CPN ได้รับการคัดเลือกเป็น หุ้นยั่งยืน ประจําปี 2560 (Thailand Sustainability Investment: THSI) จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

คาดว่าจะรักษาวินัยทางการเงิน โดยดํารงอัตราส่วนกําไรจากการ ดํา เนิ น งานให้อ ยู่ ใ นระดับ สู งกว่ า ร้อ ยละ 50 และดํารงอั ต ราส่วน เงินกู้รวมที่ปรับปรุงแล้วต่อกําไรก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อม ราคา และค่าตัดจําหน่ายให้อยู่ที่ระดับต่ํากว่า 2 เท่าเอาไว้ได้


สาขา New Dev

elo p en

“T

O

P

D 10

evelopers Awa rd s

t”

” 17 20

ard Aw

m

“Si lve r

รางวัล แห่งความภาคภูมิใจ

02

03

W

Th a il an

ard “Aw

d”

01

รางวัลความสําเร็จ ด้านการออกแบบพัฒนา โครงการ

in ne

r in

en Retail Developm

t

01

02

03

รางวัล “Silver Award สาขา New Development” จากสมาคม ศูนย์การค้าโลก (International Council Shopping Centers) (ICSC) ในงาน ICSC Asia Awards 2017

รางวัล “Award Winner in Retail Development Thailand” จากงาน Asia Pacific Property Awards 2017-2018

รางวัล “Top 10 Developers Awards 2017” จากงาน BCI ASIA AWARDS 2017 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 6

รางวั ล ใหญ่ ร ะดั บ เอเชี ย แปซิ ฟิ ก และเป็ น ที่ ยอมรับในวงการค้าปลีกระดับโลก โดย CPN ไ ด้ รั บ ร า ง วั ล ด้ า น ก า ร พั ฒ น า โ ค ร ง ก า ร ศูนย์การค้าทีโ่ ดดเด่น จากโครงการ เซ็นทรัล เฟสติวัล อีสต์วิลล์ และ เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช ด้วยแนวคิดการออกแบบ ที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น และคอนเซ็ปต์ของ ศูนย์การค้าที่ตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคน ยุ ค ใหม่ ไ ด้ อ ย่ า งลงตั ว สะท้ อ นการเป็ น ผู้ นํ า ในธุรกิจ

ร า ง วั ล 1 0 สุ ด ย อ ด บ ริ ษั ท พั ฒ น า อสังหาริมทรัพย์ดีเด่นของประเทศไทย ที่มี ผลงานการออกแบบโครงการที่โดดเด่น มี คุณภาพ และคํานึงถึงการรักษาสิง ่ แวดล้อม จัดขึ้นโดย BCI Asia ศูนย์กลางข้อมูลของ ธุรกิจก่อสร้างในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก โดย ศูนย์การค้า 2 โครงการที่ได้รับรางวัล คือ เซ็นทรัลภูเก็ต และ เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ซึ่งนับเป็นปีที่ 6 แล้วที่ CPN ได้รับรางวัลนี้

ICSC ได้ ม อบรางวั ล เหรี ย ญเงิ น สาขา การพัฒนาโครงการใหม่ ให้กับศูนย์การค้า เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ ในงาน ICSC Recon Asia-Pacific จัดขึ้นระหว่างวันที่ 23-25 ตุลาคม 2560 ที่ประเทศไทย โดย รางวัลนีถ ้ อ ื เป็นเครือ ่ งยืนยัน ถึงความมุง ่ มัน ่ ของบริ ษั ท ฯ ในการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ให้ ุ ในทุก ๆ ด้านเพือ ่ ตอบโจทย์และเติมเต็ม ดีทส ี่ ด ความต้ อ งการของลู ก ค้ า ได้ ค รบทุ ก มิ ติ อี ก ทั้ ง ยั ง เป็ น การสร้ า งชื่ อ เสี ย งให้ ว งการ ศู น ย์ ก ารค้ า ของไทยได้ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก และได้ รั บ การยอมรับระดับโลก

38


porate Bran C or d

บทที่ 12

p To ’s

Va e lu 017 s2

รางวัลและความสําเร็จ ด้านการบริหารและ การเงิน

“ Th a ila nd

รายงานประจํ า ปี 2560

05

06 การประเมินรายงานการกํากับดูแล กิจการของบริษัทจดทะเบียน ประจําปี 2560 อยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 9

e riv “D

รางวัลความสําเร็จ ด้านการสร้างแบรนด์ และการตลาด

Aw a

le nc e”

04

el xc rds E 2017 Strategy

จัดทําโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริ ษั ท ไทย (IOD) โดยการสนั บ สนุ น จาก ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย CPN ได้ รั บ การประเมิ น ให้ อ ยู่ ใ นเกณฑ์ “ดี เ ลิ ศ ” ตั้งแต่ปี 2552-2560

04

05

07

รางวัล “Thailand’s Top Corporate Brand Values 2017” ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

รางวัล “Drive Awards 2017 Strategy Excellence”

TRIS Rating ปรับเพิ่มอันดับเครดิต องค์กร และหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิ ไม่มี หลักประกันของ CPN เป็น “AA” จาก “AA-”ด้วยแนวโน้ม“คงที่”

รางวั ล ที่ ม อบให้ กั บ บริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีมูลค่า แบรนด์องค์กรสูงทีส ่ ด ุ ในหมวดธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ของไทยด้วยมูลค่าแบรนด์ สู ง ถึ ง 139,199 ล้ า นบาท รางวัลนี้จัดโดย หลั ก สู ต รวิ ท ยาศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขา วิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการ บั ญ ชี จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ร่ ว มกั บ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และสื่ อ ในเครือผู้จัดการ

รางวั ล ที่ ม อบให้ กั บ 7 สุ ด ยอดกลุ่ ม ธุ ร กิ จ องค์ ก รและบุ ค คล ที่ มี ผ ลงานอั น โดดเด่ น ในการขั บ เคลื่อ นเศรษฐกิ จ ในระดั บ มหภาค ได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ล ควบคู่กับการสร้างความเปลี่ยนแปลงทาง สั ง คมอั น ยั ง ประโยชน์ ต่ อ สาธารณชนได้ เป็นอย่างดี ซึ่งจัดขึ้นเป็นปีแรกโดยสมาคม นิ สิ ต เก่ า MBA คณะพาณิ ช ยศาสตร์ แ ละ การบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ ห ลั ก สู ต ร บ ริ ห า ร ธุ ร กิ จ ม ห า บั ณ ฑิ ต ค ณ ะ พ า ณิ ช ย ศ า ส ต ร์ แ ล ะ ก า ร บั ญ ชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย CPN ได้รับ รางวัล Drive Awards 2017 ด้านกลยุทธ์ จากแนวทางการวางกลยุทธ์ที่เด่นชัด และ แนวทางด้านธรรมาภิบาลดีเด่น

39

อันดับเครดิตที่ปรับเพิ่มขึ้นสะท้อนถึงสถานะ ทางการเงิ น ของ CPN ที่ ป รั บ ตั ว ดี ขึ้ น ซึ่ ง เป็ น ผลมาจากการดํ า เนิ น งานที่ แ ข็ ง แกร่ ง และแหล่งที่มาของรายได้ที่แน่นอน สถานะ ความเป็ น ผู้ นํ า ในธุ ร กิ จ ศู น ย์ ก ารค้ า ตลอด จนผลงานในการบริหารศูนย์การค้าคุณภาพ สู ง กระแสเงิ น สดที่ ส ม่ํ า เสมอจากรายได้ ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก าร รวมถึ ง นโยบายทาง การเงิ น ที่ มี ค วามระมั ด ระวั ง และแนวโน้ ม อั น ดั บ เครดิ ต “คงที่ ” สะท้ อ นถึ ง ความ คาดหวั ง ว่ า บริษั ท ฯ จะยั ง คงรั ก ษาผลการ ดําเนินงานที่แข็งแกร่งเอาไว้ได้


“ Th

t” en

ai

la

tainability In ve Sus d stm n

09

“S

ET

7”

09

รางวัลและความสําเร็จ ด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืน

Su sta ina

1 20 s d r bility Awa

08

09

สมาชิก Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI ในกลุ่ม Emerging Markets ประจําปี 2560 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4

รางวัล “SET Sustainability Awards 2017” (บริษัทจดทะเบียน แห่งความยั่งยืน) และ “Thailand Sustainability Investment” (THSI) ประจําปี 2560 จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดย CPN ได้รับรางวัล ดังนี้

CPN เป็ น บริ ษั ท อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องไทย เพียงรายแรกและรายเดียวที่ได้รับคัดเลือก ให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของดั ช นี ค วามยั่ ง ยื น ของ ดาวโจนส์ ใ นกลุ่ ม ตลาดประเทศเปิ ด ใหม่ (Emerging Markets) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 โดย DJSI เป็นดัชนีตลาดหลักทรัพย์ด้าน ความยั่งยืนทางธุรกิจระดับโลกซึ่งเป็นดัชนี อ้างอิงด้านความยัง ่ ยืนทีค ่ รอบคลุมมุมมอง ด้านเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม ดัชนี นี้เป็นความร่วมมือระหว่าง RobecoSAM Indices และ S&P Dow Jones Indices โดย การคัดเลือกบริษท ั ชัน ้ นําในตลาดหลักทรัพย์ ทั่ ว โลกที่ มี ผ ลการดํ า เนิ น งานทางธุ ร กิ จ ที่ โดดเด่นทั้งในด้านของมูลค่าตลาด ด้านการ บริหารจัดการที่มีบรรษัทภิบาลที่ดี และการ คํานึงถึงสังคมและสิ่งแวดล้อม

รางวัล SET Sustainability Awards 2017-Rising Star สํ า หรั บ บริ ษั ท จด ทะเบี ย นที่ เ ริ่ ม มี ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตาม แนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น อย่ า ง โดดเด่น ในกลุม ่ บริษท ั ทีม ่ ม ี ล ู ค่าหลักทรัพย์ ต า ม ร า ค า ต ล า ด สู ง ก ว่ า 1 0 0,0 0 0 ล้านบาท

40

รางวั ล Thailand Sustainability Investment 2017 หรื อ หุ้ น ยั่ ง ยื น ประจําปี 2560 เป็นปีที่ 3 ติดต่อกัน โดย เป็ น รางวั ล สํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะเบี ย นที่ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งยั่ ง ยื น โดยคํ า นึ ง ถึ ง สิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม และบรรษั ท ภิ บ าล (Environmental, So cial, and Governance: ESG) ทีต ่ ลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทยจั ด ทํ า ขึ้ น ให้ ส อดคล้ อ ง ่ เป็นข้อมูล กับมาตรฐานในระดับสากลเพือ ให้ แ ก่ ผู้ ล งทุ น ที่ ต้ อ งการลงทุ น ในหุ้ น ที่ มี คุ ณ ภาพและคาดหวั ง ผลตอบแทนที่ ต่อเนื่องในระยะยาว


บทที่ 12

รายงานประจํ า ปี 2560

าง วลั ร

0

10

ายง าน

6 ี 25 ป ื น ความยั่งย

รางวัลและความสําเร็จ ด้านการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม

10

11

รางวัล “รายงานความยั่งยืน ปี 2560 ประเภทรางวัลเกียรติคุณ” (“Sustainability Report Award 2017-Recognition”) จัดโดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (CSR Club)

รางวัล “Thailand Energy Awards 2017”

รางวัลรายงานความยั่งยืนปี 2560 มอบให้ แก่บริษัทจดทะเบียนที่มีความโดดเด่นในการ เปิ ด เผยข้ อ มู ล การดํ า เนิ น งานครบทุ ก ด้ า น ทัง ้ เศรษฐกิจ สิง ่ แวดล้อม และความรับผิดชอบ ต่อสังคม ทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ ่ นักลงทุนและผูม ้ ี

สุดยอดรางวัลด้านพลังงานไทยระดับสากล รางวัลดีเด่นการลดใช้พลังงานและลดโลก ร้อน เป็นรางวัลที่แสดงความชื่นชมยกย่อง โรงงาน อาคาร บุ ค ลากร และผู้ มี ส่ ว น ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการอนุรก ั ษ์พลังงาน และการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน จั ด โดย กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน (พพ.) กระทรวงพลั ง งาน โดย CPN ได้รับ 3 รางวัล ดังนี้

ส่วนได้เสียทุกกลุ่ม

41

รางวั ล Thailand Energy Awards 2017 ด้ า นอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ประเภท อ า ค า ร - ค ว บ คุ ม ดี เ ด่ น ม อ บ ใ ห้ แ ก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี

รางวั ล Thailand Energy Awards 2017 ด้ า นอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน ประเภท อ า ค า ร - ค ว บ คุ ม ดี เ ด่ น ม อ บ ใ ห้ แ ก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี

รางวั ล Thailand Energy Awards 2017 บุ ค ลากรด้ า นพลั ง งาน ประเภท ผู้ บ ริ ห า ร - อ า ค า ร ดี เ ด่ น ม อ บ ใ ห้ แ ก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์


ภาวะเศรษฐกิจ และอุตสาหกรรม ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2560

การบริโภคภาคเอกชนในประเทศปรับตัวดีขึ้น แต่ยังกระจุกตัวอยู่ใน

ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2560 เติบโตในอัตราที่สูงกว่าปีก่อน

โดยเฉพาะรถยนต์นั่งที่มีอัตราการเติบโตสูง และยอดใช้จ่ายด้านการ

กลุ่มผู้มีรายได้ระดับกลางและบน สะท้อนจากยอดขายสินค้าคงทน หน้า โดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ขยายตัวร้อยละ

บริ ก าร ขณะที่ ก ารบริ โ ภคสิ น ค้ า อุ ป โภคบริ โ ภคและสิ น ค้ า กึ่ ง คงทน

3.9 เทียบกับร้อยละ 3.2 ในปีก่อนหน้า เนื่องจากการฟื้นตัวของ

โดยรวมขยายตั ว ช้ า ตามกํ า ลั ง ซื้ อ โดยรวมที่ ยั ง ไม่ เ ข้ ม แข็ ง และ

การส่ ง ออกสิ น ค้ า และบริ ก ารเป็ น ตั ว ขั บ เคลื่ อ นหลั ก โดยมู ล ค่ า

กระจายตัวไม่ทั่วถึง เนื่องจากรายได้ครัวเรือนภาคเกษตรกรรมที่ยัง

การส่ ง ออกขยายตั ว ร้ อ ยละ 9.9 เป็ น อั ต ราการขยายตั ว สู ง สุ ด

ไม่ฟน ื้ ตัวชัดเจนและหนีภ ้ าคครัวเรือนทีย ่ ง ั อยูใ่ นระดับสูง ขณะทีร่ ายได้

ในรอบ 6 ปี ตามการฟื้นตัวของการค้าโลกและภาคการท่องเที่ยว

ครัวเรือนนอกภาคเกษตรกรรมค่อนข้างทรงตัว

ที่เติบโตต่อเนื่องจากภาพรวมนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางมายัง ประเทศไทยจํานวน 35.4 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 จากปีก่อนหน้า

การลงทุนโดยรวมในประเทศขยายตัวในอัตราทีล ่ ดลงจากปีกอ ่ นหน้า

ขณะที่การบริโภคภาคเอกชนปรับตัวขึ้นเพียงเล็กน้อยโดยขยายตัว

เป็นผลจากการลงทุนภาครัฐที่ขยายตัวเพียงร้อยละ 1.8 จากที่เคย

ร้อยละ 3.2 เทียบกับร้อยละ 3.1 การลงทุนโดยรวมขยายตัวในอัตรา

เติบโตร้อยละ 9.9 ในปีก่อนหน้า ขณะที่การลงทุนภาคเอกชนปรับ

ที่ชะลอลงจากร้อยละ 2.8 เป็นร้อยละ 2.0 จากความล่าช้าของการ

ตัวดีขึ้นเล็กน้อยที่ร้อยละ 2.2 จากร้อยละ 0.4 โดยเป็นการปรับเพิ่ม

ลงทุนภาครัฐ ในขณะที่อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ 0.7 เร่งขึ้น

ขึ้นจากกลุ่มผู้ผลิตเพื่อส่งออกเป็นสําคัญ เช่น ธุรกิจเกษตรแปรรูป

่ ขึน ้ จากราคานา้ํ มันดิบ จากปีกอ ่ นหน้า เนือ ่ งจากปัจจัยด้านต้นทุนเพิม

และธุรกิจชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนของการลงทุนของธุรกิจ

และราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกทีป ่ รับเพิม ่ ขึน ้ และอัตราดอกเบีย ้

ค้าปลีก เช่น การค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) ยังมีการขยาย

นโยบายคงที่ที่ร้อยละ 1.5

การลงทุนและขยายสาขาอย่างต่อเนื่องในปีนี้

การส่ ง ออกสิ น ค้ า ปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น และเป็ น แรงขั บ เคลื่ อ นหลั ก ของ

แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2561

เศรษฐกิจไทย ตามการฟื้นตัวเศรษฐกิจและการค้าโลกที่เป็นไปอย่าง ต่อเนื่อง ตลาดส่งออกสําคัญทั้งในเอเชีย ยุโรป และสหรัฐอเมริกา

เศรษฐกิจไทยในปี 2561 มีแนวโน้มเติบโตต่อเนือ ่ งในอัตราทีใ่ กล้เคียง

ปรับตัวดีขน ึ้ โดยเฉพาะประเทศจีนทีก ่ ลับมาขยายตัวสูง ส่งผลให้ความ

กับปีก่อนหน้า โดยมีแรงขับเคลื่อนที่สําคัญจากการลงทุนภาครัฐใน

ต้องการในสินค้าหลายอย่างปรับตัวดีขึ้น เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์

โครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ รวมถึงการลงทุนในโครงการพัฒนา

ยานพาหนะ และเครื่องใช้ไฟฟ้า รวมถึงปัจจัยบวกด้านราคาส่งออก สิ น ค้ า เกษตรและสิ น ค้ า ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ น้ํา มั น ที่ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น ตาม แนวโน้มราคาน้ํามัน ส่งผลให้การส่งออกสินค้าของไทยปีนี้ปรับตัว

ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC) การส่งออกของไทยยังได้รับผลดีจากเศรษฐกิจโลกที่ฟื้นตัว อย่างต่อเนื่อง ส่งผลดีต่อภาคอุตสาหกรรมส่งออกที่มีอัตราการ

ดีขึ้นมาก

ใช้กาํ ลังการผลิตเพิม ่ ขึน ้ ต่อเนือ ่ ง ประกอบกับการใช้จา่ ยภาคครัวเรือน

การท่ อ งเที่ ย วมี บ ทบาทสํ า คั ญ ในการขั บ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ ไทย

มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นและกระจายตัวมากขึ้นจากมาตรการของรัฐที่

เนื่องจากหน่วยงานภาครัฐได้ผลักดันให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลาง

ให้ความสําคัญกับเกษตรกรและผูม ้ รี ายได้นอ ้ ย และการพัฒนา SMEs

การท่องเที่ยวอาเซียน พร้อมกับทําตลาดผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยว

ให้มีความเข้มแข็งและการจ้างงานและฐานรายได้ของประชาชนใน

ใหม่ที่ช่วยกระจายเม็ดเงินลงสู่ภาคธุรกิจอื่นนอกเหนือจากธุรกิจที่

ระบบเศรษฐกิจปรับตัวในทิศทางที่ดีขึ้นเช่นกัน นอกจากนี้ ภาคการ

เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยวโดยตรง โดยนักท่องเที่ยวชาวจีนเที่ยว

ท่องเที่ยวที่มีแนวโน้มสดใสต่อเนื่อง จากการที่ภาครัฐและหน่วยงาน

ไทยยังคงเป็นตลาดทีม ่ ข ี นาดใหญ่และมีความสําคัญ ซึง ่ ผูป ้ ระกอบการ

ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงภาคเอกชนมีแผนจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเพื่อ

ธุรกิจไทยได้ให้ความสําคัญในการทําตลาดเจาะกลุ่มนักท่องเที่ยวจีน

ดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติอย่างเข้มข้น โดยเฉพาะการหันมาทํา

ต่อเนื่อง อีกทั้งธุรกิจสถาบันการเงินและธุรกิจค้าปลีกยังได้นําเสนอ

ตลาดท่ อ งเที่ ย วใหม่ ที่ เ น้ น กิ จ กรรมอื่ น ๆ เพิ่ ม ขึ้ น เพื่ อ กระตุ้ น การ

เครือ ่ งมือทางการเงินอย่าง Alipay และ We Chat Pay เพือ ่ อํานวย

ท่องเที่ยวและช่วยหนุนรายได้การท่องเที่ยวกระจายลงสู่ชุมชน อาทิ

ความสะดวกสําหรับการใช้จา่ ยของนักท่องเทีย ่ วชาวจีน ซึง ่ มีจาํ นวน

การท่องเที่ยวเชิงอาหาร (Gastronomy Tourism) การขยายตลาด

เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 12.0 จากปี ก่ อ นหน้ า เช่ น เดี ย วกั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว

นั ก ท่ อ งเที่ ย วต่ า งชาติ ก ลุ่ ม ไมซ์ (MICE) อย่ า งกลุ่ ม การเดิ น ทาง

ชาวรั ส เซี ย ที่ ฟื้ น ตั ว ต่ อ เนื่ อ งและขยายตั ว ถึ ง ร้ อ ยละ 23.5 จากปี

ท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล การตลาดท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ (Health

ก่อนหน้า ส่งผลให้รายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติอยู่ที่ 1.8 ล้าน

and Wellness) อีกตลาดการท่องเที่ยวที่น่าจะโดดเด่น คือ การ

ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.0

ท่องเที่ยวเชิงกีฬา (Sport Tourism) ซึ่งจะมีการจัดการแข่งขันกีฬา ระดับนานาชาติหลายรายการโดยมีรายการที่เกิดขึ้นใหม่ด้วยเช่นกัน

42


บทที่ 13

รายงานประจํ า ปี 2560

ภาพรวมอุตสาหกรรมค้าปลีกปี 2560

ศูนย์การค้าขนาดย่อม ร้อยละ 14 และพื้นที่ค้าปลีกสนับสนุนประมาณ ร้อยละ 6 และห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ ร้อยละ 2 ตามลําดับ และภาพรวม

อุตสาหกรรมค้าปลีกในไทยคิดเป็นร้อยละ 15 ของ GDP รวมทั้ง

อั ต ราการเช่ า พื้ น ที่ ค้า ปลี ก (Occupancy Rate) สู ง กว่ า ร้ อ ยละ

ประเทศและในปี 2560 มีการเติบโตในอัตราร้อยละ 4.2 โดยมีกาํ ลังซือ ้

90 (ที่มา: รายงานวิจัยพื้นที่ค้าปลีกไตรมาส 4 ปี 2560 ของบริษัท

ส่ ว นใหญ่ จ ากกลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ มี ร ายได้ ร ะดั บ กลางและระดั บ บน และ

คอลลิเออร์ส อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทยจํากัด)

ผูม ้ รี ายได้ประจํา ขณะทีผ ่ บ ู้ ริโภคทีม ่ รี ายได้ระดับปานกลางและระดับล่าง

กลุ่มศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า

และกลุม ่ เกษตรกรในต่างจังหวัดยังมีภาระหนีค ้ รัวเรือนยังอยูใ่ นระดับ สูงและราคาสินค้าเกษตรอยู่ในระดับตํ่า รวมทั้งมาตรการจัดระเบียบ

สมาคมศูนย์การค้าไทย (Thai Shopping Center Association:

ของทางการ เช่น การห้ามขายของบนทางเท้า การปราบปรามทุจริต

TSCA) เปิดเผยข้อมูลพื้นที่โครงการ (Retail Gross Floor Area)

และการตรวจสอบที่เข้มข้นส่งผลให้ครัวเรือนกลุ่มฐานรากมีรายได้

ของศู น ย์ ก ารค้ า ทั้ ง หมดในประเทศไทยปี 2560 อยู่ ที่ 19.0

น้อยลงจึงระมัดระวังการใช้จ่าย

ล้ า นตารางเมตร และคาดการณ์ ภ ายในปี 2562 จะอยู่ ที่ 20.9 รายงานวิจัยของบริษัท คอลลิเออร์ส อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย

ล้านตารางเมตร โดยพื้นที่โครงการ (Retail GFA) ของสมาชิก

จํากัด เปิดเผยว่า ตลาดค้าปลีกมีการขยายตัวต่อเนื่อง แต่ในอัตราที่

สมาคม TSCA ที่ประกอบด้วย 13 ผู้ประกอบการธุรกิจศูนย์การค้า

ช้าลง โดยในปี 2560 มีพื้นที่ค้าปลีกประมาณ 334,845 ตารางเมตร

(บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) บริษท ั ซีคอน ดีเวลลอปเมนท์

ส่งผลให้พื้นที่ค้าปลีกรวมทั้งหมดในกรุงเทพมหานครและพื้นที่โดย

จํากัด (มหาชน) บริษัท สยามพิวรรธน์ จํากัด บริษัท เอ็ม บี เค จํากัด

รอบอยูท ่ ป ี่ ระมาณ 7,878,669 ตารางเมตร โดยพืน ้ ทีค ่ า้ ปลีกประมาณ

(มหาชน) บริ ษั ท รั ง สิ ต พลาซ่ า จํ า กั ด บริ ษั ท สยามฟิ ว เจอร์

ร้อยละ 78 ของพืน ้ ทีค ่ า้ ปลีกทีเ่ ปิดในปี 2560 คือ ศูนย์การค้า ตามด้วย

ดีเวลอปเมนท์ จํากัด (มหาชน) บริษัท แอล เอช มอลล์ แอนด์ โฮเทล

43


การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิต และตรงกับความต้องการของกลุ่ม

จํากัด บริษัท เดอะ แพลทินัม กรุ๊ป จํากัด (มหาชน) บริษัท เค.อี.แลนด์ จํากัด บริษัท เดอะมอลล์กรุ๊ป จํากัด บริษัท อินเด็กซ์ ลิฟวิ่งมอลล์

ลูกค้าเป้าหมายและนักท่องเที่ยว ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงและขยาย

จํากัด บริษัท แปซิฟิค พาร์ค ศรีราชา จํากัด และ บริษัท บุญถาวร

โครงการ การหาผู้เช่าใหม่ ๆ ที่มีความหลากหลายและแปลกใหม่ การ

เซรามิค จํากัด) ปี 2560 อยู่ที่ 8.0 ล้านตารางเมตร โดยจํานวน

ใช้กจ ิ กรรมทางการตลาดเพือ ่ รักษาฐานลูกค้าเดิมทีม ่ อ ี ยูแ ่ ละขยายฐาน

ศูนย์การค้าของสมาชิก TSCA ภายในสิ้นปี 2560 มี 97 ศูนย์การค้า

ลูกค้าในกลุ่มใหม่ ๆ ต่อเนื่องไปจนถึงการจัดให้โครงการมีสิ่งอํานวย

และภายในปี 2562 จะเพิม ่ ขึน ้ เป็น 9.1 ล้านตารางเมตร และคาดการณ์

ความสะดวกต่าง ๆ ทีค ่ รบครัน โดยทัง ้ หมดนีต ้ อ ้ งอาศัยความชํานาญ

ว่าจะเพิ่มเป็น 107 ศูนย์การค้า และงบลงทุนรวมของสมาชิก TSCA

ในการบริหารภายใต้ต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งถือเป็นความท้าทายของ

(รวมโครงการใหม่ และโครงการปรับปรุงและขยายพื้นที่) คาดว่าปี 2560-2562 ใช้งบลงทุนไม่ตํา่ กว่า 57,000 ล้านบาท

ผู้ประกอบการกลุ่มนี้

กลุ่มห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ (Hypermarket) และร้านสะดวกซื้อ (Convenience Store)

โครงการใหม่ที่เกิดขึ้น ในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย โชว์ดซ ี ี เซ็นจูรี่ เดอะมูฟวี่ พลาซ่า อ่อนนุช และ

โครงการในกลุม ่ ห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ทเี่ ปิดให้บริการใหม่มไี ม่มากนัก

เมกาบางนา เฟส 2 และการปรับปรุงศูนย์การค้าเดิม อาทิ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 คิง เพาเวอร์ รางนา้ํ MBK เซ็นเตอร์ ซีคอน

โดยปัจจุบน ั ผูป ้ ระกอบการมุง ่ พัฒนาโครงการในรูปแบบร้านค้าขนาดเล็ก ในลักษณะใกล้เคียงกับร้านสะดวกซือ ้ กึง ่ ซูเปอร์มาร์เก็ต หรือ ทีเ่ รียกว่า

สแควร์ และมาร์ เ ก็ ต เพลส นางลิ้ น จี่ และภายในปี 2562 จะมี

“ซูเปอร์คอนวีเนียนสโตร์” และร้านสะดวกซือ ้ (Convenience Store)

โครงการศู น ย์ ก ารค้ า เปิ ด ใหม่ ได้ แ ก่ เซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต ไอคอนสยาม

เช่น มินิบิ๊กซี เทสโก้โลตัสเอ็กซ์เพรส ท็อปส์ เดลี่ และแม็กซ์แวลู ทันใจ

เดอะมาร์เก็ตแบงคอก และเทอร์มินอล 21 พัทยา

รวมไปถึงการพัฒนาโครงการในรูปแบบตลาด เพือ ่ ให้การขยายสาขา

ในสภาวะตลาดปัจจุบน ั ผูป ้ ระกอบการศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้า

เป็ น ไปได้ ง่ า ยครอบคลุ ม กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ ห ลากหลายและเข้ า ถึ ง พื้ น ที่

ได้ เ ผชิ ญ กั บ ความท้ า ทายจากพฤติ ก รรมการจั บ จ่ า ยใช้ ส อยของ

ห่างไกลมากขึน ้ อีกทัง ้ ยังมีการใช้ชอ ่ งทางออนไลน์เข้ามาเพือ ่ อํานวย

ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป โดยเน้นความสะดวกรวดเร็วและประสบการณ์

ความสะดวกในการจั บ จ่ า ยสิ น ค้ า ของกลุ่ ม ลู ก ค้ า เป้ า หมาย ซึ่ ง ใน

ใหม่ ๆ รวมทั้งความท้าทายจากการเติบโตของตลาดสินค้าออนไลน์

อนาคตอั น ใกล้ ช่ อ งทางนี้ น่ า จะช่ ว ยเพิ่ ม รายได้ อ ย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ

(Online Shopping) การเกิดขึน ้ ของ Lifestyle Retail ซึง ่ ออกแบบ

เนือ ่ งจากพฤติกรรมของผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นมาให้ความสําคัญกับความ

การใช้พื้นที่ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของผู้บริโภคและนักท่องเที่ยว

สะดวกรวดเร็ว

รวมทั้ ง การเติ บ โตอย่ า งรวดเร็ ว ของบริ ก ารส่ ง อาหาร (Food

สําหรับภาพรวมกลุม ่ ร้านค้าสะดวกซือ ้ เน้นการขยายสาขาเพิม ่ ขึน ้ อย่าง

Delivery Services) ส่งผลให้ความถีใ่ นการใช้บริการห้างสรรพสินค้า

ต่อเนือ ่ งเพือ ่ ให้ครอบคลุมพืน ้ ทีต ่ า่ ง ๆ ให้มากทีส ่ ด ุ และเริม ่ มุง ่ เน้นการ

และศูนย์การค้ามีแนวโน้มน้อยลง ปัจจัยเหล่านี้เพิ่มความท้าทายให้

ขยายสาขาผ่านการขายแฟรนไชส์ นอกจากนี้ ยังมีการปรับตัวเพื่อให้

กับผู้ประกอบการศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าในการดึงดูดลูกค้า

เข้ากับวิถีการดําเนินชีวิตของคนในปัจจุบัน โดยเน้นการเป็นร้านอิ่ม

ให้เข้ามาใช้บริการ ผู้ประกอบการจึงต้องปรับเปลี่ยนแผนกลยุทธ์ใน

สะดวกที่มีเครื่องดื่มและอาหารถูกสุขลักษณะที่หลากหลายในราคาที่

รูปแบบใหม่ ๆ และพัฒนาการบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนอง

เหมาะสมสําหรับทุกเพศทุกวัย มีสน ิ ค้าทีต ่ อบสนองความต้องการของ

ความต้องการที่เปลี่ยนไปของลูกค้าและส่งมอบประสบการณ์ใหม่ ๆ

ผู้บริโภคในแต่ละพื้นที่ เน้นการให้บริการที่รวดเร็ว รูปแบบทันสมัย

อยู่เสมอ

และนําเทคโนโลยีมาใช้มากขึ้น โดยรุกธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce) จําหน่ายสินค้าออนไลน์ (Online Shopping) เพือ ่

กลุ่มศูนย์การค้าขนาดย่อม (Community Mall) และ ศูนย์การค้าไลฟ์สไตล์ (Lifestyle Retail)

อํานวยความสะดวกให้ลก ู ค้าสามารถเข้ามาเลือกซือ ้ สินค้าทีต ่ อ ้ งการ ได้อย่างรวดเร็ว และยังมีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ทีส ่ ามารถสือ ่ สารกับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิผล นอกจากนี้ การลงทุน

ในปี 2560 ธุรกิจค้าปลีกในกลุม ่ ศูนย์การค้าขนาดย่อมมีจาํ นวนเพิม ่ ขึน ้ ต่ อ เนื่ อ ง แม้ จ ะขยายตั ว ช้ า ลงจากหลายปี ก่ อ น โดยในปี นี้ มี ก าร

จากกลุ่มทุนต่างประเทศที่มีมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ประกอบการรายใหญ่

ขยายตัวขึ้น 27,700 ตารางเมตร และมีโครงการที่เปิดตัวในปี 2560

ต้องมุ่งเน้นการขยายสาขาและจัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด เพื่อ

อาทิ ช่างชุ่ย ซัมเมอร์ฮิลล์ สเตเดียมวัน แลนด์มาร์ค มหาชัย และ

สร้างและรักษาความสัมพันธ์กับลูกค้าให้มากขึ้น

ล้ง 1919 เป็นต้น

แนวโน้มภาวะอุตสาหกรรมค้าปลีกปี 2561

ภาพรวมตลาดอุ ต สาหกรรมค้ า ปลี ก ค้ า ส่ ง ในรู ป แบบโครงการ ศูนย์การค้าขนาดย่อมนีม ้ ก ี ารแข่งขันสูง ทําให้ผป ู้ ระกอบการในกลุม ่ นี้

สมาคมศูนย์การค้าไทยคาดว่า ในปี 2561 ธุรกิจค้าปลีกจะเติบโต

ต้ อ งปรั บ ตั ว เพื่ อ สร้ า งความแตกต่ า ง สามารถตอบสนองต่ อ

ประมาณร้อยละ 4.0-5.0 ท่ามกลางภาวะการจับจ่ายใช้สอยอย่าง

44


รายงานประจํ า ปี 2560

ซึ่ ง สอดคล้ อ งกั บ รายงานวิ จั ย ของบริ ษั ท คอลลิ เ ออร์ ส อิ น เตอร์

เกิดการจ้างงานในหลายพืน ้ ทีข ่ องประเทศและเพิม ่ กําลังซือ ้ ในวงกว้าง

เนชัน ่ แนล ประเทศไทย จํากัด ทีค ่ าดว่า ปี 2561 ธุรกิจค้าปลีกจะเติบโต

ทําให้กลุม ่ ค้าปลีกมีความสนใจในการพัฒนาโครงการในจังหวัดอืน ่ ๆ

ประมาณร้ อ ยละ 4.0-5.0 เนื่ อ งจากจะมี ก ารเปิ ด ตั ว โครงการ

เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มแนวชายแดนและหัวเมืองหลักในทุกภาค

ค้าปลีกรูปแบบใหม่มากขึน ้ ซึง ่ เริม ่ มีสญ ั ญาณตัง ้ แต่เดือนพฤศจิกายน

ของประเทศไทย และด้วยปัจจัยเหล่านีท ้ าํ ให้ซเู ปอร์สโตร์มอลล์ (Super

2560 คือ การเปิดตัวเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ตามด้วยโครงการ

Store Mall) และร้านขายสินค้าเฉพาะอย่าง (Specialty Store) หลายโครงการได้ ท ยอยเปิ ด ให้ บ ริ ก ารในจั ง หวั ด ชายแดน ในขณะ เดียวกัน ผูป ้ ระกอบการศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าได้ประกาศแผน พัฒนาโครงการศูนย์การค้าในกลุ่มจังหวัดดังกล่าว

เมกาบางนา เฟส 2 ของสยามฟิวเจอร์ ดีเวลอปเมนท์ โครงการไอคอน สยาม ของกลุ่มสยามพิวรรธน์ และโครงการมาร์เก็ต แบงคอก ของ กลุ่มแพลทินัม ส่งผลให้พื้นที่ค้าปลีกเพิ่มขึ้นเป็น 9.0 ล้านตารางเมตร ในปี 2562 โดยการเพิ่มขึ้นของอุปทานเป็นไปตามอุปสงค์ในตลาดที่

การแข่งขันของธุรกิจค้าปลีกในระยะข้างหน้าจะไม่ได้ถูกจํากัดเพียง แค่กลุ่มผู้ประกอบการค้าปลีกอีกต่อไป แต่จะมีผู้เล่นหน้าใหม่ที่เป็น ผู้ประกอบการ E-Commerce และผู้ประกอบการนอกกลุ่มธุรกิจ ค้าปลีกเข้ามามีสว ่ นร่วม ส่งผลให้ผค ู้ า้ ปลีกโดยเฉพาะกลุม ่ ผูป ้ ระกอบการ ที่มีหน้าร้าน (Offline) เผชิญกับความท้าทายในการแข่งขันที่รุนแรง ขึน ้ และแตกต่างกันไป ยิง ่ มีการรุกเข้ามาของกลุม ่ ตลาดกลางออนไลน์ (E-Market Place) ต่างชาติรายใหญ่ เช่น จีน เกาหลีใต้ ที่มีแผนบุก ตลาดออนไลน์ ข องไทยรวมถึ ง อาเซี ย นอย่ า งเต็ ม รู ป แบบ อี ก ทั้ ง สัญญาณการเติบโตของธุรกิจ E-Commerce ที่คาดว่าในปี 2561 น่าจะขยายตัวร้อยละ 20-25 ต่อเนือ ่ งจากปี 2560 หรือคิดเป็นมูลค่า ตลาดราว 256,000 ล้านบาท

ยังเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากการขยายตัวของการใช้จ่ายของผู้บริโภคใน เมือง โดยเฉพาะกลุม ่ นักท่องเทีย ่ วต่างชาติ ส่งผลให้ผเู้ ช่าส่วนใหญ่ยง ั มีความต้องการเช่าพื้นที่และขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ทําให้อัตรา ค่าเช่าและอัตราการเช่าในปี 2561 ยังมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้น ศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดใหญ่ ที่ ค าดว่ า จะเปิ ด บริ ก ารในปี 2561 ใน กรุงเทพมหานคร ได้แก่ โครงการไอคอนสยาม ย่านริมแม่นา้ํ เจ้าพระยา ซึ่งจะเป็นโครงการในรูปแบบพื้นที่แบบผสม (Mixed-use) ประกอบ ด้วยศูนย์การค้า ที่พักอาศัย และศูนย์รวมความบันเทิง และแหล่ง ช้อปปิง ้ ขนาดกลาง อาทิ ศูนย์การค้าเกตเวย์ ย่านบางซือ ่ ศูนย์การค้า เดอะมาร์เก็ต แบงคอก ย่านราชประสงค์ โครงการวิสซ์ดอม 101 ย่านพระโขนง และห้างอิเกียที่ตั้งอยู่ในโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัล

การเปลีย ่ นแปลงของโลกดิจท ิ ล ั จะส่งผลต่อพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคทีน ่ ย ิ ม ซื้อสินค้าและบริการ ดังนั้น การเข้าใจพฤติกรรมหรือไลฟ์สไตล์ของ ลูกค้าเป้าหมายให้ได้มากที่สุดคือกุญแจสําคัญในการทําธุรกิจ ซึ่งใน ปี 2561 คาดว่าผูป ้ ระกอบการค้าปลีกทุกรายจะนําเทคโนโลยีเข้ามาช่วย ในการวิเคราะห์ขอ ้ มูลทีเ่ กีย ่ วข้องกับผูบ ้ ริโภค (Big Data) กันมากขึน ้ ทั้งเทคโนโลยี Data Analytics หรือเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และ นําข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์มาบริหารจัดการและเชื่อมโยงธุรกิจ ค้าปลีก Online to Offline (O2O) ให้เหมาะสมมากที่สุด

พลาซา เวสต์เกต ย่านบางใหญ่ โดยคาดว่าพื้นที่ค้าปลีกในกรุงเทพฯ และปริมณฑล (Net Retail Area) จะเพิ่มขึ้นประมาณ 489,000 ิ อล ตารางเมตร สําหรับโครงการทีจ ่ ะเปิดในต่างจังหวัด ได้แก่ เทอร์มน 21 พัทยา ของกลุ่มสยามรีเทล และเซ็นทรัลภูเก็ต ส่วนในปี 2562-2564 คาดว่าจะมีแหล่งช้อปปิ้งขนาดใหญ่เกิดขึ้น 4 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร ได้แก่ 1) วัน แบงค็อก (One Bangkok) เป็นโครงการที่พัฒนาโดยกิจการร่วมทุนระหว่างบริษัท ทีซีซี แอส เซ็ ท ส์ (ประเทศไทย) จํ า กั ด กั บ บริ ษั ท เฟรเซอร์ ส พร็ อ พเพอร์ ตี้

ภาวะอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัยปี 2560

โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) จํากัด บนที่ดินบริเวณหัวมุมถนนวิทยุตัดกับ ถนนพระราม 4 ติดกับสวนลุมพินี 2) โครงการสามย่านมิตรทาวน์ เป็นโครงการ Mixed-use ของบริษัท แผ่นดินทอง พร็อพเพอร์ตี้

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในปี 2560 มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ตามภาวะ เศรษฐกิ จ โดยรวมที่ ท ยอยปรั บ ตั ว ดี ขึ้ น เนื่ อ งจากมี ห ลายปั จ จั ย สนับสนุนทั้งการลงทุนของภาครัฐและการลงทุนของชาวต่างชาติ ในประเทศไทยที่เพิ่มมากขึ้น อัตราดอกเบี้ยที่ยังอยู่ในระดับคงที่ และ สถาบันการเงินเพิ่มปริมาณการปล่อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยมากขึ้น โดยประเภทอสังหาริมทรัพย์ทเี่ ป็นทีน ่ ย ิ มสําหรับการซือ ้ ไว้เพือ ่ อยูอ ่ าศัย และเพื่อการลงทุน คือ คอนโดมิเนียม ทําเลยอดนิยมจะอยู่ในย่าน ศูนย์กลางธุรกิจ (Central Business District: CBD) แนวรถไฟฟ้า และกําลังซือ ้ หลักยังมาจากลูกค้าระดับกลาง-บน ทัง ้ นี้ ผูป ้ ระกอบการ ้ ทีเ่ ส้นทาง ส่วนใหญ่เน้นการลงทุนพัฒนาโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยตามพืน ขนส่งมวลชน เช่น ส่วนต่อขยายสถานีรถไฟฟ้า เป็นต้น และมีรูปแบบ

ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด (มหาชน) คาดว่าจะเปิดในช่วงปลายปี 2562 3) ศูนย์การค้าบางกอก มิดทาวน์ บนถนนรัชดาภิเษก ของกลุ่ม พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค และ 4) ศูนย์การค้าเอ็มสเฟียร์ เป็นห้างแห่งที่ 3 ในกลุ่ม ดิ เอ็มดิสทริค ย่านพร้อมพงษ์ ของกลุ่มเดอะมอลล์ นอกจากนี้ การเร่งพัฒนาโครงสร้างพืน ้ ฐานด้านคมนาคมขนส่งของ รัฐบาล การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศ และโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) จะส่งผลให้มีการเชื่อมโยงของกิจกรรมทางเศรษฐกิจทั้งในประเทศ และต่ า งประเทศมากขึ้ น ในระยะยาว รวมทั้ ง เม็ ด เงิ น ลงทุ น ทั้ ง จาก ภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะนักลงทุนต่างชาติที่ได้เริ่มลงทุน

45

บทที่ 13

ตั้งแต่ช่วงปลายปี 2560 และต่อเนื่องในอีกหลายปี ซึ่งจะส่งผลให้

ระมัดระวัง โดยจะเห็นการเปิดตัวโครงการค้าปลีกรูปแบบใหม่มากขึ้น


การพัฒนาและขายที่อยู่อาศัยแตกต่างกันตามทําเลและกลุ่มลูกค้า หากเป็นใจกลางเมืองทําเลมีศักยภาพ จะเห็นการพัฒนาโครงการใน รูปแบบ Mixed-use Project เพื่อสร้างรายได้ในรูปแบบค่าเช่าพื้นที่ เพิ่มเติม และโครงการที่อยู่อาศัยระดับกลางจะอยู่ในทําเลที่เหมาะสม เข้าถึงระบบขนส่งมวลชนได้ไม่ยาก จะเน้นการออกแบบที่อยู่อาศัยที่ ครบถ้วนตอบโจทย์เรื่องความคุ้มค่า

โครงการอาคารชุด มีการเปิดขายใหม่จาํ นวน 48 โครงการ 21,130 หน่วย มูลค่าโครงการ รวมประมาณ 90,562 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อน ทั้งจํานวนหน่วยและมูลค่าโครงการร้อยละ 39.9 และร้อยละ 113.4 ตามลําดับ ราคาอาคารชุดเปิดขายใหม่พบว่า ส่วนใหญ่ร้อยละ 42.4 จะเปิดขายในราคา 2.01-3.00 ล้านบาท รองลงมาร้อยละ 27.1

สถานการณ์โครงการที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล

อยู่ในระดับราคา 3.01-5.00 ล้านบาท ร้อยละ 13.6 อยู่ในระดับราคา 5.01-7.50 ล้านบาท ร้อยละ 8.1 อยู่ในระดับราคา 1.01-2.00 ล้านบาท และร้อยละ 8.8 ราคาเริม ่ ต้นตัง ้ แต่ 7.51 ล้านบาทขึน ้ ไป สะท้อนให้เห็นว่า

ผ ล ก า ร สํ า ร ว จ ข อ ง ศู น ย์ ข้ อ มู ล อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ธ น า ค า ร

่ ง ู ขึน ้ โดยสังเกตจากหน่วยเปิด ผูป ้ ระกอบการเปิดขายในระดับราคาทีส

อาคารสงเคราะห์ (Real Estate Information Center: REIC) พบว่า

ขายใหม่ในระดับราคา 5.00 ล้านบาทขึน ้ ไปมีสง ู ขึน ้ เมือ ่ เทียบกับปี 2559

โครงการที่ อ ยู่ อ าศั ย เปิ ด ขายใหม่ ใ นปี 2560 มี จํ า นวนลดลงจาก ปี 2559 แต่จํานวนหน่วยในผังลดลงเพียงร้อยละ 0.7 เมื่อเทียบกับ

สําหรับประเภทโครงการอาคารชุดที่เปิดขายมากที่สุด เป็นประเภท 1

ในช่วงเวลาเดียวกันของปี 2559 หากพิจารณามูลค่าโครงการรวม

ห้องนอน ร้อยละ 77.2 เปิดขายในระดับราคา 2.01-3.00 ล้านบาท

กลับมีมูลค่าสูงขึ้นร้อยละ 23.1 เป็น 131,736 ล้านบาท เทียบกับในปี

รองลงมาเป็นประเภท 2 ห้องนอน ร้อยละ 12.3 เปิดขายในระดับราคา

2559 มีมูลค่าโครงการรวมเพียง 107,000 ล้านบาท สะท้อนให้เห็น

3.01-5.00 ล้านบาท ที่เหลือเป็นประเภท Studio ร้อยละ 9.7 เปิดขาย

การปรับตัวของผู้ประกอบการที่เริ่มไม่เน้นจํานวนโครงการที่เปิดตัว

ในระดับราคา 2.01-3.00 ล้านบาท และเป็นประเภท 3 ห้องนอนขึ้นไป

แต่เน้นโครงการขนาดที่ใหญ่ขึ้น และเสนอขายระดับ Segment ที่มี

ร้อยละ 0.7 เปิดขายในราคามากกว่า 10 ล้านบาท

ราคาสูงขึ้น โดยมีราคาเฉลี่ยต่อหน่วยประมาณ 4.5 ล้านบาท สูงกว่า ในปี 2559 ที่ราคาเฉลี่ยประมาณ 3.7 ล้านบาท และบริษัทจดทะเบียน

โครงการที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ในกรุงเทพฯ

ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยยังคงเป็นผู้เล่นหลักในตลาดที่

และปริมณฑล ปี 2560

อยู่อาศัยในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยเปิดขายจํานวน 64 มีโครงการเปิดใหม่ขยายตัวมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะโครงการอาคารชุด

โครงการ 22,603 หน่วย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 78.1 ของจํานวน หน่วยที่อยู่อาศัยเปิดขายใหม่ทั้งหมด ประเภทโครงการที่เปิดขายใหม่

เนื่องจากแนวโน้มของชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนสูงขึ้น ทําให้เกิดการ

ในกรุงเทพฯ และปริมณฑลในปี 2560 มีดังนี้

ร่วมทุนระหว่างผู้ประกอบการไทยและต่างชาติมากยิ่งขึ้น รวมถึงยัง เกิดการพัฒนาเพื่อเจาะกลุ่มผู้มีความต้องการซื้อคอนโดมิเนียมใน เมืองไทยสําหรับอยู่อาศัยเอง และลงทุนได้มากขึ้นอีกด้วย

โครงการบ้านจัดสรร มีการเปิดขายใหม่จํานวน 42 โครงการ 7,825 หน่วย มูลค่าโครงการ

ที่อยู่อาศัยสร้างเสร็จจดทะเบียนใหม่ในกรุงเทพฯ

รวมประมาณ 41,210 ล้านบาท ซึง ่ ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีกอ ่ น

และปริมณฑล ปี 2560

ทั้งจํานวนหน่วยและมูลค่าโครงการร้อยละ 44.3 และร้อยละ 36.2

ลดลงประมาณร้ อ ยละ 12.0 จากปี 2559 ซึ่ ง เป็ น การลดลงที่

ตามลําดับ สําหรับราคาบ้านจัดสรรเปิดขายใหม่พบว่า ไม่มก ี ารเปิดขาย

สอดคล้องกับรายการภาวะเศรษฐกิจมหภาคสาขาการก่อสร้าง โดย

บ้านจัดสรรราคาไม่เกิน 1.0 ล้านบาท โดยร้อยละ 45.1 ของบ้านจัดสรร

ในครึง ่ ปีแรกปี 2560 ลดลงร้อยละ 1.9 โดยการก่อสร้างภาครัฐลดลง

ที่เปิดขายใหม่จะมีราคา 2.01-3.00 ล้านบาท รองลงมาร้อยละ 27.3

ร้อยละ 2.4 และภาคเอกชนลดลงร้อยละ 0.7

่ าํ ให้ราคาเพิม ่ สูง จะอยูใ่ นระดับราคา 3.01-5.00 ล้านบาท ส่วนหนึง ่ ทีท ขึ้นคือ ต้นทุนการผลิตจากราคาวัสดุก่อสร้างเพิ่มขึ้น

ด้านอุปสงค์ที่อยู่อาศัย

สํ า หรั บ ประเภทโครงการบ้ า นจั ด สรรที่ เ ปิ ด มากที่ สุ ด เป็ น โครงการ

แนวโน้มการโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ

ทาวน์เฮ้าส์รอ ้ ยละ 74.6 และเปิดขายในระดับราคา 2.01-3.00 ล้านบาท

และปริมณฑล ปี 2560

รองลงมาเป็นบ้านเดีย ่ วร้อยละ 18.6 เปิดขายในระดับราคา 5.01-7.50 ล้ า นบาท ที่ เ หลื อ เป็ น บ้ า นแฝด ร้ อ ยละ 5.1 เปิ ด ขายในระดั บ ราคา

มีจํานวนประมาณ 40,760 หน่วย และมีมูลค่าประมาณ 110,662

3.01-5.00 ล้านบาท และอาคารพาณิชย์ร้อยละ 1.7 เปิดขายในระดับ

ล้านบาท โดยจํานวนหน่วยเพิ่มขึ้นร้อยละ 22.7 และมูลค่าเพิ่มขึ้น

ราคา 7.51-10.00 ล้านบาท โดยทาวน์เฮ้าส์มีสัดส่วนเปิดขายเพิ่มขึ้น

ร้อยละ 26.6 เมือ ่ เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2559 ซึง ่ มีจาํ นวน

ขณะที่โครงการประเภทอื่นมีสัดส่วนลดลง

33,216 หน่วย และมูลค่า 87,405 ล้านบาท ในไตรมาส 3 ปี 2560

46


รายงานประจํ า ปี 2560

แนวโน้มภาวะตลาดอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัยปี 2561

มีการโอนกรรมสิทธิ์ห้องชุดมากที่สุด จํานวน 15,362 หน่วยคิดเป็น ร้ อ ยละ 37.7 ของหน่ ว ยโอนกรรมสิ ท ธิ์ ทั้ ง หมด รองลงมาเป็ น ทาวน์เฮ้าส์ จํานวน 12,979 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 31.8 บ้านเดี่ยวมี การโอนทั้งหมด 7,579 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 18.6 อาคารพาณิชย์

ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในปี 2561 มีแนวโน้ม

พักอาศัยมีการโอนจํานวน 3,575 หน่วย มีสัดส่วนร้อยละ 8.8 และ บ้านแฝดมีการโอนจํานวน 1,265 หน่วย มีสด ั ส่วนร้อยละ 3.1 ภาพรวม

ขยายตัวต่อเนื่อง ขณะที่ต่างจังหวัดยังไม่ฟื้นตัวมากนักเนื่องจาก กําลังซื้อมีจํากัด จากราคาพืชผลทางการเกษตรที่ยังคงตกต่ําอยู่

ยอดโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยรวมปี 2560 เมื่อเทียบกับปี 2559

และปัญหาภัยธรรมชาติ อย่างไรก็ดี โครงการแนวราบในบางพื้นที่

่ งจากในช่วง 4 เดือนแรก คาดว่าจํานวนหน่วยและมูลค่าจะลดลง เนือ

ยังพอไปได้ ขณะที่ตลาดเมืองท่องเที่ยวกําลังซื้อส่วนใหญ่เป็นการ

ของปี 2559 มีมาตรการกระตุ้นภาคธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ทําให้มี

ซื้อเพื่อเป็นบ้านหลังที่สองหรือซื้อเพื่อลงทุน สําหรับปัจจัยบวกที่จะ

การเร่งโอนกรรมสิทธิ์ที่อยู่อาศัยจํานวนมาก

ส่งผลดีต่อตลาดอสังหาริมทรัพย์โดยรวม ได้แก่ อัตราดอกเบี้ยที่ ยังอยู่ในระดับต่ําต่อเนื่องทําให้ผู้ซื้อได้วงเงินกู้สูง ขณะที่ปัจจัยลบ

สินเชื่อบุคคลปล่อยใหม่ทั้งระบบทั่วประเทศปี 2560

ปริ ม าณการผลิ ต ไม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ จากปั ญ หาภั ย ธรรมชาติ แห้งแล้ง นํา้ ท่วม เป็นต้น

คาดว่าจะมีมูลค่าอยู่ที่ประมาณ 566,300 ล้านบาท ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 3.4 แต่อาจปรับตัวสูงขึ้นได้ถึง 602,700 ล้านบาท ส่งผลให้แนวโน้มสินเชื่อบุคคลทั่วไปทั้งระบบทั่วประเทศคาดว่าอยู่ที่

แนวโน้ ม ด้ า นการลงทุ น จะพบว่ า ผู้ ป ระกอบการจะหั น มาพั ฒ นา

ประมาณ 3,441,100 ล้านบาท ถึง 3,464,500 ล้านบาท

โครงการสิทธิการเช่าระยะยาว (Leasehold) บนที่ดินขนาดใหญ่ที่มี

ด้านราคาที่อยู่อาศัย

ศักยภาพ และที่สามารถพัฒนาเป็นโครงการอสังหาริมทรัพย์มีการ ครอบครองโดยหน่วยงานรัฐบาล โดยผู้ประกอบการได้นํามาพัฒนา

จากการสํารวจเพือ ่ จัดทําดัชนีราคาโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยทีอ ่ ยูร่ ะหว่าง

เป็ น โครงการรู ป แบบผสมผสาน (Mixed-use Development)

การขายทีม ่ ห ี น่วยเหลือขายตัง ้ แต่ 6 หน่วยขึน ้ ไป เพือ ่ จัดทําดัชนีราคา

โดยรวมอาคารสํานักงาน โรงแรม ที่อยู่อาศัย และห้างสรรพสินค้า

ที่อยู่อาศัย 3 ประเภท ได้แก่ ดัชนีราคาห้องชุด ดัชนีราคาบ้านเดี่ยว

ไว้ด้วยกันเพื่อกระจายความเสี่ยงในการพัฒนาโครงการและลดการ

และดัชนีราคาทาวน์เฮ้าส์ พบว่าราคาทีอ ่ ยูอ ่ าศัยในไตรมาส 3 ปี 2560

แข่งขันทางธุรกิจ นอกจากนี้ยังเริ่มตระหนักถึงสังคมผู้สูงอายุ ตาม

เพิ่มขึ้นจากไตรมาส 3 ปี 2559 และไตรมาส 2 ปี 2560 ทุกประเภท

โครงสร้างประชากรศาสตร์ทเี่ ข้าสูส ่ ง ั คมผูส ้ ง ู อายุ ขณะเดียวกันตลาด

ผลจากการติดตามสถานการณ์การเปิดตัวโครงการใหม่ ที่อยู่อาศัย

ต่างประเทศเข้ามามีบทบาทมากขึ้นทั้งในแง่การลงทุนขนาดใหญ่และ

สร้างเสร็จจดทะเบียนใหม่ และการโอนกรรมสิทธิทอ ี่ ยูอ ่ าศัย ได้สะท้อน

ุ่ จีน และฮ่องกง รายย่อย บริษท ั ต่างชาติจากหลายประเทศ อาทิ ญีป ่ น

ให้เห็นถึงทิศทางการปรับตัวที่ดีขึ้น ทั้งในด้านอุปสงค์และอุปทาน

ได้ให้ความสนใจร่วมลงทุนกับผูพ ้ ฒ ั นาโครงการในไทย โดยมีแนวโน้ม

แม้วา่ จะไม่เติบโตเท่ากับปี 2559 ซึง ่ มีมาตรการกระตุน ้ ตลาดอสังหาฯ

ทีจ ่ ะนําเงินลงทุนและเทคโนโลยีเข้ามาร่วมพัฒนาโครงการ ขณะทีก ่ ลุม ่

จากภาครัฐบาล แต่ก็สามารถบ่งบอกถึงศักยภาพที่ดีของตลาดใน

ผู้ซื้อชาวต่างชาติลงทุนซื้ออสังหาริมทรัพย์ในประเทศไทยเพื่อลงทุน

ระดับหนึ่ง และหากเศรษฐกิจสามารถขยายตัว และกําลังซื้อของ

ระยะยาวและปล่อยเช่ายังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ผู้บริโภคมีมากขึ้น ธุรกิจอสังหาฯ น่าจะมีการขยายตัวได้ดีขึ้นเช่นกัน

47

บทที่ 13

มาจากราคาพืชผลทางการเกษตรที่ยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับ


ลักษณะการประกอบธุรกิจ

ศู น ย์ อ าหาร 28

ศู น ย์ ก ารค้ า 32

อาคารที ่ พ ั ก อาศั ย

1 2 7 โรงแรม อาคารสำนั ก งาน

ภาพรวมการดําเนินธุรกิจ จากนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศไปลงทุนในอสังหาริมทรัพย์และ จัดหาประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดง ั กล่าว โดยเข้าลงทุนเริม ่ แรกใน สินทรัพย์สว ่ นใหญ่ของเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 และลงทุนเพิ่มเติมในเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัล พลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ตามลําดับ และล่าสุดเมื่อปลายปี 2560 ได้ดําเนินการแปลงสภาพ CPNRF เป็นทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิ การเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) พร้อมกับ ลงทุนเพิม ่ เติมในเซ็นทรัลเฟสติวล ั พัทยา บีช และโรงแรมฮิลตัน พัทยา

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ” หรือ “CPN”) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2523 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 300 ล้านบาท ภายใต้ชอ ื่ “บริษท ั เซ็นทรัล พลาซา จํากัด” มีวต ั ถุประสงค์ เพื่ อ พั ฒ นาและบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า ขนาดใหญ่ แ บบครบวงจร โดย ในปี 2525 ได้ เ ปิ ด โครงการเซ็ น ทรั ล พลาซา ลาดพร้ า ว ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า แบบครบวงจรแห่ ง แรกในประเทศไทย และได้ เ ปิ ด ศูนย์การค้าใหม่ เช่น เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า ซึ่งเป็นศูนย์การค้าอเนกประสงค์พร้อมอาคารสํานักงาน และเซ็นทรัล เซ็นเตอร์ พัทยา (ปัจจุบัน คือ เซ็นทรัลมารีนา) ก่อนเข้า

ด้วยความมุ่งมั่นที่จะเติบโตอย่างยั่งยืน ตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นมา บริษัทฯ ได้เปิดศูนย์การค้าใหม่ปีละ 2-3 แห่ง และในปี 2555 ได้จัดตั้ง กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) ขึ้นเพื่อลงทุนในอาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าว และจากสภาพแวดล้อมอุตสาหกรรมค้าปลีกและพฤติกรรมผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป ในปี 2558 บริษัทฯ ได้พลิกบทบาทของศูนย์การค้า จากสถานทีจ ่ บ ั จ่ายใช้สอยให้เป็น “ศูนย์กลางของการใช้ชว ี ต ิ ” (Center ่ เป็นสถานทีท ่ ส ี่ ามารถตอบสนองการใช้ชว ี ต ิ ของคนทุกยุค of Life) ซึง ทุกสมัย ทุกวัย และทุกวิถก ี ารดําเนินชีวต ิ ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป (Lifestyle) ด้วยการนํานวัตกรรมมาใช้ในการพัฒนาศูนย์การค้าและบริการบน พื้นฐานของความสะดวก ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพ และเป็นมิตรต่อ สิ่งแวดล้อม โดยพัฒนาศูนย์การค้าภายใต้แนวคิด “Innovative and Lifestyle Shopping Mall” ดังเช่น เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล อี ส ต์ วิ ล ล์ ที่ เ ปิ ด ในปี 2558 เซ็ น ทรั ล พลาซา นครศรีธรรมราช เปิดในปี 2559 เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และ เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย เปิดในปี 2560 เป็นต้น โดย CPN จะยังคง

จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2538 ด้วยทุนจดทะเบียน 1,000 ล้านบาท มูลค่าหุ้นละ 10 บาท ปัจจุบน ั CPN มีทน ุ จดทะเบียนชําระแล้วทัง ้ สิน ้ 2,244,000,000 บาท มูลค่าหุ้นละ 0.5 บาท โดยมีบริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จํากัด และบุคคล ในตระกูลจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ CPN ขยายธุรกิจศูนย์การค้าขนาดใหญ่แบบครบวงจรอย่างต่อเนือ ่ ง ด้ ว ยการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ต ามหั ว เมื อ งหลั ก ด้ ว ยแบรนด์ “เซ็นทรัลพลาซา” และจังหวัดใหญ่ที่เป็นเมืองท่องเที่ยวด้วยแบรนด์ “เซ็นทรัลเฟสติวัล” รวมถึงการซื้อโครงการศูนย์การค้า เช่น เซ็นทรัล พลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต (ปี 2539) เซ็นทรัลเวิลด์ (ปี 2545) เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ (ปี 2546) และเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี (ปี 2552) เป็นต้น และการปรับปรุงศูนย์การค้าเดิมให้ทันสมัยอยู่ ตลอดเวลาเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ต่อจากนั้น ในปี 2548 บริษท ั ฯ ได้จด ั ตัง ้ กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNRF) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อระดมทุน

48


รายงานประจํ า ปี 2560

การประกอบธุรกิจแยกตามกลุ่มธุรกิจ

พัฒนารูปแบบศูนย์การค้าใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป

การแบ่งธุรกิจตามแหล่งที่มาของรายได้สามารถแบ่งได้เป็น 6 กลุ่ม ธุรกิจดังนี้

นอกจากการพัฒนาศูนย์การค้า CPN ได้เล็งเห็นโอกาสทางธุรกิจ ในการพั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ บบผสม (Mixed-use Development) ประกอบด้วย อาคารที่พักอาศัย อาคารสํานักงาน และโรงแรม เพื่อเพิ่มประโยชน์จากการใช้ที่ดิน การขยายฐานรายได้ และสนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้าให้มีผู้ใช้บริการเพิ่มมากขึ้น โดยในปี 2559 CPN ได้จัดตั้งบริษัทย่อย “บริษัท ซีพีเอ็น เรสซิเด้นซ์ จํากัด” ขึ้ น เพื่ อ พั ฒ นาโครงการที่ พั ก อาศั ย ที่ มี คุ ณ ภาพ เน้ น การพั ฒ นา โครงการทีต ่ ง ั้ อยูบ ่ นทีด ่ น ิ บริเวณศูนย์การค้า หรือพืน ้ ทีใ่ กล้ ๆ โดยรอบ ศูนย์การค้าซึง ่ 3 โครงการแรกทีเ่ ปิดขายในปี 2559 อยูใ่ นบริเวณพืน ้ ที่ เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น และเซ็นทรัล พลาซา ระยอง และเปิดขายอีก 3 โครงการในปี 2560 ในบริเวณที่ดิน เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และเซ็นทรัล เฟสติวัล เชียงใหม่

32 ธุรกิจศูนย์การค้าเป็นธุรกิจหลักซึ่งเป็นที่มาของรายได้กว่าร้อยละ 80 ของรายได้รวม รายได้จากธุรกิจศูนย์การค้า ประกอบด้วย รายได้ ค่าเช่าพื้นที่ค้าปลีก รายได้จากการให้บริการระบบสาธารณูปโภค และ ระบบรักษาความปลอดภัย รายได้จากการให้บริการรักษาความสะอาด ภายในศูนย์การค้า รายได้ค่าเช่า และการให้บริการพื้นที่ศูนย์ประชุม อเนกประสงค์ และรายได้จากการให้บริการสื่อโฆษณา จํานวน 32 โครงการ แบ่งเป็นโครงการในกรุงเทพฯ และปริมณฑล 14 โครงการ และในต่างจังหวัด 18 โครงการ ในจํานวนนี้มีโครงการที่ CPN เป็น เจ้าของทรัพย์สิน 27 โครงการ และโครงการที่ CPN ให้เช่าช่วงแก่ ทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ในสิ ท ธิ ก ารเช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ CPN รี เ ทล โกรท (CPNREIT) จํานวน 5 โครงการ โดย CPN ทําหน้าที่เป็น ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ให้กับ CPNREIT

ลักษณะการประกอบธุรกิจ CPN ประกอบธุรกิจพัฒนาโครงการศูนย์การค้าและอสังหาริมทรัพย์ ประเภทอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งในรูปแบบโครงการ อสังหาริมทรัพย์แบบผสม

CPN ได้เปิดให้บริการศูนย์การค้าใหม่ 2 แห่ง ในเดือนพฤศจิกายน 2560 คือ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เป็นศูนย์การค้าลําดับที่ 31 และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ศูนย์การค้าลําดับที่ 32 และในปี 2561 CPN มี แ ผนที่ จ ะเปิ ด เซ็ น ทรั ล ภู เ ก็ ต และเซ็ น ทรั ล i-City ประเทศ มาเลเซีย

(Mixed-use Development) ประกอบด้วย อาคารสํานักงาน โรงแรม และที่พักอาศัย เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับโครงการ โดย ณ สิ้นปี 2560 CPN มี อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ภ ายใต้ ก ารบริ ห าร ประกอบด้ ว ย ศูนย์การค้า 32 แห่ง อยู่ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 14 แห่ง และในต่างจังหวัด 18 แห่ง อาคารสํานักงาน 7 แห่ง ในกรุงเทพฯ โรงแรม 2 แห่ ง คื อ โรงแรมเซ็ น ทาราและคอนเวนชั น เซ็ น เตอร์

จากการประมาณการของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 CPN มีส่วนแบ่งตลาดในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ประมาณ ร้อยละ 21.0 โดยพิจารณาจากขนาดพื้นที่ค้าปลีกรวม (Gross Floor Area) ไม่รวมที่จอดรถ

อุดรธานี และโรงแรมฮิลตัน พัทยา และโครงการที่พักอาศัย 1 แห่ง ในกรุงเทพฯ นอกจากนี้ CPN ยังมีการลงทุนในทรัสต์เพื่อการลงทุน ในอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) และกองทุนรวม สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ต่าง ๆ ของ CPN จะเริ่มตั้งแต่ การจัดหาที่ดินในทําเลและราคาที่เหมาะสมในการพัฒนาโครงการ การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ การควบคุม การออกแบบ และบริหารงานก่อสร้าง การบริหารงานขาย ตลอดจนเป็นผู้บริหาร ศู น ย์ ก ารค้ า และอาคารสํ า นั ก งานหลั ง จากที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารแล้ ว รวมถึงการให้บริการระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษาความปลอดภัย และการให้บริการด้านการรักษาความสะอาดภายในศูนย์การค้าและ อาคารสํ า นั ก งาน พร้ อ มกั น นี้ ยั ง ประกอบธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งและ ส่งเสริมกัน อาทิ ศูนย์อาหาร ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ สวนน้ํา และ สวนพั ก ผ่ อ นภายในศู น ย์ ก ารค้ า ในบางโครงการเพื่ อ อํ า นวย ความสะดวกแก่ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการ โดยการเปิดให้บริการนั้นจะ พิจารณาจากความเหมาะสมของทําเลที่ตั้งและความต้องการของ กลุม ่ ลูกค้าเป้าหมายเป็นสําคัญ สําหรับการบริหารธุรกิจโรงแรม CPN ได้ว่าจ้างบริษัทที่มีความชํานาญด้านการบริหารโรงแรมเป็นผูบ ้ ริหาร โรงแรมเพื่อการบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด

CPN 21

กลุ่มเดอะมอลล์ โรบินสัน

37

5

ส่วนแบ่งตลาด (ร้อยละ)

4

พื้นที่รวม 18.9 ล้าน ตร.ม.

3 3 2 2

21

49

2

เอสเอฟ สยามรีเทล ซีคอนสแควร์ สยามพิวรรธน์ ฟิวเจอร์พาร์ค ไฮเปอร์มาร์เก็ต อื่นๆ

บทที่ 14

ศูนย์การค้า


2

CPN ได้นําแนวคิดการเป็นศูนย์กลางของการใช้ชีวิต (Center of Life) เพื่อตอบโจทย์ผู้บริโภคที่มีความชัดเจนในวิถีการดําเนินชีวิต (Lifestyle) มากขึ้น โดยนําเสนอสินค้าและบริการที่หลากหลายให้แก่ ผู้มาใช้จ่ายที่ศูนย์การค้าของ CPN นอกจากนี้ ยังได้นําจุดเด่นและ ่ ในการออกแบบศูนย์การค้า เอกลักษณ์ประจําท้องถิน ่ มาเป็นส่วนหนึง ทีอ ่ ยูใ่ นพืน ้ ทีน ่ น ั้ อย่างกลมกลืน รวมถึงการตกแต่งภายในศูนย์การค้า เพือ ่ สร้างบรรยากาศและดึงดูดให้ลก ู ค้าได้เพลิดเพลินกับการเลือกซือ ้ สินค้า เพือ ่ ให้ศน ู ย์การค้าของ CPN มีเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่นและยังเป็น ผู้นําในธุรกิจศูนย์การค้า และห้างสรรพสินค้าต่อไป

โรงแรม ธุรกิจโรงแรมในบริเวณโครงการศูนย์การค้าเป็นธุรกิจที่มีอุปสงค์ ส่ ง เสริ ม กั น กั บ ธุ ร กิ จ ศู น ย์ ก ารค้ า และเป็ น ธุ ร กิ จ ที่ เ พิ่ ม มู ล ค่ า ให้ กั บ โครงการด้วยการใช้ทด ี่ น ิ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุม ้ ค่า เพือ ่ ผลตอบแทน ่ าํ คัญ ประกอบ จากการลงทุนสูงสุด หลักการในการพิจารณาลงทุนทีส ด้วย ทําเลที่ตั้งของโครงการ อุปสงค์ อุปทาน และสภาวะแวดล้อม ของบริเวณนั้น ๆ รวมถึงศักยภาพการเติบโตของโครงการ ทั้งนี้ ธุรกิจโรงแรม ประกอบด้วย ห้องพัก ห้องอาหาร ห้องสัมมนา และ ศูนย์ประชุม เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และอุตสาหกรรม MICE: Meeting Incentive Convention and Exhibition (การจัดการประชุมเชิงธุรกิจการค้าและจัดแสดงสินค้า นานาชาติ) ซึ่งรายได้จากธุรกิจโรงแรม ประกอบด้วย รายได้จาก ค่าห้องพัก รายได้จากค่าอาหารและเครื่องดื่ม และรายได้จากค่าเช่า ห้องในอาคาร และค่าบริการ เป็นต้น

7 อาคารสํานักงาน ธุ ร กิ จ อาคารสํ า นั ก งานเป็ น การพั ฒ นาอาคารสํ า นั ก งานให้ เ ช่ า ใน บริเวณโครงการศูนย์การค้า เนือ ่ งจากมีอป ุ สงค์ทส ี่ ง ่ เสริมกันกับธุรกิจ ศูนย์การค้าและเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับโครงการจากการใช้ประโยชน์ ในที่ดินผืนเดียวกันได้อย่างคุ้มค่า รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการ ใช้และบริหารที่จอดรถ

CPN เป็นเจ้าของธุรกิจโรงแรม 2 แห่ง คือ 1) โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี ซึง ่ มีหอ ้ งพัก 259 ห้อง (เดิมคือ โรงแรมเจริญศรี แกรนด์ รอยัล ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของโครงการเจริญศรีคอมเพล็กซ์ที่ CPN ได้เข้าซื้อ กิจการในเดือนเมษายน 2552) โดย CPN ได้ว่าจ้างให้บริษัท ที่มีความชํานาญด้านการบริหารโรงแรม คือ บริษัท โรงแรม เซ็นทรัล พลาซา จํากัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารโรงแรม 2) โรงแรมฮิลตัน พัทยา ซึ่งมีห้องพัก 302 ห้อง (ตั้งอยู่ในบริเวณ เดียวกับโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช เริ่ม เปิดให้บริการในเดือนพฤศจิกายน 2553) และเมือ ่ เดือนธันวาคม 2560 CPN ได้ให้ CPNREIT เช่าเป็นระยะเวลา 20 ปี โดยยังคง ให้บริษัท ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชั่น เป็นผู้บริหารโรงแรม

การตัดสินใจพัฒนาอาคารสํานักงานในบริเวณโครงการศูนย์การค้า ใดนั้น บริษัทฯ จะพิจารณาจากความเหมาะสมของทําเลที่ตั้ง อุปสงค์ และอุปทานของพื้นที่อาคารสํานักงานในบริเวณนั้น ๆ เป็นสําคัญ ซึ่ง รายได้จากธุรกิจอาคารสํานักงาน ประกอบด้วย รายได้ค่าเช่าพื้นที่ อาคารสํ า นั ก งาน รายได้ ค่ า เช่ า พื้ น ที่ แ ก่ ร้ า นค้ า ปลี ก ภายในอาคาร สํานักงาน และรายได้จากการให้บริการระบบสาธารณูปโภค ปัจจุบน ั CPN มีอาคารสํานักงานภายใต้การบริหารในบริเวณโครงการ ศูนย์การค้ารวมทัง ้ สิน ้ 7 โครงการ ได้แก่ 1) เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว 2) เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า 2 อาคาร 3) เซ็นทรัลพลาซา บางนา 4) เซ็นทรัลเวิลด์ (อาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์) 5) เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ และ 6) เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 โดยแบ่งเป็นโครงการที่ CPN เป็นเจ้าของ 4 โครงการ โครงการที่ให้เช่ากับ CPNREIT 2 โครงการ คือ อาคารสํานักงาน ปิ่ น เกล้ า ทาวเวอร์ เอ และบี ในบริ เ วณโครงการเซ็ น ทรั ล พลาซา ปิ่นเกล้า และโครงการที่ให้เช่ากับ CPNCG 1 โครงการ คือ อาคาร สํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ โดยกลุ่มผู้เช่าพื้นที่ อาคารสํานักงานที่ตั้งอยู่ภายในโครงการเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลพลาซา บางนา เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ และเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 ส่วนใหญ่จะ ประกอบธุรกิจที่ได้รับประโยชน์สนับสนุนจากธุรกิจศูนย์การค้า อาทิ โรงเรียนกวดวิชา โรงเรียนสอนภาษาและดนตรี สถานเสริมความงาม และบริษท ั หลักทรัพย์ เป็นต้น สําหรับอาคาร สํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งเป็นอาคารสํานักงานเกรด A ตั้งอยู่ในแหล่ง ธุรกิจใจกลางกรุงเทพฯ นั้น มีผู้เช่าพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นบริษัทชั้นนํา ทั้งในและต่างประเทศ

1 อาคารที่พักอาศัย CPN เล็งเห็นศักยภาพในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าในลักษณะ พื้นที่แบบผสม โดยจะพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยเพื่อช่วยสนับสนุน ธุ ร กิ จ ศู น ย์ ก ารค้ า ซึ่ ง เป็ น ธุ ร กิ จ หลั ก ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด CPN ได้ จั ด ตั้ ง ฝ่ า ยงานซึ่ ง ประกอบด้ ว ยผู้ บ ริ ห ารและบุ ค ลากรที่ มี ประสบการณ์ แ ละความเชี่ ย วชาญ เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ น การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยของบริษท ั ฯ ตลอดจนการดําเนินงาน ด้านต่าง ๆ ทีเ่ กีย ่ วข้องโดยเฉพาะ การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยของ CPN จะเริ่มตั้งแต่การคัดเลือก ทําเลที่ดินสําหรับพัฒนาโครงการ ศึกษาความเป็นไปได้ของข้อมูล การตลาดผลกระทบต่าง ๆ เพือ ่ วิเคราะห์และตัดสินใจ เลือกประเภททีอ ่ ยู่ ้ ๆ หลังจากนัน ้ บริษท ั ฯ จะจัดให้มก ี าร อาศัยทีเ่ หมาะสมกับทําเลทีต ่ ง ั้ นัน เปิดซองประมูลราคาขายโดยจัดซื้อวัสดุก่อสร้างและเครื่องตกแต่ง จากผู้ผลิตโดยตรง เพื่อให้สามารถเปรียบเทียบราคาและคุณภาพ

50


รายงานประจํ า ปี 2560

ให้ บ ริ ก ารสวนพั ก ผ่ อ นขนาดใหญ่ แ ก่ ป ระชาชนทั่ ว ไปในบริ เ วณ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ภายใต้ชื่อ “เซ็นทรัลพาร์ค” ประกอบด้วย สวนสุขภาพ สนามเด็กเล่น ลานกิจกรรม และร้านอาหารชั้นนํา

และได้รับประโยชน์จากการประหยัดต่อขนาด รวมทั้งมีการกําหนด ราคาส่งมอบล่วงหน้าเพื่อป้องกันความผันผวนของราคา บริษัทฯ คัดเลือกผู้รับเหมาที่มีความชํานาญ ผลงาน และชื่อเสียงในแต่ละ ประเภทงาน ตามขั้ น ตอนและมาตรฐานในการจั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งของ บริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีระบบในการควบคุมการดําเนินงาน ก่ อ สร้ า งให้ เ ป็ น ไปตามแผนงานที่ กํ า หนด และมี ร ะบบการควบคุ ม คุ ณ ภาพอย่ า งเข้ ม งวดและรั ด กุ ม อี ก ด้ ว ย สํ า หรั บ การก่ อ สร้ า งที่ อยู่ อ าศั ย และสาธารณู ป โภคของโครงการ อาจมี ผ ลกระทบต่ อ สิ่งแวดล้อม บริษัทฯ ได้จัดให้มีการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) รวมถึงทุกโครงการ ได้ มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายพระราชบั ญ ญั ติ ค วบคุ ม อาคาร โดย คํ า นึ ง ถึ ง การรั ก ษาสภาพแวดล้ อ มในบริ เ วณข้ า งเคี ย งให้ ไ ด้ รั บ ผลกระทบน้อยที่สุด

28 ศูนย์อาหาร

ปั จ จุ บั น CPN มี โ ครงการที่ อ ยู่ ร ะหว่ า งการพั ฒ นาที่ อ ยู่ อ าศั ย ใน รูปแบบคอนโดมิเนียมจํานวน 6 โครงการ บนทีด ่ น ิ บริเวณศูนย์การค้า ของ CPN ในโครงการ 1) เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ 2 โครงการ 2) เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น 3) เซ็นทรัลพลาซา ระยอง 4) เซ็นทรัล พลาซา นครราชสีมา 5) เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย และ 6) เซ็นทรัล เฟสติวัล เชียงใหม่ โดยบริษัท ซีพีเอ็น เรสซิเด้นซ์ จํากัด ซึ่งเป็น บริษัทย่อยของ CPN เป็นผู้ออกแบบพัฒนาและบริหารโครงการ ภายใต้ ชื่ อ โครงการคอนโดมิ เ นี ย มเอสเซ็ น ท์ (ESCENT) และ เอสเซ็นท์ วิลล์ (ESCENT VILLE) ทั้งนี้ โครงการคอนโดมิเนียม 3 โครงการแรก ได้เริ่มก่อสร้างแล้วในไตรมาส 2 ปี 2559 โดยใช้ ระยะเวลาการก่อสร้างประมาณ 2 ปี คาดว่าการก่อสร้างจะเสร็จสิ้น พร้อมโอนและรับรู้รายได้ในปี 2561 นอกจากนั้น CPN ยังให้บริการ ที่พักอาศัยประเภทห้องชุดให้เช่าจํานวน 11 ยูนิต ภายใต้โครงการ เซ็นทรัล ซิตี้ เรสซิเดนซ์ คอนโดมิเนียม ซึ่งตั้งอยู่บริเวณเดียวกับ เซ็นทรัลพลาซา บางนา

CPN ได้พัฒนาและปรั บปรุ งศู นย์ อาหารภายในศูน ย์การค้า ด้ว ย แนวคิด Food Destination ที่รวมร้านอาหารหลากหลายประเภท หลากหลายสไตล์ ต อบรั บ ทั้ ง ไลฟ์ ส ไตล์ แฮงเอ้ า ต์ กิ น ดื่ ม ชิ ล ล์ ร้านอาหารแนวครอบครัว คาเฟ่ เบเกอรี่ และร้านอาหารแบบซื้อกลับ (Take Home)

2 การลงทุนในทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT) และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) CPN เป็นผู้ถือหน่วยลงทุนรายใหญ่ใน CPNREIT และ CPNCG สัดส่วนร้อยละ 26.69 และร้อยละ 25.00 ตามลําดับ และเป็นผูบ ้ ริหาร อสังหาริมทรัพย์ ซึง ่ จะได้รบ ั ค่าธรรมเนียมการบริหารอสังหาริมทรัพย์ ้ และได้รบ ั ส่วนแบ่งกําไรตาม เป็นรายเดือนตามสัญญาการจ้างทีท ่ าํ ขึน สัดส่วนการลงทุน โดยมีรายละเอียด ดังนี้

2 สวนน้ําและสวนพักผ่อน

1) CPNREIT เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2560 หลังการแปลงสภาพจาก CPNRF เป็ น CPNREIT ซึ่ ง เป็ น ไปตามที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท ครั้งที่ 4/2560 เมื่อวันที่ 31 พฤษภาคม 2560 ได้มีมติอนุมัติ แบบมีเงื่อนไขสําหรับการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT เพื่ อ ประโยชน์ ต่ อ ผู้ ถื อ หน่ ว ยลงทุ น ของ CPNRF โดยรวม เนื่องจากสิทธิประโยชน์ทางภาษีของผู้ถือหน่วยลงทุน CPNRF ซึ่ ง จะได้ รั บ ยกเว้ น ภาษี เ งิ น ได้ และสิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี ข อง กองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ซง ึ่ จะได้รบ ั การยกเว้นภาษีมล ู ค่าเพิม ่ ภาษี ธุ ร กิ จ เฉพาะ และอากรแสตมป์ รวมทั้ ง สิ ท ธิ ป ระโยชน์ เกี่ยวกับค่าธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ อั น เนื่ อ งมาจากการแปลงสภาพกองทุ น อสังหาริมทรัพย์เป็นทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์จะ สิ้นสุดภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ธุรกิจสวนนา้ํ และสวนพักผ่อน เป็นธุรกิจทีส ่ นับสนุนธุรกิจศูนย์การค้า ซึ่งเป็นธุรกิจหลักของ CPN เพื่อให้ศูนย์การค้ามีความหลากหลาย ขององค์ประกอบและการให้บริการ วัตถุประสงค์ของการสร้างสวนนา้ํ และสวนพักผ่อนขึน ้ ในบริเวณโครงการศูนย์การค้านัน ้ นอกจากจะเป็น การดึงดูดให้ลูกค้าเข้ามาใช้บริการศูนย์การค้าเพิ่มขึ้นแล้ว ยังเป็น การมอบความสุ ข ให้ แ ก่ ลู ก ค้ า ที่ ม าใช้ บ ริ ก ารและตอบแทนชุ ม ชนใน บริเวณใกล้เคียง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับความเพียงพอของที่ดินและพื้นที่ ภายในโครงการนั้น ๆ ปั จ จุ บั น CPN เปิ ด ให้ บ ริ ก ารสวนน้ํ า บริ เ วณชั้ น 6 ของเซ็ น ทรั ล พลาซาบางนา ภายใต้ชื่อ “โพโรโระ อควาพาร์ค กรุงเทพฯ” ตกแต่ง ด้วยธีมการ์ตูนซีรี่ส์ยอดนิยมจากเกาหลี “โพโรโระ” (Pororo: The Little Penguin) เพื่อสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ และสีสันความสนุก ให้กับลูกค้าทุกคนในครอบครัวในส่วนของสวนพักผ่อน CPN เปิด

51

บทที่ 14

ธุรกิจศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้าเป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่ช่วย เสริมให้ศูนย์การค้ามีความครบครัน วัตถุประสงค์หลักของธุรกิจนี้ คือ เพื่อลูกค้าที่มาใช้บริการภายในศูนย์การค้าได้รับความสะดวกใน การเลือกรับประทานอาหารที่หลากหลายในราคาประหยัด สะดวก และรวดเร็ว ในขณะที่ CPN จะได้รับผลตอบแทนจากรายได้จากการ จําหน่ายอาหารและเครื่องดื่มในบริเวณศูนย์อาหาร


CPNREIT ได้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2560 โดย ไม่มีการกําหนดอายุโครงการ และเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2560 ได้ดาํ เนินการรับโอนทรัพย์สน ิ จาก CPNRF ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต พร้อมกับลงทุนเพิ่ม เติมในทรัพย์สินของ CPN อีก 2 แห่ง คือ เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช (บางส่วน) และโรงแรมฮิลตัน พัทยา เป็นระยะเวลา 20 ปี โดยสิทธิการเช่าจะหมดอายุวันที่ 31 สิงหาคม 2580 มูลค่า ทรัพย์สินสุทธิ 11,908 ล้านบาท

2) กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท (CPNCG) จดทะเบี ย นจั ด ตั้ ง เมื่ อ วั น ที่ 13 กั น ยายน 2555 โดยไม่มีการกําหนดอายุโครงการ และเป็นกองทุนรวมที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ระดมเงิ น ทุ น และนํ า เงิ น ทุ น ส่ ว น ใ ห ญ่ ไ ป ล ง ทุ น ใ น อ สั ง ห า ริ ม ท รั พ ย์ ห รื อ สิ ท ธิ ก า ร เ ช่ า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ แ ละจั ด หาผลประโยชน์ จ ากอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ดั ง กล่ า ว CPNCG ได้ ล งทุ น ในอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ข องอาคาร สํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ (บางส่วน) บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ไทยพาณิชย์ จํากัด เป็นบริษัท จัดการกองทุนรวม โดยมีธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เป็นผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) เป็นนายทะเบียน และมี CPN เป็นผู้บริหาร อสังหาริมทรัพย์

CPNREIT มีบริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัท ย่ อ ยของ CPN ทํ า หน้ า ที่ เ ป็ น ผู้ จั ด การกองทรั ส ต์ (REIT Manager) และแต่ ง ตั้ ง CPN เป็ น ผู้ บ ริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า (Property Manager) และมีบริษัท ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ CPN เป็นผู้เช่าช่วงโรงแรมฮิลตัน พัทยา โดยยังคงให้บริษัท ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชั่น บริหารโรงแรม ต่ อ ไป นอกจากนี้ ยั ง มี บ ริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย์ จั ด การกองทุ น ไทยพาณิชย์ จํากัด เป็นทรัสตี และบริษัทศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด เป็นนายทะเบียน

ทั้งนี้ ผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์มีสิทธิได้รับค่าตอบแทนในการ ทําหน้าทีผ ่ บ ู้ ริหารอสังหาริมทรัพย์จากกองทุนรวม โดยเรียกเก็บ จากกองทุ น รวมเป็ น รายเดื อ นตามสั ญ ญาการจ้ า งที่ ทํ า ขึ้ น ระหว่างกองทุนรวมกับผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์

52


รายงานประจํ า ปี 2560

ปัจจุบัน โครงการที่อยู่ภายใต้การบริหารงานของ CPN มีดังนี้

เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา เซ็นทรัลมารีนา (เดิมคือ เซ็นทรัล เซ็นเตอร์ พัทยา) เซ็นทรัลพลาซา บางนา เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา เซ็นทรัลพลาซา ระยอง เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย

CPN เป็นผู้บริหารโครงการ เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช

ศูนย์การค้า

อาคาร สํานักงาน

• • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • • •

ศูนย์การค้า

อาคาร สํานักงาน

• • • • •

โรงแรม

อาคาร ที่พักอาศัย

ศูนย์อาหาร

• • • • • • • • •

• •

• • • • • • • • • • • • • • • โรงแรม

• •

เซ็นทรัลเวิลด์

53

อาคาร ที่พักอาศัย

ศูนย์อาหาร

• • • • •

บทที่ 14

CPN เป็นเจ้าของโครงการ


โครงการอสังหาริมทรัพย์ภายใต้ การบริหารงานของ CPN โครงการศูนย์การค้า เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)

ศูนย์การค้า

รูปแบบ การพัฒนา /2

สิทธิในที่ดิน /3 (ปีสิ้นสุด)

1. เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว

ธันวาคม 2525

G

L (2571)

2. เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา

พฤศจิกายน 2536

G

L (2566)

3. เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า /1

มีนาคม 2538

G

L (2570)

4. เซ็นทรัลมารีนา (ชื่อเดิม เซ็นทรัล เซ็นเตอร์ พัทยา)

กรกฎาคม 2538

G

L (2578)

5. เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต /1

มีนาคม 2539 /4

A

F

6. เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 /1

ตุลาคม 2540

G

F

7. เซ็นทรัลพลาซา บางนา

ธันวาคม 2544 /4

A

F

8. เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 /1

ธันวาคม 2545

G

L (2568)

9. เซ็นทรัลเวิลด์

ธันวาคม 2545 /4

A

L (2583)

10. เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์

ธันวาคม 2546 /4

A

F&L (2577)

11. เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ

พฤศจิกายน 2551

G

F

12. เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช /1

มกราคม 2552

G

F&L (2581)

13. เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี

เมษายน 2552 /4

A

F

14. เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี

พฤษภาคม 2552

G

F&L (2570)

15. เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น

ธันวาคม 2552

G

F

16. เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย

มีนาคม 2554

G

F

17. เซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก

ตุลาคม 2554

G

F

18. เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9

ธันวาคม 2554

G

L (2583)

19. เซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี

ตุลาคม 2555

G

F

20.เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง

พฤศจิกายน 2555

G

L (2584)

54


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

4,500

พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.)

อัตราการ เช่าพื้นที่ (ร้อยละ)

จํานวน ร้านค้า

45,740

97

338

4,444

310,000

3,000

660

86,000

1,000

17,206

95

76

3,024

370,000

3,500

62,783

97

374

1,464

70,000

400

17,527

93

101

2,394

250,000

2,300

76,453

93

600

1,840

220,000

2,300

53,814

82

201

5,7 1 6

500,000

3,250

62,413

90

278

1,393

2 1 0,000

3,200

91 ,447

91

302

13,858

830,000

7,000

199,501

84

409

2,359

140,000

2,000

77,220

96

190

5,396

310,000

3,300

65,677

92

343

6,3 1 1

210,000

2,000

58,104

96

222

4,602

250,000

2,000

71,366

94

237

2,825

156,000

2,040

40,383

98

254

3,946

200,000

2,100

47,370

94

291

1,682

1 1 0,000

1,000

23,977

98

119

1,550

100,000

1 ,440

26,476

91

134

5,1 6 1

214,000

2,400

58,914

97

240

2,242

130,000

1,400

31,262

92

127

1,114

1 1 0,000

2,000

22,261

97

96

4,800

4,100

4,200

5,000

4,100

4,700

55

ISO 14001 /7 ISO 20121 /8 (สําหรับศูนย์ ประชุม อเนกประสงค์)

• • • • • • • • • • • • • • • • • •

บทที่ 14

มูลค่าเงินลงทุน พื้นที่ใช้สอยรวม พื้นที่จอดรถ ศูนย์ประชุม (คัน) อเนกประสงค์ (GFA) /6 ณ สิ้นปี 2560 /5 (ตร.ม.) (ตร.ม.) (ล้านบาท)


โครงการศูนย์การค้า เริ่มดําเนินการ (เดือน ปี)

ศูนย์การค้า

รูปแบบ การพัฒนา /2

สิทธิในที่ดิน /3 (ปีสิ้นสุด)

21. เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี

เมษายน 2556

G

F

22. เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่

พฤศจิกายน 2556

G

F

23. เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่

ธันวาคม 2556

G

F

24. เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย

มีนาคม 2557

G

L (2586)

25. เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา

สิงหาคม 2557

G

F&L (2587)

26. เซ็นทรัลพลาซา ระยอง

พฤษภาคม 2558

G

F

27. เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต

มิถุนายน 2558 /4

A

L (2599)

28. เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต

สิงหาคม 2558

G

L (2586)

29. เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์

พฤศจิกายน 2558

G

F&L (2588)

30. เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช

กรกฎาคม 2559

G

F

31. เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

พฤศจิกายน 2560

G

F

32. เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย

พฤศจิกายน 2560

G

F

รวม หมายเหตุ: /1 ทรัพย์สินที่ CPNREIT เช่าช่วงจาก CPN เมื่อเดือนธันวาคม 2560 ตามการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT พร้อมลงทุนเพิ่มเติมในศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช (บางส่วน) และโรงแรมฮิลตัน พัทยา โดยพื้นที่ที่อยู่ใน CPNREIT มีสัดส่วนดังนี้ - ร้อยละ 44 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2567 - ร้อยละ 81 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2578 (ต่ออายุการเช่าได้ 2 ครั้ง ๆ ละ 30 ปี) - ร้อยละ 96 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2568 - ร้อยละ 49 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต สิ้นสุดเดือนเมษายน 2587 - ร้อยละ 50 ของพื้นที่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2580 /2 รูปแบบการพัฒนาโครงการ (A = Acquisition การซื้อกิจการ) (G = Greenfield การก่อสร้าง) /3 สิทธิในที่ดิน (F = Freehold เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน) (L = Leasehold สิทธิการเช่า) /4 ปีที่เข้าซื้อกิจการ /5 รวมเงินลงทุนในอาคารสํานักงาน/ อาคารที่พักอาศัย/ โรงแรม ไม่รวมค่าเช่าที่ดินและอาคารที่ชาํ ระเป็นรายปี และไม่รวมเงินลงทุนในสินทรัพย์ที่ได้ให้เช่า/ เช่าช่วงแก่ CPNREIT /6 GFA รวม พื้นที่ให้เช่า พื้นที่จอดรถ ศูนย์ประชุมอเนกประสงค์ พื้นที่ส่วนกลาง อาคารสํานักงาน และโรงแรม /7 ISO 14001 คือ มาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspects) ขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควบคู่ไปกับ การรักษาสิ่งแวดล้อม การป้องกันมลพิษ และการดําเนินธุรกิจขององค์กร /8 ISO 20121 คือ มาตรฐานการจัดการและบริหารงานที่ออกแบบสําหรับธุรกิจ และการจัดงานอีเว้นท์อย่างยั่งยืน

56


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.)

อัตราการ เช่าพื้นที่ (ร้อยละ)

จํานวน ร้านค้า

1,835

1 5 1 ,000

1 ,500

32,2 1 5

97

142

4,289

260,000

3,500

66,063

94

23 1

4,910

295,000

2,500

66,86 1

88

223

1,867

76,000

600

3 1 ,359

92

114

2,597

185,500

1,600

38,738

93

195

2,647

155,000

2,000

29,466

95

183

6,886

137,000

1 ,1 0 0

39,094

94

138

7,316

352,000

4,000

78,322

95

353

3,868

150,000

1 ,824

36,050

98

191

1,816

90,000

1,500

21,367

89

129

4,448

233,000

3,600

49,447

80

278

2,742

131,250

1,500

24,869

85

159

117,203

6,99 1 ,750

1,663,744

92

7,268

5,000

1,000

5,000

3,300

45,700

57

ISO 14001 /7 ISO 20121 /8 (สําหรับศูนย์ ประชุม อเนกประสงค์)

• • • • •

• บทที่ 14

มูลค่าเงินลงทุน พื้นที่ใช้สอยรวม พื้นที่จอดรถ ศูนย์ประชุม (คัน) อเนกประสงค์ (GFA) /6 ณ สิ้นปี 2560 /5 (ตร.ม.) (ตร.ม.) (ล้านบาท)


โครงการอาคารสํานักงาน ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

อาคารสํานักงาน

เริ่มดําเนินการ

รูปแบบการ

สิทธิใน

พื้นที่ให้เช่า

อัตราการเช่า

จํานวน

(เดือน ปี)

พัฒนา /4

ที่ดิน /5

(ตร.ม.)

พื้นที่ (ร้อยละ)

ร้านค้า

1. ลาดพร้าว

ธันวาคม 2525

G

L (2571)

16,171

91

64

2. ปิ่นเกล้า ทาวเวอร์ เอ /1

มีนาคม 2538

G

L (2570)

22,697

85

52

3. บางนา

ธันวาคม 2544 /2

A

F

10,007

88

26

4. เซ็นทรัลเวิลด์ /3

พฤศจิกายน 2547 /2

A

L (2583)

84,061

98

98

5. ปิ่นเกล้า ทาวเวอร์ บี /1

มีนาคม 2549

G

L (2570)

1 1 ,334

87

49

6. แจ้งวัฒนะ

มีนาคม 2552

G

F

19,942

98

50

7. แกรนด์ พระราม 9

ธันวาคม 2554

G

L (2583)

7,378

95

33

171,591

94

372

รวม

หมายเหตุ: /1 ทรัพย์สินที่ CPNREIT เช่าช่วงจาก CPN เต็มพื้นที่ เมื่อเดือนธันวาคม 2560 ตามแผนการแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2567 /2 ปีที่เข้าซื้อกิจการ /3 ร้อยละ 97 ของพื้นที่อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ ให้เช่าช่วงแก่ CPNCG ตั้งแต่เดือนกันยายน 2555 สิ้นสุดเดือนกันยายน 2575 (ส่วนที่ 1) และตั้งแต่ธันวาคม 2555 สิ้นสุดเดือนธันวาคม 2575 (ส่วนที่ 2) /4 รูปแบบการพัฒนาโครงการ (A = Acquisition การซื้อกิจการ) (G = Greenfield การก่อสร้าง) /5 สิทธิในที่ดิน (F = Freehold เจ้าของกรรมสิทธิ์ที่ดิน) (L = Leasehold สิทธิการเช่า)

58


รายงานประจํ า ปี 2560

โครงการโรงแรม ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

เริ่มดําเนินการ

โรงแรม 1. โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี 2. โรงแรมฮิลตัน พัทยา

จํานวนห้องพัก

(เดือน ปี) /1

เมษายน 2552

/2

อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ)

/3

พฤศจิกายน 2553

รวม

259

74

302

95

561

86

บทที่ 14

หมายเหตุ: /1 CPN เป็นเจ้าของโครงการและให้บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) เป็นผู้บริหารโรงแรม /2 ทรัพย์สินที่ CPNREIT เช่าช่วงจาก CPN เมื่อเดือนธันวาคม 2560 สิ้นสุดเดือนสิงหาคม 2580 และให้บริษัท ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชั่น จํากัด เป็นผู้บริหารโรงแรม /3 ปีที่เข้าซื้อกิจการ

โครงการที่พักอาศัย

ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ที่พักอาศัย 1. เซ็นทรัล ซิตี้ เรสซิเดนซ์

/1

เริ่มดําเนินการ

พื้นที่ให้เช่า

อัตราการเช่าพื้นที่

(เดือน ปี)

(ตร.ม.)

(ร้อยละ)

1,567

21

1,567

21

ธันวาคม 2544

รวม หมายเหตุ: /1 CPN เป็นเจ้าของห้องชุดจํานวน 11 ยูนิตของโครงการที่พักอาศัย /2 ปีที่เข้าซื้อกิจการ

59

/2


โครงการในอนาคต ศูนย์การค้าในประเทศ

*Subject to change

เซ็นทรัลภูเก็ต ที่ตั้ง: บริเวณหัวมุมถนนเทพกษัตรีตัดกับถนนวิชิตสงคราม ตําบลวิชิต อําเภอ เมือง จังหวัดภูเก็ต

CPN พัฒนาโครงการเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต เดิม และโครงการเซ็นทรัล ภูเก็ต ร่วมกัน เพือ ่ จะทําให้เป็นโครงการศูนย์การค้าขนาดใหญ่และมีความ ครบวงจรแห่งหนึง ่ ของจังหวัดภูเก็ต สามารถรองรับกลุม ่ ลูกค้าทีม ่ ก ี าํ ลัง ซื้อได้หลายระดับทั้งจากภายในประเทศและต่างประเทศ และยังเพิ่มความ สามารถในการแข่งขัน ซึ่งการพัฒนาประกอบด้วย 3 เฟส โดยเฟส 1 คือ ส่วนพื้นที่ของเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต เดิม ที่จะพลิกโฉมใหม่ให้มีความ สวยงามและทันสมัยขึ้น รวมทั้งเป็นแหล่งรวมแบรนด์ชั้นนําทั้งไทยและ ต่างประเทศ และเป็นศูนย์รวมร้านอาหารนานาชาติชื่อดังมากมาย เฟส 2 คือ พื้นที่ใหม่ที่เป็นของโครงการเซ็นทรัลภูเก็ต ที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์แบบ Luxury รองรั บ ความต้ อ งการของกลุ่ ม นั ก ท่ อ งเที่ ย วที่ มี กํ า ลั ง ซื้ อ สู ง ประกอบด้วยร้านสัญลักษณ์ของสินค้าแบรนด์หรู (Flagship Store) และ แอทแทรคชั่ น (Live Attraction) ระดั บ โลกที่ จ ะมอบประสบการณ์ แปลกใหม่ โดยพื้นที่ทั้งหมดของ เฟส 1 และเฟส 2 จะเชื่อมต่อถึงกันด้วย สะพานลอยฟ้าที่ตกแต่งเป็นสวนสาธารณะอันร่มรื่น พร้อมทางเลื่อน อัตโนมัติเพื่อความสะดวกสบายในการจับจ่ายใช้สอยให้กับผู้ที่เข้ามาใช้ บริการ

ขนาดโครงการ: ที่ดินประมาณ 57 ไร่ (CPN เป็นเจ้าของสิทธิการเช่าที่ดิน) โดยมีพื้นที่ โครงการรวมทัง ้ สิน ้ 244,000 ตารางเมตร ซึง ่ เป็นพืน ้ ทีข ่ อง CPN จํานวน 219,000 ตารางเมตร โครงการมีลก ั ษณะเป็นศูนย์การค้ารูปแบบ Luxury Shopping Mall ประกอบด้วย อาคารศูนย์การค้าสูง 3 ชั้น และใต้ดิน 1 ชัน ้ ภายในโครงการประกอบด้วย ร้านค้าจําหน่ายแบรนด์ชน ั้ นําระดับโลก (World Fashion Brand) เซ็นทรัล ฟู้ด ฮอลล์ ซูเปอร์มาร์เก็ตสินค้า คุณภาพเยีย ่ ม ศูนย์รวมอาหารขึน ้ ชือ ่ ของประเทศไทย สปา โรงภาพยนตร์ รวมถึงแหล่งบันเทิงระดับโลกทีม ่ อบประสบการณ์พเิ ศษเหนือจินตนาการ ได้แก่ ย่านตลาดน้ําและของดีจากทั่วทุกภาค (Tales of Thailand) โลกใต้ทะเล (Aquaria) และไตรภูมิ (The Mystic of Three Worlds) ทีจ ่ ะสร้างความตืน ่ ตาตืน ่ ใจเพือ ่ ดึงดูดนักท่องเทีย ่ วจากทัว ่ โลกทัง ้ ชาวไทย และชาวต่ า งชาติ ใ ห้ ม าสั ม ผั ส นอกจากนั้ น โครงการยั ง เป็ น ศู น ย์ ร วม ร้ า นอาหารอร่ อ ยหลากหลายสไตล์ อาทิ บาร์ แ ละบิ ส โตร ร้ า นอาหาร ไลฟ์สไตล์ ร้านอาหารสําหรับครอบครัว ร้านกาแฟและเบเกอรี่ ศูนย์อาหาร ในรูปแบบ Food Park และร้านอาหารซื้อกลับ (Take Home) เป็นต้น โดยโครงการมีบริการพื้นที่จอดรถรองรับกว่า 3,000 คัน

นอกจากนี้ CPN ยังเตรียมพัฒนาพืน ้ ทีเ่ ฟส 3 สําหรับโครงการในอนาคต ่ ด ุ ซึง ่ ประกอบด้วย โรงแรม ศูนย์การประชุมนานาชาติทใี่ หญ่และทันสมัยทีส ในภาคใต้ ที่สามารถรองรับการประชุม การจัดงานระดับประเทศ และงาน แสดงสินค้าระดับโลก รวมทั้งยังมีแผนสร้างสวนสนุกที่มีธีม (Theme Park) ขนาดใหญ่ เพื่อรองรับนักท่องเที่ยวกลุ่มครอบครัวอีกด้วย

ศักยภาพของโครงการ: ตั้งอยู่ใจกลางเกาะภูเก็ตบนแยกไทนาน ย่านธุรกิจที่ดีที่สุดของภูเก็ต และ เป็นจุดต่อของถนนสายหลักสําคัญทีเ่ ชือ ่ มต่อการเดินทางจากทุกเส้นทาง ใกล้กบ ั สนามบินนานาชาติ สะดวกต่อการเดินทาง พืน ้ ทีด ่ า้ นหน้าติดถนน รวม 1,500 เมตร เปิดมุมมองที่กว้างของโครงการ ซึ่งพื้นที่บริเวณนี้จะ ถูกพัฒนาให้กลายเป็นย่านธุรกิจทีส ่ มบูรณ์ของภูเก็ตต่อยอดความสําเร็จ ของเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต เพื่อตอบสนองความต้องการทั้งไลฟ์สไตล์ แบบลักซ์ชัวรี (Luxury Lifestyle) และไลฟ์สไตล์แบบแคชชวล (Casual Lifestyle) ของทั้งคนไทยและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ

ความคืบหน้าของโครงการ: อยู่ ร ะหว่ า งการก่ อ สร้ า งเฟส 2 คาดว่ า โครงการจะแล้ ว เสร็ จ และเปิ ด ดําเนินการได้ในปี 2561 เงินลงทุน: ประมาณ 6,650 ล้านบาท (ไม่รวมเงินลงทุนในการก่อสร้างห้างสรรพสินค้า เซ็นทรัล ซึง ่ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเป็นผูร้ บ ั ผิดชอบดําเนินการก่อสร้าง)

60


รายงานประจํ า ปี 2560

ศูนย์การค้าในต่างประเทศ CPN ได้ พิ จ ารณาและศึ ก ษาถึ ง โอกาสในการขยายการลงทุ น ไปยั ง

CPN ได้ศึกษาโอกาสในการลงทุนเพิ่มเติมในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉี ย งใต้ โดยเน้ น ที่ ป ระเทศมาเลเซี ย เวี ย ดนาม และอิ น โดนี เ ซี ย ทั้ ง นี้

ต่างประเทศ โดยมุ่งความสนใจไปยังประเทศในภูมิภาคเอเชียที่มีศักยภาพ และอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจสูง ด้วยเล็งเห็นถึงโอกาสทางธุรกิจ

การพัฒนาโครงการในต่างประเทศ CPN ได้มองโอกาสในส่วนของการ

และเพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงในการลงทุน อย่างไรก็ดี CPN ได้

ปรับปรุงศูนย์การค้าที่มีอยู่แล้วและการพัฒนาโครงการใหม่ ๆ ในพื้นที่

ตระหนั ก ถึ ง ความแตกต่ า งของภาวะตลาด สภาวะการแข่ ง ขั น และ

ที่มีศักยภาพ โดยอาจมีการร่วมทุนกับพันธมิตรในต่างประเทศเพื่อให้ สามารถบุกเบิกตลาดใหม่ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและสร้างเสริม

ความเสี่ยงของการทําธุรกิจในต่างประเทศ จึงจัดตั้งคณะทํางานพิเศษ เพื่อศึกษาประเทศเป้าหมายในหลากหลายมิติ ทั้งในแง่เศรษฐกิจ สังคม

ความแข็งแกร่งในการแข่งขันในประเทศนัน ้ ๆ ได้อย่างดียง ิ่ ขึน ้ นอกจากนี้

การเมือง อุตสาหกรรมและการแข่งขัน กฎหมายการประกอบธุรกิจ และ ความเสีย ่ งอืน ่ ๆ ทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ในแต่ละประเทศที่ CPN สนใจ เพือ ่ คัดกรอง

CPN ยังได้รับข้อมูลสนับสนุนบางส่วนจากประสบการณ์ในการดําเนิน ธุรกิจของกลุ่มเซ็นทรัลในต่างประเทศ ทําให้ CPN สามารถวิเคราะห์และ

ตลาดที่มีทั้งศักยภาพ โอกาสทางธุรกิจ และความเหมาะสมต่อธุรกิจ

พั ฒ นาโครงการในต่ า งประเทศได้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น โดยปั จ จุ บั น CPN ได้เข้าร่วมลงทุนในโครงการเซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ ประเทศมาเลเซีย เป็น

ของ CPN โครงการต่าง ๆ ที่อยู่ในแผนได้ถูกนํามาประเมินความเป็น ความเป็นไปได้อย่างรอบคอบเพื่อการตัดสินใจลงทุนอย่างมีประสิทธิผล สูงสุด เป็นไปอย่างระมัดระวังและตัง ้ อยูบ ่ นพืน ้ ฐานของหลักการการเติบโต

ศูนย์การค้าแห่งแรกของ CPN ในต่างประเทศ โดยเล็งเห็นถึงธุรกิจค้า ปลีกในมาเลเซียที่มีโอกาสและศักยภาพในการเติบโต บทที่ 14

อย่างมั่นคงและยั่งยืน

61 *Subject to change


*Subject to change

เซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ ศักยภาพของโครงการ:

รูปแบบการลงทุน:

โครงการตั้งอยู่ในพื้นที่โครงการ i-City “Malaysia Cybercenter” ขนาด 72 เอเคอร์ เมืองเทคโนโลยีแห่งใหม่ของมาเลเซีย ซึ่งคาดว่าจะเป็น ศู นย์ กลางการพบปะของชุ มชนในเขตตะวั นตกของรั ฐ สลั งงอร์ที่ ครบ วงจร ที่ ป ระกอบด้ ว ยย่ า นธุ ร กิ จ หลั ก ของเมื อ ง แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย แหล่งพักผ่อนหย่อนใจทีม ่ ค ี วามบันเทิงครบสมบูรณ์แบบด้วยศูนย์การค้า อาคารสํานักงานไซเบอร์เซ็นเตอร์ สํานักงานของบริษัทชั้นนํา โรงแรม อาคารที่พักอาศัย พื้นที่ค้าปลีก รวมถึงสวนน้ํา โดมหิมะ และชิงช้าสวรรค์ สถานที่ ท่ อ งเที่ ย วประดั บ ไฟในยามค่ํ า คื น อี ก ทั้ ง ยั ง มี แ ผนที่ จ ะพั ฒ นา ศูนย์ศิลปะการแสดงในอนาคต เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น โดย กลุ่มเป้าหมายของโครงการครอบคลุมผู้ที่มีรายได้ระดับกลางถึงระดับ บนในเมืองชาห์อลัม เมืองหลวงของรัฐสลังงอร์ ซึ่งมีประชากรมากกว่า 600,000 คน และมี ก ารเติ บ โตของกลุ่ ม คนชั้ น กลางที่ มี กํ า ลั ง ซื้ อ สู ง อย่างรวดเร็ว รวมถึงประชากรในรัฐสลังงอร์ที่มีมากกว่า 5 ล้านคน รวมถึงกลุ่มเป้าหมายในเมืองใกล้เคียงอีกด้วย

CPN จัดตั้งบริษัทย่อยร่วมกับบริษัท I-R&D Sdn. Bhd. (IRD) ซึ่งเป็น บริษัทย่อยของบริษัท I-Berhad จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เบอร์ซ่า ที่ดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศมาเลเซีย เพื่อพัฒนา โครงการเซ็นทรัล ไอ-ซิตี้ โดย CPN ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 60 ผ่าน บริ ษั ท ย่ อ ยที่ จั ด ตั้ ง ขึ้ น ในประเทศไทย และ IRD ถื อ หุ้ น ในสั ด ส่ ว น ร้อยละ 40 ในบริษท ั ย่อย นอกจากนี้ CPN จะเป็นผูบ ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์ ของโครงการ โดย CPN จะได้ รั บ ค่ า ธรรมเนี ย มในการบริ ห าร อสังหาริมทรัพย์ ที่ตั้ง: ตั้งอยู่ในเขต 7 ของเมืองชาห์อลัม รัฐสลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย ขนาบ ด้วยถนนหลวงสายหลัก 2 สาย คือ Federal Highway และ Baru Lembah Klang Highway มีทางเข้าออกที่สะดวกจากการคมนาคม ในทุกทิศทางทัง ้ จากกัวลาลัมเปอร์ เขตแคลง และเขตชาห์อลัม มีทางเชือ ่ ม จาก Federal Highway เพื่อเข้าสู่โครงการโดยตรง โครงการอยู่ห่าง จากเมืองหลวงกัวลาลัมเปอร์ 22 กิโลเมตร

ความคืบหน้าของโครงการ: อยู่ระหว่างการก่อสร้าง คาดว่าโครงการจะแล้วเสร็จและเปิดดําเนินการ ได้ในปี 2561

ขนาดโครงการ: ที่ดินกรรมสิทธิ์ขนาด 11.12 เอเคอร์ หรือประมาณ 28 ไร่ ประกอบด้วย พื้นที่ใช้สอยประมาณ 278,000 ตารางเมตร พื้นที่จอดรถรองรับกว่า 3,000 คั น โครงการมี ลั ก ษณะเป็ น ศู น ย์ ก ารค้ า ในรู ป แบบ Regional Mall ซึง ่ CPN เป็นผูค ้ วบคุมการออกแบบ พัฒนา และบริหารศูนย์การค้า โดยเป็นผู้ริเริ่มในการสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ ให้กับวงการค้าปลีกของ มาเลเซี ย ทั้ ง นวั ต กรรมการออกแบบ การบริ ก ารที่ ย อดเยี่ ย มอั น เป็ น เอกลักษณ์ของความเป็นไทย รวมถึงความเชีย ่ วชาญและประสบการณ์ใน การบริหารศูนย์การค้าที่มีมายาวนาน

เงินลงทุน: ประมาณ 830 ล้านริงกิต หรือประมาณ 8,300 ล้านบาท (เงินลงทุน รวมทัง ้ โครงการรวมเงินลงทุนในการก่อสร้างห้างสรรพสินค้า โดย CPN ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 60 ในบริษัทย่อย)

62


รายงานประจํ า ปี 2560

โครงการคอนโดมิเนียมเอสเซ็นท์ (ESCENT) รายละเอียดโครงการปัจจุบัน :

โครงการ

เอสเซ็นท์ เชียงใหม่

เอสเซ็นท์ ขอนแก่น

เอสเซ็นท์ ระยอง

ที่ตั้ง

ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118

ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2

ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 36

ถ.เชียงใหม่-ดอยสะเก็ด

ถ.มิตรภาพ ต.ในเมือง

ถ.สายบ้านหนองมะหาด-บ้านชาย

ต.ฟ้าฮ่าม อ.เมืองเชียงใหม่

อ.เมืองขอนแก่น

กะป่อม ต.เชิงเนิน อ.เมืองระยอง

จ.เชียงใหม่

จ.ขอนแก่น

จ.ระยอง

พื้นที่

2-0-88.1 ไร่

2-1-45.5 ไร่

2-3-60.4 ไร่

ลักษณะโครงการ

อาคารชุดสูง 26 ชั้น

อาคารชุดสูง 24 ชั้น

อาคารชุดสูง 25 ชั้น

จํานวนห้อง

398 ยูนิต

408 ยูนิต

419 ยูนิต

ขนาดห้องชุด ระยะเวลาก่อสร้าง

ประมาณ 2 ปี พร้อมโอนในปี 2561

กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

คนท้องถิ่นและคนทํางานในพื้นที่ ซื้อเพื่ออยู่อาศัยเป็นหลัก

มูลค่าการลงทุนรวม

1,595 ล้านบาท

(ไม่รวมค่าที่ดิน) ยอดขาย

ร้อยละ 100

โครงการคอนโดมิเนียมเอสเซ็นท์ วิลล์ (ESCENT VILLE) และ เอสเซ็นท์ (ESCENT) รายละเอียดโครงการใหม่ :

โครงการ

เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงใหม่

เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงราย

เอสเซ็นท์ นครราชสีมา

ที่ตั้ง

ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118

ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1

ริมทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2

ถ.เชียงใหม่-ดอยสะเก็ด

ถ.พหลโยธิน (เก่า) ต.รอบเวียง

ถ.ทางหลวงท้องถิ่น

ต.ฟ้าฮ่าม อ.เมืองเชียงใหม่

อ.เมืองเชียงราย

ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา

จ.เชียงใหม่

จ.เชียงราย

จ.นครราชสีมา

พื้นที่

5-1-10.76 ไร่

2-2-35.4 ไร่

2-3-78 ไร่

ลักษณะโครงการ

อาคารชุดสูง 8 ชั้น 2 อาคาร

อาคารชุดสูง 8 ชั้น 2 อาคาร

อาคารชุดสูง 21 ชั้น

จํานวนห้อง

450 ยูนิต

312 ยูนิต

380 ยูนิต

ขนาดห้องชุด

23-32 ตารางเมตร (ห้องมาตรฐาน) ตกแต่งพร้อมอยู่

ระยะเวลาก่อสร้าง

ประมาณ 2 ปี พร้อมโอนในปี 2562

กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย

คนท้องถิ่นและคนทํางานในพื้นที่ ซื้อเพื่ออยู่อาศัยเป็นหลัก

มูลค่าการลงทุนรวม

1,306 ล้านบาท

(ไม่รวมค่าที่ดิน)

CPN Residence วางแผนพัฒนาโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยอย่างต่อเนือ ่ ง ควบคูก ่ บ ั ศูนย์การค้าของ CPN ทีต ่ ง ั้ อยูใ่ นทําเลทีด ่ ท ี ว ั่ ประเทศ และทีด ่ น ิ ที่มีศักยภาพในการพัฒนาโครงการ โดยจะพัฒนาโครงการเป็น Residential & Commercial Community อาศัยความเป็นผู้นําในธุรกิจ ค้าปลีกกับทีมงานที่มีประสบการณ์ด้านอสังหาริมทรัพย์มาเป็นยุทธศาสตร์ในการขยายธุรกิจ

63

บทที่ 14

24-42 ตารางเมตร (ห้องมาตรฐาน) ตกแต่งพร้อมอยู่


โครงสร้างการถือหุ้น บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา 26.69%

25.00%

ทรัสต์เพื่อการลงทุนใน สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท

99.99% 99.99% 99.99% 99.99% 99.99% 99.99% 99.99% 90.00% 99.99%

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้

กองทุนรวมสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ CPN คอมเมอร์เชียล โกรท

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2

99.99%

บจ. ซี.เอส.ซิต้ี

99.99%

บจ. บางนาเซ็นทรัล พร็อพเพอร์ต้ี

25.00% 12.00%

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ 11.85%

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์

99.99%

บจ. เซ็นทรัลฟูด ้ อเวนิว 99.99%

บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ บจ. ซีพเี อ็นระยอง บจ. ซีพเี อ็น โกบอล บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์สแควร์

99.99%

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี

99.99% 78.13% 99.99%

บจ. อยุธยาเกษตรธานี

บจ. ซีพเี อ็น ซิต้ี บจ. ซีพเี อ็น คอมเพล็กซ์

100%

Global Retail Development & Investment Limited

100%

Global Commercial Property Limited

CPN Ventures Sdn. Bhd.

100%

100%

บจ. ซีพเี อ็น เลิรน ์ นิง ่ เซ็นเตอร์

100%

บจ. ซีพเี อ็น เรซซิเด้นซ์ บจ. ซีพเี อ็น โคราช

CPN Real Estate Sdn. Bhd. CPN Malls Malaysia Sdn. Bhd.

50.00%

CentralPlaza i-City Malls Malaysia Sdn. Bhd. Central Plaza i-City Sdn. Bhd. Central Plaza i-City Real Estate Sdn. Bhd

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น บจ. ซีพเี อ็น เรซซิเด้นซ์ ขอนแก่น

100%

บจ. ซีพเี อ็น รีท แมเนจเมนท์ 3) บจ. วิมานสุรย ิ า

4)

63.00%

บจ. สวนลุม พร็อพเพอร์ต้ี 5)

75.00%

บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ต้ี แมนเนจเม้นท์ 6)

90.00%

บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ 7)

65.00%

บจ. ดาราฮาร์เบอร์ 8)

100%

บจ. สแควร์ ริทซ์ พลาซ่า

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3

บจ. ซีพเี อ็น เอสเตท

50.00%

บจ. ฟีโนมินอน ครีเอชัน ่ 2)

บจ. สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์

100%

99.94%

35.00%

50.99%

10.00%

100%

99.99%

กองทุนรวม ธุรกิจไทย 5 11)

บจ. ซีพเี อ็น พัทยา

93.30%

99.96%

กองทุนรวม ธุรกิจไทย 4

12.00%

99.94%

99.99%

100% 1)

100%

บจ. ซินเนอร์จส ิ ติก พร็อพเพอร์ต้ี ดีเวลอปเมนท์ 9) บจ. ซีพเี อ็น พัทยา โฮเทล 10)

หมายเหตุ: 1) สัดส่วนของผู้ถือหน่วยลงทุนประเภทเจ้าของ ไม่รวมผู้ถือหน่วยลงทุนประเภทเจ้าหนี้ 2) บจ.ฟิ​ิ โ นมิ น อน ครี เ อชั่ น เป็ น บริ ษั ท จั ด ตั้ ง ขึ้ น ใหม่ เมื่ อ วั น ที่ 24 กรกฎาคม 2560 ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ร่วมทุนกับ บจ. ไรท์แมน ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 49 3) บจ. ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 4) บจ. วิมานสุริยา เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี (DTC) ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 65 5) บจ. สวนลุ ม พร็ อ พเพอร์ ตี้ เป็ น บริ ษั ท ร่ ว มทุ น กั บ บมจ. ดุ สิ ต ธานี (DTC) ซึ่ ง ถื อ หุ้ น ร้ อ ยละ 37 โดย DTC จะทยอยขายหุ้นให้ CPN จนกระทั่ง CPN ถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 85 ในที่สุด 6) บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี (DTC) ซึ่งถือหุ้น ร้อยละ 25 7) บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี (DTC) ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 10 8) บจ. ดาราฮาร์เบอร์ เป็นบริษัทที่ บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ซื้อหุ้นจาก บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (PF) เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560 9) บจ. ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลอปเมนท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2560 ซีงเป็นบริษัทร่วมทุนกับ บจ. เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 50 10) บจ. ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2560 11) สิ้นสุดอายุโครงการตามสัญญาในวันที่ 5 มีนาคม 2561 และดําเนินการเลิกกองทุนในวันที่ 9 มีนาคม 2561

64

10.00%


รายงานประจํ า ปี 2560

โครงสร้างรายได้ หน่วย: ล้านบาท กลุ่มธุรกิจ/ดําเนินการโดย

ร้อยละ

ปี 2556

ปี 2557

ปี 2558

ปี 2559

ปี 2560

การถือหุ้น จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ จํานวน ร้อยละ ศูนย์การค้า

17,522 79.58 19,743 79.93 21,577

81.46 24,537

81.48 25,340 79.30

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่

99.99

บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์

99.99

บจ. ซีพีเอ็น พัทยา

99.99

บจ. เซ็นทรัลเวิลด์

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น

78.13

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์

93.30

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์

99.99

บจ. ซีพีเอ็น ระยอง

99.99

อาคารสํานักงาน

บทที่ 15, 16

บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา

579

2.63

612

2.48

638

2.41

667

2.21

690

2.16

903

4.10

958

3.88

983

3.71

998

3.31

1,097

3.43

19

0.08

17

0.07

10

0.04

8

0.04

3

0.01

7

0.03

42

0.14

27

0.08

882

4.01

975

3.95

1,068

4.03

1,389

4.61

1,631

5.10

98

0.44

61

0.25

24

0.09

27

0.09

23

0.07

686

3.12

813

3.29

749

2.83

853

2.83

839

2.62

1,321

6.00

1,518

6.14

1 ,4 3 1

5.40

1,600

5.31 2,309

7.23

100 30,1 1 4

100 31,956

100

บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์

93.30

โรงแรม บจ. เซ็นทรัลเวิลด์

99.99

บจ. ซีพีเอ็น พัทยา

99.99

อาคารที่พักอาศัย บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้

1)

บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ สวนนํา้ และสวนพักผ่อน

1 0.003

1 0.002

99.99 99.99

บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2

99.99

บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้

99.99

ศูนย์อาหาร บจ. เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่

99.99

บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์

99.99

บจ. เซ็นทรัลเวิลด์

99.99

บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์

99.99

ดอกเบี้ยรับ ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม และกิจการร่วมค้า รายได้อื่น รวมรายได้ 2)

22,018

100 24,700

100 26,486

หมายเหตุ: 1) เดิมคือ บจ. หลังสวนเรียลตี้ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้ เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2559 2) ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา

65


CPN และการพัฒนา สู่ความยั่งยืน

66

24


รายงานประจํ า ปี 2560

การบริหารจัดการ เพื่อความยั่งยืน

CPN ยึดถือและดําเนินการตามหลักบรรษัทภิบาลตั้งแต่เริ่มก่อตั้ง

คอร์รป ั ชัน ่ และให้ความสําคัญกับผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกกลุม ่ ตลอดห่วงโซ่

บริษัทฯ ขึ้นในปี 2523 จากนั้นได้มีการพัฒนาตามระบบมาตรฐาน

คุณค่า และตั้งแต่ปี 2558 เป็นต้นมา CPN ได้ผนวกเป้าหมายการ

สากลมุ่ ง เน้ น เรื่ อ งความโปร่ ง ใส ตรวจสอบได้ โดยผสมผสานกั บ

พัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals-SDGs)

แนวทางการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น คํ า นึ ง ถึ ง เกณฑ์ ต ามดั ช นี ค วาม

ตามกรอบสหประชาชาติในกระบวนการกําหนดประเด็นสาระสําคัญ

ยั่งยืน 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม อีกทั้งเข้าร่วม

ด้านความยัง ่ ยืน โดยมุง ่ เน้นเป้าหมายทีส ่ อดคล้องกับบริบทการดําเนิน

โครงการแนวร่วมปฏิบต ั ข ิ องภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต

ธุรกิจ และสามารถผลักดันให้เห็นผลได้อย่างเป็นรูปธรรม

ประเมินความ สำคัญของ ประเด็น

1

ระบุประเด็น ที่สำคัญ

ทบทวนและ รายงานผล

2

3

1. ระบุประเด็นที่สําคัญ

จัดลำดับความ สำคัญของ ประเด็น

4

เกณฑ์การประเมินองค์กรด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Dow Jones Sustainability Assessment Criteria) มาตรฐาน

CPN ระบุประเด็นที่มีความสําคัญด้านความยั่งยืน ร่วมกับประเด็น

สากล Committee of Sponsoring Organizations of the

ความเสี่ยงและโอกาส โดยพิจารณาจากการวิเคราะห์จาก

Treadway Commission (COSO) และกระบวนการตาม

แนวทางของ Global Reporting Initiative (GRI Standards)

ความท้าทายจากปัจจัยภายนอก เช่น แนวโน้มกระแสโลก การ

Corporate G overnance Report of Thai Listed

เปลีย ่ นแปลงด้านพฤติกรรมของผูบ ้ ริโภค แนวโน้มการแข่งขันใน

Companies (CGR) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษท ั ไทย

ตลาด และความท้าทายจากปัจจัยภายใน เช่น ผลการดําเนินงาน

(IOD) ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) และกรอบการ

จุดอ่อน จุดแข็ง ดัชนีตัวชี้วัดด้านความเสี่ยงระดับองค์กร •

วิ เ คราะห์ ด้ า นความยั่ ง ยื น -ESG จากสถาบั น การเงิ น และ

ประเด็ น ที่ มี นั ย สํ า คั ญ ซึ่ ง ได้ จ ากการรั บ ฟั ง ข้ อ คิ ด เห็ น และ

การลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ข้อเสนอแนะและการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญ 5 กลุม ่ ได้แก่ ลูกค้า ร้านค้า คูค ่ า้ พนักงาน และชุมชน ผ่านช่องทาง

2. ประเมินความสําคัญของประเด็น

การสํารวจความคิดเห็น การสนทนากลุ่ม การประชุม และการ •

พบปะหารือทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ

ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและการพัฒนาอย่างยั่งยืน วิเคราะห์และ

กรอบการดํ า เนิ น งานด้ า นการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ตามหลั ก

ประเมินความสําคัญของประเด็นด้านความยั่งยืน ความเสี่ยง และ

สากล เช่นเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในกรอบสหประชาชาติ

โอกาส โดยดําเนินการผ่าน

SDGs Guidelines ข้อตกลงโลกแห่งสหประชาชาติ (UNGC)

67

บทที่ 17

กระบวนการประเมินประเด็นสําคัญด้านความยัง ่ ยืน


4. ทบทวนและรายงานผล

การประชุมกลุ่มย่อยกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้เสีย โดยตรง เช่น หน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลลูกค้าสัมพันธ์ ร้านค้า

สัมพันธ์ ชุมชนสัมพันธ์ เป็นต้น เพื่อพิจารณาระดับผลกระทบ

CPN มีการติดตามและวิเคราะห์ผลการดําเนินงานตามแผนกลยุทธ์

และทบทวนระดับความสําคัญจากมุมมองของผู้มีส่วนได้เสีย

องค์ ก รสู่ค วามยั่ง ยื น และการบริ ห ารความเสี่ย ง และรายงานต่ อ

โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลระดับทุติยภูมิ

คณะกรรมการบรรษั ท ภิ บ าลและการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น และ

การประชุ ม กั บ ตั ว แทนผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย บางกลุ่ ม โดยตรง เช่ น

คณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ งตามลําดับ เพือ ่ ทบทวนลําดับความ

ประชุ ม กั บคู่ ค้ าและพนั ก งาน เพื่ อประเมิ นผลกระทบและความ

สําคัญและผลกระทบของประเด็นเหล่านั้นอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง

สํ า คั ญ ของประเด็ น ความยั่ ง ยื น ที่ เ กี่ ย วข้ อ งจากมุ ม มองของ

โดยบางประเด็นยังคงความสําคัญไว้และบางประเด็นมีการเพิ่มเติม

ผู้มีส่วนได้เสียโดยตรง โดยข้อมูลที่ได้เป็นข้อมูลระดับปฐมภูมิ

ขึ้นใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับภาวะโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว

การวิเคราะห์ประเด็นทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งกับผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียกลุม ่ อืน ่ ๆ เช่น

อีกทั้งพิจารณาอนุมัติในการเปิดเผยข้อมูลตามเกณฑ์สากลอย่าง

เจ้าหนี้ คูแ ่ ข่งทางการค้า และผูถ ้ อ ื หุน ้ นักลงทุน ผ่านการวิเคราะห์

เหมาะสมต่อไป

หารือ และประเมินประเด็นจากผูบ ้ ริหารระดับสูงในการจัดทําแผน

การมีส่วนร่วมและการดูแลผู้มีส่วนได้เสีย หลักที่สําคัญ

กลยุทธ์องค์กร •

การประเมินระดับผลกระทบและโอกาสในการเกิดของประเด็น เหล่ า นั้ น ผ่ า นการทํ า แบบสํ า รวจ โดยคณะกรรมการบริ ห าร

CPN วิเคราะห์และระบุผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญออกเป็น 8 กลุ่ม

ความเสี่ยงและคณะทํางานด้านความเสี่ยงในระดับปฏิบัติการ

ใหญ่ มี ก ารกํ า หนดช่ อ งทางการรั บ ฟั ง ข้ อ คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะ พร้อมส่งเสริมการมีส่วนร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย เพื่อตอบสนองต่อ

3. จัดลําดับความสําคัญของประเด็น

ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสม คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล

ครบถ้วน และทันท่วงที โดยกําหนดหน่วยงานรับผิดชอบในแต่ละ

และการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประชุมเพื่อทวนสอบความครบถ้วนและ

สายงานอย่างเหมาะสมครอบคลุมถึงการวิเคราะห์ ตอบสนอง และ

การจัดลําดับความสําคัญของประเด็นดังกล่าวโดยอนุมัติและยืนยัน

ถ่ายทอดข้อมูลภายในระหว่างกันอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความ

ประเด็นด้านความยั่งยืน ความเสี่ยง และโอกาสที่มีนัยสําคัญในปี

เสี่ยงที่จะเกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อม และสร้างความสัมพันธ์ที่

2560 รวม 9 ประเด็นเพื่อใช้เป็นองค์ประกอบในการกําหนดกลยุทธ์

ดีอย่างต่อเนื่อง

องค์กรสู่ความยั่งยืน และกลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงขององค์กร

68


รายงานประจํ า ปี 2560

การจําแนกและวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย

1

จัดกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญและกลุ่มรอง เพือ ่ วิเคราะห์ความเสีย ่ งและผลกระทบทัง ้ ทางตรง ทางอ้อมและช่องทางในการมีสว ่ นร่วมทีเ่ หมาะสม ในการกําหนดประเด็นความยั่งยืนร่วมกัน

เจ้าหนี้

2

พนักงาน

คู่ค้า ผู้รับเหมา ผู้รับเหมาช่วง

จัดช่องทางการสื่อสารทั้งออนไลน์และออฟไลน์ รวมทั้งการพบปะแบบตัวต่อตัว โดยเจ้าหน้าที่ที่ รับผิดชอบโดยตรงเป็นประจําอย่างต่อเนือ ่ ง รวม ไปถึงช่องทางรับข้อเสนอแนะ และข้อร้องเรียน การสํารวจความต้องการ ความพึงพอใจ และ ความผูกพัน การทําสนทนากลุม ่ (Focus group) การประชุ ม และการจั ด กิ จ กรรมร่ ว มกั น ตาม กระบวนการที่กําหนดอย่างสม่ําเสมอ

ร้านค้า

CPN คู่แข่ง ทางการค้า ผู้ถือหุ้น นักลงทุน

ชุมชน หน่วยงานราชการ ภาคประชาสังคม ตัวแทนภาคเอกชน

3

การตอบสนอง กําหนดกระบวนการตอบสนองต่อความต้องการ และข้ อ ร้ อ งเรี ย นในแต่ ล ะกลุ่ ม อย่ า งเหมาะสม รั ด กุ ม และสื่ อ สาร หรื อ เปิ ด เผยข้ อ มู ล อย่ า ง ครบถ้วน เพีย งพอและทั น ท่ ว งที อี ก ทั้ ง มี ก าร กําหนดกระบวนการรองรับและวิเคราะห์ข้อมูล ที่ได้อย่างเหมาะสม นําไปสู่การพัฒนาปรับปรุง กระบวนการภายในต่อไป

กลุ่มหลัก

บทที่ 17

ลูกค้า

การรับฟังและการมีส่วนร่วม

กลุ่มรอง

ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ในเรื่ อ งการคํ า นึ ง ถึ ง บทบาทของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย (Roles of Stakeholders) ในหน้ า 150 และการมี ส่ ว นร่ ว มและการดู แ ลผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย หลั ก ที่ สํ า คั ญ ได้ ที่ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน/ การมีส่วนร่วมและการดูแลผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญ

ผลการประเมินประเด็นความยั่งยืนที่สําคัญปี 2560 ความสำคัญและผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

5

1 การบริหารความเสี่ยง (ภายในประเทศและต่างประเทศ)

4

4

2 การปรับตัวรับพฤติกรรมผู้บริโภค

3 9

2

3 ความปลอดภัยและความสะดวกของลูกค้า

5

1

3

4 การสรรหาและสร้างความผูกพันกับร้านค้า 8

5 การพัฒนาและสร้างความผูกพันกับพนักงาน

6 7

2

6 ความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม 7 การบริหารทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

1

8 การบริหารห่วงโซ่อุปทานและพัฒนาคู่ค้า 9 การกำกับดูแลกิจการ

1

2

3

4

5

โอกาสและผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของ CPN 69

ดู ร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม เรื่ อ งการบริ ห ารความเสี่ ย งและประเด็ น ความเสี่ยงเกิดใหม่ ในหน้า 72


กลยุทธ์การดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน จากการวิเคราะห์ประเด็นความยั่งยืนที่สําคัญข้างต้น CPN จึงได้ กําหนดกลยุทธ์หลักในการดําเนินธุรกิจและวางแผนการดําเนินงานใน ระยะยาวเพื่อการพัฒนาและเติบโตอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย

การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหาร อสังหาริมทรัพย์

การจัดหาแหล่งเงินทุนและบริหารการเงินอย่างรอบคอบ

CPN มุ่ ง ที่ จ ะสร้ า งการเติ บ โตทางธุ ร กิ จ อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยการ

เงิ น ทุ น หลากหลายรู ป แบบ ทั้ ง เงิ น ทุ น จากการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ การ

แ ส ว ง ห า โ อ ก า ส ใ น ก า ร ข ย า ย ก า ร ล ง ทุ น พั ฒ น า แ ล ะ บ ริ ห า ร

กู้ ยื ม เงิ น การออกหุ้ น กู้ การจั ด ตั้ ง กองทรั ส ต์ เ พื่ อ การลงทุ น ใน

CPN ให้ความสําคัญกับการมีวินัยทางการเงินและการจัดหาแหล่ง

อสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ทั้ ง ในประเทศไทยและในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออก

อสังหาริมทรัพย์ (REIT) การออกหุน ้ เพิม ่ ทุน เป็นต้น เพือ ่ สร้างความ

เฉี ย งใต้ ซึ่ ง มี แ นวโน้ ม การเติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ มั่ น คง ในรู ป แบบ

เข้มแข็งทางการเงิน รองรับแผนการขยายธุรกิจ มีการบริหารต้นทุน

ของการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed-use

ทางการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ

Development) เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับโครงการ ซึ่งการกระจาย ฐานธุ ร กิ จ จะช่ ว ยสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ในการเติ บ โตของธุ ร กิ จ และ ลดความเสี่ยงทางธุรกิจ

แนวทางการบริหารจัดการ ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดเป้ า หมายความยั่ ง ยื น สู่ ก ารเป็ น ศูนย์กลางของการใช้ชว ี ต ิ (Center of Life) และศูนย์กลางของชุมชน

นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ความเป็นเลิศ ในการบริหารจัดการและการให้บริการ

(Center of Community) โดยบูรณาการพันธกิจความยั่งยืน 10

CPN มุง ่ รักษาขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยการสร้างสรรค์และ

และแผนการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนควบคู่กันไป รวมทั้งได้กําหนด

ประยุกต์ใช้นวัตกรรมใหม่ในการออกแบบ ตกแต่ง และสร้างบริการ

ตั ว ชี้ วั ด ด้ า นความยั่ ง ยื น และหน่ ว ยงานหลั ก ที่ ทํ า หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ

พันธกิจย่อยที่กําหนดตั้งแต่ปี 2558 ในกระบวนการกําหนดกลยุทธ์

รูปแบบใหม่ เพือ ่ สร้างประสบการณ์พเิ ศษ ความแปลกใหม่ และบริการ

มีการนําเสนอและรายงานผลการดําเนินงานจําแนกตามบริบทความ

ทีเ่ ป็นเลิศทีต ่ อบสนองกับความต้องการของลูกค้า รวมทัง ้ การพัฒนา

ยั่งยืนต่อคณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและ

เทคโนโลยีที่ใช้ในการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานภายในองค์กร และการปรั บ กระบวนการทํ า งานเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการ

การพัฒนาอย่างยั่งยืน และคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงอย่าง สมาํ่ เสมอ และถ่ายทอดผลการประเมินตัวชีว ้ ด ั ดังกล่าวสูก ่ ารประเมิน

ดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ผลงานของผู้บริหารและพนักงาน ลดหลั่นตามสายงานในสัดส่วนที่ เหมาะสม รวมทั้งมีการมอบหมายให้ผู้บริหารในฐานะผู้นาํ ด้านความ ยั่ ง ยื น (SD Champion) ทํ า หน้ า ที่ ส่ ง เสริ ม และสนั บ สนุ น ให้ ก าร ขับเคลื่อนแผนงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้

การดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย CPN ดําเนินธุรกิจภายใต้เจตนารมณ์ “การสร้างคุณค่าร่วมกับผู้มี ส่วนได้เสียและสังคมโดยรวม” โดยการดําเนินธุรกิจภายใต้แนวทาง การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี รั บ ฟั ง เสี ย งของผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย การใช้ ศักยภาพและความเชี่ยวชาญของ CPN ในการสร้างคุณค่าร่วม รวมทัง ้ รับผิดชอบต่อสังคมและสิง ่ แวดล้อมร่วมกันกับผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย

70


รายงานประจํ า ปี 2560

เป้าหมายและการดําเนินงานด้านความยั่งยืน เป้าหมาย

กลยุทธ์หลักในการ

การดําเนินการ

ด้านความยั่งยืน

ดําเนินธุรกิจ

ปัจจุบัน

SDGs

รายงานใน

การบริหารความเสี่ยง

บริหารและจัดการ ความเสี่ยงให้ลดลงใน ระดับที่ยอมรับได้

การกระจายฐานธุรกิจ การพัฒนาและบริหาร อสังหาริมทรัพย์

แผนงานการบริหารและ จัดการความเสี่ยงระดับ องค์กร

ปัจจัยความเสี่ยงและการ บริหารความเสี่ยง หน้า 72

การปรับตัวเพื่อรองรับ พฤติกรรมผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไป

มุ่งมั่นในการพัฒนา ศูนย์การค้าและธุรกิจที่ เกีย ่ วเนือ ่ ง อีกทัง ้ ให้บริการ แบบครบวงจร ตอบสนอง ความต้องการของ ทุกกลุ่ม ทุกไลฟ์สไตล์โดย คํานึงถึงความทันสมัย ความสะดวก ปลอดภัย และดีต่อสุขภาพ

นวัตกรรมการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ ความเป็นเลิศในการ บริหารจัดการและ การให้บริการ

1. การพัฒนาศูนย์การค้า ที่ตอบสนองทุกไลฟ์ สไตล์ 2. การให้บริการที่เป็นเลิศ 3. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล

หน้า 90 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ และการบริการ

มุ่งมั่นในการสร้างความ ผูกพันกับร้านค้า คู่ค้า และพนักงานสู่การ พัฒนานวัตกรรม ร่วมกัน

การดูแลและสร้าง ความสัมพันธ์กับ ผู้มีส่วนได้เสีย

การบริหารจัดการ และพัฒนาร้านค้า

หน้า 99 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/ การบริการจัดการและ พัฒนาร้านค้า

การพัฒนาและสร้าง มุ่งมั่นในการสร้างความ ความผูกพันกับพนักงาน ผูกพันกับร้านค้า คู่ค้า และพนักงานสู่การ พัฒนานวัตกรรม ร่วมกัน

การดูแลและสร้าง ความสัมพันธ์กับ ผู้มีส่วนได้เสีย

การบริหารจัดการ และสร้างความผูกพัน กับบุคลากร

หน้า 102 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/ การบริการจัดการและ สร้างความผูกพันกับบุคลากร

การบริหารห่วงโซ่อุปทาน มุ่งมั่นในการสร้างความ และพัฒนาคู่ค้า ผูกพันกับร้านค้า คู่ค้า และพนักงานสู่การ พัฒนานวัตกรรม ร่วมกัน

การดูแลและสร้าง ความสัมพันธ์กับ ผู้มีส่วนได้เสีย

การบริหารจัดการห่วงโซ่ อุปทาน

หน้า 109 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/ การบริการจัดการห่วงโซ่ อุปทาน

ความรับผิดชอบต่อ ชุมชนและสังคม

ผลักดันและส่งเสริมให้ ชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดี

การดูแลและสร้าง ความสัมพันธ์กับ ผู้มีส่วนได้เสีย

การแสดงความรับผิดชอบ และพัฒนาชุมชน

หน้า 114 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/ การแสดงความรับผิดชอบ และพัฒนาชุมชน

การบริหารทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

มุ่งมั่นในการใช้พลังงาน การดูแลและสร้าง อย่างรู้คุณค่าและคุ้มค่า ความสัมพันธ์กับ ลดการใช้และลดผลกระทบ ผู้มีส่วนได้เสีย ที่จะเกิดกับสิ่งแวดล้อม และสภาพภูมิอากาศ

การบริหารจัดการ ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม

หน้า 121 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การจัดการทรัพยากรและ สิ่งแวดล้อม

การกํากับดูแลกิจการ

สร้างวัฒนธรรมองค์กร บนพื้นฐานหลัก บรรษัทภิบาลที่ดี

การกํากับดูแลกิจการ

หน้า 148 และ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การกํากับดูแลกิจการที่ดี

ความปลอดภัยและ ความสะดวกของลูกค้า

การสรรหาและสร้าง ความผูกพันกับร้านค้า

71

บทที่ 17

ประเด็น


ปัจจัยความเสี่ยง

CPN ให้ความสําคัญเป็นอย่างยิง ่ กับการบริหารความเสีย ่ งแบบยัง ่ ยืน

นอกจากนี้ CPN ได้ให้ความสําคัญกับร้านค้าผู้เช่าตามหลักการที่ให้

และสนับสนุนให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม

ร้านค้าเป็นศูนย์กลางการให้บริการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ

องค์กรเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กร บริษัทฯ ทําการวิเคราะห์

และการติดตามผลการดําเนินงานของร้านค้า โดยทีมงานขายและ

ความเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง โดยคํานึงถึงปัจจัยภายในและภายนอก

ทีมงานร้านค้าสัมพันธ์ จะทําหน้าที่ดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับ

ให้ครอบคลุมรอบด้าน พิจารณาโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงนั้น และ

ร้านค้าอย่างสม่ําเสมอ เพื่อรับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ ให้คําปรึกษา

ประเมินผลกระทบของความเสีย ่ งทีม ่ ต ี อ ่ การดําเนินธุรกิจทัง ้ ทางตรง

และหาแนวทางร่วมกันในการพัฒนาศักยภาพ การดําเนินงาน และ

และทางอ้อม เพือ ่ กําหนดแผนงานรองรับอย่างเป็นรูปธรรมควบคูก ่ บ ั

การแข่งขันของร้านค้าให้เติบโตไปพร้อมกับศูนย์การค้าของบริษัทฯ

มาตรการการบริหารความเสี่ยงอย่างเหมาะสมในการป้องกัน กํากับ

รวมทั้งมีมาตรการช่วยเหลือร้านค้าในศูนย์การค้าที่ได้รับผลกระทบ

ดู แ ล และควบคุ ม ความเสี่ ย งด้ า นต่ า ง ๆ เพื่ อ ลดผลกระทบจาก

จากภาวะเศรษฐกิ จ และกํ า ลั ง ซื้ อ ที่ ยั ง ไม่ ฟื้ น ตั ว เต็ ม ที่ ได้ แ ก่ การ

ความเสีย ่ งทีอ ่ าจเกิดขึน ้ ให้อยูใ่ นระดับทีย ่ อมรับได้ ซึง ่ ปัจจัยความเสีย ่ ง

วางแผนร่ ว มกั น เพื่ อ พั ฒ นาแผนการตลาดที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ

หลัก ๆ ที่มีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจ มีดังนี้

ประสิทธิผลเพิม ่ ขึน ้ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการขายร่วมกับพันธมิตร

1. ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)

การตลาดที่โดดเด่น (Signature Events) เพื่อดึงดูดลูกค้าให้เข้ามา

จากวิสย ั ทัศน์ของบริษท ั ฯ ทีต ่ อ ้ งการเป็นผูพ ้ ฒ ั นาศูนย์การค้าในระดับ

1.2

ต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต และบัตร The 1 Card เป็นต้น การจัดกิจกรรม จับจ่ายใช้สอยและใช้บริการในศูนย์การค้า เป็นต้น

ความเสี่ยงจากภาวะการแข่งขัน

ภูมิภาคที่ได้รับความชื่นชมสูงสุดจากทุกฝ่ายและไม่หยุดนิ่งในการ ภาพรวมธุ ร กิ จ ค้ า ปลี ก ยั ง คงมี ภ าวะการแข่ ง ขั น ที่ รุ น แรงต่ อ เนื่ อ ง

สร้างสรรค์ประสบการณ์ที่น่าประทับใจในระดับโลกให้แก่ลูกค้า โดย CPN วางแผนที่จะขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่องทั้งในกรุงเทพฯ และ

ทั้งจากผู้ประกอบการรายเดิม และผู้ประกอบการรายใหม่ที่ทยอย

ปริมณฑล และเมืองสําคัญที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจ รวมถึงต่าง

เปิดศูนย์การค้าใหม่และปรับปรุงศูนย์การค้าเดิม โดยเฉพาะในพื้นที่

ประเทศโดยเฉพาะในภูมภ ิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผ่านรูปแบบของ

ที่มีศักยภาพทั้งในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมถึงจังหวัดที่เป็น

การพัฒนาศูนย์การค้าใหม่ การปรับปรุงศูนย์การค้าเดิม และการเข้า

แหล่งท่องเทีย ่ วหรือเขตเศรษฐกิจทีส ่ าํ คัญ เช่น ภูเก็ต และนครราชสีมา

ซือ ้ กิจการ นอกจากนี้ บริษท ั ฯ เล็งเห็นศักยภาพในการพัฒนาโครงการ

เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีศูนย์การค้าชุมชน (Community Mall) ที่

พื้นที่แบบผสม (Mixed-use Development) เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับ

เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง และเป็นการเพิ่มทางเลือกให้แก่

ศูนย์การค้าของบริษท ั ฯ ด้วยการพัฒนาโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยในรูปแบบ

ร้านค้าในการเปิดดําเนินการในศูนย์การค้าที่เหมาะสมและเพิ่มทาง

คอนโดมิเนียม ซึง ่ เป็นธุรกิจใหม่ของ CPN โดยความเสีย ่ งทีเ่ กีย ่ วข้อง

เลือกให้กบ ั ลูกค้าทีม ่ าซือ ้ สินค้าและใช้บริการในศูนย์การค้าทีส ่ อดคล้อง

กับการกําหนดแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ ประกอบด้วย

กับ Lifestyle ของตนเอง

1.1 ความเสี่ยงจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ และความไม่แน่นอนทางการเมือง

(Mobile Technology) ในการดํารงชีวิตมากขึ้น ทําให้การซื้อสินค้า

ในปี 2560 เศรษฐกิจของประเทศไทยมีการฟื้นตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับ

การรุ ก คื บ ของ E-Market Place ต่ า งชาติ เช่ น Lazada และ

ปีทผ ี่ า่ นมา เนือ ่ งจากการส่งออกทีเ่ ติบโตจากการฟืน ้ ตัวของเศรษฐกิจ

Shopee ที่มีการบริหารห่วงโซ่อุปทานของตลาด E-Commerce

จากพฤติกรรมผู้บริโภคในปัจจุบัน ที่ใช้เทคโนโลยีโทรศัพท์เคลื่อนที่ Online กลายเป็นหนึ่งในคู่แข่งสําคัญของศูนย์การค้า โดยเฉพาะ

โลก การท่องเที่ยวที่เติบโตโดยเฉพาะการเพิ่มขึ้นของนักท่องเที่ยว

ครบวงจร ตั้ ง แต่ Platform ร้ า นค้ า ออนไลน์ การจั ด ส่ ง สิ น ค้ า

ชาวจีน และการลงทุนภาครัฐเพิ่มขึ้น กอปรกับสถานการณ์ทางการ

(Delivery) ไปจนถึงระบบการชําระเงิน (Payment) นอกจากนี้

เมื อ งภายในประเทศมี เ สถี ย รภาพอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในช่ ว งที่ ผ่ า นมา

จากการที่ผู้บริโภคมองหาความคุ้มค่าของราคา ความสะดวกสบาย

อย่างไรก็ตาม การจับจ่ายใช้สอยและการอุปโภคบริโภคของประชาชน ยังมีแนวโน้มการฟื้นตัวในระดับตํ่า บริษัทฯ จึงกําหนดนโยบายการ

ร้านค้าส่วนหนึง ่ เพิม ่ การให้บริการเพือ ่ ตอบสนองความต้องการ เช่น

ลงทุนทีส ่ อดคล้องกับปัจจัยแวดล้อม โดยเปิดศูนย์การค้าใหม่เพิม ่ ขึน ้

การสัง ่ อาหารผ่าน Internet การทําธุรกรรมทางการเงินผ่าน Mobile

และความรวดเร็วที่จะได้รับสินค้าหรือบริการ ทําให้ผู้ประกอบการ

2 ศูนย ์ ในเดือนพฤศจิกายน 2560 ทีจ ่ ง ั หวัดนครราชสีมา และอําเภอ

Banking เป็นต้น จากปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ส่งผลต่อการขายสินค้า

มหาชัย จังหวัดสมุทรสาคร และการปรับปรุงครัง ้ ใหญ่ของศูนย์การค้า

และการให้บริการของร้านค้าปลีกในศูนย์การค้าหลายประเภท เช่น

ทีเ่ ปิดดําเนินการอยู่ ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

ร้านค้าแฟชัน ่ ร้านขายอุปกรณ์ไอที ร้านขายเครือ ่ งสําอาง ร้านอาหาร

เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคในปัจจุบัน รวมถึงเพิ่ม

และธนาคาร เป็นต้น

มูลค่าสินทรัพย์เพื่อรองรับการขยายตัวทางธุรกิจตามแผนระยะยาว

72


รายงานประจํ า ปี 2560

ในการวางแผนและออกแบบโครงการ บริษัทฯ จะทําการศึกษา

ในการบริหารความเสีย ่ งดังกล่าวตัง ้ แต่กอ ่ นการพัฒนาศูนย์การค้าใหม่ และปรับปรุงศูนย์การค้าเดิม บริษัทฯ จะสํารวจวิจัยตลาด วิเคราะห์

และสํารวจข้อมูลอย่างถี่ถ้วน เช่น กลุ่มลูกค้า ร้านค้าเป้าหมาย

คู่ แ ข่ ง และศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการอย่ า งถี่ ถ้ ว น โดย

คูแ ่ ข่งทางตรงและทางอ้อม และรวมถึงข้อมูลการตลาดอืน ่ ๆ ที่

พิ จ ารณาทั้ ง ปั จ จั ย ภายในและภายนอกให้ ค รอบคลุ ม ทุ ก ด้ า น เพื่ อ

สํ า คั ญ เพื่ อ กํ า หนดตํ า แหน่ ง ทางการตลาด (Market

กําหนดรูปแบบของศูนย์การค้าและสัดส่วนร้านค้าที่เหมาะสม และ

Positioning) และกลยุทธ์ทจ ี่ ะชนะคูแ ่ ข่ง (Winning Strategy)

นําเสนอศูนย์การค้าทีส ่ ามารถตอบสนองความต้องการของผูบ ้ ริโภค

ของศูนย์การค้า แล้วนํามาวิเคราะห์ความเป็นไปได้และความ

รวมทั้งพิจารณานําเทคโนโลยีที่เหมาะสม และ Digital Platform ที่

คุม ้ ค่าในการลงทุน ก่อนนําเสนอให้คณะกรรมการผูท ้ รงคุณวุฒิ

สามารถนํามาประยุกต์ใช้เพือ ่ เพิม ่ ความทันสมัยและสร้างประสบการณ์

ทัง ้ ระดับจัดการและระดับบริหารพิจารณาอนุมต ั แ ิ ล้วจึงนําข้อมูล

ทีน ่ า่ ประทับใจและแตกต่างทีผ ่ ใู้ ช้บริการในศูนย์การค้าไม่สามารถได้รบ ั

มาออกแบบ พัฒนา และสร้างศูนย์การค้าต่อไป

จากการซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์ได้ รวมถึงทําให้การบริหาร

ในการสรรหาที่ ดิ น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น มี ก ารแข่ ง ขั น ค่ อ นข้ า งสู ง จาก

ศูนย์การค้าดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น

ทําเลที่มีศักยภาพ บริษัทฯ จะคัดเลือกทําเลที่มีศักยภาพและ

แปลกใหม่ และโดดเด่นเป็นที่ยอมรับ ผ่านการออกแบบที่คํานึงถึง

ดําเนินการซื้อที่ดินไว้ล่วงหน้าก่อนที่ความเจริญจะเข้าถึงพื้นที่

อารยสถาปัตย์ (Universal Design) การเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

รวมถึงจัดหาที่ดินแปลงใหญ่ ทําให้บริษัทฯ มีอํานาจต่อรอง

และการใช้ พ ลั ง งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมถึ ง การสร้ า งความ

ในการซื้อที่ดิน ส่งผลให้บริษัทฯ สามารถซื้อที่ดินในราคาที่ถูก

พึงพอใจใหักับลูกค้าโดยการนําแนวคิดใหม่ ๆ ตามไลฟ์สไตล์ของ

ลงเมื่อคํานวณราคาเฉลี่ยต่อพื้นที่โดยรวมและสามารถรองรับ

ผูบ ้ ริโภค (Lifestyle Innovation) ในการสร้างประสบการณ์แปลกใหม่

การขยายโครงการไปสูก ่ ารพัฒนาพืน ้ ทีแ ่ บบผสม (Mixed-use

ให้แก่ลูกค้า เช่น Integrated Ambience เป็นการสร้างบรรยากาศ

Development) ซึ่ ง ประกอบด้ ว ย ศู น ย์ ก ารค้ า สํ า นั ก งาน

ในศูนย์การค้าด้วยนวัตกรรมการออกแบบและเทคโนโลยี หรือ Think

โรงแรม และที่อยู่อาศัย ในอนาคตได้อีกด้วย

Space (Co-Working Space) เป็นพื้นที่สําหรับการสร้างสรรค์

เมื่ อ ศู น ย์ ก ารค้ า เปิ ด ให้ บ ริ ก าร บริ ษั ท ฯ จะติ ด ตามผลการ

ความคิ ด ร่ ว มกั น ในการทํ า งานและการเรี ย นรู้ นอกจากนี้ ในบาง

ดําเนินงานของศูนย์การค้าอย่างต่อเนื่อง เช่น ปริมาณลูกค้า

ศูนย์การค้าได้จัดให้มีพื้นที่สําหรับสัตว์เลี้ยง (Pet Park) และพื้นที่

ที่ ม าใช้ บ ริ ก าร อั ต ราการให้ เ ช่ า พื้ น ที่ อั ต ราผลตอบแทนของ

สําหรับออกกําลังกาย เป็นต้น

โครงการเปรียบเทียบกับเป้าหมาย ทั้งในช่วงระยะ 6 เดือน และ

บริษท ั ฯ ยังได้พฒ ั นาการบริการต่าง ๆ ภายในศูนย์การค้า เพือ ่ อํานวย

1 ปี หลังจากเปิดดําเนินการ เป็นต้น เพือ ่ ติดตามประเมินผลของ

ความสะดวกสบายในการเข้ามาใช้บริการ เช่น ศูนย์การค้าทีอ ่ ยูใ่ นแหล่ง

การพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ หากศู น ย์ ก ารค้ า ใดมี ผ ลการ

ท่องเทีย ่ วจะมีการบริการสําหรับนักท่องเทีย ่ วในการคืนภาษีมล ู ค่าเพิม ่

ดําเนินงานไม่บรรลุตามเป้าหมาย ทีมบริหารทรัพย์สิน ทีมขาย

(VAT Refund) บริการเคาน์เตอร์เช็คอิน (Check-in Counter)

และทีมการตลาด จะดําเนินการวิเคราะห์และนําเสนอมาตรการ

ก่อนขึ้นเครื่อง บริการรถรับ-ส่งฟรีไปยังสนามบิน (Shuttle Bus

แก้ไขที่เหมาะสมต่อไป

Service) บริการ Free Wi-Fi สําหรับนักท่องเทีย ่ วจัดทําป้ายบอกทาง

1.3.2 ความเสี่ยงในการพัฒนาโครงการที่พักอาศัย จากสภาพการ

เป็นภาษาต่างประเทศ และพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ

แข่งขันในตลาดที่พักอาศัยที่เกิดภาวะอุปทานล้นตลาดในบาง

ให้กับบุคลากร เป็นต้น นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ร่วมมือกับหน่วยงาน

ทําเล ประกอบกับการระมัดระวังการใช้จ่ายของผู้บริโภค และ

ภาครัฐในการจัดตัง ้ ศูนย์บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จ (Government

การขาดมาตรการสนับสนุนจากภาครัฐในช่วงปีที่ผ่านมา ทําให้

Center) เพื่อเป็นการเพิ่มช่องทางและอํานวยความสะดวกในการ

สถานการณ์ของตลาดที่พักอาศัยอยู่ในภาวะชะลอตัว อย่างไร

เข้าถึงบริการของภาครัฐแก่ประชาชน เช่น ทีเ่ ซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต

ก็ตาม จากการที่บริษัทฯ มีผู้บริหารและทีมงานที่มีประสบการณ์

และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย เป็นต้น

และความเชี่ยวชาญในธุรกิจที่พักอาศัยรับผิดชอบการพัฒนา

1.3 ความเสี่ยงจากการลงทุนในประเทศ

โครงการทั้งหมด ตั้งแต่การสํารวจวิจัยลูกค้าและคู่แข่ง การ

1.3.1 ความเสี่ยงในการพัฒนาศูนย์การค้าใหม่ซึ่งต้องใช้งบลงทุนสูง

บริการหลังการขาย รวมทั้งการมีจุดเด่นในเรื่องทําเลที่ตั้งอยู่

ออกแบบโครงการการบริหารการก่อสร้าง การขาย และการ โดยมี ขั้ น ตอนที่ เ ป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ ต่ อ ผลการดํ า เนิ น งานของ

ติดกับศูนย์การค้า และการออกแบบทีต ่ อบสนองความต้องการ

ศูนย์การค้าในระยะยาว คือ การวางแผนและออกแบบโครงการ

ของลู ก ค้ า ทํ า ให้ โ ครงการคอนโดมิ เ นี ย ม 3 โครงการแรกที่

และการสรรหาที่ดิน

เปิ ด ขายในปี 2559 ที่ เ ชี ย งใหม่ ระยอง และขอนแก่ น

73

บทที่ 18

ผู้ประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์หลายกลุ่มโดยเฉพาะใน

ในช่วงทีผ ่ า่ นมา บริษท ั ฯ ได้พฒ ั นาและปรับปรุงศูนย์การค้าให้แตกต่าง


ประสบความสําเร็จอย่างสูง มียอดจองซื้อร้อยละ 100 ทั้ง 3

I-Berhad ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ด้ า นอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ที่ มี ชื่ อ เสี ย งและ

โครงการ ส่งผลให้บริษัทฯ วางแผนพัฒนาโครงการเพิ่มอย่าง

จดทะเบียนอยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์ของมาเลเซีย โดยจัดตัง ้ บริษท ั ย่อย

ต่อเนื่องและเปิดขายอีก 3 โครงการในช่วงปลายปี 2560 ที่

เพื่ อ ลงทุ น พั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า ซึ่ ง เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของโครงการ

นครราชสีมา เชียงราย และเชียงใหม่ ซึ่งได้รับการตอบรับจาก

ใช้พื้นที่แบบผสม (Mixed-use Project) ที่มีทั้งสํานักงาน โรงแรม

ลู ก ค้ า ในระดั บ ดี เ ช่ น กั น มี ย อดจองซื้ อ เป็ น ไปตามแผนงานที่

และทีอ ่ ยูอ ่ าศัยในโครงการ ซึง ่ บริษท ั ฯ มีการติดตามความคืบหน้าการ

วางไว้

พัฒนาโครงการดังกล่าวอย่างสม่ําเสมอ เพื่อให้สามารถวางแผน รองรับความเสี่ยงและแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที

อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังคงมีความเสี่ยงจากการที่ไม่สามารถ

2. ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติการ (Operational Risk)

โอนคอนโดมิเนียมให้กับผู้ซื้อได้ ซึ่งอาจเกิดจากลูกค้ากลุ่มเก็ง กําไรทีไ่ ม่ตอ ้ งการโอน หรือกลุม ่ ลูกค้าทีไ่ ม่สามารถผ่านการอนุมต ั ิ สินเชื่อจากธนาคารได้และส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษัทฯ

2.1 ความเสี่ยงในการสรรหาและรักษาบุคลากรที่มี ความรู้ความสามารถ

ดังนั้น บริษัทฯ จึงติดตามตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด เช่น การผ่อนดาวน์ การค้างค่างวด ผลการขอ Pre-Approved ของ ลู ก ค้ า และจํ า นวน Waiting List ที่ ส นใจโครงการ เป็ น ต้ น

ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ จั ด เป็ น ปั จ จั ย สํ า คั ญ อย่ า งยิ่ ง ที่ จ ะช่ ว ยให้ อ งค์ ก ร

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความสําคัญกับความเสี่ยงเกี่ยวกับ

ประสบความสําเร็จ โดยบริษท ั ฯ มีวต ั ถุประสงค์ในการบริหารทรัพยากร

ภาพลักษณ์ของแบรนด์ที่อาจเกิดจากการบริหารหลังการขาย

มนุษย์ ได้แก่ 1) เพื่อมีบุคลากรจํานวนที่เพียงพอสอดคล้องกับการ

และการจัดการข้อร้องเรียนที่ไม่เหมาะสม บริษัทฯ จึงให้ความ

ขยายงาน 2) เพื่อพัฒนาให้บุคลากรมีขีดความสามารถเหมาะสม

สําคัญในการควบคุมคุณภาพการก่อสร้าง การบริหารนิตบ ิ ค ุ คล

กับงานที่รับผิดชอบ และ 3) เพื่อให้บุคลากรมีความสุขในการทํางาน พร้อมทุ่มเทและสร้างสรรค์ผลงานที่ดีให้กับบริษัทฯ อย่างสม่ําเสมอ

โดยบริ ษั ท ฯ ในช่ ว งต้ น หลั ง จากการโอน รวมทั้ ง การสร้ า ง มาตรฐานต่าง ๆ ในการบริหารหลังการขาย และการจัดการข้อ

ซึ่งในสภาพปัจจุบันที่ตลาดแรงงานคุณภาพมีการแข่งขันสูง ทําให้

ร้องเรียน เป็นต้น

บริษัทฯ พิจารณาเรื่องการสรรหาและการรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพ เป็นความเสี่ยงที่สําคัญ โดยบริษัทฯ มีมาตรการจัดการความเสี่ยง

1.4 ความเสี่ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ

ดังกล่าว ได้แก่ จากวิสัยทัศน์ที่มุ่งเน้นการเป็นผู้พัฒนาศูนย์การค้าในระดับภูมิภาค •

บริษัทฯ จึงได้ขยายการลงทุนไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การสรรหาบุคลากรทีม ่ ค ี วามรูค ้ วามสามารถจากช่องทางต่าง ๆ ทั้งภายในบริษัทฯ เช่น การหมุนเวียนงาน การโอนย้ายไปปฏิบัติ

เพื่อเพิ่มโอกาสการเติบโตในระยะยาว โดยปัจจุบัน อยู่ระหว่างพัฒนา

งานในสาขาภูมิลําเนาเดิม และการปรับเลื่อนตําแหน่ง เป็นต้น

โครงการแห่งแรกในประเทศมาเลเซียและศึกษาความเป็นไปได้สําหรับ

และภายนอกบริษัทฯ เช่น Website มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง

การลงทุนในประเทศที่มีศักยภาพอื่น ๆ อาทิ เวียดนามและอินโดนีเซีย

โครงการเพื่อนชวนเพื่อน เป็นต้น

เป็นต้น

การกําหนดตําแหน่งงานสําคัญ (Key Position) ของฝ่ายงาน ต่ า ง ๆ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มสํ า หรั บ ผู้ สื บ ทอดตํ า แหน่ ง

เพื่อรองรับกลยุทธ์การขยายธุรกิจในต่างประเทศ บริษัทฯ ได้ปรับ โครงสร้างการบริหารโดยจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะสําหรับรับผิดชอบ

(Successor) ซึง ่ จะทําให้ฝา่ ยงานนัน ้ สามารถดําเนินงานได้อย่าง

โครงการต่างประเทศ ทําหน้าที่ศึกษาวิจัยในแง่มุมต่าง ๆ เช่น ลูกค้า

ต่อเนื่อง เมื่อตําแหน่งงานสําคัญเกิดว่างขึ้น ไม่ว่าจะจากการ เกษียณอายุ หรือจากการลาออกของพนักงานในตําแหน่งนั้น

คูแ ่ ข่ง การตลาด สภาพแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม และกฎหมาย •

ทีเ่ กีย ่ วข้อง ควบคูก ่ บ ั การใช้องค์ความรูแ ้ ละข้อมูลทีเ่ ป็นประโยชน์จาก

การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร บริษัทฯ มีวิธีการ พั ฒ นาความสามารถอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เช่ น การวางแผน

บริ ษัท ในเครื อ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล เพื่ อ นํามาวิ เ คราะห์ค วามเป็ น ไปได้ แ ละ ผ ล ต อ บ แ ท น จ า ก ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ นํ า เ ส น อ ต่ อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร

ความก้ า วหน้ า ในอาชี พ (Career Path) และแผนพั ฒ นา

ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาก่อนตัดสินใจลงทุน

รายบุคคล (Individual Development Plan) ที่เหมาะสม

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังใช้แนวทางการหาพันธมิตรที่มีความสามารถ

พัฒนาบุคลากรมากขึ้น เช่น การพัฒนาหลักสูตรอบรมร่วมกัน

และประสบการณ์ด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศนั้น ๆ

การแบ่งปันความรูแ ้ ละประสบการณ์ระหว่างผูบ ้ ริหารของบริษท ั

มาร่วมพัฒนาธุรกิจเพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้แก่กันและกัน เช่น

ในเครืออย่างต่อเนื่อง เป็นต้น

รวมทั้งมีการประสานพลัง (Synergy) กับกลุ่มเซ็นทรัลในการ

โครงการ Central i-City ประเทศมาเลเซีย ที่คาดว่าจะเปิดบริการใน

ปี 2561 นั้น เป็นการร่วมลงทุนระหว่างบริษัทฯ และบริษัทในเครือ

มาตรการเพื่ อ รั ก ษาบุ ค ลากรของบริ ษั ท ฯ ผ่ า นกิ จ กรรมเพื่ อ เสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่องระหว่างพนักงาน

74


รายงานประจํ า ปี 2560

3.2 ความเสี่ยงด้านการทุจริตและคอร์รัปชั่น

กับบริษัทฯ เช่น กิจกรรม On Boarding สําหรับพนักงาน เข้าใหม่ กิจกรรม New Year Greeting Communication Day

เนื่องจากบริษัทฯ ได้มุ่งเน้นการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน จึงให้ความ

กิจกรรม CPN อาสา กิจกรรม Family Day และกิจกรรม Sports Day รวมถึงในทุกปีจะมีการสํารวจความพึงพอใจและความ

สํ า คั ญ กั บ เรื่ อ งบรรษั ท ภิ บ าลที่ ดี แ ละกระบวนการควบคุ ม ภายใน

ผูกพันของพนักงาน (Power of Voice) เพื่อนําผลการสํารวจ

ที่ รั ด กุ ม พร้ อ มกํ า หนดนโยบายการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น

และข้อเสนอแนะต่าง ๆ มาปรับปรุงกระบวนการและสภาพแวดล้อม

(Anti-Corruption Policy) ทีช ่ ด ั เจนและเคร่งครัดในการปฏิบต ั ต ิ าม

การทํางานให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งเรื่องการเสริมสร้างความผูกผันและ

นโยบายดังกล่าว ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติ

ความเป็นอยู่ที่ดีของพนักงาน เป็นหนึ่งในพันธกิจด้านความ

ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Collective Action Coalition Against Corruption หรือ CAC) และได้การรับรอง

ยั่งยืนของบริษัทฯ

เป็นบริษัทที่มีการกําหนดนโยบายแนวปฏิบัติเพื่อป้องกันการทุจริต

2.2 การบริหารข้อมูลสารสนเทศ

ครบถ้วนตามเกณฑ์ที่ CAC กําหนด รวมถึงมีการจัดทําและสื่อสาร จริยธรรมทางธุรกิจ (Code of Conduct) ให้กับผู้ขายและผู้รับจ้าง ช่วงเพื่อเน้นย้ําถึงจุดยืนของบริษัทฯ

บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการบริหารข้อมูลสารสนเทศเพื่อให้ข้อมูล มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ทันเหตุการณ์เพื่อประกอบการตัดสินใจ รวมถึงให้ความสําคัญกับความปลอดภัยของข้อมูลและการเปิดเผย

ส่วนในแง่การป้องปรามและบริหารความเสีย ่ งจากการทุจริต บริษท ั ฯ

ข้อมูล โดยบริษัทฯ มีมาตรการป้องกันและบริหารจัดการความเสี่ยง

ได้กําหนดมาตรการในการควบคุมและติดตามกระบวนการทํางานที่

จากอาชญากรรมทางไซเบอร์ ซึ่ ง อาจเกิ ด จาก Cyber Attack

สําคัญทีอ ่ าจเกิดการทุจริตได้ โดยมีทม ี งานฝ่ายตรวจสอบภายในเป็น

จากแหล่ง ภายนอกบริ ษัท ฯ ที่ ปัจ จุ บั น มี แ นวโน้ ม เพิ่ ม ขึ้ น หรื อ จาก

ผูป ้ ระเมินความเสีย ่ งและสุม ่ ตรวจสอบเพือ ่ สอบยันความถูกต้องของ

พนักงานภายในบริษัทฯ เอง โดยบริษัทฯ ดําเนินการโครงการ Data

การปฏิบต ั ง ิ านให้มค ี วามสุจริต โปร่งใส และป้องปรามการปฏิบต ั ง ิ าน

Confidentiality Management เพือ ่ กําหนดโครงสร้างการจัดการ

ที่อาจเกี่ยวข้องกับการทุจริต พร้อมทั้งเปิดช่องทางการสื่อสารให้

เอกสารสําคัญ และกําหนดสิทธิเฉพาะผู้มีอํานาจหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง

เกี่ยวกับการทุจริต (Whistleblower) ได้โดยตรงกับคณะกรรมการ

และ Software อย่ า งต่ อ เนื่ อ งให้ มี ค วามทั น สมั ย เพื่ อ รั บ มื อ กั บ

ตรวจสอบหรื อ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ และจะมี ก ารแต่ ง ตั้ ง

อาชญากรรมทางไซเบอร์รป ู แบบใหม่และป้องกันการเข้าถึงข้อมูลโดย

คณะกรรมการพิ จ ารณาและสอบสวนเรื่ อ งราวร้ อ งทุ ก ข์ ต าม

ผูไ้ ม่เกีย ่ วข้อง ทําให้ขอ ้ มูลทีส ่ าํ คัญมีความเสถียรและปลอดภัยมากขึน ้

กระบวนการที่เป็นระบบ โปร่งใส และตรวจสอบได้ เพื่อให้เกิดความ

3. ความเสีย ่ งด้านการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย และกฎระเบียบ (Compliance Risk)

เชื่อมั่นและความไว้วางใจในกระบวนการสอบสวนที่เป็นธรรมแก่ผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน

4. ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk)

บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการปฏิบัติตามข้อกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย ่ วข้องทัง ้ หมด เพือ ่ ให้การดําเนินงานของบริษท ั ฯ เป็นไป อย่างถูกต้อง เชื่อถือได้ โปร่งใส และเป็นธรรมต่อทุกฝ่าย ซึ่งความ เสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ได้แก่

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะรักษาการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทั้งจากธุรกิจ

3.1 ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย

ลงทุนที่เหมาะสม ซึ่งการจะบรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวมีความเสี่ยง ด้านการเงินที่เกี่ยวข้องได้แก่

บริษัทฯ มีนโยบายในการดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ทั้งในการพัฒนา

4.1 ความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk)

ศูนย์การค้า ธุรกิจที่พักอาศัย และธุรกิจอื่น ๆ ที่สร้างโอกาสทางการ

และบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า ให้ อ ยู่ ใ นสภาพที่ ป ลอดภั ย และเป็ น มิ ต รต่ อ บริษัทฯ มีการดําเนินนโยบายทางการเงินอย่างระมัดระวังในการใช้ไป

สิ่งแวดล้อม โดยนําระบบการบริหารมาตรฐานความปลอดภัยและ สิง ่ แวดล้อมเป็นแนวปฏิบต ั ใิ ห้หน่วยงานทีเ่ กีย ่ วข้องเคร่งครัดต่อการ

ของเงิ น ทุ น โดยมี ก ารวิ เ คราะห์ ก ารลงทุ น โดยละเอี ย ดรอบด้ า นใน

ปฏิบต ั ต ิ ามนโยบายและกฎหมายในปัจจุบน ั รวมถึงเตรียมความพร้อม

ทุก ๆ โครงการเพื่อคัดเลือกและนําเสนอโครงการที่มีศักยภาพเข้าสู่

สําหรับกฎหมายทีจ ่ ะนํามาบังคับใช้ในอนาคต และได้วา่ จ้างผูเ้ ชีย ่ วชาญ

การพิจารณากลัน ่ กรองจากคณะกรรมการการลงทุนอย่างรอบคอบ

ภายนอกดําเนินการสอบทานและให้คําแนะนําเพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทมี

ก่ อ นที่ จ ะพิ จ ารณาอนุ มั ติ ใ ห้ ดํ า เนิ น การ ในขณะที่ แ หล่ ง ที่ ม าของ

การปฏิบัติอย่างถูกต้องและเหมาะสม

เงินทุน บริษัทฯ มีการจัดโครงสร้างเงินทุนที่พยายามคงอัตราส่วน

75

บทที่ 18

ผูม ้ ส ี ว ่ นได้สว ่ นเสียสามารถแจ้งเบาะแสและข้อเสนอแนะ หรือร้องเรียน

ในการเข้าถึงเอกสาร ข้อมูลต่าง ๆ รวมทั้งลงทุนพัฒนา Hardware


หนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยต่อทุนในระดับที่ยอมรับได้ คือ ไม่เกิน 1 เท่า

(Fixed Rate) เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ร่วมกับใช้เครื่องมือทางการเงินในการระดมทุนที่เหมาะสม เช่น การ

และสามารถลดความเสี่ ย งจากความผั น ผวนของอั ต ราดอกเบี้ ย

ใช้ทรัสต์เพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (REIT: Real Estate

ดังกล่าว

Investment Trust) เป็นต้น มาเป็นแหล่งเงินทุนทางเลือกสําหรับ

นอกจากนั้น หลังจากเปิดโครงการไปแล้ว บริษัทฯ มีการประเมินผล

5. ความเสี่ยงด้านความปลอดภัยจากภัย อันตราย (Hazard Risk)

ตอบแทนของแต่ละโครงการอย่างสม่ําเสมอเพื่อการปรับกลยุทธ์ให้

ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วข้ อ งกั บ ทรั พ ย์ สิ น และผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

บริษัทฯ

เหมาะสมที่จะทําให้บรรลุผลตอบแทนตามเป้าหมายซึ่งจะเป็นปัจจัย

หลายกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มลูกค้าที่มาจับจ่ายสินค้าและบริการ กลุ่มร้านค้า

ที่ช่วยลดความเสี่ยงทางด้านการเงิน และยังคงสถานะทางการเงิน

ผูเ้ ช่าพืน ้ ที่ กลุม ่ ชุมชนรอบศูนย์การค้า ซึง ่ ผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกกลุม ่ ต่างมี

ที่แข็งแกร่ง อันจะช่วยเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับการจัดหาเงินทุนเพื่อ

ความคาดหวังอย่างสูงต่อประเด็นเรือ ่ งความปลอดภัยทีจ ่ ะได้รบ ั จาก

ขยายธุรกิจในอนาคตได้อย่างเพียงพอด้วยต้นทุนทางการเงินและผล

การดําเนินงานของบริษท ั ฯ ดังนัน ้ บริษท ั ฯ จึงตระหนักและใส่ใจต่อการ

ตอบแทนการลงทุนที่เหมาะสม

บริหารความปลอดภัยจากภัยอันตรายทีส ่ าํ คัญเป็นอย่างยิง ่ ซึง ่ ได้แก่

4.2 ความเสี่ยงด้านการผิดนัดชําระหนี้ของผู้เช่าพื้นที่ (Credit Risk)

5.1 ความเสี่ยงจากเหตุการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติ

บริษัทฯ กําหนดนโยบายป้องกันความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระหนี้

เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีความถี่ในการเกิดเหตุการณ์มากขึ้น

ผลกระทบของภาวะโลกร้อนทําให้สภาพภูมิอากาศในปัจจุบันมีการ ของผู้เช่าพื้นที่ ได้แก่ 1) การเรียกเก็บเงินมัดจําค่าเช่าพื้นที่จากผู้เช่า

และส่งผลรุนแรง ดังเช่นปีที่ผ่านมาในหลายพื้นที่ของประเทศไทยเกิด

ไว้ล่วงหน้า 2) การบอกเลิกสัญญาเช่าสําหรับผู้เช่าพื้นที่ที่ค้างชําระ

น้ําท่วมฉับพลัน แผ่นดินไหว พายุฤดูร้อน เป็นต้น ซึ่งภัยพิบัติทาง

ค่าเช่าเกินกว่า 90 วัน พร้อมทั้งเร่งประสานงานเพื่อการเจรจาและ

ธรรมชาติเป็นความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สินของ

แก้ปัญหาร่วมกันกับผู้เช่าพื้นที่ 3) นโยบายการติดตามหนี้สินอย่าง

บริษัทฯ และกระทบต่อการให้บริการแก่ลูกค้า

ใกล้ชิด ทําให้สามารถเก็บหนี้ส่วนใหญ่ตามกําหนดชําระ ทั้งนี้หากมี บริษท ั ฯ ได้กาํ หนดให้มก ี ารประเมินความเสีย ่ งเหล่านีใ้ นทุกศูนย์การค้า

การผิดนัดชําระหนีเ้ กิดขึน ้ จะมีการประสานงานอย่างต่อเนือ ่ งระหว่าง

เพราะในแต่ละพื้นที่จะเผชิญความเสี่ยงที่แตกต่างกัน เช่น ภาคเหนือ

หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพื่ อ แก้ ไ ขปั ญ หาการผิ ด นั ด ชํ า ระหนี้ อ ย่ า งมี ประสิ ท ธิ ภ าพ โดยในปี ที่ ผ่ า นมา มี ค่ า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ตํ่ า กว่ า

จะมีความเสีย ่ งเรือ ่ งพายุฤดูรอ ้ น ลูกเห็บ และแผ่นดินไหวมากกว่าภาค อืน ่ ขณะทีภ ่ าคใต้จะมีความเสีย ่ งนาํ้ ท่วมฉับพลันและลมมรสุม เป็นต้น

ร้อยละ 0.1 ของรายได้

พร้อมทั้งได้กําหนดมาตรการที่สอดคล้องเพื่อบรรเทาความเสี่ยงนี้

4.3 ความเสีย ่ งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลีย ่ น ของเงินสกุลต่างประเทศ (Foreign Exchange Risk)

ได้แก่ การกําหนดให้ตรวจสภาพความแข็งแรงของอาคารสถานที่ อย่างสม่ําเสมอ การเตรียมความพร้อมและเครื่องมืออุปกรณ์เพื่อ บรรเทาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เช่น ขุดลอกทางระบายนํ้าและเพิ่ม จํานวนเครื่องปั๊มน้ําในศูนย์การค้าที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงจากน้ําท่วม การ เตรียมหาแหล่งน้ําสํารองไว้ล่วงหน้าเพื่อรองรับในกรณีที่เกิดภาวะ

บริษัทฯ มีการพิจารณาทําสัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วง หน้า (Forward Contract) เพือ ่ ป้องกันความเสีย ่ งของทรัพย์สน ิ และ

ภัยแล้ง การเชิญผูเ้ ชีย ่ วชาญด้านโครงสร้างอาคารประเมินผลกระทบ

หนี้สินทางการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ นอกจากนั้น บริษัทฯ

จากแผ่นดินไหว พร้อมให้คําแนะนําเพื่อรับมือกับเหตุการณ์ที่อาจ

ยังเน้นการใช้แหล่งเงินทุนภายในประเทศที่ใช้เงินสกุลบาทเป็นหลัก

เกิ ด ขึ้ น ในอนาคต รวมทั้ ง มี ก ารทบทวนและจั ด ทํ า แผนรองรั บ

ในการระดมทุนของบริษัทฯ ซึ่งทําให้ความเสี่ยงด้านนี้ลดลงไปโดย

เหตุการณ์วิกฤต (Crisis Management) ให้ครอบคลุมเหตุการณ์

ปริยาย

ต่าง ๆ มากขึ้น พร้อมทั้งจัดให้มีการซ้อมแผนอย่างสม่ําเสมอเพื่อให้

4.4 ความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Risk)

บุคลากรสามารถรับมือกับเหตุการณ์วิกฤตต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ นอกจากนี้ ยังมีการติดตามและเก็บสถิตเิ หตุการณ์ (Incident Case)

เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของอัตราดอกเบี้ยใน

ด้านภัยพิบัติทางธรรมชาติและผลของการแก้ไขสถานการณ์ เพื่อ

ตลาดซึ่งส่งผลกระทบต่อผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดของ

นําข้อมูลมาวิเคราะห์และเตรียมหามาตรการรองรับและพัฒนาการ

บริษัทฯ ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้มีนโยบายด้านการเงินที่กําหนดให้ดอกเบี้ย

จั ด การให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ รวมทั้ ง มี ก ารรายงานให้ ค ณะกรรมการ

ที่ เ กิ ด จากหลั ก ทรั พ ย์ แ ละตราสารหนี้ ส่ ว นใหญ่ ต้ อ งมี อั ต ราคงที่

บริหารความเสี่ยงรับทราบและสั่งการอย่างเป็นระบบ

76


รายงานประจํ า ปี 2560

5.2 ความเสี่ยงจากการก่อความไม่สงบ ปัจจุบน ั เหตุการณ์การก่อความไม่สงบหรือภัยจากการก่อการร้ายนัน ้ เป็นประเด็นความเสี่ยงในระดับสากลที่นานาประเทศล้วนต้องเผชิญ ไม่ว่าประเทศนั้นจะตั้งอยู่ในภูมิภาคใดในโลก บริษัทฯ ได้ตระหนักถึง ประเด็นความเสี่ยงนี้ จึงมีมาตรการเพื่อจัดการความเสี่ยง ดังนี้ 1)

การประสานงานและติ ด ตามข่ า วสารต่ า ง ๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ หน่วยงานภาครัฐ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ ถูกต้องและรวดเร็ว สําหรับการประเมินสถานการณ์ และสือ ่ สาร กั บ ผู้ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยใช้ Color-Code Condition ซึ่ ง ปรับเปลี่ยนตามระดับความรุนแรงของสถานการณ์ในขณะนั้น เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถเตรียมความพร้อมและจัดการกับ เหตุการณ์วิกฤตต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมตามแนวปฏิบัติที่ได้ วางไว้

2)

การฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้องให้มีความรู้ ความสามารถใน การเฝ้ า ระวั ง และสั ง เกตการณ์ เ หตุ ค วามไม่ ป ลอดภั ย ต่ า ง ๆ พร้อมกับการฝึกซ้อมแผนเผชิญเหตุอย่างสม่ําเสมอ

3)

การติดตั้งอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยที่ทันสมัยและ มีจํานวนที่เพียงพอ เช่น กล้อง CCTV ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์ ขึ้ น ก็ จ ะ ส า ม า ร ถ รั บ รู้ เ ห ตุ ก า ร ณ์ โ ด ย ล ะ เ อี ย ด ไ ด้ อ ย่ า ง มี บทที่ 18

ประสิทธิภาพ รวมทั้งยังเป็นการป้องปรามผู้ที่จะก่อเหตุความ ไม่สงบอีกทางหนึ่ง

5.3 ความเสี่ยงจากภาวะวิกฤตต่าง ๆ บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การบริ ห ารความต่ อ เนื่ อ งของธุ ร กิ จ (Business Continuity Management: BCM) บริษัทฯ จึงมี แผนงานรองรับที่จะทําให้บริษัทฯ สามารถดําเนินธุรกิจไปได้อย่าง ต่อเนือ ่ ง โดยมีคณะกรรมการบริหารความต่อเนือ ่ งของธุรกิจ (BCM Committee) ซึ่งมีกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นประธานกรรมการ คณะกรรมการนี้จะเป็นผู้รับผิดชอบในการกําหนดนโยบาย และกํากับ ดู แ ลให้ มี ก ารจั ด ทํ า แผนความต่ อ เนื่ อ งทางธุ ร กิ จ และดํ า เนิ น การ ซ้ อ มแผนอย่ า งสม่ํ า เสมอ ซึ่ ง ในปี ที่ ผ่ า นมาได้ กํ า หนดสถานการณ์ วิกฤตในกรณีทบ ี่ ค ุ ลากรไม่สามารถเข้าปฏิบต ั ง ิ านทีส ่ าํ นักงานใหญ่ได้ ทําให้พนักงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบในกระบวนการที่สําคัญ (Critical Process) ต้ อ งย้ า ยไปปฏิ บั ติ ง านในสถานที่ ป ฏิ บั ติ ง านสํ า รอง (Alternate Site) ที่กําหนดไว้ โดยภายหลังเสร็จสิ้นการฝึกซ้อม ที ม งานฝึ ก ซ้ อ มได้ วิ เ คราะห์ ถึ ง ปั ญ หาและสรุ ป ข้ อ เสนอแนะต่ า ง ๆ สําหรับปรับปรุงกระบวนการบริหารความต่อเนื่องของธุรกิจของ บริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

77


การวิเคราะห์และคําอธิบาย ของฝ่ายจัดการ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

ปี 2560 เศรษฐกิจไทยมีอต ั ราการเติบโต (GDP) ร้อยละ 3.9 เทียบกับ ร้อยละ 3.2 ในปี 2559 จากปัจจัยสนับสนุน ได้แก่ 1) การส่งออก

ศูนย์การค้าอันดับที่ 31 ได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่

ขยายตัวร้อยละ 9.9 จากปีทผ ี่ า่ นมา โดยมีการขยายตัวในหลายหมวด

3 พฤศจิกายน 2560 เป็นโครงการพื้นที่แบบผสม (Mixed-use

สินค้า อาทิ สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นส่วนยานยนต์ และเกษตรแปรรูป

Development) ใหญ่ที่สุดแห่งภาคอีสาน การออกแบบอาคารเป็น

ซึง ่ มีมล ู ค่าการส่งออกทีส ่ ง ู ขึน ้ ตามราคานา้ํ มันทีป ่ รับตัวสูงขึน ้ 2) การ

ดอกมหาหงส์ ดอกไม้ ป ระจํ า จั ง หวั ด นครราชสี ม า การตกแต่ ง

่ วเติบโตอย่างต่อเนือ ่ ง โดยเฉพาะนักท่องเทีย ่ วจีน เนือ ่ งจาก ท่องเทีย

ศูนย์การค้าด้วยแนวคิด “สีสัน 5 ฤดูกาล” (Seasons of Life) และมี

มีเส้นทางการบินใหม่จากจีนมาไทยโดยตรงเพิ่มขึ้น และมาตรการลด

การจํ า ลองสถานที่ สํ า คั ญ และเอกลั ก ษณ์ ข องภาคอี ส านมาไว้ ใ น ศูนย์การค้า เช่น ผาเก็บตะวัน สามพันโบก น้ําตกแสงจันทร์ และช้าง

และยกเว้นค่าธรรมเนียมวีซ่าในช่วงปีที่ผ่านมา 3) การบริโภคภาค เอกชนขยายตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไป จากมาตรการภาครัฐและรายได้

สุรน ิ ทร์ เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการนําเสนอรูปแบบและประสบการณ์

เกษตรกรที่ขยายตัวตามผลผลิตที่เพิ่มขึ้น และ 4) ปัจจัยสนับสนุน

ใหม่ ๆ เช่น “ตลาดด๊ะดาด” ซึ่งเป็นตลาดกลางแจ้ง “เดิ่นคนชุม” พื้นที่

อื่น ๆ เช่น การใช้จ่ายภาครัฐ มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจต่าง ๆ และ อัตราเงินเฟ้อที่อยู่ในระดับต่ําแต่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างช้า ๆ

พักผ่อนที่เป็นลานเมืองแห่งใหม่ และ Co-working Space เป็นต้น

CPN ดําเนินธุรกิจตามแผนงานที่วางไว้ โดยให้ความสําคัญกับการ

ร้อยละ 80 ณ วันเปิด

โดยมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 50,000 ตร.ม. และมีอัตราการเช่าพื้นที่

เพิ่มประสิทธิภาพในการสร้างรายได้ ทั้งจากการเปิดศูนย์การค้าใหม่

เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย

และการปรับปรุงศูนย์การค้าที่เปิดดําเนินการอยู่แล้ว ควบคู่กับการ บริหารต้นทุนการดําเนินงานและค่าใช้จา่ ยในการบริหารอย่างต่อเนือ ่ ง

ศูนย์การค้าอันดับที่ 32 ได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่

ปัจจุบัน CPN บริหารจัดการศูนย์การค้า 32 แห่ง มีพื้นที่ให้เช่าสุทธิ

23 พฤศจิกายน 2560 การออกแบบอาคารทั้งภายนอกและภายใน

รวม 1.7 ล้านตารางเมตร (ตร.ม.) เพิ่มจาก 1.6 ล้าน ตร.ม. ในปีก่อน

ให้เป็น “มหานาวา” (MAHANAVA) เรือลําใหญ่กับบรรยากาศของ

จากการเปิดศูนย์การค้าใหม่ 2 แห่ง ในเดือนพฤศจิกายน 2560 คือ

ท่ า เรื อ และหมู่ บ้ า นประมงอั น เป็ น เอกลั ก ษณ์ ข องสมุ ท รสาคร และ

เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และมีอัตรา

ด้วยแนวคิด “Semi-Outdoor Lifestyle” ให้เป็นจุดแวะพักสําหรับ

การเช่าพื้นที่ศูนย์การค้า ณ สิ้นปี 2560 เท่ากับร้อยละ 92 ลดลงเล็ก

นักเดินทางที่ดีที่สุดและสมบูรณ์แบบที่สุด (The Best Highway

น้อยจากปีก่อนหน้า เนื่องจากการปรับปรุงครั้งใหญ่ที่ศูนย์การค้า

Destination) ที่ ป ระกอบด้ ว ยร้ า นสะดวกซื้ อ ร้ า นกาแฟ ตลาด กลางแจ้ง และศูนย์รวมของฝากและของที่ระลึก พร้อมด้วยพื้นที่

เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

จอดรถ และห้องนา้ํ สะอาด นอกจากนี้ ยังมีโซน EATALAY ศูนย์รวม ผลการดําเนินงานปี 2560 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิ 13,568 ล้านบาท

ร้านอาหารทะเล และตลาดสามสมุทร ตลาดของฝากที่รวมของดี

เติบโตร้อยละ 46.8 จากปีก่อน และมีรายได้รวมเท่ากับ 34,594

ประจําจังหวัด โดยมีพื้นที่ให้เช่าประมาณ 25,000 ตร.ม. และมีอัตรา

ล้านบาท เติบโตร้อยละ 18.3 จากปีกอ ่ น เนือ ่ งจากมีรายการทีม ่ ไิ ด้เกิด

การเช่าพื้นที่ร้อยละ 85 ณ วันเปิด

ขึน ้ ประจํา คือ เงินค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกันการก่อการ

การเพิ่มประสิทธิภาพของสินทรัพย์

ร้ายจํานวน 3,500 ล้านบาท และการแปลงสภาพกองทุนรวมสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNRF) เป็นทรัสต์เพื่อการ

บริ ษั ท ฯ มี แ ผนการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของศู น ย์ ก ารค้ า เดิ ม อย่ า ง

ลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท (CPNREIT)

ต่อเนื่องเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับลูกค้า ร้านค้า สังคม และเป็นการรักษา

พร้อมกับการให้เช่าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช และโรงแรมฮิลตัน

รายได้จากการดําเนินงานปกติ เพื่อนําไปสู่การเติบโตอย่างยั่งยืนใน

พั ท ยา ถ้ า หากไม่ ร วมรายการที่ มิ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ประจํ า บริ ษั ท ฯ มี กํ า ไร

ระยะยาว ทั้ ง นี้ ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ ทํ า การปรั บ ปรุ ง ศู น ย์ ก ารค้ า

9,893 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 7.0 และมีรายได้รวมเท่ากับ 30,875

ดังต่อไปนี้

ล้านบาท เติบโตร้อยละ 5.6

ภาพรวมการดําเนินธุรกิจในปี 2560

การปรับปรุงใหญ่ (Major Renovation) 2 ศูนย์การค้า ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่งปรับปรุงทีละเฟสเริ่มตั้งแต่ไตรมาส 4 ปี 2559

การขยายธุรกิจ

และทยอยแล้วเสร็จในไตรมาส 3 ปี 2561 โดย ณ สิ้นปี 2560

ศูนย์การค้าที่เปิดใหม่ในปี 2560 ทั้งหมด 2 แห่ง เพื่อเป็นศูนย์กลาง

ศู น ย์ ก ารค้ า ภายใต้ CPNREIT ได้ ทํ า การปรั บ ปรุ ง เป็ น เวลา 6

อัตราการเช่าพื้นที่ร้อยละ 84 และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เป็น การใช้ชว ี ต ิ (Center of Life) ทีค ่ รบครันและสร้างสรรค์ประสบการณ์

เดือนแล้วเสร็จในเดือนธันวาคม 2560 โดยทําการปรับโฉมใหม่

เพื่อตอบโจทย์การใช้ชีวิตของคนทุกกลุ่ม

ภายใต้แนวคิด “Where Nature Meets Urban Living” ผสม

78


รายงานประจํ า ปี 2560

ผสานชีวิตคนเมืองให้ใกล้ชิดติดธรรมชาติ เปิดโซนใหม่ เพิ่มพื้นที่ พักผ่อนและพื้นที่สีเขียว รวมถึงพื้นที่ Co-working Space และ เพิ่มร้านค้าใหม่ ๆ การปรับปรุงย่อย (Minor Renovation) 3 ศูนย์การค้า ได้แก่ เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต และศูนย์การค้าภายใต้ CPNREIT คือ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 และเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต โดยมีการปรับปรุงต่าง ๆ เช่น การปรับเปลี่ยนร้านค้า การเพิ่ม ร้านค้าใหม่ ๆ ที่ทันสมัย การปรับเปลี่ยนโซนร้านค้า Re-zoning การตกแต่ ง ภายในและภายนอก และการเพิ่ ม โซน Food Destination หรือการรวมศูนย์อาหาร ร้านอาหารต่าง ๆ และ ซูปเปอร์มาร์เก็ตเข้าไว้ในสถานที่เดียวกันเพื่อเพิ่มความสะดวก ในการเข้ามาใช้บริการของลูกค้าและเป็นจุดดึงดูดลูกค้าให้เข้ามา ใช้บริการ

เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560 บริษัทฯ ประกาศแผนการร่วมทุนกับ บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) (“DTC”) เพื่อลงทุนในการ พั ฒ นาโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ รู ป แบบผสม ประกอบด้ ว ย โรงแรม ที่พักอาศัย ศูนย์การค้า และอาคารสํานักงาน บนที่ดิน บริเวณหัวมุมถนนสีลมและถนนพระราม 4 ภายในวงเงินลงทุนของ บริษัทฯ ประมาณ 17,393 ล้านบาท โดยบริษัทฯ มีสัดส่วนการ ลงทุนในธุรกิจโรงแรมและทีพ ่ ก ั อาศัยร้อยละ 40 ธุรกิจศูนย์การค้า ร้อยละ 85 และธุรกิจอาคารสํานักงานร้อยละ 100

เดือนพฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ ได้เปิดตัวโครงการที่พักอาศัย ในรูปแบบคอนโดมิเนียม ภายใต้ชื่อ “ESCENT” และ “ESCENT VILLE” บนที่ดินบริเวณศูนย์การค้า 3 แห่ง คือ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสี ม า เซ็ น ทรั ล พลาซา เชี ย งราย และเซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล เชียงใหม่ ซึ่งเป็นโครงการที่อยู่อาศัยแห่งที่ 2 ในเชียงใหม่ รวม มูลค่าประมาณ 2,200 ล้านบาท โดยโครงการทั้ง 3 แห่ง ได้ผล

การจัดหาแหล่งเงินทุน และบริหารต้นทุนทางการเงิน อย่างมีประสิทธิภาพ

ตอบรับเป็นอย่างดี อันเนื่องมาจากความโดดเด่นด้านทําเลที่ตั้ง และรูปแบบโครงการที่ตรงตามความต้องการของลูกค้า ทั้งนี้

บริษท ั ฯ มีตน ้ ทุนทางการเงินเฉลีย ่ อยูท ่ รี่ อ ้ ยละ 2.81 ในปี 2560 ลดลง จากร้อยละ 3.23 ในปีก่อน ในขณะเดียวกันสามารถลดหนี้สินที่มี ดอกเบี้ยให้มาอยู่ที่ 9,544 ล้านบาท จาก 17,904 ล้านบาท ในปีก่อน เป็ น ผลจากการใช้ เ ครื่ อ งมื อ ทางการเงิ น ให้ เ หมาะสมกั บ ภาวะ ตลาดเงิ น และตลาดทุ น และเพิ่ ม ความยื น หยุ่ น ในการบริ ห ารต้ น ทุ น ทางการเงิ น เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มสํ า หรั บ การขยายธุ ร กิ จ และ ลดต้นทุนทางการเงิน อาทิ •

คาดว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จพร้อมโอนได้ในปี 2562

การเติบโตแบบยัง ่ ยืนเป็นหัวใจสําคัญในการดําเนินธุรกิจ

กลุ่มดัชนีตลาดเกิดใหม่ (Emerging Markets) ประจําปี 2560 ต่อเนื่องเป็นปีที่สี่ (ปี 2557-2560) สะท้อนให้เห็นถึงปรัชญาการ ดําเนินธุรกิจที่ยั่งยืนของบริษัทฯ ที่คํานึงถึงส่วนรวม สิ่งแวดล้อม

การแปลงสภาพ CPNRF เป็น CPNREIT พร้อมกับการให้เช่า ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช (บางส่วน) และโรงแรม ฮิลตัน พัทยา แก่ CPNREIT เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2560 ในมูลค่า ทรัพย์สินสุทธิเท่ากับ 11,908 ล้านบาท เป็นระยะเวลาประมาณ 20 ปี โดยสิทธิการเช่าจะสิ้นสุดลงในวันที่ 31 สิงหาคม 2580 เมือ ่ วันที่ 22 กันยายน 2560 ทริสเรทติง ้ เพิม ่ อันดับเครดิตองค์กร และหุ้นกู้ไม่ด้อยสิทธิไม่มีประกันของบริษัทฯ เป็นระดับ “AA” จาก เดิม “AA-“ โดยอันดับเครดิตสะท้อนถึงสถานะทางการเงินของ บริษท ั ฯ ทีป ่ รับตัวดีขน ึ้ ซึง ่ เป็นผลมาจากการดําเนินงานทีแ ่ ข็งแกร่ง และแหล่งทีม ่ าของรายได้ทแ ี่ น่นอน รวมถึงการบริหารทางการเงิน ของบริษัทฯ ที่มีวินัยและปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด

และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมถึงการมีส่วนร่วมที่จะช่วยขับเคลื่อน สังคมและชุมชนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้รับการคัดเลือกจากตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย ให้เป็นหนึ่งในหุ้นยั่งยืนประจําปี 2560 หรือ Thailand Sustainability Investment 2017 ที่มีความโดดเด่นในการดําเนิน ธุรกิจอย่างยัง ่ ยืน แสดงถึงการดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงสิง ่ แวดล้อม (Environmental) สังคม (Social) และบรรษัทภิบาล (Governance) หรือ มี ESG ที่โดดเด่น

เหตุการณ์อื่น ๆ

การกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหาร อสังหาริมทรัพย์ (Diversification) สู่การพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed-use Development)

เมื่ อ วั น ที่ 14 กรกฎาคม 2560 บริ ษั ท ฯ เข้ า ซื้ อ หุ้ น ในบริ ษั ท ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด จํานวน 26 ล้านหุน ้ จาก บริษท ั พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค จํากัด (มหาชน) คิดเป็นร้อยละ 65 ของจํานวนหุ้น ทั้ ง หมด 40 ล้ า นหุ้ น หรื อ คิ ด เป็ น มู ล ค่ า การซื้ อ ขาย 291.75 ล้านบาท โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มาซึ่งสิทธิการเช่าช่วงที่ดิน

บริษัทฯ เล็งเห็นศักยภาพในการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ แบบผสม ที่มีทั้งโครงการที่อยู่อาศัย อาคารสํานักงาน และโรงแรม อยู่ในโครงการเพื่อสนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้าซึ่งเป็นธุรกิจหลักให้ เกิดประโยชน์สูงสุด

ในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี สําหรับการรองรับการขยายธุรกิจ ของบริษัทฯ ในอนาคต ส่งผลให้บริษัทฯ ถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 65 ในบริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด

79

บทที่ 19

บริ ษั ท ฯ ได้ รั บ คั ด เลื อ กให้ เ ป็ น สมาชิ ก ของดั ช นี ค วามยั่ ง ยื น ของ ดาวโจนส์ (Dow Jones Sustainability Indices หรือ DJSI) ใน


เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 บริษัทฯ ได้ดําเนินการจัดตั้งบริษัท ร่วมทุนเพื่อพัฒนาโครงการธีมปาร์คภายในโครงการศูนย์การค้า เซ็นทรัลภูเก็ต เรียบร้อยแล้ว โดยบริษท ั ร่วมทุน คือ บริษท ั ฟีโนมินอน ครีเอชั่น จํากัด ทุนจดทะเบียน 400 ล้านบาท ดําเนินการผ่าน บริษท ั ร่วมทุนระหว่าง บริษท ั บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ จํากัด (“BCP”) (CPN ถือหุน ้ ผ่านบริษท ั ย่อยใน BCP ร้อยละ 99.99) กับ บริษัท ไร้ท์แมน จํากัด (“RM”) โดย BCP และ RM ซึ่งถือหุ้นใน บริษัทร่วมทุนสัดส่วน 51:49 ประมาณการมูลค่าการลงทุนใน

โครงการเท่ากับ 550 ล้านบาท ซึ่งเป็นส่วนของ BCP ประมาณ 281 ล้านบาท เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2560 บริษัทฯ ได้จัดตั้งบริษัทร่วมทุน ชื่อ บริษัท ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเมนท์ จํากัด ด้วย ทุนจดทะเบียน 100,000 บาท โดยเป็นการร่วมทุนกับ บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบว ิ ชัน ่ ซิสเทม จํากัด ในสัดส่วน 50:50 เพือ ่ รองรับ การขยายธุรกิจในอนาคต

ผลการดําเนินงานปี 2560 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีศูนย์การค้าภายใต้การบริหาร

ณ สิ้นปี 2560 บริษัทฯ ยังคงรักษาอัตราการเช่าพื้นที่ศูนย์การค้า

งานรวม 32 โครงการ (อยูใ่ นเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล 14 โครงการ

ของบริษัทฯ เฉลี่ยในระดับร้อยละ 92 ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 94

และต่างจังหวัด 18 โครงการ) ศูนย์อาหาร 28 แห่ง อาคารสํานักงาน

ในปีก่อนเป็นผลจากการปรับปรุงใหญ่ที่เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัล

ให้เช่า 7 อาคาร โรงแรม 2 แห่ง และอาคารที่พักอาศัย 1 โครงการ

พลาซา พระราม 3 ซึ่ ง ณ สิ้ น ปี 2560 อั ต ราการเช่ า พื้ น ที่ ข อง

(รวม 11 ยูนิต) ซึ่งนับรวมอสังหาริมทรัพย์ที่ได้โอนไปยัง CPNREIT

เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 อยู่ที่ร้อยละ 84 และ

และ CPNCG

ร้อยละ 92 ตามลําดับ

ตารางที่ 1: สรุปพื้นที่ให้เช่าและอัตราการเช่าพื้นที่ ธรุกิจค้าปลีก

จํานวน

พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.)

อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ) ณ สิ้นปี 2559

ณ สิ้นปี 2560

ศูนย์การค้าในกรุงเทพฯ

14

912,693

94

91

ศูนย์การค้าต่างจังหวัด

18

751,051

94

93

รวม

32

1,663,744

94

92

จํานวน

พื้นที่ให้เช่า

ธรุกิจอื่น

(ตร.ม.)

อัตราการเช่าพื้นที่ (ร้อยละ) ณ สิ้นปี 2559

ณ สิ้นปี 2560

อาคารสํานักงาน

7

171,591

97

94

อาคารสําหรับพักอาศัย

1

1,567

21

21

โรงแรม*

2

561 ห้อง

82

86

*อัตราการเช่าพื้นที่ของธุรกิจโรงแรมเป็นค่าเฉลี่ยของอัตราการเช่าพื้นที่ของปี

รายได้รวม

ปี 2560 มีรายการที่มิได้เกิดขึ้นประจํา ที่ไม่นํามารวมในการวิเคราะห์ ผลการดําเนินงาน ได้แก่ ในไตรมาส 3 บริษัทฯ ได้รับเงินค่าสินไหม ทดแทนตามกรมธรรม์ประกันการก่อการร้ายจํานวน 3,500 ล้านบาท

ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้รวม (ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดประจํา)

(ดูรายละเอียดในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ข้อ 36 เรื่องอื่น ๆ ใน

30,875 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.6 จากกับปีก่อน โดยรายได้รวม

งบการเงินสําหรับปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560) และในไตรมาส 4

ของบริษัทฯ มีองค์ประกอบที่สําคัญดังต่อไปนี้

บริษท ั ฯ บันทึกรายได้สท ุ ธิจากการแปลง CPNRF เป็น CPNREIT และ

รายได้จากการให้เช่าและให้บริการ

การให้เช่าศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช (บางส่วน) และ โรงแรมฮิลตัน พัทยา จํานวน 175 ล้านบาท ซึ่งส่วนใหญ่เป็นรายการ

ในปี 2560 บริ ษั ท ฯ มี ร ายได้ จ ากการให้ เ ช่ า และให้ บ ริ ก ารจํ า นวน

ค่ า ธรรมเนี ย มเรี ย กเก็ บ จาก CPNREIT ในการดํ า เนิ น การให้ เ ช่ า

26,057 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 3.2 จากปีก่อน ซึ่งรายได้ที่เพิ่มขึ้นมี

สินทรัพย์

สาเหตุหลักมาจากปัจจัยดังนี้

80


รายงานประจํ า ปี 2560

การเปิ ด ให้ บ ริ ก ารเต็ ม ปี ใ นปี 2560 ของศู น ย์ ก ารค้ า ใหม่ ที่ เ ปิ ด

ผลประกอบการที่ดีและการเปิดให้บริการของศูนย์การค้าที่ได้รับ

รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม

ดําเนินการในปี 2559 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช ธุ ร กิ จ โรงแรมถื อ เป็ น ธุ ร กิ จ สนั บ สนุ น ธุ ร กิ จ หลั ก ของบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้จากการประกอบกิจการโรงแรมจํานวน

การปรับปรุงใหญ่แล้วเสร็จในปี 2559 ได้แก่ เซ็นทรัลมารีนา และ

1,097 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 10.0 จากปีก่อนหน้า เป็นผลจาก

รายได้จากศูนย์การค้าที่เปิดใหม่ในปี 2560 คือ เซ็นทรัลพลาซา

ผลประกอบการที่แข็งแกร่งของโรงแรมฮิลตัน พัทยา ที่มีอัตราการ

นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย

เข้าพักรวมเท่ากับร้อยละ 93 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 89 ในปีก่อน ซึ่ง

ผลประกอบการของศู น ย์ ก ารค้ า เดิ ม ที่ เ ติ บ โตขึ้ น เช่ น เซ็ น ทรั ล

สอดคล้องกับปริมาณนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น และโรงแรมเซ็นทารา

เฟสติวัล อีสต์วิลล์ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลพลาซา

และคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อุดรธานี มีอัตราการเข้าพักเท่ากับร้อยละ

แกรนด์ พระราม 9 เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา

78 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 73 เนื่องจากมีการจัดสัมมนาของหน่วยงาน

ขอนแก่ น เซ็ น ทรั ล พลาซา อุ บ ลราชธานี เซ็ น ทรั ล พลาซา

ภาครัฐและลูกค้าที่จองห้องพักผ่านเว็บไซต์เพิ่มขึ้นประกอบกับราคา

สุราษฎร์ธานี และเซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก

ห้องพักเฉลีย ่ เพิม ่ ขึน ้ อย่างต่อเนือ ่ งในโรงแรมทัง ้ สองแห่ง อย่างไรก็ดี

ศูนย์การค้าที่ได้รับการปรับปรุงบางส่วน และมีการเติบโตของ

เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ ได้ดําเนินการโอนโรงแรมฮิลตัน

รายได้ ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ และเซ็นทรัลพลาซา

พั ท ยา เข้ า CPNREIT เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ตามแผนการแปลงสภาพ

บางนา

CPNRF เป็น CPNREIT

ขณะที่ศูนย์การค้าที่มีการปรับปรุงใหญ่ ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ และ

รายได้อื่น

เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

บริษัทฯ มีรายได้อื่นจํานวน 2,091 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 44.1 จาก

รายได้จากการเช่าและบริการของศูนย์การค้าเดิม (Same Store

ปีก่อน ประกอบด้วย รายได้ค่าธรรมเนียมการบริหาร CPNREIT และ

Rental Revenue Growth) โดยไม่นับรวมศูนย์การค้าใหม่ที่เปิด

CPNCG จํานวน 492 ล้านบาท รายได้สนับสนุนกิจกรรมการตลาด

ดําเนินการในปี 2560 และ 2559 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

จํานวน 166 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน และรายได้ภาษีโรงเรือนที่

เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และเซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช และ

เพิ่มขึ้นตามจํานวนศูนย์การค้าที่เพิ่มขึ้น

ศูนย์การค้าทีป ่ รับปรุง ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัลมารีนา เติบโตร้อยละ 3.5 จาก

ต้นทุนรวม

ปีก่อน บริษัทฯ มีต้นทุนรวม 14,518 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.4 จากกับ รายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม

ปีกอ ่ น โดยต้นทุนรวมของบริษท ั ฯ มีองค์ประกอบทีส ่ าํ คัญดังต่อไปนี้

ในปี 2560 บริษัทฯ มีรายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่มจํานวน

ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ

1,631 ล้านบาท เติบโตร้อยละ 17.4 จากปีก่อนหน้า รายได้ที่เพิ่มขึ้น ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ ได้แก่ ค่าสาธารณูปโภค ค่าจ้างบริการ

เป็นผลจาก

รั ก ษาความปลอดภั ย และรั ก ษาความสะอาด ค่ า ใช้ จ่ า ยเกี่ ย วกั บ •

• • •

ศูนย์อาหารใหม่ที่เปิดให้บริการในปี 2559 และเปิดให้บริการเต็ม

พนักงาน ค่าเช่าที่ดิน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจําหน่าย ค่าซ่อมแซม

ปี 2560 ที่เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช เซ็นทรัลพลาซา

ค่าเบี้ยประกัน และภาษีโรงเรือนของทรัพย์สินที่ครอบครองไว้เพื่อหา

บางนา เซ็นทรัลมารีนา และเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ

ประโยชน์จากรายได้ค่าเช่า

ศู น ย์ อ าหารใหม่ ที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารในปี 2560 ที่ เ ซ็ น ทรั ล พลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย

บริษัทฯ มีต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการเท่ากับ 12,894 ล้านบาท เพิ่มขึ้น

ศูนย์อาหารใหม่ที่เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต ที่ได้รับการปรับปรุง

ร้อยละ 2.1 จากปีก่อน ซึ่งน้อยกว่าการเพิ่มขึ้นของรายได้จากการ

แล้วเสร็จในไตรมาส 2 ปี 2560

ให้เช่าและให้บริการจากการบริหารต้นทุนค่าสาธารณูปโภคอย่างมี

้ ผลประกอบการทีแ ่ ข็งแกร่งของศูนย์อาหารเดิมในศูนย์การค้าทัง

ประสิทธิภาพ โดยการเพิ่มขึ้นของต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการมีสาเหตุ

ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดทีเ่ ติบโตด้วยอัตราเลขสองหลัก อาทิ

หลักมาจากปัจจัยดังนี้

เซ็นทรัลเฟสติวล ั อีสต์วล ิ ล์ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต และเซ็นทรัล เฟสติวัล สมุย

81

บทที่ 19

เซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า


ต้ น ทุ น การดํ า เนิ น การและค่ า เสื่ อ มราคาของโครงการใหม่ แ ละ

ค่าธรรมเนียมและค่าที่ปรึกษาต่าง ๆ รวมถึงค่าเสื่อมราคา และค่าตัด

โครงการที่ปรับปรุงใหม่ที่เปิดตัวในปี 2559 และรับรู้ต้นทุนเต็มปี

จําหน่ายอุปกรณ์สํานักงานและสินทรัพย์ของโรงแรม

ในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช เซ็นทรัลมารีนา

บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายในการบริหารในปี 2560 เท่ากับ 5,066 ล้านบาท

และเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า และของศูนย์การค้าที่เปิดใหม่ในปี

เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.0 จากปีก่อน เป็นผลจากค่าใช้จ่ายบุคลากรที่เพิ่ม

2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา

ขึ้นตามจํานวนพนักงานที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการขยายธุรกิจ ค่าใช้

มหาชัย •

จ่ายในการบริหารของศูนย์การค้าใหม่ในปี 2559 และ 2560 ได้แก่

ค่าซ่อมแซมบํารุงรักษา และค่าใช้จ่ายบุคลากรเพิ่มขึ้นเพื่อรองรับ

เซ็ น ทรั ล พลาซา นครศรี ธ รรมราช เซ็ น ทรั ล พลาซา นครราชสี ม า

การเปิดศูนย์การค้าใหม่ •

เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 รวมถึงค่าใช้

ขณะทีต ่ น ้ ทุนค่าสาธารณูปโภคซึง ่ เป็นต้นทุนหลัก (คิดเป็นประมาณ

จ่ายในการจัดกิจกรรมการตลาดของศูนย์การค้าตามเทศกาลต่าง ๆ

ร้อยละ 30 ของต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ) ได้มก ี ารปรับตัวลดลง

ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ระหว่ า งปี ส่ ง ผลให้ อั ต ราส่ ว นค่ า ใช้ จ่ า ยในการบริ ห ารต่ อ

จากปี ก่ อ น ซึ่ ง เป็ น ผลจากมาตรการประหยั ด พลั ง งานที่ มี

รายได้รวมอยู่ที่ร้อยละ 16.4 เทียบกับร้อยละ 15.1 ในปี 2559

ประสิทธิผล โดยต้นทุนค่าสาธารณูปโภคในส่วนของศูนย์การค้า เดิมลดลงประมาณร้อยละ 3.2 จากปีก่อน โดยส่วนหนึ่งเป็นผล

อัตรากําไรขั้นต้น และอัตรากําไรจากการดําเนินงาน

จากการทีบ ่ ริษท ั ฯ ดําเนินมาตรการเกีย ่ วกับการประหยัดพลังงาน บริ ษั ท ฯ มี อั ต รากํ า ไรขั้ น ต้ น (ไม่ ร วมรายได้ อื่ น ) สํ า หรั บ ปี 2560

อย่างต่อเนื่อง เพื่อรักษาระดับอัตราต้นทุนต่อรายได้รวมสําหรับ ปี 2560 ให้อยูใ่ นระดับตาํ่ กว่าปีกอ ่ น แม้วา่ อัตราเฉลีย ่ ค่าไฟฟ้าโดย

เพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 49.6 จากร้อยละ 49.2 ในปีก่อน ด้วยการ

อั ต โนมั ติ (Ft) ได้ ป รั บ ตั ว สู ง ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ งตั้ ง แต่ เ ดื อ น

บริ ห ารควบคุ ม ต้ น ทุ น อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ทํ า ให้ ต้ น ทุ น เพิ่ ม ขึ้ น

พฤษภาคม 2560 เป็นต้นมา

น้อยกว่าการเพิม ่ ขึน ้ ของรายได้จากธุรกิจศูนย์การค้าและการประกอบ กิจการโรงแรม และยังรักษาอัตรากําไรขั้นต้นในการขายอาหารและ

ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม

เครื่องดื่มได้ใกล้เคียงกับปีก่อน ในขณะเดียวกันบริษัทฯ มีอัตรากําไร จากการดําเนินงาน (ไม่รวมรายได้อื่น) ลดลงเป็นร้อยละ 36.6 จาก

ต้นทุนอาหารและเครือ ่ งดืม ่ ได้แก่ ต้นทุนทางตรงในการประกอบธุรกิจ

ร้อยละ 37.0 ในปีก่อน เนื่องจากมีค่าใช้จ่ายด้านบุคลากร ด้านการ

ศูนย์อาหาร รวมถึงค่าเสื่อมราคาและค่าซ่อมแซมอุปกรณ์และงาน

ตลาด และด้านบริหารธุรกิจทีเ่ พิม ่ ขึน ้ อย่างทีก ่ ล่าวไว้กอ ่ นหน้า อย่างไร

ตกแต่งศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้า

ก็ดี บริษัทฯ ยังคงมุ่งมั่นที่จะควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริหารได้อย่าง

บริษัทฯ มีต้นทุนอาหารและเครื่องดื่มเท่ากับ 1,280 ล้านบาท เพิ่มขึ้น

มีประสิทธิภาพจากการปฏิบัติตามมาตรการลดต้นทุนต่าง ๆ เพื่อ

ร้อยละ 18.0 จากปีกอ ่ น และเพิม ่ ขึน ้ มากกว่าการเติบโตของรายได้จาก

รักษาอัตรากําไรจากการดําเนินงานให้ได้ต่อไป

การขายอาหารและเครื่องดื่ม ซึ่งต้นทุนเพิ่มสูงขึ้นจากศูนย์อาหารที่

กําไรสุทธิ

เปิดใหม่ในปี 2559 และ 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย รวมถึงศูนย์

ปี 2560 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิ (ไม่รวมรายได้อื่น) เท่ากับ 9,893

อาหารที่ได้รับการปรับปรุงโซน Food Destination ในปี 2560 อาทิ

ล้านบาท เติบโตร้อยละ 7.0 เมื่อเทียบกับปีก่อน เป็นผลจากรายได้ใน

เซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา

ทุกธุรกิจเติบโตในอัตราที่สูงกว่าต้นทุนการดําเนินงาน การควบคุม

ปิ่นเกล้า และเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย

ค่าใช้จ่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ และดอกเบี้ยจ่ายลดลงร้อยละ 42.6

ต้นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรม

ตามการลดลงของหนีส ้ น ิ ทีม ่ ด ี อกเบีย ้ และอัตราดอกเบีย ้ ทีอ ่ ยูใ่ นระดับ ตํ่า ขณะที่ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนลดลงร้อยละ 1.7 เนื่องจาก

ในปี 2560 บริษัทฯ มีต้นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรมจํานวน

การปรับปรุงเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

344 ล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.5 จากปีก่อน ซึ่งเป็นไปในทิศทาง

อัตราผลตอบแทนผู้ถือหุ้น (ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นประจํา) เท่า

เดียวกันกับรายได้ของโรงแรมที่เพิ่มขึ้น โดยทั้งสองโรงแรมมีการ

้ ยละ 18.9 โดยอัตรา กับร้อยละ 17.4 ลดลงเล็กน้อยจากปีกอ ่ นหน้าทีร่ อ

บริหารจัดการต้นทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในส่วนของห้องพัก

กําไรสุทธิปี 2560 เท่ากับร้อยละ 31.2 เพิม ่ ขึน ้ เล็กน้อยจากปีกอ ่ นหน้าที่

และอาหารและเครื่องดื่ม

ร้อยละ 30.7 ขณะที่อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์เท่ากับ 0.28 เท่า และอัตราส่วนสินทรัพย์ต่อส่วนของผู้ถือหุ้นเท่ากับ 1.95 เท่า

ค่าใช้จ่ายในการบริหาร

เทียบกับปีก่อนหน้า ที่ 0.29 เท่า และ ร้อยละ 2.01 ตามลําดับ เช่น ค่าใช้จา่ ยในการบริหาร ได้แก่ ค่าใช้จา่ ยบุคลากรส่วนกลางและผูบ ้ ริหาร

่ ไิ ด้เกิดขึน ้ เดียวกับ อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (ไม่รวมรายการทีม

ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ ค่าเครื่องใช้สํานักงานและของใช้สิ้นเปลือง

ประจํา) เท่ากับร้อยละ 8.8 ลดลงเล็กน้อยจากร้อยละ 8.9 ในปีกอ ่ นหน้า

82


รายงานประจํ า ปี 2560

ตารางที่ 2: สรุปข้อมูลทางการเงิน ปี 2559

ปี 2560

25,247

26,057

3

24,579

25,367

3

667

690

3

1

1

(29)

998

1 ,097

10

รายได้จากการขายอาหารและเครื่องดื่ม

1,389

1,631

17

รายได้อื่น

1,600

5,809

263

รายได้รวม

29,234

34,594

18

รายได้รวม ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา

29,234

31,096

6

ต้นทุนค่าเช่าและค่าบริการ

12,630

12,894

2

12,349

12,627

2

279

267

(5)

1

1

(51)

325

344

6

1,086

1,280

18

ต้นทุนรวม

14,041

14,5 1 8

3

กําไรจากการดําเนินงาน

10,81 4

14,989

39

กําไรจาการดําเนินงาน ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา

10,81 4

1 1 ,3 1 4

5

กําไรสุทธิประจํางวด

9,244

13,568

47

กําไรสุทธิ ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นเป็นประจํา

9,244

9,893

7

กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท)

2.06

3.02

47

กําไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน (บาท) ไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นประจํา

2.06

2.20

7

อัตรากําไรขั้นต้น (ไม่รวมรายได้อื่น) (ร้อยละ)

49

50

0

อัตรากําไรจากการดําเนินงานไม่รวมรายการที่มิได้เกิดขึ้นประจํา (ร้อยละ)

37

37

0

รายได้จากการให้เช่าและบริการ ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน ค่าเช่าและบริการอื่น ๆ รายได้จากการประกอบกิจการโรงแรม

ศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน ค่าเช่าและบริการอื่น ๆ ต้นทุนจากการประกอบกิจการโรงแรม ต้นทุนอาหารและเครื่องดื่ม

YoY (ร้อยละ)

ฐานะการเงิน สินทรัพย์หมุนเวียน

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสินทรัพย์รวมเท่ากับ 120,574

สินทรัพย์หมุนเวียนของบริษัทฯ ประกอบด้วย เงินสดและรายการ

ล้านบาท เพิม ่ ขึน ้ จํานวน 16,046 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.4 จากปีกอ ่ น

เทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การค้าสุทธิ ลูกหนี้อื่น และ

โดยสินทรัพย์ของบริษัทฯ ประกอบด้วย

โครงการอสังหาริมทรัพย์ระหว่างการพัฒนา

83

บทที่ 19

ผลการดําเนินงานรวม (ล้านบาท)


หนี้สินรวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสินทรัพย์หมุนเวียนเท่ากับ 13,114 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 6,579 ล้านบาท หรือร้อยละ 100.7

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีหนี้สินรวมเท่ากับ 56,694 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 5,171 ล้านบาท หรือร้อยละ 10.0 จากปีก่อน โดยหนี้สินของบริษัทฯ ประกอบด้วย

จากปีก่อน โดยมีความเคลื่อนไหวของสินทรัพย์หมุนเวียนดังต่อไปนี้ •

การเพิ่ ม ขึ้ น ของโครงการอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ร ะหว่ า งการพั ฒ นา จํ า นวน 3,178 ล้ า นบาท โดยหลั ก มาจากเงิ น จ่ า ยล่ ว งหน้ า

หนี้สินหมุนเวียน

ค่าก่อสร้างลงทุนในโครงการทีอ ่ ยูอ ่ าศัยทีอ ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง •

การเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนชั่วคราวจํานวน 2,352 ล้านบาท โดย บริษท ั ฯ มีนโยบายการลงทุนชัว ่ คราวในตราสารทุนทีม ่ ค ี วามเสีย ่ งตาํ่

หนี้สินหมุนเวียนของบริษัทฯ ประกอบด้วย เจ้าหนี้การค้า เจ้าหนี้อื่น หนี้สินมีภาระดอกเบี้ยระยะสั้นและที่ครบกําหนดชําระใน 1 ปี ส่วนของ รายได้ค่าเช่าและค่าบริการรับล่วงหน้าที่ถึงกําหนดรับรู้ภายในหนึ่งปี ส่วนของเจ้าหนี้สิทธิการเช่าที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ปี และภาษี เงินได้ค้างจ่าย

และสภาพคล่องสูง เช่น พันธบัตรรัฐบาล และกองทุนรวมที่เน้น ลงทุนในตราสารภาครัฐและตราสารหนีภ ้ าคเอกชนทีม ่ ค ี วามเสีย ่ ง สูงไม่มาก •

การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้อ่ืนจํานวน 914 ล้านบาท โดยหลักมาจาก

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษท ั ฯ มีหนีส ้ น ิ หมุนเวียนเท่ากับ 14,353 ล้านบาท ลดลงจํานวน 528 ล้านบาท หรือร้อยละ 3.5 จากปีก่อน โดยมีความเคลื่อนไหวของหนี้สินหมุนเวียนดังต่อไปนี้

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนของบริษัทฯ ประกอบด้วย เงินลงทุนในบริษัท

รายได้ค้างรับรอเรียกเก็บร้านค้า

ร่วมและการร่วมค้า เงินลงทุนระยะยาวในกิจการที่เกี่ยวข้องกัน ภาษี เงินได้รอการตัดบัญชี อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน สิทธิการเช่า

สิทธิการใช้สินทรัพย์ และในที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีสินทรัพย์ไม่หมุนเวียนเท่ากับ

107,459 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 9,467 ล้านบาท หรือร้อยละ 9.7 จากปี ก่ อ น โดยมี ค วามเคลื่ อ นไหวของสิ น ทรั พ ย์ ไ ม่ ห มุ น เวี ย นดั ง ต่อไปนี้ •

การเพิ่มขึ้นของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนจํานวน 8,272 ล้านบาท โดยหลักมาจากเงินลงทุนเพือ ่ พัฒนาศูนย์การค้าแห่งใหม่ ที่เปิดตัวในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และ เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ศูนย์การค้าทีอ ่ ยูร่ ะหว่างการก่อสร้าง อาทิ

หนี้สินไม่หมุนเวียน

เซ็นทรัลภูเก็ต และ Central i-City ในประเทศมาเลเซีย ที่คาดว่า จะแล้วเสร็จในปี 2561 รวมที่ดินโครงการที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

หนี้สินไม่หมุนเวียนของบริษัทฯ ประกอบด้วย หนี้สินมีภาระดอกเบี้ย ระยะยาว หนี้ สิ น ภาษี เ งิ น ได้ ร อตั ด บั ญ ชี ภาระผู ก พั น ผลประโยชน์ พนักงาน เจ้าหนี้สิทธิการเช่า รายได้ค่าเช่าและค่าบริการรับล่วงหน้า เงินมัดจํารับจากลูกค้า เงินค้ําประกันสิทธิการเช่า และประมาณการ หนี้สินจากการรื้อถอนและการบูรณะ

เพื่อรองรับแผนการขยายศูนย์การค้าอีก 2-3 แห่งต่อปี และเงิน ลงทุนเพื่อปรับปรุงศูนย์การค้าแห่งเดิม •

การเพิ่มขึ้นของสิทธิการเช่าจํานวน 560 ล้านบาท โดยหลักมา จากการจ่ายเงินเพือ ่ สิทธิการเช่าและเช่าช่วงทีด ่ น ิ เพือ ่ รองรับการ ขยายกิจการของบริษัทฯ ในอนาคต

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีหนี้สินไม่หมุนเวียนเท่ากับ 42,340 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 5,700 ล้านบาท หรือร้อยละ 15.6 จากปีก่อน โดยมีความเคลื่อนไหวของหนี้สินไม่หมุนเวียนดังต่อไปนี้

การเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น ลงทุ น ในบริ ษั ท ร่ ว มจํ า นวน 351 ล้ า นบาท โดยหลักมาจากการเข้าซือ ้ หุน ้ บริษท ั ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด คิดเป็น สัดส่วนการถือครองร้อยละ 65 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้มา ซึ่งสิทธิการเช่าช่วงที่ดินในอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

การลดลงของหนี้ สิ น มี ภ าระดอกเบี้ ย ที่ ถึ ง กํ า หนดชํ า ระใน 1 ปี จํานวน 2,434 ล้านบาท เนื่องจากมีการจ่ายชําระหนี้สินมีภาระ ดอกเบี้ยระยะสั้นที่ครบกําหนดภายในปี การลดลงของภาษีเงินได้ค้างจ่ายจํานวน 270 ล้านบาท โดยมี การจ่ายชําระภาษีจํานวน 2,307 ล้านบาท หักการบันทึกการ คํานวณภาษีเงินได้นิติบุคคลในระหว่างปีจํานวน 2,037 ล้านบาท การเพิ่มขึ้นของส่วนของรายได้ค่าเช่าและค่าบริการรับล่วงหน้าที่ ถึงกําหนดรับรู้ภายในหนึ่งปี จํานวน 705 ล้านบาท โดยหลักมา จากรายได้คา่ เช่าล่วงหน้ารอตัดจําหน่ายภายในหนึง ่ ปีของเซ็นทรัล เฟสติวัลพัทยา บีช และโรงแรมฮิลตัน พัทยา จาก CPNREIT การเพิ่มขึ้นของเจ้าหนี้ผู้รับเหมาก่อสร้างจํานวน 1,364 ล้านบาท โดยเพิม ่ ขึน ้ จากกิจกรรมก่อสร้างทีเ่ พิม ่ ขึน ้ ซึง ่ สอดคล้องกับมูลค่า อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนที่เพิ่มขึ้น

การเพิ่มขึ้นของภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีจํานวน 207 ล้านบาท โดยหลั ก มาจากการหั ก ลบรายการทางภาษี เงิ น มั ด จํ า รั บ จาก ลูกค้า ขาดทุนสะสม ภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน เป็นต้น

84

การเพิ่ ม ขึ้ น ของรายได้ ค่ า เช่ า และค่ า บริ ก ารรั บ ล่ ว งหน้ า จํ า นวน 11,259 ล้านบาท โดยหลักมาจากรายได้ค่าเช่าล่วงหน้ารอตัด จําหน่ายของเซ็นทรัลเฟสติวล ั พัทยา บีช และโรงแรมฮิลตัน พัทยา จาก CPNREIT


รายงานประจํ า ปี 2560

มาซึ่ ง ส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไ ม่ มี อํ า นาจควบคุ ม ในบริ ษั ท ย่ อ ยจํ า นวน 5

การเพิ่มขึ้นของเงินมัดจํารับจากลูกค้าจํานวน 248 ล้านบาท ซึ่ง สอดคล้องกับจํานวนร้านค้าที่เพิ่มขึ้นตามจํานวนศูนย์การค้าที่

ล้านบาท

เพิ่มขึ้น •

การเพิ่ ม ขึ้ น ของส่ ว นได้ เ สี ย ที่ ไ ม่ มี อํ า นาจควบคุ ม จํ า นวน 1,111

การลดลงของหนี้ สิ น มี ภ าระดอกเบี้ ย ระยะยาวจํ า นวน 5,941

ล้ า นบาท โดยหลั ก มาจากส่ ว นถื อ ครองในบริ ษั ท ย่ อ ยและ

ล้านบาท โดยหลักมาจากการชําระเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

บริษัทย่อยทางอ้อมของส่วนได้เสียที่ไม่มีอํานาจควบคุมที่เพิ่มขึ้น

ที่ครบกําหนดประกอบกับการชําระเงินกู้ยืมที่มีดอกเบี้ยลอยตัว

ตามมูลค่าทุนและจํานวนของบริษัทย่อยที่เพิ่มขึ้นระหว่างปี

จากสถาบันการเงินก่อนครบกําหนด เพื่อให้โครงสร้างทางการ เงินปันผล

เงินเหมาะสมกับสภาวะตลาดเงินและตลาดทุนในปัจจุบัน ส่วนของผู้ถือหุ้น

บริษท ั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผถ ู้ อ ื หุน ้ ในอัตราไม่นอ ้ ย กว่าร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิประจําปี เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์

ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2560 บริ ษั ท ฯ มี ส่ ว นของผู้ ถื อ หุ้ น เท่ า กั บ

2561 คณะกรรมการบริษัทฯ มีมติเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นซึ่ง

63,880 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 10,875 ล้านบาท หรือร้อยละ 20.5

กําหนดจะจัดขึ้นในเดือนเมษายน 2561 ให้มีการจ่ายเงินปันผล

จากปีก่อน โดยมีความเคลื่อนไหวของส่วนของผู้ถือหุ้นดังต่อไปนี้ •

จากกําไรสุทธิประจําปี 2560 จํานวน 1.40 บาทต่อหุ้น เทียบกับ 0.83 บาทต่อหุ้น ในปีก่อนหน้า โดยเงินปันผลดังกล่าวคิดเป็น

การเพิ่มขึ้นของกําไรสะสมที่ไม่ได้จัดสรรจํานวน 9,838 ล้านบาท ประกอบด้วยกําไรสุทธิประจําปีจํานวน 13,568 ล้านบาท หักด้วย

อัตราการจ่ายเงินปันผลที่ร้อยละ 46.3 ของกําไรสุทธิจากการ

การจ่ายเงินปันผลระหว่างปีจํานวน 3,725 ล้านบาท และการได้

ดําเนินงานตามงบการเงินรวมสําหรับปี 2560

ตารางที่ 3: สรุปฐานะทางการเงิน ณ 31 ธันวาคม 2559

ณ 31 ธันวาคม 2560

YoY (ร้อยละ)

สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและเงินลงทุน

3,080

5,361

74

สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น

3,455

7,753

124

รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

6,535

1 3,1 1 4

101

อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลทุน(1)

76,700

84,972

11

สิทธิการเช่า

10,647

1 1 ,207

5

ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์

1 ,797

1,676

(7)

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

8,724

9,604

10

97,992

107,459

10

104,527

120,574

15

หนี้สินหมุนเวียน

14 ,882

1 4 ,354

(4)

หนี้สินไม่หมุนเวียน

36,640

42,340

16

หนี้สินรวม

5 1 ,523

56,694

10

ส่วนของผู้ถือหุ้น

53,005

63,880

21

สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน

รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์รวม

หมายเหตุ: (1) อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน บันทึกบัญชีตามราคาต้นทุนและตัดค่าเสื่อมราคาแบบเส้นตรงตามอายุของสินทรัพย์ ทั้งนี้ มูลค่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนตามราคาประเมิน อยู่ที่ 180,409 ล้านบาท (167,688 ล้านบาท เมื่อเดือนธันวาคม 2559) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ หมายเหตุประกอบงบการเงิน 13 ภายใต้หัวข้อ “อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน”

85

บทที่ 19

งบแสดงฐานะทางการเงิน (ล้านบาท)


สภาพคล่องและความเพียงพอของเงินทุน

เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัวก่อนกําหนดทั้งหมด ทําให้บริษัทฯ มีเงินกู้ ยืมทีม ่ อ ี ต ั ราดอกเบีย ้ คงทีใ่ นสัดส่วนร้อยละ 100 ขณะทีอ ่ ต ั ราดอกเบีย ้ ถัวเฉลี่ยถ่วงน้ําหนักในปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 2.81 ต่อปี ลดลงจาก

แหล่งที่มาและใช้ไปของเงินทุน

ร้อยละ 3.23 ในปี 2559

กระแสเงินสด

อัตราหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยสุทธิต่อส่วนของผู้ถือหุ้นอยู่ที่ 0.07

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่า

เท่าลดลงจาก 0.28 เท่าจากสิ้นปีก่อน ตามเงินกู้ยืมที่ลดลงและการ

เงินสดจํานวน 2,418 ล้านบาท ลดลงจํานวน 71 ล้านบาท หรือร้อยละ

เพิ่มขึ้นของกําไรสะสม

2.8 จากปี ก่ อ น โดยรายการเคลื่ อ นไหวของเงิ น สดและรายการ เทียบเท่าเงินสดมีดังต่อไปนี้

รายจ่ายลงทุน

กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน

ในปี 2560 บริษท ั ฯ ใช้เงินลงทุน เท่ากับ 16,024 ล้านบาท ประกอบด้วย การซื้อที่ดินเพื่อพัฒนาโครงการในอนาคตและการพัฒนาโครงการ

ในปี 2560 บริษัทฯ ได้รับเงินสดจากการดําเนินงานจํานวน 26,599

ใหม่จํานวน 10,455 ล้านบาท การลงทุนเพื่อปรับปรุงและเพิ่มมูลค่า

ล้านบาท เพิ่มขึ้น 12,223 ล้านบาท หรือร้อยละ 85.0 จากปีก่อน โดย

โครงการทีม ่ อ ี ยูเ่ ดิมจํานวน 2,143 ล้านบาท และการลงทุนเพือ ่ พัฒนา

หลักมาจากเงินสดสุทธิรับจากผลกําไรขาดทุนที่เพิ่มขึ้นจากผลการ

โครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสมจํานวน 3,426 ล้านบาท

ดําเนินงานที่ดีขึ้น ประกอบกับเงินค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์

โครงการในอนาคต

ประกันการก่อการร้ายจํานวน 3,500 ล้านบาท และเงินสดที่เพิ่มขึ้น จากการเปลีย ่ นแปลงในสินทรัพย์และหนีส ้ น ิ ดําเนินงานระหว่างปี อาทิ

โครงการพัฒนาศูนย์การค้า

การเพิ่มขึ้นในรายได้ค่าเช่าและบริการรับล่วงหน้า การเพิ่มขึ้นของ เจ้าหนี้การค้าและอื่น ๆ ทําให้มีสภาพคล่องที่เหมาะสมกับฐานธุรกิจ

ในประเทศ

ที่ใหญ่ขึ้น เนื่องจากมีการเปิดศูนย์การค้าแห่งใหม่และมีการปรับปรุง ศูนย์การค้าเดิมระหว่างปี

ปัจจุบัน บริษัทฯ มีโครงการที่อยู่ระหว่างการดําเนินการก่อสร้าง 2 โครงการใหม่ ได้แก่ เซ็นทรัลภูเก็ต ซึง ่ คาดว่าจะเปิดให้บริการได้ภายใน

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน

ครึ่งปีแรกของปี 2561 และศูนย์การค้าใหม่อีก 1 แห่ง ซึ่งบริษัทฯ จะประกาศรายละเอียดให้ทราบในไตรมาส 2 ปี 2561

ในปี 2560 บริษัทฯ ใช้เงินสดไปในกิจกรรมลงทุนจํานวน 14,576 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 8,634 ล้านบาท หรือร้อยละ 145.3 จากปีก่อน โดย

การปรับปรุงศูนย์การค้าเดิม ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ จะแล้วเสร็จใน

หลักมาจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ (Capital Expenditure)

ไตรมาส 3 ปี 2561 และในปี 2561 บริษัทฯ มีแผนที่จะปรับปรุงใหญ่ที่

ที่เพิ่มขึ้นจากศูนย์การค้าที่เปิดใหม่ในปี 2560 ได้แก่ เซ็นทรัลพลาซา

เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และเซ็นทรัลเฟสติวล ั

นครราชสี ม า และเซ็ น ทรั ล พลาซา มหาชั ย รวมถึ ง การปรั บ ปรุ ง

ภูเก็ต และปรับปรุงย่อยที่เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช และเซ็นทรัล

ศูนย์การค้าเดิม อาทิ เซ็นทรัลเวิลด์ และเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

พลาซา ลาดพร้าว

ประกอบกั บ การเพิ่ ม ขึ้ น ของเงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราวเพื่ อ บริ ห ารสภาพ คล่องให้มีประสิทธิภาพ และการซื้อสิทธิการเช่าที่เพิ่มขึ้นตามขนาด

ต่างประเทศ

ธุรกิจที่ใหญ่ขึ้น ปั จ จุ บั น บริ ษั ท ฯ ได้ ร่ ว มพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า Central i-City ใน กระแสเงินสดจากกิจกรรมหาเงิน

ประเทศมาเลเซีย ด้วยบริษัทฯ เล็งเห็นถึงโอกาสเติบโตทางธุรกิจและ เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยงในการลงทุน จึงได้มองโอกาสการ

ในปี 2560 บริษัทฯ ใช้เงินสดไปในกิจกรรมหาเงินจํานวน 12,016

พัฒนาโครงการใหม่ ๆ ในพืน ้ ทีท ่ ม ี่ ศ ี ก ั ยภาพ โครงการ Central i-City

ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3,496 ล้านบาท หรือร้อยละ 41.0 จากปีก่อน โดย

เป็นการร่วมลงทุนระหว่าง CPN ร้อยละ 60 และ I-R&D Sdn. Bhd

หลักมาจากการจ่ายสุทธิเงินกู้ยืมจากสถาบันการเงินที่เพิ่มขึ้น ซึ่ง สอดคล้องกับต้นทุนทางการเงินที่ลดลง และการจ่ายเงินปันผลให้

(“IRD”) ร้อยละ 40 บริษัทลูกของ I-Berhad โครงการนี้มีมูลค่า

ผู้ถือหุ้นที่เพิ่มขึ้น

รวมกว่า 830 ล้านริงกิต หรือประมาณ 8,300 ล้านบาท ปัจจุบัน

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีหนี้สินที่มีภาระดอกเบี้ยเท่ากับ

ไตรมาส 4 ปี 2561 บริษัทฯ ได้ทําสัญญาเช่ากับผู้เช่ารายใหญ่ เช่น

โครงการอยู่ระหว่างการก่อสร้างและมีแผนกําหนดเปิดให้บริการใน 9,544 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 46.7 จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2559

ห้างสรรพสินค้า ซูปเปอร์มาร์เก็ต และโรงภาพยนตร์ เป็นที่เรียบร้อย

เนือ ่ งจากการชําระคืนเงินกูต ้ ามกําหนด รวมถึงมีการชําระคืนเงินกูท ้ ี่

แล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างการทําสัญญาเช่ากับผู้เช่ารายย่อยต่อไป

86


รายงานประจํ า ปี 2560

เปิดจองซือ ้ เต็มทัง ้ หมดแล้ว อยูร่ ะหว่างการก่อสร้างตกแต่งภายนอก และภายใน โดยคาดว่าจะทยอยโอนและรับรูเ้ ป็นรายได้ในช่วงครึง ่ ปีแรก ของปี 2561 รวมเป็นมูลค่าประมาณ 2,800 ล้านบาท

โครงการพัฒนาที่พักอาศัย บริษท ั ฯ เล็งเห็นศักยภาพในการพัฒนาโครงการศูนย์การค้าในลักษณะ พื้นที่แบบผสม (Mixed-use Project) โดยวางแผนใช้ประโยชน์จาก

ในปี 2560 บริษท ั ฯ ได้เปิดจองซือ ้ คอนโดมิเนียมอีกจํานวน 3 โครงการ บนที่ดินบริเวณศูนย์การค้าที่นครราชสีมา เชียงราย และเชียงใหม่ (โครงการที่ 2) โดยยอดจองซื้อของโครงการที่นครราชสีมา เต็ม ร้อยละ 100 แล้วในไตรมาส 3 ปี 2560 ส่วนยอดจองซื้อของอีก 2 โครงการ มีความคืบหน้าประมาณร้อยละ 60-80 ของจํานวนพืน ้ ที่ ทั้ ง หมดโดยคาดว่ า ทั้ ง 3 โครงการจะการก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ และ พร้อมโอนได้ในช่วงครึ่งปีหลังของปี 2562

ที่ ดิ น ที่ เ หลื อ อยู่ ใ นบริ เ วณศู น ย์ ก ารค้ า ในปั จ จุ บั น เพื่ อ พั ฒ นาธุ ร กิ จ เกี่ ย วเนื่ อ งอื่ น ๆ รวมถึ ง โครงการที่พั ก อาศั ย ด้ ว ย เพื่ อ สนั บ สนุ น ธุรกิจศูนย์การค้าซึ่งเป็นธุรกิจหลักให้เกิดประโยชน์สูงสุดและสร้าง มูลค่าเพิ่มแก่บริษัทฯ โครงการคอนโดมิเนียมทีเ่ ปิดตัวในปี 2559 จํานวน 3 โครงการ ได้แก่ ESCENT เชียงใหม่ ESCENT ขอนแก่น และ ESCENT ระยอง ซึง ่ ได้

ตารางที่ 4: โครงการในอนาคต โครงการศูนย์การค้าที่เปิดในปี 2561 โครงการ

สาขา

ความคืบหน้า

พื้นที่ให้เช่า (ตร.ม.)

ในประเทศ

ต่างจังหวัด

เซ็นทรัลภูเก็ต

ระหว่างก่อสร้าง

63,000

ต่างประเทศ

รัฐสลังงอร์ ประเทศมาเลเซีย

เซ็นทรัล ไอ-ซิตี้

ระหว่างก่อสร้าง

89,700

โครงการ

ในประเทศ

ต่างจังหวัด

สาขา

ความคืบหน้า

กําหนดแล้วเสร็จ

ประเภท

ยอดจอง (ร้อยละ)

เอสเซ็นท์ เชียงใหม่

ระหว่างก่อสร้าง

ปี 2561

คอนโด 26 ชั้น 400 ห้อง

100

เอสเซ็นท์ ขอนแก่น

ระหว่างก่อสร้าง

ปี 2561

คอนโด 24 ชั้น 408 ห้อง

100

เอสเซ็นท์ ระยอง

ระหว่างก่อสร้าง

ปี 2561

คอนโด 25 ชั้น 419 ห้อง

100

ความคืบหน้า

กําหนดแล้วเสร็จ

ประเภท

ยอดจอง (ร้อยละ)

โครงการที่อยู่อาศัย เปิดขายในปี 2560 โครงการ

ในประเทศ

ต่างจังหวัด

สาขา

เอสเซ็นท์ นครราชสีมา ระหว่างการออกแบบ

ปี 2562

380 ห้อง

100

เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงราย ระหว่างการออกแบบ

ปี 2562

312 ห้อง

80

เอสเซ็นท์ วิลล์ เชียงใหม่ ระหว่างการออกแบบ

ปี 2562

450 ห้อง

60

87

บทที่ 19

โครงการที่อยู่อาศัย เปิดขายในปี 2559


ผลการดําเนินงาน ด้านการพัฒนา อย่างยั่งยืน CPN ดําเนินการด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน ภายใต้เจตนารมณ์ “การสร้างคุณค่าร่วมกับผู้มีส่วนได้เสีย และสังคมโดยรวม” เพื่อตอบสนองต่อผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทําแผนกลยุทธ์ กําหนดเป้าหมาย แผนการดํ า เนิ น งาน และหน่ ว ยงานหลั ก ที่ ทํ า หน้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบและนํ า เสนอผลการดํ า เนิ น งาน รวมทั้ ง มอบหมายให้ผบ ู้ ริหารของ CPN ในฐานะผูน ้ าํ ด้านความยัง ่ ยืน (SD Champion) ทําหน้าทีส ่ ง ่ เสริมสนับสนุน ให้ ก ารขั บ เคลื่ อ นพั น ธกิ จ บรรลุ เ ป้ า หมายที่ ว างไว้ และรายงานผลการดํ า เนิ น งานต่ อ คณะกรรมการ บรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป็นประจําทุกไตรมาส ตามกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน

88

24


รายงานประจํ า ปี 2560

กระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ CPN ให้ความสําคัญกับการรักษาและสร้างการเติบโตทางธุรกิจอย่างแข็งแกร่ง มั่นคง และยั่งยืน โดยตั้งเป้าหมาย ทางธุรกิจในระยะ 5 ปี (ปี 2561-2565) ที่จะมีรายได้เติบโตในอัตราเฉลี่ย (CAGR) อย่างน้อยร้อยละ 13 ต่อปี เพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว บริษัทฯ ได้กําหนดแนวทางการเติบโตด้วยการกระจายฐานธุรกิจการพัฒนาและบริหาร อสังหาริมทรัพย์เป็นหนึ่งในกลยุทธ์การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน ซึ่งสามารถทําได้หลากหลายรูปแบบ ได้แก่ 1. การขยายธุรกิจทางภูมิศาสตร์ 2. การขยายประเภททรัพย์สิน

การขยายธุรกิจทางภูมิศาสตร์

ผสม (Mixed-use Development) ประกอบด้ ว ย ที่ อ ยู่ อ าศั ย อาคารสํ า นั ก งาน และโรงแรม เพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ ธุ ร กิ จ ศูนย์การค้าซึ่งเป็นธุรกิจหลักให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยในปี 2559 ั ซีพเี อ็น เรสซิเด้นซ์ จํากัด ซึง ่ เป็นบริษท ั ย่อย ได้พฒ ั นา CPN ผ่านบริษท โครงการคอนโดมิเนียมในบริเวณพื้นที่ศูนย์การค้าของ CPN ที่เปิด ดําเนินการอยู่ หรือพืน ้ ทีใ่ กล้ ๆ โดยรอบศูนย์การค้า จํานวน 3 โครงการ คือ เชียงใหม่ ระยอง และขอนแก่น และในปี 2560 ได้เปิดขายโครงการ คอนโดมิ เ นี ย มอี ก 3 โครงการ คื อ นครราชสี ม า เชี ย งราย และ เชียงใหม่ แห่งที่ 2

ที่ผ่านมา CPN พัฒนาและบริหารอสังหาริมทรัพย์ให้เติบโตอย่าง ต่อเนื่อง ด้วยการพัฒนาศูนย์การค้าใหม่ในทําเลที่มีศักยภาพ เริ่ม จากกรุงเทพฯ และปริมณฑล และขยายไปยังจังหวัดทีม ่ ก ี ารเติบโตทาง เศรษฐกิจที่มั่นคงและเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคนั้น ๆ เพื่อกระจาย ความเสี่ยงการกระจุกตัวของธุรกิจ และไม่พลาดโอกาสในการเติบโต ิ าคนัน ้ ซึง ่ ปัจจุบน ั CPN มีศน ู ย์การค้าในกรุงเทพฯ ทางธุรกิจของภูมภ และปริมณฑลจํานวน 14 แห่ง และในต่างจังหวัดจํานวน 18 แห่ง ก่อนเริ่มพัฒนาโครงการ CPN จะเลือกทําเลที่ดีที่สุดในย่านนั้น ๆ เพื่ อ สร้ า งความสะดวกสบายในการเดิ น ทางให้ กั บ ลู ก ค้ า รวมถึ ง นักท่องเที่ยว และผู้มาติดต่อค้าขายที่ศูนย์การค้า โดยศูนย์การค้า ของ CPN จะถูกสร้างสรรค์ขึ้นด้วยแนวคิด Center of Life หรือ เป็ น ศู น ย์ ก ลางการใช้ ชี วิ ต ของคนทุ ก วั ย การออกแบบจะนํ า เสนอ เอกลั ก ษณ์ ที่ โ ดดเด่ น ของแต่ ล ะท้ อ งถิ่ น นั้ น ๆ มาเป็ น จุ ด เด่ น ของ ศูนย์การค้า เพือ ่ ร่วมเป็นส่วนหนึง ่ ของสังคมนัน ้ และอยูร่ ว ่ มกันอย่าง ิ ค้าและบริการครบครัน มีความสุข มีการสร้างสรรค์ไลฟ์สไตล์ใหม่ ๆ มีสน เป็นศูนย์กลางการทํากิจกรรมต่าง ๆ ของคนในชุมชนและท้องถิ่น และดึงดูดนักท่องเทีย ่ วให้มาเยีย ่ มชม ช่วยกระตุน ้ เศรษฐกิจ สร้างงาน สร้างอาชีพ ก่อให้เกิดการกระจายรายได้สู่ชุมชนต่าง ๆ ทั่วประเทศ สร้างประโยชน์และสร้างมูลค่าให้กับผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม นําไปสู่การ พัฒนาเศรษฐกิจระดับประเทศ

การพัฒนาโครงการ Mixed-use ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับศูนย์การค้า เพิม ่ ฐานรายได้ในการเติบโตทางธุรกิจ เป็นการทําธุรกิจทีเ่ กือ ้ หนุนกัน ในเชิงพื้นที่ เช่น เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา: มหานครแห่งอีสาน โครงการ Mixed-use ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งภาคอีสาน ประกอบด้วย ศูนย์การค้า โรงแรม ศูนย์ประชุม คอนโดมิเนียม ตลาดไลฟ์สไตล์ กลางแจ้ง และสวนสาธารณะไว้ในทีเ่ ดียวกัน เป็นการสร้างสรรค์โมเดล การใช้ชีวิตสมัยใหม่ให้กับชาวอีสานได้อย่างครบทุกมิติ

การร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ จากแนวคิดการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบผสม (Mixed -use Development) CPN ไม่ ไ ด้ จํ า กั ด การลงทุ น ในรู ป แบบ เจ้ า ของโครงการเพี ย งคนเดี ย วเท่ า นั้ น แต่ ยั ง เปิ ด โอกาสการร่ ว ม ลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจที่สามารถนําองค์ความรู้ในการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์มาแบ่งปัน แลกเปลี่ยน และสนับสนุนซึ่งกันและกัน เช่น เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2560 บริษัทฯ ประกาศแผนการร่วมทุนกับ บริษัท ดุสิตธานี จํากัด (มหาชน) (“DTC”) เพื่อลงทุนในการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์รูปแบบผสม ประกอบด้วย โรงแรม ที่พัก อาศัย ศูนย์การค้า และอาคารสํานักงาน บนที่ดินบริเวณหัวมุมถนน สีลมและถนนพระราม 4 โดยบริษัทฯ มีสัดส่วนการลงทุนในธุรกิจที่ บริษัทฯ มีความชํานาญ คือ ธุรกิจศูนย์การค้าร้อยละ 85 และธุรกิจ อาคารสํานักงานร้อยละ 100 ขณะทีส ่ ด ั ส่วนการลงทุนในธุรกิจโรงแรม และที่พักอาศัยร้อยละ 40 ซึ่งเป็นธุรกิจที่ DTC มีความเชี่ยวชาญ

ด้วยวิสัยทัศน์ที่ต้องการเป็นผู้นําในระดับภูมิภาค และเพื่อการเติบโต อย่างยัง ่ ยืนในระยะยาว CPN จึงได้ขยายการลงทุนไปยังภูมภ ิ าคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ในประเทศที่มีแนวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ มัน ่ คง เช่น มาเลเซีย รวมทัง ้ ศึกษาโอกาสการลงทุนในประเทศเพือ ่ นบ้าน เช่น เวียดนาม อินโดนีเซีย เป็นต้น เพื่อกระจายฐานธุรกิจและลดการ พึ่งพาธุรกิจในประเทศเพียงอย่างเดียว

การขยายประเภททรัพย์สิน CPN ได้ ข ยายรู ป แบบการลงทุ น ไปสู่ ก ารพั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ครบวงจร ภายใต้กลยุทธ์การพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบ

89

บทที่ 20

3. การร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ


นวัตกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ความเป็นเลิศในการ บริหารจัดการและการให้บริการ CPN ยืดถือลูกค้าเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาและบริหารโครงการอสังหาริมทรัพย์ เพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการเป็น ศูนย์กลางในการใช้ชีวิต ที่ตอบสนองความต้องการของทุกกลุ่ม ทุกไลฟ์สไตล์ โดยคํานึงถึงความทันสมัย ความ สะดวก ปลอดภัย ดีตอ ่ สุขภาพ และเป็นมิตรกับสิง ่ แวดล้อม โดยกําหนดแผนการดําเนินงานแบ่งตามสายงานตลอด ห่วงโซ่คุณค่า ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนาศูนย์การค้าที่ตอบสนองทุกไลฟ์สไตล์ 2. การให้บริการที่เป็นเลิศ 3. การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ

บริบทด้านความยั่งยืน

แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน

หนึ่งในความท้าทายของการดําเนินธุรกิจศูนย์การค้า คือ การรับมือ กับพฤติกรรมผูบ ้ ริโภคในยุคดิจท ิ ล ั ทีเ่ ปลีย ่ นแปลงไป ทัง ้ ไลฟ์สไตล์การ

การพัฒนาศูนย์การค้าที่ตอบสนอง ทุกไลฟ์สไตล์

พักอาศัยในอาคารสูงหรือคอนโดมิเนียม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจับจ่ายใช้สอยผ่านระบบออนไลน์ รวมไปถึงความท้าทายจาก

จากแนวทางการดําเนินงานที่ยึดลูกค้าเป็นศูนย์กลาง

นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ขณะเดียวกันก็เป็นโอกาสในการดําเนิน

1

ส่ ง ผลให้ CPN สามารถนํ า ผลการวิ จั ย และแนวโน้ ม

ธุรกิจ โดยเฉพาะทางด้านการตลาดสมัยใหม่ ทั้งในการนําเทคโนโลยี

พฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปมาจัดสรรสัดส่วน

มาประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร การให้บริการ และการมอบประสบการณ์

และองค์ประกอบของประเภทร้านค้าในศูนย์การค้าใหม่ โดยมีเป้าหมายในการสร้างสรรค์ประสบการณ์ที่เหนือ ความคาดหมาย ด้ ว ยแผนการลดและเพิ่ ม สั ด ส่ ว น องค์ประกอบของโซนต่าง ๆ ให้ทันต่อความต้องการ ของลูกค้า และแนวโน้มการบริโภคที่เปลี่ยนไป ซึ่งในการ ดําเนินการดังกล่าวนั้น CPN ได้ริเริ่มทดลองพัฒนา โซนใหม่ ๆ ในศูนย์การค้าที่มีการปรับปรุงครั้งใหญ่ และ ในศูนย์การค้าเปิดใหม่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา อีกทั้ง จากความสํ า เร็ จ ของโครงการนํ า ร่ อ ง ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ ที่เป็นอัตลักษณ์ใหม่ของ แบรนด์ เ ซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล ส่ ง ผลให้ CPN ระบุ ใ ห้ ก าร ปรั บ เปลี่ ย นและเพิ่ ม โซนใหม่ ๆ เป็ น หนึ่ ง ในแผนการ ดําเนินงานเพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้กับศูนย์การค้า โดยในปี 2560 CPN ได้กําหนดแผนงานในการพัฒนา นวัตกรรมผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ แบ่งออกเป็น

ที่แปลกใหม่ และเป็นโอกาสในการนําเทคโนโลยีดังกล่าวมาเพิ่มขีด ความสามารถในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ทันท่วงที และตรง ไลฟ์สไตล์ผู้บริโภคมากขึ้น นอกจากนั้น ปัจจัยจากการกระจายรายได้ ทางเศรษฐกิ จ และโครงสร้ า งพื้ น ฐานของรั ฐ บาลและเอกชนที่ สร้ า งเมื อ งขนาดย่ อ มกระจายตามภู มิ ภ าค และเมื อ งท่ อ งเที่ ย ว ล้วนแล้วแต่เป็นทั้งความท้าทายและโอกาสในการดําเนินธุรกิจของ CPN ดังได้กําหนดปัจจัยดังกล่าวเป็นหนึ่งในปัจจัยความเสี่ยงและ ประเด็นด้านความยัง ่ ยืนขององค์กร โดยกําหนดเป้าหมายการพัฒนา ศูนย์การค้าสู่การเป็นศูนย์กลางของการใช้ชีวิต พลิกบทบาทของ ศู น ย์ ก ารค้ า จากสถานที่ จั บ จ่ า ยใช้ ส อยสู่ ก ารเป็ น สถานที่ ที่ ส ามารถ ตอบสนองการใช้ชว ี ต ิ ของคนทุกยุค ทุกสมัย ทุกวัย และทุกไลฟ์สไตล์ ด้ ว ยการนํ า นวั ต กรรมมาใช้ ใ นการพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า และบริ ก าร บนพื้นฐานของความสะดวก ปลอดภัย ดีต่อสุขภาพ และเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม

หมายเหตุ: 1 รายละเอียดเพิ่มเติม www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์และการบริการ

90


รายงานประจํ า ปี 2560

(1) เพื่อตอบสนองต่อไลฟ์สไตล์แบบครอบครัวสมัยใหม่ ได้แก่ การออกแบบบรรยากาศแบบผสมผสาน ทัง ้ เป็นทีพ ่ ก ั ผ่อนหย่อนใจ ทัง ้ เป็นสนามเด็กเล่น อีกทัง ้ เป็นทีร่ น ื่ รมย์ของทุกคนในครอบครัว โดยคํานึงถึงความสะดวก ปลอดภัย และดีตอ ่ สุขภาพ ทัง ้ ต่อเด็ก เล็กและผู้สูงอายุ ได้แก่

2) พื้นที่สําหรับออกกําลังกายเพื่อสุขภาพที่ดี โดยเน้นพัฒนา พื้นที่ส่วนกลางให้เกิดประโยชน์ต่อลูกค้าที่รักสุขภาพ และ ชอบออกกําลังกาย เช่น การพัฒนาลูว ่ ง ิ่ บนดาดฟ้าทีเ่ ซ็นทรัล เฟสติวัล อีสต์วิลล์ และพัฒนาสวนสาธารณะพร้อมลู่ว่ิง และเลนจักรยานที่เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา 3) พื้นที่และกิจกรรมทางการตลาดตามเทรนด์ไลฟ์สไตล์ต่าง ๆ

1) สนามเด็กเล่นในร่ม ที่แตกต่างตามอัตลักษณ์เฉพาะของ แต่ละศูนย์การค้า เช่น เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ ที่พัฒนา สนามเด็กเล่นกระบะทรายละเอียดขนาดใหญ่ทม ี่ เี ชือกแมงมุม ให้เด็กได้ปน ี ป่าย และรับแสงแดดอ่อน ๆ ไปพร้อมกัน ซึง ่ มีการ ทําความสะอาดทรายละเอียดทุกวันเพื่อสุขอนามัย 2) การพั ฒ นาห้ อ งน้ํ า สํ า หรั บ เด็ ก โดยเฉพาะแยกออกจาก ั ในการใช้หอ ้ งนา้ํ ด้วยตนเอง ห้องนา้ํ ผูใ้ หญ่ เพือ ่ สร้างสุขนิสย ในเด็กเล็ก ซึง ่ เริม ่ นําร่องแห่งแรกทีเ่ ซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต 3) พืน ้ ทีส ่ าํ หรับสันทนาการร่วมกันและสวนสนุกสําหรับเด็ก เช่น สวนน้ําลอยฟ้าโพโรโระ บนดาดฟ้า เซ็นทรัลพลาซา บางนา Fun Planet ที่เซ็นทรัลพลาซา ลําปาง และเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เป็นต้น

ไม่ว่าจะเป็นการรักสุขภาพ รักสัตว์ และรักเสียงดนตรี เช่น โซน Pet Park สําหรับผู้รักสุนัข และ Bike Lane สําหรับผู้ที่ ชื่นชอบการขี่จักรยานที่เซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ การจัด มหกรรมคอนเสิร์ตเมโลดี้ ออฟไลฟ์ เฟสติวัล เทศกาลดนตรี ใจกลางกรุงเทพฯ ที่ใหญ่ที่สุด ทั้งยังมีเวทีเสวนา ที่ให้คนรัก ใ น เ สี ย ง ด น ต รี ไ ด้ ม า พู ด คุ ย แ ล ก เ ป ลี่ ย น ค ว า ม คิ ด ที่ เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ การจั ด งานไทยแลนด์ ส มายแจ๊ ส สํ า หรั บ ผู้ชื่นชอบในดนตรีแจ๊ส หมุนเวียนจัดตามสาขาของ CPN 10 แห่งทั่วประเทศ เป็นต้น

(2) เพื่อตอบสนองต่อพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไป ได้แก่ การพัฒนาโซนอาหารที่ผสมผสานร้านอาหารหลากสไตล์ แบ่ง บทที่ 20

โซนตามไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค รวมทั้งร้านอาหารแบบซื้อกลับ และเพิม ่ สัดส่วนร้านอาหารในศูนย์การค้ามากขึน ้ เช่น โซนฟูด ้ วิลล์ โซนร้ า นอาหารในศู น ย์ ก ารค้ า ส่ ว นที่ ไ ม่ ติ ด เครื่ อ งปรั บ อากาศ ทีเ่ ซ็นทรัลเฟสติวล ั อีสต์วล ิ ล์ โซนฟูด ้ พาทิโอ โซนร้านอาหารแบบ ผสมผสานเบ็ดเสร็จ ที่รวมศูนย์อาหาร-ฟู้ดพาร์ค ร้านอาหาร รายย่อย และร้านอาหารซื้อกลับ ไว้ในโซนเดียวกัน ซึ่งนําร่อง แห่งแรกที่เซ็นทรัลพลาซา บางนา และโซนอาหารทะเลสดใหม่ ที่ผู้บริโภคสามารถเลือกสรรอาหารทะเลสด ๆ ให้ผู้ประกอบการ ทําการปรุงเพื่อรับประทานได้ทันที ซึ่งนําร่องที่เซ็นทรัลพลาซา มหาชัย (3) เพื่อตอบสนองต่อไลฟ์สไตล์ใหม่ ๆ ของกลุ่มคนที่มีความรัก ความชอบ และสไตล์ที่คล้าย ๆ กัน ได้แก่ 1) พื้นที่สําหรับการทํางานร่วมกัน หรือ Co-working Space เป็นพื้นที่สําหรับหาแรงบันดาลใจของคนรุ่นใหม่ ที่ต้องการ หาสถานทีเ่ พือ ่ นัง ่ ทํางาน หรือเลือกสรรอ่านหนังสือ ฟังเพลง พร้อมชมงานศิลปะ อีกทัง ้ ยังสามารถพบปะพูดคุยกับเพือ ่ นๆ หรื อ ใช้ เ วลาในการทํ า งานอดิ เ รกที่ รั ก ในขณะเดี ย วกั น ก็ สามารถเลื อ กซื้ อ หนั ง สื อ อุ ป กรณ์ เ ครื่ อ งเขี ย น อุ ป กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ และอุปกรณ์สําหรับงานอดิเรกไปพร้อมกัน ซึง ่ เริม ่ นําร่องในเซ็นทรัลเฟสติวล ั อีสต์วล ิ ล์ และปรับประยุกต์ ให้ เ หมาะสมกั บ ความต้ อ งการของศู น ย์ ก ารค้ า อื่ น เช่ น เซ็นทรัลพลาซา บางนา เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา เป็นต้น

91


(1) การอํานวยความสะดวกในการเดินทาง

(4) เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ลั ก ษณะการดํ า เนิ น ชี วิ ต ของชุ ม ชนที่ เปลี่ยนไป ได้แก่

หนึง ่ ในความท้าทายของการดําเนินธุรกิจพัฒนาศูนย์การค้า คือ การบริ ห ารจั ด การเรื่ อ งการจราจร ทั้ ง การเดิ น ทางมายั ง

1) การพัฒนาโซนมาร์เก็ต-มาร์เก็ต เพือ ่ นําเสนอทางเลือกให้กบ ั คนในชุมชนในการจับจ่ายใช้สอยในรูปแบบตลาดนัดบาซาร์

ศู น ย์ ก ารค้ า และการจราจรภายในโครงการ เพื่ อ หลี ก เลี่ ย ง

ประกอบด้ ว ย ร้ า นกิ จ การขนาดเล็ ก ที่ ข ายสิ น ค้ า ในราคา

ผลกระทบที่อาจจะเกิดกับชุมชนละแวกใกล้เคียง ซึ่งพฤติกรรม

คุ้ ม ค่ า ทั้ ง สิ น ค้ า แฮนด์ เ มด สิ น ค้ า ท้ อ งถิ่ น หรื อ สิ น ค้ า

ของผู้บริโภคนั้น ยังประสงค์จะเดินทางโดยยานพาหนะส่วนตัว

ไลฟ์สไตล์ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมผู้ประกอบการรายย่อย

ทั้ ง รถยนต์ แ ละรถจั ก รยานยนต์ ม ากกว่ า โดยเฉพาะใน

ในชุมชนให้มีช่องทางในการจําหน่ายสินค้า โดยจัดสรรพื้นที่

ต่ า งจั ง หวั ด ที่ ร ะบบการขนส่ ง สาธารณะยั ง ไม่ เ อื้ อ อํ า นวยใน

นอกอาคารสําหรับขายของหลากหลายชนิด ทั้งอาหารและ

บางเส้นทาง ดังนัน ้ เพือ ่ เป็นการตอบสนองต่อการเดินทางของ

แฟชัน ่ ในราคาทีค ่ ม ุ้ ค่า มีการเสนอรูปแบบสัญญาเช่าทีย ่ ด ื หยุน ่

ผูบ ้ ริโภคทุกกลุม ่ อย่างเหมาะสม CPN ได้กาํ หนดสิง ่ อํานวยความ

และเหมาะสม ปั จ จุ บั น ได้ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารที่ เ ซ็ น ทรั ล พลาซา

สะดวกด้านการขนส่งและจราจรภายในศูนย์การค้าดังนี้

ระยอง เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช เซ็นทรัลมารีนา 1) กําหนดพื้นที่ช่องจอดรถยนต์และรถจักรยานยนต์มากกว่า

เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย

กฎหมายกําหนด 2.5 เท่าเป็นอย่างน้อย

2) การพัฒนาศูนย์ราชการร่วม โดยจัดสรรพื้นที่เพื่ออํานวย

2) ให้บริการพื้นที่จอดรถสําหรับสุภาพสตรี ในทุกโครงการ

ความสะดวกในการให้บริการงานธุรกรรมของภาครัฐแบบ

3) ให้บริการระบบจอดรถอัจฉริยะ หรือระบบแนะนําทีจ ่ อดรถแจ้ง

เบ็ดเสร็จ เปิดให้บริการทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ (ยกเว้น

ช่องจอดทีว ่ า่ งให้กบ ั ผูใ้ ช้บริการศูนย์การค้าทัง ้ สิน ้ 13 แห่ง ทัง ้

บางบริการมีกาํ หนดวันให้บริการ) งานทีเ่ ปิดให้บริการ อาทิ

ในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และหัวเมืองใหญ่ในต่างจังหวัด

งานทะเบียนราษฎร์ เช่น การทําบัตรประชาชน รับขึ้นทะเบียน

4) ให้บริการนํารถไปจอดทีช ่ อ ่ งจอด ในศูนย์การค้าทีก ่ ารจราจร

ผูต ้ อ ้ งการฝึกอาชีพ/ ผูว ้ า่ งงาน การชําระภาษี รวมภาษีปา้ ย

หนาแน่น โดยเปิดให้บริการดังกล่าวที่เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัล

ภาษี โ รงเรื อ นและที่ ดิ น การยื่ น แบบจดทะเบี ย นพาณิ ช ย์

พลาซา บางนา และเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์

การจดทะเบียนผู้พิการและผู้สูงอายุ เป็นต้น ปัจจุบันได้เปิด

5) ร่วมกับหน่วยงานขนส่งส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นในการจัด

ให้บริการที่เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัล

ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง ด้านหน้าโครงการที่เซ็นทรัล

พลาซา ศาลายา เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา

พลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต เซ็นทรัลพลาซา

ลําปาง เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช และเซ็นทรัลพลาซา

ศาลายา และเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี

มหาชัย

6) ร่วมกับภาคเอกชนในการอํานวยความสะดวกด้านบริการ รถยนต์ รั บ จ้ า งสาธารณะ โดยเฉพาะในเขตการจราจร หนาแน่น เช่น กรุงเทพมหานคร ที่เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัล

การให้บริการที่เป็นเลิศ

พลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา บางนา เซ็นทรัลพลาซา

CPN มุง ่ มัน ่ ในการยกระดับมาตรฐานการให้บริการอย่าง

พระราม 3 เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 และเซ็นทรัลพลาซา

ต่อเนื่องและจริงจัง โดยกําหนดให้มีการสํารวจความ

ศาลายา โดยร่วมมือกับ Grab Taxi ในการให้บริการเรียก

พึงพอใจของลูกค้าเป็นประจําทุกปี ในทุกสาขาที่เปิดให้

รถยนต์รบ ั จ้างสาธารณะ (แท็กซี)่ โดยมีมาตรการขึน ้ ทะเบียน รถที่ปฏิเสธผู้โดยสารไม่ให้เข้ามาให้บริการในโครงการ

บริการตามปกติแบบครบรอบปี ในการนี้ได้มีการกําหนด

7) ในปี 2560 CPN เริ่มเปิดให้บริการช่องจอดรถชาร์จไฟฟ้า

ให้ประเด็นทางด้านความสะดวกและความปลอดภัยของ ลูกค้าเป็นประเด็นสําคัญในการรับฟังความคิดเห็น และรับ

สําหรับรถยนต์ที่ใช้ไฟฟ้าที่เซ็นทรัลเวิลด์ และตั้งเป้าขยายผล

ข้อเสนอแนะเพือ ่ นําผลทีไ่ ด้กลับมาพัฒนา และทําแผนงาน

ไปยังโครงการอื่น ๆ ทั้งในกรุงเทพฯ ปริมณฑล และต่าง จังหวัดรวม 20 แห่ง ภายในปี 2561

ร่วมกันระหว่างสายงานพัฒนาธุรกิจและสายงานปฏิบต ั ิ

8) ในปี 2560 CPN ได้พฒ ั นาโครงการผูจ ้ ด ั การและผูเ้ ชีย ่ วชาญ

การอย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม นอกเหนือจากนั้น ยังเน้นในการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาให้บริการเพือ ่

ด้ า นการจราจร โดยต่ อ ยอดจากการใช้ ร ะบบจั ด การการ

อํานวยความสะดวกและสร้างความมั่นใจในเรื่องความ

จราจรแบบทันที เพื่อช่วยจัดการการจราจรภายในโครงการ

ปลอดภัยให้กับลูกค้าและผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึง โดย

และบริเวณโดยรอบให้มีประสิทธิภาพ และบรรเทาผลกระทบ

ในปี 2560 CPN ได้กาํ หนดแผนงานในการพัฒนาและสร้าง

ด้ า นการจราจรในภาพรวม โดยนํ า ร่ อ งในศู น ย์ ก ารค้ า

ประสบการณ์ให้กบ ั ลูกค้าด้วยการให้บริการทีเ่ ป็นเลิศดังนี้

9 โครงการ เพื่อศึกษาและพัฒนาปรับปรุงกระบวนการให้

92


รายงานประจํ า ปี 2560

เหมาะสมกับแต่ละพื้นที่ที่มีบริบทแตกต่างกันไป เพื่อดําเนิน

และตรงเวลาได้ อ ย่ า งเหมาะสม อี ก ทั้ ง มี ก ารนํ า อุ ป กรณ์ แ ละ

การจริงจังในปี 2561

เครื่ อ งมื อ ด้ า นความปลอดภั ย ทั้ ง ต่ อ ทรั พ ย์ สิ น และชี วิ ต มาให้

9) ในปี 2560 ได้นําระบบจ่ายเงินค่าที่จอดรถแบบอัตโนมัติ

บริการ เช่น ติดตั้งระบบโทรทัศน์วงจรปิด (Closed Circuit

มาทดลองใช้ในบางจุดทางออกของเซ็นทรัลเวิลด์ เพื่อเป็น

Television/ CCTV) จํานวน 6,645 ตัว ในทุกโครงการ และ

การเร่ ง ระบายการจราจรภายในและอํ า นวยความสะดวก

ติดตั้งอุปกรณ์ช่วยชีวิต-เครื่องกระตุ้นหัวใจอัตโนมัติ (AED)

ให้กับผู้ใช้บริการ

จํานวน 11 เครื่อง ในเซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ เซ็นทรัล

(2) การให้ความสําคัญและเพิม ่ ความมัน ่ ใจในด้านความปลอดภัย

พลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา ศาลายา เซ็นทรัลพลาซา

ั ลูกค้านัน ้ CPN ในส่วนมาตรการดูแลรักษาความปลอดภัยให้กบ

เวสต์เกต เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

ได้ดําเนินการตามมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ

และเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต นอกจากนั้น ยังมีการจัดอบรม

ความปลอดภัย OHAS 18001 และวางระบบให้สอดคล้องกับ

บุคลากรด้านความปลอดภัยทัง ้ บุคลากร CPN และคูค ่ า้ เพิม ่ เติม ในเรื่ อ งการเป็ น ผู้ อํ า นวยการแผนเผชิ ญ เหตุ และการอบรม

ร่างมาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน ISO 45001 (Occupational Health and Safety)

2

โดย

เจ้าหน้าที่พิสูจน์ซากวัตถุระเบิด

คํานึงถึงความปลอดภัยของลูกค้าทั้งในแง่ชีวิตและทรัพย์สิน ของลูกค้า มีการกําหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยตาม

(3) การนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น ส ถ า น ก า ร ณ์ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ด้ ว ย ร ะ บ บ

ในการสื่อสารและอํานวยความสะดวกในการให้บริการ

Color-Code Condition 5 ระดับ ได้แก่ ระดับปลอดภัย-เขียว ระดับป้องกัน-นา้ํ เงิน ระดับเสีย ่ ง-เหลือง ระดับสูง-ส้ม และระดับ

CPN ได้กาํ หนดหนึง ่ ในกลยุทธ์ดา้ นความยัง ่ ยืน คือ การประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Solution) เพื่อรองรับและอํานวย

รุนแรง-แดง เพือ ่ ใช้ในการสือ ่ สาร และปรับเปลีย ่ นมาตรการรักษา

ความสะดวกให้กับลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการในศูนย์การค้าของ

ความปลอดภัยของศูนย์การค้าและของร้านค้าตามสถานการณ์

ใช้ โดยมุง ่ เน้นให้เกิดประโยชน์ทง ั้ กับลูกค้าและร้านค้าไปพร้อมกัน

ระดับสถานการณ์ป้องกัน ยกเว้นโครงการในพื้นที่สุ่มเสี่ยงจะ

อาทิ

ปรับเปลี่ยนตามการประเมินสถานการณ์ตามช่วงเวลา

ด้านการสื่อสาร

นอกเหนือจากการอบรมซ้อมอพยพหนีไฟร่วมกับร้านค้าและ ผู้เช่าอาคารจํานวนอย่างน้อย 1 ครั้งต่อปี ในทุกโครงการ CPN

การประยุกต์สอ ื่ ออนไลน์ในการเพิม ่ ประสิทธิภาพ ทัง ้ ช่องทางการ

่ ร้านอาหารเป็น ยังจัดให้มก ี ารอบรมครัวร้อนสําหรับร้านค้ากลุม

สื่ อ สารและเนื้ อ หาที่ สื่ อ สารออกไปให้ มี คุ ณ ภาพและตรงกั บ

ประจําทุกไตรมาส และมีการอบรมพร้อมแข่งขันความพร้อมของ

ไลฟ์สไตล์ผู้บริโภคมากขึ้น ทั้งนี้ ในปี 2560 CPN ได้ร่วมกับ

ทีมดับเพลิงเป็นประจําทุกปี โดยในปี 2560 ได้สร้างเครือข่าย

พันธมิตรทางการสือ ่ สารการตลาดและผูส ้ ร้างสรรค์ทม ี่ อ ี ท ิ ธิพล

ทีมดับเพลิงร่วมกับศูนย์การค้าในละแวกใกล้เคียงที่เป็นสมาชิก

ในโลกออนไลน์หลากหลายรายในการสร้างเนื้อหาและสื่อสาร

สมาคมศูนย์การค้าไทยด้วยกัน เช่น ทีมดับเพลิงเซ็นทรัลพลาซา

ผ่านช่องทางของพันธมิตรเหล่านัน ้ เพือ ่ สือ ่ เนือ ้ หาทางการตลาด

บางนา ร่วมกับทีมศูนย์การค้าซีคอนสแควร์ ศรีนครินทร์ และ

ให้ ต รงและเหมาะสมกั บ กลุ่ ม ผู้ รั บ สารมากที่ สุ ด ทั้ ง ในรู ป แบบ

ศูนย์การค้าเมกะบางนา เป็นต้น

สื่ อ ภาพผ่ า นอิ น สตาแกรม เฟสบุ๊ ก หรื อ สื่ อ ในรู ป แบบคลิ ป

ในส่วนการรักษาความปลอดภัยประจําวันในพื้นที่ มีการว่าจ้าง

ผ่านสื่อดิจิทัลช่องทางต่าง ๆ ที่มีผู้ติดตามอย่างกว้างขวาง

พนั ก งานรั ก ษาความปลอดภั ย จากบริ ษั ท คู่ ค้ า ที่ ดํ า เนิ น งาน

โดยแบ่งเป็นในระดับท้องถิ่น ในระดับประเทศ และในต่างประเทศ

ถู ก ต้ อ งตามพระราชบั ญ ญั ติ ธุ ร กิ จ รั ก ษาความปลอดภั ย

เพื่อสื่อสารถึงกลุ่มนักท่องเที่ยวที่สนใจเดินทางมาท่องเที่ยวใน

พ.ศ. 2558 และไม่จํากัดสิทธิในการว่าจ้างแรงงานพื้นเมือง

ประเทศไทย รวมถึงการสือ ่ สารผ่านช่องทางออนไลน์ของ CPN

อย่ า งถู ก ต้ อ งตามกฎหมายในบางพื้ น ที่ ที่ เ หมาะสม โดยในปี

เอง คือ CPNLife ผ่านทางยูทูบ เฟสบุ๊ก และอินสตาแกรม โดย

2560 CPN ได้ร่วมกับบริษัทที่ปรึกษาด้านความปลอดภัยและ

ในปี 2560 CPN ได้ ท ดลองเพิ่ ม ช่ อ งทางสื่ อ สารออนไลน์

คู่ ค้ า ในการประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ นาฬิ ก าอาชญากรรม หรื อ

โซเชียลมีเดียผ่านทางแอปพลิเคชันไลน์ (Line) อีกหนึง ่ ช่องทาง

นาฬิกาบันทึกเหตุในการวิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดในแต่ละช่วง

โดยทดลองในช่วงเปิดเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัล

เวลา และวางแผนการป้องกันและการวางกําลังคนได้ตรงจุด

พลาซา มหาชัย

หมายเหตุ: 2 รายละเอียดนโยบายและแนวปฏิบต ั ด ิ า้ นการดูแลสุขอนามัยและความปลอดภัย ใน www.cpn.co.th/ การพัฒนาสูความยัง ่ ยืน/ การกํากับดูแลกิจการทีด ่ / ี นโยบายและแนวทางปฏิบต ั / ิ นโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย

93

บทที่ 20

CPN โดยในปี 2560 CPN ได้นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมา

ได้ อ ย่ า งทั น ท่ ว งที โดยในปี 2560 โครงการส่ ว นใหญ่ อ ยู่ ใ น


ด้านการให้บริการชําระเงิน

ในส่วนของการบริหารธุรกิจศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้า นั้น นอกจากบริการฟรี Wi-Fi ให้ผู้ใช้บริการ ในปี 2560

บริการกระเป๋าเงินออนไลน์ เพือ ่ ตอบรับพฤติกรรมของลูกค้า ในสังคมไร้เงินสด โดยเฉพาะลูกค้าทีเ่ ป็นนักท่องเทีย ่ วชาวจีน ทีเ่ พิม ่ มากขึน ้ โดย CPN ร่วมกับร้านค้ารายย่อย ในการจัดให้ บริการการชําระเงินผ่านระบบ Alipay และ WeChat ใน ศูนย์การค้าที่ตั้งอยู่ในแหล่งท่องเที่ยว ได้แก่ เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา พระราม 9 เซ็นทรัล พลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต เซ็นทรัลเฟสติวล ั เชียงใหม่ และเซ็นทรัล เฟสติวัล พัทยา บีช บริการชําระเงินผ่าน QR Code เพื่อตอบสนองต่อนโยบาย เศรษฐกิจดิจท ิ ล ั ของรัฐบาล โดย CPN ร่วมกับร้านค้าในกลุม ่ เซ็นทรัล ร้านค้ารายย่อย และธนาคารทีพ ่ ร้อมในการดําเนินการ ด้าน QR Payment ให้บริการชําระเงินผ่านการสแกน QR Code ด้วยโทรศัพท์มือถือ ซึ่งเริ่มนําร่องที่เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 และเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า ทดลองให้บริการชําระเงินด้วยบัตรแรบบิท ในโซนศูนย์อาหารฟูด ้ พาร์ค นําร่องทีเ่ ซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัล พลาซา มหาชัย

CPN ได้ศึกษาการนําระบบเพจจิ้ง มาใช้ในโซนศูนย์อาหาร เพือ ่ อํานวยความสะดวกให้แก่ลก ู ค้าในการเรียกใช้บริการจาก พนักงานซึ่งคาดว่าจะทดลองในศูนย์การค้านําร่อง 5 แห่ง ภายในปี 2561 •

Customer Service (Smart CS) ซึ่งพัฒนาระบบข้อมูล บนเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา เช่น ข้อมูลผังร้านค้าใน แต่ละชัน ้ แบ่งตามประเภทการให้บริการ รวมไปถึงจุดบริการ ต่าง ๆ ภายในศูนย์การค้า เช่น จุดรับบริการรถเข็นผู้สูงอายุ จุดบริการรถเข็นเด็ก จุดบริการแลกของ จุดบริการแจ้ง ของหาย จุดบริการชาร์จโทรศัพท์มือถือ จุดบริการห้อง ปฐมพยาบาล เป็ น ต้ น เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกและเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการให้ข้อมูลและคําแนะนําแก่ลูกค้า

ด้านการมอบประสบการณ์ •

การพั ฒ นาการให้ บ ริ ก ารลู ก ค้ า ในโครงการ Smar t

CPN บริหารความสัมพันธ์กับลูกค้าด้วยระบบบริหารความ สั ม พั น ธ์ ลู ก ค้ า ผ่ า น ห ล า ก ห ล า ย เ ค รื่ อ ง มื อ เ พื่ อ ม อ บ ประสบการณ์ ที่ ต รงกั บ ความต้ อ งการและไลฟ์ ส ไตล์ ข อง ลูกค้ามากทีส ่ ด ุ โดยในปี 2560 CPN ได้รว ่ มกับกลุม ่ เซ็นทรัล ซึ่งมีความแข็งแกร่งด้านระบบบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า ผ่านบัตรเดอะวันการ์ด (The 1 Card-T1C) โปรแกรมการ ดูแลสมาชิกทีส ่ ามารถสะสมคะแนนผ่านทุกยอดการซือ ้ สินค้า และบริการจากธุรกิจในกลุ่มเซ็นทรัล (ข้อมูลเพิ่มเติม www. the-1-card.com) โดยขยายผลให้ ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น สมาชิ ก เดอะวั น การ์ ด สามารถแลกรั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ พิ เ ศษจาก ร้านค้าที่ร่วมโครงการกับ CPN ได้ในทุกวัน ทุกเวลา รวมไป ถึงการแลกรับของรางวัลหรือสิทธิในการรับประสบการณ์ แบบพิ เ ศษในกิ จ กรรมทางการตลาดที่ พิ เ ศษแบบเฉพาะ เจาะจงตามไลฟ์สไตล์ของลูกค้า เช่น กิจกรรม “Your Food/ Your Taste” สํ า หรั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า ที่ เ ป็ น พนั ก งานออฟฟิ ศ กิจกรรม “ได้ดีเพราะมีเพื่อน” สําหรับกลุ่มลูกค้านักศึกษา กิ จ กรรม “Traveller Privilege” สํ า หรั บ กลุ่ ม ลู ก ค้ า นักท่องเที่ยว เป็นต้น

94


รายงานประจํ า ปี 2560

แผนกร้านค้าสัมพันธ์

การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ

CPN กําหนดหลักสูตรร้านค้าสัมพันธ์ หรือ Tenant Service: TS Efficacy Enhancement Training Course ซึ่ ง เป็ น

CPN มุง ่ มัน ่ ในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการ

ห ลั ก สู ต ร ใ น ก า ร พั ฒ น า พ นั ก ง า น ร้ า น ค้ า สั ม พั น ธ์ ใ ห้ เ ป็ น

ดําเนินงาน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

ดั่ ง เพื่ อ นคู่ คิ ด สํ า หรั บ ร้ า นค้ า ในการบริ ห ารธุ ร กิ จ โดยเนื้ อ หา

ตามมาตรฐานสากล โดยคํ า นึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ ข อง

หลักสูตรจะครอบคลุมมาตรฐานการให้บริการตามระบบบริหาร

ผู้มีส่วนได้เสียสูงสุด โดยกําหนดมุมมองด้านการเพิ่ม

คุณภาพองค์กร ตามข้อกําหนดของ ISO 9001 และเพิ่มเติม

ประสิทธิภาพในการปฏิบต ั ง ิ านเป็นหนึง ่ ในมุมมอง 5 ด้าน

ในส่วนหลักสูตรการเรียนรูพ ้ ฤติกรรมผูบ ้ ริโภค การสร้างแบรนด์

ในการติดตามแผนกลยุทธ์ระดับองค์กร โดยเน้นการ

การจั ด ร้ า น การวิ เ คราะห์ ต้ น ทุ น การจั ด ทํ า รายงานการขาย

พัฒนาศักยภาพบุคลากรเพือ ่ เพิม ่ ประสิทธิภาพในทุกจุด

การสร้ า งความสั ม พั น ธ์ แ ละการเจรจาต่ อ รอง ซึ่ ง อบรมและ

ของการให้บริการ ทั้งต่อลูกค้าและร้านค้า ควบคู่ไปกับ

ให้ความรูโ้ ดยวิทยากรภายในและทําการประเมินความสําเร็จของ

การนําระบบการบริหารจัดการในระดับสากลมาประยุกต์

หลักสูตร โดยประเมินความรู้และทักษะภายหลังการเรียนรู้โดย

ใช้และนํานวัตกรรมทางเทคโนโลยีมาเพิ่มประสิทธิภาพ

การทําแบบทดสอบ และการประเมินความพึงพอใจของร้านค้า

การทํางาน และการให้บริการ

ภายหลังจากการได้ปฏิบัติจริงของพนักงาน ผู้ว่าจ้างภายนอก เช่น พนักงานทําความสะอาดและเจ้าหน้าที่ รักษาความปลอดภัย

การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

CPN ดําเนินโครงการพัฒนาคูค ่ า้ อย่างต่อเนือ ่ ง โดยจัดอบรมให้

ในทุกจุดของการให้บริการ อาทิ ผู้จัดการศูนย์การค้า เพือ ่ ให้การบริหารศูนย์การค้าเป็นไปในทิศทางและมาตรฐานการ

บริการของพนักงานของคูค ่ า้ เพือ ่ ให้พนักงานของคูค ่ า้ เกิดการ

ให้ บ ริ ก ารเดี ย วกั น CPN จึ ง กํ า หนดให้ ผู้ จั ด การศู น ย์ ก ารค้ า

พัฒนาและรักษามาตรฐานตามที่ CPN กําหนดไว้

Checklist ซึง ่ เป็นกลไกการประเมินระดับความสามารถในการให้

ทุกคนต้องผ่านการอบรมการใช้คู่มือมาตรฐานในการบริหาร ศูนย์การค้าของ CPN ซึ่งพัฒนาระบบการบริหารและจัดการ

การนําระบบการบริหารจัดการในระดับสากล

ศู น ย์ ก ารค้ า เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า และประสิ ท ธิ ภ าพการดํ า เนิ น งาน

มาประยุกต์ใช้

ศูนย์การค้าอย่างต่อเนือ ่ ง ตามระบบบริหารจัดการองค์กรตาม

ในปี 2560 CPN เริ่มดําเนินการนําระบบมาตรฐานการบริหาร

เกณฑ์รางวัล Malcolm Baldrige National Quality Award

จั ด การศู น ย์ ก ารค้ า ด้ า นการให้ บ ริ ก ารร้ า นค้ า และลู ก ค้ า หรื อ

และระบบบริหารจัดการตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ

“ระบบบริหารคุณภาพองค์กร ตามข้อกําหนดของ ISO 9001”

แผนกให้บริการลูกค้า

ที่พัฒนาตามแนวทางมาตรฐานการให้บริการ ISO 9001 มาใช้

CPN กําหนดให้พนักงานที่ให้บริการลูกค้าโดยตรง รวมถึง

ดํ า เนิ น งานรวมไปถึ ง ขั้ น ตอนการติ ด ตามยั ง คงรู ป แบบของ

พนักงานทูตสัมพันธ์ เข้าอบรมหลักสูตรการพัฒนาการให้บริการ

ISO 9001 ไว้ทง ั้ หมด มีการติดตามและตรวจสอบกระบวนการ

ทีเ่ ป็นเลิศอย่างน้อยปีละ 1 ครัง ้ เพือ ่ พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพ

ทํ า งานให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานที่ กํ า หนดโดยคณะทํ า งาน

และมาตรฐานการให้บริการ รวมไปถึงได้รับการอบรมเพิ่มเติม

คุณภาพประจําสาขา ประกอบด้วย หัวหน้าทีม (Project Leader)

ในด้านการพัฒนาบุคลิกภาพและทักษะ เช่น มารยาททางธุรกิจ

ผูร้ บ ั ผิดชอบประสานงาน (ISO-Coordinator) และผูต ้ รวจสอบ

ในการบริหารศูนย์การค้าและให้บริการลูกค้า โดยกระบวนการ

ในการให้บริการ การให้บริการด้วยแนวคิดเชิงบวก ทักษะภาษา

ภายใน (ISO-Auditor) นอกจากนัน ้ ยังมีการสุม ่ ตรวจคุณภาพ

อังกฤษ และทักษะเบื้องต้นในการปฐมพยาบาล รวมทั้งการปั๊ม

การให้ บ ริ ก ารรายปี โดยหน่ ว ยงานบริ ห ารคุ ณ ภาพในอี ก

หัวใจเพื่อช่วยชีวิต

ขั้ น หนึ่ ง ซึ่ ง จะรายงานวิ ธี ก ารปฏิ บั ติ ก ารแก้ ไ ขข้ อ บกพร่ อ ง

95

บทที่ 20

กับคูค ่ า้ ทราบถึงความคาดหวังและมาตรฐานการให้บริการของ CPN ผ่านระบบ e-Learning และมีระบบประเมิน Staff Grading


(CAR-Corrective Action Request) รายสาขา และรวบรวม

การนํานวัตกรรมทางเทคโนโลยีมาใช้

วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้ตามระบบในภาพรวมรายงานต่อผู้บริหาร

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

สูงสุดของสาขา และของสายงานปฏิบัติการได้รับทราบ เพื่อ

ในปี 2560 CPN ได้ ป ระยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม ความ

แก้ ไ ขปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นากระบวนการให้ ไ ด้ ต ามมาตรฐานที่

คล่องตัวในการทํางาน โดยการพัฒนาระบบ CPN Workspace

กําหนดไว้เป็นประจําอย่างต่อเนือ ่ ง และในแต่ละสาขา ได้กาํ หนด

ซึ่ ง เป็ น การต่ อ ยอดระบบการทํ า งานภายในให้ เ ป็ น Web

บั ญ ชี ใ นการตรวจรายวั น ของแต่ ล ะแผนก (Division

Application และใช้ ก ระบวนการทํ า งานอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์

Checklist) เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่แต่ละแผนกต้องยึดถือและ

(e-Workflow) ซึ่ ง เชื่ อ มโยงกั บ ระบบปฏิ บั ติ ง านหลั ก ของ

ทําการตรวจหน้างานทุกวัน อีกทั้งมีการสุ่มตรวจเฉพาะด้าน

CPN (Enterprise Resource Planning System) ทําให้

โดยทีมงานเฉพาะกิจ เช่น การตรวจภาพลักษณ์ ความสวยงาม

พนักงานสามารถปฏิบต ั ง ิ านนอกสถานทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ

และความปลอดภัย เป็นต้น

ยิ่ ง ขึ้ น และระบบยั ง ช่ ว ยในการควบคุ ม การขออนุ มั ติ ภ ายใน

CPN ริเริ่มนํามาตรฐานระบบการบริหารจัดงานประชุม แสดง

ต่ า ง ๆ ให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บอํ า นาจอนุ มั ติ ดํ า เนิ น การที่ ไ ด้

สินค้าและนิทรรศการอย่างยั่งยืน หรือ ISO 20121 Event

กําหนดไว้

Sustainability Management System ที่มุ่งเน้นการบริหาร

ในส่วนของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและข้อมูลสารสนเทศในการ

ด้วยความโปร่งใสเป็นธรรมเป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนด

บริหารจัดการศูนย์การค้า CPN ได้ใช้ข้อมูลร้านค้าและลูกค้า

ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการรักษาความปลอดภัยและการจัดการ

ที่มาใช้บริการศูนย์การค้าในการวิเคราะห์ วางผังร้านค้า และ

ขยะ มาประยุกต์ใช้ในการบริหารและจัดการพื้นที่ศูนย์ประชุม

การขายพื้นที่และสื่อในศูนย์การค้า รวมทั้งพัฒนาระบบสมาร์ท

เอนกประสงค์ โดยในปี 2560 CPN ได้ขอรับรอง ISO 20121

เซล (Smart Sale) เพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการนําเสนอขาย

เพิ่มอีก 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์ประชุมบีซีซีฮอลล์ ณ ศูนย์การค้า

พื้นที่ให้กับร้านค้า โดยผ่านอุปกรณ์แท็บเล็ตที่เชื่อมโยงกับระบบ

เซ็ น ทรั ล พลาซา ลาดพร้ า ว และศู น ย์ ป ระชุ ม หาดใหญ่ ฮ อลล์

ปฏิบัติงานส่วนกลาง ซึ่งทําให้ข้อมูลต่าง ๆ มีการปรับปรุงให้

ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่

เป็นปัจจุบันได้ทันที นอกจากการนํ า เทคโนโลยี ม าใช้ ใ นการปฏิ บั ติ ง านดั ง ที่ ก ล่ า ว มาแล้ว CPN ยังได้พัฒนาระบบการให้บริการร้านค้า ที่เป็น Web Application เพื่ อ เพิ่ ม ช่ อ งทางในการติ ด ต่ อ สื่ อ สาร การแจ้งและติดตามงานของร้านค้า จากเดิมที่ร้านค้าจะแจ้ง ผ่ า นทางหน่ ว ยงานที่ ดู แ ลร้ า นค้ า เป็ น หลั ก และหน่ ว ยงานดู แ ล ร้านค้าจึงแจ้งเรื่องต่อไปยังเจ้าหน้าที่เป็นผู้ปฏิบัติงาน ซึ่งระบบ ที่ พั ฒ นาขึ้ น ใหม่ นี้ ร้ า นค้ า จะสามารถกรอกข้ อ มู ล แจ้ ง งาน เข้าระบบโดยระบบจะส่งข้อมูลการแจ้งงานไปยังผู้ปฏิบัติงาน โดยตรงได้ทันที ในขณะที่ร้านค้าสามารถดูความคืบหน้าของ การให้บริการได้ด้วยตนเองผ่านระบบ นอกจากนี้ ระบบจะช่วย รวบรวมผลประเมินความพึงพอในการให้บริการที่ประเมินโดย ร้านค้า เพื่อให้หน่วยงานที่ดูแลร้านค้าสามารถนําไปใช้วิเคราะห์ เพื่อปรับปรุงการให้บริการต่อไป

96


รายงานประจํ า ปี 2560

ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนเชิงผลิตภัณฑ์และบริการ หัวข้อ

ผลการดําเนินงานปี 2560

• กําหนด “คะแนนความพึงพอใจของลูกค้า ตัวชี้วัด

แผนปี 2561

กําหนด “คะแนนความพึงพอใจของลูกค้า

(Shopper)” เป็นตัวชี้วัดระดับองค์กร เป้าหมาย

(Shopper)” เป็นตัวชี้วัดระดับองค์กร

อยู่ในช่วง ร้อยละ 82-84

เป้าหมายที่ระดับร้อยละ 85

• ในปี 2560 CPN ได้คะแนนความพึงพอใจของ

ด้านความยั่งยืน

ลูกค้า (Shopper) ที่ระดับร้อยละ 83 (มากกว่า ปี 2559 อยู่ร้อยละ 2.5)

• ดําเนินงานตามแผนการสร้างศูนย์ใหม่ 4 โครงการ

เปิดให้บริการแล้ว 2 โครงการ คือ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย และ การพัฒนา ศูนย์การค้าที่ตอบสนอง ทุกไลฟ์สไตล์

ดําเนินงานตามแผนการสร้างศูนย์ใหม่ 3 โครงการ และปรับปรุงศูนย์การค้า 5 โครงการ

ดําเนินงานตามแผนงานในการพัฒนานวัตกรรม

ปรับปรุงศูนย์การค้า 2 โครงการ แล้วเสร็จ

ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ตาม 8 รูปแบบใหม่ให้

1 โครงการ คือ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

ได้ตามเป้าหมายจํานวน 20 จุดหมาย

ดําเนินงานตามแผนงานในการพัฒนานวัตกรรม ผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ โดยติดตามความคืบหน้า ผ่านแผนกลยุทธ์ในมุมมอง 5 ด้าน3 และได้พัฒนา รูปแบบจุดหมายใหม่ตามแผนงานดังกล่าว จํานวน

• ดําเนินงานตามแผนงานยกระดับมาตรฐานการ บริหารจัดการศูนย์การค้าด้านการให้บริการสู่

ดําเนินงานตามแผนงานในการยกระดับคุณภาพ ในการให้บริการและการมอบประสบการณ์เหนือ

“ระบบบริหารคุณภาพองค์กร ตามข้อกําหนดของ

ความคาดหมายให้กับลูกค้า แบ่งเป็นการพัฒนา

ISO 9001” ที่พัฒนาตามแนวทางมาตรฐานการ

กฎบัตรด้านการให้บริการ และการปรับปรุง

ให้บริการ ISO 9001 มาใช้ในการบริหารศูนย์การค้า

สิ่งอํานวยความสะดวกที่มีอยู่ให้ดียิ่งขึ้นโดย

จํานวน 30 สาขา

ติดตามผ่านแผนกลยุทธ์ในมุมมอง 5 ด้าน 3

• ดําเนินงานตามแผนงานในการสร้างประสบการณ์ การให้บริการที่เป็นเลิศ

ให้กบ ั ลูกค้า โดยติดตามความคืบหน้าผ่านแผนกลยุทธ์ ในมุมมอง 5 ด้าน3 และได้บรรลุการดําเนินงานตาม แผนงานดังกล่าวในการพัฒนาบริการที่เป็นเลิศ จํานวน 53 บริการใหม่ ใน 28 สาขา

• ในปี 2560 CPN ได้คะแนนความพึงพอใจของ ลูกค้า (Shopper) เฉพาะหมวดความสะดวก ที่ระดับร้อยละ 81 (มากกว่าปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 1.3) และความปลอดภัยที่ระดับร้อยละ 79 (มากกว่า ปี 2559 อยู่ที่ร้อยละ 1.3)

หมายเหตุ:

3

การติดตามแผนกลยุทธ์ในมุมมอง 5 ด้าน ได้แก่ 1) มุมมองด้านการเติบโตขององค์กร 2) มุมมองด้านการสร้างคุณภาพแบรนด์ 3) มุมมองด้านการเพิ่มประสิทธิภาพ 4) มุมมองด้านกระบวนการภายใน 5) มุมมองด้านบุคลากร

97

บทที่ 20

27 จุดหมาย ใน 10 สาขา


หัวข้อ

ผลการดําเนินงานปี 2560

• ดําเนินงานตามแผนการขยายช่องทางการตลาด

แผนปี 2561

พัฒนากลยุทธ์ทางดิจิทัลอย่างเป็นรูปธรรม

ออนไลน์เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 40 โดยสามารถ

โดยขยายผลสู่การนําเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่ม

เพิ่มยอดการเข้าถึงข้อมูลของลูกค้าได้เพิ่มขึ้น

ความสะดวกและตอบสนองต่อความต้องการ

1.5 เท่า เทียบกับปีที่แล้ว

ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้ครบถ้วน และเพิ่ม

ดําเนินการตามแผนงานมอบประสบการณ์พิเศษ

ประสิทธิภาพในการบริหารอาคารระบบและ

การประยุกต์ใช้

ผ่านเดอะวันการ์ด ส่งผลให้สามารถสร้างสัมพันธ์

อุปกรณ์ต่าง ๆ

เทคโนโลยีดิจิทัล

อันดีกับลูกค้าได้เกินกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทั้งในแง่ ยอดขายของร้านค้าที่ร่วมรายการเพิ่มขึ้น ยอดสมาชิกเพิ่มขึ้นกว่าที่ตั้งเป้าหมายไว้ที่ร้อยละ 5.6 (มากกว่าปี 2559 ที่ร้อยละ 30) และยอดการ แลกรับของรางวัลผ่านโปรแกรมเดอะวันการ์ด แอปพลิเคชัน QR Code คิดเป็นร้อยละ 56 ของการแลกรับรางวัลทั้งโปรแกรม

98


รายงานประจํ า ปี 2560

การดูแลและสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสีย CPN ให้ความสําคัญกับผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสีย โดยมุง ่ หวังทีจ ่ ะสร้างคุณค่าและประโยชน์รว ่ มกันอย่างยัง ่ ยืน ทัง ้ ในการพัฒนา นวัตกรรมร่วมกัน การแสดงความรับผิดชอบในการดูแลและพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนและสิ่งแวดล้อมให้ดี ภายใต้กรอบการดําเนินงานด้านความยั่งยืน ซึ่งมีการกําหนดแผนการดําเนินงานแบ่งตามสายงานตลอดห่วงโซ่ คุณค่า ตลอดจนติดตามการดําเนินงานตามแผนงานในหมวดหมูท ่ เี่ กีย ่ วข้อง โดยคณะกรรมการจัดการ คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระดับองค์กร และคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการ พัฒนาอย่างยั่งยืน แผนการดําเนินงานแบ่งออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ 1. การบริหารจัดการและพัฒนาร้านค้า 2. การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร 3. การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน 4. การแสดงความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน

แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน

การบริหารจัดการและพัฒนาร้านค้า บริบทด้านความยั่งยืน

CPN กําหนดแนวทางในการบริหารจัดการผู้ประกอบการร้านค้า ออกเป็น

หนึ่ ง ในผลกระทบอย่ า งรุ น แรงจากนวั ต กรรมทาง เทคโนโลยี (Digital Disruptive) ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ อุตสาหกรรมค้าปลีกและธุรกิจศูนย์การค้า คือ พฤติกรรม ผูบ ้ ริโภคทีเ่ ปลีย ่ นไปจับจ่ายใช้สอยและทําธุรกรรมผ่านทาง ออนไลน์มากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อผู้เช่าบาง กลุ่มในศูนย์การค้า เช่น กลุ่มห้างสรรพสินค้า กลุ่มแฟชั่น และกลุ่มธนาคาร ที่ต้องปรับรูปแบบในการดําเนินธุรกิจ ของตนให้ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด ขึ้ น อี ก ทั้ ง แนวโน้มของภาคธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทย ที่ ดี ขึ้ น ส่ ง ผลให้ มี นั ก ท่ อ งเที่ ย วเข้ า มาจั บ จ่ า ยใช้ ส อยใน ศูนย์การค้ามากขึ้น ล้วนเป็นความท้าทายและโอกาสของ CPN ในการพัฒนาศูนย์การค้า พร้อมกันกับการพัฒนา ร้านค้าให้สามารถรองรับและตอบสนองต่อพฤติกรรม และเทรนด์ที่เปลี่ยนไปของผู้บริโภคให้ทัน โดยการเพิ่ม ประสิ ท ธิ ภ าพและสร้ า งความพึ ง พอใจด้ ว ยนวั ต กรรม ใหม่ ๆ จากประเด็นความท้าทายดังกล่าว CPN ได้กาํ หนด เป็ น พั น ธกิ จ ด้ า นความยั่ ง ยื น มุ่ ง เน้ น ในการพั ฒ นา ศั ก ยภาพและสนั บ สนุ น การเติ บ โตของผู้ ป ระกอบการ ร้ า นค้ า และคู่ ค้ า สร้ า งพั น ธมิ ต รทางการค้ า ให้ เ ข้ ม แข็ ง และมีความรับผิดชอบต่อสังคมร่วมกัน หมายเหตุ:

1

1

(1) การสรรหาและสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการรายใหม่ (2) การจัดการและบริหารความสัมพันธ์กับร้านค้า (3) การรับฟังความคิดเห็นและประเมินความพึงพอใจของร้านค้า ตัง ้ แต่เริม ่ ต้นธุรกิจ CPN เปรียบผูป ้ ระกอบการร้านค้าเป็นดัง ่ พันธมิตร ทีช ่ ว ่ ยส่งเสริมการเติบโตซึง ่ กันและกัน การรับฟังความคิดเห็นและการ มีสว ่ นร่วมของผูป ้ ระกอบการร้านค้า จึงเป็นส่วนสําคัญในการพัฒนา ปรั บ ปรุ ง กระบวนการบริ ก ารและผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข อง CPN โดย ผู้ประกอบการร้านค้าสามารถมีส่วนร่วมในการกําหนดทิศทางการ ดําเนินธุรกิจร่วมกันกับ CPN ได้ ทั้งจากการประชุมหารือร้านค้า รายไตรมาสและรายปี การประชุมเชิงลึกด้านการพัฒนากลยุทธ์ใน การดําเนินธุรกิจร่วมกัน การเยี่ยมเยียนร้านค้ารายวัน รวมไปถึงการ ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะผ่านการประเมินความพึงพอใจรายปี ในรูปแบบการทําแบบประเมิน การสัมภาษณ์ และการสนทนากลุม ่ ทัง ้ นี้ CPN ได้กําหนดหน่วยงานที่รับผิดชอบดูแลในเรื่องการสร้างความ ผูกพันกับร้านค้าในหลากหลายรูปแบบเพือ ่ สร้างและรักษาความผูกพัน ระหว่างกันให้เป็นไปด้วยดีและยั่งยืน

รายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/ การบริหารจัดการและพัฒนาร้านค้า

99

บทที่ 20

5. การบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม


(4) ร่วมกับผูป ้ ระกอบการรายใหญ่ เช่น บริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัลในการ

ความท้าทายของร้านค้าในการดําเนินธุรกิจให้เติบโตนั้น เป็นความ ท้าทายของ CPN เช่นกัน CPN จึงมุง ่ เน้นในการสนับสนุนและส่งเสริม

ระบายสิ น ค้ า คงคลั ง และโปรโมทสิ น ค้ า เฉพาะกิ จ โดยจั ด งาน

การขายเชิงกลยุทธ์ร่วมกันกับผู้ประกอบการร้านค้าทั้งรายย่อยและ

กิ จ กรรมลดราคาหรื อ โปรโมทสิ น ค้ า ในพื้ น ที่ ศู น ย์ ป ระชุ ม

รายใหญ่ ในปี 2560 CPN ได้ดาํ เนินการพัฒนารูปแบบการสนับสนุน

อเนกประสงค์ เพื่ อ ให้ ส ะดวกในการบริ ห ารจั ด การและการ

การขายของผู้ประกอบการร้านค้าเพิ่มเติม อาทิ

เลื อ กสรรสิ น ค้ า ของลู ก ค้ า โดยในปี 2560 ได้ จั ด กิ จ กรรม ดังกล่าวทั้งกับกลุ่มเซ็นทรัลและกลุ่มอื่น จํานวน 21 ครั้ง ส่งผล

(1) สนับสนุนให้ผู้ประกอบการได้ทดลองเปิดตลาดใหม่ในทําเลที่มี

ให้ยอดขายของผู้ประกอบการที่ร่วมโครงการดังกล่าวเพิ่มขึ้น

ศักยภาพของ CPN ในระยะสั้น ในรูปแบบป็อปอัพสโตร์ เพื่อ

ร้อยละ 50-200 ในช่วงที่จัดกิจกรรม

ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภค ณ ทําเลที่แตกต่าง เพื่อช่วยใน การปรั บ กลยุ ท ธ์ ข องผู้ ป ระกอบการและประเมิ น ศั ก ยภาพ

ในปี 2560 CPN ดําเนินโครงการพัฒนาผู้ประกอบการรายย่อย

ในการขยายธุรกิจของตนได้อย่างเหมาะสม อีกทัง ้ ยังนํารูปแบบ

เพื่อตอบสนองนโยบายประชารัฐของรัฐบาล ในการจัดสัมมนาให้

ป็อปอัพคาราวาน มาปรับใช้กับผู้ประกอบการร้านค้าที่ประสงค์

ความรูเ้ พือ ่ พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันให้กบ ั ร้านค้าอย่าง

ู้ ก ั และลูกค้าได้ทดลอง จะประชาสัมพันธ์แบรนด์รา้ นค้าให้เป็นทีร่ จ

ต่อเนื่อง ภายใต้ชื่อ กิจกรรม SME Think Big สัญจร โดยจัดให้กับ

สัมผัสสินค้าจริง เช่น การจัดคาราวานไลฟ์สไตล์ซัมเมอร์ออน

ร้านค้าและผู้ประกอบการที่สนใจในจังหวัดนครราชสีมา มีจํานวน

เดอะมูฟ ที่รวบรวมแบรนด์แฟชั่นทั้งสิ้น 10 แบรนด์และแบรนด์

ผูเ้ ข้าร่วมทัง ้ สิน ้ 530 ราย และสามารถต่อยอดในการทําธุรกิจร่วมกัน

เครื่ อ งดื่ ม 6 แบรนด์ จั ด ในรู ป แบบคาราวานรถบรรทุ ก นํ า

ได้จํานวน 151 ราย และได้ขยายหลักสูตรการพัฒนาผู้ประกอบการ

ประสบการณ์แปลกใหม่ในช่วงหน้าร้อนให้ลูกค้าทั่วประเทศได้

ทั้งรายเก่าและรายใหม่ในเชิงลึก ให้มีช่องทางการจัดจําหน่ายและ

้ หมด สัมผัสจริง โดยเดินทางจากกรุงเทพฯ ไปยังต่างจังหวัดทัง

โอกาสในการขยายธุรกิจและเติบโตอย่างยั่งยืน ภายใต้ชื่อ โครงการ

10 จังหวัดทั่วประเทศ และจัดกิจกรรมในรูปแบบป็อปอัพสโตร์

ซีพเี อ็นลีด-CPNlead (CPN Leading Entrepreneur Advanced

ทั้งสิ้นจํานวน 17 ครั้ง มีผู้ประกอบการร้านค้าเข้าร่วม 22 ราย

Development Program) เกิดจากความร่วมมือระหว่าง CPN

ส่งผลให้รา้ นค้าทีร่ ว ่ มโครงการบรรลุวต ั ถุประสงค์ทางการตลาด

และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรเฉพาะสําหรับ ผู้ ป ระกอบการเอสเอ็ ม อี รุ่ น ใหม่ ที่ ป ระสงค์ จ ะดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ภายใน

และการสร้างแบรนด์ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ (2) เปิ ด พื้ น ที่ ใ ห้ ผู้ ป ระกอบการรายใหม่ แ ละรายย่ อ ยได้ ท ดลอง

ศูนย์การค้า โดยผูเ้ ข้าร่วมโครงการประกอบไปด้วยร้านค้าทีเ่ ป็นลูกค้า

จําหน่ายสินค้า ในทําเลที่คัดสรรพิเศษให้ตรงกับลักษณะสินค้า

และยังไม่เป็นลูกค้าของ CPN ซึง ่ ล้วนแล้วแต่มศ ี ก ั ยภาพและความคิด

และผลิตภัณฑ์ ทั้งในรูปแบบงานกิจกรรมอีเวนท์เฉพาะ เช่น

สร้างสรรค์ในการดําเนินธุรกิจจํานวนทั้งสิ้น 34 ราย ประกอบไปด้วย

โครงการสํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

ธุรกิจทีห ่ ลากหลาย เช่น ธุรกิจด้านอาหาร ธุรกิจด้านแฟชัน ่ และธุรกิจ

(สสว.) พัฒนาผู้ประกอบการใหม่ และในรูปแบบพื้นที่ในทําเล

อื่น ๆ (เครื่องนอน, บิวตี้และสปา, สบู่, เครื่องดนตรี) เน้นการอบรม

พิเศษ เช่น งานเทศกาลอาหาร หน้าฟู้ดพาร์ค เป็นต้น

ให้ ค วามรู้ แ ละความเข้ า ใจรู ป แบบและลั ก ษณะของธุ ร กิ จ ภายใน

(3) ขยายผลการจัดรายการส่งเสริมการขายพิเศษร่วมกับ CPN

ศูนย์การค้าที่แตกต่างจากการเปิดร้านค้าหรือเปิดกิจการภายนอก

เท่านั้น หรือ Exclusive campaign ONLY @ CPN ไปยัง

ศู น ย์ ก ารค้ า โดยรู ป แบบการอบรมเป็ น การผสมผสานระหว่ า ง

ผู้ประกอบการหลากหลายประเภทมากขึ้น เช่น แฟชั่น อาหาร

การอบรมในห้องเรียนและเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกทักษะ

หนังสือ สินค้ากิ๊ฟช็อป คอร์สเรียนพิเศษสําหรับเด็ก เป็นต้น

ผู้ประกอบการและลงมือทําตลาดจริงในพื้นที่ของ CPN อาทิ การ

โดยเฉพาะการร่ ว มแคมเปญกั บ บั ต รเดอะวั น การ์ ด ซึ่ ง

จัดทําป็อปอัพสโตร์ ภายในศูนย์การค้า จําลองสถานการณ์จริง เพื่อ

ประสบความสําเร็จเป็นอย่างมากเนือ ่ งจากสามารถนําฐานข้อมูล

ให้ทราบผลตอบรับตามความเป็นจริงจากการปฏิบัติจริงมากที่สุด

ของเดอะวันการ์ดมาวิเคราะห์เจาะกลุ่มลูกค้าที่ตรงเป้าหมาย

นอกเหนื อ จากการอบรมพร้ อ มได้ ป ฎิ บั ติ จ ริ ง ดั ง กล่ า วแล้ ว นั้ น

ได้มากขึน ้ ทําให้สามารถเพิม ่ ยอดขายให้กบ ั ร้านค้าทีร่ ว ่ มโครงการ

ผูป ้ ระกอบการทีไ่ ด้เข้าร่วมโครงการ CPNlead ยังได้รบ ั การสนับสนุน

ได้อย่างมีนัยสําคัญ โดยในปี 2560 ได้จัดกิจกรรมส่งเสริม

ในเรื่องการโปรโมทสินค้าและบริการผ่านช่องทางการตลาด และการ

การตลาดพิเศษร่วมกับ CPN (Exclusive campaign ONLY

จัดกิจกรรมส่งเสริมการตลาด งานอีเวนท์ของ CPN รวมทั้งได้

@ CPN) จํ า นวน 30 กิ จ กรรม ส่ ง ผลให้ ย อดขายของ

เรียนรู้หน้างานจริงในเรื่องเทคนิคการจัดแสดงสินค้า การตกแต่ง

ผู้ ป ระกอบการร้ า นค้ า เพิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 15-30 ในช่ ว งการจั ด

ร้านค้า และการจัดทําโปรโมชั่น เป็นต้น

กิจกรรม

100


รายงานประจํ า ปี 2560

ผลสําเร็จของโครงการ CPNlead คือ การที่ผู้ประกอบการได้เห็น

CPN ยังคงดําเนินกิจกรรมร้านค้าสัมพันธ์เพื่อสร้างความผูกพัน

โอกาสในการทําธุรกิจร่วมกันกับ CPN คิดเป็นร้อยละ 19 สําหรับ

และรั บ ฟั ง ข้ อ คิ ด เห็ น อย่ า งไม่ เ ป็ น ทางการจากผู้ ป ระกอบการและ

ลูกค้ารายใหม่ และร้อยละ 33 สําหรับลูกค้ารายเก่าที่ขยายสาขา ทั้งนี้

เจ้าของธุรกิจโดยตรงอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี 2560 ได้ปรับ

CPN มีนโยบายทีจ ่ ะสนับสนุนธุรกิจเอสเอ็มอีอย่างจริงจังและต่อเนือ ่ ง

รูปแบบการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของผูป ้ ระกอบการ

ทัง ้ ในรูปแบบการเปิดพืน ้ ทีศ ่ น ู ย์การค้าเป็นช่องทางการจัดจําหน่ายให้

และเจ้าของธุรกิจมากขึ้น อาทิ จัดกิจกรรมกีฬากอล์ฟสําหรับกลุ่ม

ผู้ประกอบการ และการพิจารณาปรับรูปแบบโครงการ CPNlead

เจ้ า ของธุ ร กิ จ ที่ ชื่ น ชอบกี ฬ า จั ด ชมการแสดงคอนเสิ ร์ ต สํ า หรั บ

ให้เหมาะสมสําหรับผูป ้ ระกอบการทีม ่ ป ี ระสบการณ์และความต้องการ

กลุ่มเจ้าของธุรกิจที่ชื่นชอบในเสียงเพลง และร่วมกับร้านค้าประเภท

ที่หลากหลายแตกต่างกันออกไป

สอนทําอาหารในการจัดอบรมสอนทําอาหารระยะสั้นให้กับเจ้าของ ธุรกิจและครอบครัวที่ชื่นชอบการทําอาหารร่วมกัน เป็นต้น

ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนกับผู้มีส่วนได้เสีย: ร้านค้า หัวข้อ

ผลการดําเนินงานปี 2560 • กําหนด “คะแนนความพึงพอใจของร้านค้า”

ตัวชี้วัด

แผนปี 2561 • กําหนด “คะแนนความพึงพอใจของร้านค้า”

เป็นตัวชี้วัดระดับองค์กรเป้าหมาย

เป็นตัวชี้วัดระดับองค์กรเป้าหมายที่ระดับ

อยู่ที่ร้อยละ 80

ร้อยละ 80

• ในปี 2560 CPN ได้คะแนนความพึงพอใจ ของร้านค้าที่ร้อยละ 78 (มากกว่าปี 2559

ด้านความยั่งยืน •

การบริหารจัดการ และพัฒนาร้านค้า

ดําเนินงานตามแผนงานสนับสนุนการขาย

• ดําเนินงานตามแผนงานส่งเสริมการขาย

เชิงกลยุทธ์เพื่อสนับสนุนแบรนด์ร้านค้าให้

เชิงกลยุทธ์ โดยมุ่งเน้นการทําแคมเปญ

โดดเด่นเป็นที่รู้จัก โดยเฉพาะการทดลอง

ทั่วประเทศแบบเจาะจงกลุ่มลูกค้า และจัด

จําหน่ายสินค้าในรูปแบบป็อปอัพสโตร์ และ

กิจกรรมส่งเสริมการขายหลากหลายหมวดหมู่

คาราวานไลฟ์สไตล์ โดยแบรนด์ร้านค้าที่ร่วมใน

ที่ส่งเสริมคุณค่าระหว่างกัน

โครงการดังกล่าวมีความพึงพอใจและเชื่อมั่น

• ดําเนินงานตามแผนงานประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

ที่จะขยายธุรกิจกับ CPN เป็นไปตามเป้าหมาย

ดิจิทัลร่วมกับร้านค้าและกลุ่มธนาคารในการ

ที่ตั้งไว้

ผลักดันการซื้อขายสินค้าและบริการแบบไร้

ดําเนินการตามแผนงานพัฒนาผู้ประกอบการ ที่มีศักยภาพภายใต้ โครงการ CPNlead โดยมีจํานวนผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 34 ราย และขยายผลทางธุรกิจร่วมกับ CPN จํานวน 14 ราย

101

เงินสด • ปรับรูปแบบการวิจัยพฤติกรรมลูกค้าเป็นแบบ พลวัตเชิงลึก (Dynamic Insignt)

บทที่ 20

ร้อยละ 1.3)


การสรรหาและว่าจ้าง

การบริหารจัดการและสร้างความ ผูกพันกับบุคลากร

CPN กําหนดแนวทางในการบริหารจัดการบุคลากรในด้านการจัดการ อัตรากําลัง การสรรหาและว่าจ้างพนักงาน การประเมินผลปฏิบต ั ง ิ าน โดยยึ ด หลั ก บรรษั ท ภิ บ าล เปิ ด โอกาสให้ กั บ ทุ ก คนโดยไม่ แ บ่ ง แยก

บริบทด้านความยั่งยืน

พืน ้ ฐานของแต่ละปัจเจกบุคคล ให้ความเสมอภาคและความเท่าเทียม

ปั จ จั ย ความเสี่ ย งในการสรรหาและรั ก ษาบุ ค ลากรที่ มี

ทั้งการว่าจ้าง และการประเมินผลงาน รวมไปถึงการเปิดกว้างรับฟัง

ความรู้ความสามารถให้มีความสุขในการทํางาน และ

ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา

พร้อมที่จะทุ่มเทและสร้างสรรค์ผลงานที่ดีให้กับองค์กร

องค์ ก ร เพื่ อ ให้ บุ ค ลากรทํ า งานอย่ า งเต็ ม ความสามารถอย่ า งมี

นั้นเป็นประเด็นที่กระทบกับการดําเนินงานอย่างยั่งยืน

ความสุข มีความผูกพัน และภูมิใจในองค์กร

อย่ า งมี นั ย สํ า คั ญ อี ก ทั้ ง ปั จ จุ บั น เป็ น ยุ ค ที่ ค นรุ่ น ใหม่

ในปี 2560 CPN ได้ว่าจ้างพนักงานใหม่จํานวนทั้งสิ้น 988 คน โดย

หรื อ “คนรุ่ น มิ ล เลนเนี ย ล” มี บ ทบาทสํ า คั ญ ในตลาด

เปิดรับสมัครพนักงานใหม่ที่มีภูมิลําเนาตามภูมิภาค

แรงงาน ส่งผลให้แต่ละองค์กรต้องปรับตัวและวางแผน

450

เพื่ อ รั บ มื อ กั บ แนวทางการสรรหาและรั ก ษาบุ ค ลากร ในองค์กรที่ประกอบด้วยคนหลากหลายรุ่น เพื่อตอบ โจทย์บริบทของแต่ละแผนกที่แตกต่างกันไป เนื่องจาก คนในแต่ ล ะรุ่ น มี แ นวคิ ด และทั ศ นคติ ที่ แ ตกต่ า งกั น จึ ง

202

ต้องทําการเข้าใจคนรุ่นต่าง ๆ และนําเทคโนโลยี หรือ

24

79

62

67

สื่อสารในองค์กร การสรรหาพนักงาน รวมถึงวิธีการ ทํางานและสถานทีท ่ าํ งานให้เหมาะสม จากประเด็นความ

104

“Internet of Things (IoTs)” มาประยุกต์ใช้ ทั้งการ

ท้าทายดังกล่าว CPN ได้กาํ หนดเป็นพันธกิจด้านความ กรุงเทพฯ และปริมณฑล

ยั่งยืน มุ่งเน้นในการบริหารจัดการ สร้างความผูกพัน

กลาง

เหนือ

ใต้

ตะวันออก เฉียงเหนือ

ตะวันออก

ตะวันตก

และพั ฒ นาบุ ค ลากรให้ ต รงกั บ ไลฟ์ ส ไตล์ และความ แบ่งเป็นพนักงานในช่วงอายุต่ํากว่า 30 ปี หรือคนรุ่นมิลเลนเนียล

มุ่งหวังเฉพาะบุคคลให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของ องค์กรมากยิ่งขึ้น

จํานวน 598 คน ส่งผลให้สัดส่วนพนักงานอายุระหว่าง 18-30 ปี คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 34 ของพนั ก งานทั้ ง หมด เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2559 จํานวน 96 คน ซึ่งเป็นไปตามแผนการสรรหาและว่าจ้างพนักงาน ที่ เ จาะกลุ่ ม คนรุ่ น ใหม่ ยุ ค มิ ล เลนเนี ย ล โดยเน้ น กระบวนการสรรหา

แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน

ผ่านสื่อสังคมออนไลน์และแพล็ตฟอร์มการสรรหา เช่น LinkedIn Facebook รวมไปถึงช่องทางการสรรหาออนไลน์ของกลุ่มเซ็นทรัล

ในปี 2560 ถือเป็นปีที่ CPN นําค่านิยมองค์กรจากกลุ่มเซ็นทรัล

ซึง ่ เป็นช่องทางการสือ ่ สารทีเ่ ข้าถึงไลฟ์สไตล์ของคนรุน ่ ใหม่ได้อย่างมี

I•CARE ซึ่ ง ประยุ ก ต์ แ ละพั ฒ นาจากค่ า นิ ย มของ CPN เดิ ม มา

ประสิทธิผล สําหรับการสรรหาบุคลากรจากภายในองค์กรตามนโยบาย

ปรับใช้อย่างเต็มรูปแบบ ทั้งในกระบวนการสรรหา การดูแลพนักงาน

สนับสนุนการหมุนเวียนงานและการโอนย้ายงานกลับภูมล ิ าํ เนาเดิมนัน ้

การประเมินผลการปฎิบัติงาน และการพัฒนาบุคลากร โดยบริษัทฯ

พบว่ามีจํานวนพนักงานขอโอนย้ายทั้งสิ้นจํานวน 76 คน เฉพาะการ

มี ก ารทบทวนและปรั บ โครงสร้ า งการบริ ห ารภายในฝ่ า ยบริ ห ารทุ น

ขอโอนย้ายไปยังโครงการใหม่ 2 แห่ง คือ เซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

มนุษย์และพัฒนาองค์กร เพื่อให้เกิดความคล่องตัวและรองรับการ

และเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 37 ของจํานวน

ดูแลพนักงานได้อย่างทั่วถึงและครบทุกด้าน ตามกลยุทธ์ “การเป็น

พนักงานทั้งหมดในโครงการ

องค์ ก รในหั ว ใจพนั ก งาน หรื อ Employer of Choice” 2 โดย มุ่ ง เน้ น ด้ า น การดึ ง ดู ด คนเก่ ง ที่ มี ค วามสามารถ การดู แ ล รั ก ษา

ทั้ ง นี้ จากการวางแผนจั ด การอั ต รากํ า ลั ง คนรายสาขาและตาม

และพัฒนาบุคลากร และการสร้างวัฒนธรรมการทํางานสู่การเป็น

ลักษณะงาน พบว่า CPN ยังมีความเสี่ยงในการเติมกําลังคน ใน

องค์กรทีเ่ ปิดกว้าง ทันสมัยและคล่องตัว บนพืน ้ ฐานการดูแลผูม ้ ส ี ว ่ น

งานช่างระบบไฟฟ้า งานการตลาด และงานในระดับจัดการและบริหาร

ได้เสียตามหลักบรรษัทภิบาล และนโยบายการเคารพกฎหมายและ

จึ ง ได้ กํ า หนดแผนงานสรรหาว่ า จ้ า งและพั ฒ นาบุ ค ลากรตาม

หลักสิทธิมนุษยชน3

ลักษณะงาน อาทิ

หมายเหตุ:

2

รายละเอียดเพิ่มเติม www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การดูแลผู้มีส่วนได้เสีย/ การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร/ การบริหารจัดการและ ผลการดําเนินงาน 3 รายละเอียดเพิม ่ เติม www.cpn.co.th/ การพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน/ การกํากับดูแลกิจการทีด ่ / ี นโยบายและแนวทางปฏิบต ั / ิ นโยบายการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน

102


รายงานประจํ า ปี 2560

(4) โครงการผู้ จั ด การทั่ ว ไปฝึ ก หั ด หรื อ General Manager

(1) โครงการ Work Integrated Learning หรื อ WIL คื อ โครงการบูรณาการการเรียนการสอนเข้ากับการทํางานจริง

Trainee คือ โครงการรับสมัครและพัฒนาผู้บริหารในระดับ

โดย CPN ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์

ผูจ ้ ด ั การศูนย์การค้า เพือ ่ รองรับแผนการขยายธุรกิจของ CPN

เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) และมหาวิทยาลัย

โดยกระบวนการรับสมัครแบ่งออกเป็น 3 ช่องทาง คือ รับสมัคร

เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า พระนครเหนื อ (มจพ.) รั บ สมั ค ร

จากบุคลากรภายใน รับสมัครจากบุคลากรในกลุม ่ บริษท ั เซ็นทรัล

นั ก ศึ ก ษาที่ สํ า เร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ

ที่มีลักษณะธุรกิจใกล้เคียงกัน และเปิดรับสมัครใหม่ ซึ่งผู้ที่สนใจ

ขั้นสูง (ปวส.) เข้าปฏิบัติงานจริงกับ CPN ควบคู่กับการศึกษา

ในโครงการดังกล่าวจะต้องผ่านกระบวนการคัดกรอง 3 รูปแบบ

ต่อในระดับปริญญาตรีเป็นเวลา 3 ปี นักศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการ

คือ การสอบข้อเขียน การสอบสัมภาษณ์และการสอบประเมิน

จะได้ รั บ ประสบการณ์ จ ากการทํ า งานจริ ง พร้ อ มประยุ ก ต์

ภาวะผูน ้ าํ ภายหลังผ่านการคัดเลือกบุคลากรจะได้รบ ั การพัฒนา

ประสบการณ์ ที่ ไ ด้ ใ นการเรี ย นกั บ อาจารย์ ป ระจํ า รายวิ ช าเพื่ อ

อบรมในรู ป แบบห้ อ งเรี ย นจํ า นวน 20 หลั ก สู ต รทั้ ง ในด้ า น

พัฒนาการเรียนการสอนให้ตรงกับการไปใช้จริงในอุตสาหกรรม

ความรู้เรื่องงาน กระบวนการและการพัฒนาภาวะผู้นํา และ

ทั้งนี้ CPN ได้กําหนดเงินเดือนและสวัสดิการให้กับนักศึกษาที่

รูปแบบการลงปฎิบัติหน้างานจริงในสาขาโดยมีผู้จัดการทั่วไป

เข้ า ร่ ว มโครงการดั ง กล่ า วแตกต่ า งในบางรายละเอี ย ดจาก

ประจําสาขาเป็นพี่เลี้ยงสอนงาน

พนักงานทัว ่ ไป เช่น ยกเว้นการเข้าเวรแบบกะ เนือ ่ งจากนักศึกษา

(5) โครงการเตรียมความพร้อมก่อนเกษียณ คือ โครงการต่ออายุ

ยั ง ต้ อ งไปเข้ าเรีย นบางรายวิ ช าในห้ อ งเรี ย นและให้ ส วั ส ดิ ก าร

การทํางานของบุคลากรที่ใกล้เกษียณเป็นรายปี หรือราย 2 ปี

การลาช่วงสอบ เป็นต้น ปัจจุบันมีจํานวนนักศึกษาในโครงการ

ขึ้นอยู่กับความจําเป็นของงานและความเต็มใจร่วมกันทั้งฝ่าย

ดังกล่าวแล้วทั้งสิ้น 14 คน

นายจ้างและลูกจ้าง โดยมีแนวทางการต่ออายุการทํางานออกไป

(2) โครงการนักการตลาดรุน ่ ใหม่ หรือ Marketing Next GEN คือ

จนถึงอายุ 65 ปี ซึ่งปัจจุบันมีบุคลากรในโครงการดังกล่าว

โครงการรับสมัครนักศึกษาจบใหม่ อายุไม่เกิน 27 ปี ทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพ

จํานวน 9 คน สวัสดิการและผลตอบแทน

(On the Job Training: OJT) โดยการสังเกตการทํางาน ของพนั ก งานที่ มี ค วามชํ า นาญและลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง พร้ อ ม เรียนรู้วิชาการตลาดจากบุคลากร CPN รุ่นพี่ที่ชํานาญงาน

CPN กําหนดสวัสดิการและผลตอบแทนที่เหมาะสมและแข่งขันได้

ผ่านการอบรมวิชาการตลาดพื้นฐาน 8 วิชา มีกระบวนการ

กับตลาดแรงงานทั่วไป โดยทําการสํารวจและเทียบเคียงกับองค์กร

ทดสอบศั ก ยภาพเพื่ อ ประเมิ น ความสามารถและความคิ ด

ชั้นนําในตลาดแรงงาน รวมทั้งในธุรกิจเดียวกันและในกลุ่มเซ็นทรัล

สร้างสรรค์และเป็นระบบโดยการนําเสนอโครงการจริง รวมทั้ง

เป็นประจําทุกปี เพือ ่ นํามาทบทวนและปรับปรุงหลักเกณฑ์คา่ ตอบแทน

มีการหมุนเวียนงานไปประจําที่สาขา และสํานักงานใหญ่ ในปี

ให้เหมาะสม รวมถึงศึกษาแนวโน้มการจ่ายค่าตอบแทนที่สอดคล้อง

2560 CPN รั บ พนั ก งานจากโครงการดั ง กล่ า วแล้ ว ทั้ ง สิ้ น

กับความคาดหวังของบุคลากรรุ่นใหม่และการกําหนดค่าตอบแทน แบบยืดหยุ่นให้กับพนักงานบางกลุ่มให้เหมาะสมและตรงกับลักษณะ

จํานวน 16 คน (3) โครงการผู้บริหารรุ่นใหม่กลุ่มเซ็นทรัล หรือ Central Group

งานมากขึ้น ทั้งนี้ ความแตกต่างทางเพศไม่ส่งผลต่อการกําหนด

Management Associate (MA) คือ โครงการสร้างผูบ ้ ริหาร

ค่าตอบแทนและการเลือ ่ นตําแหน่งของพนักงาน นอกจากนี้ CPN ยัง

รุ่ น ใหม่ แ บบเร่ ง รั ด ให้ ท ดลองค้ น หาจุ ด มุ่ ง หมายและความ

ได้กาํ หนดสวัสดิการเพิม ่ เติมให้เหมาะสมกับบุคลากร (ไม่รวมพนักงาน

ต้ อ งการในชี วิ ต การทํ า งาน โดยสามารถเลื อ กที่ จ ะเติ บ โตใน

สัญญาจ้าง) ได้แก่ สวัสดิการค่ารักษาพยาบาลทั้งกรณีผู้ป่วยใน

กลุ่มค้าปลีก กลุ่มบริหารอสังหาริมทรัพย์ และกลุ่มการบริหาร

และผู้ป่วยนอก เงินช่วยเหลือการศึกษาบุตรธิดาของพนักงาน และ

แบรนด์ และสามารถเก็บเกี่ยวประสบการณ์จากการหมุนเวียน

พนั ก งานที่ มี ค วามประสงค์ จ ะศึ ก ษาต่ อ เงิ น ช่ ว ยเหลื อ การสมรส

งานไปบริษัทอื่นภายใต้สายธุรกิจเดียวกันได้ในกลุ่มเซ็นทรัล ซึ่ง

เงินช่วยเหลือกรณีทาํ ศพบุคคลในครอบครัว เงินกูฉ ้ ก ุ เฉินกรณีจาํ เป็น

ตรงกับไลฟ์สไตล์ของบัณฑิตจบใหม่ หรือนักศึกษาปริญญาโท

เร่งด่วนสําหรับพนักงาน เป็นต้น

ที่มีประสบการณ์การทํางานไม่เกิน 5 ปี ที่ต้องการค้นหาสิ่งที่ ใช่สาํ หรับตัวเอง มีความท้าทายทีอ ่ ยากจะเติบโตในสายงานเฉพาะ ที่ชอบ โดยในปี 2560 CPN รับบุคลากรจากโครงการดังกล่าว รวมที่บรรจุเป็นพนักงาน CPN และอยู่ระหว่างการหมุนเวียน งานในบริษัทแล้วทั้งสิ้น 7 คน

103

บทที่ 20

และรักในงานการตลาด เข้าทํางานแบบฝึกอบรมและเรียนรูใ้ นงาน


สภาพแวดล้อมและบรรยากาศในการทํางาน

สัดส่วนค่าตอบแทนพนักงาน (หญิงต่อชาย)

CPN ให้ ค วามสํ า คั ญ ในเรื่ อ งความปลอดภั ย และสุ ข อนามั ย ของ ระดับ ปฏิบัติการ

หญิง (1)

พนั ก งานเป็ น สํ า คั ญ โดยกํ า หนดนโยบายด้ า นความปลอดภั ย และ

ชาย

อาชี ว อนามั ย4 ให้ พ นั ก งาน รวมไปถึ ง คู่ ค้ า มี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบและ

(0.92)

คํ า นึ ง ถึ ง ความปลอดภั ย ทั้ ง ต่ อ ตนเอง เพื่ อ นร่ ว มงาน และลู ก ค้ า ระดับ จัดการ

หญิง (1)

ตามกฏหมายและตามมาตรฐานระบบการจัดการอาชีวอนามัยและ

ชาย

ความปลอดภัย OHAS 18001 และวางระบบให้สอดคล้องกับร่าง

(0.99)

มาตรฐานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน ISO 45001 ระดับ บริหาร

หญิง (1)

และจั ด ให้ มี ค ณะกรรมการความปลอดภั ย อาชี ว อนามั ย และ

ชาย

สภาพแวดล้อมในการทํางาน ทั้งในระดับองค์กรและในระดับสาขา

(1.07)

ต า ม ลํ า ดั บ โ ด ย ใ น ปี 25 6 0 มี จํ า น ว น พ นั ก ง า น ที่ ร่ ว ม เ ป็ น

CPN ยังคงดําเนินการประเมินพนักงานตามเดิม คือ แบ่งการประเมิน ผลงานพนักงานออกเป็น 2 ส่วน คือ ประเมินผลการปฎิบัติงาน

คณะกรรมการฯ ทัง ้ สิน ้ 376 คน โดยแยกเป็นตัวแทนนายจ้างจํานวน

รายปี และประเมินผลพฤติกรรม รายครึ่งปี โดยในปี 2560 ได้มี

188 คน และเป็นตัวแทนลูกจ้างจํานวน 188 คน คิดเป็นร้อยละ 8.07

การปรั บ ปรุ ง กระบวนการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านให้ เ ป็ น ไปตาม

ของพนักงานทั้งหมด

การประเมินผลงานตามดัชนีชี้วัดระดับองค์กร ระดับฝ่าย และระดับ

ในปี 2560 CPN ได้นาํ ระบบ Office 365 ซึง ่ เป็นระบบทีร่ วมรวมระบบ

แผนกลดหลั่นตามลําดับชั้น ควบคู่กับการพิจารณาผลการประเมิน

ต่าง ๆ เอาไว้บนระบบคลาวด์ (Cloud) เพื่อให้ใช้บริการสารสนเทศใน

พฤติกรรม ทีส ่ อดคล้องกับค่านิยมองค์กร I•CARE โดยนําผลประเมิน

ที่เดียวกัน สามารถเข้าถึงแอพพลิเคชันออฟฟิศ (MS Office) และ

ที่ได้มาใช้ในการพิจารณาปรับเงินเดือนและโบนัสประจําปี

เพิม ่ ประสิทธิภาพการทํางานผ่านบริการทางอินเทอร์เน็ต โดยล็อกอิน

อัตราการเลื่อนตำแหน่ง หญิงต่อชาย

เข้าระบบเพียงครั้งเดียวทั้งผ่านการทํางานที่บ้าน และการทํางานใน

(ร้อยละ)

ต่างสาขา อีกทั้งเพิ่มพื้นที่เก็บข้อมูลออนไลน์ได้มากขึ้น และแบ่งปัน ข้อมูลไฟล์ขนาดใหญ่ได้สะดวกรวดเร็วมากขึ้น โดยเพิ่มระบบความ

ปี 2558

หญิง (65)

ปลอดภั ย ของข้ อ มู ล ระดั บ สู ง สามารถป้ อ งกั น ข้ อ มู ล รั่ ว ไหลและ

ชาย

(35)

เอกสารสูญหายได้เป็นอย่างดี ซึ่งเหมาะกับไลฟ์สไตล์การทํางานของ

หญิง (55)

ผู้ใช้ไม่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือเรียนรู้ใหม่มากนัก และเป็นการ

บุคลากรปัจจุบันที่มีทั้งคนรุ่นใหม่และคนรุ่นเก่าอยู่รวมกัน เนื่องจาก ปี 2559

ชาย

(45)

รองรับระบบการทํางานแบบโมบาย คือ เปลีย ่ นทุกสถานทีเ่ ป็นทีท ่ าํ งาน ได้ ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปรับปรุงสถานที่และสภาพแวดล้อม

ปี 2560

หญิง (46)

การทํางานสู่ “การเป็นสมาร์ทออฟฟิศ” ซึ่งเป็นแผนการปรับปรุง

ชาย

สภาพแวดล้อมการทํางานของบุคลากรให้ทันสมัย คล่องตัว เข้ากับ

(54)

ไลฟ์สไตล์และช่วงอายุทห ี่ ลากหลายของพนักงาน โดยในปี 2560 เป็น

CPN นํ า ผลการสํ า รวจและเที ย บเคี ย งในเรื่ อ งผลตอบแทนและ สวั ส ดิ ก าร พิ จ ารณาร่ ว มกั บ ข้ อ เสนอแนะ ข้ อ คิ ด เห็ น จากการมี

ช่วงการเก็บข้อมูลและสํารวจความต้องการของพนักงานทีค ่ าดหวัง

ส่ ว นร่ ว มของพนั ก งานผ่ า นช่ อ งทางการรั บ ฟั ง เสี ย งต่ า ง ๆ มา

ต่ อ สถานที่ ทํ า งาน และออกแบบสถานที่ ใ ห้ เ พี ย งพอและเหมาะสม

วิ เ คราะห์ แ ละทํ า แผนปรั บ ปรุ ง สวั ส ดิ ก ารและผลตอบแทนเสนอต่ อ

โดยเพิ่ ม พื้ น ที่ ก ารทํ า งานร่ ว มกั น (Co-working space) และ

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระดับองค์กรเป็นประจําทุกปี

ปรับเปลีย ่ นโต๊ะทํางานเป็นแบบโมบาย รวมไปถึงการนําระบบเทคโนโลยี

เพื่อให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ ตรงตาม

สารสนเทศ และแอปพลิเคชันมาปรับใช้ในการลงเวลางาน การจอง

ความต้องการที่แท้จริงของบุคลากร และอยู่ในแนวทางที่ถูกต้อง

ห้องประชุม และการทําหนังสืออนุมัติภายในต่าง ๆ เป็นต้น

เหมาะสม ไม่ละเมิดต่อกฎระเบียบและข้อกฎหมายด้านแรงงาน โดยในปี

การสร้างความผูกพันองค์กร

2560 ได้ดาํ เนินการปรับเพิม ่ สวัสดิการต่าง ๆ ให้ทด ั เทียมและไม่ดอ ้ ย ไปกว่าบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลและธุรกิจใกล้เคียง อีกทั้งเพิ่มสวัสดิการ

CPN จัดให้มีช่องทางการสื่อสารและการมีส่วนร่วมของพนักงาน

บางรายการ เช่น สวัสดิการค่าโทรศัพท์มอ ื ถือให้ตรงตามความจําเป็น

หลากหลายช่องทาง5 เพื่อรับฟังความเห็น ข้อเสนอแนะ และประเมิน

แก่บุคลากรที่ทํางานนอกสถานที่ เป็นต้น

ความผูกพันของบุคลากรที่มีต่อองค์กรในแต่ละปี โดยในปี 2560

หมายเหตุ:

4

รายละเอียดเพิ่มเติม www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การกํากับดูแลกิจการที่ดี/ นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ นโยบายการจัดการอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัย 5 รายละเอียดเพิ่มเติม www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน/ การมีส่วนร่วมและการดูแลผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญ/ พนักงาน

104


รายงานประจํ า ปี 2560

ได้ ทํ า การสํ า รวจความคิ ด เห็ น และความผู ก พั น ของพนั ก งานผ่ า น

สังเกตและรายงานหากพบเหตุการณ์ทเี่ ข้าข่ายการประพฤติมช ิ อบ ซึง ่

“โครงการพลังแห่งเสียง-Power of Voice” พร้อมกันกับทุกบริษท ั ใน

ผลการประเมินคะแนนความเข้าใจในหลักบรรษัทภิบาลประจําปี 2560

กลุม ่ เซ็นทรัล ซึง ่ ดําเนินการประเมินตามกรอบการประเมินความผูกพัน

พบว่า เพิ่มขึ้นจากปี 2559 ที่ร้อยละ 6

ของพนักงานสูก ่ ารเป็นการเป็นองค์กรในหัวใจพนักงาน (Employer การพัฒนาบุคลากร

of Choice) ของบริษัทเอออน ฮิววิท (Aon Hewitt) โดยแบ่งการ ประเมินออกเป็น 2 ด้าน คือ ปัจจัยขั้นพื้นฐาน 4 หมวด และปัจจัย

แนวทางในการพัฒนาบุคลากรของ CPN จะมุ่งเน้นการเรียนรู้ผ่าน

ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง 3 หมวด โดยในปี 2560 มีพนักงานที่

การปฏิบัติงานจริง (On the Job Training: OJT) และการให้

ร่วมทําแบบประเมินคิดเป็นร้อยละ 95 ของจํานวนพนักงานทั้งหมด

คํ า แนะนํ า ของผู้ บั ง คั บ บั ญ ชาเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ผ ลของการพั ฒ นา

ผลการประเมินความผูกพันและปัจจัยทีส ่ ง ่ ผลต่อคะแนนความผูกพัน

ทักษะและความสามารถในการทํางานของพนักงาน โดยแบ่งสัดส่วน

จะถูกนําไปวิเคราะห์และพัฒนาแผนงานยกระดับความผูกพันของ

เป็นการพัฒนาแบบเรียนรูจ ้ ากหน้างานจริงร้อยละ 70 เรียนรูจ ้ ากการ

บุคลากรโดยทีมงานด้านทรัพยากรมนุษย์ และผู้บริหารสูงสุดของ

สอนโดยหัวหน้างานร้อยละ 20 และเรียนรูจ ้ ากในห้องเรียนร้อยละ 10

แต่ละฝ่าย จากนั้นจะนําเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาทรัพยากร

หรือ 70:20:10 ตามลําดับ และกําหนดหลักสูตรการพัฒนาออกเป็น

มนุ ษ ย์ ร ะดั บ สายงานและระดั บ สาขา ซึ่ ง ทํ า หน้ า ที่ ก ลั่ น กรองทั้ ง

4 ประเภทได้แก่ (1) ความรู้ด้านการบริหารและจัดการ (2) ความรู้

แผนงานยกระดับความผูกพันของบุคลากร และเรื่องที่เกี่ยวข้องกับ

เฉพาะสายงาน (3) การพัฒนาความเป็นผู้นํา และ (4) อื่น ๆ โดยในปี

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ก่อนนําเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ

2560 CPN ดํ า เนิ น การตามแผนการจั ด การอบรมทั้ ง สิ้ น 378

พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ระดับองค์กรต่อไป

หลักสูตร มีบุคลากรเข้าอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ทั้งการอบรมใน ห้ อ งเรี ย นและการอบรมผ่ า นสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พิ่ ม ขึ้ น ร้ อ ยละ 26

ในปี 2560 CPN ได้กําหนดให้เป็นปีแห่งการสร้างวัฒนธรรมในการ

จากปี 2559 ผลการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการฝึกอบรม โดยรวมเท่ากับร้อยละ 92 เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 จากปี 2559 และจํานวน

หน่ ว ยงานต่ า งดํ า เนิ น การปรั บ กระบวนการภายในเพื่ อ ให้ เ กิ ด การ

ชั่วโมงฝึกอบรมเฉลี่ยของบุคลากร CPN เท่ากับ 25.41 ชั่วโมงต่อ

ทํางานแบบร่วมมือกันให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ

คนต่อปี

แผนการดํ า เนิ น งานในการสร้ า งบรรยากาศในที่ ทํ า งานให้ เ กิ ด ความร่วมไม้รว ่ มมือเป็นนา้ํ หนึง ่ ใจเดียวกัน ผ่านการจัดกิจกรรมอบรม

ประเภทหลักสูตร

สร้างความร่วมมือนอกสถานที่ การจัดกิจกรรมวันครอบครัว การ

บทที่ 20

ทํางานแบบร่วมมือกัน หรือ Power of Collaboration โดยแต่ละ

(ร้อยละ)

ความรู้ด้าน การบริหารจัดการ

จัดกิจกรรมสันทนาการนอกเวลาในช่วงเย็นที่หลากหลายเพื่อตอบ 55

สนองไลฟ์สไตล์พนักงานที่มีความชอบแตกต่างกัน เช่น กิจกรรม โยคะ ทําขนมเค้ก ชกมวย นวดเพื่อคลายอาการออฟฟิศซินโดรม เป็นต้น รวมไปถึงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางการ

23

สื่ อ สารภายในองค์ ก ร ทั้ ง วารสารพนั ก งาน-Admired สื่ อ ความรู้ เฉพาะสายงาน

โปสเตอร์-Admired Plus สื่อวิทยุเสียงตามสาย-CPN Radio และ

12

สือ ่ โทรทัศน์ภายในองค์กร-CPN Channel และสือ ่ สังคมออนไลน์และ

10

แอปพลิเคชัน “ซีพีเอ็นเจน-วี หรือ CPN GEN WE”

การพัฒนา ภาวะผู้นำ

อื่น ๆ เช่น การเตรียมความพร้อม สำหรับพนักงานใหม่และ ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรม

นอกเหนือ จากการสร้ า งวั ฒ นธรรมในการทํ า งานแบบร่ ว มมื อ กั น ่ ะปลูกฝังพฤติกรรมตามหลักบรรษัทภิบาลในเรือ ่ ง CPN ได้มง ุ่ เน้นทีจ ้ “ซื่อสัตย์ มีนําใจ” ผ่านผู้นําต้นแบบ หรือ SD Champion จํานวน

จำนวนชั่วโมงการฝึกอบรม (เฉลี่ยต่อคนต่อปี)

21

หมุนเวียนกันทุกเดือน เป็นเวลา 11 เดือน และเปิดโอกาสให้พนักงาน

20

22

25

28

11 ท่ า น ในบทบาทผู้ ผ ลั ก ดั น และสื่ อ สารสร้ า งแรงบั น ดาลใจผ่ า น เรื่ อ งราวและคติ ป ระจํ า ใจในเรื่ อ งความซื่ อ สั ต ย์ และความมี น้ํา ใจ มีส่วนร่วมในการส่งคติประจําใจของตนเองในเรื่องซื่อสัตย์ และมี นํ้าใจผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วยเช่นกัน รวมไปถึงการจัดอบรมเชิง ปฏิบต ั ก ิ ารในเรือ ่ งหลักบรรษัทภิบาล เน้นการต่อต้านทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ และการติดสินบนหัวข้อ “แฉหรือเฉย” เพือ ่ ให้พนักงานเข้าใจหลักการ กฎหมาย และกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและร่วมกันเป็นเครือข่ายในการ

2556

105

2557

2558

2559

2560


CPN ยังเน้นพัฒนาบุคลากร โดยการรับฟังการถ่ายทอดโดยตรง

ในการสอนงานและร่ ว มพั ฒ นาบุ ค ลากรกลุ่ ม ดั ง กล่ า วให้ บ รรลุ

จากผู้เชี่ยวชาญและมากประสบการณ์ภายในองค์กรและภายในกลุ่ม

เป้าหมายตามแผนความก้าวหน้าในอาชีพที่ได้วางไว้อีกด้วย

เซ็นทรัล ดังนั้น ในปี 2560 จึงมีการจัดการบรรยายเชิงแบ่งปัน การพัฒนานวัตกรรมภายในองค์กร

ประสบการณ์ดังกล่าวจํานวน 5 ครั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทาง Thailand 4.0 จึงต้องมีเรียนรู้นวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อพัฒนาการให้

CPN ให้ความสําคัญกับการพัฒนาประสิทธิภาพในการดําเนินการ

บริการลูกค้า รวมถึงสร้างประสบการณ์แปลกใหม่ให้กับลูกค้า อาทิ

และการสร้างนวัตกรรมภายในองค์กร โดยจัดกิจกรรมที่หลากหลาย

การบรรยายหัวข้อ Digital Disruption and The Next Revolution

ตามความเหมาะสมของแต่ละสายงาน เพือ ่ เปิดโอกาสให้บค ุ ลากรของ

in Retail and E-Commerce เพื่อต่อยอดแนวคิดใหม่ ๆ อันจะเป็น

CPN มีส่วนร่วมในการนําเสนอกระบวนการในการปรับปรุงและเกิด

ประโยชน์ในการดําเนินธุรกิจของ CPN, Innovation Workshop

แนวคิดที่แปลกใหม่ในการทํางาน หนึ่งในโครงการด้านการพัฒนา

Sharing โดยผู้เชี่ยวชาญจากแต่ละประเภทธุรกิจ และเวทีอภิปราย

นวัตกรรมทีด ่ าํ เนินการต่อเนือ ่ งติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา 8 ปี ตัง ้ แต่

โดยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่จากแต่ละกลุม ่ ธุรกิจในเครือกลุม ่ เซ็นทรัล

ปี 2552 คือ “โครงการดรีมทีม” ซึ่งเป็นโครงการประกวดนวัตกรรม

หรือ CEO Sharing Forum เป็นต้น

ภายในองค์กรที่โดดเด่น ทําได้จริงและเห็นผล ส่งเสริมกระบวนการ คิดร่วมกันระหว่างกลุ่มคนทํางาน ภายใต้กรอบแนวคิดแบบวงจร

ในปี 2560 CPN ได้ดําเนินการปรับแผนพัฒนาความก้าวหน้าใน อาชีพและการเติบโตในสายงาน หรือแผนการพัฒนาผู้นําระดับกลาง

การบริ ห ารงานคุ ณ ภาพ PDCA ซึ่ ง ย่ อ มาจาก Plan-วางแผน,

โดยเริ่ ม นํ า ร่ อ งในกลุ่ ม บุ ค ลากรที่ มี ศั ก ยภาพสู ง และความสามารถ

Do-ปฏิบต ั ,ิ Check-ตรวจสอบ และ Act-การดําเนินการให้เหมาะสม

โดดเด่นตั้งแต่ระดับหัวหน้างานถึงระดับผู้จัดการอาวุโส เพื่อเตรียม

ในปี 2560 มี ก ลุ่ ม ดรี ม ที ม ทั้ ง สิ้ น จํ า นวน 71 กลุ่ ม สมาชิ ก ทั้ ง สิ้ น

ความพร้ อ มรองรั บ การขยายตั ว ทางธุ ร กิ จ และการเกษี ย ณอายุ

จํานวน 611 คน กระจายอยูใ่ นทุกสาขา คิดเป็นร้อยละ 13 ของพนักงาน

ของพนักงานในระดับผู้จัดการขึ้นไป โดยมีการคัดเลือกและประเมิน

ทัง ้ หมด เน้นการพัฒนานวัตกรรมในด้านลดผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อม

สมรรถนะผู้นําแบบ 360 องศา และวางแผนแผนการพัฒนาความ

่ ความพึงพอใจของลูกค้าและร้านค้า มีการ ประหยัดพลังงาน และเพิม

ก้าวหน้าในอาชีพรายบุคคล (Individual Career Development

กําหนดกรอบระยะเวลาดําเนินงาน 12 เดือน ซึ่งผลจากการดําเนิน

Plan หรือ ICDP) ซึ่งจะมีการติดตามความคืบหน้าของแผนการ พัฒนารายบุคคล ทุก ๆ 6 เดือน นอกจากนั้น ยังรวมไปถึงการ

โครงการพบว่า สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค เช่น ค่า พลังงานไฟฟ้า น้ําประปา และค่าบํารุงรักษา รวมไปถึงการลดต้นทุน

เตรียมผู้บังคับบัญชาบุคลากรกลุ่มศักยภาพสูงดังกล่าว ให้พร้อม

วัตถุดิบ คิดเป็นมูลค่ากว่า 2.4 ล้านบาทต่อปี

106


รายงานประจํ า ปี 2560

ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนกับผู้มีส่วนได้เสีย: พนักงาน หัวข้อ

ผลการดําเนินงานปี 2560 • กําหนดคะแนนความผูกพันของพนักงานต่อ

แผนปี 2561 • กําหนดคะแนนความผูกพันของพนักงานต่อ

องค์กร (PoV Score) เป็นตัวชี้วัดระดับองค์กร

องค์กร (PoV Score) เป็นตัวชี้วัด

เป้าหมายที่ร้อยละ 60

ระดับองค์กร เป้าหมายที่ร้อยละ 80

• กําหนดความสัมฤทธิ์ผลของแผนพัฒนาผู้นํา ระดับกลางเป็นตัวชี้วัดระดับองค์กร ตัวชี้วัด ด้านความยั่งยืน

• ในปี 2560 CPN ได้คะแนนความผูกพันของ พนักงานต่อองค์กรที่ร้อยละ 77 (มากกว่าปี 2559 ที่ร้อยละ 5) และสามารถดําเนินงานตาม แผนพัฒนาผู้นําระดับกลางเป็นไปตามเป้าหมายที่ กําหนดร้อยละ 100 • สถิติการบาดเจ็บของพนักงานจากการทํางาน (Injury Rate) เท่ากับร้อยละ 0.12 • สถิติการบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงานของพนักงาน เนื่องมาจากการทํางาน (Lost Day Rate) • อัตราการขาดงานของพนักงาน (Absentee

พนักงาน

• ดําเนินงานตามแผนการปรับมาตรฐานค่างาน ดึงดูดและรักษาบุคลากรที่มีศักยภาพ สมาร์ทออฟฟิศ

พนักงานต่อองค์กร โดยลดอัตราการลาออก ของพนักงานลงได้ร้อยละ 0.83 เมื่อเทียบกับ ปี 2559 • ไม่มีการจัดตั้งสหภาพแรงงานภายในองค์กร และไม่มีบุคลากรใดของบริษัทฯ ร่วมอยู่ใน สหภาพแรงงานอื่น • ในรอบปี 2560 ไม่มีพนักงานบาดเจ็บรุนแรง เจ็บป่วย หรือเสียชีวิต เนื่องมาจากการทํางาน • ดําเนินงานตามแผนพัฒนาผู้นําระดับกลาง โดยได้กลุ่มผู้บริหารที่ตรงตามคุณสมบัติ

การพัฒนาบุคลากร

ในโครงการ เป็นไปตามแผนที่กําหนด

• ศึกษาการพัฒนาสร้างศูนย์ความเป็นเลิศ เพื่อพัฒนาบุคลากรทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ • ดําเนินงานขยายผลแผนการพัฒนาผู้นําทั่วทั้ง องค์กร

107

บทที่ 20

• ดําเนินงานตามแผนพัฒนาสถานที่ทํางานเป็น

Rate) เท่ากับร้อยละ 1.08 • ดําเนินงานตามแผนงานสร้างความผูกพันของ สร้างความผูกพัน

และว่าจ้างบุคลากรที่มีศักยภาพและตรงกับ ความต้องการขององค์กร และหน้าที่ความรับผิดชอบในแต่ละงานเพื่อ

เท่ากับร้อยละ 0.0031

การดูแลและ

• ดําเนินงานเพิ่มขีดความสามารถในการสรรหา


จํานวนพนักงานแบ่งตามตําแหน่งงาน

(คน)

(คน) 3,332

กลุ่มผู้บริหาร ระดับสูง

กลุ่มผู้บริหาร ระดับกลาง

กลุ่มผู้บริหาร ระดับปฏิบัติการ

กลุ่มพนักงาน ปฏิบัติการ

438

1,609

807

266

505

4

13

369

239

ชาย

หญิ ง

ชาย

1,723

9

2,317

2,341

จํานวนพนักงานแบ่งตามเพศ

หญิ ง

ชาย

หญิ ง

* ไม่นับรวมกรรมการผู้จัดการใหญ่

จํานวนพนักงานแบ่งตามอายุ (คน)

ภาคเหนื อ

207

ภาคใต้

231

409

345

1,589

46-60 ปี

438

18-30 ปี

ชาย

60+ ปี

ภาคกลาง และปริ ม ณฑล

หญิ ง

ภาค ตะวั น ออก

233

1,440

666

7

219 263

31-45 ปี

782

437

3,029

176

9 2

482

1,164

2,569

1,405

932

1,598

จํานวนพนักงานแบ่งตามภูมิภาค (คน)

ชาย

108

หญิ ง


รายงานประจํ า ปี 2560

แนวทางการบริหารจัดการ และผลการดําเนินงาน การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน

CPN กําหนดนโยบายการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน

6

เพื่อเป็น

แนวทางในการดําเนินธุรกิจระหว่างกันระหว่าง CPN และพันธมิตร

บริบทด้านความยั่งยืน

คู่ ค้ า ในการพั ฒ นานวั ต กรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ ละบริ ก ารร่ ว มกั น ตาม แนวทางความยั่งยืนและหลักบรรษัทภิบาลที่ดีบน 6 หลักการ ได้แก่

จากสถานการณ์ของโลกทีต ่ อ ้ งการเห็นการแสดงความ รับผิดชอบร่วมกันตลอดห่วงโซ่อุปทานในมุมมองด้าน

(1) การกํากับดูแลเพื่อให้เกิดความรอบคอบ โปร่งใส และเป็นธรรม

ความปลอดภั ย ในการผลิ ต และให้ บ ริ ก าร การเคารพ

ระหว่างกัน

สิทธิมนุษยชนในการปฏิบัติต่อแรงงาน การรับมือกับ

(2) การใส่ใจสิ่งแวดล้อม และจัดการผลกระทบและความเสี่ยงด้าน

สถานการณ์สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป การใช้

สิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นร่วมกัน

ทรัพยากรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ และการ

(3) การคํานึงถึงสุขภาพ อนามัย ความปลอดภัย และคุณภาพของ

ต่อต้านทุจริตคอร์รัปชั่น ล้วนแต่เป็นประเด็นที่ CPN

ผลิตภัณฑ์และบริการ

ไม่ ส ามารถจะดํ าเนิ น การลดความเสี่ ย งเหล่ า นั้ น เพี ย ง

(4) การคํานึงถึงผลกระทบต่อชุมชน ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ

ลําพังได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจในการบริหาร

(5) การคํานึงถึงสิทธิมนุษยชน รวมไปถึงการดูแลพนักงานทีจ ่ ด ั จ้าง

จั ด การและพั ฒ นาร่ ว มกั น กั บ คู่ ค้ า และผู้ รั บ เหมา โดย

โดยคู่ค้า

CPN ได้ กํ า หนดแนวทางในการบริ ห ารจั ด การและ

(6) การพั ฒ นาคู่ ค้ า ในการบริ ห ารจั ด การให้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บ

พั ฒ นาคู่ ค้ า ในการให้ มุ ม มองสถานการณ์ โ ลกที่ ก ว้ า ง

ข้อกําหนด และแนวทางในการดําเนินงานระหว่างกัน

ขึ้น และร่วมกันพัฒนาโดยอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะ การแบ่งกลุ่มคู่ค้า

ทางที่ แ ตกต่ า งกั น บนหลั ก บรรษั ท ภิ บ าลในการ ดําเนินงานที่ดีระหว่างกัน

จัดซือ ้ จัดจ้างทีเ่ กิดจาก CPN โดยตรง โดยมุง ่ เน้นการบริหารจัดการ กับคู่ค้าที่มีการดําเนินธุรกรรมระหว่างกันในรอบปี แบ่งออกเป็น (1) ส่วนการพัฒนาและก่อสร้าง (2) ส่วนการบริหารศูนย์การค้าและการ ตลาดและ (3) ส่วนองค์กร

1. DEVELOPMENT & CONSTRUCTION

Planning & Funding

Land Acquistion

2. OPERATION & MARKETING

Design & Constuction

Sale & Leasing

Asset Management

Customer Insight & Improvement

3. CORPORATE

นอกจากการแบ่งกลุม ่ คูค ่ า้ ตามห่วงโซ่คณ ุ ค่าแล้ว CPN ยังแบ่งกลุม ่

2)

ความสําคัญของคู่ค้าต่อการดําเนินงานของ CPN

คู่ค้าตามเกณฑ์ต่าง ๆ ดังนี้

3)

คุณสมบัติของคู่ค้าด้านความเชี่ยวชาญและผูกขาดในการให้ บริการ

1)

แบ่ ง ตามการวิ เ คราะห์ ร ายจ่ า ย โดยพิ จ ารณาจากมู ล ค่ า การ ซึง ่ การแบ่งกลุม ่ คูค ่ า้ นีจ ้ ะนําไปใช้ในการวางแผนและเพิม ่ ประสิทธิภาพ

ว่าจ้างและจัดซือ ้ ในรอบปี ดังแสดงในตาราง “การแบ่งกลุม ่ คูค ่ า้ ของ CPN ตามการวิเคราะห์ยอดใช้จา่ ย” และตามหมวดหมูก ่ าร

การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน การดูแลและพัฒนาคู่ค้า รวมทั้ง

ให้บริการของคู่ค้า ดังแสดงในตาราง “การแบ่งกลุ่มคู่ค้าของ

การประเมินความเสีย ่ งของคูค ่ า้ รายปี และกําหนดมาตรการในการลด

CPN ตามหมวดหมู่การให้บริการของคู่ค้า”

ความเสี่ยงดังกล่าวได้ตรงประเด็นมากขึ้น

หมายเหตุ:

6

รายละเอียดเพิ่มเติมใน www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การบริหารจัดการอย่างยั่งยืน/ infographic www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การกํากับดูแลกิจการที่ดี/ นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ นโยบายการบริหารห่วงโซ่อุปทาน

109

บทที่ 20

การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานของ CPN ครอบคลุมกระบวนการ


การแบ่งกลุ่มคู่ค้าของ CPN ตามการวิเคราะห์ยอดใช้จ่าย กลุ่มคู่ค้า

คํานิยาม: แยกตามมูลค่าการว่าจ้างในรอบปี 2560

จํานวนคู่ค้า

จํานวนยอดใช้จ่าย

ยอดของค่าใช้จ่าย

(ราย)

(ล้านบาท)

ทั้งหมด (ร้อยละ)

กลุ่มที่ 1

มากกว่า 10 ล้านบาทขึ้นไป

120

10,750

85

กลุ่มที่ 2

มากกว่า 1 ล้านบาทแต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท

437

1,419

11

กลุ่มที่ 3

น้อยกว่า 1 ล้านบาท

รวม

2,517

427

4

3,074

12,596

100

การแบ่งกลุ่มคู่ค้าของ CPN ตามหมวดหมู่การให้บริการของคู่ค้า ที่ปรึกษาทางสถาปัตย์และวิศวกรรม Building Consultants

ผู้รับเหมาก่อสร้าง Building Contractors

วิศวกรรมงานระบบ System Engineering

ผู้ให้บริการสาธารณูปโภค Utility Providers

ผู้ให้บริการรับเหมาช่วง-Outsource Service Providers (Cleaning, Security, Waste)

ผู้ให้บริการด้านการจัดงานกิจกรรมและสื่อสารการตลาด Marketing and Organizers

ผู้ให้บริการระบบสารสนเทศ Information Technology

ผู้ผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์สิ้นเปลือง Administration

บริษัทประกันภัย Insurance

ที่ปรึกษาทางกฎหมาย Legal

ผู้ให้บริการงานวิจัย Research Firm

ที่ปรึกษาทั่วไป Consultants

จากผลการวิเคราะห์ยอดใช้จ่ายของคู่ค้ารายปี ทําให้ CPN สามารถ

รอบปี จํานวน 3,074 ราย พบว่าคู่ค้าในกลุ่มที่ 1 จํานวน 120 ราย

กําหนดแผนการลดต้นทุน รวมถึงการวิเคราะห์และเปรียบเทียบโอกาส

ครอบคลุมร้อยละ 85 ของการว่าจ้างและจัดซื้อทั้งหมด โดยร้อยละ

ในการเลือกใช้เทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ที่คุ้มค่า ทั้งต่อการลงทุนและ

48 เป็นการว่าจ้างและจัดซือ ้ ในส่วนการพัฒนาและก่อสร้างโครงการ

เพื่อสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย โดยในปี 2560 CPN ได้ทําการ

และอีกร้อยละ 30 เป็นการจัดซือ ้ พลังงานเพือ ่ ใช้ในการดําเนินการและ

วิเคราะห์ยอดใช้จ่ายของคู่ค้าที่มีการดําเนินธุรกรรมระหว่างกันใน

บริหารศูนย์การค้าในแต่ละวัน

กระบวนการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน

การประมูล

1

และคัดเลือก การวางแผน และเชิญคู่ค้า

การดำเนินงาน

เข้าร่วมกระบวนการ

ส่งมอบผลิตภัณฑ์

2

3

คัดกรอง

110

และบริการ


รายงานประจํ า ปี 2560

1 •

3

CPN ดําเนินการเชิญคู่ค้าโดยแจ้งขอบเขตแผนงาน โครงการ

กฎหมาย และข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ ด้านแรงงาน

ชัดเจน รวมไปถึงความต้องการพิเศษ เช่น สอดคล้องกับแนวทาง

ความปลอดภัย และด้านสิ่งแวดล้อม

ความยั่งยืนด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเพิ่มเติม โดยยึด

กํ า หนดให้ ก ารส่ ง มอบงาน สิ น ค้ า และบริ ก ารต้ อ งปฏิ บั ติ ต าม

กิจกรรมวัตถุประสงค์และผลสัมฤทธิ์ของโครงการให้ครบถ้วน •

กํ า หนดมาตรฐานในการส่ ง มอบงานให้ เ ป็ น ไปตามกํ า หนดราย

การปฏิบัติตามนโยบายด้านการจัดซื้อจัดจ้างและการปฏิบัติต่อ

ละเอี ย ดของงาน (Specification) ราคากลาง บั ญ ชี แ สดง

คู่ค้า และนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น7

ปริมาณงานและราคากลาง พร้อมแบบและขนาด (TOR: Term of

คู่ค้ารายใหม่ที่สนใจร่วมทําธุรกิจกับ CPN จะต้องทําแบบประเมิน

Reference) และเป็ น ไปตามมาตรฐานระบบบริ ห ารคุ ณ ภาพ

ตนเองตามแบบประเมินคุณสมบัตเิ บือ ้ งต้น หรือ prequalification

องค์กร ตามข้อกําหนดของ ISO 9001 และมาตรฐาน ISO ต่าง ๆ

โดยแยกแบบประเมินออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนการ

ที่กําหนดไว้ นอกจากนั้น ในแต่ละส่วนงานยังได้กําหนดระเบียบใน

พัฒนาและก่อสร้าง และส่วนการบริหารศูนย์การค้าและองค์กร

่ ยืน อาทิ ในส่วนการพัฒนา การส่งมอบงานตามแนวทางความยัง

ซึ่งแบบประเมินทั้ง 2 ส่วน มีเกณฑ์การประเมินใน 3 มิติ คือ (1)

และก่อสร้าง ได้กําหนดให้คู่ค้าปฏิบัติ ดังนี้

ความน่าเชื่อถือของบริษัทและความสามารถทางด้านการบริหาร - จัดทําตารางแผนงานความปลอดภัยในการก่อสร้างครอบคลุม

การเงิน (2) เทคนิคและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี (3) การบริหาร

การพัฒนาพนักงาน ให้การอบรม ช่วยเหลือ ปฐมพยาบาล

ปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

พร้อมตรวจสอบและปรับปรุง - จั ด ทํ า ประกั น ชี วิ ต แรงงาน หากเกิ ด การเสี ย ชี วิ ต ระหว่ า ง

คู่ค้ารายเดิม จะได้รับการพิจารณาเรียนเชิญเมื่อคู่ค้าผ่านการ

ปฏิบัติงาน ซึ่งเพิ่มเติมจากที่กฎหมายไทยกําหนด

ประเมินการปฏิบัติงานรายปีโดยหน่วยงานที่ว่าจ้างโดยตรงและ

- ระบุในสัญญาจ้างอย่างชัดเจนในเรื่องการห้ามจ้างแรงงาน

ผ่านการขึ้นทะเบียนคู่ค้าตามเกณฑ์นโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและ

เด็ก หากจ้างแรงงานต่างด้าวต้องมีใบขออนุญาตทํางาน

การพิจารณาการคงสภาพคู่ค้า

ทุกคน และการจ่ายค่าแรงอย่างเป็นธรรมตามหลักสิทธิมนุษยชน - อํ า นวยความสะดวกกั บ แรงงานอย่ า งเหมาะสม เช่ น การ สร้ า งห้ อ งน้ํ า ห้ อ งอาบน้ํ า ที่ ซั ก ล้ า ง โรงอาหาร ร้ า นค้ า

2 •

CPN จําแนกกระบวนการคัดเลือกคู่ค้าออกเป็น 2 แบบ คือ (1)

สวัสดิการ ห้องรับเลี้ยงดูเด็ก และที่พักอาศัย

การประมูล ทั้งการประมูลแบบเปิดซองสอบราคาพร้อมกัน และ

- คํ า นึ ง ถึ ง ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชน โดยระบุ ใ นสั ญ ญาจ้ า งให้

การประมู ล ด้ ว ยระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ e-auction โดยทั้ ง สอง

ผู้ รั บ เหมาต้ อ งทํ า การสํ า รวจดู แ ลสภาพความเป็ น อยู่ ข อง

ระบบนั้นจะแยกการพิจารณาออกเป็น 2 ส่วน คือ ความสามารถ

เพื่ อ นบ้ า นโดยรอบระหว่ า งการก่ อ สร้ า งโครงการให้ ไ ด้ รั บ

และศั ก ยภาพด้ า นเทคนิค และความคุ้ ม ค่ าของราคา (2) การ

ผลกระทบอันเกิดจากการก่อสร้างน้อยที่สุด และต้องดําเนิน

เปรี ย บเที ย บคู่ ค้ า 3 ราย ยกเว้ น ในกรณี พิ เ ศษตามเงื่ อ นไขใน

การแก้ไขหากมีการร้องเรียน และพิสจ ู น์แล้วว่ามีสาเหตุมาจาก

ระเบียบการจัดซือ ้ จัดจ้าง ของบริษท ั ฯ จึงจะสามารถว่าจ้างได้ตาม

การก่อสร้างของโครงการ

ทะเบียนสินค้าและบริการ e-catalog ทีผ ่ า่ นการเปรียบเทียบราคา •

และกระบวนการประเมินคู่ค้ารายปีเรียบร้อยแล้ว •

ประเมิ น ด้ า นการปฏิ บั ติ ก ารของคู่ ค้ า โดยหน่ ว ยงานที่ ดู แ ล

เกณฑ์ ที่ CPN กํ า หนดในการคั ด เลื อ กคู่ ค้ า ประกอบด้ ว ย (7

รับผิดชอบจะสุม ่ ประเมินการปฏิบต ั ง ิ าน และใช้ผลประเมินประกอบ

Rights) (1) คุณภาพดี Right Quality (2) ราคาดี Right Price

การขึ้นทะเบียนผู้ผลิต/ผู้รับจ้าง ตามเกณฑ์นโยบายการจัดซื้อ

(3) บริการดี เงื่อนไขถูกต้อง Right Service & Condition (4)

จัดจ้างและพิจารณาการคงสภาพผู้ผลิต/ผู้รับจ้างรายนั้น ๆ ใน

ปริมาณถูกต้อง Right Quantity (5) เวลาถูกต้อง Right Time

ปีถัดไป โดยเฉพาะในส่วนการพัฒนาและก่อสร้างที่ประเมินด้าน

(6) แหล่งผลิตถูกต้อง Right Source (7) ส่งสถานที่ถูกต้อง

การปฏิบัติการของผู้รับเหมารายสัปดาห์โดยผู้จัดการโครงการ

Right Place นอกจากนี้ ในแต่ละส่วนจะมีข้อกําหนดในเรื่อง

และสุ่มตรวจหน้างานโดยผู้บริหารระดับสูงของสายงานเป็นระยะ

ปริมาณงานที่จัดจ้างต่อคู่ค้าหนึ่งราย เพื่อให้เกิดความเป็นธรรม

ซึง ่ ประเมินทัง ้ ในส่วนความคืบหน้าโครงการและการปฏิบต ั ก ิ ารของ

หลีกเลีย ่ งการผูกขาด และกระจายความเสีย ่ งในการดําเนินงานและ

คู่ค้าต่อผู้รับเหมาช่วง ในด้านความเป็นธรรม ความปลอดภัย

ส่งมอบงานและบริการ เป็นต้น

สิทธิมนุษยชน และผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน

หมายเหตุ:

7

รายละเอียดเพิ่มเติมใน www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การกํากับดูแลกิจการที่ดี/ นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

111

บทที่ 20

จัดการคุณภาพของงาน และการคํานึงถึงผลกระทบด้านความ


โครงการแนวร่ ว มปฏิ บั ติ ภ าคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต

ประเมิ น เฉพาะด้ า นโดยหน่ ว ยงานผู้ เ ชี่ ย วชาญภายนอก อาทิ ด้านความปลอดภัย ด้านการจราจร ด้านผลกระทบเชิงลบต่อ

โดยผลประเมินความพึงพอใจต่อการจัดงานอยู่ที่ร้อยละ 80 และ

สิง ่ แวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ ซึง ่ ได้รบ ั การรับรอง

ประสงค์อยากให้บริษัทฯ จัดงานเช่นนี้อีกในปีถัดไป

มาตรฐานตามทีก ่ าํ หนด เช่น ISO 9001 และ ISO 14000 เป็นต้น •

ทั้งนี้ แนวทางในการสร้างความผูกพันระหว่างบริษัทฯ กับคู่ค้านั้น CPN จะเน้ น ยํ้ า ให้ ดํ า เนิ น บนพื้ น ฐานความโปร่ ง ใส และเป็ น ธรรม

กําหนดให้คู่ค้ามีการจัดทําแผนงานปฏิบัติการแก้ไข หากมีการ ตรวจพบการละเลย ฝ่าฝืน หรือไม่เป็นไปตามแนวทางด้านความ

ในปี 2560 CPN ได้เน้นย้ํากับคู่ค้าในนโยบายการงดรับของขวัญ

ยั่ ง ยื น ที่ กํ า หนด โดยเฉพาะในส่ ว นการพั ฒ นาและก่ อ สร้ า งนั้ น

ซึ่งมีการปรับกระบวนการภายในให้เป็นรูปธรรม รวมทั้งการสื่อสาร ตอกย้ําไปยังคู่ค้าให้ทราบและเข้าใจในเจตนารมณ์ของ CPN ในเรื่อง

ได้มีการกําหนดบทลงโทษอย่างชัดเจนหากคู่ค้าละเลย หรือฝ่าฝืน ตามแบบประเมินผลความปลอดภัยและกฎระเบียบ •

ดังกล่าวอย่างจริงจังและต่อเนื่อง รวมถึงการขอความร่วมมือคู่ค้า

มี การทบทวนทะเบี ยนและบัญ ชีคู่ ค้าตามรอบที่ กําหนดในแต่ล ะ

ในการดําเนินธุรกิจระหว่างกันตามจรรยาบรรณและแนวทางการ

ส่วนงาน ตามนโยบายการจัดซื้อจัดจ้างและการพิจารณาการคง

ปฏิบัติของคู่ค้าของ CPN รวมทั้งแจ้งช่องทางสําหรับแจ้งเบาะแส

สภาพคู่ค้า

และร้องเรียน ผ่านการสื่อสารและบูรณาการในกระบวนการทํางาน ระหว่างกันในแต่ละขั้นตอนให้ชัดเจนมากขึ้น

การบริหารความสัมพันธ์และการพัฒนาร่วมกับคู่ค้า ตลอดระยะเวลาเกื อ บสี่ ท ศวรรษบนเส้ น ทางสู่ ก ารเป็ น ผู้ นํ า ด้ า น

หนึง ่ ในความภูมใิ จของ CPN คือ การพัฒนาคูค ่ า้ ทางธุรกิจให้สามารถ

อสังหาริมทรัพย์ของ CPN นั้น ผู้เป็นกําลังสําคัญและที่เดินเคียงคู่

เติบโตและขยายผลการดําเนินงานทางธุรกิจได้ทั้งในระดับชาติและ

กันมา คือ คู่ค้าและพันธมิตรทางธุรกิจ ที่ร่วมกันสร้างและพัฒนา

ระดับภูมภ ิ าค เคียงบ่าเคียงไหล่ไปพร้อมกับการเติบโตของ CPN โดย

จนประสบสําเร็จและเจริญเติบโตไปพร้อมกัน เมื่อ CPN มุ่งมั่นที่จะ

ในการพัฒนาคูค ่ า้ นัน ้ CPN จะมุง ่ เน้นแนวทางการพัฒนาใน 2 มิติ คือ

ดําเนินธุรกิจตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน การมีส่วนร่วม

(1) ในส่วนการพัฒนาและก่อสร้างและการปฏิบัติการรวมถึงการ

และรับฟังความคิดเห็นจากคู่ค้าจึงเป็นกระบวนการที่ CPN ให้ความ

ตลาด จะมุ่งเน้นในการพัฒนานวัตกรรมร่วมกัน อาทิ

สําคัญมาโดยตลอด ทั้งรูปแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ โดย 1) ด้านการก่อสร้าง โดยเน้นนวัตกรรมกระบวนการ

ในปี 2560 CPN ได้จัดการประชุมคู่ค้าประจําปีอย่างเป็นทางการ (Supplier Information Meeting) ต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 โดยเชิญ

- การก่อสร้างด้วยผนังเบาและวัสดุทค ี่ งทนและเป็นมิตรต่อ

คู่ค้าจํานวน 58 บริษัท ในส่วนการพัฒนาและก่อสร้างเข้าร่วมการ

สิ่ ง แวดล้ อ ม ทั้ ง ยั ง สามารถนํ า มาโค้ ง งอ ดั ด แปลงให้

ประชุม และ CPN ได้รับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะผ่านการทํา

อ่อนช้อยตามการแบบตกแต่งภายในที่กําหนด

แบบประเมินความคิดเห็นในการทํางานร่วมกันรายปี เพิม ่ เติมจากการ

- นําเสาเข็มหมุดเหล็กแบบสกรูมาปรับใช้ในการเจาะเสาเข็ม

ทําแบบประเมินรายโครงการ รวมทั้งในปีที่ผ่านมา ยังได้ริเริ่มเชิญ

สําหรับงานป้ายหรืองานรัว ้ ชัว ่ คราว ซึง ่ สามารถถอนออก ไปใช้ในงานอื่นต่อไปได้

คู่ค้าที่มีประวัติการดําเนินธุรกิจร่วมกันมายาวนานกว่า 10 ปีขึ้นไป พบปะผูบ ้ ริหารระดับสูงของ CPN อย่างไม่เป็นทางการแบบตัวต่อตัว

- นํ า เทคนิ ค การทํ า กระเบื้ อ งแบบพิ ก เซลมาปรั บ ใช้ ใ นงาน

(One-on-One meeting) เพือ ่ รับฟังข้อเสนอแนะและความคิดเห็น

ปูกระเบือ ้ งด้านนอกอาคาร หรืองานฮาร์ดสเคป นอกจาก

ตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน พร้อมร่วมกันหารือเกี่ยวกับ

จะเพิม ่ ความสวยงามแล้วยังเป็นการใช้เศษกระเบือ ้ งให้เกิด

่ ได้รบ ั การตอบรับที่ การพัฒนานวัตกรรมทางการก่อสร้างร่วมกัน ซึง

ประโยชน์สูงสุด โดยลดปริมาณกระเบื้องที่จะต้องทิ้งโดย

ดีมากจากคู่ค้าในการให้ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง

สูญเปล่า - การประยุกต์นาํ ไม้ ไวนิล และสลิงมาใช้ในการทําฝ้าชัว ่ คราว

และพัฒนาการดําเนินงานระหว่างกันต่อไป

กรณีปรับปรุงพื้นที่ แทนการใช้ผ้าดิบทั่ว ๆ ไป ซึ่งสามารถ นอกจากนี้ การประชุมคู่ค้าประจําปียังเป็นโอกาสที่ดีในการสื่อสาร

ปลดนําไปใช้ในพื้นที่ปรับปรุงอื่นต่อไปได้ เป็นการลดวัสดุ

นโยบายการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ และส่งเสริมการพัฒนาของ

สิน ้ เปลือง และไม่ทาํ ให้ความรูส ้ ก ึ ของลูกค้าสะดุดในการเดิน

คูค ่ า้ โดยได้จด ั สัมมนาให้ความรูเ้ ชิงลึกด้านนวัตกรรมในการออกแบบ และก่อสร้าง และกฎหมายด้านแรงงานและสิทธิมนุษยชน และเน้นย้ํา

ภายในโครงการที่มีทั้งพื้นที่ก่อสร้างและพื้นที่ที่ยังเปิดให้

ในเจตนารมณ์การดําเนินธุรกิจบนหลักบรรษัทภิบาล การต่อต้านการ

2) ด้านงานระบบ เช่น การนําระบบบําบัดน้ําเสีย Deep Shaft

ทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น และการพั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น ของ CPN ตาม

มาประยุกต์ใช้ในโครงการขยายที่มีข้อจํากัดด้านการขยาย

จรรยาบรรณในการทํางานร่วมกันกับคูค ่ า้ 8 และเชิญชวนคูค ่ า้ เข้าร่วม

พื้นที่ในแนวราบ

หมายเหตุ:

8

บริการ

รายละเอียดเพิ่มเติมใน www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การกํากับดูแลกิจการที่ดี/ จรรยาบรรณ/ จรรยาบรรณและแนวทางปฏิบัติของคู่ค้า

112


รายงานประจํ า ปี 2560

อาคารและตัวอาคารอย่างมีดีไซน์และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

3) ด้ า นการบริ ห ารศู น ย์ ก ารค้ า CPN ได้ ร่ ว มกั บ คู่ ค้ า ในการ พัฒนาธุรกิจด้านระบบน้ํารีไซเคิลในอาคารขนาดใหญ่

ดังเช่นการร่วมกับคูค ่ า้ ระดับท้องถิน ่ ผูเ้ ชีย ่ วชาญในด้านการผลิต

4) ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ด้ า นการจั ด การเทคโนโลยี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ร ะบบ

เซรามิค ประยุกต์ดไี ซน์การออกแบบสมัยใหม่ในการผลิตเซรามิค

เครื่ อ งอั ต โนมั ติ ในการนํ า ระบบแนะนํ า ที่ จ อดรถ หรื อ

เฉพาะสํ า หรั บ การตกแต่ ง เสาอาคารในศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล

Parking Guidance System มาใช้ในการบริหารที่จอดรถ

พลาซา ลําปาง การร่วมกับคู่ค้าระดับท้องถิ่นในการจัดสรรการ

และงานจราจร

ใช้ ท รั พ ยากรในช่ ว งการก่ อ สร้ า งกลั บ มาใช้ ใ หม่ ในโครงการ

5) ร่วมกับออร์กาไนเซอร์ในการปรับปรุงและพัฒนากิจกรรม

ก่อสร้างศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย ที่นําทรายมาบดอัด

ทางการตลาดสมัยใหม่ให้ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคที่

เ ป็ น ง า น ชั้ น ร อ ง พื้ น ล า น จ อ ด ร ถ แ ล ะ ง า น ร อ ง พื้ น ท า ง

เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว

รอบโครงการ และนําเศษเสาเข็มที่เหลือจากการตัดกลับมาใช้

6) ร่วมกับผูร้ บ ั เหมาช่วง (Sub-contractor) ในการพัฒนาสร้าง

งานใหม่ โดยนํามาทํากําแพงกันดิน ตอกรับป้ายโครงการ และ

มาตรฐานในการให้บริการสู่ระดับสากล 9

ตอกรับโครงสร้างพื้นสํานักงานบางส่วน หรือในการออกแบบ

(2) ในส่วนการพัฒนาคู่ค้าระดับท้องถิ่นนั้น จะเน้นการนําระบบและ

และตกแต่งด้านหน้าอาคารของศูนย์การค้าเซ็นทรัล พลาซา

กระบวนการคิ ด เพื่ อ ประยุ ก ต์ ศิ ล ปะหั ต ถกรรมพื้ น บ้ า นที่ เ ป็ น

ศาลายา ให้เป็นรูปดอกกล้วยไม้ โดยนําไม้ที่ฉลุออกนํากลับมา ตกแต่งซ้ํา เป็นต้น

เอกลักษณ์ของจังหวัดให้ทันสมัย นํามาตกแต่งทั้งภายนอก

ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนกับผู้มีส่วนได้เสีย: คู่ค้า ผลการดําเนินงานปี 2560 • กําหนดความสัมฤทธิ์ผลของแผนดําเนินงาน จัดการคูค ่ า้ ตามแนวทางการบริหารความยัง ่ ยืน และความเสี่ยงเป็นตัวชี้วัดระดับแผนก ตัวชี้วัด ด้านความยั่งยืน

• ในปี 2560 CPN ได้ดาํ เนินงานตามแผนจัดการ คู่ค้าตามแนวทางการบริหารความยั่งยืนสําเร็จ

แผนปี 2561 • กําหนดสัดส่วนคู่ค้าเข้าร่วมโครงการประกาศ เจตนารมณ์ตอ ่ ต้านทุจริตคอร์รป ั ชัน ่ ของบริษท ั ฯ เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดด้านการบริหารจัดการคู่ค้า และติดตามผลโดยคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ตามเป้าหมาย • คู่ค้าและผู้รับเหมาผ่านการประเมินคุณสมบัติ

ความเสี่ยงของคู่ค้ารายปี และกําหนดมาตรการ

และสังคม จํานวน 136 ราย

ในการลดความเสี่ยงที่เหมาะสมกับคู่ค้า

• ไม่มีอุบัติเหตุ (ขั้นรุนแรง) เกิดขึ้นระหว่าง ดําเนินการก่อสร้างและปรับปรุงโครงการ

สิทธิมนุษยชน การใช้แรงงานผิดกฎหมาย ห่วงโซ่อุปทาน

รายสําคัญที่ต้องพึ่งพากันและกัน • พัฒนาสร้างความสัมพันธ์กับคู่ค้าเชิงลึก โดยการพัฒนาช่องทางการรับฟังข้อคิดเห็น

ในปี 2560 • ไม่พบข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิด การบริหารจัดการ

• ดําเนินการตามแผนทบทวนและประเมิน

ด้านความยั่งยืน ทั้งมิติเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม

หรือการก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนและ

ข้อร้องเรียน และการสื่อสารนโยบายระหว่างกัน • เลื่อนการพัฒนาแผนการพัฒนาคู่ค้าจาก ปี 2560 มาพัฒนาให้เป็นรูปธรรมในปี 2561

สิ่งแวดล้อมในโครงการของ CPN ที่ก่อสร้าง และปรับปรุงในปี 2560 • มีจํานวนโครงการจัดซื้อ จัดจ้างผ่านระบบ ประมูลออนไลน์จํานวน 133 งาน คิดเป็นมูลค่า กว่า 500 ล้านบาท และประสิทธิภาพในการ บริหารต้นทุนเพิ่มขึ้นเท่ากับร้อยละ 31 เมื่อเทียบกับมูลค่าต้นทุนก่อนการประมูล

หมายเหตุ:

9

ดังรายละเอียดใน “การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในทุกจุดของการให้บริการผู้ว่าจ้างภายนอก หน้า 95”

113

บทที่ 20

หัวข้อ


การแสดงความรับผิดชอบ และพัฒนาชุมชน บริบทด้านความยั่งยืน ในทุกพื้นที่ที่ CPN ดําเนินธุรกิจนั้น ล้วนเป็นทําเลและ ชุมชนทีม ่ ศ ี ก ั ยภาพในการเจริญเติบโตในแบบสังคมเมือง และมีรูปแบบการดําเนินชีวิตที่เหมาะสมกับการดําเนิน ธุรกิจศูนย์การค้า มีความพร้อมทั้งในเศรษฐกิจระดับ ภูมภ ิ าคศักยภาพในการจับจ่ายใช้สอย และในการดําเนิน ธุรกิจของผู้ประกอบการท้องถิ่น ดังนั้น CPN และกลุ่ม เซ็นทรัลจึงมีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาสังคม ชุมชน และ ประเทศชาติให้มีความเป็นอยู่และผลักดันเศรษฐกิจใน

ด้านการบริหารจัดการ

ภาพรวมให้เติบโต ดังเป้าหมายในการเป็น “ศูนย์กลาง ของชุ ม ชน” บนพื้ น ฐานของการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ ล ด

CPN กําหนดขอบเขตในการบริหารจัดการชุมชนออกเป็น 2 ระดับ

ผลกระทบเชิงลบต่อชุมชน และพัฒนาชุมชนให้มีความ

คือ (1) ชุมชนโดยรอบโครงการในรัศมี 8-15 กิโลเมตร (2) ชุมชนใน

เป็นอยู่ที่ดีขึ้น ควบคู่กับการส่งเสริมความภาคภูมิใจใน

ระดับจังหวัด โดยแบ่งการบริหารจัดการออกเป็น การลดผลกระทบ

เอกลักษณ์ วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น

ต่อชุมชน และการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน

1. การบริหารจัดการเพื่อลดผลกระทบต่อชุมชน 1) ด้านการจราจร ช่วงก่อนและระหว่างการก่อสร้าง

ในทุกโครงการที่พัฒนา CPN มีการหารือและประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมไปถึงการหารือ

โครงการ

กับตัวแทนภาคประชาสังคมในระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัด ในการวางแผนการเดินรถทั้งระบบ ขนส่งสาธารณะ และยานพาหนะส่วนตัว รวมไปถึงบริหารจัดการการจราจรด้านหน้าโครงการ เพือ ่ เตรียมรับมือกับการจราจรที่เพิ่มขึ้นเมื่อโครงการเปิดดําเนินการ รวมถึงการสํารวจและหารือกับ ตัวแทนชุมชนที่อาศัยในบริเวณที่ติดโครงการ เพื่อหาแนวทางในการระบายการจราจรให้ชุมชนได้ รับผลกระทบน้อยทีส ่ ด ุ และในบางโครงการเป็นการหารือในการเปิดเส้นทางเป็นเส้นทางสาธารณะ เพือ ่ อํานวยความสะดวกให้กบ ั ลูกค้าและชุมชนโดยตรงในการพึง ่ พาเส้นทางการสัญจรระหว่างกัน

ช่วงเปิดดําเนินการแล้ว

CPN กําหนดให้การอํานวยความสะดวกในการเดินทางของลูกค้าและชุมชนละแวกใกล้เคียง เป็นหนึง ่ ในแผนการดําเนินงานประจําของฝ่ายปฏิบต ั ก ิ าร และกําหนดให้มก ี ารพัฒนาและปรับปรุง ทุกปี เพื่อให้ทันและสอดคล้องกับพฤติกรรมการเดินทางสัญจรของผู้บริโภค โดยในปี 2560 มีการดําเนินการดังที่นําเสนอในหน้า 92

114


รายงานประจํ า ปี 2560

2) ด้านสิ่งแวดล้อม ช่วงก่อนและระหว่างการก่อสร้าง

นอกเหนือจากการจัดทีมงานชุมชนสัมพันธ์ทําหน้าที่ดูแลและรับผิดชอบในเรื่องผลกระทบต่อ

โครงการ

ความเป็ น อยู่ ข องชุ ม ชนในละแวกใกล้ เ คี ย งโครงการตลอดการดํา เนิ น งานก่ อ สร้ า งโครงการ แล้วนั้น CPN ยังมีการจัดทํารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมายกําหนดเพื่อ ศึกษาและคาดการณ์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมทั้งเชิงบวกและเชิงลบจากการพัฒนาโครงการ และ ดําเนินการป้องกันและแก้ไข โดยในปี 2560 CPN ได้ดําเนินการร่วมกับกรมชลประทาน ในการ สํารวจผลกระทบต่อการระบายน้ําของชุมชน ที่โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา เพื่อลดผลกระทบด้านน้ําท่วมและน้ําเสียในภาพรวม อนึ่ง ในปี 2560 CPN ไม่มีการดําเนินการใด ที่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ช่วงเปิดดําเนินการแล้ว

CPN นํามาตรฐาน ISO 14000 มาใช้ในการดําเนินการดูแลสิ่งแวดล้อมของโครงการและชุมชน โดยรอบ โดยเฉพาะผลกระทบจากขยะและน้ําเสีย โดยในปี 2560 CPN ได้ดําเนินโครงการเซ็นทรัล กรีน (Central Green Project) ร่วมกับกลุ่มเซ็นทรัล ภาครัฐ ภาคเอกชนและชุมชนละแวก ใกล้เคียงในการดูแลรักษาสิง ่ แวดล้อมของชุมชนร่วมกัน โดยมุง ่ เน้นในด้านการดูแลรักษาคูคลอง การจัดการขยะ และเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กับชุมชน (รายละเอียดเพิ่มเติมในหน้า 127)

บริจาคโลหิต โดยในปี 2560 กําหนดการดําเนินงานรับบริจาค

2. การสร้างความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน

ภายใต้โครงการ “กลุ่มเซ็นทรัล ขอเชิญชวน ทําความดี บริจาค CPN แบ่งการสร้างความสัมพันธ์อน ั ดีกบ ั ชุมชนออกเป็น 4 แนวทาง

พระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพ ิ ลอดุลยเดช โดยเปิดรับบริจาคทั้งสิ้นจํานวน 85 ครั้ง ได้โลหิตจํานวน 3.34

1) การสร้างสิ่งปลูกสร้างเพื่อสาธารณประโยชน์ อันมีวัตถุประสงค์

ล้าน ซี.ซี.

เพือ ่ เสริมสร้างความเป็นอยูท ่ ด ี่ ข ี น ึ้ ให้กบ ั ชุมชน อาทิ ด้านคมนาคม เช่น การก่อสร้างสะพานกลับรถ สะพานลอย สะพานทางเชื่อม

3) การบริจาคให้กบ ั ชุมชน องค์กรการกุศล หน่วยงานทีเ่ หมาะสมและ

ขนส่งสาธารณะ และเกาะกลางถนน เป็นต้น ด้านสุขอนามัย เช่น

มีความเกี่ยวเนื่องกับชุมชนที่ CPN ดําเนินธุรกิจอยู่ รวมไปถึง

สถานีอนามัยชุมชน เป็นต้น โดยในปี 2560 CPN โดยศูนย์การค้า

การบริจาคเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ และการบริจาคเพื่อ

เซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และเซ็นทรัล

การศึกษา โดยในปี 2560 CPN ได้บริจาคให้กับมูลนิธิต่าง ๆ เช่น

มารี น า ร่ ว มกั บ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ในการเตรี ย มการก่ อ สร้ า งจุ ด พั ก

มูลนิธิสายใจไทย มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิทุนการศึกษาสมเด็จ

สําหรับผู้ที่ปั่นจักรยานในพื้นที่ป่าสิริเจริญวรรษ จังหวัดชลบุรี

พระเทพฯ มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย กองทุนเงินช่วยเหลือ

เพือ ่ อํานวยความสะดวกและความปลอดภัยสําหรับผูใ้ ช้บริการ และ

ผูป ้ ระสบสาธารณภัย สํานักนายกรัฐมนตรี มูลนิธเิ พือ ่ สิง ่ แวดล้อม

เป็นการปลูกจิตสํานึกทีด ่ ใี นการรักษ์ผน ื ป่า นอกจากนัน ้ ยังร่วมกับ ้ กลุ่มเซ็นทรัลในการก่อสร้างห้องนําต้นแบบที่สะอาด ปลอดภัย

นอกจากนี้ เ นื่ อ งจากเหตุ อุ ท กภั ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในปี ที่ ผ่ า นมา CPN

และได้ ม าตรฐานตามหลั ก การอารยสถาปั ต ย์ (Universal

ร่วมกับกลุม ่ เซ็นทรัลมอบถุงยังชีพเพือ ่ ช่วยเหลือผูป ้ ระสบอุทกภัย

Design) สําหรับทุกเพศ ทุกวัย รวมทั้งผู้พิการและผู้สูงอายุ ให้

จํ า นวน 10,200 ครั ว เรื อ น/ถุ ง ในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ

มูลนิธิเตียง จิราธิวัฒน์ เป็นต้น เป็นจํานวนเงิน 32.42 ล้านบาท

แก่กรุงเทพมหานคร โดยติดตัง ้ ณ สวนลุมพินี เพือ ่ เป็นการพัฒนา

ได้ แ ก่ สกลนคร ร้ อ ยเอ็ ด อุ บ ลราชธานี อุ ด รธานี ขอนแก่ น

คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน

นครราชสีมา ภาคกลางและตะวันตก ได้แก่ สุพรรณบุรี อยุธยา เพชรบุรี และภาคใต้ ได้แก่ นครศรีธรรมราช ตรัง สุราษฎร์ธานี

2) การสนับสนุนในรูปแบบที่ไม่ใช่ตัวเงิน โดยการจัดสรรพื้นที่โดย

สงขลา รวมเป็นงบประมาณทั้งสิ้น 8.2 ล้านบาท

ไม่ คิ ด ค่ า ใช้ จ่ า ย หรื อ ในราคาลดพิ เ ศษกั บ หน่ ว ยงานราชการ สถานศึกษา หน่วยงานภาคประชาสังคม และหน่วยงานที่ไม่หวัง

4) การจัดกิจกรรม CPN อาสา ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ CPN สนับสนุน

ผลกําไร ในการจัดแสดงนิทรรศการ การจัดตั้งพื้นที่พิเศษเพื่อให้

ค่าใช้จ่ายและเปิดโอกาสให้พนักงาน ใช้เวลาในชั่วโมงการทํางาน

บริการประชาชน รวมทั้งการตั้งกล่องรับบริจาค เป็นต้น โดย

ในการทํากิจกรรมอาสาเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน และมีส่วนร่วม

โครงการที่ทําต่อเนื่องทุกปีตั้งแต่ปี 2557 คือ การร่วมกับกลุ่ม

กับชุมชนในการส่งเสริมให้มีความเป็นอยู่ที่ดี โดยแบ่งกิจกรรม

เซ็นทรัล สภากาชาดไทยและกาชาดภาค/ จังหวัด เปิดพืน ้ ทีเ่ พือ ่ รับ

ออกเป็น (1) ด้านสุขภาพและความปลอดภัย เช่น การสอนดับเพลิง

115

บทที่ 20

โลหิ ต น้ อ มจิ ต รํ า ลึ ก สํ า นึ ก ในพระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ ถวายเป็ น

ได้แก่


การบริการล้างเครือ ่ งปรับอากาศให้กบ ั หน่วยงานรัฐ (2) ด้านการ

2) จุดหมายของไลฟ์สไตล์ โดยมุ่งเน้นความร่วมมือกับทุกภาคส่วน

พั ฒ นาชุ ม ชนและสิ่ ง แวดล้ อ ม เช่ น การปลู ก ป่ า การทํ า ความ

ในการสร้างกิจกรรมทางการตลาดที่สามารถมอบประสบการณ์ ที่แปลกใหม่ ล้ําและทันสมัย ตรงกับรูปแบบการใช้ชีวิตของคนใน

สะอาดใหญ่ (Big Cleaning Day) การขุดลอกคูคลอง และ (3) ด้านการศึกษา เช่น โครงการ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย โดยในปี

พื้นที่ที่สุด เพื่อให้ชุมชนได้สัมผัสกับประสบการณ์การใช้ชีวิตที่ดี

2560 CPN มีการจัดกิจกรรมอาสาทั้งสิ้น 54 กิจกรรม โดยมี

ที่สุดในทุกภูมิภาคของประเทศ

จํานวนพนักงานเข้าร่วมกิจกรรมทั้งสิ้น 1,774 คน (นับเฉพาะ ข้ อ มู ล ที่ มี ก ารรวบรวมและนั บ ซํ้ า คน) เพิ่ ม ขึ้ น จากปี 2559

3) ศูนย์กลางธุรกิจท้องถิ่น โดยมุ่งเน้นความร่วมมือกับหน่วยงาน และสถาบันทางการค้าทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชนในการ

ร้อยละ 200 เนื่องมาจากการปรับรูปแบบกิจกรรมให้พนักงาน

สนับสนุนผู้ประกอบการท้องถิ่น และผู้ประกอบการรายย่อย เพื่อ

และชุมชนสามารถมีส่วนร่วมได้มากขึ้น

ผลักดันและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน และขับเคลือ ่ น ประเทศไทยให้เติบโตได้ในตลาดโลกอย่างยั่งยืนอาทิ

ด้านการสร้างความผูกพัน

- งาน “SMEs Fest ชม ชิม ช้อป” งานแสดงและจัดจําหน่าย

CPN มีเจตนารมณ์ตง ั้ มัน ่ ทีจ ่ ะเป็นส่วนหนึง ่ ของชุมชนและสร้างความ

สิ น ค้ า ของดี เ อสเอ็ ม อี ท้ อ งถิ่ น ทั่ ว ทุ ก ภู มิ ภ าคไทย ภายใต้

ภาคภูมิใจให้กับชุมชน อีกทั้งเห็นคุณค่าและยกย่องในเอกลักษณ์

โครงการประชารัฐผสานความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน

วัฒนธรรม และประเพณีทอ ้ งถิน ่ ในทุกพืน ้ ทีท ่ ไี่ ด้มโี อกาสดําเนินธุรกิจ

โดยความร่วมมือระหว่าง CPN สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจ

ดั ง นั้ น จึ ง กํ า หนดให้ ก ารผสมผสานเอกลั ก ษณ์ แ ละวั ฒ นธรรม

ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) และหอการค้าไทย ในการ

ท้ อ งถิ่ น เป็ น หนึ่ ง ในแนวทางการดํ า เนิ น งานในส่ ว นการพั ฒ นา

จัดหาโอกาสและช่องทางจัดจําหน่าย สนับสนุนผูป ้ ระกอบการ

โครงการ เช่น การตกแต่งด้านหน้าตัวอาคาร และการตกแต่งภายใน

เอสเอ็มอีท้องถิ่นหน้าใหม่กว่า 3,300 ราย ให้ได้มีโอกาสเข้าสู่

และในส่ ว นการจั ด กิ จ กรรมทางการตลาด เพื่ อ ช่ ว ยสร้ า งความ

ช่องทางค้าปลีกสมัยใหม่ พบปะผูบ ้ ริโภค และเพิม ่ โอกาสการขาย

ภาคภูมิใจให้กับคนท้องถิ่น ส่งเสริมการท่องเที่ยวของจังหวัด และ

โดยจัดกิจกรรมหมุนเวียนไปยังพื้นที่ในโครงการของ CPN

สร้างรายได้ให้กับชุมชนในทางอ้อม

ทั่ ว ประเทศ จํ า นวน 9 แห่ ง ได้ แ ก่ เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เซ็ น ทรั ล พลาซา บางนา เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ เซ็นทรัลพลาซา

ในปี 2560 CPN ได้รับแรงบันดาลใจจากนิทานพื้นบ้านเรื่องตํานาน “กลีบดอกสะเลเต (ภาษาถิ่น) หรือ ดอกมหาหงส์” จึงนํามาประยุกต์

พระราม 2 เซ็นทรัลพลาซา เชียงราย เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี

ในการออกแบบตัวอาคารภายนอกของโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัล

เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น เซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ และ

พลาซา นครราชสีมา โดยใช้โทนสีขาวตัดสีสม ้ เฉดชมพู ส่วนการตกแต่ง

เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ และมีการจับคู่ทางธุรกิจกับทาง

ภายในโครงการจะแตกต่างกันในแต่ละชั้นตามแนวคิด สีสันแห่งชีวิต

บริ ษั ท ในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ร่ ว ม 777 ราย ภายหลั ง การจั ด งาน

ในบรรยากาศสีสัน 5 ฤดูกาล โดยตกแต่งฤดูละชั้น ทั้งหมด 5 ชั้น

สามารถสร้างมูลค่าทางการค้ากว่า 130 ล้านบาท

รวมชั้นใต้ดิน ในส่วนโครงการเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ซึ่งอยู่ในพื้นที่

- งาน “สินค้าชุมชนของเรา” งานแสดงและจัดจําหน่ายสินค้า

อําเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ซึง ่ เป็นจังหวัดชายทะเลคนในท้องถิน ่

่ ทุกภูมภ ิ าคไทย ภายใต้ความร่วมมือ คุณภาพดีจากเกษตรกรทัว

ประกอบอาชีพประมงทะเล CPN จึงได้นําแนวคิด “เรือมหานาวา”

ระหว่าง CPN กลุ่มเซ็นทรัล และกระทรวงพาณิชย์ ในการเปิด

มาประยุ ก ต์ ใ นการออกแบบตั ว อาคารโดยให้ มี รู ป ทรงคล้ า ย

พื้นที่ในการจําหน่ายสินค้าของดี มีคุณภาพ ปลอดสารพิษ

เรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ และสร้างสรรโซนของฝาก “สามสมุทร” เพือ ่

และเป็นสินค้าหายาก รวมไปถึงสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์

ส่งเสริมการจําหน่ายของฝากของดีประจําจังหวัด

จํานวนกว่า 100 รายการจาก 55 ชุมชน โดยจัดกิจกรรม

ในส่ ว นการจั ด กิ จ กรรมทางการตลาดเพื่ อ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ค่ า และ

จําหน่ายสินค้าดังกล่าวหมุนเวียนไปยังพื้นที่ในโครงการของ

เอกลักษณ์ของจังหวัดนั้น ในปี 2560 CPN ได้วางเป้าหมายในการ

CPN ที่ตรงกับไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภค จํานวน 4 แห่ง ได้แก่

จัดกิจกรรมทางการตลาดเพือ ่ มุง ่ สูก ่ ารพัฒนาศูนย์การค้าของ CPN

เซ็นทรัลเวิลด์ เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ เซ็นทรัลพลาซา

ให้เป็นศูนย์กลางการใช้ชีวิต และศูนย์กลางของชุมชน โดยแบ่งกรอบ

บางนา และเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น

การจัดกิจกรรมทางการตลาดออกเป็น 3 แนวทาง ได้แก่ 1) ศูนย์กลางของเมือง โดยมุ่งเน้นความร่วมมือกับทางหน่วยงาน ภาครัฐและประชาสังคม โดยเฉพาะโครงการสานพลังประชารัฐ เพื่อสร้างกิจกรรมทางการตลาดที่สะท้อนและส่งเสริมให้คนใน ท้องถิ่นเกิดความภาคภูมิใจในเอกลัษณ์ของเมือง

116


รายงานประจํ า ปี 2560

จํานวนกิจกรรมที่จัดขึ้น

ตัวอย่างกิจกรรม ศูนย์กลางของเมือง

ในปี 2560 (กิจกรรม)

• งานโครงการหลวง ที่เซ็นทรัลเวิลด์ • ศิลปวัฒนธรรม เกาะเกร็ด วิถีชีวิตสายน้ํา ที่เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต

64

• คิงออฟทุเรียน ที่เซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต • เดอะเบสออฟนนทบุรี ที่เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ • มหัศจรรย์สวนขวดแก้วขนาดใหญ่ ที่เซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี • มิราเคิลออฟแคนเดิล-มหัศจรรย์นาคราช ที่เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี • ย้อนอดีตตลาดโบราณ 859 ปี นครศรีธรรมราช (Nakorn Si Old Town) ที่เซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช จุดหมายของไลฟ์สไตล์

47

• งานสงกรานต์เฟสติวัล • ไทยแลนด์สมายแจ็ส • ไทยแลนด์ทอยเอ็กซ์โป • กรุงเทพธารา • เพ็ทเอ็กซ์โปแชมเปี้ยนชิฟ • แบดมินตันอคาเดมีแชมเปี้ยนชิพ • งานวิ่งและปั่นเพื่อโครงการบ้านพิงพัก (Run&Ride for Pink Pak)

35

• SMEs Fest ชม ชิม ช้อป • สินค้าชุมชนของเรา

บทที่ 20

ศูนย์กลางธุรกิจท้องถิ่น

• โอท็อปซิตี้ • เซ็นทรัลกรุ๊ปฟาร์มเมอร์มาร์เกต • จีไอมาร์เก็ต “GI: Geographical Indication”

117


ด้านการพัฒนา นับเป็นเวลากว่า 3 ทศวรรษ ที่ CPN ร่วมกับกลุม ่ เซ็นทรัล มูลนิธเิ ตียง จิราธิวัฒน์ และพันธมิตรทางธุรกิจ ร่วมกันพัฒนาและสร้างความ เข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมีการพัฒนาปรับปรุงกระบวนการภายใน และแนวทางในการพัฒนาชุมชนให้ตรงกับความต้องการพื้นฐาน ความถนัด ความเชี่ยวชาญ และศักยภาพของชุมชน สอดคล้องกับ เป้าหมายทางธุรกิจของกลุ่มเซ็นทรัลควบคู่กันไป ตามแนวทางการ พั ฒ นาอย่ า งยั่ ง ยื น และการกระจายรายได้ สู่ ท้ อ งถิ่ น โดยจํ า แนก กรอบในการพัฒนาชุมชนออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ (1) การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยมุ่ ง หวั ง ในการสร้ า งเศรษฐกิ จ ระดั บ ท้ อ งถิ่ น ให้ ส ามารถพึ่ ง พา ตนเองได้อย่ างมั่ นคง และเข้มแข็งภายใต้ “โครงการสินค้ าชุมชน ของเรา” ซึ่งพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรมอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 โดย การนําองค์ความรูด ้ า้ นค้าปลีกทีก ่ ลุม ่ เซ็นทรัลเชีย ่ วชาญมากว่า 70 ปี มาถ่ายทอดให้แก่ชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชน จากกลุ่ม เกษตรกรให้เติบโตไปสู่ธุรกิจเอสเอ็มอี จวบจนสามารถจําหน่ายและ ส่งออกผลผลิตได้ตามลําดับ โดยกระบวนการดําเนินงานของโครงการ จะเป็นไปในทิศทางเดียวกับ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ภูมิภาคของ ประชารัฐ ประกอบด้วยการพัฒนา 3 ด้าน ได้แก่ 1) พัฒนาคน - แนะนําการคัดสรรสินค้าส่งเสริมการผลิตสินค้าทีเ่ ป็น มิตรกับสิ่งแวดล้อม การออกแบบสินค้า และการจัดทําบัญชี 2) พั ฒ นาผลิ ต ภั ณ ฑ์ - สนั บ สนุ น งบประมาณในการก่ อ สร้ า งสิ่ ง

นอกจากนี้ CPN และกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ได้ ร่ ว มกั น สนั บ สนุ น เกษตรกร

ปลูกสร้าง

ผู้ผลิตสินค้าที่ตั้งชื่อตามสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (Geographical

3) พัฒนาชุมชน - เมื่อสินค้าชุมชนถูกนํามาจําหน่าย แปรรูป หรือ

Indication: GI) หรือเกษตรกรจีไอ GI ทีด ่ ม ี ค ี ณ ุ ภาพจํานวนกว่า 30

จัดกิจกรรมทางการตลาด ผ่านบริษัทในเครือของกลุ่มเซ็นทรัล

รายการ อาทิ ข้าวหอมมะลิทง ุ่ กุลาร้องไห้ กาแฟดอยตุง กาแฟดอยช้าง

จะส่ ง ผลให้ ชุ ม ชนมี ร ายได้ อี ก ทั้ ง ยั ง ส่ ง ต่ อ ความรู้ ที่ ไ ด้ รั บ ไป

ข้าวแต๋นลําปาง และข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง เป็นต้น โดยเพิ่มมูลค่า

ช่ วยเหลือชุ มชนอื่ น ๆ ผลัก ดัน ให้เศรษฐกิ จท้ องถิ่ นเข็มแข็งใน

ให้กบ ั สินค้า เช่น การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การจัดกิจกรรมทางการตลาด

ภาพรวม

และเพิ่มช่องทางในการจัดจําหน่ายสินค้าผ่านช่องทางธุรกิจค้าปลีก สมัยใหม่ ผ่านบริษท ั ในเครือกลุม ่ เซ็นทรัล ซึง ่ เป็นการผลักดันเกษตรกร

โดยในปี 2560 การดําเนินงานภายใต้โครงการเซ็นทรัลอาสาพัฒนา ชุมชน ได้สนับสนุนการสร้างอาคารคัดบรรจุผักสหกรณ์ผลิตผักน้ํา

โดยตรงอย่างต่อเนื่อง จริงจัง และเป็นรูปธรรม จน CPN และกลุ่ม เซ็นทรัลได้รับรางวัล “ทูต จีไอแห่งเอเซีย” จากกรมทรัพย์สินทาง

ดุกใต้จํากัด ต.ปากดุก อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ ซึ่งสร้างขึ้นตาม

ปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เป็นการยืนยันความมุ่งมั่นและตั้งใจจริง

มาตรฐานของผักปลอดภัย สอดคล้องกับมาตรฐาน GMP ด้วยเงิน

ดังกล่าว

สนับสนุนงบประมาณ 2 ล้านบาท และเปิดช่องทางการจําหน่ายและ การทําตลาดผ่านบริษัทในเครือ ส่งผลให้ยอดการขายผักของชุมชน

(2) การพัฒนาด้านการศึกษา

เพิม ่ สูงขึน ้ จากก่อนเข้าร่วมโครงการกว่าร้อยละ 135 สร้างรายได้ให้กบ ั ท้องถิ่นเป็นเงิน 25 ล้านบาทต่อปี ครอบคลุมเกษตรกรที่เข้าร่วมเป็น

โดยมุ่ ง หวั ง ในการพั ฒ นาการศึ ก ษาของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น และกลุ่ ม

สมาชิกจํานวน 156 ครัวเรือน ในพื้นที่ 4 อําเภอในจังหวัดเพชรบูรณ์

ผู้ด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพที่ดีทั้งใน

อนึ่งนับถึงปัจจุบัน การดําเนินงานภายใต้โครงการ “สินค้าชุมชน

ด้านสถานที่ วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือสําหรับการเรียนรู้ รวมถึง

ของเรา” ครอบคลุ ม ชุ ม ชนทั้ ง สิ้ น 123 ชุ ม ชน ใน 49 จั ง หวั ด

การพั ฒ นาคุ ณ ภาพ ทั ก ษะและแนวคิ ด ของคุ ณ ครู และปลู ก ฝั ง

ทั่วประเทศไทย มีสินค้าที่ได้รับการพัฒนาแล้วกว่า 1,508 รายการ

ค่านิยมที่พึงประสงค์ให้กับนักเรียน โดยในปี 2560 CPN และกลุ่ม

ทั้งยังสร้างรายได้คืนกลับสู่ชุมชนไปแล้วรวมกว่า 637 ล้านบาท

เซ็นทรัลได้ดําเนินการภายใต้ “โครงการเซ็นทรัลมุ่งมั่นพัฒนาการ

118


รายงานประจํ า ปี 2560

1) โครงการสร้างตัวแทนหุ้นส่วนโรงเรียน หรือ School Agent

ศึ ก ษา และ CPN เพาะกล้ า ปั ญ ญาไทย” ให้ กั บ โรงเรี ย น 8 แห่ ง

Program โดยเปิดรับสมัคร “เซ็นทรัลอาสา” ทําหน้าที่ร่วมกับ

ใน 6 จังหวัด ดังต่อไปนี้

โรงเรียนประชารัฐ เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนให้มีความยั่งยืน 1) โรงเรียนชลประทานเขือ ่ นแม่กวง (จิราธิวฒ ั น์อป ุ ถัมภ์) อ.สันทราย

มีการอบรมก่อนการลงพืน ้ ทีเ่ พือ ่ เก็บข้อมูล และทําความเข้าใจกับ

จ.เชียงใหม่

ผูอ ้ าํ นวยการ ครูและนักเรียน เพือ ่ ให้รจ ู้ ก ั ชุมชน รูจ ้ ก ั อาชีพในชุมชน

2) โรงเรียนวัดป่าข่อยใต้ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 3) โรงเรียนบ้านนาทรายนํา้ รอด อ.พิบูลย์รักษ์ จ.อุดรธานี

และรับทราบความต้องการที่แท้จริงของชุมชนเพื่อนํามาพัฒนา ต่อยอดร่วมกัน

4) โรงเรี ย นบ้ า นโป่ ง แมลงวั น (จิ ร าธิ วั ฒ น์ อุ ป ถั ม ภ์ ) อ.เมื อ ง

2) โครงการอบรมและพัฒนาครู หรือ Teacher Development

จ.นครราชสีมา

Program เป็นการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพครูใน 5 ด้าน ได้แก่

5) โรงเรียนบ้านหนองสองพี่น้อง อ.ห้วยยอด จ.ตรัง

(1) ภาษาอังกฤษ (2) การบูรณาการวิชา STEM (3) การทําสื่อ การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (4) การอบรมครูเพือ ่

6) ศูนย์การเรียนตชด. บ้านจะนู อ.เมือง จ.เชียงราย (อยู่ระหว่าง

พัฒนาเทคนิคการเรียนการสอนด้านคุณธรรมจริยธรรม และ

ดําเนินการก่อสร้าง)

(5) การอบรมเพื่อพัฒนาโรงเรียนให้เป็นสถานศึกษาพอเพียง

7) โรงเรี ย นบ้ า นนาสะอุ้ ง อ.หล่ ม เก่ า จ.เพชรบู ร ณ์ (อยู่ ร ะหว่ า ง

3) โครงการเปลีย ่ นแปลงห้องเรียนสูก ่ ารเป็นห้องเรียนภาษาอังกฤษ

ดําเนินการก่อสร้าง)

ห้องเรียนพอเพียง และห้องเรียนคุณธรรมโดยมีนักเรียน ครู

8) โรงเรียนตชด.บ้านหินจอก อ.ปะเหลียน จ.ตรัง (อยูร่ ะหว่างดําเนิน การก่อสร้าง) กิจกรรมการพัฒนาด้านการศึกษา ประกอบด้วย การปรับปรุงหรือ

(3) การมอบโอกาสให้กับผู้ด้อยโอกาส

ก่อสร้างโรงอาหาร ครัวอนามัย ห้องสุขา สนามเด็กเล่น แปลงปลูกผัก

CPN ดําเนินธุรกิจโดยเคารพในหลักสิทธิมนุษยชน ให้โอกาสและความ

เพื่อโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ครุภัณฑ์และอุปกรณ์การ

เท่าเทียมทางสังคมกับผู้ด้อยโอกาสในด้านต่าง ๆ อาทิ (1) การเข้าถึง

ศึกษา รวมถึงการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างเสริมลักษณะนิสัยที่ดีให้กับ

การศึกษา โดยติดตัง ้ ดาวเทียมเพือ ่ การเรียนรูท ้ างไกลภายใต้โครงการ

นักเรียน อาทิ การคัดแยกขยะ การปลูกผัก การเพิ่มมูลค่าจากขยะ

CPN เพาะกล้ า ปั ญ ญาไทย เพื่อ สถานพิ นิจ และคุ้ม ครองเด็ ก และ

การจัดกิจกรรมตลาดนัดศูนย์บาท และการดับเพลิงเบือ ้ งต้น เป็นต้น

เยาวชนจํานวน 87 แห่งทัว ่ ประเทศ (2) การเปิดโอกาสในการประกอบ อาชีพโดยสุจริตแก่ผพ ู้ ก ิ าร โดยการจัดสรรพืน ้ ทีพ ่ เิ ศษฟรีให้กบ ั ผูพ ้ ก ิ าร

นอกจากนี้ CPN โดยพนักงาน CPN อาสา และกลุ่มเซ็นทรัล ยังได้

ได้ จํ า หน่ า ยสลากกิ น แบ่ ง รั ฐ บาลโดยถู ก ต้ อ งตามกฎหมายในพื้ น ที่

เข้ า ร่ ว มโครงการสานพลั ง ประชารั ฐ ด้ า นการศึ ก ษา เพื่ อ พั ฒ นา

ทีเ่ ห็นชอบบนประโยชน์ของผูพ ้ ก ิ ารเป็นทีต ่ ง ั้ โดยในปี 2560 มีผพ ู้ ก ิ าร

กระบวนการเรียนรู้ให้กับโรงเรียนประชารัฐใน 6 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่

จํานวน 45 ราย เข้าร่วมโครงการจัดสรรพื้นที่พิเศษดังกล่าว ใน

จังหวัดระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และนครศรีธรรมราช ซึ่งมี

โครงการศูนย์การค้าของ CPN จํานวน 20 โครงการ คิดเป็นสัดส่วน

โรงเรียนเข้าร่วมโครงการทัง ้ สิน ้ 62 โรงเรียน ครอบคลุมพืน ้ ทีจ ่ าํ นวน

ร้อยละ 1 ต่อพนักงานทั้งหมด นอกจากนั้น CPN และกลุ่มเซ็นทรัล

209 หมู่บ้าน และมีครูและนักเรียนจํานวนกว่า 15,000 คน เข้าร่วม

ได้สานต่อโครงการพัฒนาศักยภาพชีวิตคนพิการ หรือ Central

โครงการ โดยแบ่งแนวทางการพัฒนาออกเป็น 2 ส่วน คือ 1) การ

C.A.R.E for Disability มอบเงินสนับสนุนแก่คนพิการให้สามารถ

พัฒนาครูผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ และ 2) การสร้างโครงการ

มีความรู้ในการประกอบอาชีพ โดยสนับสนุนทั้งหมด 8 โครงการ

ที่สอดคล้องจากการอบรมเชิงปฏิบัติการผ่านงบประมาณสนับสนุน

ใน 7 จังหวัด รวมคนพิการทั้งหมดภายใต้โครงการดังกล่าวจํานวน

ตัวอย่างการดําเนินงานในช่วงปี 2560 ได้แก่

195 ราย

119

บทที่ 20

และปราชญ์ชุมชน เป็นแกนนําในการเปลี่ยนแปลง


ผลการดําเนินงานด้านความยั่งยืนกับผู้มีส่วนได้เสีย: ชุมชน หัวข้อ

ผลการดําเนินงานปี 2560 • กําหนดความสัมฤทธิ์ผลของแผนดําเนินงาน

ตัวชี้วัด ด้านความยั่งยืน

แผนปี 2561 • กําหนดความสัมฤทธิ์ผลของแผนงานการสร้าง

การแสดงความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน

คุณค่าร่วมกับชุมชน (Creating Shared

เป็นตัวชี้วัดระดับแผนกและติดตามผลโดย

Value) เป็นตัวชี้วัดระดับองค์กร โดยตั้ง

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนา

เป้าหมายชั่วโมงอาสาของพนักงานจํานวน

อย่างยั่งยืน

5,000 ชั่วโมง

• ในปี 2560 CPN ดําเนินงานตามแผนการแสดง ความรับผิดชอบและพัฒนาชุมชน ครบ ร้อยละ 100 (ทั้งนี้รวมโครงการเซ็นทรัลกรีน ในหมวดสิ่งแวดล้อม) • จัดกิจกรรมทางการตลาดสู่การเป็นศูนย์กลาง

• เพิ่มจํานวนกิจกรรมทางการตลาดสู่การเป็น

การใช้ชว ี ต ิ และศูนย์กลางของชุมชน รวมทัง ้ สิน ้

ศูนย์กลางของการใช้ชีวิตและศูนย์กลางของ

146 กิจกรรม แบ่งเป็นกิจกรรมตามแนวทาง

ชุมชนขึ้นร้อยละ 8 เทียบกับปีที่แล้ว

ศูนย์กลางของเมืองร้อยละ 44 จุดหมายของ ไลฟ์สไตล์ร้อยละ 32 และ ศูนย์กลางธุรกิจ • สนับสนุนพื้นที่ให้หน่วยงานภาครัฐและชุมชน

• สนับสนุนการพัฒนาด้านการศึกษาผ่าน

โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายเป็นงบประมาณกว่า

โครงการ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย และ

143 ล้านบาท

โครงการสานพลังประชารัฐ โดยเน้นในชุมชน

• สนับสนุนกําลังคน และงบประมาณในการ ดําเนินโครงการ CPN อาสา และโครงการสร้าง คุณค่าร่วมกับชุมชนรวม 5 ล้านบาท (รวมยอดเงินสนับสนุนโครงการ CPN เพาะกล้า และพัฒนาชุมชน

ในองค์กรแบบสองทาง คือ กําหนดจากองค์กร และนําเสนอโดยพนักงาน

ท้องถิ่นร้อยละ 24

การแสดงความรับผิดชอบ

• ดําเนินงานตามแผนงานสร้างวัฒนธรรมอาสา

ปัญญาไทย เพื่อสถานพินิจและคุ้มครอง เด็กและเยาวชน) และนับจํานวนชั่วโมงอาสาได้ ทั้งหมด 4,500 ชั่วโมง (นับซ้ําคน) • สนับสนุนและร่วมกับกลุ่มเซ็นทรัลในการดําเนิน โครงการเพื่อสังคมในนาม “เซ็นทรัล ทํา” รวมเป็นเงิน 18.6 ล้านบาท และดําเนินงาน ภายใต้โครงการสานพลังประชารัฐ (นับเฉพาะ ในด้านการศึกษา) เป็นงบประมาณ 15.8 ล้านบาท (คํานวณยอดรวมของทั้งกลุ่ม เซ็นทรัล) ่ การกุศลผ่านมูลนิธต ิ า่ ง ๆ • บริจาคเพือ รวมเป็นเงิน 32.4 ล้านบาท

120

ที่มีการดําเนินธุรกิจอยู่


รายงานประจํ า ปี 2560

การบริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม บริบทความยั่งยืน CPN ตระหนักถึงผลกระทบของภาวะโลกร้อนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศไม่เพียงแต่ส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อการ ดําเนินธุรกิจในการวางแผนก่อสร้างอาคารในทางกายภาพเท่านั้นแต่ยังส่งผลกระทบทางอ้อมต่อการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในกรณีภัยธรรมชาติ เช่น น้าํ ท่วม แผ่นดินไหว ทําให้ธุรกิจต้องหยุดชะงักหรือลูกค้าไม่สามารถเดินทางมาใช้บริการที่ศูนย์การค้าได้ ทั้งนี้ CPN ได้ระบุความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศดังกล่าวเป็นหนึ่งในประเด็นด้านความยั่งยืนขององค์กร และ กําหนดแผนป้องกันความเสี่ยง และแผนการดําเนินธุรกิจบนพื้นฐานการใช้ทรัพยากร โดยเฉพาะพลังงานไฟฟ้าและนํ้า อย่างมี ประสิทธิภาพอย่างรู้คุณค่าและคุ้มค่าที่สุด และมุ่งมั่นที่จะใช้ทรัพยากรทางเลือกที่เหมาะสมในการดําเนินธุรกิจโดยลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมในภาพรวม

ด้านการบริหารจัดการ

การดําเนินงานด้านการบริหารจัดการการใช้พลังงานไฟฟ้า

CPN ดําเนินการบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวทางการ

ในปี 2560 สัดส่วนค่าใช้จ่ายการใช้พลังงานไฟฟ้ารวมที่ใช้โดย CPN

บริ ห ารจั ด การผลกระทบจากการเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ

และร้านค้าคิดเป็นร้อยละ 90 ของค่าใช้จ่ายสาธารณูปโภคทั้งหมด

1

2

โดยมีการประกาศนโยบายด้านสภาพภูมิอากาศ

หรือคิดเป็นร้อยละ 18 ของค่าใช้จ่ายองค์กรทั้งหมด โดยร้อยละ 53

และสิ่ ง แวดล้ อ ม ครอบคลุ ม การดํ า เนิ น งานและบริ ห ารจั ด การ

ของการใช้พลังงานไฟฟ้าดังกล่าวเป็นการใช้โดยร้านค้าหรือผู้เช่า

ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน และสาธารณูปโภค รวมถึงสภาพ

โดย CPN ได้นําเทคนิคและมาตรการอนุรักษ์พลังงานมาประยุกต์ใช้

ภู มิ อ ากาศ สภาพแวดล้ อ ม ความหลากหลายทางชี ว ภาพ และ

ในศูนย์การค้ารวม 28 แห่ง คิดเป็นมูลค่าการลงทุนกว่า 190 ล้านบาท

การจัดการของเสีย เพือ ่ ให้เกิดประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดอย่าง

ส่งผลให้การใช้พลังงานไฟฟ้า (เฉพาะในส่วนการใช้พลังงานของ

เป็นระบบและยั่งยืน โดยมุ่งเน้นแนวปฏิบัติต่าง ๆ ดังนี้

CPN ไม่รวมร้านค้า) คํานวณจากค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อ หนึ่ ง หน่ ว ยพื้ น ที่ (Specific Energy Consumption: SEC) มี

1) นํามาตรฐานสากลมาประยุกต์ใช้ เช่น มาตรฐานระบบการจัดการ

ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.2 เมื่อเทียบกับปี 2559 หรือร้อยละ

สิง ่ แวดล้อม 1 (ISO 14001) มาตรฐานการจัดการก๊าซเรือนกระจก

3.6 เมื่ อ เที ย บกั บ ปี 2558 (ปี ฐ าน) โดยมาตรการหลั ก รวมทั้ ง

(ISO 14064-1) มาตรฐานระบบการจัดการด้านพลังงาน (ISO

กระบวนการและการพัฒนาที่นํามาใช้ ได้แก่

50001) และหลักเกณฑ์การประเมิน Thailand Energy Award 1) การปรับเปลี่ยนระบบไฟฟ้าแสงสว่างเป็นระบบหลอดไฟแอลอีดี

ของกระทรวงพลังงาน และ ASEAN Energy Award ในระดับ

โดยทําการปรับเปลี่ยนในโครงการที่เปิดดําเนินการแล้ว จํานวน

อาเซียน เป็นต้น 2) ลดการใช้พลังงาน โดยมีแนวทางในการปฏิบัติ คือ (ก) ใช้เทคนิค

24 แห่ ง และใช้ ใ นระบบไฟฟ้ า แสงสว่ า งทั้ ง หมดของโครงการ

และเทคโนโลยี ที่ ทั น สมั ย (ข) บริ ห ารจั ด การพลั ง งานด้ ว ย

ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา นครราชสี ม า และเซ็ น ทรั ล พลาซา มหาชัย

กระบวนการและมาตรฐานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (ค) จั ด การองค์ ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมบุคลากรให้ประหยัดพลังงาน

2) ดํ า เนิ น การประเมิ น ความสํ า เร็ จ จากการติ ด ตั้ ง ระบบการผลิ ต

และสาธารณูปโภค ผ่านการอบรมและให้ความรู้ รวมไปถึงการ

พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) บนหลังคา

ปลูกฝังค่านิยมในการใช้พลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า

อาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี พบว่า ปริมาณ พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ที่ได้คิดเป็นร้อยละ 13 ของการ

3) ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อม (Scope 2) ผ่านมาตรการ

ใช้พลังงานไฟฟ้าเฉพาะของ CPN (ไม่รวมร้านค้า) จึงได้ดําเนิน

อนุรักษ์พลังงาน

การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการติ ด ตั้ ง ระบบดั ง กล่ า วเพิ่ ม เติ ม

4) เพิ่มการใช้พลังงานทางเลือก โดยเฉพาะพลังงานแสงอาทิตย์ 5) เพิ่มแนวทางในการใช้นํา้ ทางเลือก เช่น นํา้ ฝน และการนํานํา้ กลับ

จากผลการศึกษาจึงได้แบ่งแผนงานออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะสั้น

มาใช้ซ้ํา

1-2 ปี ติดตัง ้ ใน 6 โครงการ และระยะยาว 5-10 ปี ให้ศก ึ ษานวัตกรรม เทคโนโลยีระบบโซลาร์เซลล์ชนิดฟิล์มบางที่เหมาะกับโครงสร้าง

6) ลดการก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ และความ

ทางกายภาพของอาคาร และสภาพแวดล้อมทางกายภาพของ

หลากหลายทางชีวภาพ หมายเหตุ:

1 2

รายละเอียดใน www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รายละเอียดเพิ่มเติมใน หมวดค่าใช้จ่ายตามลักษณะ หน้า 133 (รายงานประจําปี 2560 - รายงานทางการเงิน)

121

บทที่ 20

และสิ่งแวดล้อม


ด้วยทัง ้ หมด 7 โครงการ คิดเป็นร้อยละ 10 ของโครงการทีน ่ าํ เสนอ

ที่ ตั้ ง เพื่ อ ติ ด ตั้ ง เพิ่ ม เติ ม โดยในปี 2560 CPN สามารถผลิ ต พลั ง งานไฟฟ้ า จากพลั ง งานแสงอาทิ ต ย์ จ ากการติ ด ตั้ ง ระบบ

ทั้งหมด และประเมินผลการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานลงได้กว่า

โซลาร์ เ ซลล์ บ นหลั ง คาโครงการเซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เซ็ น ทรั ล พลาซา

2 ล้านบาทต่อปี (คํานวณเฉพาะโครงการที่เข้ารอบสุดท้าย)

แจ้ ง วั ฒ นะ และเซ็ น ทรั ล พลาซา อุ บ ลราชธานี ได้ เ ป็ น จํ า นวน 899 เมกะวั ต ต์ - ชั่ ว โมง หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 0.21 ของการใช้

หนึ่งในเครื่องมือที่ CPN ใช้ในการประเมินประสิทธิผลจากการนํา

พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดเฉพาะของ CPN (ไม่รวมร้านค้า)

มาตรการอนุรก ั ษ์พลังงานมาปรับใช้ คือ การเข้าร่วมประเมินเพือ ่ ขอรับ

3) นํ า เทคนิ ค การปรั บ ความเร็ ว รอบมอเตอร์ ไ ฟฟ้ า อั ต โนมั ติ ใ ช้ ใ น

รางวั ล ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานและการพั ฒ นาพลั ง งานทดแทน

เครื่ อ งทํ า ความเย็ น มาใช้ ใ นการดู ด อั ด สารทํ า ความเย็ น ตาม

หรือ Thailand Energy Awards จากกระทรวงพลังงานเป็นประจํา

สภาวะแวดล้อมที่เกิดขึ้นจริงเพื่อประหยัดพลังงาน โดยติดตั้งใน

ทุกปี โดยในปี 2560 CPN ได้รับรางวัลด้านการอนุรักษ์พลังงานและ

โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ศูนย์การค้าเซ็นทรัล

การพัฒนาพลังงานทดแทนจํานวน 3 รางวัล ได้แก่รางวัลประเภท

เฟสติวัล อีสต์วิลล์ และศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต

อาคารดีเด่น ให้แก่ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี และ

4) พั ฒ นาพนั ก งานในด้ า นการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน และการจั ด การ

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และรางวัลประเภทผู้บริหารอาคาร

สิ่ ง แวดล้ อ มในรู ป แบบการอบรม การมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรม

ควบคุ ม ให้ แ ก่ ศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา รั ต นาธิ เ บศร์ ส่ ง ผลให้

สื่ อ สารวั น พลั ง งาน (Energy Day) เป็ น ประจํ า ทุ ก ปี ในทุ ก

ปัจจุบันมีโครงการศูนย์การค้าภายใต้การบริหารของ CPN ที่ได้รับ

โครงการและการประกวดด้านการอนุรักษ์พลังงานผ่านโครงการ ดรีมทีม ทัง ้ นี้ ในปี 2560 มีการอบรมด้านการอนุรก ั ษ์พลังงานและ

รางวั ล ดั ง กล่ า วจํ า นวนทั้ ง หมด 19 แห่ ง หรื อ คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 59

การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยวิ ท ยากรทั้ ง ภายในและภายนอก

ั นอกจากนี้ ของจํานวนโครงการทีเ่ ปิดให้บริการทัง ้ หมด ณ ปีปจ ั จุบน

องค์กร รวมทั้งสิ้น 20 หลักสูตร จํานวน 38 ครั้ง มีผู้เข้าร่วม จํานวน 647 คน (นับซํ้าคน) และในส่วนโครงการดรีมทีมนั้น

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี ยังได้รับรางวัลรองชนะเลิศ

มีจํานวนโครงการด้านการอนุรักษ์พลังงานเข้าร่วมการประกวด

อีกด้วย

อาคารอนุรก ั ษ์พลังงานในระดับอาเซียน (ASEAN Energy Awards)

ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าของ CPN ในปี 2560

2558 (29) [7]

CPN

2559 (30) [7]

(XX) จำนวนศูนย์การค้า

562.96 262.16

273.55

569.17 271.92

588.69 278.21

2557 (25) [7]

รวม

577.32

ดัชนีการใช้พลังงานรวมต่อ 1 หน่วยพื้นที่ (กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตารางเมตร)

2560 (32) [7]

[X] จำนวนอาคารสำนักงาน

122


รายงานประจํ า ปี 2560

CPN

ร้านค้า

420,090

482,237

902,326

2559 (30) [7]

2560 (32) [7]

(XX) จำนวนศูนย์การค้า

[X] จำนวนอาคารสำนักงาน

เป้าหมายปี 2561

ลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงร้อยละ 2 เทียบกับปี 2560 (เฉพาะในส่วนการใช้พลังงานของ CPN)

เป้าหมายปี 2568

ดัชนีการใช้พลังงานต่อ 1 หน่วยพืน ้ ที่ ลดลงร้อยละ 20 เทียบกับปีฐานปี 2558 (เฉพาะส่วนการใช้พลังงานของ CPN)

หมายเหตุ: • การใช้พลังงานภายในศูนย์การค้า ประกอบด้วย 2 ส่วนหลักคือ (1) การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ ของ CPN และ (2) การใช้ไฟฟ้าของ CPN และร้านค้า ซึ่งหมาย รวมถึงการซื้อพลังงาน และพลังงานทดแทน โดยในปี 2560 CPN ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ได้ทั้งสิ้น 899 เมกะวัตต์-ชั่วโมง อนึ่ง ปริมาณการใช้พลังงาน ทั้งหมดที่แสดงในตารางข้างต้น แสดงเฉพาะปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเท่านั้น • การรายงานปริมาณการใช้พลังงานมีค่าแตกต่างจากการรายงานในปี 2559 เนื่องจากเพิ่มเติมข้อมูลการรายงานของทุกโครงการที่ดําเนินการในปี 2560 และรวมข้อมูล การใช้พลังงานไฟฟ้าของอาคารสํานักงาน • การคํานวณดัชนีการใช้พลังงานต่อ 1 หน่วยพื้นที่ คํานวณเฉพาะโครงการที่เปิดบริการเต็มปีปฎิทินนั้น ๆ เท่านั้น และมีการเพิ่มเติมข้อมูลสํานักงานในการคํานวณ ส่งผล ให้ข้อมูลการรายงานแตกต่างจากการรายงานเมื่อปี 2559 • ตั้งแต่ปี 2559 CPN ได้ปรับเปลี่ยนวิธีการคํานวณดัชนีการใช้พลังงานต่อ 1 หน่วยพื้นที่ตามแนวทางการเปิดเผยข้อมูลตาม GRI Guideline for Real Estate Section โดยใช้เฉพาะพื้นที่ให้เช่ารวมในการคํานวณ (Net Leasable Area) • ดัชนีการใช้พลังงานต่อ 1 หน่วยพื้นที่ในปี 2559 มีค่าเพิ่มขึ้น เนื่องมาจากการเปิดดําเนินการเต็มปีปฏิทินของ 4 โครงการใหม่ ซึ่งมีรูปแบบการใช้พลังงานไฟฟ้ามากกว่า ปกติในช่วงเปิดทําการ และการเปลี่ยนระบบทําความเย็นในโครงการเซ็นทรัลมารีนา

การดําเนินงานด้านการบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก CPN ประยุกต์ใช้แนวทางการจัดทําคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

เซ็นทรัลเวิลด์ 2) อาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์

(Carbon Footprint for Organization: CFO หรือ Corporate

และ 3) สํานักงานใหญ่ของ CPN ส่งผลให้ปจ ั จุบน ั CPN ได้ดาํ เนินการ

Carbon Footprint: CCF) มาเป็ น แนวทางในการแสดงข้ อ มู ล

ขอรั บ รองการจั ด ทํ า คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์ ข ององค์ ก รแล้ ว ทั้ ง สิ้ น

ปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ ป ล่ อ ยจากการดํ า เนิ น งานขององค์ ก ร

11 แห่ง นอกจากนั้น CPN ได้ขยายผลแนวทางการจัดทํารายงาน

อันนําไปสู่การบริหารจัดการเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้

ดังกล่าวไปยังโครงการทัง ้ หมดของ CPN จํานวน 34 โครงการ (รวม

อย่างมีประสิทธิภาพ โดยยึดแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์

ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ และสํานักงานใหญ่) ตามแผนงาน

ขององค์กรตามมาตรฐานการจัดการก๊าซเรือนกระจก (ISO 14064-1)

ในการจัดทําข้อมูลปีฐานที่เหมาะสมเพื่อติดตามผลการลดการปล่อย

โดยในปี 2560 CPN ได้ ข อรั บ รองการจั ด ทํ า คาร์ บ อนฟุ ต พริ้ น ท์

ก๊าซเรือนกระจกให้เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และเป็นการเตรียม

ขององค์กร จากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การ

ความพร้อมเพื่อขอรับรองการจัดทําคาร์บอนฟุตพริ้นท์ขององค์กร

มหาชน) (www.tgo.or.th) จํานวน 3 แห่ง ได้แก่ 1) ศูนย์การค้า

ในภาพรวม CPN ทั้งหมดในปี 2561

123

บทที่ 20

2558 (29) [7]

รวม

485,223

437,310

440,412

846,165 405,753

804,052 423,359

380,693

2557 (25) [7]

922,533

การใช้พลังงานทั้งหมด (เมกะวัตต์-ชั่วโมง)


ทั้งนี้ จากการประเมินดังกล่าว พบว่าสัดส่วนปริมาณการปล่อยก๊าซ

อุปกรณ์เครื่องทําความเย็น และปรับกระบวนการตรวจซ่อมระบบ

เรือนกระจกโดยตรง (Scope 1) ต่อปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ทําความเย็น ส่งผลให้ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก Scope 1

โดยอ้อม (Scope 2) คิดเป็น 0.02 ต่อ 1 ดังนั้นแนวทางการลดการ

มีค่าลดลงร้อยละ 12 เมื่อเทียบกับปี 2559 และปริมาณการปล่อย

ปล่อยก๊าซเรือนกระจกจึงมุง ่ เน้นเกีย ่ วกับมาตรการลดการใช้พลังงาน

ก๊าซเรือนกระจกโดยตรงและโดยอ้อม (Scope 1 และ Scope 2)

ไฟฟ้าเป็นหลัก โดยในปี 2560 CPN ได้ปรับปรุงแผนการซ่อมบํารุง

ต่อ 1 หน่วยพื้นที่มีค่าเท่ากับ 0.14 ลดลงจากปี 2559 ที่ร้อยละ 5

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก /1 (ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า)

2559 2560 (32) (34) [0.15] [0.14]

(XX) จำนวนศูนย์การค้า อาคารสำนักงาน และสำนักงานใหญ่

เป้าหมายปี 2568

283,576.12

249,933.86

2559 2560 (32) (34) [0.15] [0.14]

การปล่อยก๊าซ เรือนกระจกโดยอ้อมอื่น ๆ /4 270,231.21

การปล่อยก๊าซ เรือนกระจกโดยอ้อม /3 254,797.05

3,789,15

4,302.52

การปล่อยก๊าซ เรือนกระจกโดยตรง /2

2559 2560 (32) (34) [0.15] [0.14]

[X.XX] การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงและทางอ้อมต่อ 1 หน่วยพื้นที่

ดัชนีการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรงและทางอ้อมต่อ 1 หน่วยพื้นที่ลดลงร้อยละ 20 เทียบกับปีฐานปี 2558

หมายเหตุ:

/1

การปล่อยก๊าซเรือนประจก ประกอบด้วย การปล่อยก๊าซจากกิจกรรมต่าง ๆ ภายในศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน และสํานักงานเช่าของ CPN ซึ่งประกอบด้วย การปล่อย ก๊าซเรือนกระจกทางตรง โดยคํานวณตามแนวทางการรายงานและคํานวณก๊าซเรือนกระจกของ Intergovernmental Panel on Climate Change 2006 (IPCC) และแนวทางการเปิดเผยก๊าซเรือนกระจกขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน) โดยคํานวณแบบ Operation Control /2 ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยตรง (Scope 1) โดยเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่าง ๆ ของ CPN อาทิ น้ํามันเบนซิน น้าํ มันดีเซล และก๊าซธรรมชาติ /3 ก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม (Scope 2) โดยเกิดจากการซื้อพลังงานจากภายนอก เพื่อการปฏิบัติงานของ CPN เท่านั้น ไม่นับรวมการซื้อไฟฟ้าของร้านค้าเช่าต่าง ๆ /4 ก๊าซเรือนกระจกโดยอ้อมอื่น ๆ (Scope 3) โดยเกิดจากการใช้พลังงานในการเดินทางของพลังงาน และซื้อไฟฟ้าของร้านค่าเช่าต่าง ๆ • การรายงานปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมีค่าแตกต่างจากการรายงานนปี 2559 เนื่องจากเพิ่มเติมข้อมูลการรายงานของทุกโครงการที่ดําเนินการในปี 2560 และรวมข้อมูลการการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของสํานักงานออฟฟิศ และปรับการคํานวณให้เป็นไปตามการรับรองคาร์บอนฟุตพริ้นท์องค์กรขององค์การบริหารก๊าซ เรือนกระจก (องค์การมหาชน)

การดําเนินงานด้านการบริหารจัดการน้ํา CPN ใช้น้ําจากการประปานครหลวง การประปาท้องถิ่น รวมถึง การใช้นํ้าซ้ํา (Reuse) ในกระบวนการบริหารศูนย์การค้า โดยในปี 2560 CPN ใช้น้ําในการบริหารศูนย์การค้าทั้ง 32 โครงการ จํานวน

พลาซา แจ้งวัฒนะอยู่ระหว่างการปรับปรุง) ส่งผลให้อัตราการใช้ เฉพาะน้ําประปาต่อ 1 หน่วยพื้นที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2559 (คํานวณเฉพาะโครงการที่เปิดเต็มปีปฏิทิน) ส่วนหนึง ่ เป็นผลจากแผนดําเนินการจัดซือ ้ อุปกรณ์ประหยัดนา้ํ ติดตัง ้

10.19 ล้านลูกบาศก์เมตร โดยปริมาณการใช้น้ําซ้ําอยู่ที่ 0.23 ล้าน ลูกบาศก์เมตร จากการติดตั้งระบบรีไซเคิลน้ําใน 7 โครงการ ได้แก่

เพิม ่ ในห้องนา้ํ การพัฒนาร่วมกับคูค ่ า้ ในการปรับกระบวนการทํางาน และใช้ อุ ป กรณ์ ทํ า ความสะอาดแบบประหยั ด นํ้ า ในการขั ด พื้ น โดย

เซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 เซ็นทรัล

คงความเงางามเช่นเดิม ทั้งนี้ ปริมาณการใช้น้ําซ้ําคิดเป็นร้อยละ 2.3 ของปริมาณการใช้นํา้ ทั้งหมด

พลาซา อุ ด รธานี เซ็ น ทรั ล พลาซา เวสต์ เ กต เซ็ น ทรั ล พลาซา สุราษฎร์ธานี เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ และเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย (ระบบน้ํารีไซเคิลในศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี และเซ็นทรัล

124


รายงานประจํ า ปี 2560

2558 (29)

น้ำประปา น้ำฝน น้ำบาดาล หรือน้ำซื้ออื่นๆ

6.36

9,955,206

2559 (30)

น้ำที่ถูกนำ กลับมาใช้ใหม่

233,417

205,157

206,839

9,275,438

217,053

10,144,326

6.41

6.59

10,188,623

9,482,277

9,058,768 8,841,715

2557 (25)

6.47

ดัชนีการใช้น้ำต่อ 1 หน่วยพื้นที่ (ลูกบาศก์เมตรต่อตารางเมตร) 10,349,483

ปริมาณการใช้น้ำ (ลูกบาศก์เมตร)

2560 (32)

2557

2558

2559

2560

รวม

(XX) จำนวนศูนย์การค้า

นําน้ํากลับมาใช้ซ้ําที่ร้อยละ 5 ของปริมาณน้ําใช้ทั้งหมด

หมายเหตุ: • การรายงานปริมาณการใช้น้ํามีค่าแตกต่างจากการรายงานนปี 2559 เนื่องจากเพิ่มเติมข้อมูลการรายงานของทุกโครงการที่ดําเนินการในปี 2560 และรวมข้อมูลการใช้ น้ําของอาคารสํานักงาน • ปริมาณการใช้น้ําซ้ํามีค่าลดลงในปี 2558 และปี 2559 เนื่องมาจากระบบน้ํารีไซเคิลในโครงการที่ติดตั้งไปแล้ว ไม่สามารถดําเนินการได้เต็มประสิทธิภาพตามที่กําหนด จึงต้องปิดระบบในบางโครงการ

การดําเนินงานด้านการบริหารจัดการขยะและของเสีย CPN ดําเนินการบริหารจัดการด้านการลดผลกระทบต่อสิง ่ แวดล้อม

62 ขยะทัว ่ ไปร้อยละ 30 ขยะเคมีและขยะติดเชือ ้ ร้อยละ 8 โดยปริมาณ

โดยนํามาตรฐาน ISO 14001 มาปรับใช้ในการดําเนินงานโดยเฉพาะ การจัดการนํ้าเสียและขยะที่เกิดจากการบริโภคภายในโครงการก่อน

ขยะรีไซเคิลคิดเป็นร้อยละ 0.2 ของปริมาณขยะทั่วไป

ส่งทําลายหรือปล่อยลงสู่แหล่งน้ําสาธารณะ อีกทั้งมีการกําหนด

นอกจากนั้น CPN ยังกําหนดมาตรการงดใช้กล่องโฟมในส่วนโซน

นโยบายลดและคั ด แยกขยะในโรงพั ก ขยะแบบปิ ด และสนั บ สนุ น ให้

ฟู้ดพาร์ค และโซนซื้ออาหารกลับ ในศูนย์อาหารทุกแห่งที่บริหารงาน

ร้านค้าคัดแยกขยะที่สามารถนํากลับมาใช้ใหม่ โดยในปี 2560 CPN

โดย CPN และเข้าร่วมโครงการ “ประชารัฐร่วมใจแยกทิง ้ ขยะอันตราย”

ได้ขอรับรองมาตรฐานระบบการจัดการสิง ่ แวดล้อม ISO 14001 เพิม ่

ภายใต้ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ได้แก่ กรมควบคุมมลพิษ และ

จํานวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ศาลายา เซ็นทรัล

สํานักสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานคร กับภาคเอกชน ได้แก่องค์กร

พลาซา อุบลราชธานี เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ เซ็นทรัลเฟสติวัล

อาสาสมัคร จํานวน 11 องค์กร ในการเก็บรวบรวมของเสียอันตราย

เชียงใหม่ และเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย ส่งผลให้ปัจจุบัน CPN ได้ขอ

จากชุ ม ชน ซากผลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ โดย

รับรองมาตรฐาน ISO 14001 ดังกล่าวแล้วทัง ้ สิน ้ จํานวน 24 แห่ง หรือ

CPN เปิดจุดรับขยะอันตรายอิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ

คิดเป็นร้อยละ 71 ของพื้นที่ให้เช่าทั้งหมด (ไม่รวมอาคารสํานักงาน)

แบตเตอรี่ มือ ถื อ ถ่ า นไฟฉาย และหลอดไฟ จํ า นวน 53 จุ ด ใน 14

โดยมีการจัดส่งขยะสู่กระบวนการจัดการที่เหมาะสมทั้งสิ้น 107,323

โครงการในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จากทั้งหมด 109 จุด

ตั น คํ า นวณจากการจั ด เก็ บ ขยะในศู น ย์ ก ารค้ า ที่ เ ปิ ด ให้ บ ริ ก ารทั้ ง

ใน 31 โครงการศูนย์การค้าทั่วประเทศ

32 โครงการ แบ่งสัดส่วนปริมาณขยะที่เกิดขึ้นดังนี้ ขยะเปียกร้อยละ

125

บทที่ 20

เป้าหมายปี 2561


ในส่วนของการดําเนินการโดยสํานักงานใหญ่ ในปี 2560 CPN ได้

จํ า นวน 15.95 ตั น เที ย บเท่ า กั บ การลดปริ ม าณการปล่ อ ยก๊ า ซ

ผนวกโครงการ 5 ส.พลัส รวมในโครงการสมาร์ทออฟฟิศ เพื่อจัด

เรือนกระจก 4.15 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า ทั้งนี้ นับจาก

สถานทีท ่ าํ งานให้สะอาด สะดวก และปลอดภัย ในสํานักงานใหญ่ อาคาร

ปี 2551 ที่ CPN ร่วมกับบริษัท อินโฟเซฟ จํากัด ในการรวบรวม

ดิออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ รวมไปถึงการจัดการกระบวนการ

เอกสารเพื่อย่อยทําลายอย่างปลอดภัยนั้น สามารถนํากระดาษมา

คัดแยกขยะ โดยนําร่องในบางสํานักงานของบางแผนก โดยเฉพาะ

รีไซเคิลได้จํานวน 20.75 ตัน เทียบเท่ากับการลดปริมาณการปล่อย

การแยกกระดาษเพื่อทําลายผ่านโครงการ Shred2Share ได้ทั้งสิ้น

ก๊าซเรือนกระจก 5,396.25 ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า

76,597

66,534 n/a

2557 (25) [0.20]

2558 (29) [0.21]

ขยะที่นำไปใช้กำจัดด้วยวิธีการต่าง ๆ

เป้าหมายปี 2561

14

n/a

67

62,152

107,323

ปริมาณขยะที่ส่งทำลาย ในปี 2560 (ตัน)

2559 (30) [0.24]

ขยะรีไซเคิล

(XX) จำนวนศูนย์การค้า

2560 (32) [0.27]

[X.XX] ดัชนีการเกิดของเสียต่อคน (กิโลกรัมต่อคน)

นําร่องการคัดแยกขยะรีไซเคิลตั้งแต่ต้นทางใน 1 โครงการ

การดําเนินงานด้านการบริหารทีเ่ กีย ่ วข้องกับระบบนิเวศและความ

ในปี 2560 CPN ได้ ดํ า เนิ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ ข นาดใหญ่ ด้ า นหน้ า

หลากหลายทางชีวภาพ

โครงการเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา ในส่วนที่ติดกับคลองระบาย น้ําของเมือง ให้เป็นพื้นที่สีเขียวของเมือง โดยปลูกต้นราชพฤกษ์

CPN กําหนดนโยบายการจัดการระบบนิเวศและความหลากหลาย

ขนาดใหญ่ ต ามแนวลู่ วิ่ ง และลู่ จั ก รยานตลอดแนวสวนรอบคลอง

ทางชีวภาพ 3 โดยกําหนดแนวทางไม่พฒ ั นาโครงการในพืน ้ ทีห ่ วงห้าม

จํานวน 119 ต้น และยังมีสวนสาธารณะพร้อมเครื่องออกกําลังกาย

หรือเขตอนุรักษ์ใด ๆ และยึดถือเป็นข้อปฏิบัติที่จะต้องทําการสํารวจ

เพื่อให้คนในชุมชนสามารถทํากิจกรรมร่วมและใช้ประโยชน์บริเวณ

และศึกษาระบบนิเวศวิทยาร่วมกับผูเ้ ชีย ่ วชาญภายนอกและดําเนินการ

พื้นที่สีเขียวร่วมกัน

ดูแลและอนุรักษ์ระบบนิเวศบริเวณพื้นที่โดยรอบของการก่อสร้างใน ในโครงการเซ็ น ทรั ล พลาซา มหาชั ย จากการสํ า รวจพบว่ า ดิ น ใน

ทุกโครงการใหม่และโครงการปรับปรุง

พื้นที่เป็นดินเค็ม จึงทําการปลูกต้นไม้ที่ทนต่อสภาพดินเค็ม อาทิ ต้น CPN มุ่ ง ส่ ง เสริ ม คุ ณ ภาพชี วิ ต โดยนํ า ธรรมชาติ เ ข้ า มามี บ ทบาท

ราชพฤกษ์ ต้นเหลืองปรีดียาธร ต้นหนวดปลาหมึก ต้นชบา และเพิ่ม

ใกล้ชิดกับคนในสังคมให้มากขึ้น สร้างความตระหนักในคุณค่าของ

พื้นที่สีเขียวในบริเวณลานจอดรถ และส่วนหน้าโครงการโดยปลูกไม้

การรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ร่วมกันกับชุมชนสังคม

ยืนต้น ได้แก่ ต้นราชพฤกษ์ จํานวน 92 ต้น และต้นเหลืองปรีดียาธร

โดยการออกแบบให้ภูมิสถาปัตย์กลมกลืนกับตัวเมืองและระบบนิเวศ

จํานวน 33 ต้น ซึ่งนอกจากเพิ่มพื้นที่สีเขียวแล้วยังให้ดอกสวยงาม

เดิมให้มากทีส ่ ด ุ เพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียวด้วยการปลูกต้นไม้จริงทัง ้ ภายในและ

ตามฤดูกาล

ภายนอกโครงการ หากจําเป็นต้องรื้อถอนต้นไม้จะทําการล้อมหรือ ย้ายต้นไม้ไปไว้ในโครงการอื่นที่ใกล้เคียงแทน ทั้งนี้ มีการนําพันธุ์ไม้

ในการปรับปรุงโครงการเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ได้เพิม ่ พืน ้ ทีส ่ เี ขียว

พื้นเมืองมาปลูกรอบโครงการเพื่อสร้างความกลมกลืนอีกด้วย

โดยการปลูกต้นเหลืองปรีดียาธรเช่นกัน ตามแนวถนนหน้าโครงการ จํานวน 17 ต้น ในส่วนหน้าอาคารซึ่งมีพื้นที่จํากัด และเป็นส่วนที่ จําเป็นต้องมีถนนไม่สามารถปลูกไม้ยืนต้นได้ จึงทําการปรับรูปแบบ

หมายเหตุ:

3

รายละเอียดเพิ่มเติมใน www.cpn.co.th/ การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/ การกํากับดูแลกิจการที่ดี/ นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ นโยบายการจัดการระบบนิเวศและความ หลากหลายทางชีวภาพ

126


รายงานประจํ า ปี 2560

3) คลองแวะ

เป็นลักษณะกําแพงเขียว-กรีนวอลล์ โดยจัดสวนแนวตัง ้ และแนวแผง กระบะไม้ เ ลื้ อ ย ทั้ ง ในส่ ว นเสาอาคารและตกแต่ ง ด้ า นหน้ า อาคาร (Facade)

4) คลองแม่คาว 5) คลองบางกระสอ 6) คลองคต

แนวทางการดําเนินงานด้านการบริหารที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวศ และความหลากหลายทางชีวภาพ จะเน้นในส่วนการปลูกต้นไม้ใหญ่ มี ด อกสวยงามตามฤดู ก าลเพิ่ ม เติ ม ในทุ ก โครงการที่ ส ามารถ ดํ า เนิ น การได้ และกํ า หนดเป็ น แนวทางในการพั ฒ นาโครงการ สิ่ ง แวดล้ อ มร่ ว มกั บ ชุ ม ชนอี ก ทางหนึ่ ง ทั้ ง นี้ แผนดํ า เนิ น การในปี 2561 จะเน้นในการรวบรวมข้อมูล และศึกษาความเป็นไปได้ของระบบ นิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพในแต่ละโครงการ เพื่อกําหนด แผนการพัฒนาที่เหมาะสมต่อไป

7) ลําเหมืองจังหวัดเชียงใหม่ 8) คลองลํารางข้างศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา 9) คลองลํารางข้างศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี ดําเนินการแก้ไขปัญหาโดยการขุดลอกคูคลอง ปลูกพืชดูดซับสารพิษ ริมคลอง ติดตั้งกังหันเพื่อเพิ่มออกซิเจนให้น้ํา และเพิ่มพิ้นที่สีเขียว ริมคลอง เป็นต้น ทัง ้ นี้ ได้รบ ั การมีสว ่ นร่วมจากชุมชนและภาคีเครือข่าย ในเขตพื้นที่จํานวน 43 หน่วยงาน และขยายผลในการให้ความรู้เรื่อง การดักไขมันจากขยะอินทรีย์ก่อนการปล่อยทิ้งลงท่อระบายน้ําให้กับ

การพัฒนาและรักษาสิ่งแวดล้อมร่วมกับชุมชน

ชุมชน และร้านค้าในละแวกใกล้เคียงโครงการด้วยเช่นกัน เช่น ร้านค้า รถเข็นริมถนนวิภาวดี และชุมชนด้านหลังโครงการเซ็นทรัลพลาซา

ตลอดระยะเวลาเกื อ บสี่ สิ บ ปี ที่ CPN ดํ า เนิน ธุ ร กิ จ เสมื อ นมิ ต รที่ ดี ดั่งบ้านใกล้เรือนเคียงกับชุมชน CPN ได้ตั้งมั่นที่จะลดผลกระทบต่อ ชุมชน โดยเฉพาะผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ระยะเวลา ก่อสร้าง ได้แก่ การลดผลกระทบทางด้านฝุน ่ เสียง และขยะ จนกระทัง ่ เปิดดําเนินการ ได้มีการพัฒนาสร้างความเข้าใจในเรื่องการจัดการ มลภาวะทางน้ํ า ร่ ว มกั น กั บ ชุ ม ชนที่ ใ ช้ แ หล่ ง ระบายน้ํ า สาธารณะ ร่วมกัน เป็นต้น

ศาลายา เพื่อเป็นการลดสาเหตุน้ําเน่าเสียตั้งแต่ต้นทาง อีกหนึ่งการพัฒนาร่วมกับชุมชนในด้านสิ่งแวดล้อม คือ ปลูกฝัง แนวความคิดเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้กับเด็ก เยาวชน และ ชุมชน ผ่านโครงการ CPN เพาะกล้าปัญญาไทย โดยปลูกฝังแนวคิด เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว การปลูกผักสวนครัวอินทรีย์ไว้บริโภคใน โรงเรียน และติดตั้งถังขยะแบบคัดแยกประเภทเพื่อให้เด็กนักเรียนได้

ในปี 2560 CPN ร่วมกับกลุ่มเซ็นทรัล ได้กําหนดกรอบการดําเนิน งานด้านสิ่งแวดล้อมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ภายใต้โครงการ “เซ็นทรัลกรีน” โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดําเนินงาน 3 ด้าน ได้แก่ (1) ดูแลแหล่งน้ําสาธารณะ (2) ลดขยะ (3) เพิ่มพื้นที่สีเขียว ทั้งนี้ CPN โดยความร่วมมือกับมูลนิธิอุทกพัฒน์ในพระบรมราชูปถัมถ์ และสถาบันสารสนเทศทรัพยากรนา้ํ และการเกษตร (องค์การมหาชน) ได้ นํ า แนวความคิ ด การจั ด การน้ํ า ตามแนวทางศาสตร์ พ ระราชา คือ การวางแผนสํารวจพื้นที่แหล่งน้ํา วิเคราะห์สภาพปัญหา และ บริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาเรื่องน้ําในระดับชุมชนอย่างมีส่วนร่วม จนสามารถพึ่งพาตนเองได้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการบริหาร จัดการน้ําร่วมกับชุมชน โดยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ปีที่ 1 วางแผน สํารวจพืน ้ ทีแ ่ หล่งนา้ํ ชุมชน ปีที่ 2-3 วิเคราะห์สภาพปัญหาและพัฒนา แนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เหมาะสมกับบริบทแต่ละชุมชน และ ปีที่ 4-5 บริหารจัดการโดยชุมชนจนสามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยในปีแรกได้ดําเนินการอบรมพัฒนากลุ่มพนักงาน CPN อาสา และหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง (รวมขยายผลไปยั ง บริ ษั ท อื่ น ในกลุ่ ม เซ็นทรัล) จํานวน 36 คน ในการจัดทําแผนทีน ่ า้ํ ระดับชุมชน ครอบคลุม การดําเนินโครงการเซ็นทรัลกรีนทั้งสิ้น 12 โครงการ เกี่ยวข้องกับ แหล่งนา้ํ ธรรมชาติจาํ นวน 9 แห่ง คิดเป็นระยะทางทัง ้ หมด 7 กิโลเมตร (เฉพาะส่วนที่ CPN ดําเนินการเท่านั้น) ได้แก่

ฝึกปฎิบัติทุกวัน ทั้งนี้ ณ สิ้นปี 2560 CPN ได้ติดตั้งถังขยะแบบ คัดแยกประเภทให้กับโรงเรียนแล้วทั้งหมด 5 แห่ง ได้แก่ 1) โรงเรียน ตํ า รวจตระเวนชายแดน อาชี ว ะศึ ก ษาเชี ย งราย-พะเยา จั ง หวั ด ุ ถัมภ์) จังหวัด เชียงราย 2) โรงเรียนบ้านโป่งแมลงวัน (จิราธิวฒ ั น์อป นครราชสีมา 3) โรงเรียนบ้านบางเตย จังหวัดนครปฐม 4) โรงเรียน บ้านควนเงิน จังหวัดนครศรีธรรมราช และ 5) โรงเรียนบ้านฉลอง จังหวัดภูเก็ต และชุมชนทั้งหมด 2 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนด้านหลัง โครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ศาลายา จังหวัดนครปฐม และ ชุมชนในวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัดพิษณุโลก นอกจากนั้ น CPN ในบทบาทการเป็ น “ศู น ย์ ก ลางของชุ ม ชน” มุ่งมั่นที่จะปลุกจิตสํานึกด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ในบริบทที่พึงกระทําได้ เช่น การเปิดพื้นที่ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง การสื่อสารภายในศูนย์การค้าในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า เช่น การติดสื่อประชาสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมรณรงค์ การเดินขบวน ประชาสัมพันธ์ เป็นต้น ซึ่งหนึ่งในกิจกรรมที่ CPN รณรงค์และเข้า ร่วมเป็นประจําทุกปีอย่างต่อเนือ ่ งเป็นปีที่ 9 แล้ว คือ กิจกรรมรณรงค์ “ปิดไฟ 1 ชั่วโมง เพื่อลดโลกร้อน” (60+ Earth Hour) โดยร่วมกับ กรุงเทพมหานคร มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อพัฒนาอย่างยั่งยืน องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากลประเทศไทย หน่วยงานภาครัฐและ ภาคเอกชน จัดกิจกรรมปิดไฟเป็นเวลา 1 ชั่วโมงทั่วประเทศเพื่อลด

1) คลองเลียบถนนวิภาวดี 2) คลองพริกป่น

ภาวะโลกร้อน

127

บทที่ 20

การเห็นคุณค่าของการนําสิ่งของกลับมาใช้ใหม่ การคัดแยกขยะเพื่อ


ผลการดําเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม หัวข้อ

ผลการดําเนินงานปี 2560 • กําหนด “ผลตอบแทนต่อสินทรัพย์” เป็นหนึ่งใน

ตัวชี้วัดระดับองค์กร โดยตั้งเป้าหมายลดการใช้

คิดเป็นร้อยละ 18 ของค่าใช้จ่ายองค์กรทั้งหมด

พลังงานไฟฟ้าลงร้อยละ 2 เมือ ่ เทียบกับปี 2560

ที่มีผลต่อผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ ตัวชี้วัดระดับฝ่าย ตั้งเป้าหมายลดการใช้ พลังงานไฟฟ้าลงร้อยละ 3 (เทียบกับปี 2559) ด้านความยั่งยืน

• กําหนด “ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า” เป็น

ตัวชีว ้ ด ั ระดับองค์กรโดยค่าใช้จา่ ยสาธารณูปโภค

• กําหนด “ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้า” เป็น

ตัวชี้วัด

แผนปี 2561

และติดตามความคืบหน้าผ่านการประชุมแผน กลยุทธ์ในมุมมอง 5 ด้าน • ในปี 2560 CPN สามารถดําเนินการลดการ ใช้พลังงานไฟฟ้า (ไม่รวมปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ โดยร้านค้า) ลงได้ร้อยละ 5.4 เมื่อเทียบกับ ปี 2559

128

• ภายในปี 2568 ตั้งเป้าหมายในการลดดัชนีการ ใช้พลังงานไฟฟ้าต่อ 1 หน่วยพื้นที่ลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับปีฐาน (ปี 2558)


รายงานประจํ า ปี 2560

การบริหารจัดการ

ผลการดําเนินงานปี 2560 • ดําเนินงานตามแผนขยายผลประเมินการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกขององค์กรได้ครบร้อยละ 100 ของโครงการที่เปิดดําเนินงานในปี 2560 • ติดตั้งมาตรการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้าทั้งหมด 34 มาตรการ ในศูนย์การค้าทั้งสิ้น 28 แห่ง ลดพลังงานเฉพาะที่ใช้โดย CPN ลงได้ 22,032 เมกะวัตต์-ชั่วโมง (คํานวณเฉพาะโครงการที่มี การติดตั้งมาตรการ) • ดําเนินงานตามแผนติดตั้งระบบการผลิต พลังงานไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) บนหลังคาโครงการ โดยผ่าน ขัน ้ ตอนการประมูลแล้ว 6 โครงการ • ดําเนินงานตามแผนติดตั้งระบบน้ํารีไซเคิลแบบ สัมปทาน ใน 7 โครงการ ส่งผลให้ปริมาณการใช้ น้ําซ้ําคิดเป็นร้อยละ 2.3 ของปริมาณการใช้น้ํา ทั้งหมดซึ่งเป็นไปตามเป้าหมาย • ประเมินผลการนําร่องคัดแยกขยะ พร้อมทํา บัญชีคัดแยกในศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต พบว่าลูกค้ายังไม่พร้อมและขาด ความเข้าใจในการคัดแยก • เตรียมความพร้อมเพื่อขอรับรองมาตรฐาน Leadership in Energy and Environmental Design (LEED) ในโครงการปรับปรุงโซน ชั้น 7 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ • ขอรับรองมาตรฐาน ISO 14001 เพิ่มอีก 4 แห่ง ครบตามแผนงาน • ดําเนินงานประเมินด้านความยัง ่ ยืน (สิง ่ แวดล้อม สังคม และบรรษัทภิบาล) กับคู่ค้าและผู้รับเหมา จํานวน 136 ราย • ไม่มีการรุกล้ํา หรือละเมิดเข้าพื้นที่สงวนและ พื้นที่หวงห้าม โดยเจ้าของไม่ยินยอมหรือโดย ผิดกฎหมาย • ไม่พบการปฏิบัติการที่ไม่เป็นไปตามหลักการ จัดการสิ่งแวดล้อมที่ดี หรือเกิดการรั่วไหลที่มี นัยสําคัญ

• นํา CPN เข้ารับการรับรองการจัดทําคาร์บอน ฟุตพริ้นท์องค์กรจํานวน 34 โครงการ รวมสํานักงานใหญ่ • นําโครงการปรับปรุงเซ็นทรัลเวิลด์เข้ารับการ รับรองมาตรฐาน LEED • ติดตัง ้ ระบบการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงาน แสงอาทิตย์ (โซลาร์เซลล์) บนหลังคาอาคารใน 6 โครงการ • ติดตั้งระบบน้ํารีไซเคิลใน 13 โครงการและปรับ การตั้งเป้าหมายใช้น้ําซ้ําที่ร้อยละ 5 ของการ ใช้น้ําทั้งหมดจากเดิมปี 2568 เป็นภายในปี 2561 • ขอรับรอง ISO 14001 เพิ่มเติมอีก 3 แห่ง • จัดตั้งศูนย์ต้นแบบในการดําเนินงานด้าน สิ่งแวดล้อม

• ดําเนินงานภายใต้โครงการ “เซ็นทรัลกรีน”

• ขยายผลโครงการเซ็นทรัลกรีนไปอีก 8 โครงการ ที่ใกล้แหล่งนํา้ สาธารณะ

จํานวน 17 โครงการ โดยมีผู้เข้าร่วมจํานวน 944 คน นับเป็นจํานวนชั่วโมงอาสาทั้งหมด การพัฒนาด้านสิ่งแวดล้อม

แผนปี 2561

(รวมหน่วยงานอื่น) เท่ากับ 2,488 ชั่วโมง

บทที่ 20

หัวข้อ

• นําแนวทางการจัดการน้ําตามศาสตร์พระราชา มานําร่องทดลองในการจัดการนํา้ ในคลอง ระบายน้ําด้านหน้าศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา

ร่วมกับชุมชน

นครราชสีมา

129


การจัดหาแหล่งเงินทุนและบริหารการเงินอย่างรอบคอบ CPN มีการกําหนดนโยบายทางการเงินและโครงสร้างทุนทีร่ ด ั กุม และการจัดหาแหล่งเงินทุนทีห ่ ลากหลายเหมาะสม กับภาวะตลาดเงินและตลาดทุนและเพิ่มความยืนหยุ่นในการบริหารต้นทุนทางการเงิน นอกเหนือจากแหล่งเงินทุน ภายในจากการดําเนินธุรกิจแล้ว CPN ยังมีช่องทางจัดหาเงินทุนอื่น ๆ ได้แก่ การกู้ยืมเงิน การออกหุ้นกู้ และการ ออกหุน ้ เพิม ่ ทุนสําหรับการขยายศูนย์การค้าภายในประเทศ ตลอดจนมีการจัดตัง ้ กองทรัสต์เพือ ่ การลงทุนในสิทธิการ เช่าอสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Investment Trust) และกองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ (Property Fund) ทั้งนี้ แหล่งเงินทุนที่หลากหลายดังกล่าว ทําให้ CPN สามารถบริหารจัดการต้นทุนทางการเงินได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีอัตราส่วนทางการเงินที่ดี และมีความคล่องตัวในการจัดหาเงินลงทุน เพื่อรองรับโอกาสการลงทุน ในธุรกิจใหม่ ๆ อันเป็นการต่อยอดและเพิ่มคุณค่าให้กับธุรกิจอยู่เสมอ โดยมีนโยบายบริหารความเสี่ยง และนโยบาย ด้านการเงินที่รอบคอบและระมัดระวัง

ทาง CPN มีการบริหารสภาพคล่องโดยพิจารณาจากกระแสเงินสด

ในขณะที่บริษัทฯ เริ่มมีการลงทุนในต่างประเทศ บริษัทฯ มีการใช้

จากการดําเนินงาน ควบคูไ่ ปกับแผนการลงทุน เพือ ่ กําหนดแผนจัดหา

เครื่องมือบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน ผ่านการซื้อขาย

เงินทุน ให้สอดคล้องกับความต้องการเงินทุน และแนวโน้มอัตรา

เงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซึง ่ ช่วยให้บริษท ั ฯ สามารถบริหารต้นทุน

ดอกเบี้ย ในระหว่างปี 2560 บริษัทฯ ได้จัดหาเงินทุนในรูปแบบของ

เงิ น ลงทุ น ให้ มี ค วามแน่ น อนได้ ลดความผั น ผวนที่ เ กิ ด จากอั ต รา

เงินกู้ยืมระยะสั้นเป็นส่วนใหญ่ เมื่อบริษัทฯ ได้ดําเนินการแปลงสภาพ

แลกเปลี่ยนที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะตลาด

CPNRF เป็น CPNREIT พร้อมกับการให้เช่าศูนย์การค้าเซ็นทรัล เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2560 ทริสเรทติ้งเพิ่มอันดับเครดิตองค์กร

เฟสติ วั ล พั ท ยา บี ช (บางส่ ว น) และโรงแรมฮิ ล ตั น พั ท ยา แก่ CPNREIT เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2560 ในมูลค่าทรัพย์สินสุทธิเท่ากับ

และหุ้ น กู้ ไ ม่ ด้ อ ยสิ ท ธิ ไ ม่ มี ป ระกั น ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ระดั บ “AA”

11,908 ล้านบาท กระแสเงินสดรับดังกล่าวถูกนํามาชําระหนี้เงินกู้ยืม

จากเดิม “AA-“ สะท้อนถึงสถานะทางการเงินของบริษัทฯ ที่ปรับตัว

ระยะสัน ้ ทีม ่ ก ี ารเบิกใช้ระหว่างปี และยังมีสภาพคล่องส่วนเกินเพียงพอ

ดีขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากการดําเนินงานที่แข็งแกร่งและแหล่งที่มาของ

สําหรับการชําระหนี้เงินกู้ยืมระยะยาว (บางส่วน) ก่อนกําหนด ทําให้

รายได้ที่แน่นอน รวมถึงการบริหารทางการเงินของบริษัทฯ ที่มีวินัย

หนี้สินที่มีดอกเบี้ย ณ สิ้นปี 2560 ลดลงมาอยู่ที่ 9,529 ล้านบาท

และปฏิบัติตามนโยบายอย่างเคร่งครัด

จาก 17,904 ล้านบาท ในปีก่อน อีกทั้งยังช่วยให้บริษัทฯ สามารถ ประหยัดดอกเบี้ยจ่ายได้ และอัตราส่วนหนี้สินต่อผู้ถือหุ้นอยู่ในระดับ ต่ําที่ 0.07 เท่า ส่งผลให้บริษัทยังคงมีความสามารถในการกู้ยืมเงิน เพื่อขยายการลงทุนเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังคงให้ความสําคัญกับการลดความเสี่ยงจากความ ผันผวนของอัตราดอกเบี้ย เนื่องด้วยธุรกิจของบริษัทฯ เป็นธุรกิจที่ ใช้ เ งิ น ลงทุ น สู ง และเป็ น การลงทุ น ระยะยาว ประกอบกั บ ทิ ศ ทาง ดอกเบี้ ย อยู่ ใ นช่ ว งขาขึ้ น บริ ษั ท ฯ ยั ง คงเน้ น การจั ด หาเงิ น กู้ ที่ มี ดอกเบี้ยคงที่ มากกว่าวงเงินกู้ที่เป็นอัตราดอกเบี้ยลอยตัว ในขณะ เดียวกันบริษัทฯ ยังให้ความสําคัญกับรูปแบบการกู้ยืมเงินที่มีความ ยืดหยุ่น มีการกระจายระยะเวลาครบกําหนดชําระหนี้ เพื่อให้บริษัทฯ มี ค วามสามารถในการปรั บ พอร์ ต เงิ น กู้ ยื ม ให้ เ หมาะสมเมื่ อ สภาวะ ดอกเบี้ยในตลาดมีการเปลี่ยนแปลงไป

130


รายงานประจํ า ปี 2560

แนวทางการจัดทํารายงาน ในส่วนการพัฒนาอย่างยั่งยืน การควบคุมคุณภาพของรายงาน

CPN ผนวกรวมรายงานการพัฒนาความยั่งยืนในรายงานประจําปี เป็ น ปี ที่ 5 เพื่ อ แสดงผลการดํ า เนิ น งานด้ า นเศรษฐกิ จ สั ง คมและ

แผนกพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและ

สิง ่ แวดล้อม โดยประยุกต์ตามแนวทางการรายงานขององค์กรความ

การพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นหน่วยงานกลาง ควบคุมคุณภาพการจัดทํา

ร่วมมือว่าด้วยการรายงานสากลด้านความยั่งยืน ฉบับมาตรฐานใน แบบหลัก (Global Reporting Initiative (GRI) Standard-Core

รายงานให้มีความถูกต้องสมบูรณ์ และมีคณะทํางานจัดทํารายงาน

Option) รวมทั้ ง กรอบการจั ด ทํ า รายงานของ International

ประจําปี เป็นผู้ตรวจสอบการเผยแพร่ข้อมูล

Integrated Reporting Committee (IIRC) มาตรฐานแนวทาง

การให้ความเชื่อมั่นต่อรายงาน

ความรับผิดชอบต่อสังคม (ISO 26000: Guidance on Social Responsibility) หลั ก สากล 10 ประการของข้ อ ตกลงโลกแห่ ง

รายงานฉบับนี้ได้รับการตรวจรับรองรายงานฯ และตัวชี้วัดผลการ

สหประชาชาติ (United Nations Global Compact: UNGC) และ

ปฏิบัติงานที่สําคัญโดยหน่วยงานภายนอก (Third Party) ที่มีความ

เชื่อมโยงการดําเนินงานที่สอดคล้องต่อเป้าหมายการพัฒนาความ

เชี่ยวชาญในการตรวจรับรองและให้ความเชื่อมั่นอย่างอิสระต่อผล

ยั่งยืนของโลก (Sustainable Development Goals: SDGs)

ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจประเภทอสังหาริมทรัพย์ เพื่อความ น่าเชื่อถือและโปร่งใส ให้สอดคล้องตามแนวทางการรายงานของ

ขอบเขตการรายงาน

GRI-Standards ดั ง รายละเอี ย ดการรั บ รองความเชื่ อ มั่ น ใน หน้า 212-213

รายงานฉบับนีค ้ รอบคลุมผลการดําเนินงานของ CPN และบริษท ั ย่อย ในประเทศไทยไม่รวมผลการดําเนินงานในต่างประเทศ สอดคล้องกับ

ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายงาน

หลักรายงานทางการเงินของบริษัทฯ โดยครอบคลุมระยะเวลาการ ดําเนินงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560 โดย

หากมีข้อสงสัยหรือข้อซักถามเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดําเนินงานด้าน

รายงานความคืบหน้าและผลการดําเนินงานด้านเศรษฐกิจ สังคม

ความยั่งยืนของ CPN สามารถติดต่อได้ที่ แผนกพัฒนาความยั่งยืนทางธุรกิจ

อย่างยั่งยืนครอบคลุมเฉพาะการบริหารศูนย์การค้าทั้ง 32 โครงการ

ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและการพัฒนาที่ยั่งยืน

โครงการอาคารสํ า นั ก งาน 7 โครงการ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งและ

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ส่งเสริมกันภายใต้การบริหารงานของ CPN ทั่วประเทศ ดังรายงาน

ชั้น 10 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์

ในลักษณะการประกอบธุรกิจ หน้า 48 ยกเว้นการรายงานในด้าน

999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน

สิ่ ง แวดล้ อ มที่ ไ ม่ ร วมผลการดํ า เนิ น งานของโครงการโรงแรมและ

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330

โครงการที่พักอาศัย และการรายงานในด้านห่วงโซ่อุปทานไม่รวมผล

โทรศัพท์: +66 (0) 2667 5555 ต่อ 6906-9

การดําเนินงานของบริษัทย่อย คือ บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ การดําเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืนของ CPN ให้ความสําคัญ กับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม ได้แก่ ผู้ถือหุ้น ร้านค้า ลูกค้า คู่ค้า เจ้าหนี้ พนักงาน คู่แข่งทางการค้า สังคม ชุมชน และ สิ่งแวดล้อม ภาครัฐ องค์กรอิสระและองค์กรอื่น ๆ ในสังคม โดย เนื้ อ หาและรายละเอี ย ดในรายงานฉบั บ นี้ เป็ น การเปิ ด เผยผลการ ดําเนินงานของบริษัทฯ บริษัทร่วม และบริษัทย่อยที่เกี่ยวข้อง ที่มี สัดส่วนการถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 50 หรือบริษัทที่ CPN มีอํานาจใน การบริหาร รวมทั้งบริษัทที่ต้องการเปิดเผยข้อมูล

131

โทรสาร:

+66 (0) 2264 5593

อีเมล:

sd.ho@cpn.co.th

บทที่ 20

และสิง ่ แวดล้อม ตามกลยุทธ์การดําเนินธุรกิจอย่างยัง ่ ยืนโดยขอบเขต ของรายงานในส่วนผลการดําเนินงานด้านธุรกิจและด้านการพัฒนา


คําจํากัดความ

ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม

น้ํา

ข้อมูลสิ่งแวดล้อมในรายงานฉบับนี้ครอบคลุมกิจกรรมที่ บริษัทเซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) พิจารณาแล้วเห็นว่า อาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสําคัญ และ เป็นข้อมูลที่มาจากกลุ่มบริษัทของบริษัทเซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ที่ส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม

การจัดการน้ํา ประกอบด้วย ปริมาณน้ําจากภายนอก น้ําที่ผ่านการบําบัด น้ําที่ปล่อย สู่ภายนอก และน้ําที่นํากลับมาใช้ มีการประเมินประสิทธิภาพการใช้น้ํา และความเสี่ยงที่ อาจมีผลกระทบจากการนําน้ําจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ ปริมาณน้ําจากภายนอก หมายถึง ปริมาณการนําน้ําจากแหล่งน้ําต่าง ๆ มาใช้ภายใน กิจกรรมของบริษัทฯ ซึ่งได้ข้อมูลมาจากหลักฐานทางบัญชีหรือการอ่านค่าจากมิเตอร์ น้ําประปา

ข้ อ มู ล ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มได้ ม าจากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ อาทิ การบั น ทึ ก ค่ า จากเครื่ อ ง วัดหลักฐานทางบัญชี ข้อมูลจากกระบวนการดําเนินงาน และการประเมินค่าตัวเลขบน พื้นฐานที่มีหลักการ

น้ํ า ที่ นํ า กลั บ มาใช้ หมายถึ ง ปริ ม าณน้ํ า ที่ นํ า กลั บ มาใช้ ห ลั ง ผ่ า นกระบวนการปรั บ ปรุ ง คุณภาพแล้ว โดยบริษัทฯ ได้ออกแบบระบบการจัดการน้ําภายในศูนย์การค้า และอาคาร ของบริษัทฯ

พลังงาน การใช้พลังงานรวม ประกอบด้วย พลังงานจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงพลังงานไฟฟ้า และ พลังงานทางเลือก (พลังงานแสงอาทิตย์)

ของเสีย การจัดการของเสียเป็นการพิจารณาที่เกิดจากกระบวนการดําเนินงานและกิจกรรมของ บริษัทฯ โดยปริมาณของเสีย หมายถึง ปริมาณของเสียที่เกิดจากกระบวนการดําเนินงาน และกิจกรรมของบริษท ั ฯ ซึง ่ การรายงานปริมาณของเสียทีเ่ กิดขึน ้ ในรายงานฉบับนีไ้ ด้จาก การชั่ง หรือการประมาณค่า

ก๊าซเรือนกระจก หมายถึง ปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการดําเนินงานของบริษัทเซ็นทรัล พัฒนา จํากัด (มหาชน) หรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่คาํ นวณตามแนวทางการประเมินคาร์บอน ฟุตพริ้นท์องค์กรขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 3, ตุลาคม 2559) โดยมีหลักการดังนี้ 1.

ข้อมูลด้านสังคม

ขอบเขตการรายงาน

จํานวนพนักงานของบริษัทฯ

1.1 ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยตรง (Scope 1) เกิดจากกระบวนการดําเนินงาน และกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีแหล่งกําเนิดอยู่ในความดูแลควบคุมบริหารจัดการของ บริษัทฯ ในที่นี้หมายถึงการเผาไหม้เชื้อเพลิงของเครื่องจักรยานพาหนะของ องค์กร (ที่องค์กรเป็นเจ้าของเอง) การรั่วซึม/รั่วไหลจากก๊าซมีเทนของระบบ Septic Tank ระบบบําบัดน้ําเสีย สารทําความเย็น สารดับเพลิงประเภท CO2 และ SF6 จากกระบวนการหรือกิจกรรม เป็นต้น 1.2 ก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยอ้อม (Scope 2) เกิดจากการซื้อพลังงานจาก ภายนอกเพื่อการดําเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งการดําเนินงานของบริษัทฯ ในที่นี้ หมายถึงพลังงานไฟฟ้าเท่านั้น 1.3 ก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ เ กิ ด ขึ้ น โดยอ้ อ มอื่ น ๆ (Scope 3) เกิ ด จากกระบวนการ ดําเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีความเกี่ยวโยงกับบริษัทฯ ในที่นี้หมายถึง การเดินทางเพื่อติดต่อธุรกิจ อาทิ รถแท๊กซี่ รถโดยสารประจําทาง เครื่องบิน หรือรถรับจ้างไม่ประจําทาง การใช้น้ําประปา และการใช้ไฟฟ้าของร้านค้า/ผู้เช่า เป็นต้น

พนักงานของบริษท ั ฯ คือ ผูท ้ ป ี่ ฏิบต ั ง ิ านภายใต้สญ ั ญาจ้างของบริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้บริหารระดับสูง (Top Management) กลุ่มผู้บริหารระดับกลางและระดับปฏิบัติการ (Middle Management และ Junior Management) และกลุ่มพนักงานปฏิบัติการ (Officer) ดังนี้ •

กลุ่ ม ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง (Top Managementor Executive Level) ได้ แ ก่ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ยกเว้น กรรมการ ผู้จัดการใหญ่ กลุ่มผู้บริหารระดับกลางและระดับปฏิบัติการ (Middle Management และ Junior Management) ได้แก่ ผู้บริหารฝ่าย (Department Head) และผู้บริหารงาน (Functional Head) กลุ่มพนักงานปฏิบัติการ (Officer) ได้แก่ พนักงานในตําแหน่งเจ้าหน้าที่ (Officer) และเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Officer/Supervisor)

โดยจําแนกพนักงานดังกล่าวข้างต้น ออกเป็น 2ประเภท ตามประเภทสัญญาจ้าง คือ สัญญาจ้างแบบไม่มีกาํ หนดเวลา (Permanent) และสัญญาจ้างแบบมีกําหนดระยะเวลา (Contract)

2. การรายงานปริมาณ 2.1 การคํ า นวณปริ ม าณก๊ า ซเรื อ นกระจกที่ เ กิ ด จากกระบวนการผลิ ต โดยตรง (Scope 1) จะรายงานจากการกระบวนการเผาไหม้จากปริมาณการใช้เชื้อเพลิง (ตามน้ําหนักหรือปริมาตร) อาทิ ปริมาณน้ํามันหรือก๊าซธรรมชาติ x ค่าการ ปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีอ ่ า้ งอิงจาก Intergovernment Panel on Climate Change 2006 (IPCC) 2.2 การคํานวณปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่เกิดขึ้นทางอ้อม (Scope2) จะรายงาน จากปริมาณการซื้อไฟฟ้า โดยจะอ้างอิงค่าการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกจาก ผู้ผลิตหรือผู้ขาย

การคํานวณชั่วโมงการทํางาน 1)

เป็ น ข้ อ มู ล ที่ ม าจากระบบการบั น ทึ ก เวลาและการเก็ บ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล จากหน่ ว ยงาน การบุ​ุคคล หน่วยงานบัญชี หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2) ในกรณีทบ ี่ ริษท ั ฯ ไม่มรี ะบบบันทึกเวลา จะใช้วธ ิ ก ี ารประมาณชัว ่ โมงการทํางานโดยใช้สต ู ร การคํานวณดังนี้ จํานวนชั่วโมงการทํางาน (ชั่วโมง-คน) = [จํานวนคน×จํานวนวันทํางาน×จํานวนชั่วโมงการทํางานปกติ (ต่อวัน)] + จํานวน ชั่วโมงล่วงเวลารวม (เฉพาะกรณีพนักงานปฏิบัตก ิ าร)

3. การรายงานการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก จะครอบคลุมถึง ก๊าซ CO2 CH4 N2O HFCs PFCs และ SF6 โดยคํานวณและแสดง ผลในรูปก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า จากค่าศักยภาพในการทําให้เกิดภาวะโลก ร้อน (Global Warming Potential: GWP) ที่กาํ หนดโดย IPCC

การบันทึกข้อมูลด้านความปลอดภัย บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) บันทึกข้อมูลด้านความปลอดภัยที่เกิดขึ้นจากการ ทํางานโดยคํานวณและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและอนามัยดังนี้

4. Emission Factor คํานิยาม อ้างอิงจากองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์กรมหาชน): Thailand Greenhouse Gas Management Organization (Public Organization)

จํานวนวัน คือ จํานวนวันทํางานตามที่บริษัทฯ กําหนด การบาดเจ็บ คือ การบาดเจ็บถึงขั้นรักษาพยาบาล อันได้แก่ อุบัติเหตุที่ทําให้เกิดการ บาดเจ็บจนต้องได้รับการดูแลรักษาพยาบาลทางการแพทย์ เพื่อต่อสู้กับการบาดเจ็บ หรือโรค หรือความผิดปกติ ได้แก่ การเย็บบาดแผล การเข้าเฝือก การผ่าตัด (เล็กหรือใหญ่) การล้างพิษ ล้างท้อง การให้น้ําเกลือ การให้เลือด การให้ออกซิเจน การช่วยฟื้นคืนชีพ ขั้นพื้นฐาน CPR การจ่ายยาเพื่อรักษาอาการ รวมทั้งการพักฟื้นสภาพร่างการผู้บาดเจ็บ ให้คืนสู่สภาพปกติ เป็นต้น แต่ไม่รวมถึงการดําเนิการดังนี้

5. วิธีการประเมิน อ้างอิงตาม The Greenhouse Gas Protocol: A Corporate Accounting and Reporting Standard Revised Edition และแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริน ้ ท์ องค์กรขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับ ปรับปรุง ครั้งที่ 3, ตุลาคม 2559)

132


รายงานประจํ า ปี 2560

• กรณีไปพบแพทย์เพื่อดูอาการ หรือรับคําปรึกษาจากแพทย์ • กรณีเป็นกระบวนการวินิจฉัยทางการแพทย์ ได้แก่ การเอกซเรย์ตรวจอัลตราซาวด์ ตรวจเลือด หรือการให้ยาเพื่อวินิจฉัย (เช่น ให้ยาขยายม่านตาเพื่อตรวจวินิจฉัย) การบาดเจ็บถึงขั้นหยุดงาน คือ การบาดเจ็บที่ทําให้หยุดตั้งแต่ 1 วันหยุดงานขึ้นไป (เริ่ม นับวันหยุดถัดจากวันที่เกิดอุบัติเหตุ) ความรุนแรงการบาดเจ็บ คือ นับจากวันทํางานที่หยุดจริง การเสียชีวิตจากการทํางาน คือ การเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการทํางาน หรือกิจกรรม ของบริษัทฯ เป็นเหตุให้ผู้บาดเจ็บหรือเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต

การคํานวณ อัตราการบาดเจ็บ (Injury Rate: IR) = (จํานวน (ครั้ง) ของการบาดเจ็บทุกระดับ (ในช่วงเวลาที่รายงาน) × 200,000 (ชั่วโมงการปฎิบัติงาน)) (จํานวนชั่วโมงการปฏิบัติงาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล))

อัตราการเจ็บป่วย/โรคจากการทํางาน (Occupational Disease Rate: ODR) = (จํานวน (ราย) การเจ็บป่วยจากการทํางาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล) × 200,000 (ชั่วโมงการปฏิบัติงาน)) (จํานวนชั่วโมงการปฏิบัติงาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล))

อัตราความรุนแรงของการบาดเจ็บ (Lost Day Rate: LDR) = (จํานวนวันหยุดงานจากการบาดเจ็บ (ในช่วงเวลาที่รายงาน) × 100)

อัตราการขาดงาน (Absentee Rate: AR) = (จํานวนวันหยุดงานจากการบาดเจ็บและเจ็บป่วยจากการทํางานรวมอื่นๆ ที่ไม่ใช่การลาที่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาที่รายงาน x 100) (จํานวนวันทํางานทั้งหมดในรอบปีของพนักงานทั้งหมด)

หมายเหตุ อ้างอิงข้อมูลจากการบันทึกวันลาในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRIS) โดยพิจารณาจากจํานวนวันของการลาป่วย และลาป่วยโดยไม่รับค่าจ้าง

133

บทที่ 20

(จํานวนวันของการปฏิบัติงาน (ในช่วงเวลาที่รายงานผล)) หมายเหตุ อ้างอิงข้อมูลจากการรายงานแบบแจ้งการประสบอันตราย เจ็บป่วย หรือสญหาย และขอรับเงินทดแทน ตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ.2537 (กท.16)


โครงสร้างองค์กร

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการ นโยบายความเสีย ่ ง

สำนักตรวจสอบภายใน

สายงานพัฒนาธุรกิจ และโครงการ

สายงานปฏิบต ั ก ิ าร

ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ

ฝ่ายขาย

ฝ่ายพัฒนาและบริหาร งานออกแบบโครงการ

ฝ่ายการตลาด

ฝ่ายพัฒนาโครงการ

ฝ่ายบริหารทรัพย์สน ิ

ฝ่ายวิศวกรรม การก่อสร้าง

134


รายงานประจํ า ปี 2560

คณะกรรมการ บริษัท

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน

กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

สำนักกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

สำนักเลขานุการบริษท ั

ฝ่ายการเงิน

ฝ่ายบริหารทุนมนุษย์ และพัฒนาองค์กร

ฝ่ายบัญชี

สำนักกลยุทธ์องค์กร

ฝ่ายบริหารความเป็นเลิศ และการพัฒนาทีย ่ ง ่ั ยืน

ฝ่ายพัฒนา โครงการทีพ ่ ก ั อาศัย

แผนกกฎหมาย และบริหารสัญญาเช่า

ฝ่ายพัฒนา ธุรกิจต่างประเทศ

135

บทที่ 21

สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสีย ่ ง


โครงสร้างการจัดการ

โครงสร้างระดับกรรมการ

กรรมการผู้มีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ กรรมการผู้มีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ คือ นายสุทธิธรรม

คณะกรรมการบริษัท

จิ ร าธิ วั ฒ น์ นายปริ ญ ญ์ จิ ร าธิ วั ฒ น์ นายกอบชั ย จิ ร าธิ วั ฒ น์ นายปรีชา เอกคุณากูล กรรมการสองในสี่คนนี้ลงลายมือชื่อร่วมกัน

คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการที่มีความรู้และ ประสบการณ์ที่หลากหลายที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท

และประทับตราสําคัญของบริษัทฯ หรือกรณีที่ต้องยื่นแบบแสดง รายการภาษีต่าง ๆ หรือการยื่นงบการเงินต่อหน่วยงานราชการ หรือหน่วยงานอื่นใด ให้กรรมการผู้มีอํานาจข้างต้นคนใดคนหนึ่งลง ลายมือชื่อและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ

คณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการจํานวน 11 คน โดยมีองค์ประกอบดังนี้

องค์ประกอบและคุณสมบัติของคณะกรรมการบริษัท

- กรรมการอิสระ 4 คน หรือคิดเป็น 1 ใน 3 ของจํานวน กรรมการทั้งหมด - ประธานกรรมการเป็นตัวแทนของผู้ถือหุ้น และไม่ได้เป็น บุคคลเดียวกับกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ เพือ ่ ให้มก ี ารแบ่งแยก บทบาทอย่ า งชั ด เจนและมี ก ารถ่ ว งดุ ล อํ า นาจในการ ดําเนินงาน - กรรมการที่ ไ ม่ เ ป็ น ผู้ บ ริ ห าร 10 คน และกรรมการที่ เ ป็ น ผู้บริหาร 1 คน

1) คณะกรรมการประกอบด้วยกรรมการจํานวนไม่น้อยกว่า 5 คน โดยต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 3 ของ จํานวนกรรมการทัง ้ หมด แต่ตอ ้ งไม่นอ ้ ยกว่า 3 คน และกรรมการ ไม่นอ ้ ยกว่ากึง ่ หนึง ่ ของจํานวนกรรมการทัง ้ หมด ต้องมีถน ิ่ ทีอ ่ ยู่ ในราชอาณาจักร 2) กรรมการต้องเป็นบุคคลทีม ่ ค ี ณ ุ สมบัตค ิ รบถ้วนและไม่มล ี ก ั ษณะ ต้ อ งห้ า มตามพระราชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด และ พระราชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ประกาศ คณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น กฎระเบี ย บของสํ า นั ก งาน

รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) กฎระเบี ย บของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย

ประธานกรรมการกิตติมศักดิ์ 1.

ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์

(“ตลาดหลักทรัพย์ฯ”) ข้อบังคับบริษัทฯ หลักการกํากับดูแล กิจการ และข้อกําหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงไม่มีลักษณะ

1

ที่แ สดงถึ ง การขาดความเหมาะสมที่จ ะได้ รับ ความไว้ ว างใจให้ คณะกรรมการบริษัท

บริหารจัดการกิจการของบริษัทฯ จิราธิวัฒน์ 2

ประธานกรรมการ

2. นายไพฑูรย์

ทวีผล

กรรมการอิสระ

3. นายการุณ

กิตติสถาพร

กรรมการอิสระ

1.

นายสุทธิชัย

4. นางโชติกา

สวนานนท์

กรรมการอิสระ

5. นายวีรวัฒน์

ชุติเชษฐพงศ์

กรรมการอิสระ

6. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ 2

กรรมการ

7. นายสุทธิศักดิ์

จิราธิวัฒน์ 2

กรรมการ

8. นายสุทธิธรรม

จิราธิวัฒน์ 2

กรรมการ

9. นายกอบชัย

จิราธิวัฒน์ 2

กรรมการ

10. นายปริญญ์

จิราธิวัฒน์ 2

กรรมการ

11. นายปรีชา

เอกคุณากูล

กรรมการ

3) กรรมการต้องมีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็น ประโยชน์ต่อการดําเนินธุรกิจ มีคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ และมี เวลาอย่างเพียงพอที่จะอุทิศให้กับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ อย่างเต็มที่ 4) กรรมการสามารถดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นได้ แต่ ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการของบริษัทฯ โดยกํ า หนดให้ ก รรมการควรดํ า รงตํ า แหน่ ง กรรมการบริ ษั ท จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ไม่เกิน 5 บริษัท 5) กรรมการต้องไม่กระทําการใด ๆ ที่มีลักษณะเข้าไปบริหารหรือ จัดการในกิจการอืน ่ อันจะก่อให้เกิดการบัน ่ ทอนผลประโยชน์ของ บริษัทฯ หรือเอื้อประโยชน์ให้บุคคลหรือนิติบุคคลใด ไม่ว่าจะทํา เพื่อประโยชน์ของตนเองหรือผู้อื่น

หมายเหตุ: 1 บริษท ั ฯ ได้รบ ั เกียรติจาก ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ เข้าดํารงตําแหน่งเป็นประธานกรรมการ กิตติมศักดิ์ของบริษัทฯ ตั้งแต่ปี 2559 เพื่อให้คําปรึกษาและคําแนะนําในการดําเนิน ธุรกิจของบริษัทฯ 2 กรรมการที่เป็นตัวแทนจากผู้ถือหุ้น

วาระการดํารงตําแหน่ง 1) ในการประชุ ม สามั ญ ประจํ า ปี ทุ ก ครั้ ง ให้ ก รรมการออกจาก ตําแหน่ง 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทัง ้ หมด ถ้าจํานวนกรรมการ ทีจ ่ ะแบ่งออกให้ตรงเป็นสามส่วนไม่พอดี ให้ออกจํานวนใกล้ทส ี่ ด ุ กับส่วน 1 ใน 3

136


รายงานประจํ า ปี 2560

2) กรรมการทีจ ่ ะต้องออกจากตําแหน่งในปีแรก และปีทส ี่ องภายหลัง

1.4)

จดทะเบียนบริษัทนั้นให้จับสลากกันว่าผู้ใดจะออก ส่วนปีหลัง ๆ

การเปิดเผยข้อมูลต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่ม อย่างถูกต้อง ครบถ้วน โปร่งใส เชื่อถือได้ ทันเวลา และ

ต่อไปให้กรรมการคนทีอ ่ ยูใ่ นตําแหน่งนานทีส ่ ด ุ นัน ้ เป็นผูอ ้ อกจาก

เท่าเทียมกัน (Duty of Disclosure)

ตํ า แหน่ ง ทั้ ง นี้ กรรมการที่ ค รบกํ า หนดวาระ อาจได้ รั บ การ

2) กําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ในระยะสั้น และระยะยาวใน

พิจารณาเลือกตั้งให้เป็นกรรมการบริษัทต่อไปได้

การดําเนินธุรกิจ เพื่อให้มั่นใจว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายหลักของบริษัทฯ โดยมุ่งเน้นเป้าหมายเพื่อความยั่งยืน

นอกจากการพ้นตําแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการจะพ้นจาก

ตลอดจนสอดคล้ อ งกั บ การสร้ า งคุ ณ ค่ า ต่ อ กิ จ การ ผู้ มี ส่ ว น

ตําแหน่งเมื่อ 2.1)

ได้เสีย และสังคมโดยรวม โดยมีการทบทวนเป็นประจําทุกปี 3) พิจารณาอนุมัติรายการที่สําคัญตามขอบเขตอํานาจหน้าที่ของ

ตาย

2.2) ลาออก

คณะกรรมการ ตามทีก ่ ฎหมายและข้อบังคับของบริษท ั ฯ กําหนด

2.3) ขาดคุณสมบัติ หรือมีลก ั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายหรือ

รวมถึงระเบียบอํานาจอนุมัติดําเนินการของบริษัทฯ 4) พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณประจําปีของบริษัทฯ

ข้อบังคับของบริษัทฯ 2.4) ที่ประชุมผู้ถือหุ้นลงมติให้ออกจากตําแหน่ง ด้วยคะแนน

โดยมี ก ารติ ด ตามผลการดํ า เนิ น งานด้ า นต่ า ง ๆ ของบริ ษั ท ฯ

เสียงไม่นอ ้ ยกว่า 3 ใน 4 ของจํานวนผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง ่ มาประชุม

อย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่าการดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมาย

และมีสิทธิออกเสียง และมีหุ้นนับรวมกันได้ไม่น้อยกว่า

ที่ กํ า หนดโดยมี ก ารนํ า นวั ต กรรมและเทคโนโลยี ม าใช้ อ ย่ า ง เหมาะสมปลอดภัย

กึ่งหนึ่งของจํานวนหุ้นที่ถือโดยผู้ถือหุ้นที่มาประชุม และ

5) กําหนดและทบทวนโครงสร้างคณะกรรมการ ในเรื่องจํานวน

มีสิทธิออกเสียง

กรรมการ สัดส่วนกรรมการอิสระ รวมทัง ้ คุณสมบัตท ิ ห ี่ ลากหลาย

2.5) ศาลมีคําสั่งให้ออก

เพื่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ตลอดจน 3) กรรมการที่ประสงค์จะลาออกจากตําแหน่งให้ยื่นใบลาออกต่อ

พิจารณาค่าตอบแทนกรรมการบริษท ั และกรรมการชุดย่อยอย่าง

บริษัทฯ การลาออกมีผลนับแต่วันที่ใบลาออกไปถึงบริษัทฯ

เหมาะสม โดยผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการสรรหาและ

4) กรรมการอิ ส ระสามารถดํ า รงตํ าแหน่ ง กรรมการติ ด ต่ อ กั น ได้

กําหนดค่าตอบแทนเสนอ

ไม่เกิน 2 วาระ และสามารถต่อวาระได้โดยรวมระยะเวลาการดํารง

6) พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ เพื่อสนับสนุน

ตําแหน่งทุกวาระแล้วต้องไม่เกิน 9 ปี เพื่อความเป็นอิสระในการ

การปฏิ บั ติ ง านตามความรั บ ผิ ด ชอบของคณะกรรมการตาม

ให้ความเห็นและปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการอิสระของบริษัทฯ

ความเหมาะสมและความจําเป็น โดยมีการติดตามผลการดําเนิน งานของคณะกรรมการชุดย่อยอย่างสมํา่ เสมอ

ทั้ ง นี้ คณะกรรมการบริ ษั ท สามารถพิ จ ารณาขยายระยะเวลา

7) จัดให้มีการเปิดเผยรายงานทางการเงินและข้อมูลสําคัญต่าง ๆ

การดํารงตําแหน่งของกรรมการอิสระได้ตามที่เห็นสมควร และ

ต่อผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างถูกต้อง ครบถ้วน

ในปี ที่ ก รรมการอิ ส ระดั ง กล่ า วครบกํ า หนดออกตามวาระ

มาตรฐาน และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง

ผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือกตั้งกรรมการกลับเข้าเป็นกรรมการอิสระ

8) จั ด ให้ มี ร ะบบควบคุ ม ภายในและการตรวจสอบภายในที่ มี

ต่อไปได้

ประสิทธิภาพและประสิทธิผล 9) จัดให้มจ ี รรยาบรรณธุรกิจของกรรมการ ผูบ ้ ริหาร และพนักงาน

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

เพื่อเป็นมาตรฐานแนวทางในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดย 1) บริ ห ารกิ จ การให้ เ ป็ น ไปเพื่ อ ประโยชน์ ที่ ดี ที่ สุ ด แก่ ผู้ ถื อ หุ้ น

กรรมการผู้บริหาร และพนักงานทุกคน ต้องปฏิบัติหน้าที่ของ

(Fiduciary Duty) โดยยึดถือแนวปฏิบัติสําคัญ 4 ประการคือ

ตนอย่ า งมี จ ริ ย ธรรมและปฏิ บั ติ ต ามจรรยาบรรณธุ ร กิ จ ของ

1.1)

บริษัทฯ อย่างเคร่งครัด

การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต (Duty of Loyalty)

1.2)

10) จั ด ให้ มี ก ารดํ า เนิ น งานตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี แ ละ

การปฏิบต ั ห ิ น้าทีด ่ ว ้ ยความระมัดระวังและรอบคอบ (Duty

สนับสนุนให้มก ี ารสือ ่ สารไปสูท ่ ก ุ คนในบริษท ั ฯ ให้ได้รบ ั ทราบยึดถือ

of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมี

ปฏิบัติอย่างจริงจัง

จริยธรรม (Ethic) 1.3)

11) จัดให้มีกระบวนการที่ชัดเจนและโปร่งใสเกี่ยวกับการทํารายการ

การปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และ

ระหว่างกัน

ข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติคณะกรรมการ และ

12) จัดให้มีกระบวนการที่ชัดเจนในการรายงานของคณะกรรมการ

มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น (Duty of Obedience)

ตรวจสอบต่อคณะกรรมการ เมื่อพบหรือมีข้อสงสัยเกี่ยวกับ

137

บทที่ 22

โปร่งใส เชื่อถือได้ ทันเวลา เท่าเทียมกัน และเป็นไปตามกฎเกณฑ์

คณะกรรมการอาจเสนอ ชือ ่ กรรมการดังกล่าวให้ทป ี่ ระชุมสามัญ


บทบาทหน้าที่ของประธานกรรมการ

รายการหรือการกระทํา ซึ่งอาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสําคัญต่อ ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการ

1) กํ า กั บ ติ ด ตาม และดู แ ลให้ มั่ น ใจว่ า การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข อง

ต้ อ งดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการ

คณะกรรมการเป็ น ไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และบรรลุ ต าม

ตรวจสอบเห็นสมควร

วัตถุประสงค์และเป้าหมายหลักขององค์กร

13) จัดให้มน ี โยบายและกระบวนการบริหารความเสีย ่ งทีเ่ หมาะสมและ

2) ดูแลให้มั่นใจว่า กรรมการทุกคนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมให้เกิด

มีประสิทธิภาพ มีการติดตามและประเมินการบริหารความเสี่ยง อย่างสม่ําเสมอ

วัฒนธรรมองค์กรที่มีจริยธรรมและการกํากับดูแลกิจการที่ดี 3) พิจารณากําหนดวาระการประชุมคณะกรรมการบริษัทร่วมกับ

14) จัดให้มีการกําหนดแผนการสืบทอดตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง

กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ โดยมีมาตรการดูแลให้เรือ ่ งทีส ่ าํ คัญและ

ั ฯ และกํากับดูแลให้มก ี ารประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของ ของบริษท

เป็นไปตามอํานาจดําเนินการได้ถูกบรรจุเป็นวาระการประชุม

ผู้บริหารระดับสูงที่มีประสิทธิผลเป็นประจําทุกปี

4) จั ด สรรเวลาอย่ า งเพี ย งพอเพื่ อ ให้ ฝ่ า ยจั ด การสามารถเสนอ

15) จั ด ให้ มี เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท เพื่ อ ช่ ว ยดู แ ลกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของ

เรื่องและเพียงพอที่กรรมการบริษัทจะอภิปรายประเด็นสําคัญ

คณะกรรมการ และช่วยให้คณะกรรมการและบริษัทฯ ปฏิบัติให้

อย่างรอบคอบโดยทั่วกัน ตลอดจนส่งเสริมให้กรรมการบริษัทมี

เป็นไปตามกฎหมาย และข้อกําหนดที่เกี่ยวข้อง

ดุลยพินิจที่รอบคอบและให้ความเห็นได้อย่างอิสระ

16) ประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการบริษัทเป็นประจําทุกปี

5) เสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกรรมการบริษัทกับฝ่าย

รวมทั้งติดตามผลการประเมินของคณะกรรมการบริษัท และ

จัดการและสนับสนุนการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

คณะกรรมการชุดย่อยเพื่อพิจารณาร่วมกันในคณะกรรมการ

และฝ่ายจัดการตามนโยบายของบริษัทฯ

บริษัท

6) กํากับดูแลให้มีการเปิดเผยข้อมูลและการจัดการอย่างโปร่งใสใน

17) พัฒนาความรู้ความสามารถอย่างต่อเนื่อง โดยเข้าอบรมหรือ

กรณีที่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

เข้าร่วมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่กรรมการหรือ

7) กํากับดูแลให้การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการบริษัทโดยรวม

กิจกรรมใด ๆ ที่เป็นการเพิ่มพูนความรู้ในการปฏิบัติงานอย่าง

คณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ และกรรมการบริษัทแต่ละคน เป็น

ต่อเนื่อง

ไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

18) กํากับดูแลให้มก ี ารจัดทํานโยบายและแนวปฏิบต ั ด ิ า้ นการต่อต้าน

กรรมการอิสระ

ทุจริตคอร์รัปชั่น ปฏิบัติตามนโยบายและมาตรการต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชั่นของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด เพื่อเป็นแบบอย่าง

กรรมการอิสระ หมายถึง กรรมการทีม ่ ค ี วามเป็นอิสระจากการควบคุม

ที่ดีแก่บุคลากรของบริษัทฯ ตลอดจนสนับสนุนให้มีการสื่อสาร

ของผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และต้องไม่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือมี

ั อ ิ ย่างแท้จริง ทัง ้ ภายในและภายนอกองค์กรเพือ ่ ให้เกิดการปฏิบต

ส่วนได้เสียกับการตัดสินใจของผู้บริหาร ทั้งนี้ บริษัทฯ ได้กําหนด

19) กํากับดูแลให้มีกระบวนการและช่องทางในการรับและจัดการกับ

คุณสมบัติความเป็นอิสระไว้เข้มงวดกว่าข้อกําหนดของสํานักงาน

ข้อร้องเรียนของผู้ที่ประสงค์จะแจ้งเบาะแสหรือผู้มีส่วนได้เสีย

ก.ล.ต. รายละเอียดมีดังนี้

ทุกฝ่ายอย่างมีประสิทธิผล 20) กํากับดูแลให้มรี ะบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูล ซึง ่ รวม

1) ถือหุน ้ ไม่เกินร้อยละ 0.5 ของจํานวนหุน ้ ทีม ่ ส ี ท ิ ธิออกเสียงทัง ้ หมด

ถึ ง การกํ า หนดนโยบายและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการรั ก ษาความลั บ

ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่

(Confidentiality) การรักษาความน่าเชื่อถือ (Integrity) และ

หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ให้นับรวมการถือหุ้น

ความพร้อมใช้ของข้อมูล (Availability) รวมทั้งการจัดการ

ของผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนั้น ๆ ด้วย

ข้อมูลทีอ ่ าจมีผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ (Market Sensitive

2) ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น กรรมการที่ มี ส่ ว นร่ ว มบริ ห ารงาน ลู ก จ้ า ง

Information) ตลอดจนดูแลให้กรรมการ ผู้บริหารระดับสูง และ

พนักงาน ที่ปรึกษาที่ได้เงินเดือนประจํา หรือผู้มีอํานาจควบคุม

พนั ก งาน ตลอดจนบุ ค คลภายนอกที่ เ กี่ ย วข้ อ งปฏิ บั ติ ต าม

ของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม บริษัทย่อยลําดับ

ระบบการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลด้วย

เดี ย วกั น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ของผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของ

21) จั ด ให้ มี ก ารทบทวนและแก้ ไ ขกฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท ให้

บริษท ั ฯ เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ ้ ย

สอดคล้องกับภาวการณ์

กว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง

22) สามารถแสวงหาความเห็นทางวิชาชีพเกีย ่ วกับการดําเนินธุรกิจ

3) ไม่ เ ป็ น บุ ค คลที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ท างสายโลหิ ต หรื อ โดยการ

ด้วยการว่าจ้างที่ปรึกษาภายนอกด้วยค่าใช้จ่ายบริษัทฯ

จดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็นบิดา มารดา คู่สมรส

23) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดเกี่ยวกับกิจการของบริษัทฯ ตามที่ผู้ถือหุ้น

พี่น้อง และบุตร รวมทั้งคู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น

มอบหมาย

ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้มีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้

138


รายงานประจํ า ปี 2560

8) ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่

รับการเสนอให้เป็นกรรมการ ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจควบคุม

มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย หรือไม่เป็นหุ้นส่วน

ของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย

ที่มีนัยในห้างหุ้นส่วน หรือเป็นกรรมการที่มีส่วนร่วมบริหารงาน

4) ไม่มีหรือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม

ลูกจ้าง พนักงาน ที่ปรึกษาที่รับเงินเดือนประจํา หรือถือหุ้นเกิน

ข อ ง บ ริ ษั ท ฯ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ที่ อ า จ เ ป็ น ก า ร ขั ด ข ว า ง ก า ร ใ ช้

ร้อยละ 1 ของจํานวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น

วิ จ ารณญาณอย่ า งอิ ส ระของตน รวมทั้ ง ไม่ เ ป็ น หรื อ เคยเป็ น

ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันที่

ผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอํานาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์

มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย 9) ไม่มีลักษณะอื่นใดที่ทําให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็นอิสระ

ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้น

เกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ

รายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้น จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับ

กรรมการอิสระอาจได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการให้ตัดสินใจ

การแต่งตั้ง

ในการดําเนินกิจการของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม

ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทํารายการ

บริษัทย่อยลําดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม

ทางการค้าที่กระทําเป็นปกติเพื่อประกอบกิจการ การเช่าหรือให้

ของบริษท ั ฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective

เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกี่ยวกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือ

Decision) ได้

การให้หรือรับความช่วยเหลือทางการเงิน ด้วยการรับหรือให้กย ู้ ม ื ค้ํ า ประกั น การให้ สิ น ทรั พ ย์ เ ป็ น หลั ก ประกั น หนี้ สิ น รวมถึ ง

กรรมการอิสระควรใช้ดุลยพินิจอย่างเป็นอิสระในการพิจารณาเรื่อง ต่าง ๆ ในการดําเนินธุรกิจ และพร้อมที่จะแสดงความคิดเห็น หรือ

พฤติ ก ารณ์ อื่ น ทํ า นองเดี ย วกั น ซึ่ ง เป็ น ผลให้ บ ริ ษั ท ฯ หรื อ

คัดค้านในกรณีที่มีความเห็นขัดแย้งในเรื่องที่มีผลกระทบต่อความ

คู่สัญญามีภาระหนี้ที่ต้องชําระต่ออีกฝ่ายหนึ่ง ตั้งแต่ร้อยละ 3

เท่าเทียมกันของผู้ถือหุ้นทุกราย

ของสินทรัพย์ทม ี่ ต ี ว ั ตนสุทธิของบริษท ั ฯ หรือตัง ้ แต่ 20 ล้านบาท ขึ้ น ไปแล้ ว แต่ จํ า นวนใดจะต่ํ า กว่ า ทั้ ง นี้ การคํ า นวณภาระหนี้

คณะกรรมการชุดย่อย

ดั ง กล่ า วให้ เ ป็ น ไปตามวิ ธี ก ารคํ า นวณมู ล ค่ า ของรายการที่ เกี่ยวโยงกันตามประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนว่าด้วย

เพื่ อ ให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี คณะกรรมการ

หลักเกณฑ์ในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน โดยอนุโลม แต่ในการ

บริษัทได้แต่งตั้งคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อช่วยแบ่งเบาภาระความ

พิจารณาภาระหนีด ้ ง ั กล่าว ให้นบ ั รวมภาระหนีท ้ เี่ กิดขึน ้ ในระหว่าง

รับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท ช่วยพิจารณากลั่นกรองการ ดํ า เนิ น งานที่ สํ า คั ญ เฉพาะเรื่ อ งตามที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย และเสนอ

1 ปี ก่อนวันที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน บริ ษั ท ร่ ว ม ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรื อ ผู้ มี อํ า นาจควบคุ ม ของ

เรื่องสําคัญในบางเรื่องตามที่คณะกรรมการบริษัทได้ให้อํานาจไว้

บริษท ั ฯ และไม่เป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ ทีม ่ น ี ย ั ผูม ้ อ ี าํ นาจควบคุม หรือหุน ้ ส่วน

โครงสร้างกรรมการชุดย่อย มีดังต่อไปนี้

ของสํานักงานสอบบัญชี ซึง ่ มีผส ู้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม

คณะกรรมการตรวจสอบ

ของบริษท ั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน ้ จากการมีลก ั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการแต่งตั้ง

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ

6) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้

ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ 4 คน โดยมีองค์ประกอบดังนี้

บริการเป็นที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งได้ รับค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปีจากบริษัทฯ บริษัทใหญ่

- กรรมการอิสระ 4 คน ซึ่งเป็นบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วน

บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอํานาจควบคุม

ตรงตามนิยามกรรมการอิสระของตลาดหลักทรัพย์ฯ และ ของบริษัทฯ

ของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย ผู้มีอํานาจควบคุม หรือ หุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนั้นด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจาก

- กรรมการตรวจสอบทุ ก คนมี ค วามรู้ แ ละประสบการณ์

การมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีก่อนได้รับการ

เพี ย งพอที่ จ ะสามารถทํ า หน้ า ที่ ใ นการสอบทานความ น่ า เชื่ อ ถื อ ของงบการเงิ น โดยมี ป ระสบการณ์ ใ นการ

แต่งตั้ง

สอบทานงบการเงินของบริษัทฯ

7) ไม่เป็นกรรมการทีไ่ ด้รบ ั แต่งตัง ้ ขึน ้ เพือ ่ เป็นตัวแทนของกรรมการ

- กรรมการตรวจสอบลําดับที่ 1 จบการศึกษาด้านบัญชี

ของบริษท ั ฯ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่หรือผูถ ้ อ ื หุน ้ ซึง ่ เป็นผูเ้ กีย ่ วข้องกับ ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทฯ

139

บทที่ 22

ความเห็นแก่คณะกรรมการบริษท ั ตลอดจนมีอาํ นาจพิจารณาตัดสินใจ

5) ไม่เป็นหรือเคยเป็นผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ บริษท ั ใหญ่ บริษท ั ย่อย


รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการตรวจสอบ

2) สอบทานรายการที่มิใช่รายการปกติซึ่งมีนัยสําคัญที่เกิดขึ้นใน รอบปีที่ผ่านมา (ถ้ามี) โดยพิจารณาความสมเหตุสมผลของ

1.

นายไพฑูรย์

ทวีผล

ประธานกรรมการ

การทํ า รายการดั ง กล่ า ว ผลกระทบต่ อ ฐานะทางการเงิ น และ

ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน

ผลการดําเนินงานและความถูกต้องครบถ้วนของการเปิดเผยข้อมูล

2545 - ปัจจุบัน

ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ให้เป็นไปตามกฎหมายและข้อกําหนดของ

2551 - ปัจจุบัน

กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล

ตลาดหลักทรัพย์ฯ เพือ ่ ให้มน ั่ ใจว่ารายการดังกล่าวสมเหตุสมผล

3) พิ จ ารณารายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น และรายการที่ อ าจมี ค วาม

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี

และเป็นประโยชน์สูงสุดต่อบริษัทฯ

จํากัด (มหาชน) 2553 - 2555

4) พิจารณาการเปิดเผยข้อมูลของบริษัทฯ ในกรณีที่เกิดรายการ

ประธานกรรมการตรวจสอบ

เกี่ยวโยงหรือรายการที่เกี่ยวข้อง หรือรายการที่อาจก่อให้เกิด

บริษท ั บิก ๊ ซีซเู ปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน) 2555 - ปัจจุบัน

ประธานกรรมการตรวจสอบ

2555 - ปัจจุบัน

กรรมการตรวจสอบ

ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้มีความถูกต้องและครบถ้วน 5) สอบทานให้ บ ริ ษั ท ฯ มี ร ะบบการควบคุ ม ภายในที่ เ หมาะสมและ

บริษท ั เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จํากัด (มหาชน)

มีประสิทธิผล รวมทัง ้ สอบทานรายการทีอ ่ าจก่อให้เกิดการทุจริต รายงานทางการเงิน

บริษัท อีซี่บาย จํากัด (มหาชน) 2. นายการุณ

กิตติสถาพร

6) พิจารณาผลการตรวจสอบ และข้อเสนอแนะของผูส ้ อบบัญชีและ

กรรมการ

สํานักตรวจสอบภายใน เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน และ

ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน 2552 - ปัจจุบัน

เสนอให้ ฝ่ า ยบริ ห ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขตามข้ อ เสนอแนะ รวมทั้ ง

กรรมการตรวจสอบ

ติดตามผลการดําเนินการตามข้อเสนอแนะนั้น

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2551 - ปัจจุบัน

7) สอบทานให้บริษัทฯ มีหน่วยงานตรวจสอบภายในที่มีความเป็น

กรรมการตรวจสอบ

อิสระ และมีระบบการตรวจสอบภายในที่มีประสิทธิผล รวมถึง

บริษัท สหมิตรเครื่องกล จํากัด (มหาชน) 2555 - 2560 3. นางโชติกา

การเข้าถึงข้อมูลที่จําเป็นสําหรับงานตรวจสอบภายใน

กรรมการตรวจสอบ บริษัท น้ําตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน)

สวนานนท์

8) สอบทานกิจกรรมและโครงสร้างของสํานักตรวจสอบภายใน และ อนุมัติกฎบัตรของสํานักตรวจสอบภายใน

กรรมการ

9) ร่ ว มพิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบในการแต่ ง ตั้ ง เสนอความดี

ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน 2558 - ปัจจุบัน

ความชอบ โยกย้าย ถอดถอนหรือเลิกจ้าง รวมทัง ้ ในการกําหนด

กรรมการตรวจสอบ

และปรับค่าตอบแทนผู้จัดการสํานักตรวจสอบภายใน เพื่อสร้าง

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2557 - ปัจจุบัน

ความมั่นใจว่าหน่วยงานนี้ทําหน้าที่อย่างเป็นอิสระ

ประธานกรรมการตรวจสอบ

10) พิจารณาให้ความเห็นและให้ขอ ้ สังเกตงบประมาณและอัตรากําลัง

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 4. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์

ของสํานักตรวจสอบภายใน เพื่อเสนอฝ่ายบริหารเป็นผู้อนุมัติ

กรรมการ

11) สอบทานและให้ ค วามเห็ น ชอบต่ อ แผนงานตรวจสอบภายใน

ประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน 2559 - ปัจจุบัน

กรรมการตรวจสอบ

2555 - 2559

ประธานกรรมการตรวจสอบ

ประจํ า ปี แ ละการเปลี่ ย นแปลงแผนงานตามผลการประเมิ น ความเสี่ ย งในภาพรวมขององค์ ก ร (Enterprise Risk

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

Management) และแผนกลยุทธ์ของสํานักตรวจสอบภายใน 12) สอบทานแผนการตรวจสอบภายในร่วมกับผู้จัดการสํานักตรวจ

บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จํากัด (มหาชน) 2560 - ปัจจุบัน

สอบภายใน โดยเฉพาะที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบควบคุ ม ภายในและ

กรรมการตรวจสอบ

กระบวนการจัดการทางการเงิน

ธนาคารเกียรตินาคิน

13) พิจารณาแผนงานตรวจสอบและขอบเขตการตรวจสอบของ

หน้าทีแ ่ ละความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1) สอบทานให้บริษท ั ฯ มีกระบวนการจัดทําและการเปิดเผยข้อมูลใน

ผูต ้ รวจสอบภายในและผูส ้ อบบัญชีของบริษท ั ฯ ให้มค ี วามสัมพันธ์ ที่เกื้อกูลกัน ไม่ซ้ําซ้อน

รายงานทางการเงินของบริษัทฯ ให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน

14) สอบทานผลการปฏิ บั ติ ง านของสํ า นั ก ตรวจสอบภายในตาม

เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา โดยการประสานงานกับผู้สอบ

แผนงานตรวจสอบที่ ไ ด้ รั บ ความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ

บั ญ ชี แ ละผู้ บ ริ ห ารที่ รั บ ผิ ด ชอบจั ด ทํ า รายงานทางการเงิ น ทั้ ง

ตรวจสอบ เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานยังคงเป็นไปตามกรอบ

รายไตรมาสและประจําปี

ความรับผิดชอบที่คณะกรรมการตรวจสอบมอบหมาย

140


รายงานประจํ า ปี 2560

15) พิจารณาการจ้างผูเ้ ชีย ่ วชาญภายนอกมาปฏิบต ั ห ิ น้าทีต ่ รวจสอบ

27) ได้รบ ั รายงานความคืบหน้าจากฝ่ายจัดการและทีป ่ รึกษากฎหมาย

ภายใน กรณีทผ ี่ ป ู้ ฏิบต ั ง ิ านตรวจสอบภายในขาดทักษะบางอย่าง

ของบริษท ั ฯ เกีย ่ วกับประเด็นสําคัญในการปฏิบต ั ต ิ ามข้อกําหนด กฎหมายที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ําเสมอ

ที่จําเป็นหรือขาดความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในด้วย เช่น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น

28) คณะกรรมการตรวจสอบต้ อ งรายงานผลการดํ า เนิ น งานต่ อ

16) จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพการปฏิ บั ติ ง านตรวจสอบภายใน

ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ ทราบและพิจารณา อย่างน้อย

(Quality Assurance Review) เป็นประจําทุกปี รวมทั้งการ

ไตรมาสละครั้ง

ประเมินคุณภาพการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในจากบุคคลที่มี

29) สอบทานรายงานใด ๆ ที่จัดทําโดยบริษัทฯ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้อง

ความเป็ น อิ ส ระจากภายนอกองค์ ก ร (External Quality

กับหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ

Review) อย่างน้อยทุก ๆ 5 ปี บัญชี เพือ ่ ให้ได้ผส ู้ อบบัญชีทม ี่ ค ี วามเป็นอิสระ โดยคํานึงถึงความ น่าเชือ ่ ถือ ความเพียงพอของทรัพยากร ปริมาณงานตรวจสอบ ของสํานักงานตรวจสอบบัญชีนน ั้ และประสบการณ์ของบุคลากร ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายให้ ต รวจสอบบั ญ ชี ข องบริ ษั ท ฯ รวมถึ ง ผล การปฏิบัติงานในปีที่ผ่านมา ตลอดจนพิจารณาถอดถอนผู้สอบ บัญชี 18) สอบทานขอบเขตและวิธีการตรวจสอบที่เสนอโดยผู้สอบบัญชี รวมทั้งพิจารณาเหตุผลในการเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบ (กรณีมีการเปลี่ยนแปลงแผนการตรวจสอบในภายหลัง)

31.1) รายการที่เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 31.2) การทุจริต หรือมีสง ิ่ ผิดปกติ หรือมีความบกพร่องทีส ่ าํ คัญ ในระบบการควบคุมภายใน 31.3) การฝ่าฝืนกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกําหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย ่ วข้อง กับธุรกิจของบริษัทฯ 32) หากคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ ผู้ บ ริ ห ารไม่ ดํ า เนิ น การให้ มี ก าร ปรับปรุงแก้ไขรายการหรือการกระทําทีเ่ ข้าลักษณะตามข้อ 31.1), 31.2) และ 31.3) ข้างต้น ภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร กรรมการตรวจสอบคนใดคนหนึ่งอาจรายงานว่ามี รายการหรือการกระทําตามทีก ่ ล่าวข้างต้นต่อสํานักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ฯ 33) สอบทานให้บริษัทฯ มีกระบวนการพัฒนาการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งให้แนวทางและข้อเสนอแนะที่จําเป็น เพื่อการพัฒนา 34) ให้ความสําคัญโดยส่งเสริมให้บริษท ั ฯ กําหนดเรือ ่ งการกํากับดูแล กิจการทีด ่ ไี ว้เป็นวาระประจําของการประชุมคณะกรรมการบริษท ั และการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ 35) ติดตามให้ประธานกรรมการตรวจสอบต้องได้รับสําเนารายงาน การมี ส่ ว นได้ เ สี ย ตามมาตรา 89/14 แห่ ง พระราชบั ญ ญั ติ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์จากเลขานุการบริษัท ภายใน 7 วันทําการนับแต่วันที่บริษัทฯ ได้รับรายงานนั้น 36) สอบทานให้บริษัทฯ มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็น ระบบมาตรฐานที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล 37) หารือร่วมกับฝ่ายจัดการถึงนโยบายหลักของบริษท ั ฯ ทีเ่ กีย ่ วข้อง กั บ การบริ ห ารความเสี่ ย งและการประเมิ น ความเสี่ ย งทุ ก ด้ า น รวมทั้งความเสี่ยงจากการทุจริตคอร์รัปชั่น

19) เสนอแนะให้ผู้สอบบัญชีสอบทานหรือตรวจสอบรายการใด ๆ ที่ เห็นว่าจําเป็นและเป็นเรื่องสําคัญระหว่างการตรวจสอบบัญชี ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยได้ 20) สอบทานรายงานของผู้สอบบัญชีที่จัดทํา เสนอให้ฝ่ายบริหาร ปรับปรุงแก้ไข และติดตามผลการดําเนินการตามข้อเสนอแนะนัน ้ 21) พิ จ ารณาความเพี ย งพอและความมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ประสานงานระหว่างผู้สอบบัญชี และผู้ตรวจสอบภายใน 22) รั บ ทราบจากผู้ ส อบบั ญ ชี โ ดยไม่ ชั ก ช้ า ในข้ อ เท็ จ จริ ง เกี่ ย วกั บ พฤติการณ์อันควรสงสัยว่ากรรมการ ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่ง รับผิดชอบในการดําเนินงานของบริษัทฯ ได้กระทําความผิดตาม มาตรา 281/2 วรรค 2 มาตรา 305, 306, 308, 309, 310, 311, 312 หรือมาตรา 313 ของพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ เมือ ่ ผูส ้ อบบัญชีได้พบและดําเนินการตรวจสอบ ต่ อ ไปโดยไม่ ชั ก ช้ า รวมทั้ ง ต้ อ งรายงานผลการตรวจสอบใน เบือ ้ งต้นให้แก่สาํ นักงาน ก.ล.ต. และผูส ้ อบบัญชีทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งจากผู้สอบบัญชี 23) สอบทานประสิ ท ธิ ผ ลของระบบการติ ด ตามควบคุ ม ให้ บ ริ ษั ท ฯ ปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อ กําหนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของบริษัทฯ ตลอดจนระเบียบจรรยาบรรณของบริษัทฯ 24) สอบทานผลการสอบสวนของฝ่ายจัดการและติดตามกรณีของ การไม่ปฏิบัติตาม 25) สอบทานประเด็นที่ตรวจพบโดยหน่วยงานกํากับดูแลภายนอก และข้อสังเกตจากผู้ตรวจสอบ 26) สอบทานกระบวนการสือ ่ สารประมวลจรรยาบรรณไปสูพ ่ นักงาน ภายในบริษัทฯ และติดตามผลการปฏิบัติตาม

141

บทที่ 22

30) จั ด ทํ า รายงานผลการดํ า เนิ น งานประจํ า ปี ข องคณะกรรมการ ตรวจสอบโดยแสดงรายการตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กําหนด และให้ลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งเปิดเผย ไว้ในรายงานประจําปีของบริษัทฯ 31) ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือ มีขอ ้ สงสัยว่า มีรายการหรือการกระทํา ซึง ่ อาจมีผลกระทบอย่าง มี นั ย สําคัญต่อฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ คณะกรรมการตรวจสอบต้องรายงานต่อคณะกรรมการบริษัท เพื่ อ ดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการ ตรวจสอบเห็นสมควรรายการหรือการกระทําดังกล่าว ได้แก่

17) พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้ง และเสนอค่าตอบแทนผู้สอบ


หน้าที่และความรับผิดชอบในการสรรหา

38) ร่วมกับคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง คณะทํางานบริหาร ความเสี่ยง และฝ่ายบริหารในการพิจารณาและให้ความเห็นใน รายงานผลและรายงานความคืบหน้าการบริหารความเสี่ยงของ บริษัทฯ 39) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย 40) สอบทานกฎบัตรเป็นประจําทุกปี เพื่อพิจารณาความรับผิดชอบ ของคณะกรรมการตรวจสอบที่กําหนดไว้ และเสนอให้พิจารณา ปรับเปลี่ยนหากมีความจําเป็น 41) มีหน้าที่ตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกาศกําหนดเพิ่มเติม 42) กํากับดูแลให้มก ี ระบวนการรับแจ้งเบาะแส ในกรณีทพ ี่ นักงานและ ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ มีข้อสงสัยหรือพบเห็นการกระทําอัน ควรสงสัยว่ามีการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ จรรยาบรรณ หรือนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เพื่อ ให้ความมัน ่ ใจแก่ผแ ู้ จ้งเบาะแสว่าบริษท ั ฯ มีกระบวนการสอบสวน ที่เป็นอิสระ และมีการดําเนินการในการติดตามที่เหมาะสม 43) ควบคุมดูแลกรณีการสอบสวนพิเศษตามความจําเป็น

1) พิจารณาโครงสร้าง ขนาด และองค์ประกอบคณะกรรมการบริษท ั ให้มค ี วามเหมาะสมกับองค์กร และสภาพแวดล้อมทีเ่ ปลีย ่ นแปลง ไป ตลอดจนพิจารณาทบทวนเกณฑ์คุณสมบัติของกรรมการ อิสระ 2) ดู แ ลให้ โ ครงสร้ า งของคณะกรรมการบริ ษั ท ประกอบไปด้ ว ย ผู้ ท ร ง คุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ ห ล า ก ห ล า ย มีประสบการณ์ ความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์ต่อการ ดําเนินธุรกิจ ยึดมั่นในคุณธรรมและความซื่อสัตย์ โดยไม่จํากัด เพศ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ ทักษะทางวิชาชีพ หรือคุณสมบัติ เฉพาะด้านอื่น ๆ 3) พิจารณาหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการบริษัท สรรหาและ พิจารณากลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม สมควรได้รับ การแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท เพื่อนําเสนอต่อคณะกรรมการ บริ ษั ท พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ชอบ ก่ อ นนํ า เสนอต่ อ ที่ ป ระชุ ม ผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติแต่งตั้งเป็นกรรมการบริษัท

คณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

4) พิจารณาหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สรรหา และพิจารณากลั่นกรองบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสม สมควร ได้ รั บ การแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพื่อนําเสนอต่อ

คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาและ

คณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาอนุ มั ติ แ ต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการ

กําหนดค่าตอบแทน ซึ่งประกอบด้วยกรรมการ 3 คน โดยมี

ผู้จัดการใหญ่

องค์ประกอบดังนี้

ู้ อ ื หุน ้ รายย่อยเสนอรายชือ ่ บุคคลเข้ารับการสรรหา 5) เปิดโอกาสให้ผถ เป็นกรรมการบริษัท โดยมีกําหนดระยะเวลาอย่างเพียงพอก่อน

- กรรมการอิสระ 2 คน

การประชุมผู้ถือหุ้น

- กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร 1 คน

6) จัดให้มแ ี ผนสืบทอดตําแหน่งกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่และผูบ ้ ริหาร ระดับสูง โดยมีการทบทวนอย่างสมํา่ เสมอ

- ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ

7) พิจารณากลยุทธ์และนโยบายด้านการบริหารทุนมนุษย์และการ

รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน 1. นายการุณ กิตติสถาพร 2. นางโชติกา สวนานนท์ 3. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

บริ ห ารองค์ ก รให้ มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ การดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ บริษัทฯ

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

หน้าที่และความรับผิดชอบในการกําหนดค่าตอบแทน 1) พิ จ ารณารู ป แบบและหลั ก เกณฑ์ ก ารจ่ า ยค่ า ตอบแทนของ กรรมการบริษัท กรรมการชุดย่อย และกรรมการผู้จัดการใหญ่

โดยมี ก ารแต่ ง ตั้ ง ที่ ป รึ ก ษาคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่าตอบแทนจํานวน 2 คน ดังนี้

ให้ มี ค วามชั ด เจน เป็ น ธรรม และเหมาะสมกั บ หน้ า ที่ ค วาม รั บ ผิ ด ชอบ ความสํ า เร็ จ ในการปฏิ บั ติ ง านที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ ผล

1. นายสุทธิศักดิ์ 2. นายปริญญ์

จิราธิวัฒน์ จิราธิวัฒน์

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา

ประกอบการ และปั จ จั ย แวดล้ อ มอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ตลอดจน พิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของบริษท ั อืน ่ ทีอ ่ ยูใ่ น อุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น หรื อ ใกล้ เ คี ย งกั บ บริ ษั ท ฯ โดยคํ า นึ ง ถึ ง

ทั้ ง นี้ ที่ ป รึ ก ษาสามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม คณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน แต่ไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุม นอกจากนี้ หากมีการพิจารณาวาระที่ตนเองมีส่วนได้เสีย ที่ปรึกษาจะไม่อยู่ในที่ ประชุม เพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์และเปิดโอกาสให้ คณะกรรมการและที่ปรึกษาท่านอื่นหารือกันอย่างเต็มที่

การเพิ่มมูลค่าส่วนของผู้ถือหุ้นในระยะยาว 2) พิจารณากําหนดค่าตอบแทนแก่กรรมการบริษัทและกรรมการ ชุดย่อยเพื่อนําเสนอให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาเห็นชอบ และนําเสนอต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติ

142


รายงานประจํ า ปี 2560

3) พิจารณากลั่นกรองและให้ความเห็นชอบต่อระดับความเสี่ยง

3) พิจารณาการกําหนดเป้าหมายและประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของ กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ เพื่ อ พิ จ ารณาความเหมาะสมในการ

ที่องค์กรยอมรับได้ และช่วงความเบี่ยงเบนของความเสี่ยงที่

กําหนดค่าตอบแทน

องค์กรยอมรับได้ 4) สอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย งในภาพรวมขององค์ ก ร และ

หน้าที่และความรับผิดชอบอื่น ๆ

พิจารณาเปรียบเทียบกับระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ 5) รับทราบถึงความเสี่ยงที่สําคัญ ๆ และพิจารณาว่าฝ่ายบริหารได้

1) สามารถแต่งตั้งที่ปรึกษาประจํา และ/หรือว่าจ้างที่ปรึกษาเฉพาะ

ตอบสนองต่อความเสี่ยงอย่างเหมาะสมหรือไม่

โครงการ เพื่ อ ให้ คํ า แนะนํ า ในการปฏิ บั ติ ง านตามหน้ า ที่ ค วาม

6) มี ส่ ว นร่ ว มให้ ค วามเห็ น ในการวิ เ คราะห์ ก ลยุ ท ธ์ ก ารบริ ห าร

รั บ ผิ ด ชอบได้ ใ นกรณี ที่ พิ จ ารณาว่ า จํ า เป็ น และสมควร โดย

ความเสี่ยงประจําปีขององค์กร

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนสามารถพิจารณา

7) ให้ทิศทางและแนวทางการดูแลงานบริหารความเสี่ยงแก่ฝ่าย

กําหนดค่าตอบแทนของที่ปรึกษาด้วยค่าใช้จ่ายของบริษัทฯ ได้

บริหารความเสี่ยง

ตามความจําเป็นและสมควร

8) กํากับดูแลการกําหนดเป้าหมายในการวัดผลการปฏิบัติงานและ

2) ทบทวนและแก้ ไ ขกฎบั ต รคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด

ดัชนีตัวชี้วัดความเสี่ยงที่สําคัญ

ค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับภาวการณ์ และนําเสนอขออนุมัติ

9) รับทราบรายงานแนวโน้มความเสี่ยงขององค์กรและทําให้แน่ใจ

ต่อคณะกรรมการบริษัท

ว่ากลยุทธ์ขององค์กรสามารถตอบสนองต่อประเด็นเกี่ยวกับ

3) ปฏิบัติหน้าที่อื่นใดเกี่ยวกับการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

ความเสีย ่ งที่ได้หยิบยกขึ้น

ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

10) ทํ า ให้ มั่ น ใจว่ า การพิ จ ารณาว่ า เรื่ อ งใดมี ส าระสํ า คั ญ นั้ น ควร พิ จ ารณาจากผลกระทบด้ า นการเงิ น และคุ ณ ภาพต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น

คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง

ขององค์กร ทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นในทันที และที่เกิดขึ้นในระยะ ยาว

คณะกรรมการบริ ษั ท เป็ น ผู้ แ ต่ ง ตั้ ง คณะกรรมการนโยบาย

11) รายงานกิ จ กรรมต่ า ง ๆ ของการบริ ห ารความเสี่ ย งต่ อ

ความเสีย ่ งซึง ่ ประกอบด้วยกรรมการ 4 คน โดยมีองค์ประกอบ

คณะกรรมการบริษัท เพื่อรับทราบอย่างน้อยไตรมาสละครั้ง

ดังนี้

12) ปฏิบต ั ง ิ านอืน ่ ๆ ตามทีไ่ ด้รบ ั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษท ั

- กรรมการบริษัท 4 คน

นอกจากนี้ ฝ่ายจัดการได้แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

- ประธานกรรมการเป็นกรรมการอิสระ

ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงและผู้บริหารในแต่ละฝ่ายงานหลัก ทํ า หน้ า ที่ ดํ า เนิ น การตามนโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ ไ ด้ รั บ มา

รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง

จากคณะกรรมการนโยบายความเสี่ ย ง ควบคุ ม การพั ฒ นาระบบ

1.

ประธานกรรมการ

แต่ละหน่วยธุรกิจให้เป็นไปตามแนวทางมาตรฐานที่กําหนดไว้ และ

2. นายกอบชัย จิราธิวัฒน์

กรรมการ

ผนวกการบริหารความเสี่ยงเข้าไปในแผนธุรกิจ สอบทานการวัดผล

3. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

กรรมการ

การปฏิ บั ติ ง านตามมาตรฐานความเสี่ ย งโดยเปรี ย บเที ย บกั บ ช่ ว ง

4. นายปรีชา

กรรมการ

ทวีผล

เอกคุณากูล

ความเบี่ยงเบนที่ยอมรับได้ สื่อสารและจัดการในเรื่องการจัดตั้งและ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ นโยบายความเสี่ยง

รักษาไว้ซึ่งการบริหารความเสี่ยงทุกระดับขององค์กรให้สอดคล้อง

1) กํากับดูแลนโยบาย กลยุทธ์ โครงสร้าง และกรอบการพัฒนาการ

นโยบายความเสี่ยง

กับวิสัยทัศน์การบริหารความเสี่ยงขององค์กร และรายงานความ ก้าวหน้าในการบริหารความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องต่อคณะกรรมการ

บริหารความเสี่ยงในทุกประเภทและทุกระดับขององค์กร 2) ประเมินประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยงที่ฝ่ายบริหารจัด ให้มีขึ้นในองค์กร

143

บทที่ 22

การบริหารความเสี่ยงที่อยู่ในขอบเขตความรับผิดชอบของผู้บริหาร นายไพฑูรย์


สรุปการดํารงตําแหน่งของกรรมการในคณะกรรมการชุดต่าง ๆ รายชื่อกรรมการ

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการ

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการ

ตรวจสอบ

และกําหนดค่าตอบแทน

นโยบายความเสี่ยง

1. นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์

C

-

-

-

2. นายไพฑูรย์ ทวีผล

M

C

-

C

3. นายการุณ กิตติสถาพร

M

M

C

-

4. นางโชติกา สวนานนท์

M

M

M

-

5. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์

M

M

-

-

6. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

M

-

-

-

7. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์

M

-

A

-

8. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

M

-

M

-

9. นายกอบชัย จิราธิวัฒน์

M

-

-

M

10.นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

M

-

A

M

11. นายปรีชา เอกคุณากูล

M

-

-

M

หมายเหตุ: C-Chairman หมายถึง ประธาน M-Member หมายถึง กรรมการ A-Advisory หมายถึง ที่ปรึกษา

เลขานุการบริษัท 4) จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัทและการประชุมผู้ถือหุ้น ให้

คณะกรรมการบริษท ั เป็นผูพ ้ จ ิ ารณาแต่งตัง ้ ผูม ้ ค ี วามรู้ ความสามารถ

เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

และมี ค วามเหมาะสมเป็ น เลขานุ ก ารบริ ษั ท เพื่ อ ช่ ว ยสนั บ สนุ น การ ทํางานที่เกี่ยวข้องให้ดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

5) ให้คําแนะนําในการดําเนินงานของบริษัทฯ และคณะกรรมการ

ตามกฎหมายและหลักธรรมาภิบาล ซึง ่ คณะกรรมการบริษท ั ได้แต่งตัง ้

บริ ษั ท ให้เป็นไปตามหนังสือบริคณห์สนธิ ข้อบังคับของบริษัทฯ

นางสาวอัมพาวีร์ ชมภูพงษ์เกษม ให้ดํารงตําแหน่งเลขานุการบริษัท

พระราชบัญญัตห ิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พระราชบัญญัติ บริษัทมหาชนจํากัด และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

รวมทั้ ง ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ลขานุ ก ารคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด

6) เป็นศูนย์กลางการติดต่อสือ ่ สารข้อมูลข่าวสารระหว่างกรรมการ

ค่าตอบแทน ประวัติและประสบการณ์ปรากฏในหัวข้อ “รายละเอียด

ผู้บริหาร และผู้ถือหุ้น

เกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท” โดยมีหน้าที่ความรับผิดชอบด้านเลขานุการบริษัทดังนี้

7) ประสานงานและติดตามการดําเนินงานตามมติของกรรมการและ

หน้าที่และความรับผิดชอบของเลขานุการบริษัท

8) ดู แ ลให้ มี ก ารเปิ ด เผยข้ อ มู ล และรายงานสารสนเทศในส่ ว นที่

ผู้ถือหุ้น รับผิดชอบต่อหน่วยงานที่กํากับดูแลตามระเบียบและข้อกําหนด

1) จัดทําและเก็บรักษาเอกสารเกี่ยวกับทะเบียนกรรมการ รายงาน

ของหน่วยงานทางการ

ประจําปีของบริษท ั ฯ หนังสือนัดประชุมคณะกรรมการบริษท ั และ

9) ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศ

รายงานการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม

กําหนดหรือตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

ผู้ถือหุ้น และรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น

10) จัดทํารายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทและรายงานการ

2) เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือ

ประชุมผู้ถือหุ้น

ผู้บริหาร 3) จัดส่งสําเนารายงานการมีสว ่ นได้เสียของกรรมการและผูบ ้ ริหาร

คณะกรรมการบริหาร

หรือบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องให้ประธานกรรมการและประธาน กรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทําการนับแต่วน ั ทีบ ่ ริษท ั ฯ

คณะกรรมการบริษท ั เป็นผูแ ้ ต่งตัง ้ คณะกรรมการบริหาร ซึง ่ ประกอบ

ได้รบ ั รายงานนัน ้

ด้วยกรรมการ 5 คน ดังนี้

144


รายงานประจํ า ปี 2560

รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการบริหาร

โครงสร้างระดับจัดการ

1.

คณะกรรมการจัดการ

จิราธิวัฒน์

ประธานกรรมการ กรรมการ

3. นายสุทธิศักดิ์

จิราธิวัฒน์

กรรมการ

4. นายสุทธิธรรม

จิราธิวัฒน์

กรรมการ

5. นายปริญญ์

จิราธิวัฒน์

กรรมการ

คณะกรรมการจัดการ ประกอบด้วยกรรมการ 13 คน ดังนี้

รายชื่อและตําแหน่งคณะกรรมการจัดการ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

1.

1) พิ จ ารณากลั่ น กรองในเรื่ อ งดั ง ต่ อ ไปนี้ เพื่ อ นํ า เสนอให้

2.

คณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติ 1.1)

3.

แผนกลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจ เป้าหมายทางการเงิน และแผนงานของบริษัทฯ

1.2)

งบประมาณประจําปี (Annual Estimate) ซึ่งเป็นไปตาม 4.

แผนกลยุทธ์ 1.3)

การลงทุนโครงการต่าง ๆ หรือรายการที่สําคัญภายใต้

1.4)

กิจกรรมและการปฏิบต ั ง ิ านทีเ่ กีย ่ วกับการควบรวมและซือ ้

5.

ขอบเขตอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการบริหาร กิจการ 1.5)

6.

แสวงหาและประเมินโอกาสในการลงทุนในธุรกิจใหม่

2) ติดตามผลประกอบการของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามงบประมาณ 7.

และเป้าหมายที่ตั้งเอาไว้ 3) กํากับและติดตามผลการดําเนินงานและฐานะการเงินของบริษท ั ฯ

8.

4) พิ จ ารณาสอบทานและอนุ มั ติ ร ายการเกี่ ย วกั บ การลงทุ น และ จําหน่ายทรัพย์สน ิ และรายการอืน ่ ใดทีเ่ กีย ่ วกับธุรกิจของบริษท ั ฯ

9.

ภายในขอบเขตอํานาจที่ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการบริษัท 5) ประเมินโอกาสและความเสี่ยงตลอดจนปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการ

10.

ดําเนินธุรกิจ และให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะแก่คณะกรรมการ จัดการและคณะกรรมการบริษัท

11.

6) สนับสนุนให้มีการผนึกกําลังทางธุรกิจเพื่อเพิ่มความสามารถ ในการต่อรองและการแข่งขัน

12.

7) สร้างเสริมความสัมพันธ์ตลอดจนบริหารจัดการเกีย ่ วกับผูม ้ ส ี ว ่ น ได้เสียทุกฝ่าย

13.

8) จัดหาเงินทุนรวมถึงการกู้ยืมเงินเพื่อใช้ในการดําเนินธุรกิจ 9) พิจารณาการบริหารทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากรอย่าง มีประสิทธิภาพ

นายปรีชา

เอกคุณากูล 1

ประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ 1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ 1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ และบริหารโครงการก่อสร้าง นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์ 1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ 1 กรรมการ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง นางปณิดา สุขศรีดากุล กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายบริหารทรัพย์สิน พันตรีนฤต รัตนพิเชฏฐชัย กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาโครงการ นางนาถยา จิราธิวัฒน์ กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่ เรืออากาศเอกกรี เดชชัย กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาโครงการที่พักอาศัย ดร.ณัฐกิตติ์ ตั้งพูลสินธนา กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายการตลาด นายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ นายชาติ จิราธิวัฒน์ กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายขาย นายบุนชาน กุลวทัญญู กรรมการ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายขาย

หมายเหตุ: 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ผู้บริหารลําดับที่ 1-5 คือผู้บริหารของบริษัทฯ ตามประกาศ คณะกรรมการ ก.ล.ต. ซึ่ ง ประวั ติ แ ละประสบการณ์ ป รากฏในหั ว ข้ อ “รายละเอี ย ด เกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอาํ นาจควบคุม และเลขานุการบริษัท”

10) ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็น หรือคําแนะนํา ตามความจําเป็น 11) ดํ า เนิ น การหรื อ อนุ มั ติ ร ายการอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษัทเป็นคราว ๆ ไป

145

บทที่ 22

นายสุทธิชัย

2. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์


คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยั่งยืน

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการจัดการ 1) จัดทําและนําเสนอแผนกลยุทธ์ในการประกอบธุรกิจ เป้าหมาย ทางการเงิน และแผนงานของบริษัทฯ

หน้าที่และความรับผิดชอบ

2) จัดทําและนําเสนองบประมาณประจําปี (Annual Estimate) 3) อนุ มัติ ง บประมาณการลงทุ น และการดํา เนิ น งานต่ า ง ๆ ของ

1) กําหนดเป้าหมายความยัง ่ ยืนทางธุรกิจ ทบทวนนโยบาย กลยุทธ์

บริษัทฯ ภายในขอบเขตอํานาจหน้าที่ของคณะกรรมการจัดการ

แผนดํ า เนิ น งาน ข้ อ กํ า หนด ระบบมาตรฐาน แนวทางในการ

ตลอดจนเสนอรายการลงทุ น หรื อ รายการอื่ น ๆ ที่ สํ า คั ญ แก่

ดําเนินงาน และติดตามผลการดําเนินงาน เพือ ่ ให้เป็นไปในทิศทาง

คณะกรรมการบริ ห ารและ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ

เดียวกัน

พิ จ ารณาอนุ มั ติ ภ ายใต้ ร ะเบี ย บอํ า นาจอนุ มั ติ ดํ า เนิ น การหรื อ

2) มีกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นประธานกรรมการ มีรองกรรมการ

ระเบียบ ข้อบังคับอื่น ๆ ของบริษัทฯ

ผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่จากทุกสายงาน

4) รับผิดชอบการดําเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็นไปตามกฎหมาย

เป็นกรรมการ และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ โดยใน

วัตถุประสงค์ ข้อบังคับของบริษัทฯ มติที่ประชุมผู้ถือหุ้น มติที่

ปี 2560 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 6 ครั้ง

ประชุมคณะกรรมการบริษัท ตลอดจนระเบียบที่เกี่ยวข้อง

คณะกรรมการด้านสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม

5) พิ จ ารณาและสอบทานการบริ ห ารความเสี่ ย งและระบบการ ควบคุมภายในของบริษัทฯ ให้มีประสิทธิภาพอย่างสม่ําเสมอ 6) พิจารณาการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของบริษัทฯ และ

หน้าที่และความรับผิดชอบ

ส่งเสริมให้มีการคิดค้นนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง 7) รายงานการแต่งตัง ้ ผูบ ้ ริหารทีร่ ายงานตรงต่อกรรมการผูจ ้ ด ั การ

1) ถ่ า ยทอดและขั บ เคลื่ อ นนโยบายด้ า นสภาพภู มิ อ ากาศและ

ใหญ่ใ ห้ ค ณะกรรมการบริ ห ารและ/หรื อ คณะกรรมการบริ ษั ท

สิ่ ง แวดล้ อ ม การดํ า เนิ น งานและบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากร

พิจารณา

ธรรมชาติ พลั ง งาน และสาธารณู ป โภค สภาพแวดล้ อ ม

8) คณะกรรมการจัดการอาจมอบอํานาจช่วงให้ผบ ู้ ริหารหรือบุคคล

ความหลากหลายทางชีวภาพ การจัดการของเสีย การปล่อย

ใดบุคคลหนึ่งมีอํานาจในการดําเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือ

ก๊ า ซเรื อ นกระจก และการใช้ ท รั พ ยากรทางเลื อ กเพื่ อ ให้ เ กิ ด

หลายเรื่องตามที่คณะกรรมการบริหารและ/หรือคณะกรรมการ

ประโยชน์และประสิทธิภาพสูงสุดอย่างเป็นระบบและยั่งยืน

บริษัทพิจารณาเห็นสมควรได้

2) มีผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ฝ่ายพัฒนาโครงการ และผู้ช่วย

9) ส่งเสริมให้พนักงานและผู้บริหารพัฒนาความรู้ความสามารถ

กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ฝ่ า ยบริ ห ารทรั พ ย์ สิ น เป็ น ประธาน มี

อย่างต่อเนื่อง

ผู้บริหารจากสายงานดังกล่าวและฝ่ายบริหารความเป็นเลิศและ

10) ว่าจ้างที่ปรึกษาหรือบุคคลที่มีความเป็นอิสระ เพื่อให้ความเห็น

ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น เ ป็ น ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ร า ย ง า น ต่ อ

หรือคําแนะนําตามความจําเป็น

คณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยใน

11) ดํ า เนิ น การหรื อ อนุ มั ติ ร ายการอื่ น ๆ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมายจาก

ปี 2560 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 3 ครั้ง

คณะกรรมการบริหารหรือคณะกรรมการบริษัทเป็นคราว ๆ ไป

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทํางาน

หน้าที่และความรับผิดชอบ

หน้าที่และความรับผิดชอบ

1) นํานโยบาย กรอบการควบคุมไปดําเนินการปฏิบต ั ิ และติดตามผล

1) ขั บ เคลื่ อ นและยกระดั บ มาตรฐานด้ า นความปลอดภั ย และ

โครงสร้างการดําเนินงานเพื่อความยั่งยืน

สุขอนามัยในองค์กรให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน

การดําเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงขององค์กรให้เป็นไป

2) มีผบ ู้ ริหารระดับสูงจากฝ่ายบริหารทรัพย์สน ิ ผูบ ้ ริหารจากสายงาน

ตามข้อกําหนด ทิศทางและนโยบายที่ระบุไว้ 2) มีกรรมการผู้จัดการใหญ่เป็นประธาน และมีผู้บริหารระดับสูง

สนับสนุน และพนักงานปฏิบัติการเป็นกรรมการ และรายงาน

จากทุกสายงานเป็นกรรมการ และรายงานต่อคณะกรรมการ

ต่อคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน และ/

นโยบายความเสี่ยง โดยในปี 2560 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน

หรือคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงในประเด็นที่เกี่ยวข้อง โดย

4 ครั้ง

ในปี 2560 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 12 ครั้ง

146


รายงานประจํ า ปี 2560

คณะกรรมการซีเอสอาร์

คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระดับองค์กร

หน้าที่และความรับผิดชอบ

หน้าที่และความรับผิดชอบ

1) พิจารณาเห็นชอบในการดําเนินงานด้านกิจกรรมทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งกับ การแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม ทัง ้ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม

1) กํ า หนดกลยุ ท ธ์ พิ จ ารณา ติ ด ตาม และให้ คํ า แนะนํ า เกี่ ย วกั บ

และสิ่งแวดล้อม ให้เป็นไปตามแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืน

แผนงานดู แ ลพั ฒ นาและสร้ า งความผู ก พั น กั บ บุ ค ลากรอย่ า ง

และแนวทางการสร้ า งคุ ณ ค่ า ร่ ว มกั บ ชุ ม ชนและผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย

ใกล้ชิด พร้อมทั้งถ่ายทอดอย่างเป็นลําดับชั้น

รวมไปถึ ง พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารดํ า เนิ น กิ จ กรรมและโครงการ

2) มี ก รรมการผู้ จั ด การใหญ่ เ ป็ น ประธาน และมี ผู้ บ ริ ห ารระดั บ

จิตอาสาของพนักงาน

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่และผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

2) มีผู้บริหารระดับสูงจากฝ่ายบริหารทรัพย์สิน และผู้บริหารจาก

เป็ น กรรมการ มี ผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของฝ่ า ยบริ ห ารทุ น มนุ ษ ย์ แ ละ

สายงานสนั บ สนุ น เป็ น กรรมการพิ จ ารณาหลั ก รวมทั้ ง มี

พัฒนาองค์กรเป็นเลขานุการคณะกรรมการฯ และรายงานต่อ

กรรมการท่านอืน ่ ๆ หมุนเวียนตามประเภทกิจกรรม และรายงาน

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน โดยในปี 2560

ต่อคณะกรรมการบรรษัทภิบาลและการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดย

มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 13 ครั้ง

ในปี 2560 มีการประชุมทั้งสิ้นจํานวน 2 ครั้ง

คณะกรรมการบริษท ั

คณะกรรมการ นโยบายความเสีย ่ ง

คณะกรรมการ ตรวจสอบ

คณะกรรมการ บริหารความเสีย ่ ง

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และการพัฒนาอย่างยัง ่ ยืน

คณะกรรมการด้านสภาพ ภูมอ ิ ากาศ และสิง ่ แวดล้อม คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำงาน

คณะกรรมการสรรหา และกำหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ระดับองค์กร คณะกรรมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ระดับสายงานและสาขา

บทที่ 22

คณะกรรมการซีเอสอาร์

ทีมประสานงาน ความเสีย ่ งประจำสาขา

ระดับกรรมการ

ทีมทูตพลังงาน

ระดับจัดการ

หัวหน้าและทีมรับผิดชอบประสานงาน ระบบไอเอสโอ (ISO) สาขา

ทีมงานด้านทรัพยากรมนุษย์ และทีมงานซีเอสอาร์

ระดับปฏิบต ั ก ิ าร

บุคลากร บริษัทฯ มีจํานวนพนักงานทั้งสิ้น 4,658 คน ในปี 2560 การเปลี่ยนแปลงของจํานวนพนักงานสอดคล้องกับทิศทางการเติบโตทางธุรกิจ ของบริษัทฯ โดยมีคณะกรรมการบริษัทกํากับดูแลให้มีนโยบายการจ่ายค่าตอบแทนที่เป็นธรรม รวมทั้งมีการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน อย่างต่อเนื่อง รายละเอียดเพิ่มเติมปรากฏในหัวข้อ “การบริหารจัดการและสร้างความผูกพันกับบุคลากร” ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่มีข้อพิพาทด้านแรงงานที่มีนัยสําคัญ

147


การกํากับดูแลกิจการ

การตัดสินใจของบริษัทฯ ที่เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงในปัจจัย

บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการกํากับดูแลกิจการเสมอมา ด้วยเชื่อว่า

พื้นฐานของบริษัทฯ

การดําเนินธุรกิจอย่างมีจริยธรรม โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ •

จะส่งผลให้บริษัทฯ สามารถบรรลุเป้าหมายของการเป็นองค์กรที่

เผยแพร่สารสนเทศ รายละเอียดการใช้สิทธิในเรื่องต่าง ๆ ผ่าน ระบบข่ า วของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย (“ตลาด

เติบโตอย่างยั่งยืนได้ โดยมีคณะกรรมการบริษัทเป็นแบบอย่างที่ดีใน การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ตลอดจนได้มีการกําหนด

หลั ก ทรั พ ย์ ฯ ”) และเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ โดยคํ า นึ ง ถึ ง ความ

และทบทวนนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี จรรยาบรรณ และ

เท่าเทียมกันในการรับรู้ข่าวสาร ระยะเวลาการใช้สิทธิ และความ

แนวปฏิบัติอยู่เสมอ เพื่อเป็นรากฐานของการปฏิบัติงานแก่บุคลากร

สะดวกในการใช้สิทธิดังกล่าว โดยไม่กระทําการใด ๆ ที่เป็นการ

ของบริษัทฯ

จํากัดสิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศของบริษัทฯ หรือปิดกั้นการ ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ถือหุ้นด้วยกัน

หลักบรรษัทภิบาล

2. การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียม (EquitableTreatment of Shareholders)

บริษัทฯ กําหนดหลักบรรษัทภิบาลไว้ทั้งหมด 6 ประการ เพื่อให้การ ปฏิบต ั ง ิ านของบุคลากรทุกคนเป็นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้อง

บริษัทฯ ยึดหลักการปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียม โดย

กับนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ประกอบด้วย

ไม่ เ ลื อ กปฏิ บั ติ ไม่ ว่ า จะเป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ย •

ซื่อสัตย์ สุจริต

เปิดกว้าง โปร่งใส

ให้ความเสมอภาค

ให้ความเป็นธรรม

ยึดมั่นคําสัญญา

ป้องกันการใช้ข้อมูลภายในโดยมิชอบและป้องกันไม่ให้เกิดความ

ใส่ใจดูแลสังคม

ขัดแย้งทางผลประโยชน์ รายละเอียดเปิดเผยไว้ในหัวข้อ “การ

นักลงทุนสถาบัน หรือผู้ถือหุ้นต่างชาติ โดยมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ •

มี ร ะเบี ย บบั ง คั บ ใช้ ภ ายในบริ ษั ท ฯ เรื่ อ งการควบคุ ม เกี่ ย วกั บ สารสนเทศภายในและเรื่องการถือหลักทรัพย์ของบริษัทฯ เพื่อ

กํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน”

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

นําเสนอรายละเอียดของรายการที่เกี่ยวโยงกันซึ่งอาจเกิดความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้คณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาให้

นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ แบ่งออกเป็น 5 หมวด

ความเห็นก่อนขออนุมัติจากคณะกรรมการบริษัทและผู้ถือหุ้น

โดยมีรายละเอียด ดังนี้

(กรณีถึงเกณฑ์) ทุกครั้ง และมีการเปิดเผยสารสนเทศที่สําคัญ อย่ า งครบถ้ ว นและเป็ น ไปตามกฎระเบี ย บ ข้ อ บั ง คั บ ที่ กํ า หนด

1. สิทธิของผู้ถือหุ้น (Rights of Shareholders)

รายละเอียดเปิดเผยไว้ในหัวข้อ “การกํากับดูแลด้านความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์”

บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ ในการดู แ ลและรั ก ษาสิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น •

ทุกรายดังนี้

ดํ า เนิ น การตามหลั ก การและแนวทางปฏิ บั ติ ต่อ ผู้ ถือ หุ้น อย่ า ง เท่าเทียมกันในการประชุมผู้ถือหุ้น รายละเอียดมีดังต่อไปนี้

มีโครงสร้างระหว่างบริษัทฯ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ที่ไม่ซับซ้อน

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560

ไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น ร่ ว มและไม่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น ไขว้ และไม่ มี โ ครงสร้ า งการ ถือหุ้นแบบปิรามิดในกลุ่มของบริษัทฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นมั่นใจว่าได้

บริษท ั ฯ ให้ความสําคัญต่อสิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ และการปฏิบต ั ต ิ อ ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้

รับผลตอบแทนครบถ้วน •

อย่างเท่าเทียมกัน โดยนําหลักการที่เกี่ยวข้องมาปรับใช้อย่างเป็น

ดูแลและสนับสนุนให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ ทุกรายไม่วา่ จะเป็นผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่

รู ป ธรรมในการจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ทุ ก ครั้ ง ตั้ ง แต่ ก่ อ นการประชุ ม

ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ย นั ก ลงทุ น สถาบั น หรื อ ผู้ ถื อ หุ้ น ต่ า งชาติ ไ ด้

วันประชุม และหลังการประชุม

รั บ สิ ท ธิ พื้ น ฐานและการปฏิ บั ติ ใ นการรั ก ษาสิ ท ธิ ข องผู้ ถื อ หุ้ น อย่างเท่าเทียมกัน ได้แก่ สิทธิในการซื้อขายหรือโอนหุ้น สิทธิที่

สําหรับการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 จัดขึ้นในวันจันทร์

จะได้รบ ั ข้อมูลข่าวสารทีถ ่ ก ู ต้องชัดเจน สิทธิในการเข้าร่วมประชุม

ที่ 24 เมษายน 2560 เวลา 14.00 น. ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น 23

และลงมติอนุมัติการเข้าทํารายการที่สําคัญ สิทธิในการแต่งตั้ง

โรงแรมเซ็ น ทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชั น เซ็ น เตอร์

หรื อ ถอดถอนกรรมการบริ ษั ท สิ ท ธิ ใ นการกํ า หนดอั ต รา

เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุ ม วั น

ค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท สิทธิในการแต่งตั้งหรือ

เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร มีผู้ถือหุ้นเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง

ถอดถอนผู้สอบบัญชีและกําหนดค่าสอบบัญชี สิทธิในการได้

จํานวน 270 ราย และผู้รับมอบฉันทะจํานวน 1,352 ราย รวมเป็น

รับส่วนแบ่งกําไร สิทธิในการเข้าร่วมตัดสินใจและรับทราบถึงผล

ผู้ถือหุ้นทั้งที่มาด้วยตนเองและรับมอบฉันทะเข้าร่วมประชุม คิดเป็น

148


รายงานประจํ า ปี 2560

ร้อยละ 83.64 ของจํานวนหุ้นทั้งหมด 4,488,000,000 หุ้น มี

และหน้าที่ความรับผิดชอบของกรรมการ หลักเกณฑ์และ

กรรมการบริษัทเข้าร่วมประชุม 10 คน จากกรรมการทั้งหมด 11 คน

วิธีการพิจารณาค่าตอบแทน

คิดเป็นร้อยละ 90.91 โดยประธานกรรมการบริษัท ประธานกรรมการ

3) วาระการแต่งตั้งผู้สอบบัญชี ได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อผู้สอบ

ตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน ประธาน

บัญชีและสํานักงานสอบบัญชี ความเป็นอิสระของผู้สอบ

กรรมการนโยบายความเสี่ ย ง กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ประธาน

บัญชี จํานวนปีที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ

เจ้าหน้าที่บริหารการเงิน เลขานุการบริษัท และผู้สอบบัญชี เข้าร่วม

การพิจารณาความเหมาะสมของค่าสอบบัญชี โดยแสดง

ประชุ ม อย่ า งครบถ้ ว นพร้ อ มเพรี ย งกั น ทั้ ง นี้ รายละเอี ย ดการ

ค่าสอบบัญชีแยกจากค่าบริการอื่น

ดําเนินการประชุมมีดังนี้

4) วาระการจ่ายเงินปันผล ได้ให้ขอ ้ มูลเกีย ่ วกับนโยบายการจ่าย เงินปันผล จํานวนเงินทีข ่ ออนุมต ั ิ เปรียบเทียบกับจํานวนเงิน

ก่อนการประชุมผู้ถือหุ้น ให้สิทธิผู้ถือหุ้นรายย่อยสามารถเสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้น

กะทันหัน รวมทั้งไม่เพิ่มวาระการประชุมหรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล

และจัดให้มก ี ระบวนการและช่องทางให้ผถ ู้ อ ื หุน ้ รายย่อยมีสว ่ นใน

ที่สําคัญโดยไม่แจ้งให้ผู้ถือหุ้นทราบล่วงหน้า

การสรรหาและแต่งตัง ้ กรรมการ ระหว่างวันที่ 23 กันยายน 2559 •

ถึง 15 มกราคม 2560 รวมถึงการให้สิทธิผู้ถือหุ้นส่งคําถาม

ไม่มีการแจกเอกสารที่มีข้อมูลสําคัญในที่ประชุมผู้ถือหุ้นอย่าง

อํานวยความสะดวกให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วย

เกี่ยวกับวาระการประชุมถึงเลขานุการบริษัทได้ล่วงหน้าก่อนถึง

ตนเองโดยการจัดส่งหนังสือมอบฉันทะ แบบ ข. ซึ่งผู้ถือหุ้น

วันประชุม โดยหลักเกณฑ์การพิจารณาเกี่ยวกับการเสนอวาระ

สามารถกําหนดทิศทางการลงคะแนนได้ พร้อมรายละเอียดวิธี

การประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น และเสนอชื่ อ บุ ค คลเพื่ อ รั บ การพิ จ ารณา

การมอบฉั น ทะในการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ไปพร้ อ มกั บ หนัง สื อ เชิ ญ

เลือกตั้งเป็นกรรมการเผยแพร่ไว้ในเว็บไซต์ของบริษัทฯ ทั้งนี้

ประชุมผู้ถือหุ้น ส่วนหนังสือมอบฉันทะทั้ง แบบ ก. แบบ ข.และ

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 ไม่มีผู้ถือหุ้นรายใด

แบบ ค. ผู้ถือหุ้นสามารถดาวน์โหลดได้จากเว็บไซต์ของบริษัทฯ

เสนอวาระการประชุมผู้ถือหุ้น หรือเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการ

นอกจากนี้ บริษท ั ฯ ยังมีรายชือ ่ พร้อมประวัตข ิ องกรรมการอิสระ

พิจารณาเลือกตั้งเป็นกรรมการ

3 คน ให้ผู้ถือหุ้นสามารถเลือกเป็นผู้รับมอบฉันทะไว้ด้วย โดยใน

จัดทําจดหมายเชิญประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ทัง ้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 มีผู้ถือหุ้นจํานวนรวม

โดยในการประชุ ม สามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ประจํ า ปี 2560 บริ ษั ท ฯ ได้

1,732 ราย มอบอํานาจให้กรรมการอิสระเป็นผู้รับมอบอํานาจใน

เผยแพร่ จ ดหมายเชิ ญ ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น บนเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ

การออกเสียงแทน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้

ตั้งแต่วันที่ 17 มีนาคม 2560 ล่วงหน้าก่อนวันประชุมมากกว่า

-

มอบอํ า นาจให้ น ายไพฑู ร ย์ ทวี ผ ล ประธานกรรมการ

-

มอบอํานาจให้นายการุณ กิตติสถาพร กรรมการตรวจสอบ

-

มอบอํ า นาจให้ น ายวี ร วั ฒ น์ ชุ ติ เ ชษฐพงศ์ กรรมการ

ตรวจสอบ จํานวน 1,253 ราย

30 วัน และจัดส่งจดหมายเชิญประชุมให้แก่ผู้ถือหุ้นล่วงหน้า ก่อนวันประชุมไม่น้อยกว่า 21 วัน เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับเอกสาร

จํานวน 280 ราย

ล่วงหน้าก่อนวันประชุมและมีเวลาศึกษาข้อมูลก่อนวันประชุม อย่างเพียงพอ •

ตรวจสอบ จํานวน 199 ราย

ในจดหมายเชิญประชุม บริษท ั ฯ มีการชีแ ้ จงข้อเท็จจริงและเหตุผล และความเห็ น ของคณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ประกอบการ

วันประชุมผู้ถือหุ้น

พิ จ ารณาของผู้ ถื อ หุ้ น อย่ า งครบถ้ ว นและเพี ย งพอ โดยวาระ การประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประกอบด้วย

กําหนดให้มีระยะเวลาการลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุม

1) วาระการแต่งตั้งกรรมการ ได้ให้ข้อมูลของผู้ได้รับการเสนอ

2 ชั่วโมง โดยได้นําระบบคอมพิวเตอร์และบาร์โค้ดมาใช้ในการลง

แต่งตัง ้ ได้แก่ ชือ ่ อายุ ประเภทกรรมการ ตําแหน่งในบริษท ั ฯ

ทะเบียนและตรวจนับคะแนน เพื่อความถูกต้อง รวดเร็ว และ

ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร อ บ ร ม / สั ม ม น า ห ลั ก สู ต ร ก ร ร ม ก า ร

เชื่อถือได้ของข้อมูล

ประสบการณ์ การดํารงตําแหน่งในกิจการอื่นและกิจการที่

เกี่ ย วเนื่ อ งกั บ ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ วั น ที่ ดํ า รงตํ า แหน่ ง

กําหนดให้สท ิ ธิออกเสียงในทีป ่ ระชุมเป็นไปตามจํานวนหุน ้ ทีผ ่ ถ ู้ อ ื หุน ้ ถืออยู่ โดยหนึ่งหุ้นมีสิทธิเท่ากับหนึ่งเสียง ทั้งนี้ บริษัทฯ มีหุ้น

กรรมการ จํานวนปีทด ี่ าํ รงตําแหน่ง และการเข้าร่วมประชุมใน

ประเภทเดียวคือหุ้นสามัญ

ฐานะกรรมการชุดต่าง ๆ ในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา การถือหุ้นใน

บริษัทฯ และข้อมูลอื่น ๆ เช่น การทํารายการที่อาจเกิดความ

ก่อนเริ่มการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ ได้ชี้แจงวิธีการลงคะแนน และนับคะแนนให้ผู้ถือหุ้นในที่ประชุมรับทราบ

ขัดแย้งทางผลประโยชน์กับบริษัทฯ ในรอบปีที่ผ่านมา

2) วาระการพิ จ ารณาค่ า ตอบแทน มี ก ารให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ

นําบัตรลงคะแนนมาใช้ในการลงมติในการประชุมผู้ถือหุ้น โดย จัดทําบัตรลงคะแนนแยกตามวาระแต่ละวาระ เพื่อให้ผู้ถือหุ้น

นโยบาย จํานวนเงินและรูปแบบค่าตอบแทนแยกตามตําแหน่ง

สามารถลงคะแนนได้ตามที่เห็นสมควร

149

บทที่ 23

ที่จ่ายในปีก่อน •


ให้สิทธิแก่ผู้ถือหุ้นในการลงคะแนน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นลง

คะแนนเสียงเลือกตัง ้ กรรมการเป็นรายบุคคลในวาระการเลือกตัง ้

เปิ ด กว้ า งและรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า นการตอบ แบบสอบถามความพึ ง พอใจในการจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น เพื่ อ

กรรมการ

เป็นข้อมูลในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดประชุมผู้ถือหุ้นให้

มีการแสดงผลสรุปการนับคะแนนเสียงแต่ละวาระให้ผู้ถือหุ้นในที่

มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป

ดําเนินการประชุมผู้ถือหุ้นตามลําดับวาระที่ได้แจ้งไว้ในหนังสือ

ประชุมรับทราบทุกวาระตามลําดับ

บริษท ั ฯ ปฏิบต ั ต ิ ามเกณฑ์ภายใต้โครงการประเมินคุณภาพ AGM ซึง ่

เชิญประชุมผู้ถือหุ้นอย่างถูกต้องและโปร่งใส ตามข้อกฎหมาย

จัดโดยสมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการ

และข้อบังคับของบริษท ั ฯ ทัง ้ นี้ บริษท ั ฯ ได้เชิญตัวแทนจาก บริษท ั

กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (“สํานักงาน ก.ล.ต.”) และ

เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด เข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นและ

สมาคมบริษัทจดทะเบียน โดยหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ

เป็นพยานตรวจสอบการนับคะแนน

ครอบคลุ ม ขั้ น ตอนต่ า ง ๆ ในการจั ด ประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ตั้ ง แต่ ก่ อ น

ให้ สิ ท ธิ ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถเข้ า ร่ ว มประชุ ม ภายหลั ง จากเริ่ ม การ

วันประชุม วันประชุม และภายหลังวันประชุม

ประชุมไปแล้ว โดยมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนในวาระที่ยังไม่ได้

3. การคํานึงถึงบทบาทของผู้มีส่วนได้เสีย (Roles of Stakeholders)

พิจารณาลงมติได้ •

เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นแสดงความคิดเห็นและซักถามอย่างเต็มที่ โดยมี ป ระธานกรรมการบริ ษั ท ประธานกรรมการตรวจสอบ

บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ ต่ อ ผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ทุ ก ฝ่ า ยโดยยึ ด หลั ก ผล

ประธานกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทน กรรมการ

ประโยชน์ร่วมกันอย่างยั่งยืน มีการกําหนดเป็นนโยบายและบทบาท

ผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารระดับสูง และผู้สอบบัญชี เข้าร่วมประชุม

ต่อผู้มีส่วนได้เสียไว้อย่างชัดเจนใน “นโยบายการกํากับดูแลกิจการ”

เพื่อตอบข้อซักถามของผู้ถือหุ้น

สรุปรายละเอียดได้ดังนี้

หลังการประชุมผู้ถือหุ้น

นโยบายและแนวปฏิบัติต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ผู้ถือหุ้น

นําส่งมติทป ี่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ ภายในวันประชุม ผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นที่ไม่ได้เข้า

ร่วมประชุมรับทราบในทันที •

ผู้ ถื อ หุ้ น สามารถรั บ ชมบั น ทึ ก ภาพการประชุ ม ผู้ ถื อ หุ้ น ผ่ า น •

Webcast ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ หรือติดต่อขอรับในรูปแบบ

ให้ความสําคัญกับคุณภาพของรายงานการประชุมผู้ถือหุ้น โดย

ซึง ่ รายละเอียดต่าง ๆ ได้กล่าวไว้ในหัวข้อ “สิทธิของผูถ ้ อ ื หุน ้ ” และ

-

รายชื่อพร้อมตําแหน่งของกรรมการที่เข้าร่วมประชุมและ

“การปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นอย่างเท่าเทียมกัน”

-

สิทธิและวิธก ี ารในการออกเสียงลงคะแนน และการใช้บต ั รลง

-

คํ า ถามและข้ อ เสนอแนะของผู้ ถื อ หุ้ น และคํ า ชี้ แ จงของ

และเหมาะสม ทั้งในด้านผลตอบแทน การแต่งตั้งโยกย้าย การ

กรรมการหรือฝ่ายจัดการ

พัฒนาศักยภาพ ตลอดจนการควบคุมดูแลสภาพแวดล้อมใน

-

มติ ที่ ป ระชุ ม และผลของคะแนนเสี ย งในทุ ก วาระที่ มี ก ารลง

พนักงาน

คะแนน

กําหนดนโยบายในการดูแลและปฏิบต ั ต ิ อ ่ พนักงานอย่างเป็นธรรม

ี วามปลอดภัยต่อชีวต ิ และทรัพย์สน ิ ของพนักงาน การทํางานให้มค

คะแนนเสียงอย่างชัดเจน

จัดทํารายงานการประชุมผู้ถือหุ้นทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ

กํ า หนดนโยบายด้ า นการบริ ห ารงานบุ ค คลที่ ไ ม่ มี ก ารแบ่ ง แยก หรือกีดกัน เน้นความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน ตลอดจนให้

เผยแพร่ทางเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใน 14 วันนับจากวันประชุม

ความเคารพในสิทธิมนุษยชนต่อพนักงานทุกระดับเสมอมา

และนําส่งสําเนารายงานการประชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ ให้ตลาดหลักทรัพย์ฯ •

ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต โปร่ ง ใส เป็ น ธรรม

บันทึกสาระสําคัญต่างๆ ประกอบด้วย กรรมการที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้

เคารพสิทธิของผู้ถือหุ้นในการได้รับข้อมูลที่จําเป็นโดยเท่าเทียม กัน เปิดเผยข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็นจริง

แผ่น VCD ได้ที่สํานักเลขานุการบริษัท •

สร้างการเติบโตอย่างมีคุณภาพและมั่นคง เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้รับ ผลตอบแทนทีย ่ ง ั่ ยืน โดยมีผลประกอบการทีด ่ แ ี ละมีประสิทธิภาพ

ส่งเสริมความรู้พนักงาน จัดอบรมในหัวข้อต่าง ๆ ที่สําคัญและ

ภายในเวลาที่กําหนด

จําเป็นต่อการทํางาน โดยจัดให้มีการฝึกอบรมในหัวข้อเกี่ยวกับ

แจ้งมติที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 บนเว็บไซต์ของ

ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทํางาน

ตลาดหลักทรัพย์ฯ และเผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ในวันที่

หลักสูตรด้านสิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน ตลอดจน

24 เมษายน 2560 ซึง ่ เป็นวันเดียวกับการประชุมภายหลังจากการ

การฝึกอบรมด้านการกํากับดูแลกิจการและการต่อต้านการทุจริต

ประชุมเสร็จสิ้น

แก่พนักงานและพนักงานใหม่อย่างต่อเนื่อง

150


รายงานประจํ า ปี 2560

เปิดรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากพนักงาน และมีการ

สําหรับศูนย์การค้าทีเ่ ปิดดําเนินการแล้วจะมีการจัดประชุมร้านค้า

ปฏิ บั ติ ต่ อ พนั ก งานทุ ก ระดั บ ด้ ว ยความเป็ น ธรรมโดยไม่ เ ลื อ ก

ไตรมาสละ 1 ครั้ง •

ปฏิบัติ นอกจากนี้ บริษัทฯ สนับสนุนการหารือและความร่วมมือ

ต่ อ เนื่ อ งทุ ก ปี เพื่ อ ทราบความต้ อ งการของร้ า นค้ า และลู ก ค้ า

ข้ อ มู ล แก่ ผู้ มี อํ า นาจในการตั ด สิ น ใจของบริ ษั ท ฯ เกี่ ย วกั บ การ

อย่างแท้จริง และนํามาปรับปรุงเพื่อการให้บริการที่เป็นเลิศของ

ปรับปรุงคุณภาพชีวิตการทํางานเพื่อให้เกิดการพัฒนาร่วมกัน

บริษัทฯ

กําหนดนโยบายค่าตอบแทนและสวัสดิการทีเ่ ป็นธรรมแก่บค ุ ลากร

คู่ค้า

ของบริษัทฯ ทุกระดับ โดยกําหนดโครงสร้างค่าตอบแทน อาทิ

เงินเดือน และโบนัส ให้สอดคล้องกับความรูค ้ วามสามารถ ผลการ

ปฏิบต ั ก ิ บ ั คูค ่ า้ ด้วยความเสมอภาคและคํานึงถึงผลประโยชน์รว ่ มกัน

ปฏิบัติงานของพนักงาน และผลการดําเนินงานของบริษัททั้งใน

พัฒนาและรักษาสัมพันธภาพที่ยั่งยืนกับคู่ค้า และสร้างความ

ระยะสั้นและระยะยาว รายละเอียดเพิ่มเติมในหัวข้อ “การบริหาร

เชื่อถือซึ่งกันและกัน โดยบริษัทฯ ยึดถือปฏิบัติตามระเบียบการ

การจัดการเพื่อความยั่งยืน”

จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า งซึ่ ง มี ก ารกํ า หนดขั้ น ตอนและวิ ธี ป ฏิ บั ติ ไ ว้ อ ย่ า ง

จัดให้มีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตามความสมัครใจของพนักงาน

ชัดเจน

เพื่ อ สนั บ สนุ น ให้ พ นั ก งานมี เ งิ น ทุ น สํ า รองในยามเกษี ย ณหรื อ

ลาออก

พนักงานเพือ ่ ช่วยเหลือครอบครัวเพือ ่ นพนักงานในพิธฌ ี าปนกิจ

บริหารงานก่อสร้าง อาทิ การจัดซื้อจัดจ้างโดยการคัดเลือก คูค ่ า้ ด้วยวิธก ี ารสอบราคาหรือการประกวดราคา หรือการจัดซือ ้ จัดจ้างด้วยวิธีการประมูลออนไลน์ (E-Auction) ตามระเบียบ

สร้ า งความพึ ง พอใจแก่ ลู ก ค้ า เพื่ อ ให้ ไ ด้ รั บ บริ ก ารที่ ดี ภ ายใต้

ก า ร จั ด ซื้ อ จั ด จ้ า ง ข อ ง ห น่ ว ย ง า น จั ด ซื้ อ ก ล า ง ( P o o l

ความปลอดภัยต่อสุขภาพ อนามัย ชีวิต และทรัพย์สิน ปฏิบัติ

Procurement) ของบริษัทฯ เป็นต้นโดยวิธีการจัดซื้อจัดจ้างจะ

ต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรมและเหมาะสม โดยมีสํานักส่งเสริมและ

ดําเนินการอย่างโปร่งใส ให้สอดคล้องกับนโยบายต่อต้านการ

กํากับดูแลมาตรฐาน (สสม.) เป็นผู้ควบคุมดูแลการให้บริการ

ทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ของบริ ษั ท ฯ โดยจะต้ อ งผ่ า นการคั ด กรอง

ร้านค้าให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทุกสาขา โดยปรับปรุงนโยบายและ กระบวนการทํางานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับร้านค้าอย่างสมํา่ เสมอ

คุณสมบัตผ ิ ท ู้ จ ่ี ะเข้ามาเป็นคูค ่ า้ โดยการประเมิน Pre-Qualification •

จัดงานประชุมคู่ค้า (Supplier Information Meeting) เพื่อ

ให้ ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การบริ ก ารอย่ า งครบถ้ ว น ถู ก ต้ อ ง และไม่

พบปะและสื่อสารแผนกลยุทธ์และทิศทางการดําเนินธุรกิจของ

บิ ด เบื อ นข้ อ เท็ จ จริ ง รวมทั้ ง ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การจั ด ทํ า สื่ อ

บริษท ั ให้คค ู่ า้ รับทราบและดําเนินธุรกิจทีส ่ อดคล้องและเติบโตทาง

ประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ของบริษัทฯ โดยจะไม่นําภาพหรือเนื้อหาที่

ธุรกิจไปด้วยกันอย่างยั่งยืน

ก่อให้เกิดทัศนคติที่ไม่ดี การแบ่งแยกในสังคม หรือค่านิยมที่ไม่

เจ้าหนี้

ส่งเสริมการขายของบริษัทฯ

กํ า หนดขั้ น ตอนและเกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ กคู่ ค้ า อย่ า งชั ด เจนไว้ ใ น ระเบียบการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบการพัฒนาโครงการและ

เหมาะสม โดยเฉพาะเรือ ่ งเพศและศีลธรรมมาใช้ในการจัดกิจกรรม •

สร้างความร่วมมือกันด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

จั ด ให้ มี ส มาคมฌาปนกิ จ สงเคราะห์ ต ามความสมั ค รใจของ

ร้านค้าและลูกค้า •

สํ า รวจความพึ ง พอใจด้ า นการบริ ก ารร้ า นค้ า และลู ก ค้ า อย่ า ง

ระหว่างบริษท ั ฯ กับพนักงานหรือตัวแทนพนักงานในการนําเสนอ

ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่มีต่อเจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด บริหารเงินกู้ยืม

่ าํ หน้าทีใ่ ห้บริการและประเมินผลการให้บริการ พัฒนาบุคลากรทีท

ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้เงิน ไม่นําเงินไปใช้ในทางที่

ของเจ้าหน้าทีเ่ ป็นประจํา โดยเจ้าหน้าทีร่ า้ นค้าสัมพันธ์จะเดินเยีย ่ ม

อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อบริษัทฯ ควบคุมให้มีการชําระคืน

ร้านค้าเพื่อตรวจสอบความเรียบร้อย รับฟังปัญหาและข้อร้อง

เงินกูแ ้ ละดอกเบีย ้ ให้กบ ั เจ้าหนีเ้ งินกูย ้ ม ื ทุกประเภทอย่างครบถ้วน

เรี ย นต่ า ง ๆ จากร้ า นค้ า ในแต่ ล ะวั น รวมทั้ ง จั ด ให้ มี เ จ้ า หน้ า ที่

ตามกําหนดเวลา และปฏิบัติตามเงื่อนไขการกู้ยืมเงินตามข้อ

ลูกค้าสัมพันธ์เดินตามจุดต่าง ๆ ภายในศูนย์การค้า เพื่อให้ผู้ใช้

ตกลงอย่างครบถ้วน รวมถึงการบริหารงานเพื่อให้เจ้าหนี้มั่นใจ

บริการสามารถสอบถามหรือแนะนําผู้ใช้บริการได้ทันที

ในฐานะทางการเงิน และความสามารถในการชําระหนี้ที่ดีของ

ประชุมร่วมกับร้านค้าเพื่อสื่อสารแผนการดําเนินงานที่สําคัญ

บริษัทฯ

อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และเมื่อบริษัทฯ จะเปิดศูนย์การค้าใหม่หรือ

บริ ษั ท ฯ สามารถดํ า รงอั ต ราส่ ว นทางการเงิ น ได้ ต ามที่ ร ะบุ ใ น

่ รับทราบ ศูนย์การค้าทีป ่ รับปรุง จะมีการประชุมร่วมกับร้านค้าเพือ

สัญญาเงินกู้ และ/ หรือข้อกําหนดสิทธิ มีการรายงานผลการ

นโยบายแนวปฏิบัติต่าง ๆ และวางแผนการตลาดร่วมกัน ตลอด

ปฏิบัติตามเงื่อนไขให้กับเจ้าหนี้รับทราบอย่างต่อเนื่องเป็นปกติ

จนเปิดโอกาสให้ผเู้ ช่าได้แสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ

โดยบริษท ั ฯ ไม่เคยมีประวัตผ ิ ด ิ นัดชําระหนีแ ้ ละดอกเบีย ้ ต่อเจ้าหนี้

เพือ ่ พัฒนาคุณภาพการบริหารศูนย์การค้าให้ดข ี น ึ้ อย่างต่อเนือ ่ ง

ไม่เคยมีเหตุการณ์ที่ทําให้เจ้าหนี้กังวลใจเรื่องความสามารถใน

151

บทที่ 23


สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม

การชําระหนี้ของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ มีการให้เงินกู้ยืม แก่ บ ริ ษั ท ย่ อ ยตามโครงสร้ า งการถื อ หุ้ น เท่ า นั้ น มิ ไ ด้ ใ ห้ ก าร

ช่วยเหลือทางการเงินแก่บริษัทที่ไม่มีความเกี่ยวข้อง

ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย และ/หรื อ กฎระเบี ย บที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และ พยายามยกระดั บ การปฏิ บั ติ ใ ห้ มี ม าตรฐานสู ง กว่ า กฎหมาย

คู่แข่งทางการค้า

กําหนด เช่น คิดค้นหรือนํานวัตกรรมอาคารอนุรักษ์พลังงาน

ดําเนินธุรกิจภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่เป็นธรรม ไม่

ป้องกันมิให้การดําเนินงานของบริษัทฯ ก่อให้เกิดความเสียหาย

แสวงหาข้อมูลที่เป็นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการ

ต่อคุณภาพชีวิตของสังคม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมและ

ทีไ่ ม่สจ ุ ริตหรือไม่เหมาะสม และไม่กระทําการใด ๆ ทีล ่ ะเมิดทรัพย์สน ิ

สร้างสรรค์สังคม ทั้งในส่วนของการพัฒนาคุณภาพชีวิต การ

ทางปั ญ ญาของผู้ อื่ น หรื อ คู่ แ ข่ ง ทางการค้ า มุ่ ง ส่ ง เสริ ม และ

ส่ ง เสริ ม ด้ า นการศึ ก ษา การประหยั ด พลั ง งาน และการรั ก ษา

มาปรั บ ใช้ กั บ ศู น ย์ ก ารค้ า และอาคารสํ า นั ก งาน ตลอดจนดู แ ล

สนั บ สนุ น การแลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ประโยชน์ กั บ ธุ ร กิ จ ด้ า น

สิ่งแวดล้อม

พัฒนาและบริหารศูนย์การค้าในภาพรวม เพือ ่ สร้างความเข้มแข็ง

ให้แก่ธุรกิจและมีส่วนช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม •

ให้ความสําคัญกับการสือ ่ สารและเผยแพร่ความรูด ้ า้ นสิง ่ แวดล้อม ไปสู่ผู้มีส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมเป็นเครือข่ายในการดูแล

และประเทศชาติให้ยั่งยืน

รักษาสิง ่ แวดล้อมและถ่ายทอดความรูร้ วมทัง ้ ประสบการณ์ไปยัง

การจัดตัง ้ สมาคมศูนย์การค้าไทยเป็นหนึง ่ ในความร่วมมือระหว่าง

ทุกภาคส่วนของสังคม

บริษัทฯ และบริษัทที่อยู่ในกลุ่มธุรกิจเดียวกัน โดยมีวัตถุประสงค์ ภาครัฐ

เพือ ่ แลกเปลีย ่ นประสบการณ์และแนวทางการดําเนินธุรกิจทีเ่ ป็น ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่งบริษัทฯ เป็นสมาชิกและร่วมเป็นกรรมการ

ของสมาคมตั้งแต่ปี 2541 •

เผยแพร่ ข้ อ มู ล ของสมาคมผ่ า นช่ อ งทางการสื่ อ สารต่ า ง ๆ

จนมุ่งมั่นดําเนินโครงการที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ ไม่ว่าจะ

เช่น การแถลงข่าวและการให้สัมภาษณ์ต่อสื่อมวลชน การจัดทํา

เป็ น นโยบายที่ ไ ด้ รับ มอบหมายจากภาครั ฐ หรื อ เป็ น โครงการที่

เอกสารเผยแพร่ ตลอดจนการจัดสัมมนาของสมาคม เพื่อให้

บริษัทฯ ริเริ่มขึ้นเอง

ความรู้และข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวกับธุรกิจศูนย์การค้าที่เป็น

ประโยชน์และทันเหตุการณ์ต่อสาธารณชน เป็นต้น •

ให้ความร่วมมือและสนับสนุนนโยบายภาครัฐเพือ ่ ผลประโยชน์ของ ประเทศชาติภายใต้กฎหมายและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ตลอด

จัดตั้งคณะทํางานชุดย่อยเพื่อติดตามและให้ความเห็นเกี่ยวกับ

ให้ความร่วมมือกับภาครัฐในการร่วมต่อต้านการทุจริต

องค์กรอิสระและองค์กรอื่น ๆ ในสังคม

กฎหมายที่อาจมีผลกระทบต่อการดําเนินธุรกิจศูนย์การค้าและ •

ธุรกิจค้าปลีกตั้งแต่ปี 2558 •

ดําเนินมาตรการด้านความปลอดภัย เช่น การสร้างความร่วมมือ เพื่ อ เตรี ย มความพร้ อ มในภาวะวิ ก ฤต และการเชิ ญ วิ ท ยากร

ให้เติบโตอย่างยัง ่ ยืน โดยคํานึงถึงผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคม

ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ม าให้ ค วามรู้ ด้ า นการรั ก ษาความปลอดภั ย ใน

และสิ่งแวดล้อม

ศูนย์การค้า เป็นต้น •

นโยบายและแนวปฏิบัติด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิ่งแวดล้อม

ผลักดันมาตรการส่งเสริมทางการค้าเพื่อกระตุ้นการใช้จ่ายของ นักท่องเที่ยว และการสนับสนุนการซื้อสินค้าภายในประเทศของ

ยกระดับความร่วมมือและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับองค์กรอิสระและ องค์กรอื่น ๆ ในสังคม เพื่อร่วมกันพัฒนาสังคมและประเทศชาติ

คนไทย โดยมีการประชุมหารือร่วมกับภาครัฐ เช่น กระทรวงการ

บริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ ความปลอดภั ย และอาชี ว อนามั ย ของ

ท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ เป็นต้น

พนั ก งานและผู้ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ต่ า ง ๆ จึ ง กํ า หนดเป็ น นโยบายและ

รวมถึงภาคประชาสังคม และสมาคมอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

แนวปฏิบัติไว้ โดยกําหนดให้มีการวางแผน จัดให้มีระบบรักษาความ

เข้ า ร่ ว มเป็ น คณะทํ า งานในโครงการต่ า ง ๆ เพื่ อ ผลั ก ดั น และ

ปลอดภัยและระบบเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เพียงพอ

ส่งเสริมเศรษฐกิจในระดับมหภาค และเพิ่มขีดความสามารถใน

และเหมาะสมภายในสํานักงานและสถานประกอบการ เพื่อป้องกัน

การแข่งขันของภาคธุรกิจศูนย์การค้า ภายใต้แนวร่วมสานพลัง

และควบคุ ม ความเสี่ ย งที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความสู ญ เสี ย อั น เนื่ อ งมา

ประชารัฐ เช่น คณะทํางานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวและ

จากอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ หรือความเจ็บป่วยจากการปฏิบัติงาน

MICE1 ของโครงการ Amazing Thai Taste และโครงการจัด

ทรัพย์สินสูญหายหรือเสียหาย การปฏิบัติงานไม่ถูกวิธี และความ

ทํามาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาบริหารทรัพย์สิน

ผิดพลาดอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้น

ระยะที่ 2 เป็นต้น หมายเหตุ:1) การท่องเทีย ่ วในรูปแบบ Meetings, Incentives, Conferences, and Events

152


รายงานประจํ า ปี 2560

นโยบายและแนวปฏิบัติด้านทรัพย์สินทางปัญญา

นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการต่อต้านการทุจริต และทุจริตคอร์รัปชั่น

บริษัทฯ กําหนดนโยบายด้านทรัพย์สินทางปัญญา และดําเนินธุรกิจ โดยส่งเสริมให้บค ุ ลากรปฏิบต ั ห ิ น้าทีภ ่ ายใต้กฎหมายหรือข้อกําหนดที่

บริษัทฯ ได้ผ่านกระบวนการรับรองและเป็นสมาชิกแนวร่วมปฏิบัติ

เกีย ่ วกับสิทธิในทรัพย์สน ิ ทางปัญญา ไม่วา่ จะเป็นเครือ ่ งหมายการค้า

ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) เมื่อวันที่ 16

สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ ความลับทางการค้า และทรัพย์สินทางปัญญา

มกราคม 2558 ซึง ่ เป็นความร่วมมือระหว่างองค์กรภาคธุรกิจ 8 แห่ง

ด้านอื่นที่กฎหมายกําหนด โดยกํากับให้มีการปฏิบัติอย่างเคร่งครัด

ประกอบด้วยหอการค้าไทย หอการค้าร่วมต่างประเทศในประเทศไทย

อาทิ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิทธิ์ถูกต้อง โดยโปรแกรม

สภาอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย สมาคมบริ ษั ท จดทะเบี ย นไทย

คอมพิวเตอร์ทก ุ ชนิดจะต้องผ่านการตรวจสอบและลงโปรแกรมโดย

สมาคมธนาคารไทย สภาธุ ร กิ จ ตลาดทุ น ไทย สภาอุ ต สาหกรรม

ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น การส่งเสริมให้พนักงานตรวจสอบ

ท่ อ งเที่ ย วแห่ ง ประเทศไทย และสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการ

ผลงานหรือข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงานว่าไม่เป็นการละเมิดทรัพย์สิน

บริษัทไทย (“IOD”) ซึ่งทําหน้าที่เป็นเลขานุการ โดยได้รับการต่ออายุ การรับรองเมื่อวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2561 โดยได้ดําเนินการในด้าน

ทางปัญญาของผู้อื่น เป็นต้น

ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้

นโยบายและแนวปฏิบัติด้านการเคารพกฎหมาย และหลักสิทธิมนุษยชน

การอบรมและการสื่อสาร

การเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายเป็นพื้นฐานสําคัญในการดําเนิน

การปรับปรุงนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยบรรจุไว้

ธุรกิจของบริษท ั ฯ ซึง ่ รวมถึงกฎหมายภายในประเทศและต่างประเทศ

เป็นส่วนหนึ่งในจรรยาบรรณและนโยบายการกํากับดูแลกิจการ

ตลอดจนขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมทีเ่ กีย ่ วข้องกับการ

ของบริ ษั ท ฯ และการปรั บ ปรุ ง มาตรการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต

ดําเนินงานโดยมุ่งยกระดับมาตรฐานการปฏิบัติให้สูงกว่าข้อกําหนด

คอร์รป ั ชัน ่ เพือ ่ สนับสนุนการปฏิบต ั ง ิ านของภาครัฐในการป้องกัน

ตามกฎหมายเช่น การศึกษาและปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องใน

การทุจริตคอร์รัปชั่น โดยนําจรรยาบรรณและนโยบายการกํากับ

ช่วงระหว่างศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการจนกระทั่ง

ดูแลกิจการของบริษท ั ฯ และนโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่

พัฒนาโครงการแล้วเสร็จและติดตามการปรับปรุงกฎหมายที่อาจ กระทบต่อการดําเนินธุรกิจของบริษท ั ฯ อย่างสมาํ่ เสมอ อาทิ กฎหมาย

ไว้ในเว็บไซต์และอินทราเน็ตของบริษท ั ฯ เพือ ่ ให้กรรมการ ผูบ ้ ริหาร และพนั ก งานทุ ก คนศึ ก ษาทํ า ความเข้ า ใจและปฏิ บัติ ต ามอย่ า ง สม่ําเสมอ

ผังเมือง เพื่อไม่ให้การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในบริเวณดังกล่าว •

ส่ ง ผลกระทบต่ อ เศรษฐกิ จ สั ง คม และสิ่ ง แวดล้ อ มในพื้ น ที่ นั้ น ๆ

การให้ความรู้ความเข้าใจแก่พนักงานผ่านการปฐมนิเทศ การ อ บ ร ม ก า ร อ บ ร ม ผ่ า น ร ะ บ บ เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง ผ่ า น สื่ อ

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังให้ความสําคัญกับการปฏิบัติตามกฎหมายใน ประเทศที่ เ ข้ า ไปลงทุ น เพื่ อ ให้ ก ารลงทุ น ของบริ ษั ท ฯ เป็ น ไปอย่ า ง

อิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) รวมทั้งสื่อประชาสัมพันธ์อื่น ๆ

ถูกต้องและโปร่งใส

เช่น วารสาร ADMIRED และป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นต้น การ •

การปรั บ ปรุ ง เนื้ อ หาและแบบทดสอบในการปฐมนิ เ ทศ และ

ของบริษัทฯ เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน

บทเรียน E-Learning หลักสูตร “CPN Code of Conduct”

เช่น ไม่สนับสนุนการบังคับใช้แรงงาน การปฏิบัติต่อแรงงานอย่าง

ให้สอดคล้องกับจรรยาบรรณ และนโยบายการกํากับดูแลกิจการ

เป็นธรรม ต่อต้านการใช้แรงงานเด็ก ให้ความเคารพนับถือและปฏิบต ั ิ

และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่นที่มีการปรับปรุงในปี

ต่อผูม ้ ส ี ว ่ นได้เสียทุกฝ่ายด้วยความเป็นธรรมบนพืน ้ ฐานของศักดิศ ์ รี

2560

ความเป็นมนุษย์ ไม่เลือกปฏิบัติ ไม่แบ่งแยกถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ เพศ

อายุ สีผิว ศาสนา สภาพร่างกาย ฐานะ ชาติตระกูล ตลอดจนส่งเสริม

การจั ด อบรมด้ า นการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ในหั ว ข้ อ “แฉหรือเฉย” สําหรับผู้บริหารและพนักงาน โดยได้รับเกียรติจาก

ให้มีการเฝ้าระวังการปฏิบัติตามข้อกําหนดด้านสิทธิมนุษยชนภายใน

วิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย

บริษัทฯ และส่งเสริมให้บริษัทย่อย ผู้ร่วมทุน คู่ค้า และผู้มีส่วนได้เสีย

แพ่ ง กฎหมายอาญา และกฎหมายว่ า ด้ ว ยการป้ อ งกั น และ

ทุ ก ฝ่ า ยปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนตามมาตรฐานสากล

ปราบปรามการทุจริต คดีความที่เกิดขึ้นจริงทั้งในประเทศและ

คุ้มครองสิทธิของผู้มีส่วนได้เสียที่ได้รับความเสียหายจากการละเมิด

ระดับองค์กร รวมถึงบทลงโทษจากคําพิพากษา ซึง ่ เป็นหลักสูตร

สิทธิอันเกิดจากการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยพิจารณาชดเชย ค่าเสียหายให้ไม่ต่ํากว่าอัตราที่กฎหมายกําหนด เป็นต้น

ที่จะจัดอย่างต่อเนื่องทุกปี การรณรงค์ค่านิยมองค์กร “ซื่อสัตย์ มีน้ําใจ” โดยสื่อสารแนว ปฏิบต ั ท ิ ด ี่ จ ี ากผูบ ้ ริหารระดับสูงเพือ ่ ปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรใน การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีน้ําใจ

153

บทที่ 23

ดําเนินงานที่สําคัญในปี 2560 มีดังนี้ บริษท ั ฯ สนับสนุนและเคารพการปกป้องสิทธิมนุษยชน ดูแลมิให้ธรุ กิจ


โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะดําเนินการสืบหาข้อเท็จจริงและมี

การจัดทําแบบประเมินตนเองด้านการกํากับดูแลกิจการสําหรับ ผู้บริหารและพนักงานผ่านระบบออนไลน์ เพื่อประเมินความรู้

การรายงานสรุ ป ประเด็ น สํ า คั ญ ให้ ค ณะกรรมการบริ ษั ท

ความเข้าใจ และระดับการปฏิบัติตามของผู้บริหารและพนักงาน

คณะกรรมการอิสระ ผู้บริหารระดับสูง และผู้ที่เกี่ยวข้อง พร้อม

ดังนี้

พิ จ ารณาบทลงโทษในกรณี ที่ มี ค วามผิ ด จริ ง โดยเป็ น ไปตาม

-

การประเมินตนเองตามหลักบรรษัทภิบาล (CG Individual

กฎระเบียบของบริษท ั ทีก ่ าํ หนดไว้ สําหรับช่องทางในการติดต่อมี

Assessment) โดยมีวัตถุประสงค์ในการวัดระดับความรู้

รายละเอียดดังนี้

ความเข้าใจเกีย ่ วกับการปฏิบต ั ต ิ ามจรรยาบรรณและนโยบาย คณะกรรมการตรวจสอบ

การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ เพื่ อ นํ าผลการประเมิน มาใช้ ใ นการ พั ฒ นาแนวทางการส่ ง เสริ ม และการดํ า เนิ น งานด้ า นการ

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

กํากับดูแลกิจการ -

ชั้น 30 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์

การประเมินผลพฤติกรรม (Behavior Assessment) โดย

999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน

มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการวั ด ระดั บ การปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ด้ ว ย

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย

การยึ ด มั่ น ในหลั ก จรรยาบรรณ ซึ่ ง ถื อ เป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของ

โทรศัพท์: +66 (0) 2667 5555 ต่อ 1200

ค่านิยมองค์กร •

อีเมล: whistleblower@cpn.co.th

การสื่อสารนโยบายที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่อง เช่น นโยบายงด รับของขวัญ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ได้แก่ อีเมล เว็บไซต์บริษัท

กรณีผม ู้ ส ี ว ่ นได้เสียกลุม ่ ต่าง ๆ มีขอ ้ สงสัย หรือต้องการร้องเรียน

ป้ายประชาสัมพันธ์ตามจุดต่าง ๆ รายการ CPN Radio ซึ่งเป็น

เกี่ยวกับประเด็นด้านการปฏิบัติงาน สามารถติดต่อสอบถาม

รายการวิทยุภายในสํานักงานใหญ่ เป็นต้น เพือ ่ สือ ่ สารถึงผูบ ้ ริหาร

หรือร้องเรียนมายังฝ่ายจัดการตามช่องทางในการติดต่อดังนี้

และพนักงานทุกคนอย่างทั่วถึง ตลอดจนส่งจดหมายแจ้งไปยัง กรรมการผู้จัดการใหญ่

ลูกค้าและคู่ค้าของบริษัทฯ ทุกรายให้รับทราบและถือปฏิบัติด้วย

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

การขยายความร่วมมือไปยังคู่ค้าของบริษัทฯ

ชั้น 33 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ •

การสื่ อ สารมาตรการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น ไปยั ง คู่ ค้ า

999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน

ในงานประชุมคู่ค้า (Supplier Information Meeting) และ

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย

เชิญชวนให้คู่ค้าเข้าร่วมโครงการ CAC โดยบริษัทฯ ได้รับเกียรติ

อีเมล: CEO@cpn.co.th

จากวิ ท ยากรผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ใ ห้ ค วามรู้ เ กี่ ย วกั บ การป้ อ งกั น ความเสี่ยงและผลกระทบจากกฎหมายที่เกี่ยวข้องด้านแรงงาน

สําหรับผู้ที่แจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนที่เป็นพนักงาน ลูกค้า หรือ

และการป้ อ งกั น การทุ จ ริ ต คอร์ รั ป ชั่ น เพื่ อ เป็ น แนวทางให้

บุคคลที่รับจ้างทํางานให้แก่บริษัทฯ จะได้รับการคุ้มครองสิทธิ โดย

ผู้ ป ระกอบการทุ ก รายดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย่ า งโปร่ ง ใสและสามารถ

ผูท ้ ม ี่ ส ี ว ่ นเกีย ่ วข้องกับกระบวนการตรวจสอบหาข้อเท็จจริง ต้องเก็บ

เติบโตอย่างยั่งยืนร่วมกัน

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเป็นความลับ จะเปิดเผยเท่าที่จําเป็น โดยคํานึงถึง ความปลอดภัยและความเสียหายของผู้แจ้งเบาะแส ผู้ร้องเรียน หรือ

ทั้งนี้ รายละเอียดนโยบายที่เกี่ยวข้องเปิดเผยไว้ในจรรยาบรรณและ

ผู้ที่ให้ความร่วมมือในการตรวจสอบข้อเท็จจริง ทั้งนี้ กระบวนการ

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รป ั ชัน ่

แจ้งเบาะแส กระบวนการในการจัดการข้อร้องเรียน การคุม ้ ครองสิทธิ

ของบริษัทฯ รวมทั้งจรรยาบรรณและแนวทางการปฏิบัติของคู่ค้า

พนักงาน ลูกจ้าง หรือบุคคลอืน ่ ทีร่ บ ั จ้างทํางานให้แก่บริษท ั ฯ เปิดเผย ไว้ ใ นจรรยาบรรณและนโยบายการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การของบริ ษั ท ฯ

การแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียน

และมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ที่มีข้อสงสัยหรือข้อ

4. การเปิดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency)

ร้องเรียนสามารถติดต่อมาตามช่องทางดังนี้ •

กรณีที่ผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ มีข้อสงสัย หรือพบเห็นการ บริษัทฯ ยึดมั่นในหลักการเปิดเผยข้อมูลที่มีความถูกต้อง ครบถ้วน

กระทําทีส ่ งสัยว่ามีการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจรรยาบรรณทางธุรกิจ และการทุจริตต่อหน้าที่

โปร่งใส ทั่วถึง และทันเวลา ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่

สามารถสอบถาม แจ้ ง เบาะแส หรื อ ร้ อ งเรี ย น พร้ อ มส่ ง

ทางการเงิน เพื่อให้นักลงทุนและผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายทั้งในประเทศ

รายละเอียดหลักฐานต่าง ๆ ถึงบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

และต่างประเทศมีขอ ้ มูลทีเ่ ชือ ่ ถือได้และเพียงพอต่อการตัดสินใจอย่าง

154


รายงานประจํ า ปี 2560

สม่ําเสมอ ผ่านระบบ SET Portal ของตลาดหลักทรัพย์ฯ และเว็บไซต์

และวิ เ คราะห์ ข องฝ่ า ยจั ด การ (Management Discussion &

ของบริษัทฯ เพื่อให้บุคคลทุกกลุ่มเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเท่าเทียมกัน

Analysis) ผลการดําเนินงานย้อนหลัง ข้อมูลเกี่ยวกับการประกอบ

และในกรณีที่อยู่ในช่วงเวลาที่ยังไม่สามารถเปิดเผยข้อมูลได้ บริษัทฯ

ธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และข้ อ มู ล โครงการปั จ จุ บั น และโครงการใหม่

มีแนวทางในการดูแลรักษาข้อมูลภายในให้จาํ กัดเฉพาะบุคคลทีจ ่ าํ เป็น

หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้น รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น การกํากับ ดูแลกิจการ ข่าวสารแจ้งตลาดหลักทรัพย์ฯ ปฏิทน ิ ทางการเงินสําหรับ

ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์

นักลงทุน (IR’s Events and Calendar) เอกสารข่าวแจ้งสือ ่ มวลชน

บริษัทฯ ให้ความสําคัญกับการดําเนินธุรกิจตามหลักการกํากับดูแล

(Press Release) รวมถึงเอกสารนําเสนอ (IR Presentation) ที่ใช้

กิจการที่ดี เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์เป็น

ในการพบปะนักลงทุนทั้งในและต่างประเทศ เป็นต้น ในปี 2560 มี

ไปอย่ า งถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น โปร่ ง ใส และสอดคล้ อ งกั บ กฎหมาย

ผู้เข้าชมเว็บไซต์กว่า 14,143 ครั้งต่อเดือน โดยเข้าเยี่ยมชมข้อมูล

ข้อกําหนดของทางการและระเบียบปฏิบัติของบริษัทฯ และได้กําหนด

โดยเฉลี่ย 118,285 ครั้งต่อเดือน และมีผู้สนใจลงทะเบียนรับข่าวสาร

จรรยาบรรณนักลงทุนสัมพันธ์ขึ้น เพื่อให้ผู้บริหารและพนักงานที่

อิเล็กทรอนิกส์จากส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์ ณ สิน ้ ปี 2560 จํานวน

เกี่ยวข้องกับงานนักลงทุนสัมพันธ์ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน

4,142 คน

อย่างเคร่งครัด

นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได้ กํ า หนดช่ ว งเวลางดติ ด ต่ อ สื่ อ สารกั บ นักวิเคราะห์และนักลงทุนเพื่อให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลประกอบการของ

ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์เป็นศูนย์กลางและตัวแทนในการเปิดเผย ข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทฯ ทั้งข้อมูลทางการเงินและข้อมูลที่ไม่ใช่ข้อมูล

บริษท ั ฯ รายไตรมาส (Silent Period) เป็นเวลา 14 วันก่อนวันประกาศ

ทางการเงิ น รวมถึ ง เสริ ม สร้ า งและบริ ห ารความสั ม พั น ธ์ อั น ดี ต่ อ

ผลการดํ า เนิ น งานรายไตรมาสและรายปี ข องบริ ษั ท ฯ ต่ อ ตลาด

ผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์หลักทรัพย์ บุคคลทั่วไป และผู้มีส่วน

หลั ก ทรั พ ย์ ฯ เพื่ อ หลี ก เลี่ ย งการให้ ข้ อ มู ล ที่ ไ ม่ เ ป็ น ธรรม ซึ่ ง อาจ

ได้ เ สี ย ทั้ ง ในและต่ า งประเทศอย่ า งเท่ า เที ย ม ถู ก ต้ อ ง ครบถ้ ว น สมํ่าเสมอ และทันเวลา และเป็นไปตามที่ตลาดหลักทรัพย์ฯ กําหนด

ส่งผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ได้

กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์

นอกจากนีส ้ ว ่ นงานนักลงทุนสัมพันธ์ได้ทาํ แบบสํารวจความพึงพอใจ ของผู้ ถื อ หุ้ น สถาบั น ผู้ ถื อ หุ้ น บุ ค คล นั ก ลงทุ น และนั ก วิ เ คราะห์

ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ของบริ ษั ท ฯ ให้ ค วามสํ า คั ญ กั บ การสร้ า งความ

หลักทรัพย์ ทีม ่ ต ี อ ่ การดําเนินงานของส่วนนักลงทุนสัมพันธ์เป็นประจํา

สั ม พั น ธ์ อั น ดี กั บ ผู้ ล งทุ น โดยได้ จั ด สรรเวลาเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมด้ า น

ทุกปี เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ พัฒนา และปรับปรุงนโยบาย การปฏิบัติงาน และกิจกรรมต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

นักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อแถลงนโยบายและทิศทางการดําเนินธุรกิจ ของบริษัทฯ รวมถึงพบนักลงทุนอย่างสมํ่าเสมอทั้งในประเทศและ

สูงสุด เพื่อให้เป็นมาตรฐานสากล

ต่างประเทศ เช่น งานประชุมนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และนักลงทุน สถาบัน (CEO Forum) งานประชุมร่วมกับนักลงทุน งานประกาศ

ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์รายงานตรงต่อประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

ผลประกอบการประจําไตรมาส รวมถึงการเดินทางไปพบนักลงทุน

การเงิน และทํางานใกล้ชิดกับผู้บริหารระดับสูงเพื่อกําหนดนโยบาย และแผนงานประจําไตรมาสและประจําปี รวมถึงวางแนวทางในการ

รั บ เชิ ญ จากตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เป็ น วิ ท ยากรถ่ า ยทอดความรู้ แ ละ

ปฏิ บั ติ ง านและพั ฒ นางานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ใ ห้ เ ท่ า เที ย มกั บ บริ ษั ท

ประสบการณ์ ใ นงานนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ใ ห้ ผู้ ที่ ส นใจ ซึ่ ง ในปี 2560

จดทะเบียนชั้นนําระดับภูมิภาค โดยมีการรายงานผลการปฏิบัติงาน

มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมเฉลี่ย 30-40 คนต่อไตรมาส โดยมีการ

และข้อคิดเห็นจากผู้ถือหุ้น นักลงทุน และนักวิเคราะห์หลักทรัพย์ต่อ

ถ่ายถอดสดผ่านทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ฯ (Opportunity

คณะกรรมการบริษัทปีละ 2 ครั้ง

Day WebcastLive) และเปิดโอกาสให้ผู้ชมทางเว็บไซต์สามารถส่ง

บริษัทฯ มีการเปิดเผยข้อมูลที่สําคัญทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

คําถามและผูบ ้ ริหารสามารถตอบข้อซักถามได้ในช่วงถาม-ตอบ ทัง ้ นี้

และเป็นประโยชน์ในการประกอบการตัดสินใจลงทุนต่อผู้ถือหุ้นและ

เอกสารและวีดิทัศน์ของงานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาส

นักลงทุนโดยเผยแพร่ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น แจ้งสารสนเทศตลาด

จะเผยแพร่ ใ นเว็ บ ไซต์ นั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ เ พื่ อ ให้ นั ก ลงทุ น สามารถ

หลักทรัพย์ฯ สํานักงาน ก.ล.ต. หนังสือพิมพ์ และข่าวประชาสัมพันธ์

ดูข้อมูลย้อนหลังได้อย่างทั่วถึง

เป็นต้น และเผยแพร่ไว้บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ภายใต้ส่วนนักลงทุน

ในรอบปี 2560 บริ ษั ท ฯ ดํ า เนิ น กิ จ กรรมนั ก ลงทุ น สั ม พั น ธ์ ห ลาย

สัมพันธ์ (http://www.cpn.co.th/investor_th.aspx) และมีการ ปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบันอย่างสมํา่ เสมอ

รูปแบบเป็นประจําอย่างต่อเนือ ่ ง เพือ ่ ให้ผบ ู้ ริหารระดับสูงและส่วนงาน นักลงทุนสัมพันธ์ได้พบและให้ข้อมูลต่อผู้ที่เกี่ยวข้องในโอกาสต่าง ๆ ดังนี้

ข้อมูลที่เปิดเผยบนเว็บไซต์ อาทิ แบบแสดงรายงานประจําปี (แบบ 56-1) รายงานประจําปี (แบบ 56-2) รายงานงบการเงิน คําอธิบาย

155

บทที่ 23

ทั้ ง ในประเทศและต่ า งประเทศ เป็ น ต้ น นอกจากนี้ ผู้ บ ริ ห ารยั ง ได้


รูปแบบการเข้าพบ

จํานวนครั้ง

จํานวนบริษัท

1. การพบให้ข้อมูลแบบตัวต่อตัว (One-on-One Meetings)

66

2. การประชุมทางโทรศัพท์ (Conference Calls)

10

11

12

5

54

213

4. บริษัทจดทะเบียนพบนักลงทุน (Opportunity Day)

4

-

108

5. การเข้าร่วมประชุมนักลงทุน (Investor Conference)

8

109

230

6. การเดินทางไปพบปะผู้ถือหุ้นและนักลงทุน

7

80

112

16

34

49

144

368

884

3. การจัดพบนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และนักลงทุนกลุ่มย่อย

80

จํานวนราย 160

(CEO Forum and Analyst Briefing)

(Non-Deal Roadshows) 7. การพานักลงทุนสถาบันเยี่ยมชมศูนย์การค้า (Site Visits) รวม

ความหลากหลายในโครงสร้างของคณะกรรมการบริษท ั

ทัง ้ นี้ ผูถ ้ อ ื หุน ้ นักลงทุน และผูท ้ ส ี่ นใจสามารถติดต่อส่วนงานนักลงทุน สัมพันธ์เพือ ่ สอบถามข้อมูลของบริษท ั ฯ โดยจดหมาย หรือติดต่อด้วย

บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ประโยชน์ ข องความหลากหลายของคณะ

ตนเองได้โดยตรงตามช่องทาง ดังนี้

กรรมการบริ ษั ท จึ ง กํ า หนดนโยบายเกี่ ย วกั บ ความหลากหลายใน ส่วนงานนักลงทุนสัมพันธ์

โครงสร้างของคณะกรรมการไว้ในกฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน รวมทัง ้ ในจรรยาบรรณและนโยบายการกํากับดูแล

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

กิจการ โดยคณะกรรมการบริษท ั สนับสนุนให้โครงสร้างคณะกรรมการ

ชั้น 31 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์

บริ ษั ท ประกอบด้ ว ยผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถที่

999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน

หลากหลาย มีประสบการณ์ ความรู้ความเชี่ยวชาญที่เป็นประโยชน์

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย

ต่ อ การดํา เนิ น ธุ ร กิ จ ยึ ด มั่ น ในคุ ณ ธรรมและความซื่ อ สั ต ย์ โดยไม่

โทรศัพท์: +66 (0) 2667 5555 ต่อ 1614 1632 1633 และ 1689

จํากัดเพศ เชื้อชาติ ศาสนา อายุ ทักษะทางวิชาชีพ หรือคุณสมบัติ

อีเมล: ir@cpn.co.th

เฉพาะด้านอื่น ๆ

5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท

โครงสร้างคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงบทบาทในฐานะผู้นําองค์กรที่ต้อง คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยบุคคลผู้มีความรู้ ความสามารถ

กํากับดูแลให้องค์กรมีการบริหารจัดการที่ดี โดยมีความรับผิดชอบ

และประสบการณ์อน ั เป็นประโยชน์ตอ ่ บริษท ั ฯ โดยบริษท ั ฯ มีกรรมการ

ในการปฏิบต ั ห ิ น้าทีใ่ ห้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับ

อิสระ 4 คน ซึ่งเป็นผู้หญิง 1 คน จากกรรมการทั้งหมด 11 คน คิดเป็น

ของบริษัทฯ ตลอดจนมติคณะกรรมการ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

สัดส่วนกรรมการอิสระจํานวน 1 ใน 3 ของคณะกรรมการทั้งหมด

ุ ริต (Duty of Loyalty) ความระมัดระวัง (Duty ด้วยความซือ ่ สัตย์สจ

ตามหลักเกณฑ์ของสํานักงาน ก.ล.ต. โดยกรรมการอิสระทุกท่าน

of Care) มีความรับผิดชอบ (Accountability) และมีจริยธรรม

มีคุณสมบัติความเป็นอิสระครบถ้วนตามที่บริษัทฯ กําหนด สามารถ

(Ethic) โดยคํานึงถึงประโยชน์ของผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน

ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเป็นประโยชน์ต่อ

คณะกรรมการบริ ษั ท มี ห น้ า ที่ พิ จ ารณาให้ ค วามเห็ น ในการกํ า หนด

บริษัทฯ อย่างเต็มที่

วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายทางธุรกิจในระยะยาว และแผนกลยุทธ์

ทั้งนี้ เพื่อให้การกํากับดูแลองค์กรเป็นไปอย่างทั่วถึงในทุกมิติและ

ของบริษัทฯ ให้เป็นไปเพื่อความยั่งยืน โดยมีการทบทวนเป็นประจํา

สอดคล้ อ งตามหลั ก การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี บริ ษั ท ฯ จั ด ให้ มี

ทุกปี เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการดําเนินธุรกิจ

คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการบริหาร และคณะกรรมการ

ที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งนโยบายต่าง ๆ อาทิ นโยบายการกํากับ

จัดการ ตลอดจนเลขานุการบริษัท ซึ่งมีบทบาทหน้าที่สนับสนุนการ

ดูแลกิจการ จรรยาบรรณในการดําเนินธุรกิจ จรรยาบรรณสําหรับ

ปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องคณะกรรมการบริษท ั รายละเอียดปรากฏอยูใ่ นหัวข้อ

กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน เป็ น ต้ น โดยมี ก ารติ ด ตามและ

“โครงสร้างการจัดการ”

กํากับดูแลให้ฝ่ายจัดการนํากลยุทธ์และนโยบายที่สําคัญของบริษัทฯ

156


รายงานประจํ า ปี 2560

พนักงานของบริษัทฯ ทั้งนี้ ประธานกรรมการเป็นประธานในที่ประชุม

ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง ตลอดจนเสริมสร้างความมีประสิทธิผลของ คณะกรรมการและผู้บริหารระดับสูง เพื่อช่วยขับเคลื่อนองค์กรไปสู่

คณะกรรมการบริษัทและที่ประชุมผู้ถือหุ้น ควบคุมดูแลการประชุม

เป้าหมายที่กําหนดไว้ ส่งเสริมนวัตกรรมในด้านต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิด

ดั ง กล่ า วให้ ดํ า เนิ น ไปอย่ า งเรี ย บร้ อ ย เปิ ด โอกาสให้ ก รรมการและ

มูลค่าแก่ธุรกิจ ควบคู่ไปกับการสร้างคุณประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสีย

ผู้ ถื อ หุ้ น ได้ แ สดงความคิ ด เห็ น หรื อ ข้ อ เสนอแนะอย่ า งเต็ ม ที่ ใ นเชิ ง

ที่ เ กี่ ย วข้ อ งโดยประกอบธุ ร กิจ ด้ ว ยความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมและ

สร้างสรรค์และเป็นอิสระ รายละเอียดปรากฏในหัวข้อ “โครงสร้าง

สิ่งแวดล้อม กํากับดูแลระบบการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม

การจัดการ”

ภายในให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมาย และมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง กํากับดูแลระบบการรายงานทางการเงิน

กรรมการผู้จัดการใหญ่มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการบริหาร

และการเปิดเผยข้อมูลสําคัญของบริษท ั ฯ ให้มค ี วามถูกต้อง เพียงพอ

และจัดการให้บริษัทฯ มีการดําเนินการตามแผนกลยุทธ์ วิสัยทัศน์

ทันเวลา เป็นไปตามกฎเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง

และพันธกิจที่กําหนดไว้ โดยมีขอบเขตอํานาจหน้าที่ภายใต้กฎหมาย

นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่อง

วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ ข้ อ บั ง คั บ บ ริ ษั ท ฯ ต ล อ ด จ น ม ติ ที่ ป ร ะ ชุ ม

สําคัญของบริษัทฯ โดยปฏิบัติต่อผู้ถือหุ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน

คณะกรรมการและมติที่ประชุมผู้ถือหุ้น

ทั้งนี้ กลยุทธ์และนโยบายที่สําคัญของบริษัทฯ ได้รับการสื่อสารไปยัง

การดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษัทจดทะเบียน

ผูบ ้ ริหารและพนักงานทุกคนผ่านช่องทางต่าง ๆ โดยในระดับผูบ ้ ริหาร

ตามกฎบัตรคณะกรรมการบริษัทกําหนดให้กรรมการสามารถดํารง

จะสือ ่ สารผ่านการประชุม Annual Management Committee และ

ตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นได้ แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการ

การประชุม Management Information Meeting เป็นประจําทุกปี

ปฏิบต ั ห ิ น้าทีก ่ รรมการของบริษท ั ฯ โดยกําหนดให้กรรมการควรดํารง

เป็นต้น สําหรับในระดับพนักงานทั้งในส่วนของสํานักงานใหญ่และ

ตําแหน่งกรรมการบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ไม่เกิน

สาขา จะสือ ่ สารผ่านสายการบังคับบัญชาตามลําดับ และโดยสือ ่ ต่าง ๆ

5 บริษัท ซึ่งไม่มีกรรมการบริษัทรายใดดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการ

ที่แผนกสื่อสารภายในองค์กร (Internal Communication) จัดทํา

ในบริษัทจดทะเบียนเกิน 5 บริษัท

ขึ้นอย่างทั่วถึง โดยคณะกรรมการบริษัทได้ติดตามความคืบหน้า แผนงานที่ กํ า หนดไว้ ผ่ า นการพิ จ ารณารั บ ทราบรายงานผลการ

กรรมการผู้จัดการใหญ่อาจไปดํารงตําแหน่งกรรมการที่บริษัทอื่นได้

ดําเนินงานเป็นประจําทุกไตรมาส

แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติหน้าที่กรรมการผู้จัดการใหญ่

บทบาทของประธานกรรมการและกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่

ของบริษัทฯ และกิจการนั้นต้องไม่เป็นธุรกิจประเภทเดียวกัน หรือ

ประธานกรรมการและกรรมการผู้จัดการใหญ่ของบริษัทฯ ไม่เป็น

จากคณะกรรมการบริษัทก่อนไปดํารงตําแหน่งกรรมการในบริษัท

บุคคลเดียวกัน เพื่อให้มีการแบ่งแยกบทบาทอย่างชัดเจนและมีการ

อื่น ทั้งนี้ กรรมการผู้จัดการใหญ่ดํารงตําแหน่งกรรมการใน CPN

ถ่วงดุลอํานาจในการดําเนินงาน

บริษัทเดียวเท่านั้น

แม้ว่าประธานกรรมการจะเป็นตัวแทนจากผู้ถือหุ้นที่มิใช่กรรมการ

การจํากัดจํานวนวาระการดํารงตําแหน่ง ของกรรมการอิสระ

อิสระ แต่อย่างไรก็ตาม จากการพิจารณาของคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทนผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริษท ั มีความเห็นว่า โครงสร้างดังกล่าวมีความเหมาะสมกับลักษณะการ

กฎบัตรคณะกรรมการบริษัทฯ กําหนดว่ากรรมการอิสระสามารถ

ประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ และเป็ น จุ ด แข็ ง ที่ ช่ ว ยส่ ง เสริ ม ให้ ก าร

ดํารงตําแหน่งกรรมการติดต่อกันได้ไม่เกิน 2 วาระ และสามารถต่อ

ดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ประสบความสําเร็จและมีการเติบโตอย่าง

วาระได้โดยรวมระยะเวลาการดํารงตําแหน่งทุกวาระแล้วต้องไม่เกิน

ต่อเนือ ่ งมาจนถึงปัจจุบน ั เนือ ่ งจากประธานกรรมการเป็นผูม ้ ค ี วามรู้

9 ปี เพื่อความเป็นอิสระในการให้ความเห็นและปฏิบัติหน้าที่ในฐานะ

ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

กรรมการอิสระของบริษัทฯ

และการค้ า ปลี ก มายาวนาน สามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ โ ดยคํ า นึ ง ถึ ง

ทัง ้ นี้ คณะกรรมการบริษท ั สามารถพิจารณาขยายระยะเวลาการดํารง

ผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ายมาโดยตลอด

ตําแหน่งของกรรมการอิสระได้ตามทีเ่ ห็นสมควร และในปีทก ี่ รรมการ อิสระดังกล่าวครบกําหนดออกตามวาระ คณะกรรมการอาจเสนอ

ประธานกรรมการมีหน้าที่และความรับผิดชอบในฐานะกรรมการตาม กฎบัตรคณะกรรมการบริษัท ยึดมั่นในจรรยาบรรณและนโยบายการ

ชื่อกรรมการดังกล่าวให้ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นพิจารณาเลือกตั้ง

กํากับดูแลกิจการเพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่กรรมการ ผู้บริหาร และ

กรรมการกลับเข้าเป็นกรรมการอิสระต่อไปได้

157

บทที่ 23

เป็นการแข่งขันกับธุรกิจของบริษัทฯ โดยต้องได้รับความเห็นชอบ


การประชุมคณะกรรมการบริษัท

-

ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน อาทิ การออกแบบ ศู น ย์ ก ารค้ า เพื่ อ ลดความเสี่ ย งในการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ การ

ข้อบังคับของบริษท ั ฯ กําหนดให้มก ี ารประชุมคณะกรรมการบริษท ั

ติดป้ายหรือสัญลักษณ์ในจุดที่อาจมีความเสี่ยงในการเกิด

อย่ า งน้ อ ย 3 เดื อ นต่ อ ครั้ ง คณะกรรมการบริ ษั ท จึ ง ร่ ว มกั น

อุ บั ติ เ หตุ ความเสี่ ย งที่ อ าจเกิ ด จากการก่ อ การร้ า ย การ

กําหนดวันประชุมคณะกรรมการบริษท ั ล่วงหน้าไว้ทง ั้ ปี อย่างน้อย

ป้องกันและดําเนินการในกรณีที่เกิดเหตุเพลิงไหม้ เป็นต้น

ปีละ 6 ครั้ง โดยในปี 2560 บริษัทฯ มีการประชุมคณะกรรมการ

-

บริษท ั รวม 8 ครัง ้ สัดส่วนการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ

DisruptiveTechnology, Cyber Crime, Cyber Security

บริษัททั้งคณะคิดเป็นร้อยละ 89.77 •

และ hIT Governance เป็นต้น

ประธานกรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่ และเลขานุการบริษัท

-

จะร่ ว มกั น พิ จ ารณากํ า หนดวาระการประชุ ม ก่ อ นการประชุ ม

การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน เป็นต้น

เสนอวาระการประชุมได้อย่างเป็นอิสระ โดยประธานกรรมการเป็น

-

ผู้พิจารณาความเหมาะสมของวาระดังกล่าว

ผู้พิการ การจัดการด้านจราจร การมีระบบขนส่งสาธารณะ เพือ ่ ความสะดวกในการเดินทางของลูกค้าและช่วยลดปัญหา

บริษท ั ฯ ให้กรรมการได้มเี วลาพิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน

การจราจรติดขัด และการจัดเตรียมที่จอดรถให้เพียงพอ

พร้อมกับจดหมายเชิญประชุม โดยระบุวน ั เวลา สถานที่ และวาระ

เป็นต้น

การประชุ ม เว้ น แต่ ใ นกรณี จํ า เป็ น รี บ ด่ ว น เพื่ อ รั ก ษาสิ ท ธิ ห รื อ

-

ประโยชน์ของบริษัทฯ เลขานุการบริษัทจะแจ้งการนัดประชุมโดย

วิธีอื่น และกําหนดวันประชุมให้เร็วกว่านั้นก็ได้

เก็บเอกสารต้นฉบับ •

เป็นอิสระ มีการใช้ดล ุ ยพินจ ิ อย่างรอบคอบ ทัง ้ นี้ เลขานุการบริษท ั

ผู้ ป ระสานงานและจั ด ส่ ง เอกสารการชี้ แ จงเพิ่ ม เติ ม ของ

ประชุมทุกครั้ง

ฝ่ายจัดการให้คณะกรรมการบริษัทโดยเร็วที่สุด

ในการประชุมคณะกรรมการบริษท ั กรรมการทีอ ่ าจมีสว ่ นได้สว ่ น •

เสียจะไม่อยู่ในที่ประชุม และงดออกเสียงในวาระนั้น

เลขานุ ก ารบริ ษั ท จั ด ส่ ง รายงานผลการดํ า เนิ น งานรายเดื อ น

คณะกรรมการบริ ษั ท กํ า หนดให้ บั น ทึ ก องค์ ป ระชุ ม ขณะที่

่ ณะกรรมการบริษท ั พิจารณา เปรียบเทียบกับเป้าหมายแผนงานทีค

คณะกรรมการบริษัทลงมติไว้ในรายงานการประชุมทุกครั้ง ซึ่งที่

อนุมัติไว้ เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณารับทราบอย่าง ต่อเนื่องทุกเดือน

ผ่านมา การลงมติในวาระเพื่อพิจารณาอนุมัติมีกรรมการอยู่ใน •

ที่ประชุมไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของกรรมการทั้งหมด

คณะกรรมการบริษัทที่ไม่เป็นผู้บริหารมีการประชุมร่วมกันอย่าง

เมื่อมีเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่สําคัญหรือที่มีผลกระทบต่อบริษัทฯ

น้อยปีละ 1 ครั้ง ซึ่งในปี 2560 มีการจัดประชุม 2 ครั้ง ในเดือน

และ/หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีนัยสําคัญ ฝ่ายจัดการจะนํา

สิ ง หาคมและตุ ล าคม เพื่ อ พิ จ ารณาเกี่ ย วกั บ แผนกลยุ ท ธ์

รายละเอียดมาเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาให้ความเห็นและ

ประจําปี 2561 และประเด็นที่สําคัญต่าง ๆ ทางธุรกิจ โดยมีการ

ข้ อ เสนอแนะต่ า ง ๆ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ความคื บ หน้ า โครงการ

สรุ ป ประเด็ น การพิ จ ารณาและข้ อ เสนอแนะที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ ห้

ในต่างประเทศ ภาวะตลาดและแผนการลงทุนโครงการต่าง ๆ

คณะกรรมการบริ ษั ท และฝ่ า ยจั ด การรั บ ทราบเพื่ อ นํ า ไป

เหตุการณ์ที่เป็นกระแสสังคมที่เกี่ยวข้องหรือมีโอกาสเกี่ยวข้อง

พัฒนาการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องต่อไป •

กับการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ รวมทั้งแนวทางการกํากับดูแล

คณะกรรมการบริ ษั ท มี ก ารประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการประชุ ม คณะกรรมการบริษัททั้งคณะทุกครั้งที่มีการประชุม เพื่อนําผลที่

กิจการที่ดี เป็นต้น •

ในกรณีที่มีข้อซักถามในที่ประชุมและเป็นเรื่องที่ต้องติดตามขอ ข้ อ มู ล จากฝ่ า ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะเป็ น

และฝ่ า ยกฎหมายจะเข้ า ร่ ว มประชุ ม และจดบั น ทึ ก รายงานการ

เอกสารประกอบการประชุม รายงานการประชุม ตลอดจนข้อมูล โดยมีการจัดเก็บในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ควบคู่กับการจัด

ให้กรรมการทุกท่านได้แสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์และ

ด้านพฤติกรรมของผู้บริโภคที่กําลังเปลี่ยนแปลง

หรือเอกสารทีเ่ กีย ่ วข้องมีการเก็บไว้อย่างครบถ้วนในทีป ่ ลอดภัย

ในระหว่างการประชุม ประธานในที่ประชุมได้มีการจัดสรรเวลา อย่างเพียงพอในการอภิปรายประเด็นที่สําคัญ อีกทั้งสนับสนุน

ด้านสังคม อาทิ โครงสร้างประชากรผู้สูงอายุ การออกแบบ ศูนย์การค้าที่คํานึงถึงผู้สูงอายุ การอํานวยความสะดวกแก่

เลขานุ ก ารบริ ษั ท จั ด ส่ ง เอกสารประกอบการประชุ ม ในวาระที่ สามารถเปิดเผยเป็นลายลักษณ์อักษรได้โดยไม่ส่งผลกระทบต่อ

ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและการอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน อาทิ ความ เปลีย ่ นแปลงของสภาพอากาศ การออกแบบอาคาร รวมทัง ้

แต่ละครัง ้ อย่างชัดเจน และเปิดโอกาสให้กรรมการทุกท่านสามารถ

ด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ อาทิ Smart Technology,

ในปี 2560 คณะกรรมการบริษัทพิจารณาประเด็นสําคัญต่าง ๆ

ได้จากการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาการปฏิบต ั ห ิ น้าทีก ่ รรมการ

เพื่อให้มั่นใจว่าบริษัทฯ มีการบริหารจัดการที่ดีรองรับกับการ

และการจั ด ประชุ ม ให้ ดี ยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง ผลประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการ

ดําเนินธุรกิจ ตลอดจนการเปลีย ่ นแปลงทีจ ่ ะเกิดขึน ้ ในอนาคตดังนี้

ประชุมคณะกรรมการบริษท ั เฉลีย ่ ในปี 2560 เท่ากับร้อยละ 98.47

158


รายงานประจํ า ปี 2560

• กระบวนการในการประเมิน

คณะกรรมการบริษัทมีการพิจารณาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง ในกฎหมาย ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ต่าง ๆ ที่สําคัญ ตลอดจน

เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะจั ด ส่ ง แบบประเมิ น ให้ ก รรมการบริ ษั ท ทุ ก ท่ า น

ข่ า วสารความเคลื่ อ นไหวด้ า นการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การที่ ดี อ ย่ า ง สม่ําเสมอ เพื่อให้การปฏิบัติหน้าที่ในฐานะกรรมการสอดคล้อง

ประเมินตนเองในทุกสิ้นปี และเป็นผู้รวบรวมและรายงานสรุปผลต่อ ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณารับทราบและหารือกันเป็น

ตามกฎหมาย ข้อบังคับ หลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติที่ดีและเป็น

ประจําทุกปี

ปัจจุบัน

2. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายบุคคล

การประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของคณะกรรมการบริษท ั

• หลักเกณฑ์ แบบประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการรายบุ ค คลเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่

1. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการรายคณะ

ช่วยให้กรรมการได้ทบทวนและพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง • หลักเกณฑ์

ให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิง ่ ขึน ้ โดยมีหว ั ข้อในการประเมินที่

แบบประเมิ น ตนเองของคณะกรรมการรายคณะนํ า แนวทางจาก

สอดคล้องกับหน้าทีค ่ วามรับผิดชอบทีส ่ าํ คัญของคณะกรรมการตาม

ตลาดหลักทรัพย์ฯ มาปรับใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะและโครงสร้าง

กฎหมาย กฎบัตร จรรยาบรรณของกรรมการบริษัท แนวปฏิบัติที่ดี

ของคณะกรรมการ ซึ่ ง ผลการประเมิ น จะเป็ น ส่ ว นสํ า คั ญ ในการ

ของสํานักงานก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ฯ ดังนี้

พัฒนาการปฏิบัติหน้าที่และการดําเนินงานเกี่ยวกับคณะกรรมการ 1) จรรยาบรรณและการปฏิบัติหน้าที่กรรมการ

ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้นต่อไป ทั้งนี้ แบบประเมินแบ่ง

2) การกําหนดกลยุทธ์ การกํากับดูแล และติดตามการดําเนินงาน

ออกเป็น 2 ส่วน ดังนี้

3) ความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ส่วนที่ 1 คณะกรรมการประเมิ น ระดั บ คะแนนความเห็ น หรื อ ระดั บ

• กระบวนการในการประเมิน

การดําเนินการใน 5 หัวข้อประเมิน ได้แก่

เลขานุ ก ารบริ ษั ท จะจั ด ส่ ง แบบประเมิ น ให้ ก รรมการบริ ษั ท ทุ ก ท่ า น

1) โครงสร้างและคุณสมบัติของคณะกรรมการ

ประเมินตนเองในทุกสิ้นปี และเป็นผู้รวบรวมและรายงานสรุปผลต่อ

2) บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ

ทีป ่ ระชุมคณะกรรมการบริษท ั เพือ ่ พิจารณารับทราบและหารือกันเป็น

3) การประชุมและการทําหน้าที่ของกรรมการ

ประจําทุกปี

4) ความสัมพันธ์กับฝ่ายจัดการ

3. แบบประเมินตนเองของคณะกรรมการชุดย่อย

5) การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ ้ ริหาร

ส่วนที่ 2 คณะกรรมการให้ ค วามเห็ น ข้ อ เสนอแนะ หรื อ สิ่ ง ที่ ใ ห้

คณะกรรมการชุดย่อยแต่ละคณะ ซึ่งประกอบด้วย 1) คณะกรรมการ

ความสนใจเป็ น กรณี พิ เ ศษสํ า หรั บ การปฏิ บั ติ ง านของ

ตรวจสอบ 2) คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และ 3) ทุกปี เพื่อนําผลประเมินมาพัฒนาการปฏิบัติหน้าที่ในการสนับสนุน การทํางานของคณะกรรมการบริษท ั และการดําเนินธุรกิจของบริษท ั ฯ

การประเมินการปฏิบัติงาน

ผลประเมิน (%)

คณะกรรมการบริษัท 1. คณะกรรมการบริษัท (ทั้งคณะ)

98.32

2. คณะกรรมการบริษัท (รายบุคคล)

96.60

คณะกรรมการชุดย่อย 3. คณะกรรมการตรวจสอบ

97.66

4. คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

99.43

5. คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง

95.63

159

บทที่ 23

คณะกรรมการนโยบายความเสี่ยง มีการประเมินตนเองเป็นประจํา

คณะกรรมการหรือการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ของบริษัทฯ


• กระบวนการในการประเมิน

ทั้งนี้ ในปี 2560 ผลประเมินการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการรายบุคคล และคณะกรรมการชุดย่อยอยู่ในเกณฑ์

CEO มีสว ่ นร่วมในการกําหนดเป้าหมายในการปฏิบต ั ง ิ านของตนเอง

“ดีเลิศ” สรุปได้ดังนี้

และรับทราบเป้าหมายที่ได้รับการอนุมัติในแต่ละปี หลังจากนั้นในทุก

การประเมินผลการปฏิบัติงานของ CEO

สิ้นปีเลขานุการบริษัทจะจัดส่งแบบประเมินให้กรรมการบริษัททุกท่าน ประเมิน CEO รวมทั้งจัดส่งแบบประเมินดังกล่าวให้ CEO ประเมิน

• หลักเกณฑ์

ตนเองเพื่ อ นํ า ผลการประเมิ น มาเปรี ย บเที ย บและเป็ น ข้ อ มู ล ในการ

แบบประเมินผลการปฏิบต ั ง ิ านของ CEO แบ่งเป็น 2 หมวด ตามแนว

พัฒนาศักยภาพของ CEO ต่อไป โดยผลการประเมินประจําปี 2560

ทางการประเมินจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ประกอบด้วย

คิดเป็นร้อยละ 97.30 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ “ดีเลิศ”

หมวดที่ 1 การวัดผลการปฏิบต ั ง ิ าน ประกอบด้วยหัวข้อการประเมิน 10 หัวข้อ ได้แก่ 1) ความเป็นผู้นํา 2) การกําหนดกลยุทธ์ 3) การปฏิบัติตามกลยุทธ์ 4) การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน 5) ความสัมพันธ์กับคณะกรรมการ 6) ความสัมพันธ์กับภายนอก 7) การบริหารงานและความสัมพันธ์กับบุคลากร 8) การสืบทอดตําแหน่ง 9) ความรู้ด้านธุรกิจและบริการ 10) คุณลักษณะส่วนตัว

ทัง ้ นี้ เลขานุการบริษท ั จะเป็นผูร้ วบรวมและรายงานสรุปผลต่อทีป ่ ระชุม คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนและคณะกรรมการ บริษัทพิจารณากําหนดค่าตอบแทนของ CEO ตามลําดับ

การอบรมและสัมมนาของคณะกรรมการบริษัท เลขานุการบริษัทมีส่วนสนับสนุนให้คณะกรรมการบริษัทได้พัฒนา ความรูแ ้ ละแลกเปลีย ่ นประสบการณ์ในการทําหน้าทีใ่ นฐานะกรรมการ บริษัทและกรรมการชุดย่อยอย่างต่อเนื่อง โดยมีการประชาสัมพันธ์ และประสานงานเพื่ออํานวยความสะดวกให้กับกรรมการทุกท่านใน การเข้าร่วมการอบรมและสัมมนาหลักสูตรต่าง ๆ โดยรายละเอียด เกี่ยวกับการอบรมสัมมนาของกรรมการแต่ละท่านปรากฏในหัวข้อ “รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจควบคุม และ

หมวดที่ 2 การพั ฒ นา CEO ประกอบด้ ว ยจุ ด แข็ ง และประเด็ น ที่ CEO ควรได้รบ ั การพัฒนามากยิง ่ ขึน ้ โดยคณะกรรมการ บริษัทเป็นผู้ให้ความเห็นเพิ่มเติมในหมวดนี้

เลขานุการบริษัท”

160


รายงานประจํ า ปี 2560

การเข้ารับการพัฒนาและฝึกอบรมของกรรมการในปี 2560 รายชื่อกรรมการ นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายไพฑูรย์ ทวีผล

รายละเอียด - สัมมนา Chairman Dinner ครั้งที่ 2/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา Chairman Dinner ครั้งที่ 2/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา Independent Director Forum ครั้งที่ 1/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา Director Breakfast Talk ครั้งที่ 4/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา National Director Conference ครั้งที่ 1/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา CAC Conference ครั้งที่ 1/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา Thailand’s 8th National Conference on Collective Action against Corruption จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา Forum ครั้งที่ 2/2017 ในหัวข้อ “Sustainability Strategy: Key Blueprint for Business Growth” จัดโดยตลาดหลักทรัพย์ฯ - เข้าร่วมงานเสวนา Executive Sharing ในหัวข้อ “Sustainable Development Goals” จัดโดย CPN - เข้ารับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Thailand & SEA Economic Outlook” จัดโดย CPN ร่วมกับ Credit Suisse AG ประเทศสิงคโปร์

นายการุณ กิตติสถาพร

- สัมมนา Independent Director Forum ครั้งที่ 1/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - สัมมนา Director Breakfast Talk ครั้งที่ 4/2017 จัดโดยสถาบัน IOD - เข้าร่วมงานเสวนา Executive Sharing ในหัวข้อ “Sustainable Development Goals” จัดโดย CPN

นางโชติกา สวนานนท์

- หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุ่นที่ 18/2017 โดยสถาบัน IOD - สัมมนาเชิงปฏิบัติการ “วิธีปฏิบัติสําหรับบอร์ด ในการกํากับดูแลการป้องกันและรับมือภัยไซเบอร์” จัดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. ร่วมกับกลุ่มพันธมิตรซอฟต์แวร์ บีเอสเอ

นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์

- เข้าร่วมงานเสวนาสร้างความรู้ด้าน Cyber Resilience จัดโดยธนาคารแห่งประเทศไทย

นายปรีชา เอกคุณากูล

- เข้าร่วมงานเสวนา Executive Sharing ในหัวข้อ “Sustainable Development Goals”

จัดโดย CPN ร่วมกับ Credit Suisse AG ประเทศสิงคโปร์

161

บทที่ 23

จัดโดย CPN - เข้ารับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Thailand & SEA Economic Outlook”


Advanced Audit Committee Program (AACP)

• •

Audit Committee Program (ACP) Anti-Corruption for Executive Program (ACEP)

• •

Corporate Governance for Capital Market

Intermediaries (CGI)

Director Certification Program (DCP)

• •

Financial Institutions Governance Program (FGP) Financial Statements for Directors (FSD)

• •

• • • •

• •

• •

Monitoring the Internal Audit Function (MIA)

Monitoring the System of Internal Control and

Monitoring Fraud Risk Management (MFM)

Monitoring the Quality of Financial Reporting

• • •

Risk Management (MIR)

(MFR) Chartered Director Class (R-CDC) Role of the Compensation Committee (RCC) Role of Chairman Program (RCP)

นายปรีชา เอกคุณากูล

• •

Chief Financial Officer (CFO)

Director Accreditation Program (DAP)

นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

นายกอบชัย จิราธิวัฒน์

นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์

นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์

นางโชติกา สวนานนท์

นายการุณ กิตติสถาพร

รายชื่อกรรมการ

นายไพฑูรย์ ทวีผล

หลักสูตรการอบรม

นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์

การเข้าร่วมอบรมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการ โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)

• •

Risk Management Committee Program (RMP)

162

• •


รายงานประจํ า ปี 2560

การกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม

การถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องบริ ษั ท ฯ: กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และ พนั ก งานของบริ ษั ท ฯ มี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพในการลงทุ น ซื้ อ ขาย

กลไกการกํากับดูแลบริษท ั ย่อยและบริษท ั ร่วม: บริษท ั ฯ กําหนด

หลักทรัพย์ของบริษัทฯ แต่เพื่อป้องกันมิให้เกิดความขัดแย้ง

ระบบการกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ การบริ ห ารความเสี่ ย ง และการ

ทางผลประโยชน์ กรรมการ ผู้ บ ริ ห าร และพนั ก งาน รวมถึ ง

ควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพในการกํากับดูแลการดําเนินงาน

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต้องไม่ซื้อขาย โอน หรือ

ของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม โดยผ่านกฎ ระเบียบ นโยบาย และ

รับโอน หลักทรัพย์ของบริษท ั ฯ ในช่วงระยะเวลา 1 เดือนก่อนการ

ข้ อ บั ง คั บ ต่ า ง ๆ เช่ น อํ า นาจดํ า เนิ น การ แนวปฏิ บั ติ และ

เปิดเผยงบการเงินแก่สาธารณชน จนกว่าบริษัทฯ จะเปิดเผย

กระบวนการทํางานที่ชัดเจน ตลอดจนมีระบบการรายงานเป็น

ข้อมูลดังกล่าวต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ หรือสาธารณชนแล้วไม่

ลํ า ดั บ ขั้ น ต่ อ ผู้ บ ริ ห า ร ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง โ ด ย มี ก า ร ร า ย ง า น ต่ อ

น้อยกว่า 48 ชั่วโมง ในกรณีที่กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงาน

คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษท ั เป็นระยะ เพือ ่

รวมถึงคู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ มีการซื้อ ขาย โอน

ให้ มั่ น ใจว่ า การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ย่ อ ยและบริ ษั ท ร่ ว ม

หรือรับโอน หลักทรัพย์ของบริษัทฯ จะต้องจัดทําและเปิดเผย

สอดคล้ อ งกั บ การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และเป็ น ไปตาม

รายงานการถือหลักทรัพย์ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงการถือ

วัตถุประสงค์ของการก่อตั้งซึ่งจะช่วยผลักดันให้บริษัทฯ บรรลุ

ครองหลักทรัพย์ของบริษท ั ฯ ต่อหน่วยงานกํากับดูแลให้รบ ั ทราบ

เป้าหมายระยะยาวที่วางไว้และเติบโตอย่างยั่งยืน

ตามเกณฑ์ที่กําหนด

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จัดให้มีการเปิดเผยข้อมูลทางการเงินที่

ทัง ้ นี้ หากผูบ ้ ริหารและพนักงานรายใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบต ั ต ิ ามนโยบาย

สําคัญของบริษัทย่อยและบริษัทร่วม ได้แก่ ข้อมูลฐานะการเงิน

ด้านการดูแลการใช้ข้อมูลภายในที่กล่าวข้างต้นนี้ ถือเป็นความ

และผลการดําเนินงาน การทํารายการระหว่างบริษัทย่อย/บริษัท

ผิดทางวินัยตามระเบียบบริษัทฯ และอาจมีโทษตามกฎหมาย

ร่วมกับบุคคลที่เกี่ยวโยง การได้มาหรือจําหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์ •

และการทํารายการสําคัญ โดยรายการดังกล่าวจะต้องมีการ เปิดเผยอย่างถูกต้องครบถ้วน และไม่ขัดกับหลักเกณฑ์และวิธี

ผู้บริหารมีหน้าที่รายงานการถือครองหลักทรัพย์ของบริษัทฯ

การตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ภายใน 30 วั น นั บ จากวั น ที่ ดํ า รงตํ า แหน่ ง และรายงานการ

ก า ร จั ด ทํ า ข้ อ ต ก ล ง ร ะ ห ว่ า ง บ ริ ษั ท กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น อื่ น

เปลีย ่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทําการนับจาก

(Shareholders’ Agreement): บริษัทฯ เคารพซึ่งสิทธิของ

มีการเปลี่ยนแปลง โดยมีเลขานุการบริษัทรวบรวมและรายงาน

ผู้ร่วมทุนและปฏิบัติต่อผู้ร่วมทุนทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน โดย

ข้ อ มู ล การถื อ หลั ก ทรั พ ย์ ข องกรรมการและผู้ บ ริ ห าร รวมถึ ง

บริษัทฯ ร่วมกับผู้ร่วมทุนจัดทํา Shareholders’ Agreement

คู่สมรสและบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้ที่ประชุมคณะกรรมการ

กําหนดรายละเอียดที่สําคัญเกี่ยวกับการลงทุนไว้อย่างชัดเจน

บริษัทรับทราบทุกไตรมาส

และเป็นธรรม เพือ ่ สร้างความเข้าใจทีถ ่ ก ู ต้องตรงกันทุกฝ่าย อาทิ

การกํากับดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์

สัดส่วนการลงทุน อํานาจการควบคุม ขอบเขตหน้าที่และความ รับผิดชอบในการบริหารงาน การจ่ายผลตอบแทน เป็นต้น

บริ ษั ท ฯ มี น โยบายในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ด้ ว ยความซื่ อ สั ต ย์ สุ จ ริ ต เปิดกว้าง โปร่งใส และเป็นธรรม โดยกําหนดให้กรรมการ ผูบ ้ ริหาร และ

การกํากับดูแลการใช้ข้อมูลภายใน

พนักงานทุกคน ห้ามประกอบธุรกิจที่แข่งขันกับบริษัทฯ หลีกเลี่ยง

คณะกรรมการบริษัทกํากับดูแลให้มีการกําหนดนโยบายที่ใช้ในการ

การทํารายการทีเ่ กีย ่ วโยงกับตนเองหรือบุคคล/นิตบ ิ ค ุ คลทีเ่ กีย ่ วข้อง

ควบคุมเกี่ยวกับการใช้ข้อมูลภายในและการซื้อขายหลักทรัพย์ของ

ที่ อ าจก่ อ ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์ กั บ บริ ษั ท ฯ โดย

บริษัทฯ เพื่อให้เกิดความเสมอภาคและยุติธรรมต่อผู้ถือหุ้นทุกราย

คณะกรรมการบริษัทมีหน้าที่ดูแลให้บริษัทฯ ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์

และป้องกันมิให้กรรมการและผู้บริหารที่เกี่ยวข้องซื้อขายหลักทรัพย์

วิธีการ และการเปิดเผยข้อมูลรายการที่เกี่ยวโยงกัน ตามที่กฎหมาย

และหาผลประโยชน์แก่ตนเองหรือผู้อื่นในทางมิชอบ

หรือหน่วยงานกํากับดูแลกําหนดไว้อย่างเคร่งครัด

ในกรณีที่มีความจําเป็นต้องทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน รายการนั้น

การควบคุมเกี่ยวกับข้อมูลภายใน: กรรมการ ผู้บริหาร และ พนั ก งานทุ ก คน ต้ อ งไม่ ใ ช้ ข้ อ มู ล ภายในของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ส าระ

จะต้องเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไปตามหลักการที่คณะกรรมการ

สํ า คั ญ และยั ง ไม่ ไ ด้ เ ปิ ด เผยสารสนเทศต่ อ สาธารณชนเพื่ อ

บริษัทอนุมัติด้วยความโปร่งใสและเป็นธรรม เปรียบเสมือนการทํา

ประโยชน์ของตนเองและผู้อื่น และยึดถือปฏิบัติตามนโยบายการ

รายการกับบุคคลภายนอก และคํานึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ

เก็ บ รั ก ษาและการใช้ ข้ อ มู ล ภายในที่ บ ริ ษั ท ฯ กํ า หนดไว้ อ ย่ า ง

โดยผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียจะต้องไม่มส ี ว ่ นในการพิจารณารายการทีต ่ น

เคร่งครัด

มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ทั้งนี้ ในกรณีที่เป็นรายการที่เกี่ยวโยง

163

บทที่ 23

การรายงานการถือหลักทรัพย์ของบริษัทฯ: กรรมการและ


กั น ที่ สํ า คั ญ หรื อ ไม่ เ ป็ น ไปตามเงื่ อ นไขการค้ า ทั่ ว ไปตามหลั ก การที่

การทบทวนกฎบั ต รคณะกรรมการชุ ด ต่ า ง ๆ : ที่ ป ระชุ ม

คณะกรรมการบริษัทอนุมัติ ซึ่งอาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผล

คณะกรรมการบริษัทครั้งที่ 2/2560 และ 5/2560 มีมติอนุมัติ

ประโยชน์ ต้องผ่านการสอบทานและให้ความเห็นจากคณะกรรมการ

การทบทวนกฎบัตรคณะกรรมการบริษท ั กฎบัตรคณะกรรมการ

ตรวจสอบ ก่ อ นนํ า เสนอขออนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท หรื อ

ตรวจสอบ กฎบัตรคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

ผู้ถือหุ้น

กฎบัตรคณะกรรมการบริหาร และกฎบัตรคณะกรรมการจัดการ

เพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมาย แนวปฏิบัติ และการดําเนินธุรกิจ

การรายงานการทํ า รายการที่ เ กี่ ย วโยงกั น : กรรมการและ

ในปัจจุบัน ตลอดจนหลัก CG Code

ผูบ ้ ริหารต้องตอบแบบชีแ ้ จงรายการทีเ่ กีย ่ วโยงกัน ในรอบปีบญ ั ชี

สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม เป็นประจําทุกปี เพื่อแสดงถึงความ โปร่งใสและมีความรอบคอบและระมัดระวังในการทําธุรกรรมที่

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ และมาตรการต่อต้านการทุจริต

เกีย ่ วโยงกันในรอบปี โดยมีเลขานุการบริษท ั เป็นผูจ ้ ด ั ส่งแบบชีแ ้ จง

ให้ ส อดคล้ อ งกั บ หลั ก CG Code และแนวปฏิ บั ติ ที่ ดี ใ นการ

รายการและรวบรวมข้อมูล •

ต่อต้านการทุจริต

การเปิดเผยข้อมูลส่วนได้เสียของกรรมการ ผู้บริหาร และ ผู้ท่ีเกี่ยวข้อง: มีการรายงานครั้งแรกภายใน 30 วันนับจาก

ทั้งนี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาหลักปฏิบัติที่ยัง

วันเข้าดํารงตําแหน่งในบริษัทฯ และรายงานข้อมูล ณ วันที่ 31

ไม่สามารถหรือยังมิได้นําไปปรับใช้ โดยได้บันทึกไว้เป็นส่วนหนึ่ง

ธั น วาคม ของทุ ก ปี สํ า หรั บ กรณี ที่ ร ะหว่ า งปี กรรมการหรื อ

ของมติคณะกรรมการแล้ว

ผู้ บ ริ ห ารรวมถึ ง บุ ค คลที่ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งจํ า เป็ น ต้ อ งเข้ า ทํ า โดยทางอ้ อ ม กรรมการหรื อ ผู้ บ ริ ห ารมี ห น้ า ที่ แ จ้ ง ให้ บ ริ ษั ท ฯ

การปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการ ที่ดีในเรื่องอื่น ๆ

รับทราบโดยไม่ชักช้า โดยระบุข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะของ

บริษัทปฏิบัติตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ตลอดจนแนวปฏิบัติ

สัญญา ชือ ่ ของคูส ่ ญ ั ญา และส่วนได้สว ่ นเสียของกรรมการหรือ

ที่ดีอื่น ๆ ทั้งที่เป็นหลักเกณฑ์การกํากับดูแลกิจการภายในประเทศ

ธุรกรรมใด ๆ กับบริษัทฯ และบริษัทย่อยไม่ว่าโดยทางตรงหรือ

การทบทวนนโยบายที่สําคัญต่าง ๆ : ที่ประชุมคณะกรรมการ บริษท ั ครัง ้ ที่ 6/2560 มีมติอนุมต ั ก ิ ารปรับปรุงจรรยาบรรณและ

ผู้บริหารในสัญญา เพื่อความโปร่งใสในการเข้าทําธุรกรรมนั้น

เช่น หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560

การรายงานการมี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย : กรรมการและผู้บ ริ ห าร

(CG Code) โครงการประเมิ น การกํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การบริ ษั ท

บริษัทฯ มีหน้าที่รายงานการมีส่วนได้ส่วนเสียของตนเองและ

จดทะเบียนไทย (CGR) โครงการประเมินคุณภาพการจัดการประชุม

ของบุคคลที่มีความเกีย ่ วข้อง ซึง ่ เป็นส่วนได้สว ่ นเสียทีเ่ กีย ่ วข้อง

ผูถ ้ อ ื หุน ้ (AGM Checklist) โครงการแนวร่วมปฏิบต ั ข ิ องภาคเอกชน

กับการบริหารจัดการกิจการของบริษท ั ฯ ตามหลักเกณฑ์ เงือ ่ นไข

ไทยในการต่อต้านการทุจริต (CAC) ตลอดจนหลักเกณฑ์ในระดับ

และวิ ธี ก ารตามที่ ค ณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น กํ า หนด ซึ่ ง

สากล เช่น หลักเกณฑ์ของ The Organisation for Economic

เลขานุการบริษัทมีหน้าที่รวบรวมและจัดส่งสําเนารายงานการมี

Co-operation and Development (OECD) เกณฑ์ ASEAN

ส่วนได้เสียส่วนให้แก่ประธานกรรมการและประธานกรรมการ

Corporate Governance Scorecard และDJSI Sustainability

ตรวจสอบทราบ ภายใน 7 วันทําการ นับแต่วันที่ได้รับรายงาน

Assessment เป็นต้น โดยเปิดเผยการปฏิบัติไว้ในรายงานประจําปี ภายใต้หัวข้อหลักดังนี้

ทั้งนี้ ในปี 2560 บริษัทฯ ไม่ได้รับข้อร้องเรียนใด ๆ เกี่ยวกับการ กระทํ า ความผิ ด ของกรรมการและผู้ บ ริ ห ารเกี่ ย วกั บ การใช้ ข้ อ มู ล

การบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืน

ภายในในทางมิชอบ

ผลการดําเนินงานด้านการพัฒนาอย่างยั่งยืน

การนําหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัท จดทะเบียนปี 2560 ไปปรับใช้

โครงสร้างการจัดการ

คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาและทบทวนการนําหลักปฏิบัติตาม หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียนปี 2560 (CG Code) ทีก ่ าํ หนดโดยสํานักงาน ก.ล.ต. ไปปรับใช้ตามบริบททางธุรกิจ ของบริษท ั ฯ แล้ว และกําหนดให้มก ี ารทบทวนเป็นประจําทุกปีอย่างน้อย ปีละ 1 ครั้ง โดยการดําเนินการที่สําคัญในปี 2560 มีดังนี้

164

การกํากับดูแลกิจการ

การสรรหากรรมการและผู้บริหาร

ค่าตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร


รายงานประจํ า ปี 2560

การสรรหากรรมการ และผู้บริหาร การสรรหากรรมการ

1.

หลักเกณฑ์และวิธีการสรรหา

2.

คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนจะพิ จ ารณาผู้ มี คุณสมบัติเหมาะสมเป็นกรรมการจากช่องทางต่าง ๆ ดังนี้

3.

เปิ ด โอกาสให้ ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ผู้ ถื อ หุ้ น รายย่ อ ย รวมทั้ ง กรรมการ หรือผู้บริหารของบริษัทฯ เสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการ พิ จ ารณาแต่ ง ตั้ ง เป็ น กรรมการ ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ เปิ ด โอกาสให้ ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วมในการเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณา เลือกตั้งเป็นกรรมการได้ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 เดือนก่อนวัน สิ้นสุดรอบปีบัญชี โดยแจ้งผ่านระบบข่าวของตลาดหลักทรัพย์ แห่ ง ประเทศไทย และเว็ บ ไซต์ ข องบริ ษั ท ฯ ซึ่ ง มี ร ายละเอี ย ด เกีย ่ วกับวิธก ี ารเสนอและขัน ้ ตอนการพิจารณา ทัง ้ นี้ ในปี 2560 ไม่มีผู้ถือหุ้นรายใดเสนอชื่อบุคคลเพื่อรับการพิจารณาเลือกตั้ง เป็นกรรมการ พิจารณาจากทําเนียบกรรมการ (Director Pool) ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย หรือของหน่วยงานอื่น ๆ ที่ มีการจัดทําข้อมูลดังกล่าว ช่องทางอื่น ๆ ที่คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน พิจารณาเห็นสมควร

กรณีที่ตําแหน่งกรรมการว่างลงเนื่องจากเหตุอื่นนอกจากการครบ วาระออกจากตําแหน่งกรรมการ ให้คณะกรรมการพิจารณาแต่งตัง ้ บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎหมายเข้าเป็น กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัทคราวถัดไป เว้นแต่ วาระของกรรมการที่พ้นจากตําแหน่งจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน โดย บุคคลซึ่งเข้าเป็นกรรมการแทนจะอยู่ในตําแหน่งกรรมการได้เพียง เท่าวาระที่ยังเหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน ทั้งนี้ มติการแต่งตั้ง บุคคลเข้าเป็นกรรมการแทนดังกล่าวต้องได้รับคะแนนเสียงไม่น้อย กว่า 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่ยังเหลืออยู่ ในการประชุมสามัญผูถ ้ อ ื หุน ้ ประจําปี 2560 มีกรรมการทีค ่ รบกําหนด ออกตามวาระทั้งสิ้น 4 ท่าน ได้แก่

โดยคณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนมี ห น้ า ที่ ค วาม รั บ ผิ ด ชอบในการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กและกลั่ น กรองบุ ค คลที่ มี คุณสมบัตเิ หมาะสมตามข้อบังคับของบริษท ั ฯ กฎบัตรคณะกรรมการ บริษัท กลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ตลอดจนหลักเกณฑ์ อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สรุปสาระสําคัญได้ดังนี้

1. นายสุทธิชัย 2. นายไพฑูรย์

จิราธิวัฒน์ ประธานกรรมการ ทวีผล กรรมการอิสระ/ ประธานกรรมการ ตรวจสอบ/ประธานกรรมการนโยบาย ความเสี่ยง 3. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร/ กรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทน 4. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร/ กรรมการนโยบายความเสี่ยง/ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

พิจารณาผู้ที่มีคุณสมบัติตามกฎหมาย ต้องไม่เป็นบุคคลต้อง โทษหรือบุคคลที่ถูกขึ้นบัญชีดํา (Black List) จากองค์กรใด ๆ (รวมถึ ง สํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย์ แ ละ ตลาดหลักทรัพย์ หรือ“สํานักงาน ก.ล.ต.”) หรือเคยถูกตัดสิน ในความผิดทางอาญา สําหรับการเสนอแต่งตั้งกรรมการอิสระ พิจารณาความเป็น อิสระตามหลักเกณฑ์ที่สํานักงาน ก.ล.ต. กําหนด พิจารณาความเหมาะสมทางด้านความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม (Board Skill Matrix) เพื่อให้ สอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดําเนินธุรกิจของบริษัท พิจารณาความหลากหลายของโครงสร้างคณะกรรมการทัง ้ เพศ และอายุ (Board Diversity) พิจารณาบทบาทความเป็นผู้นํา วิสัยทัศน์ จริยธรรม และความ ซื่อสัตย์ พิจารณาการอุทิศเวลาของกรรมการ (กรณีกรรมการเดิม)

ทัง ้ นี้ ถึงแม้วา่ นายไพฑูรย์ ทวีผล จะดํารงตําแหน่งเป็นกรรมการอิสระ นานกว่ า 9 ปี แต่ เ นื่ อ งจากเป็ น ผู้ มี ค วามรู้ ความสามารถ และ ประสบการณ์เป็นที่ต้องการของบริษัทฯ และสามารถปฏิบัติหน้าที่ ในฐานะกรรมการอิสระได้เป็นอย่างดี สนับสนุนให้การดําเนินธุรกิจ ของบริ ษั ท ฯ บรรลุ ผ ลสํ า เร็ จ และเติ บ โตอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดย คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนมี ค วามเห็ น ว่ า นาย ไพฑูรย์ ทวีผล สามารถให้ความเห็นได้อย่างอิสระ คณะกรรมการ บริษัทจึงเห็นสมควรเสนอให้พิจารณาขยายวาระการดํารงตําแหน่ง กรรมการอิสระของ นายไพฑูรย์ ทวีผล ต่อไปอีกวาระหนึ่ง

จากนัน ้ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนจะนําเสนอเพือ ่ ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริษัท และนําเสนอต่อที่ประชุม ี ารดังต่อไปนี้ ผูถ ้ อ ื หุน ้ เป็นผูเ้ ลือกตัง ้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธก

ทีป ่ ระชุมผูถ ้ อ ื หุน ้ จึงมีมติแต่งตัง ้ นายสุทธิชย ั จิราธิวฒ ั น์ นายไพฑูรย์ ทวีผล นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ กลับ เข้ามาดํารงตําแหน่งกรรมการต่อไปอีกหนึ่งวาระ

• •

• • •

165

บทที่ 24

ในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งกรรมการให้ถือว่าผู้ถือหุ้นแต่ ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุ้นต่อหนึ่งเสียง ให้ผู้ถือหุ้นลงคะแนนเสียงทั้งหมดที่ตนมีอยู่เลือกบุคคลที่ได้รับ การเสนอชื่อเป็นกรรมการทีละคน บุคคลซึ่งได้รับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเป็นผู้ได้รับ เลือกตัง ้ เป็นกรรมการเท่าจํานวนกรรมการทีจ ่ ะพึงมี หรือพึงจะ เลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งได้รับเลือกตั้งในลําดับ ถัดลงมามีคะแนนเสียงเท่ากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมี ให้ประธานที่ประชุมออกเสียงได้เพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียง ชี้ขาด


การปฐมนิเทศกรรมการใหม่

การสรรหาผู้บริหาร

บริษท ั ฯ จัดให้มก ี ารพบปะกันระหว่างกรรมการใหม่และคณะกรรมการ บริษัท รวมถึงคณะผู้บริหารของบริษัทฯ และมีการจัดปฐมนิเทศเพื่อ สร้ างความเข้าใจเกี่ ยวกั บบทบาทหน้ าที่ ของกรรมการและอธิบ าย เกี่ ย วกั บ การประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ให้ แ ก่ ก รรมการใหม่ โดย ประกอบด้วยการนําเสนอข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้

การสรรหากรรมการผู้จัดการใหญ่และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

1. 2. 3. 4. 5. 6.

คณะกรรมการบริหารเป็นผูพ ้ จ ิ ารณาเบือ ้ งต้นในการกลัน ่ กรองสรรหา บุคคลที่มีคุณสมบัติครบถ้วนเหมาะสม มีความรู้ความสามารถ และ ประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการดําเนินงานของบริษัทฯ และนํา เสนอให้คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนพิจารณา เพื่อ

เป้าหมาย วิสัยทัศน์และแผนกลยุทธ์ของบริษัทฯ สรุปโครงสร้าง แผนผังองค์กรและคณะกรรมการชุดต่าง ๆ สรุปลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ สรุปโครงสร้างการถือหุ้นของบริษัทฯ สรุปนโยบายการทํารายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ สรุ ป ผลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โครงการในปั จ จุ บั น และ โครงการที่อยู่ระหว่างก่อสร้างต่าง ๆ เพื่อให้กรรมการใหม่ได้มี พื้นฐานข้อมูลเพียงพอและพร้อมที่จะปฏิบัติหน้าที่กรรมการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ

เสนอต่อคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติต่อไป การสรรหาผู้บริหารระดับสูง ่ ี กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ฯ เป็นผูพ ้ จ ิ ารณาสรรหาและแต่งตัง ้ บุคคลทีม คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมกั บ ตํ า แหน่ ง และหน้ า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบ รวม ถึงมีความรู้ความสามารถ และประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการ ดําเนินงานของบริษัทฯ โดยการคัดเลือกเป็นไปตามระเบียบในการ สรรหาบุคคลของฝ่ายบริหารทุนมนุษย์และพัฒนาองค์กร

แผนสืบทอดตําแหน่งผู้บริหารระดับสูง

นอกจากนี้ สํานักเลขานุการบริษัทได้จัดเตรียมและนําส่งเอกสารแก่ กรรมการใหม่ดังนี้

คณะกรรมการบริษัทกํากับดูแลให้มีการจัดทําแผนสืบทอดตําแหน่ง และแผนการพัฒนาผู้บริหารระดับสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตําแหน่ง

1. คู่มือกรรมการ ซึ่งมีเนื้อหาประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจและ ค่านิยมของบริษัทฯ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ จรรยาบรรณ ของกรรมการ ผู้ บ ริ ห ารและพนั ก งาน ข้ อ บั ง คั บ ของบริ ษั ท ฯ หนั ง สื อ บริ ค ณห์ ส นธิ กฎบั ต รคณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ คู่มือกรรมการบริษัทจดทะเบียน ข้อแนะนําการให้สารสนเทศและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 2. เอกสารแนะนําบริษัทฯ 3. ระเบียบบริษัทว่าด้วยเรื่องการควบคุมเกี่ยวกับสารสนเทศภายใน ของบริษัทฯ 4. ระเบียบว่าด้วยการถือครองหลักทรัพย์ในบริษัทฯ 5. นโยบายการรายงานการมีส่วนได้เสียของกรรมการและผู้บริหาร และเอกสารเพื่อจัดทํารายงานการมีส่วนได้เสีย 6. รายงานประจําปี 3 ปียอ ้ นหลัง ซึง ่ มีขอ ้ มูลเกีย ่ วกับการดําเนินธุรกิจ และผลการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ตลอดจนรายละเอียดเกี่ยวกับ การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของบริษัทฯ 7. รายงานการประชุมคณะกรรมการบริษัทย้อนหลัง 1 ปี 8. รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบย้อนหลัง 1 ปี 9. รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการสรรหาและกําหนด ค่าตอบแทนย้อนหลัง 1 ปี 10. รายงานผลการดําเนินงานของคณะกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง ย้อนหลัง 1 ปี 11. กําหนดการประชุมคณะกรรมการบริษัทประจําปี

กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ฯ เพื่ อ ให้ ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ เป็ น ไปอย่ า ง ต่ อ เนื่ อ งและเสริ ม สร้ า งบุ ค ลากรให้ มี ค วามพร้ อ มสื บ ทอดงานใน ตําแหน่งที่สําคัญ โดยมีแนวทางดําเนินการดังนี้ •

ทั้งนี้ ในปี 2560 ไม่มีการปฐมนิเทศกรรมการใหม่ เนื่องจากไม่มีการ แต่งตั้งกรรมการรายใดที่เป็นกรรมการใหม่

166

คณะกรรมการบริ ห ารและกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ฯ ร่ ว มกั น วางแผนการสื บ ทอดตํ า แหน่ ง งานสํ า หรั บ ผู้ บ ริ ห ารระดั บ สู ง ใน ตํ า แหน่ ง รองกรรมการผู้ จั ด การใหญ่ แ ละผู้ ช่ ว ยกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ โดยมีการกําหนดทักษะ ความรู้ความสามารถ และ ศักยภาพของบุคคลที่จะเป็นผู้สืบทอดตําแหน่งงาน กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ฯ จะคอยกํากับดูแลการอบรมและพัฒนา ความรูค ้ วามสามารถของผูส ้ บ ื ทอดตําแหน่งงานด้วยวิธก ี ารต่าง ๆ เช่น การฝึกอบรม การมอบหมายงานพิเศษ การหมุนเวียนงาน เพือ ่ เสริมสร้างทักษะทีจ ่ าํ เป็นและเตรียมความพร้อมให้แก่ผบ ู้ ริหาร สําหรับการสืบทอดตําแหน่งงาน กรรมการผู้ จั ด การใหญ่ ฯ มี ห น้ า ที่ ร ายงานแผนการสื บ ทอด ตําแหน่งผู้บริหารระดับสูงและรายงานผลการพัฒนาตามแผน พั ฒ นารายบุ ค คลของผู้ บ ริ ห ารที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมเป็ น ผู้ สื บ ทอดตํ า แหน่ ง งานต่ อ คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนด ค่ า ตอบแทนพิ จ ารณาอย่ า งน้ อ ยปี ล ะ 1 ครั้ ง และเมื่ อ มี ก าร เปลี่ยนแปลงที่สําคัญ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนรายงานสรุปผล การดําเนินงานเกี่ยวกับแผนการสืบทอดตําแหน่งผู้บริหารระดับ สูงให้คณะกรรมการบริษัทรับทราบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง และเมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญ


รายงานประจํ า ปี 2560

ค่าตอบแทนกรรมการ และผู้บริหาร ค่าตอบแทนกรรมการ ในปี 2560 คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค่ า ตอบแทนได้

CPN พิจารณาจ่ายค่าตอบแทนกรรมการโดยคํานึงถึงความเป็น ธรรมและเหมาะสม สะท้อนถึงหน้าที่ความรับผิดชอบ ความสําเร็จใน

พิ จ า ร ณ า ท บ ท ว น ค่ า ต อ บ แ ท น ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ นํ า เ ส น อ ต่ อ

การปฏิบัติงานที่เชื่อมโยงกับผลประกอบการ ปัจจัยแวดล้อมอื่นที่

คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ พิ จ ารณาเห็ น ชอบ และนํ า เสนอต่ อ ที่

เกี่ยวข้อง ตลอดจนพิจารณาเปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของ

ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2560 เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2560

บริ ษั ท อื่ น ที่ อ ยู่ ใ นอุ ต สาหกรรมเดี ย วกั น หรื อ ใกล้ เ คี ย งกั บ บริ ษั ท ฯ

เพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารกํ า หนดค่ า ตอบแทนกรรมการประจํ า ปี

โดยคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทนมีการนําผลสํารวจ

2560 มีวงเงินไม่เกิน 14,000,000 บาท โดยมีอัตราโครงสร้าง

ค่าตอบแทนกรรมการที่จัดทําโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

ค่าตอบแทนดังนี้

และสมาคมส่ ง เสริ ม สถาบั น กรรมการบริ ษั ท ไทย มาประกอบการ พิจารณาเปรียบเทียบเป็นประจําทุกปี

ประเภทค่าตอบแทน

จํานวนเงิน (บาท)

1 ค่าตอบแทนประจําไตรมาส (บาท/ไตรมาส) 165,000

- ประธานกรรมการ - ประธานกรรมการตรวจสอบ

133,000

- กรรมการตรวจสอบ

103,000 85,000

- กรรมการ 2 ค่าเบี้ยประชุมกรรมการบริษัท (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการ

60,000

- กรรมการ

42,000

3 ค่าเบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการตรวจสอบ

65,000

- กรรมการตรวจสอบ

50,000

4 ค่าเบี้ยประชุมกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และที่ปรึกษา (บาท/ครั้ง) - ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

35,000

- กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และที่ปรึกษา

30,000

- ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง

35,000

- กรรมการนโยบายความเสี่ยง

30,000

วงเงินที่ขออนุมัติจากผู้ถือหุ้น

14,000,000

หมายเหตุ:

กรรมการที่เป็นผู้บริหารของบริษัทฯ (Executive Director) และผู้บริหาร จะไม่ได้รับค่าตอบแทนสําหรับการดํารงตําแหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมการชุดย่อย

ค่าตอบแทนประจําไตรมาสและค่าเบี้ยประชุมในปี 2560 ที่คณะกรรมการได้รับจากบริษัทฯ ในฐานะกรรมการบริษัทและกรรมการชุดย่อย ต่าง ๆ รวมเป็นจํานวนทั้งสิ้น 10,712,000 บาท โดยไม่มีสิทธิประโยชน์อื่นใดในรูปแบบอื่น รายละเอียดการเข้าร่วมประชุมและค่าตอบแทน กรรมการมีดังนี้

167

บทที่ 25

5 ค่าเบี้ยประชุมกรรมการนโยบายความเสี่ยง (บาท/ครั้ง)


ค่าตอบแทนกรรมการ ประจําปี 2560 รายชื่อกรรมการ

ตําแหน่ง

การเข้าร่วมประชุม (ครั้ง) คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ นโยบาย บริษัท ตรวจสอบ สรรหาและ กําหนด ความเสี่ยง ค่าตอบแทน ประชุม 8 ครั้ง ประชุม 11 ครั้ง ประชุม 2 ครั้ง ประชุม 3 ครั้ง

1.

นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์

ประธานกรรมการ

8/8

-

-

-

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

8/8

11/11

-

3/3

8/8

11/11

2/2

-

7/8

10/11

1/2

-

5. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

7/8

10/11

-

-

6. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ กรรมการ

8/8

-

-

-

7. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์

8/8

-

2/2

-

7/8

-

2/2

-

2. นายไพฑูรย์ ทวีผล

ประธานกรรมการนโยบายความเสีย ่ ง

3. นายการุณ กิตติสถาพร

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและ กําหนดค่าตอบแทน

4. นางโชติกา สวนานนท์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

กรรมการ ทีป ่ รึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

8. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

กรรมการ กรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

9. นายกอบชัย จิราธิวัฒน์

กรรมการ กรรมการนโยบายความเสี่ยง

4/8

-

-

3/3

10. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

กรรมการ กรรมการนโยบายความเสี่ยง

6/8

-

1/2

3/3

8/8

-

-

-

ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน 11. นายปรีชา เอกคุณากูล

กรรมการ กรรมการนโยบายความเสี่ยง

รวม

ค่าตอบแทนผู้บริหาร

• ค่าตอบแทน CEO: คณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบริ ษั ท พิ จ ารณาประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง าน ของ CEO เป็นประจําทุกปี เพือ ่ นําผลประเมินดังกล่าวมาประกอบ การพิ จ ารณากํ า หนดค่ า ตอบแทนของ CEO ในรู ป แบบของ เงินเดือนและโบนัสสําหรับผลการดําเนินงานระยะสั้น นอกจากนี้ สําหรับผลการดําเนินงานระยะยาว บริษท ั ฯ ยังจัดให้มค ี า่ ตอบแทน ทีส ่ อดคล้องกับผลการปฏิบต ั ง ิ านในระยะยาวรวมถึงระยะเวลาการ ปฏิบัติงานเพื่อจูงใจให้ CEO มีส่วนร่วมในการบริหารบริษัทฯ อย่างยั่งยืน • ค่าตอบแทนผู้บริหารระดับสูง: CEO พิจารณาประเมินผลการ ปฏิบต ั ง ิ านของผูบ ้ ริหารระดับสูงเป็นรายบุคคลเป็นประจําทุกปี เพือ ่ นํ า ผลประเมิ น ดั ง กล่ า วมาประกอบการพิ จ ารณากํ า หนด ค่าตอบแทนของผูบ ้ ริหารระดับสูงในรูปแบบของเงินเดือนและโบนัส

CPN พิ จ ารณาจ่ า ยค่ า ตอบแทนผู้ บ ริ ห ารโดยคํ า นึ ง ถึ ง ความ เป็นธรรมและเหมาะสมตามหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมาย สอดคล้ อ งกั บ ผลการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ และพิ จ ารณา เปรียบเทียบกับอัตราค่าตอบแทนของบริษท ั อื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรม เดียวกันหรือใกล้เคียงกับบริษัทฯ นอกจากนี้ ยั ง พิ จ ารณาผลการปฏิ บั ติ ง านของผู้ บ ริ ห ารแต่ ล ะคน ตามเป้าหมายของงานทีร่ บ ั ผิดชอบโดยมีความสอดคล้องกับวิสย ั ทัศน์ พันธกิจและแผนกลยุทธ์ประจําปีของบริษัทฯ เพื่อเป็นแรงผลักดัน ให้ CEO และผู้บริหารสร้างความมั่นคงและเติบโตให้แก่องค์กรใน ระยะยาว โดยมีรายละเอียดดังนี้ 168


รายงานประจํ า ปี 2560

ค่าตอบแทนกรรมการ (บาท) ค่าตอบแทน รายไตรมาส

ค่าเบี้ยประชุม กรรมการบริษัท

ค่าเบี้ยประชุม กรรมการสรรหา และกําหนด ค่าตอบแทน

647,000

480,000

-

-

-

1 ,1 27,000

532,000

336,000

715,000

-

95,000

1,678,000

412,000

336,000

550,000

95,000

-

1,393,000

412,000

294,000

500,000

30,000

-

1,236,000

412,000

294,000

500,000

-

-

1,206,000

340,000

336,000

-

-

-

676,000

340,000

336,000

-

55,000

-

73 1 ,000

340,000

294,000

-

55,000

-

689,000

340,000

168,000

-

-

85,000

593,000

340,000

252,000

-

30,000

85,000

707,000

340,000

336,000

-

-

-

676,000

4,455,000

3,462,000

2,265,000

265,000

265,000

10,7 1 2 ,000

สําหรับค่าตอบแทนที่ให้แก่ผู้บริหารในปี 2560 มีดังนี้ • เงินเดือนและโบนัส บริ ษั ท ฯ มี ก ารให้ ผ ลตอบแทนแก่ ผู้ บ ริ ห ารเป็ น เงิ น เดื อ นและโบนั ส สําหรับผู้บริหารจํานวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 160,146,064 บาท • เงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ บริ ษั ท ฯ ได้ ส มทบเงิ น เข้ า กองทุ น สํ า รองเลี้ ย งชี พ สํ า หรั บ ผู้ บ ริ ห าร จํานวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 8,590,130 บาท

169

ค่าเบี้ยประชุม กรรมการนโยบาย ความเสี่ยง

บทที่ 25

ค่าเบี้ยประชุม กรรมการ ตรวจสอบ

รวม (บาท)


โครงสร้างเงินทุน และนโยบายการจ่ายเงินปันผล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีรายละเอียดของโครงสร้างเงินทุนที่สําคัญดังต่อไปนี้

1. โครงสร้างเงินทุน หุ้นสามัญ ทุนจดทะเบียน

2,244,000,000 บาท

ทุนเรียกชําระแล้ว 2,244,000,000 บาท จํานวนหุ้นสามัญ 4,488,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ

0.50 บาท

ราคาหุ้น

85.25 บาท

หุ้นกู้ไม่มีประกันและไม่ด้อยสิทธิ1 ชื่อหุ้นกู้

อันดับเครดิต จํานวน ตราสารหนี้ (ล้านบาท)

วันที่ออก หุ้นกู้

อายุ (ปี)

รอบการจ่าย ดอกเบี้ย

รอบการจ่าย คืนเงินต้น

วันครบ กําหนด

ยอดคงเหลือ 31 ธ.ค. 2560

CPN18OA

AA

500

12/10/2554

7

ทุก ๆ 3 เดือน

เมื่อครบกําหนด

12/10/2561

500

CPN21OA

AA

300

12/10/2554

10

ทุก ๆ 3 เดือน

เมื่อครบกําหนด

12/10/2564

300

CPN19NA

n/a

1,000

07/11/2557

5

ทุก ๆ 6 เดือน

เมื่อครบกําหนด

07/11/2562

1,000

CPN221A

AA

1,000

02/06/2558

6.6

ครั้งเดียว

เมื่อครบกําหนด

12/01/2565

1,000

AA

1,000

06/08/2558

3

ทุก ๆ 6 เดือน

เมื่อครบกําหนด

06/08/2561

1,400

AA

1,400

06/08/2558

5

ทุก ๆ 6 เดือน

มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้

06/08/2563

1,400

16/12/2564

800

16/12/2565

600

CPN188A CPN208A

2

นับแต่วันที่หุ้นกู้ครบ กําหนด 3 ปี CPN21DA

2

AA

800

16/12/2558

6

ทุก ๆ 6 เดือน

มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ นับแต่วันที่หุ้นกู้ครบ กําหนด 4 ปี

2

CPN22DA

AA

600

16/12/2558

7

ทุก ๆ 6 เดือน

มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ นับแต่วันที่หุ้นกู้ครบ กําหนด 5 ปี

หมายเหตุ: 1 อัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้ถัวเฉลี่ยร้อยละ 3.19 ต่อปี 2 ผู้ออกหุ้นกู้มีสิทธิไถ่ถอนหุ้นกู้ทั้งหมดหรือบางส่วนในวันกําหนดชําระดอกเบี้ยใด ๆ นับแต่วันที่หุ้นกู้ครบกําหนดนับจากวันที่ออกหุ้นกู้

การดํารงสถานะทางการเงินตามข้อกําหนดสิทธิ

การดํารงอัตราส่วน

ข้อมูล ณ 31 ธ.ค. 2560

ไม่เกิน 2.50 เท่า

0.88 เท่า

2.1 ก่อนหักเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว

ไม่เกิน 1.75 เท่า

0.15 เท่า

2.2 หลังหักเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนชั่วคราว

ไม่เกิน 1.75 เท่า

0.07 เท่า

ไม่ต่ํากว่า 1.50 เท่า

9.70 เท่า

1. จํานวนรวมของหนี้สินต่อจํานวนรวมของส่วนของผู้ถือหุ้น 2. จํานวนรวมของเงินกู้ยืมต่อจํานวนรวมของส่วนของผู้ถือหุ้น

3. จํานวนรวมของสินทรัพย์หลังจากหักภาระผูกพันต่อเงินกู้ยืมที่ไม่มีหลักประกัน

170


รายงานประจํ า ปี 2560

ผู้ถือหุ้น บริษัทฯ มีการกระจายการถือหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้ ผู้ถือหุ้น ทุนจดทะเบียนชําระแล้ว

จํานวนหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)

4,488,000,000

100.00

1 ,9 16,000, 3 1 4

42.69

ผู้ถือหุ้นในประเทศ - นิติบุคคล - บุคคลธรรมดา รวม

1 ,3 4 1 ,1 4 3 ,8 1 7

29.88

3,257,1 4 4 ,1 3 1

72.57

1,203, 1 7 1 , 7 1 9

26.81

27,684, 1 5 0

0.62

1,230,855,869

27.43

ผู้ถือหุ้นต่างประเทศ - นิติบุคคล - บุคคลธรรมดา รวม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ 10 อันดับแรก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 ดังนี้ * จํานวนหุ้น

สัดส่วนการถือหุ้น (ร้อยละ)

1. บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จํากัด

1,176,343,960

26.21

2. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จํากัด

278,7 7 6 ,7 7 6

6.21

3. HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD **

1 1 5 ,426,500

2.57

4. STATE STREET BANK EUROPE LIMITED **

1 0 1 , 1 4 6,396

2.25

5. BANK OF SINGAPORE LIMITED-SEG **

92,490,020

2.06

6. CREDIT SUISSE AG, HONG KONG BRANCH **

77,34 4 , 1 6 0

1.72

7. สํานักงานประกันสังคม

70,229,300

1.57

8. NORTRUST NOMINEES LTD-CL AC **

63,846,9 1 1

1.42

9. BANK OF SINGAPORE LIMITED-THB SEG AC **

61,850,648

1.38

10.STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY **

55,692,408

1.24

2,093, 1 4 7,079

46.63

Total

หมายเหตุ : * รายชื่อผู้ถือหุ้น 10 รายแรก จัดเรียงโดยบริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด ** นายทะเบียนไม่สามารถแจกแจงรายชื่อผู้ถือหุ้นในรายละเอียดได้ อย่างไรก็ตาม Nominee Account ดังกล่าวไม่มีพฤติการณ์ที่มีอิทธิพลต่อการกําหนดนโยบายและการจัดการ ของบริษัทฯ

ข้อจํากัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว

กลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ที่โดยพฤติการณ์มีอิทธิพลต่อการกําหนด นโยบายหรือการดําเนินงานของบริษัทฯ อย่างมีนัยสําคัญ

บริษท ั ฯ มีขอ ้ จํากัดการถือครองหลักทรัพย์ของบุคคลต่างด้าว (Foreign บริษัท เซ็นทรัลโฮลดิ้ง จํากัด และบุคคลในตระกูลจิราธิวัฒน์ รวมถือหุ้น

Limit) ไว้ร้อยละ 30 ของทุนชําระแล้ว โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ประมาณร้อยละ 53 เป็นกลุม ่ ผูถ ้ อ ื หุน ้ รายใหญ่ทโี่ ดยพฤติการณ์มอ ี ท ิ ธิพล

มีบุคคลต่างด้าวถือครองหลักทรัพย์ของ CPN ร้อยละ 27.43 ของทุน

ต่อการกําหนดนโยบายหรือการดําเนินงานของบริษท ั ฯ อย่างมีนย ั สําคัญ

ชําระแล้ว

เนื่องจากมีผู้แทนเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการบริษัทจํานวน 6 ท่าน จาก จํานวนกรรมการทั้งสิ้น 11 ท่าน

171

บทที่ 26

รายชื่อผู้ถือหุ้น


รายละเอียดการถือหลักทรัพย์ของ CPN โดยกรรมการและผู้บริหาร ในปี 2560 รายชื่อ

ตําแหน่ง

จํานวนหุ้นที่ถือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ทางตรง

ทางอ้อม 1

รวม

1. นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์

ประธานกรรมการ

3,312,800

22,293,200

25,606,000

2. นายไพฑูรย์ ทวีผล

กรรมการอิสระ

-

-

-

3. นายการุณ กิตติสถาพร

กรรมการอิสระ

-

-

-

4. นางโชติกา สวนานนท์

กรรมการอิสระ

-

-

-

5. นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์

กรรมการอิสระ

-

-

-

6. นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

กรรมการ

22,645,900

-

22,645,900

7. นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์

กรรมการ

28,346,400

-

28,346,400

8. นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

กรรมการ

26,764,600

-

26,764,600

9. นายกอบชัย จิราธิวัฒน์

กรรมการ

27,105,400

113,000

27, 218,400

10. นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

กรรมการ

42,145,895

192,000

42,337,895

11. นายปรีชา เอกคุณากูล

กรรมการ กรรมการผู้จัดการใหญ่

-

3,000

3,000

25,589,600

-

25,589,600

17,199,200

-

1 7,1 9 9,200

-

-

-

54,000

24,000

78,000

20,000

48,000

68,000

และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร 12. นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

13. นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ และบริหารโครงการก่อสร้าง

14. นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ

15. นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง 16. นางสุวดี สิงห์งาม

ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี และบริหารสํานักงาน

หมายเหตุ: 1 ถือหลักทรัพย์โดยคู่สมรสและ/หรือบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะของกรรมการหรือผู้บริหาร

172


รายงานประจํ า ปี 2560

การเปลี่ยนแปลงจํานวนการถือหุ้น

จํานวนหุ้นที่ถือ

เพิ่ม/ลด ในปี 2560

สัดส่วนการถือหุน ้

ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

(ร้อยละ) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560

ทางตรง

ทางอ้อม 1

รวม

ทางตรง

ทางอ้อม 1

รวม

-

-

-

3,312,800

22,293,200

25,606,000

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

-

22,645,900

-

22,645,900

0.50

-

-

-

28,346,400

-

28,346,400

0.63

-

-

-

26,764,600

-

26,764,600

0.60

-

-

-

27,105,400

113,000

27,218,400

0.61

-

-

-

42,145,895

192,000

42,337,895

0.94

-

-

-

-

3,000

3,000

0.00

-

-

-

25,589,600

-

25,589,600

0.57

-

-

-

17,199,200

-

17,199,200

0.38

-

-

-

-

-

-

-

-

-

54,000

24,000

78,000

0.00

-

-

-

20,000

48,000

68,000

0.00

0.57

บทที่ 26

-

2. นโยบายการจ่ายเงินปันผล บริษท ั ฯ มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตา่ํ กว่าประมาณร้อยละ 40 ของกําไรสุทธิจากการดําเนินงานของงบการเงินรวม หากไม่มี เหตุจําเป็นอื่นใด ทั้งนี้ จํานวนเงินปันผลจ่ายจะต้องไม่เกินกว่ากําไร สะสมของงบการเงินเฉพาะกิจการ บริษท ั ย่อยมีนโยบายการจ่ายเงินปันผลเมือ ่ บริษท ั ย่อยมีกาํ ไรสุทธิจาก การดําเนินงานและมีกระแสเงินสดคงเหลือเพียงพอโดยอัตราการ จ่ า ยเงิ น ปั น ผลจะขึ้ น อยู่ กั บ การพิ จ ารณาของคณะกรรมการและ ผูถ ้ อ ื หุน ้ ของบริษท ั ย่อย ทัง ้ นี้ จํานวนเงินปันผลจ่ายจะต้องไม่เกินกว่า กําไรสะสมของงบการเงินบริษัทย่อย

173


174


รายงานประจํ า ปี 2560

การควบคุมภายใน

รายงานผลการตรวจสอบของสํานักตรวจสอบภายใน และของผูส ้ อบ

บริษท ั ฯ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการ ดําเนินงาน ความน่าเชือ ่ ถือและความถูกต้องของรายงานทางการเงิน

บัญชี สอบทานการทํารายการระหว่างกัน สอบทานให้บริษัทฯ มีการ

และการปฏิบต ั ต ิ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับทีเ่ กีย ่ วข้อง โดยมีระบบ

บริหารความเสี่ยงและการกํากับดูแลกิจการที่ดี และให้ข้อเสนอแนะที่

ควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในเป็นกลไกสําคัญควบคู่ไปกับ

จําเป็นเพื่อการพัฒนาและติดตามการปรับปรุงการปฏิบัติงานของ

การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตามกลไกดังกล่าวแก่

ผู้บริหารตามข้อเสนอแนะในรายงานที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพิจารณา

บุคลากรทุกระดับของบริษท ั ฯ ผ่านสายการบังคับบัญชาและช่องทาง

กระบวนการภายในเกีย ่ วกับการรับแจ้งเบาะแสและการรับข้อร้องเรียน

ประชาสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ของบริษท ั ฯ ทัง ้ นี้ คณะกรรมการบริษท ั มอบหมาย ที่ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบครั้งที่ 1/2561 วันที่ 8 มกราคม

ให้สํานักงานตรวจสอบภายในทําหน้าที่ประเมินความเพียงพอของ

2561 มี ก ารรายงานผลการประเมิ น ความเพี ย งพอของระบบการ

ระบบการควบคุมภายในในเบื้องต้นก่อนนําเสนอให้คณะกรรมการ

ควบคุมภายในซึ่งคณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่า ระบบการ

ตรวจสอบพิจารณา

ควบคุมภายในของบริษท ั ฯ มีความเพียงพอและเหมาะสม โดยบริษท ั ฯ สํานักตรวจสอบภายใน ซึง ่ รายงานตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

ได้จัดให้มีบุคลากรอย่างเพียงพอที่จะดําเนินการตามระบบได้อย่าง

มีขอบเขตงานเพื่อสอบทานให้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานของพนักงาน

มีประสิทธิภาพ และผู้บริหารระดับสูงให้ความสําคัญและติดตามการ

เป็นไปตามนโยบาย มาตรฐาน ระเบียบวิธีปฏิบัติงาน ข้อกําหนด และ

ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ คือ

กฎหมาย รวมถึงการปรับปรุงกระบวนการทํางานให้มีประสิทธิภาพ

บริ ษั ท เคพี เ อ็ ม จี ภู มิ ไ ชย สอบบั ญ ชี จํ า กั ด ซึ่ ง เป็ น ผู้ ต รวจสอบ

และมีระบบการควบคุมภายในอย่างเพียงพอและเหมาะสม โดยได้

งบการเงินรายไตรมาสและประจําปี 2560 ได้ให้ความเห็นในรายงาน

ดําเนินการสอบทานหลักฐานการประเมินระบบการควบคุมภายใน

การสอบบัญชีว่า ไม่พบข้อบกพร่องที่มีสาระสําคัญเกี่ยวกับระบบ

ของบริษัทฯ ในด้านต่าง ๆ 5 องค์ประกอบ คือ การควบคุมภายใน

การควบคุมภายใน

องค์กร การประเมินความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติงาน ระบบ ปัจจุบัน หัวหน้างานผู้ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ คือ นางสาว

สารสนเทศและการสือ ่ สารข้อมูล และระบบการติดตาม และรายงานต่อ

นงลักษณ์ ศรีวงศ์พนาเวศ ผู้ช่วยผู้อํานวยการ สํานักตรวจสอบ

คณะกรรมการตรวจสอบเพือ ่ สอบทานผลการประเมินความเพียงพอ

ภายใน มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานด้านการตรวจสอบภายใน

ของระบบการควบคุมภายใน ก่อนทีจ ่ ะรายงานให้คณะกรรมการบริษท ั

ในธุรกิจมีลักษณะเดียวกับบริษัทฯ มาเป็นระยะ 11 ปี และมีความเข้าใจ

พิจารณาให้ความเห็นในลําดับต่อไป

ในกิ จ กรรมและการดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ โดยคุ ณ สมบั ติ ข อง ผู้ดํารงตําแหน่งหัวหน้างานตรวจสอบภายใน ประสบการณ์ปรากฏ ในหัวข้อ “รายละเอียดเกีย ่ วกับกรรมการ ผูบ ้ ริหาร ผูม ้ อ ี าํ นาจควบคุม

ความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน ผ่านกระบวนการสอบทาน

และเลขานุการบริษัท”

บทที่ 27

ในปี 2560 บริษัทฯ จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ทั้งหมด 11 ครั้ง ในแต่ละการประชุมจะมีวาระการประชุมเพื่อสอบทาน

175


รายการระหว่างกัน

สวนน้ํ า และสวนพั ก ผ่ อ น ที่ ตั้ ง อยู่ ใ นบริ เ วณโครงการศู น ย์ ก ารค้ า

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ประกอบธุรกิจหลักในการ ให้เช่าพืน ้ ทีศ ่ น ู ย์การค้า และประกอบธุรกิจอืน ่ ทีเ่ กีย ่ วเนือ ่ งและส่งเสริม

ตลอดจนเป็นผูใ้ ห้บริการสาธารณูปโภคภายในศูนย์การค้าของบริษท ั ฯ

การประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ ความสํ า เร็ จ ตลอดระยะเวลาการ

ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น บ ริ ษั ท ใ น ก ลุ่ ม เ ซ็ น ท รั ล มี ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ

ดําเนินธุรกิจที่ผ่านมาของ CPN ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการที่ CPN

ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้าปลีก และร้านอาหารแบรนด์

เป็นหนึ่งในสายธุรกิจของกลุ่มเซ็นทรัล ซึ่งเป็นผู้นําในธุรกิจค้าปลีก

ชั้ น นํ า ต่ า ง ๆ ซึ่ ง เป็ น กิ จ การที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งและส่ ง เสริ ม ธุ ร กิ จ ของ

มายาวนาน โดยกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล มี ธุ ร กิ จ ที่ ห ลากหลาย ทั้ ง ธุ ร กิ จ

บริษัทฯ ทําให้บริษัทฯ มีรายได้จากรายการค้าที่เป็นไปตามปกติธุรกิจ

ห้างสรรพสินค้า ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจร้านอาหาร และธุรกิจค้าปลีก

และเงื่อนไขการค้าทั่วไปจากกิจการในกลุ่มเซ็นทรัลซึ่งเป็นองค์กรที่

สินค้าหลากหลายยี่ห้อและผลิตภัณฑ์ และธุรกิจในกลุ่มดังกล่าวเป็น

มีศักยภาพในการเติบโตและมีฐานะทางการเงินที่มั่นคง นอกจากนี้

ผู้เช่าพื้นที่ใหญ่และผู้เช่าพื้นที่ร้านค้าในแต่ละศูนย์ของ CPN จึงอาจ

ห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต ร้านค้าปลีก และร้านอาหารแบรนด์

กล่าวได้ว่าธุรกิจต่าง ๆ ในกลุ่มเซ็นทรัลเป็นพันธมิตรทางการค้ากับ

ชั้ น นํ า ในศู น ย์ ก ารค้ า จะเป็ น ส่ ว นที่ ดึ ง ดู ด ให้ ลู ก ค้ า เข้ า มาใช้ บ ริ ก ารใน

CPN ทีช ่ ว ่ ยเพิม ่ อัตราการเช่า และสร้างความมัน ่ ใจแก่ลก ู ค้ารายอืน ่ ๆ

ศูนย์การค้ามากขึ้น ซึ่งเป็นการเพิ่มผลตอบแทนให้กับบริษัทฯ และ

ให้มาเช่าพืน ้ ทีภ ่ ายในศูนย์การค้าของ CPN ซึง ่ มีสว ่ นช่วยยืนยันความ

ผู้ถือหุ้นโดยรวม โดยบริษัทฯ มีนโยบายการกําหนดอัตราค่าเช่าและ

สําเร็จของโครงการต่าง ๆ และสร้างผลตอบแทนที่ดีให้กับผู้ถือหุ้น

ค่าบริการต่าง ๆ เพื่อเรียกเก็บจากกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

ของ CPN จากความสัมพันธ์ทางการค้าดังกล่าวข้างต้นระหว่าง

ดังนี้

CPN และกลุ่มเซ็นทรัลซึ่งเป็นบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน โดยมีผู้ถือหุ้น

รายใหญ่ เ ป็ น ครอบครั ว จิ ร าธิ วั ฒ น์ คณะกรรมการบริ ษั ท และ

อัตราค่าเช่า ค่าบริการ และค่าบริการสาธารณูปโภค จากการ ให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ใ นศู น ย์ ก ารค้ า ที่ บ ริ ษั ท ฯ เรี ย กเก็ บ จากกิ จ การ

คณะกรรมการตรวจสอบมีความเห็นว่าความสัมพันธ์ทางการค้า

ที่เกี่ยวข้องกัน จะเป็นไปตามราคาตลาด ซึ่งหากเทียบเคียงกับ

ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น เป็ น จุ ด แข็ ง ในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของ CPN จึ ง มี

ร้านค้าอื่นที่เช่าอยู่บริเวณติดกันหรือใกล้เคียงกัน และอยู่ใน

ความจําเป็นสมเหตุสมผลและเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ

ชัน ้ เดียวกันจะมีอต ั ราค่าเช่าและค่าบริการใกล้เคียงกัน ทัง ้ นี้ อัตรา

ซึ่งคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบได้กํากับดูแล

ค่าเช่าจะขึ้นอยู่กับทําเล ขนาดพื้นที่ รูปแบบการเช่า ระยะเวลาที่

ให้มก ี ารทํารายการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ

เช่า และประเภทของการเช่า และเป็นไปตามหลักการของรายการ

ที่เกี่ยวข้อง

ค้าที่เป็นปกติธุรกิจที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป

บริษัทฯ ได้เปิดเผยรายละเอียดการทํารายการระหว่างกันกับกิจการ

รายได้อื่น ที่เกิดขึ้นจากการเรียกเก็บค่าเบี้ยประกันภัย ค่าภาษี

และบุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย้ ง ของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ย่ อ ยไว้ ใ น

โรงเรือน ค่าใช้จา่ ยส่งเสริมการขาย ค่าธรรมเนียมคา้ํ ประกัน และ

งบการเงินประจําปี 2560 ซึ่งรายการส่วนใหญ่เป็นการทํารายการ

ค่าบริการต่าง ๆ ที่เรียกเก็บจากลูกค้าที่เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า

ระหว่ า งบริ ษั ท ฯ กั บ กิ จ การในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล และกลุ่ ม จิ ร าธิ วั ฒ น์

นั้น บริษัทฯ มีนโยบายและหลักเกณฑ์ที่จะเรียกเก็บค่าใช้จ่าย

ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ดั ง กล่ า วเป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น ทั้ ง กั บ กิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น

รายการระหว่างกันกับกิจการและบุคคล ที่เกี่ยวข้อง สามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้

ของบริษัทฯ และเป็นไปตามประเภท ลักษณะการเช่าพื้นที่ และ

และลูกค้าทัว ่ ไป โดยคิดจากต้นทุนทีเ่ กิดขึน ้ จริงในการดําเนินงาน หลักการของรายการค้าทีเ่ ป็นปกติธรุ กิจทีม ่ เี งือ ่ นไขการค้าทัว ่ ไป

1. รายได้จากกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

รายได้จากการให้เช่าที่ดิน โครงการของบริษัทฯ บางโครงการ มี ก ารพั ฒ นาศู น ย์ ก ารค้ า บนที่ ดิ น แปลงเดี ย วกั น กั บ โครงการ

ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ร า ย ไ ด้ จ า ก ก า ร ใ ห้ เ ช่ า พื้ น ที่ แ ล ะ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร

ของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล โดยพิจารณาจากการส่งเสริมความ

สาธารณูปโภคภายในศูนย์การค้า รายได้จากการให้เช่าที่ดิน รายได้

ได้เปรียบทางการตลาด และขนาดโครงการที่เหมาะสม ซึ่งการ

ค่าบริหารงาน และรายได้อื่น ๆ จากค่าเบี้ยประกันภัย ค่าภาษีโรงเรือน ค่าใช้จ่ายส่งเสริมการขาย ค่าธรรมเนียมค้ําประกัน และค่าบริการ

พัฒนาโครงการขึ้นมาบนที่ดินแปลงเดียวกันนั้น จะดําเนินการ

ต่าง ๆ ที่เรียกเก็บจากกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกันในปี 2560

เจ้าของที่ดิน และนําที่ดินให้อีกบริษัทหนึ่งเช่าหรือเช่าช่วงตาม

รวมจํานวน 4,991 ล้านบาท

สัดส่วนพื้นที่ที่ต้องการในราคาทุนบวกดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจริง

โดยให้บริษัทใดบริษัทหนึ่งเป็นผู้ซื้อหรือเช่าที่ดินทั้งแปลงจาก

หรือในราคาตลาดที่ประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ โดยเป็นไปตาม

ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

กฎหมายและกฎระเบี ย บของสํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ

บริษัทฯ ประกอบธุรกิจหลักในการให้เช่าและให้บริการพื้นที่ค้าปลีก

หลั ก ทรั พ ย์ แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทย และ/หรื อ

ภายในศูนย์การค้า อาคารสํานักงาน อาคารที่พักอาศัย ศูนย์อาหาร

หน่วยงานอื่นใดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งรายได้ในการให้เช่าที่ดินจะได้รับ

176


รายงานประจํ า ปี 2560

การสอบทานและตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็น

ออกแบบโครงการ โดยอั ต ราค่ า เช่ า จะคํ า นวณจากต้ น ทุ น ค่ า ที่ ดิ น และค่ า ก่ อ สร้ า งรวมด้ ว ยดอกเบี้ ย ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง และ ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ซึ่งรายได้จากค่าตอบแทนการเช่า พื้ น ที่ ใ หญ่ ใ นโครงการศู น ย์ ก ารค้ า จะได้ รั บ การสอบทานและ ตรวจสอบจากผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี

ประจําทุกปี •

รายได้จากการให้เช่าพืน ้ ทีข ่ นาดใหญ่ในโครงการศูนย์การค้า จะมีการตกลงในส่วนของค่าตอบแทนกันตั้งแต่ขั้นตอนการ

รายละเอียดรายได้จากกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ลักษณะรายการ

1. บริษัทฯ มีรายได้ค่าเช่า ค่าบริการ ค่าบริการสาธารณูปโภค และรายได้อื่น ๆ จากการให้เช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า และอาคารสํานักงาน ซึ่งเป็นรายการปกติ ธุรกิจที่มีเงื่อนไขการค้าทั่วไป 2. บริษัทฯ ให้เช่าช่วงที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง บริเวณโครงการเซ็นทรัลเวิลด์ 9 3. บริษัทฯ ให้เช่าช่วงที่ดินบริเวณโครงการ เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย 10

กิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

ลักษณะความสัมพันธ์

1. Central Department Store Group (CDG)

กลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้น

1

มูลค่ารายการ ระหว่างกัน (ล้านบาท) 2,029

รายใหญ่

2. Central Food Retail Group

591

(CFG) 2 3. Central Hardlines Group (CHG) 3 4. Central Online Group (COL)

332

4

177 440

5. Central Marketing Group (CMG) 5 6. Centara Hotels and Resorts Group

104

(CHR) 6 7. Central Restaurants Group

432

(CRG) 7 8. กิจการอื่น ๆ 8

บุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ

825

เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ

หมายเหตุ: 1 CDG ดําเนินธุรกิจห้างสรรพสินค้า ประกอบด้วย ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล, ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน, ห้างสรรพสินค้าเซน, ศูนย์การค้าเซ็นทรัล เอ็มบาสซี, ซูเปอร์สปอร์ต, ห้างสรรพสินค้า La Rinascente และห้างสรรพสินค้า ILLUM เป็นต้น 2 CFG ดําเนินธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค ประกอบด้วย เซ็นทรัล ฟู้ด ฮอลล์, ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต, แฟมิลี่มาร์ท, อีตไทย และเซ็นทรัล ไวน์ เซลลาร์ 3 CHG ดําเนินธุรกิจสินค้าตกแต่งบ้านและเครื่องใช้ไฟฟ้า ประกอบด้วย เพาเวอร์บาย, โฮมเวิร์ค, บ้านแอนด์บียอนด์ และไทวัสดุ 4 COL ดําเนินธุรกิจอุปกรณ์เครื่องเขียน หนังสือ และออนไลน์ ประกอบด้วย ออฟฟิศเมท และบีทูเอส 5 CMG ดําเนินธุรกิจบริหารและจัดการสินค้านําเข้าทั้งที่เป็น International Brands และ House Brands ประกอบด้วย - กลุ่มเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย เช่น Dorothy Perkins, Hush Puppies, G2000, Jockey, Lee, Miss Selfridge, Wrangler และ Topshop Topman เป็นต้น - กลุ่มเครื่องสําอาง เช่น CLARINS, Illamasqua และ H2O เป็นต้น - กลุ่มนาฬิกา เช่น Guess, Casio และ Nautica เป็นต้น - กลุ่มสินค้าเบ็ดเตล็ด เช่น Dyson, Tanita และ Kawai เป็นต้น 6 CHR ดําเนินธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ทในเครือเซ็นทารา 7 CRG ดําเนินธุรกิจร้านอาหาร โดยมีแบรนด์ธุรกิจหลากหลายรูปแบบ เช่น Mister Donut, KFC, Auntie Anne’s, Pepper Lunch, Chabuton, Cold Stone Creamery, Yoshinoya, Ootoya, The Terrace และ Tenya เป็นต้น 8 กิจการอื่น ๆ เช่น ภัตตาคารอาหารญี่ปุ่น ฟูจิ, เซน, อากะ, ห้องอาหารซากุระ, เดอะบาร์บีคิวพลาซา, เดอะ บอดี้ ช็อป และรากาซเซ เป็นต้น 9 กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 ได้ทําสัญญาให้เช่าช่วงที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง บริเวณโครงการเซ็นทรัลเวิลด์ กับ บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลเวิลด์ จํากัด จํานวนประมาณ 2.53 ไร่ ระยะเวลา 29 ปี สัญญาสิ้นสุดวันที่ 22 ธันวาคม 2575 เพื่อพัฒนาโรงแรม ที่จอดรถ และ Convention Hall อัตราค่าเช่าระหว่างกันเป็นไปตามหลักการคํานวณค่าเช่าที่ดินของบริษัทฯ และ ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง โดยมีการคิดค่าเช่าเป็น 2 ส่วน คือ ค่าเช่าช่วงจ่ายล่วงหน้าในปีที่ทาํ สัญญา และค่าเช่าช่วงรายปี 10 บริษัท เซ็นทรัลเวิลด์ จํากัด ได้ทําสัญญาให้เช่าช่วงที่ดินบางส่วนของโครงการเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย แก่บริษัท โคซี่ โฮเต็ล จํากัด เพื่อพัฒนาธุรกิจโรงแรม จํานวน 2 ไร่ 73 ตารางวา สัญญาสิ้นสุดวันที่ 27 กันยายน 2586 ระยะเวลาประมาณ 27 ปี 2 เดือน และสิทธิในการต่ออายุสัญญาเช่าช่วงอีก 10 ปี รวมประมาณ 37 ปี 2 เดือน โดยบริษัทได้รับ ค่ า ตอบแทนสิ ท ธิ ก ารเช่ า ช่ ว งรวม 62 ล้ า นบาทตลอดระยะเวลาการให้ เ ช่ า ช่ ว ง ซึ่ ง รายการดั ง กล่ า วได้ รั บ การอนุ มั ติ จ ากคณะกรรมการบริ ษั ท ฯ ที่ ไ ม่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัทฯ ครั้งที่ 5/2559 เมื่อวันที่ 5 สิงหาคม 2559

177

บทที่ 28

ผู้บริหารหรือผู้มีอํานาจควบคุม


2. ค่าใช้จา่ ยทีจ ่ า่ ยให้กบ ั กิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

การทําประกันภัยกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งมีการกําหนด ราคาและเงือ ่ นไขตามราคาตลาด หรือราคาเปรียบเทียบจากการ

ประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการเช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า ค่าเช่าที่ดิน และ

เสนอราคาของนายหน้ า ประกั น ที่ มี ร าคาและเงื่ อ นไขที่ เ ป็ น

ค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน โดยในปี 2560 บริษัทฯ มีค่าใช้จ่ายที่จ่าย

ประโยชน์กับบริษัทฯ มากที่สุด โดยเปรียบเทียบราคาย้อนหลัง

ให้กับกิจการที่เกี่ยวข้องกันจํานวน 1,210 ล้านบาท

อย่างน้อย 2 ปี ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่มีผู้เสนอราคาเปรียบเทียบ บริ ษั ท ฯ จะพิ จ ารณาอนุ มั ติ ทํ า รายการในราคาเที ย บเคี ย งกั บ

ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ •

ปีที่ผ่านมา โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการทําประกันและสภาวะตลาด ด้านการประกันในขณะนั้น

การเช่าที่ดินจากกิจการที่เกี่ยวข้องกัน โครงการของบริษัทฯ บางโครงการมีการพัฒนาศูนย์การค้าบนที่ดินแปลงเดียวกัน

กับโครงการของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล โดยพิจารณาจากการ

การว่าจ้างด้านการจัดการ IT Infrastructure กับบริษัทที่ เกี่ยวข้องกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุดใน

ส่ ง เสริ ม ความได้ เ ปรี ย บทางการตลาด และขนาดโครงการที่

ด้าน IT Infrastructure ทั้งในเชิงการลงทุน การบริหารงาน

เหมาะสม ซึ่งการพัฒนาโครงการขึ้นมาบนที่ดินแปลงเดียวกัน

ระบบ และการพัฒนาบุคลากร ก่อให้เกิดการประหยัดเนื่องจาก

นัน ้ จะดําเนินการโดยให้บริษท ั ใดบริษท ั หนึง ่ เป็นผูซ ้ อ ื้ หรือเช่าทีด ่ น ิ

ขนาด (Economy of Scale) ตลอดจนมีอํานาจในการต่อรอง

ทั้งแปลงจากเจ้าของที่ดิน และนําที่ดินให้อีกบริษัทหนึ่งเช่าหรือ

ทําธุรกรรมต่าง ๆ ทางด้าน IT ทั้งนี้ เงื่อนไข และค่าใช้จ่ายใน

เช่าช่วงตามสัดส่วนพื้นที่ที่ต้องการในราคาทุนบวกดอกเบี้ยที่

การบริการคํานวณตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง เทียบเคียงได้กับ

เกิดขึ้นจริง หรือในราคาตลาดที่ประเมินโดยผู้ประเมินอิสระ โดย

ราคาตลาด และไม่สูงกว่าค่าบริการที่บริหารโดย CPN โดย

เป็นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการ

กําหนดให้มีการทบทวนอัตราค่าบริการเฉลี่ยเพื่อกําหนดเป็น

กํากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ตลาดหลักทรัพย์แห่ง

Baseline และจะมีการทบทวนทุก 2 ปี

ประเทศไทย และ/ หรือ หน่วยงานอื่นใดที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการจ่าย รายละเอียดค่าใช้จา่ ยทีจ ่ า่ ยให้กบ ั กิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน

ค่าตอบแทนการเช่าทีด ่ น ิ จะได้รบ ั การสอบทานและตรวจสอบจาก ผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ เป็นประจําทุกปี •

2.1 บริษท ั ฯ เช่าทีด ่ น ิ จาก บริษท ั ห้างเซ็นทรัลดีพาทเมนท์สโตร์ จํากัด

การเช่าพื้นที่ในศูนย์การค้า ในบางโครงการที่บริษัทฯ มีการ

(“HCDS”) ซึง ่ เป็นบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัลทีม ่ ก ี ลุม ่ จิราธิวฒ ั น์เป็น

ร่วมลงทุนกับห้างสรรพสินค้าในกลุ่มเซ็นทรัล อาคารจะถูกแบ่ง

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เพื่อเป็นที่ตั้งศูนย์การค้าในโครงการเซ็นทรัล

เป็น 2 ส่วนคือ อาคารศูนย์การค้าและอาคารห้างสรรพสินค้า

พลาซา รามอินทรา และโครงการเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า

ซึ่งในบางกรณีบริษัทฯ จะเข้าไปเช่าพื้นที่ขนาดใหญ่จากส่วน

2.2 บริ ษั ท ฯ เช่ า พื้ น ที่ ใ นอาคารบางส่ ว นของบริ ษั ท สรรพสิ น ค้ า

อาคารห้างสรรพสินค้าเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่ขาย โดยพิจารณา

เซ็นทรัล จํากัด (“CDS”) ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มีกลุ่ม

จากผลตอบแทนทีจ ่ ะได้รบ ั เป็นรายได้คา่ เช่าและค่าบริการ เทียบกับ

จิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ในโครงการเซ็นทรัลพลาซา

ต้ น ทุ น ค่ า เช่ า พื้ น ที่ ที่ บ ริ ษั ท ฯ ต้ อ งจ่ า ยให้ กั บ ห้ า งสรรพสิ น ค้ า

ลาดพร้ า ว เซ็ น ทรั ล พลาซา ปิ่ น เกล้ า และเซ็ น ทรั ล พลาซา

เป็นหลัก ซึ่งจะมีการตกลงค่าตอบแทนในการให้เช่าพื้นที่ขนาด

พระราม 3 เพื่ อ นํ าพื้ น ที่ ม าพั ฒ นาเป็ น พื้ น ที่ ข ายเพิ่ ม เติ ม จาก

ใหญ่ ตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการออกแบบโครงการ โดยใช้ ห ลั ก การ

ส่วนที่บริษัทฯ เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์หรือสิทธิการเช่าที่ดิน

เดี ย วกั น กั บ กรณี ที่ บ ริ ษั ท ฯ ให้ เ ช่ า พื้ น ที่ ข นาดใหญ่ แ ก่ กิ จ การ

2.3 บริษท ั ฯ เช่าช่วงทีด ่ น ิ และสิง ่ ปลูกสร้างในโครงการเซ็นทรัลพลาซา

ที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งค่าตอบแทนการเช่าพื้นที่ใหญ่จะได้รับการ

ลาดพร้าว กับบริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จํากัด (“CID”)

ั ฯ เป็นประจํา สอบทานและตรวจสอบจากผูส ้ อบบัญชีของบริษท

ซึ่งเป็นบริษัทที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ (เจ้าของ กรรมสิ ท ธิ์ ที่ ดิ น คื อ การรถไฟแห่ ง ประเทศไทย) โดยเช่ า ช่ ว ง

ทุกปี

เป็นระยะเวลา 20 ปี สัญญาสิ้นสุดวันที่ 18 ธันวาคม 2571 •

การว่ า จ้ า งกิ จ การที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั น เป็ น ที่ ป รึ ก ษาทางธุ ร กิ จ

ค่าตอบแทนการเช่าช่วงที่บริษัทฯ ต้องจ่ายให้แก่ CID ตลอด

โดยการว่าจ้างที่ปรึกษาทางธุรกิจนั้น บริษัทฯ จะพิจารณาจาก

ระยะเวลาการเช่ า รวมเป็ น เงิ น ทั้ ง สิ้ น 16,178.32 ล้ า นบาท

ประสบการณ์ในการบริหารงานด้านการค้าปลีก และความเข้าใจ

ซึ่งรายการดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้ถือหุ้นที่ไม่มีส่วนได้

ในลักษณะการประกอบธุรกิจและกลยุทธ์ของบริษท ั ฯ เป็นสําคัญ

เสียในที่ประชุมวิสามัญผู้ถือหุ้น ครั้งที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 25

โดยผลตอบแทนที่บริษัทฯ จ่ายให้แก่ที่ปรึกษาทางธุรกิจซึ่งเป็น

มีนาคม 2552 2.4 บริษัทฯ ว่าจ้างให้ HCDS ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มีกลุ่ม

กิจการที่เกี่ยวข้องกันนั้นเป็นอัตราค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริงของ

จิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็นผู้บริหารและที่ปรึกษาใน

ผู้ให้บริการจัดสรรตามการให้บริการ

178


รายงานประจํ า ปี 2560

การบริหารงาน ตลอดจนการกําหนดนโยบายต่าง ๆ รวมถึง

พื้นที่ส่วนที่เป็นห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล) การรับโอนกรรมสิทธิ์

การให้ ข้ อ แนะนํ า ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ท างธุ ร กิ จ แก่ บ ริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้

งานระบบ และการรับโอนกรรมสิทธิ์อุปกรณ์และเฟอร์นิเจอร์

กรรมการที่ ไ ม่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย และคณะกรรมการตรวจสอบได้

ที่เกี่ยวข้อง โดยค่าตอบแทนการเช่า ค่าเช่ารายปี และค่ารับโอน

พิจารณาแล้วมีความเห็นว่าการให้บริการของ HCDS เป็น

กรรมสิทธิ์ที่บริษัทฯ ต้องจ่ายให้แก่ CDS ตลอดระยะเวลาการ เช่ารวมเป็นเงินทั้งสิ้น 9,166 ล้านบาท

ประโยชน์ในการดําเนินธุรกิจของบริษท ั ฯ เนือ ่ งจากประสบการณ์ อันยาวนาน และความรู้ ความเข้าใจในธุรกิจค้าปลีกเป็นอย่างดี

2.8 บริ ษั ท ฯ มี ก ารซื้ อ สิ น ค้ า และบริ ก ารจากบริ ษั ท ในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล

ของ HCDS ประกอบกับราคาและเงื่อนไขที่ HCDS เสนอเรียก

ได้ แ ก่ กลุ่ ม COL เช่ น วั ส ดุ แ ละอุ ป กรณ์ สํ า นั ก งานต่ า ง ๆ

เก็บค่าบริการมีความสมเหตุสมผล โดยรายละเอียดของรายการ

กลุม ่ CHR เช่น บริการห้องพัก อาหารและเครือ ่ งดืม ่ กลุม ่ CRG

เ ป็ น ไ ป ต า ม ส า ร ส น เ ท ศ ที่ เ ปิ ด เ ผ ย ต่ อ ต ล า ด ห ลั ก ท รั พ ย์

เช่น อาหารและเครือ ่ งดืม ่ และกิจการอืน ่ ๆ ทีม ่ บ ี ค ุ คลทีเ่ กีย ่ วโยงกัน ของบริษัทฯ เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ กรรมการ ผู้บริหาร หรือ

แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2559 2.5 โ ร ง แ ร ม เ ซ็ น ท า ร า แ ล ะ ค อ น เ ว น ชั น เ ซ็ น เ ต อ ร์ อุ ด ร ธ า นี

ผูม ้ อ ี าํ นาจควบคุม ซึง ่ การทํารายการระหว่างกันดังกล่าวเป็นไป

(เดิมชื่อ “โรงแรมเจริญศรีแกรนด์โฮเต็ล”) ซึ่งบริษัทฯ ได้ซื้อ

เพื่อสนับสนุนรายการปกติธุรกิจของบริษัทฯ ที่มีเงื่อนไขการค้า

กิ จ การมาพร้ อ มกั บ โครงการศู น ย์ ก ารค้ า เซ็ น ทรั ล พลาซา

ทั่วไปเทียบเคียงได้กับการทํารายการกับบุคคลอื่น และมีการ

อุดรธานี (เดิมชื่อ “ศูนย์การค้าเจริญศรีพลาซา”) เมื่อปี 2552

ปฏิบต ั ต ิ ามระเบียบการจัดซือ ้ จัดจ้างทีบ ่ ริษท ั ฯ กําหนด โดยคํานึง

บริษัทฯ ได้มีการว่าจ้าง บริษัทโรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด

ถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ

(มหาชน) ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่ม CHR ที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์เป็น

2.9 บริ ษั ท ฯ ทํ า ประกั น ภั ย ศู น ย์ ก ารค้ า และอาคารสํ า นั ก งาน เพื่ อ

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่เป็นผู้บริหารงานโรงแรม โดยอัตราค่าบริหาร

คุ้มครองความเสี่ยงภัยอันมีสาเหตุมาจาก อุบัติเหตุ อุบัติภัย

งานที่เรียกเก็บระหว่างกันเป็นไปตามราคาตลาด ที่มีเงื่อนไข

และภัยอื่น ๆ และมีการใช้บริการบริษัทนายหน้าประกันภัยกับ

การค้าทั่วไปเทียบเคียงได้กับการทํารายการกับบุคคลอื่น

บริษัท ซี จี โบรกเกอร์ จํากัด ซึ่งเป็นบริษัทที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์

(“Vantage”) ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์

2.10 บริษัทฯ ว่าจ้าง บริษัท อาร์ ไอ เอส จํากัด (“RIS”) ซึ่งเป็นบริษัท

เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ระยะเวลา 30 ปี สัญญาสิ้นสุดวันที่ 17

ในกลุ่มเซ็นทรัลที่มีกลุ่มจิราธิวัฒน์เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ เป็น

กุมภาพันธ์ 2586 เพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา

ผู้ให้บริการจัดการ IT Infrastructure ได้แก่ การจัดหาและ

เวสต์เกต ค่าตอบแทนการเช่าและค่าเช่ารายปีที่บริษัทฯ ต้อง

ติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

จ่ายให้แก่ Vantage ตลอดระยะเวลาการเช่ารวมเป็นเงินทั้งสิ้น

ที่จําเป็น ได้แก่อุปกรณ์ Hardware และ Software ต่าง ๆ

5,099 ล้ า นบาท ซึ่ ง รายการดั ง กล่ า วได้ รั บ การอนุ มั ติ จ าก

การบํารุงรักษาและการควบคุมการใช้งานให้สามารถรองรับการใช้

ผู้ ถื อ หุ้ น ที่ ไ ม่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย ในที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู้ ถื อ หุ้ น ครั้ ง ที่

งานทางธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนการให้บริการ

1/2556 เมื่ อ วั น ที่ 18 มกราคม 2556 ทั้ ง นี้ ที่ ป ระชุ ม

แก้ไขปัญหาการใช้งานระบบ (Service Desk) และ Hardware

คณะกรรมการบริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ครั้งที่

แก่บริษัทฯ

4/2558 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2558 ได้มีมติอนุมัติการยกเลิก

3. การกู้ยืมและการให้กู้ยืมกับกิจการและบุคคลที่ เกี่ยวข้องกัน

สัญญาเช่าทีด ่ น ิ บางส่วนของโครงการเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต กับ Vantage เพื่อให้ Vantage ขายที่ดินดังกล่าวให้กลุ่ม บริษท ั IKANO เพือ ่ ก่อสร้าง IKEA Store โดย Vantage ตกลง

ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ

จะจ่ายคืนค่าตอบแทนการเช่าและค่าเช่ารายปีในส่วนที่บริษัท ได้ จ่ า ยไปแล้ ว ตามเงื่ อ นไขในสั ญ ญาเช่ า ที่ ดิ น ให้ กั บ บริ ษั ท ฯ

นโยบายการกู้ยืมและการให้กู้ยืมกับกิจการ

จํานวนประมาณ 120 ล้านบาท

และบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน

2.7 บริ ษั ท ฯ ลงทุ น ในทรั พ ย์ สิ น บางส่ ว นของโครงการเซ็ น ทรั ล

รายการกู้ ยื ม และให้ กู้ ยื ม ทุ ก รายการจะต้ อ งอยู่ ภ ายใต้ น โยบายการ

เฟสติวัล ภูเก็ต 1 กับ CDS ซึ่งเป็นบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลที่มีกลุ่ม

กู้ ยื ม และการให้ กู้ ยื ม กั บ กิ จ การหรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วข้ อ งของบริ ษั ท ฯ

จิ ร าธิ วั ฒ น์ เ ป็ น ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ ประกอบด้ ว ย การเช่ า ช่ ว ง

ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ที่ ดิ น ซึ่ ง เป็ น ที่ ตั้ ง ของโครงการเซ็ น ทรั ล เฟสติ วั ล ภู เ ก็ ต ระยะ •

เวลา 41 ปี สัญญาสิ้นสุดวันที่ 6 มิถุนายน 2599 การเช่า

กรณีการกู้ยืมและการให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย (ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้น ร้อยละ 99.99)

อาคารศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต บางส่วน (ไม่รวม

179

บทที่ 28

เป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่

2.6 บริ ษั ท ฯ เช่ า ที่ ดิ น จาก บริ ษั ท แวนเทจ กราวด์ จํ า กั ด


รายการจากผู้ บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของสายงานการเงิ น และบั ญ ชี

บริษัทฯ มีนโยบายให้บริษัทย่อยกู้ยืมเงินจากบริษัทฯ ได้ในกรณี​ี ที่มีความต้องการใช้เงิน ในขณะเดียวกันบริษัทย่อยสามารถให้

กรรมการผู้จัดการใหญ่ และคณะกรรมการบริษัท ตามลําดับ

เงินกู้ยืมแก่บริษัทฯ ได้ หากบริษัทย่อยมีเงินสดคงเหลือเกินจาก

และมี ก ารจั ด ทํ า ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น เป็ น หลั ก ฐานในการกู้ ยื ม

เงิ น ทุ น หมุ น เวี ย นที่ ใ ช้ ใ นการดํ า เนิ น งานและบริ ษั ท ฯ มี ค วาม

ระหว่ า งกั น โดยคิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย เท่ า กั บ อั ต ราดอกเบี้ ย

ต้องการใช้เงินกู้จากบริษัทย่อย โดยจะเปิดเป็นบัญชีเดินสะพัด

ถัวเฉลี่ยของตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทฯ

ระหว่างกัน และจัดทําตั๋วสัญญาใช้เงินเป็นหลักฐานการกู้ยืม •

ระหว่างกัน โดยคิดอัตราดอกเบีย ้ เท่ากับอัตราดอกเบีย ้ ถัวเฉลีย ่ ของตราสารหนี้ ที่ อ อกโดยบริ ษั ท ฯ โดยผู้ อ นุ มั ติ ร ายการ ระหว่างกัน ได้แก่ ผู้บริหารสูงสุดของสายงานการเงินและบัญชี

บริษท ั ฯ ไม่มน ี โยบายทีจ ่ ะให้บริษท ั ร่วมซึง ่ บริษท ั ฯ ถือหุน ้ ในสัดส่วน ทีต ่ า่ํ กว่าร้อยละ 50 หรือกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันกูย ้ ม ื เงิน

และกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตามลําดับ •

กรณีการกู้ยืมและการให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วม (ซึ่งบริษัทฯ ถือหุ้น น้อยกว่าร้อยละ 50 หรือกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน)

โดยบริษท ั ฯ ไม่มก ี ารให้กย ู้ ม ื เงินแก่บริษท ั ทีม ่ ก ี ารถือหุน ้ ในสัดส่วน

กรณี ก ารกู้ ยื ม และการให้ กู้ ยื ม แก่ บ ริ ษั ท ร่ ว มค้ า (ซึ่ ง บริ ษั ท ฯ

ทีต ่ า่ํ กว่าร้อยละ 50 รวมถึงกิจการและบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกันตาม

ถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 50 แต่น้อยกว่าร้อยละ 99.99)

ระเบียบหากมีการให้บริษท ั ร่วมกูย ้ ม ื เงิน ต้องผ่านการอนุมต ั จ ิ าก บริ ษั ท ฯ มี น โยบายให้บ ริ ษัท ร่ ว มค้ าหาแหล่ ง เงิ น กู้ ข องตั ว เอง

คณะกรรมการบริ ษั ท และมี ก ารจั ด ทํ า ตั๋ ว สั ญ ญาใช้ เ งิ น เป็ น

เว้นแต่กรณีที่มีความจําเป็นเร่งด่วนในการใช้เงิน บริษัทร่วมค้า

หลักฐานการกู้ยืมระหว่างกัน โดยคิดอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงกับ

จะกู้ จ ากผู้ ถื อ หุ้ น ตามสั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น โดยผ่ า นการอนุ มั ติ

อัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้าชั้นดีของธนาคาร

รายการกู้ยืมและให้กู้ยืมกับกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ประเภทรายการ ณ 31 ธันวาคม 2560

จํานวนเงิน

หมายเหตุ

(ล้านบาท) 1. เงินกู้ยืม 1) เงินกู้ยืมจากบริษัทย่อย 1 2) เงินกู้ยืมจากบริษัทและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน 2. เงินให้กู้ยืม

2

33,818

งบการเงินเฉพาะบริษัท

-

งบการเงินรวม

17,369

งบการเงินเฉพาะบริษัท

-

งบการเงินรวม

3

1) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทย่อย 2) เงินให้กู้ยืมแก่บริษัทร่วมค้า

หมายเหตุ : 1 เป็นการกู้ยืมประเภทไม่มีหลักประกัน และมีกาํ หนดชําระคืนเมื่อทวงถาม คิดดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทฯ 2 เป็นการกู้ยืมประเภทไม่มีหลักประกัน และมีกาํ หนดชําระคืนเมื่อทวงถาม คิดดอกเบี้ยอ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ยืมแก่ลูกค้าชั้นดีของธนาคาร 3 เป็นการให้กู้ยืมประเภทไม่มีหลักประกัน และมีกาํ หนดชําระคืนเมื่อทวงถาม คิดดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยของตราสารหนี้ที่ออกโดยบริษัทฯ

4. การค้ําประกันหนี้สินให้กับกิจการและบุคคลที่เกี่ยวข้องกัน ความจําเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการ บริษัทฯ มีนโยบายค้ําประกันให้แก่บริษัทย่อย ตามสัดส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ แต่ไม่มีนโยบายวางหลักประกันเพื่อค้ําประกันหนี้สินใด ๆ ให้กับบริษัทย่อย บริษัทฯ จะค้ําประกันให้ในฐานะบริษัทแม่เท่านั้น และมีการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมการค้ําประกันจากบริษัทนั้น ๆ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 บริษัทฯ มีภาระการค้ําประกันแก่บุคคลที่เกี่ยวโยงกันอยู่ 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ ประเภทภาระการค้ําประกัน

จํานวนเงิน (ล้านบาท)

1. ภาระการค้ําประกันเงินกู้ให้กับบริษัทย่อย - กองทุนรวมธุรกิจไทย 5

40

2. ภาระการค้ําประกันวงเงินค้ําประกันของบริษัทย่อยกับธนาคารพาณิชย์ไทย

180

441


รายงานประจํ า ปี 2560

ขั้นตอนการอนุมัติทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน

*** เป็นหลักการที่เปิดเผยและถือปฏิบัติตั้งแต่บริษัทเข้าจดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อปี 2538 ***

การทําธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกับบริษท ั ฯ นัน ้ จะต้อง การพั ฒ นาโครงการศู น ย์ ก ารค้ า ให้ ค รบวงจร จํ า เป็ น ต้ อ งมี องค์ประกอบทีจ ่ ะช่วยส่งเสริมให้ธรุ กิจของบริษท ั ฯ มีความแข็งแกร่ง มากขึ้น ซึ่งบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลมีการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่อง กับบริษัทฯ ได้แก่ ธุรกิจห้างสรรพสินค้า ธุรกิจค้าปลีกต่าง ๆ และ ธุรกิจโรงแรม เป็นต้น โดยบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัลมีประสบการณ์ใน ธุ ร กิ จ มายาวนาน และมี แ บรนด์ ที่ แ ข็ ง แกร่ ง ซึ่ ง จะช่ ว ยเพิ่ ม ความ น่ า เชื่ อ ถื อ ของโครงการ ส่ ง ผลให้ ก ารประกอบธุ ร กิ จ ของบริ ษั ท ฯ มีความแข็งแกร่งมากขึ้น เป็นการเพิ่มมูลค่าแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้น โดยรวม ทั้งนี้ การพัฒนาโครงการศูนย์การค้าร่วมกับบริษัทในกลุ่ม เซ็นทรัล มีลักษณะดังนี้

ผ่านขัน ้ ตอนการอนุมต ั ต ิ ามระเบียบวิธก ี ารปฏิบต ั ง ิ านของบริษท ั ฯ เช่น เดียวกับการทําธุรกรรมปกติ โดยผ่านการพิจารณาจากผู้มีอํานาจ ตามสายงานที่รับผิดชอบและเกี่ยวข้องในเรื่องนั้น โดยผู้รับผิดชอบ และผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการทํารายการจะต้องทําหน้าที่พิจารณาว่าการ ทํารายการมีความสมเหตุสมผลและเป็นไปตามปกติธุรกิจ โดยคํานึง ถึงประโยชน์ของบริษัทและผู้ถือหุ้น เสมือนเป็นรายการที่กระทํากับ บุคคลภายนอก และการทําธุรกรรมเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพือ ่ ให้การอนุมต ั ก ิ ารทําธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกับ บริษัทฯ เป็นไปด้วยความโปร่งใสและเป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ทีเ่ กีย ่ วข้อง บริษท ั ฯ กําหนดให้รายการปกติธรุ กิจและรายการสนับสนุน

1.1

ธุรกิจปกติทม ี่ ก ี ารดําเนินการตามเงือ ่ นไขการค้าทัว ่ ไปทีค ่ ณะกรรมการ กํ า หนด อยู่ ใ นอํ า นาจของฝ่ า ยจั ด การในการพิ จ ารณารายการ

หลักการ: บริษัทฯ หรือบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล ซื้อหรือเช่าที่ดิน จากบุคคลภายนอก เพื่อนํามาพัฒนาโครงการศูนย์การค้าร่วม กับธุรกิจของบริษัทในกลุ่มเซ็นทรัล โดยให้บริษัทใดบริษัทหนึ่ง ซื้ อ หรื อ เช่ า ที่ ดิ น ทั้ ง แปลงจากเจ้ า ของที่ ดิ น เมื่ อ ออกแบบ โครงการแล้วเสร็จ บริษัทที่เป็นผู้ซื้อหรือเช่าที่ดินจะขายหรือให้ เช่ า ที่ ดิ น ให้ อี ก บริ ษั ท หนึ่ ง ตามสั ด ส่ ว นพื้ น ที่ ที่ แ ต่ ล ะบริ ษั ท ใช้ พัฒนาโครงการของตนเอง (ต่างฝ่ายต่างรับผิดชอบค่าที่ดิน ในส่วนของตนเอง)

โดยให้เป็นไปตามระเบียบขัน ้ ตอนการอนุมต ั ข ิ องบริษท ั ฯ ส่วนรายการ ประเภทอื่น ๆ จะพิจารณาจากประเภทและขนาดของรายการ โดยมี สํานักเลขานุการบริษัทช่วยกํากับดูแลให้มีการปฏิบัติตามเกณฑ์ของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และมีการรวบรวมและสรุปรายการ ที่ เ กี่ ย วโยงกั น ให้ ค ณะกรรมการตรวจสอบรั บ ทราบเป็ น ระยะ ๆ โดยบริษท ั ฯ ได้มก ี ารออกประกาศว่าด้วยเรือ ่ ง “นโยบายการทํารายการ ที่เกี่ยวโยงกัน” และมีการสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายนําไปปฏิบัติ ทั้ ง นี้ กรรมการและผู้ บ ริ ห ารจะต้ อ งลงนามรั บ รองทุ ก ๆ สิ้ น ปี ว่ า

การกําหนดราคาและเงือ ่ นไข: ราคาทุนบวกต้นทุนของเงินลงทุน

ในปี ที่ผ่ า นมาไม่ มี ก ารทํ า รายการที่มี ค วามขั ด แย้ ง ทางผลประโยชน์

1.2

หรื อ หากมี ก็ ไ ด้ ดํ า เนิ น การตามข้ อ กํ า หนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ฯ เรียบร้อยแล้ว โดยการทําธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง กับบริษัทฯ จะถูกตรวจสอบจากสํานักตรวจสอบภายในของบริษัทฯ

การก่อสร้างอาคารศูนย์การค้า กับอาคารห้างสรรพสินค้า หรือ Business Unit (BU) ต่าง ๆ

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง

การกําหนดราคาและเงื่อนไข: ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง โดยมีวิศวกร ที่ปรึกษาโครงการอิสระเป็นผู้คํานวณค่าก่อสร้างและงานระบบ ให้เป็นไปตามสัดส่วนพื้นที่ใช้งานจริงอย่างยุติธรรม

นโยบายหรือแนวโน้มการทํารายการระหว่างกันในอนาคต เนือ ่ งจากการทําธุรกรรมกับกิจการหรือบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกับบริษท ั ฯ เป็นรายการค้าที่เกิดขึ้นตามปกติธุรกิจ ดังนั้น การทําธุรกรรมกับ

1.3

กิจการหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกันจึงมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นอีกอย่าง ต่อเนื่องในอนาคตโดยเฉพาะอย่างยิ่งรายการเกี่ยวกับการพัฒนา

การก่อสร้างพืน ้ ทีร่ ว ่ ม ได้แก่ อาคารจอดรถ และพืน ้ ทีร่ อบ นอกอาคารศูนย์การค้า (Landscape)

หลักการ: • บริษัทฯ เป็นเจ้าของสิทธิอาคารที่จอดรถ และพื้นที่รอบนอก อาคารศู น ย์ ก ารค้ า โดยบริ ษั ท ฯ จะรั บ ผิ ด ชอบต้ น ทุ น พื้ น ที่ ส่วนร่วมทั้งหมด โดยถือเป็นการบริการให้แก่ลูกค้าที่มาเช่า พื้นที่ศูนย์การค้า • ห้างสรรพสินค้า หรือ BU ต่าง ๆ จะช่วยออกค่าก่อสร้างตาม แนวทางปฏิบัติดังนี้ 1) อาคารทีจ ่ อดรถ: ช่วยออกค่าก่อสร้างไม่นอ ้ ยกว่ากึง ่ หนึง ่ ของค่าก่อสร้างในส่วนที่ห้างสรรพสินค้า และ BU ต่าง ๆ ต้องจัดให้มีตามกฎหมาย 2) พื้ น ที่ ร่ ว ม: ช่ ว ยออกค่ า ก่ อ สร้ า งตามสั ด ส่ ว นของพื้ น ที่ ทั้งหมด (Gross Area)

ศู น ย์ ก ารค้ า ร่ ว มกั บ บริ ษั ท ในกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล ซึ่ ง เป็ น จุ ด แข็ ง ที่ ช่ ว ย ส่งเสริมให้การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ประสบความสําเร็จและเป็น ผู้นําในตลาดตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งนี้ นโยบายหรือแนวโน้ม การทํารายการระหว่างกันยังคงยึดหลักการเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา คือ ปฏิบัติตามเงื่อนไขการค้าทั่วไปและยึดถือประโยชน์ของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็นสําคัญ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัติเงื่อนไข การค้าทัว ่ ไปในการทําธุรกรรมระหว่างบริษท ั ฯ และบริษท ั ย่อยกับบุคคล ที่เกี่ยวโยงกันไว้อย่างชัดเจน เพื่อความโปร่งใสในการประกอบธุรกิจ และเป็นแนวทางปฏิบัติให้กับผู้ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ การพัฒนาโครงการศูนย์การค้าร่วมกับบริษท ั ในกลุม ่ เซ็นทรัล 181

บทที่ 28

หลักการ: แต่ละฝ่ายเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินส่วนที่อาคาร ของตนตั้ ง อยู่ ดั ง นั้ น ต่ า งฝ่ า ยต่ า งรั บ ผิ ด ชอบค่ า ก่ อ สร้ า ง อาคารในส่วนของตนเองด้วย

และผู้สอบบัญชีเพื่อให้มั่นใจได้ว่าบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามกฎหมายและ

1.

การซื้อ/ ขาย หรือ เช่า/ ให้เช่าที่ดิน


3) การกําหนดราคาและเงื่อนไข: ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง โดยมี วิศวกรที่ปรึกษาโครงการอิสระเป็นผู้คํานวณค่าก่อสร้าง ให้เป็นไปตามสัดส่วนพื้นที่ใช้งานจริงอย่างยุติธรรม 1.4

การดําเนินงานเกิดขึ้น ซึ่งโดยปกติธุรกิจบริษัทฯ จะเรียกเก็บ ค่ า ใช้ จ่ า ยเหล่ า นี้ โ ดยคํ า นวณจากต้ น ทุ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง ในการ ดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ทั้ ง นี้ อั ต ราที่ เ รี ย กเก็ บ จะขึ้ น อยู่ กั บ ประเภทของการเช่า และลักษณะการเช่าพืน ้ ทีซ ่ ง ึ่ อัตราทีเ่ รียกเก็บ เป็นมาตรฐานเดียวกันกับลูกค้าทั่วไป

การเช่าหรือให้เช่าพื้นที่ใหญ่ในโครงการศูนย์การค้า

หลักการ: บริษท ั ฯ อาจเช่าหรือให้เช่าพืน ้ ทีใ่ หญ่กบ ั ห้างสรรพสินค้า หรือ BU ต่าง ๆ ซึ่งจะมีการตกลงค่าตอบแทนในการให้เช่าพื้นที่ ขนาดใหญ่ตั้งแต่ขั้นตอนการออกแบบโครงการ

การกําหนดราคาและเงื่อนไข: ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง 4.

การกําหนดราคาและเงื่อนไข: ต้นทุนค่าที่ดินและค่าก่อสร้าง รวมต้นทุนของเงินลงทุน และค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน 2.

้ มูลทีเ่ กีย ่ วข้องและจําเป็นต่อการเสนอราคาอย่าง หลักการ: ให้ขอ ครบถ้วนและเท่าเทียมกันแก่นายหน้าประกัน โดยมีคณะกรรมการ เป็นผูพ ้ จ ิ ารณาคัดเลือกบริษท ั ประกัน ซึง ่ ในขัน ้ ตอนการพิจารณา คั ด เลื อ กจะต้ อ งไม่ มี ก รรมการหรื อ ผู้ บ ริ ห ารของบริ ษั ท ฯ ที่ มี ส่วนได้เสียและเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกันเข้าร่วมพิจารณา

การคิดค่าเช่าพื้นที่ ค่าบริการร่วม และค่าสาธารณูปโภค หลั ก การ: การคิ ด ราคาค่ า เช่ า พื้ น ที่ ร ะยะสั้ น หรื อ ค่ า เช่ า พื้ น ที่ ระยะยาว การคิ ด ค่ า บริ ก ารร่ ว ม และค่ า สาธารณู ป โภค จาก ร้ า นค้ า ที่ เ ป็ น ของกลุ่ ม เซ็ น ทรั ล หรื อ บุ ค คลที่ เ กี่ ย วโยงกั น ที่ ม า เช่าพื้นที่ศูนย์การค้า หรือพื้นที่เช่าในการประกอบธุรกิจอื่น ๆ ของบริษัทฯ จะกําหนดราคาโดยใช้หลักการเทียบเคียงกับการ กํ า หนดราคาพื้ น ที่ สํ า หรั บ ลู ก ค้ า ชั้ น ดี โดยพิ จ ารณาถึ ง ทํ า เล ที่ตั้ง ขนาดพื้นที่ รูปแบบการเช่า ระยะเวลาการเช่า ประเภทของ การเช่ า ประโยชน์ ที่ บ ริ ษั ท ฯ จะได้ รั บ นอกจากราคาค่ า เช่ า ค่าบริการร่วมและค่าสาธารณูปโภค ศักยภาพในการประกอบ ธุรกิจ ตลอดจนประสบการณ์และความสําเร็จในการประกอบ ธุรกิจร่วมกันในอดีตจนถึงปัจจุบัน

การกําหนดราคาและเงือ ่ นไข: ราคาตลาด หรือราคาเปรียบเทียบ จากการเสนอราคาของประกั น ที่ มี ร าคาและเงื่ อ นไขที่ เ ป็ น ประโยชน์กับบริษัทฯ มากที่สุด โดยเปรียบเทียบราคาย้อนหลัง อย่างน้อย 2 ปี ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่มีผู้เสนอราคาเปรียบเทียบ บริษท ั ฯ จะต้องพิจารณาอนุมต ั ท ิ าํ รายการในราคาเทียบเคียงกับ ปีที่ผ่านมา โดยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขการทําประกันและสภาวะตลาด ด้านการประกันในขณะนั้น 5.

การจัดซื้อ-จัดจ้าง

“การจัดซื้อ” หมายถึง การจัดซื้อวัสดุ เครื่องมือเครื่องใช้หรือสินค้า รวมทั้งการเช่าและเช่าซื้อ

การกําหนดราคาและเงือ ่ นไข : กําหนดราคาโดยใช้หลักการเทียบ เคียงกับการกําหนดราคาพื้นที่สําหรับลูกค้าชั้นดี

“การจัดจ้าง” หมายถึง การว่าจ้างผูข ้ าย ผูผ ้ ลิต ผูร้ บ ั เหมาหรือผูจ ้ ด ั ทํา ดําเนินการผลิต จัดทํา จัดการ จัดประกอบหรือก่อสร้าง ตัง ้ แต่เริม ่ ต้น จนเสร็จสิ้นเป็นชิ้นงาน รวมทั้งการให้บริการต่าง ๆ การจ้างเหมา บริการและการขนส่ง

“ลู ก ค้ า ชั้ น ดี ” หมายถึ ง ลู ก ค้ า ที่ มี ศั ก ยภาพสู ง ซึ่ ง มี ก ารเช่ า พื้ น ที่ จํานวนมาก หรือมีการเช่าพืน ้ ทีใ่ นหลายโครงการ และมีสว ่ นสนับสนุน ทั้งทางตรงและทางอ้อมให้การดําเนินธุรกิจประสบความสําเร็จ เนื่องด้วยกลุ่มเซ็นทรัลมีการประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับบริษัทฯ หลากหลายประเภทและอาจมีการทํารายการระหว่างกัน ซึ่งตลอด ระยะเวลาการดํ า เนิ น งานตั้ ง แต่ ก่ อ ตั้ ง บริ ษั ท ฯ กลุ่ ม เซ็ น ทรั ล เป็ น พันธมิตรทางการค้าที่มีศักยภาพ ช่วยสนับสนุนต่อความสําเร็จใน การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ มายาวนาน ดังนั้น บริษัทฯ จึงยังคง มี ก ารทํ า รายการระหว่ า งกั น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยในการพิ จ ารณา เกี่ยวกับเรื่องราคาและเงื่อนไข บริษัทฯ ยังคงคํานึงถึงประโยชน์ของ บริษัทฯ เป็นสําคัญ 3.

การทําประกันภัย/ ประกันสุขภาพกลุ่ม

ทั้ ง นี้ ใ ห้ ห มายความรวมถึ ง การจั ด ซื้ อ พั ส ดุ หรื อ จั ด จ้ า งผู้ รั บ เหมา เข้าก่อสร้างอาคารและติดตั้งอุปกรณ์ส่วนควบ สําหรับงานบริหาร โครงการก่อสร้างด้วย หลั ก การ: ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บและวิ ธี ก ารจั ด ซื้ อ -จั ด จ้ า งของ บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง ในการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กผู้ ข าย หรื อ ผู้ รั บ เหมา จะดํ า เนิ น การตามระเบี ย บดั ง กล่ า วด้ ว ยความโปร่ ง ใสและ เป็นธรรม ตามนโยบายการจัดซื้อ-จัดจ้างที่กําหนดไว้ โดยใน ขั้ น ตอนการพิ จ ารณาคั ด เลื อ กจะต้ อ งไม่ มี ก รรมการหรื อ ผูบ ้ ริหารของบริษท ั ฯ ทีม ่ ส ี ว ่ นได้เสียและเป็นบุคคลทีเ่ กีย ่ วข้องกัน เข้าร่วมพิจารณา

การเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน

“ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน” ได้แก่ ค่าเบี้ยประกันภัย ค่าภาษีโรงเรือน ค่าใช้จา่ ยส่งเสริมการขาย ค่าธรรมเนียมคา้ํ ประกัน และค่าบริการต่าง ๆ ที่เรียกเก็บจากผู้เช่าพื้นที่

การกํ า หนดราคาและเงื่ อ นไข: ราคาตลาด หรื อ ราคาเปรี ย บ เทียบจากการเสนอราคาของผู้เสนอราคาที่มีราคาและเงื่อนไข ที่เป็นประโยชน์กับบริษัทฯ มากที่สุด

หลักการ: ในการดําเนินการบริหารสินทรัพย์จะมีค่าใช้จ่ายใน

182


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อพิพาททางกฎหมาย

ทั้ ง นี้ บริ ษั ท ฯ ได้ ทํ า ประกั น ภั ย การก่ อ การร้ า ย (Terrorism)

คดีความที่มีสาระสําคัญกับบริษัทฯ และบริษัทย่อย (กลุ่มบริษัท) และ ความคืบหน้าของคดีจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2560 มีดังนี้

วงเงิน 3,500 ล้านบาท ไว้อีกกรมธรรม์หนึ่ง บริษัทฯ ได้รับเงิน ค่าสินไหมทดแทนตามกรมธรรม์ประกันภัยก่อการร้ายเป็นเงิน

(1) เมื่ อ วั น ที่ 16 ธั น วาคม 2554 กลุ่ ม บริ ษั ท ได้ ยื่ น ฟ้ อ งบริ ษั ท

จํานวน 3,500 ล้านบาท ซึ่งบริษัทฯ ได้บันทึกเป็นรายได้จาก

ประกั น ภั ย เกี่ ย วกั บ เหตุ ก ารณ์ ไ ฟไหม้ อ าคารศู น ย์ ก ารค้ า

เงิ น ชดเชยจากประกั น ภั ย ในงบกํ า ไรขาดทุ น เบ็ ด เสร็ จ สํ า หรั บ

เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ ให้ รับ ผิ ด จ่า ยค่า สิ น ไหมทดแทนตามกรมธรรม์

ปีสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560

ประกันภัยความเสีย ่ งภัยทุกชนิด (Industrial All Risks) จํานวน 2,848.4 ล้านบาท ให้แก่กลุม ่ บริษท ั และ/ หรือสํานักงานทรัพย์สน ิ

(2) เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2554 บริษัทในประเทศแห่งหนึ่งได้

ส่วนพระมหากษัตริย์ และตามกรมธรรม์ประกันภัยธุรกิจหยุด

ฟ้องร้องกองทุนรวมธุรกิจไทย 4 และบริษัทย่อยเป็นจําเลย

ชะงัก (Business Interruption) จํานวน 989.8 ล้านบาท

ร่วมกันฐานผิดสัญญาเช่า จากเหตุน้ํารั่วอันเนื่องมาจากการ

ให้ แ ก่ ก ลุ่ ม บริ ษั ท ณ วั น ที่ 1 มี น าคม 2556 ศาลขั้ น ต้ น ได้ มี

ดับเพลิงไฟไหม้อาคารโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ และ

คําพิพากษาให้บริษัทฯ ชนะคดี โดยพิพากษาให้บริษัทประกันภัย

เรียกค่าเสียหายจํานวนทุนทรัพย์ 73.7 ล้านบาท

ดังกล่าวชําระเงินค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากทรัพย์สินเสียหาย จํานวน 2,719.7 ล้านบาท และค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากการ

ศาลชั้นต้นพิพากษายกฟ้อง (กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 และ

ขาดรายได้จํานวนเงิน 989.8 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยร้อยละ

บริษัทย่อย ชนะคดี) เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2556 และศาล

7.6 ต่อปี นับแต่วันที่ 31 มีนาคม 2554 เป็นต้นไปจนกว่าบริษัท

อุ ท ธรณ์ พิพ ากษายื น ตามศาลชั้ น ต้ น เมื่ อ วั น ที่ 18 มิ ถุ น ายน

ประกันภัยดังกล่าวจะชําระเงินดังกล่าวครบถ้วน

2557 ซึ่งต่อมาโจทก์ยื่นฎีกาคัดค้านคําพิพากษาศาลอุทธรณ์

เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2557 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษากลับคํา

เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2560 ศาลฎีกามีคําสั่งว่าไม่อนุญาตให้

พิพากษาศาลชั้นต้น โดยให้เหตุผลว่าเหตุการณ์ไฟไหม้ในวันที่

โจทก์ยื่นฎีกา และไม่รับฎีกาไว้พิจารณา ด้วยปัญหาตามฎีกา

19 พฤษภาคม 2553 มีสาเหตุมาจากความขัดแย้งทางการเมือง

ของโจทก์ ไ ม่ เ ป็ น ปั ญ หาซึ่ ง เกี่ ย วพั น กั บ สาธารณะ และไม่ เ ป็ น

และการก่อความไม่สงบของประชาชนถึงขนาดลุกฮือขึน ้ ต่อต้าน

ปัญหาสําคัญที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัยตามพระราชบัญญัติวิธี

รั ฐ บาลซึ่ ง ไม่ ไ ด้ รั บ ความคุ้ ม ครองตามกรมธรรม์ ป ระกั น ภั ย

พิจารณาความผู้บริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 52 คดีนี้จึงเป็น

คุม ้ ครองความเสีย ่ งภัยทุกชนิด ทําให้บริษท ั ประกันภัยไม่ตอ ้ งจ่าย

อันสิ้นสุดลงแล้ว

ค่าสินไหมทดแทนแก่บริษัทฯ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2558 บริษัทฯ ได้ยื่นฎีกาและคําร้องขอ อนุญาตยื่นฎีกาต่อศาลแพ่งแล้ว ศาลแพ่งได้ส่งต่อให้ศาลฎีกา พิจารณาสั่งต่อไป

บทที่ 29

เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560 ศาลฎีกาได้มีคําวินิจฉัยว่า ปัญหา ตามฎี ก าของบริ ษั ท ฯ ไม่ เ ป็ น ปั ญ หาซึ่ ง เกี่ ย วพั น กั บ ประโยชน์ สาธารณะ และไม่เป็นปัญหาสําคัญที่ศาลฎีกาควรวินิจฉัยตาม พระราชบัญญัตว ิ ธ ิ พ ี จ ิ ารณาคดีผบ ู้ ริโภค พ.ศ. 2551 มาตรา 52 (เดิม) และข้อกําหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการดําเนิน กระบวนพิจารณาและการปฏิบต ั ห ิ น้าทีข ่ องเจ้าพนักงานคดีในคดี ผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ข้อ 40 จึงมีคําสั่งไม่อนุญาตให้ฎีกายก คําร้องและไม่รับฎีกาของบริษัทฯ คดีนี้จึงเป็นอันสิ้นสุดลงแล้ว

183


รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอํานาจควบคุม และเลขานุการบริษัท คณะกรรมการบริษัท นายไพฑูรย์ ทวีผล

นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์

อายุ 67 ปี

อายุ 77 ปี

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

28 มีนาคม 2543

10 กรกฎาคม 2545 การถือหุ้นในบริษัท การถือหุ้นในบริษัท

• ของตนเอง 3,312,800 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0738)

• ของตนเอง (ไม่มี)

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 22,293,200 หุ้น

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

(คิดเป็นร้อยละ 0.4967)

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

- ไม่มี -

• เป็นพี่ของนายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์

คุณวุฒิทางการศึกษา

และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

• ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ (บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

• เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการสอบบัญชี

คุณวุฒิทางการศึกษา

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

• ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรมโยธา Kingston College of Technology ประเทศอังกฤษ

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2545 - ปัจจุบัน

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2543 - ปัจจุบัน

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ประธานกรรมการ 2557 - ปัจจุบัน

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2552 - 2556

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการนโยบายความเสี่ยง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ประธานกรรมการกํากับการบริหาร 2558 - 2559

บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จํากัด

กรรมการนโยบายบริหารความเสี่ยง บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จํากัด

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

(มหาชน)

• รองประธานกรรมการ

2553 - 2555

กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน)

กรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี

และกรรมการบริษัทย่อย

บริษัท บิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• จํานวน 54 บริษัท

• กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการ นโยบายความเสี่ยง

การผ่านการอบรมที่จด ั โดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัท เคซีอี อีเลคโทรนิคส์ จํากัด (มหาชน)

บริษัทไทย (IOD)

• กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและค่าตอบแทน

2549 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)

กรรมการตรวจสอบและธรรมาภิบาล

รุ่นที่ 55/2006

บริษัท สมบูรณ์ แอ๊ดวานซ์ เทคโนโลยี จํากัด(มหาชน)

2543 - หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

หลักสูตรอบรมอื่น

• จํานวน 2 บริษัท

- ไม่มี -

184


รายงานประจํ า ปี 2560

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

คุณวุฒิทางการศึกษา

บริษัทไทย (IOD)

• ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ Victoria University of Wellington ประเทศนิวซีแลนด์

2555 - หลักสูตร DCP Reunion (M-DCP Re) รุ่นที่ 1/2012

• ปริญญาโท สาขาเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ

- หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program

Syracuse University ประเทศสหรัฐอเมริกา

(ACEP) รุ่นที่ 2/2012

• หลักสูตร Commercial Policy องค์กร The General

2553 - หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control

Agreement on Tariffs and Trade (GATT)

and Risk Management (MIR) รุ่นที่ 9/2010

นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์

- หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function (MIA) รุ่นที่ 9/2010

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

- หลักสูตร Role of the Compensation Committee

2552 - ปัจจุบัน

(RCC) รุ่นที่ 10/2010

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

- หลั ก สู ต ร Monitoring the Quality of Financial 2558 - ปัจจุบัน

Reporting (MFR) รุ่นที่ 11/2010

ประธานกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

2552 - หลั ก สู ต ร Monitoring Fraud Risk Management

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

(MFM) รุ่นที่ 1/2009 2552 - 2557

2551 - หลักสูตร Chartered Director Class (R-CDC)

กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

รุ่นที่ 3/2008 2555 - 2560

2548 - หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP)

กรรมการตรวจสอบ บริษัท น้ําตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน)

รุ่นที่ 11/2005 2551 - 2560

- หลักสูตร Audit Committee Program (ACP)

ประธานกรรมการบริหาร ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ

รุ่นที่ 6/2005

(องค์การมหาชน)

2546 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) 2550 - 2557

รุ่นที่ 38/2003

กรรมการ สํานักงานคณะกรรมการกํากับและ ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)

- หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 4/2003

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน • กรรมการอิสระ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณา

หลักสูตรอบรมอื่น

ค่าตอบแทน กรรมการกํากับดูแลกิจการ บริษท ั นาํ้ ตาลขอนแก่น จํากัด (มหาชน)

- ไม่มี -

• กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

นายการุณ กิตติสถาพร

บริษัท สหมิตรเครื่องกล จํากัด (มหาชน)

อายุ 70 ปี

และพิจารณาค่าตอบแทน

ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน)

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

10 เมษายน 2552

- ไม่มี -

การถือหุ้นในบริษัท

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

• ของตนเอง (ไม่มี)

บริษัทไทย (IOD)

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

2556 - หลักสูตร Anti-Corruption for Executive Program (ACEP) รุ่นที่ 7/2013

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

- หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

(MIA) รุ่นที่ 15/2013

- ไม่มี -

185

บทที่ 30

• กรรมการอิสระ ประธานคณะกรรมการสรรหา

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ


2557 - 2560

2554 - หลั ก สู ต ร Monitoring the Quality of Financial

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงิน สํานักงานคณะกรรมการกํากับและ

Reporting (MFR) รุ่นที่ 13/2011

ส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)

- หลักสูตร Financial Institutions Governance Program 2557 - 2558

(FGP) รุ่นที่ 2/2011

กรรมการ ธนาคารอาคารสงเคราะห์

2552 - หลักสูตร Audit Committee Program (ACP) 2552 - 2557

รุ่นที่ 27/2009

กรรมการผู้อํานวยการ ประธานอนุกรรมการ บริหารเงินลงทุน อนุกรรมการบริหารความเสีย ่ ง

- หลักสูตร Financial Statements for Directors (FSD)

บริษท ั หลักทรัพย์จด ั การกองทุน

รุ่นที่ 4/2009

ไทยพาณิชย์ จํากัด

2551 - หลักสูตร Role of the Compensation Committee (RCC) รุ่นที่ 6/2008

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

2549 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

- ไม่มี -

รุ่นที่ 81/2006

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

หลักสูตรอบรมอื่น

• จํานวน 1 บริษัท

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

• จํานวน 4 องค์กร

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 8

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

นางโชติกา สวนานนท์

บริษัทไทย (IOD)

อายุ 57 ปี

2560 - หลักสูตร Corporate Governance for Capital Market Intermediaries (CGI) รุ่นที่ 18/2017

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

2558 - หลักสูตร Risk Management Committee Program

กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

(RMP) รุ่นที่ 6/2015 วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

- หลักสูตร Advanced Audit Committee Program

25 กันยายน 2558

(AACP) รุ่นที่ 18/2015 2549 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

การถือหุ้นในบริษัท

รุ่นที่ 73/2006

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

รุ่นที่ 10

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

• หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.) รุ่นที่ 5

- ไม่มี -

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 20

คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรี จิตวิทยา University of Minnesota ประเทศสหรัฐอเมริกา

นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์

• ปริญญาโท จิตวิทยา University of San Francisco ประเทศสหรัฐอเมริกา

อายุ 57 ปี

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2558 - ปัจจุบัน

21 เมษายน 2559

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ การถือหุ้นในบริษัท

กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

• ของตนเอง (ไม่มี)

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

186


รายงานประจํ า ปี 2560

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. • เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์

- ไม่มี -

• เป็นพี่ของนายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ คุณวุฒิทางการศึกษา

นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

• ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ Stern School of Business, คุณวุฒิทางการศึกษา

New York University ประเทศสหรัฐอเมริกา

• ปริญญาตรี สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2559 - ปัจจุบัน

• ปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

• ปริญญาบัตร สาขาวิศวกรรมเครื่องกล South West Essex

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2553 - 2559 2553 - 2559

Technical College ประเทศอังกฤษ

กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ บริษัทหลักทรัพย์ ภัทร จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

กรรมการอิสระ

2545 - ปัจจุบัน

2555 - 2556

กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

บริษท ั ทุนภัทร จํากัด (มหาชน) 2557 - 2559

กรรมการ

ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สมาคมการค้าไทยไหหลํา

ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน) 2557 - 2558 การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

ที่ปรึกษา ประธานศาลรัฐธรรมนูญ

• กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

ธนาคารเกียรตินาคิน จํากัด (มหาชน)

• ประธานกรรมการ การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน)

• จํานวน 2 บริษัท

และกรรมการบริษัทย่อย • กรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

บริษัท บางกอก โพสต์ จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัทไทย (IOD) 2559 - หลั ก สู ต ร Corporate Governance for Capital

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

Market Intermediaries (CGI) รุ่นที่ 15/2016

• จํานวน 41 บริษัท

2548 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)

• จํานวน 2 องค์กร

รุ่นที่ 40/2005 การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ หลักสูตรอบรมอื่น

บริษัทไทย (IOD)

- ไม่มี -

2551 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 68/2008

นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

หลักสูตรอบรมอื่น

อายุ 75 ปี

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน • หลักสูตรการจัดการสมัยใหม่ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

รุ่นที่ 1

10 กรกฎาคม 2545 การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 22,645,900 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.5046) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

187

บทที่ 30

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 1

กรรมการ


นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์

หลักสูตรอบรมอื่น

อายุ 72 ปี

- ไม่มี -

กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

อายุ 70 ปี

10 กรกฎาคม 2545

กรรมการ (มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท) กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 28,346,400 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.6316)

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

10 มีนาคม 2538

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

การถือหุ้นในบริษัท

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

• ของตนเอง 26,764,600 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.5964)

• เป็ น น้ อ งของนายสุ ท ธิ ชั ย จิ ร าธิ วั ฒ น์ และนายสุ ท ธิ เ กี ย รติ

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

จิราธิวัฒน์

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

• เป็นพีข ่ องนายสุทธิธรรม จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิภค ั จิราธิวฒ ั น์ และ

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

• เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

• เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

และนายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์

คุณวุฒิทางการศึกษา

• เป็นพี่ของนายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

• ปริญญาตรี สาขาคณิตศาสตร์ St. John Fisher College

• เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

ประเทศสหรัฐอเมริกา

คุณวุฒิทางการศึกษา • ปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมศาสตร์ (ไฟฟ้า)

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2545 - ปัจจุบัน 2550 - ปัจจุบัน

กรรมการ

University of Maryland (College Park)

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ (Operations Research)

ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหาและ

Iona University ประเทศสหรัฐอเมริกา

กําหนดค่าตอบแทน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2538 - ปัจจุบัน

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

• ประธานกรรมการ 2559 - ปัจจุบัน

บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จํากัด (มหาชน)

กรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

และกรรมการบริษัทย่อย 2550 - 2558

• กรรมการ

ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหา และกําหนดค่าตอบแทน

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

2552 - 2556

• จํานวน 28 บริษัท

ประธานกรรมการบริหาร บริษัท กลุ่มเซ็นทรัล จํากัด

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

บริษัทไทย (IOD)

• กรรมการอิสระ

2550 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP)

บริษัท จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล จํากัด (มหาชน)

รุ่นที่ 61/2007

• รองประธานกรรมการ

- หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จํากัด (มหาชน)

รุ่นที่ 89/2007

และกรรมการบริษัทย่อย

188


รายงานประจํ า ปี 2560

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

• กรรมการ

2538 - ปัจจุบัน

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัล พลาซา จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

กรรมการ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

• กรรมการ 2557 - ปัจจุบัน

บริษัท ทีวีธันเดอร์ จํากัด (มหาชน)

กรรมการนโยบายความเสี่ยง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

2545 - 2556

• จํานวน 26 บริษัท

กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหาร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ 2555 - 2559

บริษัทไทย (IOD)

กรรมการ บริษัท มาลีกรุ๊ป จํากัด (มหาชน)

2546 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 37/2003

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี -

หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 13

• จํานวน 3 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

นายกอบชัย จิราธิวัฒน์

บริษัทไทย (IOD)

อายุ 61 ปี

2544 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

กรรมการ (มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท)

รุ่นที่ 7/2001

กรรมการนโยบายความเสี่ยง

หลักสูตรอบรมอื่น

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

10 มีนาคม 2538

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 21

การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 27,105,400 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.6040)

นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 113,000 หุ้น

อายุ 55 ปี

(คิดเป็นร้อยละ 0.0025)

กรรมการ (มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท)

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

กรรมการนโยบายความเสี่ยง

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนดค่าตอบแทน

• เป็นหลานของนายสุทธิชย ั จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวฒ ั น์

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท

นายสุทธิศก ั ดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค

10 มีนาคม 2538

จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นลูกพี่ลูกน้องของนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง 42,145,895 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.9391)

คุณวุฒิทางการศึกษา

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 192,000 หุ้น

• ปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

(คิดเป็นร้อยละ 0.0043)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ University of Chicago,

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

Graduate School of Business ประเทศสหรัฐอเมริกา

• เป็นหลานของนายสุทธิชย ั จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ และนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ • เป็นลูกพี่ลูกน้องของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์

189

บทที่ 30

• ปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ University of Norte Dame


คุณวุฒิทางการศึกษา

2549 - หลักสูตร Chief Financial Officer (CFO)

• ปริญญาตรี สาขาบัญชี Skidmore College ประเทศสหรัฐอเมริกา

2548 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 35/2005

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์

- หลักสูตร Audit Committee Program (ACP)

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รุ่นที่ 6/2005 ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2538 - ปัจจุบัน

- หลักสูตร Role of Chairman Program (RCP)

กรรมการ

รุ่นที่ 11/2005

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2550 - ปัจจุบัน

2543 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

ที่ปรึกษาคณะกรรมการสรรหาและกําหนด

รุ่นที่ 2/2000

ค่าตอบแทน 2557 - ปัจจุบัน

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

หลักสูตรอบรมอื่น

กรรมการนโยบายความเสี่ยง

• หลักสูตรการปฏิบัติการจิตวิทยา ฝ่ายอํานวยการ รุ่นที่ 73 สถาบันจิตวิทยาความมั่นคง

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) 2558 - 2559

• หลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูงการบริหารเศรษฐกิจสาธารณะ

กรรมการ

สําหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 4 สถาบันพระปกเกล้า

หอการค้าไทย 2547 - 2555

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

ที่ปรึกษา

รุ่นที่ 1

ตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (MAI) 2546 - 2555

• หลักสูตรกระบวนการผู้บริหารความยุติธรรมระดับสูง (บ.ย.ส.)

ประธานกรรมการตรวจสอบ

รุ่นที่ 13

บริษัท หลักทรัพย์ บัวหลวง จํากัด (มหาชน) 2542 - 2555

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

กรรมการ

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 22

บริษัท มาลีสามพราน จํากัด (มหาชน) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

นายปรีชา เอกคุณากูล

• กรรมการ

อายุ 59 ปี

บริษัท โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

กรรมการ (มีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท)

• กรรมการ

กรรมการผู้จัดการใหญ่ และประธานเจ้าหน้าที่บริหาร

บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

กรรมการนโยบายความเสี่ยง

• กรรมการตรวจสอบ บริษัท โรงพยาบาลบํารุงราษฎร์ จํากัด (มหาชน)

วันที่ดํารงตําแหน่งกรรมการบริษัท 25 เมษายน 2557

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 90 บริษัท

การถือหุ้นในบริษัท

• จํานวน 2 องค์กร

• ของตนเอง (ไม่มี) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 3,000 หุ้น

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

(คิดเป็นร้อยละ 0.0001)

บริษัทไทย (IOD) 2553 - หลักสูตร Advanced Audit Committee Program

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

(AACP)

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

2552 - หลั ก สู ต ร Monitoring Fraud Risk Management

- ไม่มี -

(MFM) รุ่นที่ 1/2009 - หลักสูตร Monitoring of the Quality of Financial

คุณวุฒิทางการศึกษา

Reporting (MFR) รุ่นที่ 7/2009

• ปริญญาตรี สาขาเคมีวิศวกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2550 - หลักสูตร Monitoring the Internal Audit Function

• ปริญญาโท สาขาอุตสาหการและการจัดการ

(MIA) รุ่นที่ 1/2007

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

- หลักสูตร Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) รุ่นที่ 1/2007

190


รายงานประจํ า ปี 2560

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง 2557 - ปัจจุบัน

กรรมการ กรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ และประธาน เจ้าหน้าที่บริหาร กรรมการนโยบายความเสี่ยง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

2555 - 2557

กรรมการ บริษัท ออฟฟิศเมท จํากัด (มหาชน)

2546 - 2556

กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน จํากัด (มหาชน) และบริษัทย่อย

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน - ไม่มี การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน • จํานวน 1 บริษัท การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD) 2548 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP) รุ่นที่ 62/2005 2547 - หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) รุ่นที่ 8/2004 หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

บทที่ 30

รุ่นที่ 7

191


คณะผู้บริหาร

หลักสูตรอบรมอื่น • หลักสูตร Advanced Management Program, Executive

นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์

Course, Harvard Business School ประเทศสหรัฐอเมริกา

อายุ 56 ปี

• หลักสูตร Real Estate Investment

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์

สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

การถือหุ้นในบริษัท

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 24

• ของตนเอง 25,589,600 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.5702)

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

รุ่นที่ 8

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง ด้านวิทยาการพลังงาน (วพน.) รุ่นที่ 5

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

• หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย สําหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 9 สถาบันพระปกเกล้า

• เป็นน้องของนายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้านการพาณิชย์ รุ่นที่ 10

นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ และนายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

• หลั ก สู ต รนั ก บริ ห ารระดั บ สู ง ธรรมศาสตร์ เ พื่ อ สั ง คมและโลก

• เป็นพี่ของนางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

(นมธล.) รุ่นที่ 1

• เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ คุณวุฒิทางการศึกษา

นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์

• ปริญญาตรี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง

อายุ 56 ปี

• Mini MBA สาขาอสังหาริมทรัพย์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

และบริหารโครงการก่อสร้าง

• Mini MBA คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การถือหุ้นในบริษัท

• Executive MBA สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์

• ของตนเอง 17,199,200 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.3832)

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

2558 - ปัจจุบัน

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

สํานักกรรมการผู้จัดการใหญ่

• เป็นน้องของนายสุทธิชย ั จิราธิวฒ ั น์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวฒ ั น์

2552 - 2557

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์

ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่

และนายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์

สํานักกรรมการผู้จด ั การใหญ่

• เป็นอาของนายกอบชัย จิราธิวัฒน์ และนายปริญญ์ จิราธิวัฒน์

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) คุณวุฒิทางการศึกษา การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

• ปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจ University of California,

- ไม่มี -

Los Angeles (UCLA) ประเทศสหรัฐอเมริกา • ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ University of Hartford

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

ประเทศสหรัฐอเมริกา

• จํานวน 1 บริษัท

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

2555 - ปัจจุบัน

บริษัทไทย (IOD)

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานพัฒนาธุรกิจ

2554 - หลักสูตร Director Certification Program (DCP)

และบริหารโครงการก่อสร้าง

รุ่นที่ 12/2011

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

192


รายงานประจํ า ปี 2560

2551 - 2558

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

กรรมการ บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จํากัด (มหาชน)

- ไม่มี 2551 - 2557 การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

รองกรรมการผู้จัดการ ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน)

• จํานวน 9 บริษัท การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

- ไม่มี -

บริษัทไทย (IOD) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

- ไม่มี -

- ไม่มี หลักสูตรอบรมอื่น การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

• หลักสูตร Advanced Management Program, Executive Course, Harvard Business School

บริษัทไทย (IOD)

ประเทศสหรัฐอเมริกา

- ไม่มี -

• หลักสูตรภูมิพลังแผ่นดิน รุ่นที่ 3 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

หลักสูตรอบรมอื่น

• หลักสูตรการป้องกันราชอาณาจักรภาครัฐร่วมเอกชน

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (ปรอ.) รุ่นที่ 25

รุ่นที่ 16

• หลักสูตรผู้บริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (วตท.)

• หลักสูตร Good Governance for Medical Executives

รุ่นที่ 10

(TMC) รุ่นที่ 3 จากสถาบันพระปกเกล้า

นายปกรณ์ พรรธนะแพทย์

นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์

อายุ 52 ปี

อายุ 45 ปี

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานปฏิบัติการ

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชี และบริหารความเสี่ยง

การถือหุ้นในบริษัท • ของตนเอง (ไม่มี)

การถือหุ้นในบริษัท

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

• ของตนเอง 54,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0012) • คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 24,000 หุ้น

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

(คิดเป็นร้อยละ 0.0005)

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี -

ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

คุณวุฒิทางการศึกษา

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต.

• ปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- ไม่มี -

• ปริญญาโท (บริหารธุรกิจ) Columbia Business School

คุณวุฒิทางการศึกษา

ประเทศสหรัฐอเมริกา ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2560 - ปัจจุบัน

• ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

รองกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สายงานปฏิบต ั ก ิ าร บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

2557 - 2559

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

รองกรรมการผู้จัดการอาวุโส

2558 - ปัจจุบัน

ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) 2555 - 2557

กรรมการ

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

บริษัท ลีสซิ่งกสิกรไทย จํากัด 2552 - 2556

รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ สายงานการเงิน บัญชีและบริหารความเสี่ยง

2556 - 2557

กรรมการ

ผูช ้ ว ่ ยกรรมการผูจ ้ ด ั การใหญ่ สายงานการเงิน บัญชีและบริหารความเสี่ยง

บริษัท เมืองไทย กรุ๊ป โฮลดิ้ง จํากัด

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

193

บทที่ 30

• ปริญญาตรี สาขาบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

- ไม่มี -

2552 - ปัจจุบัน

ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชี และบริหารสํานักงาน

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

• จํานวน 1 บริษัท การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

- ไม่มี -

บริษัทไทย (IOD) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

2545 - หลักสูตรเลขานุการบริษัท (CSP) รุ่นที่ 2/2002

- ไม่มี หลักสูตรอบรมอื่น การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

• หลักสูตร Finance for Executives Program,

บริษัทไทย (IOD)

INSEAD Business School ประเทศฝรั่งเศส

- ไม่มี หลักสูตรอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี หลักสูตรอบรมอื่น

2560 - หลักสูตร เรื่องเล่าข่าวทุจริตและผิดมาตรฐานบัญชี

• หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญกฎหมายภาษีอากรภาคปฏิบัติ

ของบริษัทจดทะเบียน รุ่นที่ 4

โดยสมาคมกฎหมายอาเซียนประจําประเทศไทย

โดยสภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์ จํานวน 6 ชัว ่ โมง

• หลักสูตร Executive Financial Management

- หลักสูตร IT Audit for Non IT Auditor รุ่นที่ 3

โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ จํานวน 6 ชัว ่ โมง

• หลักสูตร Employee’s Choice Ambassadors

- หลักสูตร หลักทั่วไปของอนุสัญญาภาษีซ้อน และวิธีการ

โดยสมาคมบริษัทจัดการลงทุน

วินิจฉัยปัญหาภาษีอากรระหว่างประเทศ โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์ เซ็นเตอร์ จํากัด

หลักสูตรอบรมพัฒนาความรู้ต่อเนื่องด้านบัญชี

จํานวน 6 ชั่วโมง

2560 - หลักสูตร หลักทั่วไปของอนุสัญญาภาษีซ้อน และวิธีการ

- หลักสูตร Big Changes Ahead for TFRS รุ่นที่ 3

วินิจฉัยปัญหาภาษีอากรระหว่างประเทศ

โดยบริษัทเซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์เซ็นเตอร์ จํากัด

โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์ เซ็นเตอร์ จํากัด

จํานวน 6 ชั่วโมง

จํานวน 6 ชั่วโมง - หลักสูตร Big Changes Ahead for TFRS รุ่นที่ 3

นางสุวดี สิงห์งาม

โดยบริษัท เซ็นทรัล พีเพิล ดีเวลลอปเม้นท์เซ็นเตอร์ จํากัด

อายุ 53 ปี

จํานวน 6 ชั่วโมง

ผู้อํานวยการอาวุโส ฝ่ายบัญชีและบริหารสํานักงาน การถือหุ้นในบริษัท

นางสาวอัมพาวีร์ ชมภูพงษ์เกษม

• ของตนเอง 20,000 หุ้น (คิดเป็นร้อยละ 0.0004)

อายุ 40 ปี

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ 48,000 หุ้น

ผูอ ้ าํ นวยการ สํานักเลขานุการบริษท ั และเลขานุการบริษท ั

(คิดเป็นร้อยละ 0.0011) วันที่ดํารงตําแหน่งเลขานุการบริษัท ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

1 พฤษภาคม 2559

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. การถือหุ้นในบริษัท

- ไม่มี -

• ของตนเอง (ไม่มี) คุณวุฒิทางการศึกษา

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

• ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยรามคําแหง ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

• ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. - ไม่มี -

194


รายงานประจํ า ปี 2560

คุณวุฒิทางการศึกษา

นางสาวนงลักษณ์ ศรีวงศ์พนาเวศ

• ปริญญาตรี สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

อายุ 43 ปี

• ปริญญาโท สาขาบัญชีบริหาร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ สํานักตรวจสอบภายใน

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

การถือหุ้นในบริษัท

2559 - ปัจจุบัน

เลขานุการบริษัท

• ของตนเอง (ไม่มี)

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

• คู่สมรส/บุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ (ไม่มี)

2546 - 2559

ผู้ช่วยเลขานุการบริษัท ความสั ม พั น ธ์ ท างครอบครั ว ระหว่ า งกรรมการและผู้ บ ริ ห าร

บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

ตามประกาศคณะกรรมการ ก.ล.ต. การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

- ไม่มี -

- ไม่มี คุณวุฒิทางการศึกษา การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

• ปริญญาตรี สาขาการเงินการธนาคาร มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ

- ไม่มี -

• ปริญญาโท สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัย New South Wales ประเทศออสเตรเลีย

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษัทไทย (IOD)

ประสบการณ์ทํางาน 5 ปี ย้อนหลัง

2560 - Open House for Company Secretary:

2558 - ปัจจุบัน

บทบาทเลขานุการบริษัทในการส่งเสริมด้านการกํากับดูแล

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน)

กิจการที่ดีให้กับองค์กร (IOH) รุ่นที่ 1/2017

2554 - 2558

- หลักสูตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG)

ผู้ช่วยผู้อํานวยการ ฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

รุ่นที่ 38/2017

2551 - 2554

- CGR Workshop 2017: Enhancing Good Corporate

ผู้จัดการอาวุโส ฝ่ายตรวจสอบภายใน บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จํากัด (มหาชน)

Governance based on CGR Scorecard (R-CGW) การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่เป็นบริษัทจดทะเบียน

รุ่นที่ 2/2017

- ไม่มี -

- Director Briefing 4/2017: The Sleeping Giants of Succession (M-DBT) รุ่นที่ 4/2017

การดํารงตําแหน่งกรรมการในกิจการอื่นที่ไม่ใช่บริษัทจดทะเบียน

2556 - หลั ก สู ต ร Anti-corruption: The Practical Guide

- ไม่มี -

(ACPG) รุ่นที่ 5/2013 2553 - หลักสูตร Board Reporting Program (BRP)

การผ่านการอบรมที่จัดโดยสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ

รุ่นที่ 4/2010

บริษัทไทย (IOD)

2550 - หลักสูตร Board Performance Evaluation

- ไม่มี -

(CG Workshop) รุ่นที่ 2/2007 หลักสูตรอบรมอื่น

2549 - หลักสูตร Developing Corporate Governance Policy

• หลักสูตร Analytical Thinking for Professional Internal

(CG Workshop) รุ่นที่ 1/2006

Auditors โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย หลักสูตรอบรมอื่น

• หลักสูตร Anti-Corruption Synergy to Success

• หลักสูตรพื้นฐานสําหรับผู้ปฏิบัติงานเลขานุการบริษัท (FPCS)

• หลั ก สู ต ร ความท้ า ทายของผู้ ต รวจสอบภายในต่ อ การสร้ า ง

• หลักสูตร Corporate Secretary Development Program รุน ่ ที่ 9

มูลค่าเพิม ่ ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบน ั โดยสมาคมผูต ้ รวจสอบภายใน

โดยคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

แห่งประเทศไทย

ร่วมกับสมาคมบริษัทจดทะเบียน

• หลักสูตร ธรรมาภิบาลเพือ ่ การพัฒนาทีย ่ ง ั่ ยืน: บนความท้าทายทีร่ อ อยู่ข้างหน้า โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร IA Core Competencies โดยสมาคมผูต ้ รวจสอบภายใน แห่งประเทศไทย ร่วมกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

195

บทที่ 30

โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย

รุ่นที่ 21 โดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย


• หลักสูตร Fraud Examination โดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ • หลักสูตร Skills for New Auditor-In-Charge โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Endorsed Internal Auditing Program โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย • หลักสูตร Standards and Techniques of Auditing โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย • หลักสูตร Accountants with the Operating Internal Audit โดยสมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย

196


รายชื่อกรรมการ ในบริษัทย่อย

นายสุทธิชัย จิราธิวัฒน์ นายสุทธิธรรม จิราธิวัฒน์ นายสุทธิเกียรติ จิราธิวัฒน์ นายกอบชัย จิราธิวัฒน์ นายปริญญ์ จิราธิวัฒน์ นายปรีชา เอกคุณากูล นายสุทธิศักดิ์ จิราธิวัฒน์ นายไพฑูรย์ ทวีผล นางโชติกา สวนานนท์ นายวีรวัฒน์ ชุติเชษฐพงศ์ นายการุณ กิตติสถาพร นายสุทธิพันธ์ จิราธิวัฒน์ นายสุทธิภัค จิราธิวัฒน์ นางสาววัลยา จิราธิวัฒน์ นางนาถยา จิราธิวัฒน์ นายสุทธิลักษณ์ จิราธิวัฒน์ นายโยธิน บุญดีเจริญ นายเจตรศิริ บุญดีเจริญ นายเปรมชัย กรรณสูต นายทวีผล คงเสรี นายเจริญ จิรวิศัลย์ นายพีระพล พัฒนพีระเดช นายนพดล พัฒนพีระเดช นายชนวัฒน์ เอื้อวัฒนะสกุล นายอิศเรศ จิราธิวัฒน์ เรืออากาศเอกกรี เดชชัย นายคุณายุธ เดชอุดม นางสาวนภารัตน์ ศรีวรรณวิทย์ นายชาลี มาดาน นางศุภจี สุธรรมพันธุ์ นางสาวพัฒนีพร เธียรประสิทธิ์ นายแสงชัย อภิชาติธนพัฒน์ นายสิทธิศักดิ์ อภิชาติธนพัฒน์ นางพรทิพา พฤฒิศาสตร์ นายอุปถัมป์ นิสิตสุขเจริญ นายวิวัฒน์ เอื้อวงศ์วรานนท์ นายมิโรสลาฟ ฟริมอล นางสาวอนุสรา โชควาณิชย์พงษ์ นายอิทธิชัย บรรณสารประสิทธิ์ Ms. Puan Sri Tey Siew Thuan Mr. Soon Thien Suan Ms. Leong Wai Yin Mr. Razali Bin Abdul Rashid

บทที่ 31

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43

บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา บจ. เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว บจ. เซ็นทรัลเวิลด์ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์ บจ. บางนา เซ็นทรัล พร๊อพเพอร์ตี้ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3 บจ. เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2 บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น บจ. ซีพีเอ็น พัทยา บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ บจ. เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์ บจ. ซีพีเอ็น โกบอล บจ. ซีพีเอ็น ซิตี้ บจ. ซีพีเอ็น คอมเพล็กซ์ บจ. ซีพีเอ็น เลิร์นนิ่ง เซ็นเตอร์ บจ. ซีพีเอ็น ระยอง บจ. ซีพีเอ็น โคราช บจ. ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ ขอนแก่น บจ. ซี.เอส. ซิตี้ บจ. ซีพีเอ็น เอสเตท บจ. ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ 1) บจ. ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล 2) บจ. สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้ 3) บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ 4) บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์ 5) บจ. ดาราฮาร์เบอร์ 6) บจ. ฟีโนมินอน ครีเอชั่น 7) บจ. ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเมนท์ 8) Global Retail Development & Investment Limited Global Commercial Property Limited CPN Ventures Sdn. Bhd. CPN Real Estate Sdn. Bhd. CPN Malls Malaysia Sdn. Bhd. Central Plaza i-City Malls Malaysia Sdn. Bhd. Central Plaza i-City Sdn. Bhd. Central Plaza i-City Real Estate Sdn. Bhd.

รายงานประจํ า ปี 2560

หมายเหตุ: 1) บจ. ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 2) บจ. ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2560 3) บจ. สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2559 และ CPN ได้ร่วมทุนเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 4) บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2559 และ CPN ได้ร่วมทุนเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 5) บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2559 และ CPN ได้ร่วมทุนเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2560 6) บจ. ดาราฮาร์เบอร์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 7 กันยายน 2558 และ CPN ได้ร่วมทุนเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2560 7) บจ. ฟีโนมินอน ครีเอชั่น เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 8) บจ. ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลลอปเมนท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2560

197


สรุปข้อมูลทั่วไปของนิติบุคคล ที่บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 10 ขึ้นไป บริษัท 1. บริษัท เซ็นทรัลฟู้ดอเวนิว จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน

สัดส่วนการ

(บาท)

ถือหุน ้ (ร้อยละ)

5,000,000

99.99

1,003,658,000

99.99

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2

1,500,000,000

99.99

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่

1,000,000,000

99.99

800,000,000

99.99

324,738,000

99.99

2,000,000,000

78.13

900,000,000

99.99

3,200,000,000

93.30

ศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา

เขตปทุมวัน กทม. 10330

ปิ่นเกล้า (บางส่วน) และศูนย์การค้าเซ็นทรัล

โทร +66 (0) 2667 5555

พลาซา บางนา

2. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้ จํากัด

ลงทุน และ/หรือถือหุ้นในบริษัทอื่น

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

และให้บริการสาธารณูปโภค (บางส่วน)

เขตปทุมวัน กทม. 10330

ภายในศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว

โทร +66 (0) 2667 5555 3. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 2 จํากัด 160 ถ.พระราม 2 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กทม. 10150 โทร +66 (0) 2866 4300 4. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา เชียงใหม่ จํากัด 2 ถ.มหิดล 252-252/1 ถ.วัวลาย ต.หายยา

แอร์พอร์ต

อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50100 โทร +66 (0) 5399 9199 5. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา รัตนาธิเบศร์ จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์

562, 566 ถ.รัตนาธิเบศร์ ต.บางกระสอ อ.เมืองนนทบุรี จ.นนทบุรี 11000 โทร +66 (0) 2834 6000 6. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา พระราม 3 จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

79 ถ.สาธุประดิษฐ์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กทม. 10120 โทร +66 (0) 2649 6000 7. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ขอนแก่น จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 8. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ชลบุรี จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 9. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ไนน์ สแควร์ จํากัด

ศูนย์การค้า/อาคารสํานักงาน

9/9 ถ.พระราม 9 แขวงห้วยขวาง

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา

เขตห้วยขวาง กทม. 10310

แกรนด์ พระราม 9

โทร +66 (0) 2103 5999

198


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

587, 589 ถ.บางนา-ตราด แขวงบางนา

ศูนย์การค้า/ อาคารสํานักงาน/ ที่พักอาศัย/ สวนนํา้

เขตบางนา กทม. 10260

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา

10. บริษัท บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ จํากัด

ทุนจดทะเบียน

สัดส่วนการ

(บาท)

ถือหุน ้ (ร้อยละ)

1,160,563,400

99.99 (ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัลพัฒนา เรียลตี้)

โทร +66 (0) 2763 6000 11. บริษัท ซีพีเอ็น พัทยา จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช

2,500,000,000

99.99

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 12. บริษัท เซ็นทรัลเวิลด์ จํากัด

โรงแรมเซ็นทารา และคอนเวนชันเซ็นเตอร์

2,511,938,100

99.99

4, 4/1-4/2, 4/4 ถ.ราชดําริ แขวงปทุมวัน

อุดรธานี ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี

(ถือตรงร้อยละ 90 และถือผ่าน

เขตปทุมวัน กทม. 10330

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก

โทร +66 (0) 2640 7000

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี

บจ. บางนาเซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้ ร้อยละ 10)

และศูนย์การค้า เซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย 13. บริษัท สยาม รีเทล ดีเวลล็อปเม้นท์ จํากัด

ศูนย์การค้าแฟชั่น ไอส์แลนด์

500,000,000

587, 589, 589/7-9 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. 10230 โทร +66 (0) 2947 5000 14. บริษัท สแควร์ ริทซ์ พลาซ่า จํากัด

15.00 (ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัล พัฒนา เรียลตี้ และ บจ. สแควร์ ริทซ์ พลาซ่า)

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

125,000,000

12.00 (ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัล พัฒนา เรียลตี้)

587 ถนนรามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว กทม. 10230 โทร +66 (0) 2947 5000 15. บริษัท อยุธยาเกษตรธานี จํากัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

400,000,000

11.85 (ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัล พัฒนา เรียลตี้)

3/10 หมู่ที่ 17 ถนนบางนา-ตราด ต.บางพลีใหญ่ อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 10540 โทร +66 (0) 2399 4510 16. ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่า อสังหาริมทรัพย์ CPN รีเทล โกรท

ลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ไดแก่

29,653,382,715

26.69

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3

บริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่

เขตปทุมวัน กทม. 10330

แอร์พอร์ต ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล

โทร +66 (0) 2667 5555

พัทยา บีช และโรงแรมฮิลตัน พัทยา

บทที่ 32

บริหารงานโดย

199


บริษัท 17. กองทุนรวมสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์

ประเภทธุรกิจ ลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โครงการ

CPN คอมเมอร์เชียล โกรท

อาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิศเศส แอท

บริหารงานโดย บลจ. ไทยพาณิชย์ จํากัด

เซ็นทรัลเวิลด์

ทุนจดทะเบียน

สัดส่วนการ

(บาท)

ถือหุน ้ (ร้อยละ)

4,394,381,700

25.00

5,443,793,159 1)

100.00

58,520,000 1)

100.00

1,000,000,000

99.99

700,000,000

99.99

1,000,000

99.94

2,863,485,000

99.99

ไทยพาณิชย์ ปาร์ค พลาซ่า อาคาร 1 ชั้น 7-8 เลขที่ 18 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กทม. 10900 โทร +66 (0) 2949 1500 18. กองทุนรวมธุรกิจไทย 4 บริหารงานโดย บมจ. หลักทรัพย์จัดการ

ลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์

กองทุนกรุงไทย 1 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 32 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กทม. 10120 โทร +66 (0) 2686 6100 19. กองทุนรวมธุรกิจไทย 5

ลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

บริหารงานโดย บมจ. หลักทรัพย์จัดการ

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา

กองทุนกรุงไทย

* สิ้นสุดอายุโครงการตามสัญญาในวันที่ 5 มีนาคม 2561 และดําเนินการยกเลิก กองทุนในวันที่ 9 มีนาคม 2561

1 อาคารเอ็มไพร์ทาวเวอร์ ชั้น 32 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กทม. 10120 โทร +66 (0) 2686 6100 20.บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ จํากัด

พัฒนาโครงการที่อยู่อาศัย ESCENT

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 21. บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา ดีเวลลอปเม้นท์ จํากัด

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี

เขตปทุมวัน กทม. 10330

และศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลําปาง

โทร +66 (0) 2667 5555 22.บริษัท ซีพีเอ็น โกบอล จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ลงทุน และ/ หรือถือ หุ้นในบริษัทอื่น

เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 23.บริษัท ซีพีเอ็น ซิตี้ จํากัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

(ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัลเวิลด์)

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 24.บริษัท ซีพีเอ็น คอมเพล็กซ์ จํากัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

2,341,600,000

99.99 (ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัลเวิลด์)

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555

200


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท 25.บริษัท ซีพีเอ็น เลิร์นนิ่ง เซ็นเตอร์ จํากัด

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน

สัดส่วนการ

(บาท)

ถือหุน ้ (ร้อยละ)

1,000,000

99.99

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ระยอง

1,000,000,000

99.99

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา

1,000,000,000

99.99

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

200,000,000

99.99

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

500,000,000

ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 26.บริษัท ซีพีเอ็น ระยอง จํากัด 999/9 ชั้น 30 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 27. บริษัท ซีพีเอ็น โคราช จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 28.บริษัท ซีพีเอ็น เรซซิเด้นซ์ ขอนแก่น จํากัด 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 29.บริษัท ซี.เอส.ซิตี้ จํากัด

99.99 (ถือผ่าน บจ. เซ็นทรัล พัฒนา เรียลตี้)

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 30.บริษัท ซีพีเอ็น เอสเตท จํากัด

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

1,000,000

99.94

400,000,000

50.99

999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 31. บริษัท ฟีโนมินอน ครีเอชั่น จํากัด 2) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

พัฒนาโครงการธีมปาร์คภายในศูนย์การค้า

(ถือผ่าน บจ. บางนา เซ็นทรัล พร็อพเพอร์ตี้)

เซ็นทรัลภูเก็ต

เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 32.บริษัท ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ จํากัด 3) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

ให้บริการจัดการกองทรัสต์เพื่อการลงทุนใน

10,000,000

100.00

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

1,100,000,000

35.00

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

172,000,000

63.00

อสังหาริมทรัพย์

เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 33.บริษัท วิมานสุริยา จํากัด 4) 946 อาคารพาณิชย์ดุสิตธานี ชั้น 5 บทที่ 32

ถนนพระรามที่ 4 แขวงสีลม เขตบางรัก กทม. 10500 โทร +66 (0) 2200 9999 34.บริษัท สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้ จํากัด 5) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555

201


บริษัท 35.บริษัท ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้

ประเภทธุรกิจ

ทุนจดทะเบียน

สัดส่วนการ

(บาท)

ถือหุน ้ (ร้อยละ)

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

400,000

75.00

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

1,000,000

90.00

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

400,000,000

65.00

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

465,000,000

50.00

เพื่อเป็นผู้เช่าช่วงและประกอบธุรกิจ

200,000,000

100.00

HKD 10,000

99.94

แมนเนจเม้นท์ จํากัด6) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 36.บริษัท พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ จํากัด 7) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 37. บริษัท ดาราฮาร์เบอร์ จํากัด 8) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 38.บริษัท ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลอปเมนท์ จํากัด

9)

999/9 ชั้น 31 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร +66 (0) 2667 5555 39.บริษัท ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล จํากัด 10) 999/9 ถ.พระราม 1 แขวงปทุมวัน

โรงแรมฮิลตัน พัทยา ที่อยู่ภายใต้ทรัสต์

เขตปทุมวัน กทม. 10330

เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์

โทร +66 (0) 2667 5555

CPN รีเทล โกรท (“CPNREIT”)

40.Global Retail Development &

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

(ถือผ่าน บจ. ซีพีเอ็น โกบอล)

Investment Limited 30/F Jardine House One Connaught Place Central, Hong Kong 41. Global Commercial Property Limited

พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

HKD 10,000

Place Central, Hong Kong

42.CPN Ventures Sdn. Bhd. Unit 30-01, Level 30, Tower A,

99.94 (ถือผ่าน Global Retail Development & Investment Limited)

30/F Jardine House One Connaught

ให้คําปรึกษาด้านการบริหารและการจัดการ

MYR 10,000,000

99.94 (ถือผ่าน บจ. ซีพีเอ็น โกบอล)

อสังหาริมทรัพย์

Vertical Business Suite, Avenue 3, Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia 43.CPN Real Estate Sdn. Bhd.

ลงทุน และ/ หรือถือหุ้นในบริษัทอื่น

MYR 400,000

99.94 (ถือผ่าน CPN Venture Sdn. Bhd.)

Unit 30-01, Level 30, Tower A, Vertical Business Suite, Avenue 3, Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia

202


รายงานประจํ า ปี 2560

บริษัท 44.CPN Malls Malaysia Sdn. Bhd.

ประเภทธุรกิจ ลงทุน และ/ หรือถือหุ้นในบริษัทอื่น

ทุนจดทะเบียน

สัดส่วนการ

(บาท)

ถือหุน ้ (ร้อยละ)

MYR 400,000

99.94 (ถือผ่าน CPN

Unit 30-01, Level 30, Tower A,

Venture Sdn. Bhd.)

Vertical Business Suite, Avenue 3, Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia 45.Central Plaza i-City Malls Malaysia

ลงทุน และ/ หรือถือหุ้นในบริษัทอื่น

MYR 400,000

99.94 (ถือผ่าน CPN

Sdn. Bhd.

Venture Sdn. Bhd.)

Unit 30-01, Level 30, Tower A, Vertical Business Suite, Avenue 3, Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia 46.Central Plaza i-City Sdn. Bhd.

ลงทุน และ/ หรือถือหุ้นในบริษัทอื่น

MYR 400,000

99.94 (ถือผ่าน CPN Venture Sdn. Bhd.)

Unit 30-01, Level 30, Tower A, Vertical Business Suite, Avenue 3, Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia 47. Central Plaza i-City Real Estate Sdn. Bhd. พัฒนาอสังหาริมทรัพย์

MYR 458,000,000

60.00 (ถือผ่าน บจ. ซีพีเอ็น โกบอล และ

Unit 30-01, Level 30, Tower A, Vertical Business Suite, Avenue 3,

บจ. เซ็นทรัล พัฒนา เรียลตี้)

Bangsar South, No. 8, Jalan Kerinchi, 59200 Kuala Lumpur, Malaysia

บทที่ 32

หมายเหตุ: 1) แสดงเฉพาะทุนที่ได้รับจากผู้ถือหน่วยประเภทเจ้าของ 2) บจ. ฟีโนมินอน ครีเอชั่น เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2560 ซึ่งเป็นบริษัทร่วมทุนกับ บจ. ไรท์แมน ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 49 3) บจ. ซีพีเอ็น รีท แมเนจเมนท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2560 4) บจ. วิมานสุริยา เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 65 5) บจ. สวนลุม พร็อพเพอร์ตี้ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี (DTC) ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 37 โดย DTC จะทยอยขายหุ้นให้ CPN จนกระทั่ง CPN ถือหุ้นสัดส่วนร้อยละ 85 ในที่สุด 6) บจ. ศาลาแดง พร็อพเพอร์ตี้ แมนเนจเม้นท์ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี (DTC) ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 25 7) บจ. พระราม 4 เดเวลอปเม้นท์ เป็นบริษัทร่วมทุนกับ บมจ. ดุสิตธานี (DTC) ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 10 8) บจ. ดาราฮาร์เบอร์ เป็นบริษัทที่ บมจ. เซ็นทรัลพัฒนา ซื้อหุ้นจาก บมจ. พร็อพเพอร์ตี้ เพอร์เฟค (PF) เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2560 9) บจ. ซินเนอร์จิสติก พร็อพเพอร์ตี้ ดีเวลอปเมนท์ เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2560 ซีงเป็นบริษัทร่วมทุนกับ บจ. เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่น ซิสเทม ซึ่งถือหุ้นร้อยละ 50 10) บจ. ซีพีเอ็น พัทยา โฮเทล เป็นบริษัทจัดตั้งขึ้นใหม่ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2560

203


ศูนย์การค้าภายใต้ การบริหารงานของ CPN ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว ที่อยู่: 1693 ถนนพหลโยธิน แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2793 6000 โทรสาร: +66 (0) 2541 1341

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา ที่อยู่: 109/10 ถนนรามอินทรา แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 โทรศัพท์: +66 (0) 2790 3000 โทรสาร: +66 (0) 2552 5513

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ปิ่นเกล้า ที่อยู่: 7/222 ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์: +66 (0) 2877 5000 โทรสาร: +66 (0) 2884 8446

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลมารีนา (เดิมชื่อ เซ็นทรัล เซ็นเตอร์ พัทยา) ที่อยู่: 78/54 หมู่ 9 ถนนพัทยาสาย 2 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20260 โทรศัพท์: +66 (0) 3300 3888 โทรสาร: +66 (0) 3300 3888 ต่อ 1225-6

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ แอร์พอร์ต ที่อยู่: 2 ถนนมหิดล 252-252/1 ถนนวัวลาย ตําบลหายยา อําเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์: +66 (0) 5399 9199 โทรสาร: +66 (0) 5399 9122-3

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 3 ที่อยู่: 79 ถนนสาธุประดิษฐ์ แขวงช่องนนทรี เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: +66 (0) 2649 6000 โทรสาร: +66 (0) 2673 6009

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา ที่อยู่: 587, 589 ถนนบางนา-ตราด (กม.3) แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศัพท์: +66 (0) 2763 6000 โทรสาร: +66 (0) 2399 5777

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ที่อยู่: 160 ถนนพระราม 2 แขวงแสมดํา เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ 10150 โทรศัพท์: +66 (0) 2866 4300 โทรสาร: +66 (0) 2872 4560

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ที่อยู่: เลขที่ 4, 4/1-4/2, 4/4 ถนนราชดําริ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2640 7000 โทรสาร: +66 (0) 2255 9767

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ ที่อยู่: 68/100, 68/919 หมู่ 8 ถนนรัตนาธิเบศร์ ตําบลบางกระสอ อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000 โทรศัพท์: +66 (0) 2103 5777 โทรสาร: +66 (0) 2526 6092

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ ที่อยู่: 99, 99/9 หมู่ที่ 2 ถนนแจ้งวัฒนะ ตําบลบางตลาด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 11120 โทรศัพท์: +66 (0) 2101 0000 โทรสาร: +66 (0) 2101 1343

204


รายงานประจํ า ปี 2560

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล พัทยา บีช ที่อยู่: 333/99 หมู่ที่ 9 ตําบลหนองปรือ อําเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี 20260 โทรศัพท์: +66 (0) 3300 3999 โทรสาร: +66 (0) 3300 3999 ต่อ 1225-6

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี ที่อยู่: 277/1-3, 271/5 ถนนประจักษ์ศิลปาคม ตําบลหมากแข้ง อําเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี 41000 โทรศัพท์: +66 (0) 4224 9192 โทรสาร: +66 (0) 4224 4639

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี ที่อยู่: 55/88-89, 55/91 หมู่ที่ 1 ตําบลเสม็ด อําเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี 20000 โทรศัพท์: +66 (0) 3300 3333 โทรสาร: +66 (0) 3300 3179

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น ที่อยู่: 99, 99/1 ถนนศรีจันทร์ ตําบลในเมือง อําเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40000 โทรศัพท์: +66 (0) 4300 1000 โทรสาร: +66 (0) 4300 1209

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เชียงราย ที่อยู่: 99/9 หมู่ 13 ตําบลรอบเวียง อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย 57000 โทรศัพท์: +66 (0) 5202 0999 โทรสาร: +66 (0) 5202 0900

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก ที่อยู่: 9/99 หมู่ 5 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000 โทรศัพท์: +66 (0) 5500 0999 โทรสาร: +66 (0) 5500 0990

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 ที่อยู่: 9/9 ถนนพระราม 9 แขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท์: +66 (0) 2103 5999 โทรสาร: +66 (0) 2103 5990

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สุราษฎร์ธานี ที่อยู่: 88 หมู่ 10 ตําบลวัดประดู่ อําเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84000 โทรศัพท์: +66 (0) 7796 3555 โทรสาร: +66 (0) 7796 3599

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ลําปาง ที่อยู่: 319 ถนนไฮเวย์ลําปาง-งาว ตําบลสวนดอก อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง 52100 โทรศัพท์: +66 (0) 5401 0555 โทรสาร: +66 (0) 5401 0599

ที่อยู่: 311 หมู่ที่ 7 ตําบลแจระแม อําเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี 34000 โทรศัพท์: +66 (0) 4595 0699 โทรสาร: +66 (0) 4595 0600

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล เชียงใหม่ ที่อยู่: 99, 99/1, 99/2 หมู่ที่ 4 ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ตําบลฟ้าฮ่าม อําเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50000 โทรศัพท์: +66 (0) 5399 8999 โทรสาร: +66 (0) 5200 1700

205

บทที่ 33

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี


ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ่ ที่อยู่: 1518, 1518/1, 1518/2 ถนนกาญจนวณิชย์ ตําบลหาดใหญ่ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110 โทรศัพท์: +66 (0) 7480 1555 โทรสาร: +66 (0) 7480 1599

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล สมุย ที่อยู่: 209, 209/1-209/2 หมู่ที่ 2 ตําบลบ่อผุด อําเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84320 โทรศัพท์: +66 (0) 7796 2777 โทรสาร: +66 (0) 7796 2799

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ศาลายา ที่อยู่: 99/19, 99/20 หมู่ที่ 2 ตําบลบางเตย อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม 73210 โทรศัพท์: +66 (0) 3410 0888 โทรสาร: +66 (0) 3410 0899

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ระยอง ที่อยู่: 99, 99/1 ถนน บางนา-ตราด ตําบลเชิงเนิน อําเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง 21000 โทรศัพท์: +66 (0) 3301 3333 โทรสาร: +66 (0) 3301 3300

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล ภูเก็ต ที่อยู่: 74, 75 หมู่ที่ 5 ถนนวิชิตสงคราม ตําบลวิชิต อําเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต 83000 โทรศัพท์: +66 (0) 7629 1111 โทรสาร: +66 (0) 7629 4000

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา เวสต์เกต ที่อยู่: 199, 199/1, 199/2 หมู่ที่ 6 ตําบลเสาธงหิน อําเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 11140 โทรศัพท์: +66 (0) 2102 7999 โทรสาร: +66 (0) 2102 7900

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวัล อีสต์วิลล์ ที่อยู่: 69, 69/1, 69/2 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ 10230 โทร: +66 (0) 2102 5000 โทรสาร: +66 (0) 2102 5099

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครศรีธรรมราช ที่อยู่: 8, 9/8 หมู่ที่ 7 ตําบลนาสาร อําเภอพระพรหม จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000 โทร: +66 (0) 7580 3333 โทรสาร: +66 (0) 7580 3399

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา นครราชสีมา ที่อยู่: 990, 998 ถนนมิตรภาพ-หนองคาย ตําบลในเมือง อําเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา 30000 โทร: +66 (0) 4400 1555 โทรสาร: +66 (0) 4400 1599

ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา มหาชัย ที่อยู่: 98 หมู่ที่ 4 ตําบลนาดี อําเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 74000 โทร: +66 (0) 3411 2777 โทรสาร: +66 (0) 3411 2799

206


รายงานประจํ า ปี 2560

ข้อมูลสําหรับนักลงทุน และบุคคลอ้างอิง บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ทุนจดทะเบียน

นโยบายการจ่ายเงินปันผล

2,244,000,000 บาท

CPN มีนโยบายการจ่ายเงินปันผลในอัตราประมาณร้อยละ 40 ของ

ทุนที่ออกและชําระแล้ว 2,244,000,000 บาท

กําไรสุทธิจากการดําเนินงานประจําปี (กรณีไม่มเี หตุผลจําเป็นอืน ่ ใด)

ประกอบด้วยหุ้นสามัญ 4,488,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ

ข้อมูลราคาหลักทรัพย์และการจ่ายเงินปันผล ในช่วงเวลา 5 ปีย้อนหลัง (ปี 2556-2560)

0.5 บาท

ข้อมูลหลักทรัพย์

หน่วย: บาทต่อหุ้น

หุน ้ สามัญของ บริษท ั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) เข้าจดทะเบียน

ปี

ราคาสูงสุด

ราคาต่ําสุด

เงินปันผลจ่าย

และทําการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้ชื่อย่อ

2556

57.25

36.00

0.55

หลักทรัพย์ “CPN”

2557

49.50

37.00

0.65

การประชุมสามัญผู้ถือหุ้น

2558

49.25

39.75

0.70

2559

61.75

43.00

0.83

2560

87.00

53.75

1.40 /1

คณะกรรมการบริษัทมีมติให้จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561 ในวันที่ 27 เมษายน 2561 เวลา 14.00 น. ณ ห้องเวิลด์บอลรูม ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์

หมายเหตุ: /1 รออนุมัติจากที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี 2561

เซ็ น ทรั ล เวิ ล ด์ เลขที่ 999/99 ถนนพระราม 1 แขวงปทุ ม วั น

การเปลี่ยนแปลงของดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN เปรียบเทียบกับดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทยและดัชนีราคาหมวดธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์

เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย

ติดต่อนักลงทุนสัมพันธ์ บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ชั้น 31 อาคาร ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์

ดัชนีราคาหลักทรัพย์

3 ปี ย้อนหลัง

1 ปี ย้อนหลัง

ดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN

92%

50%

ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ฯ

18%

14%

ดัชนีราคาหมวดธุรกิจพัฒนา

15%

23%

999/9 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 ประเทศไทย โทรศัพท์:+66 (0) 2667 5555 ต่อ 1614, 1632, 1633, 1689 อีเมล: ir@cpn.co.th เว็บไชต์: www.cpn.co.th

อสังหาริมทรัพย์

เปรียบเทียบการเคลื่อนไหวของดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN กับดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ฯ และดัชนีราคาหมวด ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 3 ปี ย้อนหลัง (ราคาปี 2558 เป็นปีฐาน) ดัชนีเปรียบเทียบ 100 (ม.ค. 2558 = 100) 250

ดัชนีราคาหลักทรัพย์ CPN ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ หมวดธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

200

บทที่ 34

150 100 50 0 ม.ค. 58

ก.ค. 58

ม.ค. 59

ก.ค. 59

ม.ค. 60

ก.ค. 60

ธ.ค. 60

ที่มา: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

207


กิจกรรมนักลงทุนสัมพันธ์ปี 2560 วันที่ 6 มกราคม 2560 10 มกราคม 2560

กิจกรรม พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บล.ดีบีเอส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) จํากัด ประธานเจ้าหน้าที่บริหารพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ ณ กรุงเทพฯ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

10 มกราคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ ณ กรุงเทพฯ จัดโดย บล.ภัทร

19-20 มกราคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดโดย บล.ซีแอลเอสเอ

3 มีนาคม 2560

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารการเงินพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ ณ กรุงเทพฯ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

22-23 มีนาคม 2560 16 พฤษภาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศมาเลเซีย จัดโดย บล.ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารการเงินพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ ณ กรุงเทพฯ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

18-19 พฤษภาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย บล.ภัทร

26 พฤษภาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ จัดโดย หลักทรัพย์ที่ปรึกษาทางการลงทุน ดอยซ์ ทิสโก้

3 กรกฎาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศญี่ปุ่น จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ บล.กรุงศรี

20 กรกฎาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันในประเทศ จัดโดย บล.ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย)

24-27 กรกฎาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา จัดโดย บล.ซิตี้คอร์ป (ประเทศไทย)

15 สิงหาคม 2560

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารการเงินพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ ณ กรุงเทพฯ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

29-30 สิงหาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ในงาน Thailand Focus 2016 Conference ณ กรุงเทพฯ จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ บล.ภัทร และแบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริลล์ ลินซ์

19-20 สิงหาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เขตบริหารพิเศษฮ่องกงแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดโดย บล.เครดิต สวิส (ประเทศไทย)

16-17 ตุลาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เมืองลอนดอน จัดโดย บล.ภัทร

18-19 ตุลาคม 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ เมืองปารีส จัดโดย บล.แมคควอรี (ประเทศไทย)

9 พฤศจิกายน 2560

ประธานเจ้าหน้าที่บริหารฝ่ายบริหารการเงินพบผู้จัดการกองทุนและนักวิเคราะห์ภายในประเทศ ณ กรุงเทพฯ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

20 พฤศจิกายน 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ในงาน 8th Annual dbAccess Asia Conference ณ ออสเตรเลีย จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ร่วมกับ หลักทรัพย์ที่ปรึกษาทางการลงทุน ดอยซ์ ทิสโก้

27 พฤศจิกายน 2560

พบปะนักลงทุนสถาบันต่างประเทศ ณ ประเทศญี่ปุ่น จัดโดย บล.โนมูระ

208


รายงานประจํ า ปี 2560

ปฏิทินทางการเงินที่สําคัญปี 2561 ปฏิทินทางการเงิน

2561 (คาดการณ์)

แจ้งงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําปี 2560

กุมภาพันธ์

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําปีก่อน ณ ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

กุมภาพันธ์

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําปี 2560 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

กุมภาพันธ์

ปิดสมุดทะเบียนสําหรับสิทธิการเข้าประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี

มีนาคม

จัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจําปี

เมษายน

จ่ายเงินปันผลสําหรับผลการดําเนินงานประจําปี 2560

พฤษภาคม

แจ้งงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 1

พฤษภาคม

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 1 ณ ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

พฤษภาคม

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 1 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

พฤษภาคม

แจ้งงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 2

สิงหาคม

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 2 ณ ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

สิงหาคม

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 2 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

สิงหาคม พฤศจิกายน

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 3 ณ ดิ ออฟฟิศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ จัดโดย บมจ.เซ็นทรัลพัฒนา

พฤศจิกายน

งานแถลงผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 3 (Opportunity Day) จัดโดย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

พฤศจิกายน

บทที่ 34

แจ้งงบการเงินสําหรับผลการดําเนินงานประจําไตรมาสที่ 3

209


บุคคลอ้างอิงอื่น

นายทะเบียนหุ้น

ผู้สอบบัญชี

บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จํากัด 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จํากัด โดยนางสาวบงกช อํา่ เสงี่ยม (ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตเลขที่ 3684)

ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

ชั้น 50-51 เอ็มไพร์ทาวเวอร์

ประเทศไทย

1 ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย

โทรศัพท์: + 66 (0) 2009 9999

โทรศัพท์: + 66 (0) 2677 2000

โทรสาร: + 66 (0) 2009 9991

โทรสาร: + 66 (0) 2677 2222

นายทะเบียนหุ้นกู้

บริษัทจัดอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้

หุ้นกู้ CPN19NA

บริษัท ทริสเรทติ้ง จํากัด

ธนาคารซีไอเอ็มบี ไทย จํากัด (มหาชน)

ชั้น 24 อาคารสีลมคอมเพล็กซ์

44 ถนนหลั ง สวน แขวงลุ ม พิ นี เขตปทุ ม วั น กรุ ง เทพฯ 10330

191 ถนนสีลม แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 ประเทศไทย

ประเทศไทย

โทรศัพท์: + 66 (0) 2231 3011

โทรศัพท์: + 66 (0) 2626 7503

โทรสาร: + 66 (0) 2231 3012

โทรสาร: + 66 (0) 2626 7542 หุ้นกู้ CPN18OA และ CPN21OA ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) 9 ถนนรัชดาภิเษก แขวงจตุจักร เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 ประเทศไทย โทรศัพท์: + 66 (0) 2256 2323-8 โทรสาร: + 66 (0) 2256 2406 หุน ้ กู้ CPN221A, CPN188A, CPN208A, CPN228A, CPN20DA, CPN21DA และ CPN22DA ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) 1222 ถนนพระรามที่ 3 แขวงบางโพงพาง เขตยานนาวา กรุงเทพฯ 10120 ประเทศไทย โทรศัพท์: + 66 (0) 2296 3582 โทรสาร: + 66 (0) 2296 2202

210


รายงานประจํ า ปี 2560

สรุปตําแหน่งรายการที่กําหนด ตามแบบ 56-2 หัวข้อ

1.

หน้า

นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

14/16/22-25/45

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

49-63

3. ปัจจัยความเสี่ยง

30-31/72-78

4. ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสําคัญอื่น

ปกใน/207-210

5. ข้อมูลหลักทรัพย์และผู้ถือหุ้น

171

6. นโยบายการจ่ายเงินปันผล

173

7.

โครงสร้างการจัดการ

134-147

8. การกํากับดูแลกิจการ

148-169

9. ความรับผิดชอบต่อสังคม

66-71/88-133

10. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยง

72-78/174

11. รายการระหว่างกัน

176-182

12. ข้อมูลทางการเงินที่สําคัญ

18-21

13. การวิเคราะห์และคําอธิบายของฝ่ายจัดการ

78-87

บทที่ 35

หมายเหตุ: ผู้ลงทุนสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากแบบแสดงรายงานประจําปี (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ ที่แสดงไว้ใน www.sec.or.th หรือเว็บไซต์ของบริษัทฯ (www.cpn.co.th)

211


212


บทที่ 36

รายงานประจํ า ปี 2560

213


GRI INDEX AND UNGC PRINCIPLES

Discloser Number

Disclosure Title

Page

GRI 102: General disclosures 2016 102-1

Name of the organization

Inside cover

102-2

Activities, brands, products, and services

102-3

Location of headquarters

102-4

Location of operations

102-5

Ownership and legal form

102-6

Markets served

102-7

Scale of the organization

102-8

Information on employees and other workers

102-9

Supply chain

102-10

Significant changes to the organization and its supply chain

102-11

Precautionary principle or approach

102-12

External Initiatives

66-71, 220

102-13

Membership of associations

40-41, 152

102-14

Statement from senior decision-maker

102-15

Key impacts, risk, opportunities

72-77, 89

102-16

Values, principles, standards, and norms of behavior

16, 148-151

102-17

Mechanisms for advice and concerns about ethics

102-18

Governance Structure

134-135, 147

102-19

Deligating authority

134-135, 147

102-20

Executive-level responsibility for economic, environmental, and social

48-63 Inside cover 198-203 48-59, 207 54-59 20-21, 54-59, 108 108 109-110

topics

22-23, 36-37, 109-110 30-31, 72-77

32-33

150

www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความ ยั่งยืน/นวัตกรรมด้านผลิตภัณฑ์ และ การบริการ การมีส่วนร่วมและการ ดูแลผู้มีส่วนได้เสียหลักที่สําคัญ

102-21

Consulting stakeholders on economic, environmental, and social topics

102-22

Composition of the highest governance body and its committees

102-23

Chair of the highest governance body

102-24

Nominating and selecting the highest governance body

102-25

Conflicts of interest

163-164

102-26

Role of highest governance body in setting purpose, values, and strategy

136-147

102-27

Collective knowledge of highest governance body

102-28

Evaluating the highest governance body’s performance

159-160

102-29

Identifying and managing economic, environmental, and social impacts

146-147

214

67-69 134-147 35, 134-135 165

160-162, 184-196


รายงานประจํ า ปี 2560

Discloser Number

Disclosure Title

Page

102-30

Effectiveness of risk management processes

72-77

102-31

Review of economic, environmental, and social topics

102-32

Highest governance body’s role in sustainability reporting

146-147

102-33

Communicating critical concerns

66-69

102-34

Nature and total number of critical concerns

102-35

Remuneration policies

102-36

Process for determining remuneration

102-37

Stakeholders’ involvement in remuneration

102-38

Annual total compensation ratio

102-39

Percentage increase in annual total compensation ratio

167

102-40

List of stakeholder groups

69

102-41

Collective bargaining agreements

107

102-42

Identifying and selecting stakeholders

69

102-43

Approach to stakeholder engagement

66-69, 72-77

69 167-169 142, 167-169 142 167-169

69, 150-156 www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความ ยั่งยืน/การมีส่วนร่วมและการดูแลผู้มี ส่วนได้เสียหลักที่สําคัญ

102-44

Key topics and concerns raised

99-120

102-45

Entities included in the consolidated financial statements

64 Notes to Financial Statements p. 25-27

Defining report content and topic Boundaries

102-47

List of material topics

69

102-48

Restatements of information

131

102-49

Changes in reporting

131

102-50

Reporting period

131

102-51

Date of most recent report

131

102-52

Reporting cycle

131

102-53

Contact point for questions regarding the report

131

102-54

Claims of reporting in accordance with the GRI Standards

131

102-55

GRI content index

214-219

102-56

External assurance

212-213

215

66-69, 131-133

บทที่ 37

102-46


GRI Standard Title

Disclosure

Disclosure Title

Page

Number GRI 103

103-1

Explanation of the material topic and its Boundary

103-2

The management approach and its components

Approach

103-3

Evaluation of the management approach

66-69, 90, 99, 102, 109, 114, 121

Management

70, 90-164 97-98, 101, 107, 113, 120, 122-129

GRI 201

201-1

Direct economic value generated and distributed

78-87

Economic

201-2

Financial implications and other risks and opportuni-

76-77

Performance

ties due to climate change 201-3

Defined benefit plan obligations and other retirement plans

GRI 202

202-2

Market Presence

Notes to Financial Statements p. 122-123

Proportion of senior management hired from the local

102

community

GRI 203 Indirect

203-1

Infrastructure investments and services supported

Economic Impacts

203-2

Significant indirect economic impacts

115, 118-120 118-120

GRI 204

204-1

Proportion of spending on local suppliers

109-110

GRI 205

205-1

Operations assessed for risks related to corruption

75, 153

Anti-corruption

205-2

Communication and training about anti-corruption

153-154

Procurement Practices

policies and procedures

GRI 206

205-3

Confirmed incidents of corruption and actions taken

206-1

Legal actions for anti-competitive behavior, anti-trust, and monopoly practices

Anti-competitive Behavior GRI 301 Materials

GRI 302 Energy

301-1

Materials used by weight or volume

301-2

Recycled input materials used

301-3

Reclaimed products and their packaging materials

153-154 www.cpn.co.th/การพัฒนา สู่ความยั่งยืน/การกํากับดูแลกิจการ ที่ดี/นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ หัวข้อ นโยบายการแข่งขันทาง การค้า

122-125 124-125 Not applicable

302-1

Energy consumption within the organization

122-123

302-2

Energy consumption outside of the organization

122-123

302-3

Energy intensity

302-4

Reduction of energy consumption

302-5

Reductions in energy requirements of products

122 122, 128 128

and services GRI 303 Water

303-1 303-2

Water withdrawal by source

124-125

Water sources significantly affected by

124-125

withdrawal of water 303-3

Water recycled and reused

216

124-125


รายงานประจํ า ปี 2560

GRI Standard Title

Disclosure

Disclosure Title

Page

Operational sites owned, leased, managed in, or adja-

126-127, 129

Number GRI 304

304-1

cent to, protected areas and areas of high biodiversity value outside protected areas Biodiversity

304-2

Significant impacts of activities, products, and services

129

on biodiversity 304-3 304-4

Habitats protected or restored IUCN Red List species and national conservation list

126-127 Not applicable

species with habitats in areas affected by operations GRI 305

305-1

Direct (Scope 1) GHG emissions

123-124

Emissions

305-2

Energy indirect (Scope 2) GHG emissions

123-124

305-3

Other indirect (Scope 3) GHG emissions

123-124

305-4

GHG emissions intensity

123-124

305-5

Reduction of GHG emissions

123-124

305-6

Emissions of ozone-depleting substances (ODS)

305-7

Nitrogen oxides (NOX), sulfur oxides (SOX), and other significant air emissions Water discharge by quality and destination

Not use Calculated as CO2 equivalent in GHG emission Scope 1

GRI 306

306-1

Effluents and Waste

306-2

Waste by type and disposal method

125-126

306-3

Significant spills

125-126

306-5

Water bodies affected by water discharges and/or runoff

GRI 307

307-1

125-126

No sites located nearby identity, site, protected status and biodiversity valve of water bodies.

Non-compliance with environmental laws

129

and regulations

Environmental Compliance GRI 308

308-1

Environmental

New suppliers that were screened using environmental

113, 129

criteria

Supplier 308-2

Assessment

Negative environmental impacts in the supply chain

113

and actions taken

GRI 401

401-1

New employee hires and employee turnover

Employment

401-2

Benefits provided to full-time employees that are not

102, 107 103

บทที่ 37

provided to temporary or part-time employees

217


GRI Standard Title

Disclosure

Disclosure Title

Page

Number GRI 403

403-1

Health and Safety

Workers representation in formal joint

104

management-worker health and safety committees

Occupational 403-2

Types of injury and rates of injury, occupational

107

diseases, lost days, and absenteeism, and number of work-related fatalities 403-3

Workers with high incidence or high risk of diseases

107

related to their occupation 403-4

Health and safety topics covered in formal agreements

107

with trade unions GRI 404

404-1

Training and

404-2

Education

Average hours of training per year per employee

105

Programs for upgrading employee skills and transition

105

assistance programs 404-3

Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews

100% www.cpn.co.th/การพัฒนา สู่ความยั่งยืน/การดูแลผู้มีส่วนได้ เสีย/การบริหารจัดการและสร้าง ความผูกพันกับบุคลากร/การ ประเมินผลปฏิบัติงานและพัฒนา ศักยภาพบุคลากร

GRI 405

405-1

Diversity and Equal

405-2

Opportunity GRI 406

Diversity of governance bodies and employees Ratio of basic salary and remuneration of women to

104, 108 104

men 406-1

Incidents of discrimination and corrective actions taken

113

408-1

Operations and suppliers at significant risk for

113

Non-discrimination GRI 408 Child Labor GRI 409 Forced or

incidents of child labor 409-1

Compulsory Labor GRI 411 Rights of

411-1

Indigenous Peoples GRI 413

Operations and suppliers at significant risk for

113

incidents of forced or compulsory labor Incidents of violations involving rights of indigenous

113

peoples 413-1

Local Communities

Operations with local community engagement, impact

114-119

assessments, and development programs 413-2

Operations with significant actual and potential nega-

113

tive impacts on local communities GRI 414

414-1

Supplier Social

414-2

Assessment

New suppliers that were screened using social criteria

113

Negative social impacts in the supply chain and

113

actions taken

218


รายงานประจํ า ปี 2560

GRI Standard Title

Disclosure

Disclosure Title

Page

Number GRI 415

415-1

Political contributions

None www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่

Public Policy

ความยั่งยืน/การกํากับดูแลกิจการ ที่ดี/นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ หัวข้อนโยบายการมีส่วนร่วม ทางการเมือง

GRI 416 Customer

416-1

Health and Safety

Assessment of the health and safety impacts of

93

product and service categories 416-2

Incidents of non-compliance concerning the health

None

and safety impacts of products and services GRI 417 Marketing

417-1

and Labeling

Requirements for product and service information and labeling

www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ ความยั่งยืน/การกํากับดูแล กิจการที่ดี/นโยบายและแนวทาง ปฏิบัติ/หัวข้อ นโยบายด้านการ ประชาสัมพันธ์และการตลาด

417-2

Incidents of non-compliance concerning product and

93

service information and labeling 417-3

Incidents of non-compliance concerning marketing

None

communications GRI 418 Customer

418-1

Privacy GRI 419 Socioeconmic

Substantiated complaints concerning breaches of

None

customer privacy and losses of customer data 419-1

Non-compliance with laws and regulations in the

None

social and economic area

บทที่ 37

Compliance

219


Principles Human rights

Page 153

Principle 1: Businesses should support and respect the protection of internationally proclaimed human rights Principle 2: Business should make sure

www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การ

that they are not complicit in human rights

กํากับดูแลกิจการที่ดี/นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ หัวข้อ นโยบายการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิ

abuses

มนุษยชน Labor

107

Principle 3: Businesses should uphold the freedom of association and the effective recognition of the right to collective bargaining Principle 4: The elimination of all forms of

www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การ

forced and compulsory labor

กํากับดูแลกิจการที่ดี/จรรยาบรรณ/จรรยาบรรณ และแนวทางปฏิบัติของคู่ค้า/หัวข้อการไม่บังคับใช้ แรงงาน

Principle 5: The effective abolition of child

Same as principle 4

labor Principle 6: The elimination of discrimination

www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การ

in respect of employment and occupation

กํากับดูแลกิจการที่ดี/นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/ หัวข้อ นโยบายการเคารพกฎหมายและหลักสิทธิ มนุษยชน

Environment

Principle 7: Businesses should support a

115

precautionary approach to environmental challenges Principle 8: Undertake initiatives to promote

125-126

greater environmental responsibility Principle 9: Encourage the development

121-122, 124, 129

and diffusion of environmentally friendly technologies Anti-corruption

Principle 10: Businesses should work against

www.cpn.co.th/การพัฒนาสู่ความยั่งยืน/การ

corruption in all its forms, including extortion

กํากับดูแลกิจการที่ดี/นโยบายและแนวทางปฏิบัติ/

and bribery

หัวข้อ นโยบายต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชั่น

220




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.