Time's Up concert

Page 1

Conservatory of Music Rangsit University presents

TIME’S UP

Senior Percussion Recital by

Aretid Poltongsatid & Noppakit Boontanondha

Wednesday 18th May 2016 at 7 PM Sur yadhep Music Sala, Rangsit University



รายการแสดง

Programme

Variations on Dowland’s Lachrimae Pavana Keiko ABE (b. 1937) by Noppakit Boontanonda

KÍM

Áskell MÁSSON (b. 1953) by Aretid Poltongsatid

Rhythmic Caprice

Leigh Howard STEVENS (b. 1953) by Noppakit Boontanonda

March from Eight Piece for Four Timpani Elliott CARTER (1908 - 2012) by Aretid Poltongsatid - INTERMISSION -

Variations on Japanese Children’s Songs Keiko ABE (b. 1937) by Aretid Poltongsatid

Canned Heat

Eckhard KOPETZKI (b. 1956) by Noppakit Boontanonda

Feel the Sunlight

Ludwig ALBERT (b. 1966) by Aretid Poltongsatid

Prism Rhapsody II

Keiko ABE (b. 1937) by Aretid Poltongsatid & Noppakit Boontanonda 1


Variations on Dowland’s Lachrimae Pavana

Kieko Abe

Keiko Abe เกิดเมื่อวันที่ 18 เมษายน 1937 ปัจจุบัน อายุ 79 เป็นทั้งนักมาริมบา และนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่นได้น�ำเพลง Lachrimae pavana ของ John Dowland มาเรียบ เรียงให้เป็นส�ำหรับมาริมบา John Dowland (1563 - 1626) เป็นชาว อังกฤษ เกิด ณ กรุงลอนดอน เป็นนักประพันธ์ เพลงนักเล่น Lute และนักร้องในยุคเรเนซอง ต่ อ มาได้ เ ดิ น ทางไปกรุ ง ปารี ส ในฐานะผู ้ ติ ด ตามเอกอั ค ราชฑู ต อั ง กฤษไปประจ� ำ ที่ ฝรั่งเศส นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันแคทอ ลิค เขาจึงได้เรียนรู้วิชาดนตรี เพลงส่วนใหญ่ที่ Dowland แต่งนั้นเป็นเพลงที่มีพื้นฐานมา จากการเต้น ส�ำหรับบทเพลง Lachrimae Pavana หรือ Flow My Tears ซึ่งท�ำนอง และเนื้ อ ร้ อ งเป็ น ที่ รู ้ จั ก กั น อย่ า งกว้ า งขวาง เรียกได้ว่าเป็นเพลงยอดนิยมของยุคนั้น และ บทเพลงนี้ ยั ง มี อิ ท ธิ พ ลกั บ นั ก แต่ ง เพลงคน อื่นๆ ในทุกยุคสมัย

2

KÍM

Áskell Másson

Áskell Másson นักประพันธ์เพลงชาว ไอซ์แลนด์ผลงานของเขาเป็นบทเพลงที่รู้จัก กันดีในหมู่ผู้เล่น Percussion และออกแสดง โดยนัก Percussion ระดับโลก อาทิ Dame Evelyn Glennie, Gert Mortensen , Markus Leoson, the Swedish percussion group, Kroumata และ วง PercaDu บทเพลง KÍM ประพันธ์ขึ้นในปี 2001 KÍM หมายถึง เชื้อโรคหรือตัวอ่อนประพันธ์เพลงนี้ขึ้นเพื่อ อธิบายการเริ่มต้นของการเจริญเติบโตจนกก ลายเป็นรูปแบบใหม่เหมือนกับพืชหรือสิ่งมี ชีวิตต่าง ๆ ผลงานนี้เกิดขึ้นจากความคิดต่อ เนื่องที่ต้องการท�ำให้กลองสแนร์เป็นเครื่อง ดนตรีส�ำหรับแสดงเดี่ยว โดยการใช้การผลิต เสียงในแบบต่าง ๆ บนกลองสแนร์และใช้ เทคนิค Polyrhythms (เป็นการใช้จังหวะที่ แตกต่ า งกั น มากกว่ า สองจั ง หวะขึ้ น ไปและ ส่วนใหญ่จะเป็นจังหวะที่ไม่ลงตัว เพื่อสร้าง ความโด่ดเด่นให้กับท่อนหรือบทเพลง) ซึ่งไม่ ได้เกิดขึ้นในงานก่อนคือ PRÍM และ KONZERTSTÜCK


Rhythmic Caprice

Leigh Howard Stevens

Leigh Howard Stevens เกิดเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 1953 ปัจจุบัน อายุ 53 ปี เป็นนักแต่ง เพลงและนักมาริมบา เขาเริ่มเล่นมาริมบา ตั้งแต่สมัยมัธยม จนในปัจจุบันเขาเป็นหนึ่งใน นักมาริมบาที่ชื่อเสียง เป็นที่รู้จักกันทั่วโลก และยังเป็นน�ำการจับไม้ แบบ Musser grip มาพัฒนาต่อยอด จนเป็นที่รู้จักกันในนาม Stevens grip ปัจจุบันเขาได้ถูกบรรจุอยู่ใน Hall of Fame ของ Percussive Art Society ส�ำหรับเพลง Rhythmic Caprice หมาย ถึง ส่วนโน้ตที่เปลี่ยนไปมาอย่างกระทันหัน อัตราจังหวะ ของเพลงในตอนแรกจะสลับกัน ไปมาระหว่างอัตราจังหวะ 4/4,6/8 อัตราส่วน 7/8 เพิ่มมาในบางท่อน บทเพลง ประกอบไปด้วยคอร์ด E minor และ A minor หากดูแล้วจินตานาการตามจะ เหมือนเราฟังเพลง Hip-Hop นอกจากนี้ยังมี การใช้เทคนิคใหม่ๆ เช่นการใช้ก้านไม้ตีลงไป บน คีย์ของมาริมบาสลับไปมากับการใช้หัวไม้

March from Eight Piece for Four Timpani Elliott Carter

Elliott Carter นักประพันธ์เพลงชาว อเมริกันศึกษาการประพันธ์เพลงกับ Nadia Boulanger ได้รับรางวัล Pulitzer Prize ถึง 2 ครั้ง รูปแบบการประพันธ์เพลงของ Carter เน้นไปที่การประพันธ์แบบ Atonality และ การใช้อัตราส่วนที่ซับซ้อน บทเพลง Eight Piece for Four Timpani เป็นผลงานที่รวบรวมบทเพลงสั้น ๆ ส�ำหรับ Timpani 4 ใบ บทเพลงนี้ถูกประพันธ์ขึ้นในปี 1950 เพียง 6 เพลงและเพิ่มอีก 2 เพลงในปี 1966 โดยได้รับความช่วยเหลือจาก Jan Williams ประพันธ์เพลงนี้ขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับ การใช้ ก ารการเปลี่ ย นอั ต ราความเร็ ว ของ จังหวะโดยใช้โน้ตในคอร์ดเพียง 4 ตัว บทเพลงนี้ประกอบไปด้วยเพลงสั้นๆ 8 เพลง ตามล�ำดับ ดังนี้ Saeta, Moto Perpetuo, Adagio (1966), Recitative, Improvisation, Canto (1966), Canaries และ March ส�ำหรับ March ใช้เทคนิคการประพันธ์ แบบ Counterpoint อยู่ในจังหวะดนตรีแบบ March ซึ่งจะถูกบรรเลงโดยใช้ส่วนปลายของ ไม้ แ ละขณะที่ มื อ อี ก ข้ า งบรรเลงในอั ต รา จังหวะที่เร็วกว่า ประพันธ์เพลงที่เพื่อมอบให้ กับ Saul Goodman นักทิมปานี ประจ�ำวง New York Philharmonic 3


Canned Heat

Eckhard Kopetzki

Variations on Japanese Children’s Songs

Kieko Abe

Keiko Abe ประพันธ์เพลง Variation on Japanese Children’s Songs ในปี 1982 โดยใช้ ค วามทรงจ� ำ วั ย เด็ ก ในช่ ว งก่ อ น สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งน�ำเอาแนวท�ำนอง หลักของเพลงมาจากเพลงพื้นบ้านของญี่ปุ่นที่ ชื่อ Toryanse และ Teru Teru Bozu Toryanse กล่าวถึงวันเกิดครบรอบ 7 ขวบซึ่งเด็กน้อยก�ำลังเดินทางไปขอพรวันเกิด ที่ศาลเจ้าชินโตซึ่งหนทางที่เดินทางไปนั้นเต็ม ไปด้วยอันตราย Teru Teru Bozu คือตุ๊กตาตัวเล็กๆที่ท�ำ มาจากเสื้อผ้าเก่าๆคล้ายๆกับตุ๊กตาที่ท�ำจาก กระดาษทิชชู่ที่เด็กในอเมริกาท�ำเล่นกันใน ช่วง Halloween ตุ๊กตา Teru Teru Bozu นั้นท�ำขึ้นเพื่อขอให้อากาศแจ่มใสหรือที่คน ไทยรู้จักกันในชื่อตุ๊กตาไล่ฝน 4

Eckhard Kopetzki เกิดเมื่อปี 1956 อาศัยอยู่ ณ ประเทศเยอรมนีศึกษาที่ University of Osnabruck และ Hochschule fur Musik เป็นนักประพันธ์และนักเพอคัสชั่น ส�ำหรับเพลง Canned Heat เป็นเพลงที่ ชนะรายการ Pasic (Percussive Art Society International Convention) 2002 เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันดีในแวดวงนัก Solo Percussion เพราะเป็นเพลง MultiplePercussion จะประกอบไปด้วยเครื่องดนตรีหลาย ชนิดซึ่งผู้ประพันธ์ได้ระบุเครื่องดนตรีเพื่อไว้ อย่างชัดเจน โดยมีเครื่องดนตรีดังต่อไปนี้ Bongos, Can (ถังอลูมิเนียมหรือเหล็ก), Metal (เหล็ก), Tambourin และ Toms


Prism Rhapsody II Kieko Abe

Feel the Sunlight

Ludwig Albert

Ludwig Albert นักมาริมบาชาวเบลเยี่ยม ศึกษาการเล่นมาริมบากับ Keiko Abe ตั้งแต่ ปี 1996 และร่วมแสดงคอนเสิร์ตด้วยกันบ่อย ครั้ง ส�ำหรับบทเพลง Feel the Sunlight นั้น ได้ประพันธ์ขึ้นในปี 2011 เพื่อมอบให้กับ Chin Cheng Lin หลังจากที่ถูกร้องขอให้ ประพันธ์ เขาเริ่มวางแนวคิดเกี่ยวกับประเทศ เบลเยี่ยมว่าในแต่ละปีนั้นจะมีวันที่แสงแดด จ้าอยู่ประมาณ 90 วันเท่านั้น แต่ส่วนใหญ่จะ มี ฝ นตกจึ ง ท� ำ ให้ มี ผื น ป่ า และธรรมชาติ ที่ สวยงาม ผู้คนมักจะเพลิดเพลินในวันที่มี แสงแดดจ้า และผู้คนส่วนใหญ่มักเดินทางไป ยังตอนใต้ของยุโรประหว่างวันหยุดในช่วงฤดู ร้อนเพื่อพักผ่อนเพลิดเพลินกับแสงแดด Chin Cheng Lin มักจะเล่าให้เขาฟังบ่อยๆ ถึงสมัย ที่ เ รี ย นที่ อ อสเตรเลี ย ว่ า สภาพอากาศใน ออสเตรเลียมีอากาศที่ดีอบอุ่นและมีแสงแดด อ่อน ๆ เขาจึงได้รับแรงบันดาลใจและให้ชื่อ เพลงนี้ว่า Feel the Sunlight

Prism Rhapsody ประพันธ์ขึ้นในปี 1995 โดยน�ำออกแสดงกับวงครั้งแรกโดย Royal Northern Conllege of Music Wind Ensemble ณ กรุงโตเกียวประเทศญี่ปุ่น ต่อมา ใน Keiko Abe ได้น�ำเพลงของตนมาเรียบ เรียงใหม่ส�ำหรับ Piano และวง Orchestra โดยที่น�ำเค้าโครงมาจากเพลง Prism for Solo Marimba และ Prism Rhapsody for Wind Ensemble หลังจากน�ำออกแสดงก็มี เสียงตอบรับที่ดีจากผู้ชม ในปี 2001 Keiko Abe จึงได้ท�ำการเรียบเรียงเพลง Prism Rhapsody อีกครั้งโดยที่ครั้งนี้ใช้ชื่อว่า Prism Rhapsody II ส�ำหรับมาริมบา 2 ตัว ส�ำหรับ การเรียบเรียงครั้งนี้ Keiko Abe ได้แต่งเติม สีสันเข้าไปในมาริมบาแนวที่ 2 โดยใน บทเพลงจะเกิ ด การสวนทางกั น ของแนว ท�ำนองระหว่างมาริมบาทั้ง 2 ตัวและยัง ออกแบบให้มีระบบเสียงที่มีการกระจายออก ไปรอบทิศทางโดยที่มาริมบาตัวที่ 1 ท�ำนอง อยู่ที่มือขวาและมาริมบาตัวที่ 2 ท�ำนองจะอยู่ ที่มือซ้ายนอกจากนี้ยังมีการใช้เทคนิคการเล่น แบบ 2 ไม้ 4 ไม้และ 6 ไม้เพื่อให้ผู้แสดงได้ แสดงเทคนิ ค ของตนออกมาอย่ า งเต็ ม ประสิทธิภาพ ส�ำหรับบทเพลง Prism for Solo Marimba ถูกน�ำมาเรียบเรียงใหม่หลายครั้ง เช่น Prism Rhapsody for Two Marimba and Wind Ensemble , Prism for Two Marimba, Conversation in the Forest และ Prism Rhapsody I เป็นต้น 5


6


อาทิตย์ พลทองสถิต Aretid Poltongsatid

Soloist

จ่าอากาศเอก อาทิตย์ พลทองสถิต เริ่ม เล่นดนตรีครั้งแรกที่วงดุริยางค์ของโรงเรียน มหาไถ่ศึกษา จ. เลย ภายใต้การควบคุมของ อาจารย์สงวนศักดิ์ พลดี หลังจากนั้นได้เข้า รับการศึกษาที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารอากาศ ในปี พ.ศ. 2549 เอกเครื่องกระทบ ภายใต้ การสอนของ เรีออากาศตรีสินชัย สมพงษ์ และ อาจารย์พนัส ต้องการพาณิช หลังจาก จบการศึกษา ได้เข้ารับราชการในต�ำแหน่ง นักดนตรีแผนกโยธวาทิต ประจ�ำกองดนตรี กองดุริยางค์ทหารอากาศ และในปี พ.ศ. 2555 ได้รับทุนความสามารถพิเศษด้าน ดนตรีจากมหาวิทยาลัยรังสิต ศึกษาในสาขา การแสดงดนตรี เอกเครื่องกระทบ ภายใต้ การสอนของอาจารย์ธนสิทธิ์ ศิริพานิชวัฒนา และ อาจารย์ เผ่าพันธ์ อ�ำนาจธรรม ในระหว่างที่ศึกษาได้เข้าร่วมการแข่งขัน Thailand International Wind Ensemble Competition (TiWEC) 2012 ได้รับรางวัล ชนะเลิ ศ ถ้ ว ยพระราชทานพระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และรางวัล

รองชนะเลิศ ถ้วยรางวัลจากมหาวิทยาลัย มหิดล (TiWEC 2013) ปี พ.ศ. 2557 ทั้งยัง เป็นสมาชิกวง Zenith Percussion Ensemble ในการเข้าร่วมแข่งขัน World Music Contest 2013 ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้ รับรางวัลชนะเลิศชนะเลิศล�ำดับที่ 3 เหรียญ ทองเกียรติยศ หลังจากนั้นได้รับคัดเลือกให้ เข้าร่วมกับ Silpakorn Summer Music School โดยมีอาจารย์ฮิโคทาโร ยาซากิ (Hikotaro Yazaki) เป็นวาทยกร และ Rangsit Wind Symphony Orchestra ภายใต้ การน�ำของ Prof. Jan Van der Roost และ อาจารย์ วานิช โปตะวนิช และเคยถูกคัด เลือกให้เข้าร่วม Master Class กับ Prof. Ludwig Albert , Dr. Gifford Howard และ อาจารย์ Seung Myeong Oh ขณะนี้ ก� ำ ลั ง ศึ ก ษาในระดั บ ปริ ญ ญาโท คณะศึกษาศาสตร์ สาขาหลักสูตรและการ สอน มหาวิทยาลัยรังสิต และคาดว่าใน อนาคตจะศึกษาต่อทางด้านดนตรีเพื่อที่จะ พัฒนาศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น

7


8


ณพกิตติ์ บุญตานนท์ Noppakit Boontanondha

Soloist

ณพกิตติ์ บุญตานนท์ เริ่มเรียนกีต้าร์เมื่อ อายุ 8 ปี และเรียนขับร้องเมื่ออายุ 9 ปี กับอา จารย์บุญญา เรืองเดช ที่สถาบันดนตรีสยาม กลการ พออายุได้ 10 ปี ได้เข้าวงดุริยางค์ของ โรงเรี ย นสาธิ ต มหาลั ย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒ ประสานมิตร (ฝ่ายประถม) โดยศึกษากับ อาจารย์โยธิน หวังทรัพย์ทวี ต่อมาเมื่ออายุได้ 13 ปีได้เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนสาธิตมหาลัย ศรี น คริ น ทรวิ โ รฒปทุ ม วั น และได้ เ ข้ า เป็ น สมาชิกวงวงดุริยางค์ของโรงเรียนในต�ำแหน่ง เครื่องกระทบโดยศึกษากับอาจารย์ วิธาน ปลดเปลื้อง, อาจารย์สิทธิพร วิสุทธิแพทย์และ อาจารย์วรงค์ เจนพิทักษ์พงศ์ หลังจากนั้นได้ ศึกษาเครื่องกระทบอย่างจริงจังกับอาจารย์อ นิรุทธ มณีโรจน์ฉายและในปี 2555 ได้เข้า ศึกษาต่อที่ วิทยาลัยดนตรีมหาวิทยาลัยรังสิต สาขาการแสดง เอกเครื่องกระทบ โดยศึกษา กับอาจารย์ธนสิทธิ์ ศิริพานิชวัฒนา และ อาจารย์เผ่าพันธ์ อ�ำนาจธรรม ในปี 2556 ได้ รับทุนการศึกษาความสามารถพิเศษทางด้าน ดนตรีของวิทยาดนตรีมหาวิทยาลัย ขณะที่ก�ำลังศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมการ แข่งขันรายการ World Music Contest

2013 ประเภท Percussion Ensemble กับ วง Zenith Percussion Ensemble ณ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้รับรางวัลรองชนะ เลิศล�ำดับที่ 2 ศึกษาการประพันธ์เพลงกับ อาจารย์ บุญรัตน์ ศิริรัตนพันธ และอาจารย์ สุ ระศักดิ์ อุตสาห์ ศึกษาการประพันธ์เนื้อร้อง กับอาจารย์แมนสรวง สุรางครัตน์ และ ศึกษา การขับร้องกับอาจารย์ปาริฉัตร อยู่ประเสริฐ และเป็นนักศึกษาระดับปริญญาโท คณะ ศึกษาศาสตร์ สาขาหลักสูตรและการสอน ปัจจุบันเป็นสมาชิกวง Zenith Percussion Ensemble, Rangsit Symphony Orchestra, Rangsit Wind Symphony Orchestra และ Princess Galyani Vadhana Youth Orchestra เมื่อจบการศึกษาในระดับปริญญาตรีและ ปริญาญาโทที่มหาวิทยาลัยรังสิตแล้ว มีความ ตั้ ง ใจจะไปศึ ก ษาด้ า นดนตรี ต ่ อ ในระดั บ ปริญญาโทที่ต่างประเทศ และมีความตั้งจะ เป็นศิลปินและแต่งเพลง Pop และน�ำเครื่อง ดนตรีอย่าง Marimba และ Vibraphone มา ใส่ในบทเพลงเพื่อเพิ่มสีสันใหม่ๆให้กับวงการ เพลงไทย 9


ภูมิพัฒน์ ชัยบุรัมย์ Phumiphat Chaiburum Conductor

จ่าอากาศเอก ภูมิพัฒน์ ชัยบุรัมย์ เริ่ม เรียนดนตรีตั้งแต่อายุ 12 ปี กับ อาจารย์จรัญ เรืองทอง ที่โรงเรียนสายปัญญารังสิต เมื่อ อายุ 14 ปี ได้เริ่มเรียนทรัมเป็ท กับ นาวา อากาศตรี อารมณ์ สิงห์ทองค�ำ และ พันจ่า อากาศเอก วิเซษฐ์ เกิดยอด หลังจากนั้นได้ เข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารอากาศ โดยมี เรืออากาศตรี กัสกร บัวแก้ว และ พันจ่าอากาศเอก อภิศักดิ์ อ่อนน้อม เป็นผู้ สอน เมื่อศึกษาอยู่ในระดับชั้นปีที่ 3 ของ โรงเรี ย นดุ ริ ย างค์ ท หารอากาศได้ มี โ อกาส เรียนการอ�ำนวยเพลง และการประพันธ์เพลง กับ เรืออากาศเอก พิรุณ เจ๊ะวงศ์ ในระหว่าง ศึกษาอยู่ที่โรงเรียนดุริยางค์ทหารอากาศได้ รับการคัดเลือกให้เป็นสมาชิกวงเยาวชนไทย ในปี 2552 และได้เข้าร่วมแข่งขันในงาน Thailand Trumpet Competition 2009 ต่อมา ภูมิพัฒน์ ได้เข้าศึกษาต่อที่ วิทยาลัยดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต และได้ ศึกษาการบรรเลงทรัมเป็ท และการอ�ำนวย เพลงอย่างจริงจังกับ อาจารย์ วานิช โปตะ วนิช ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ ภูมิพัฒน์ ได้ ควบคุมวง Royal Thai Air Force Wind Symphony เข้าร่วมประกวดในงานต่างๆ อาทิเช่น Rangsit Music Competition 10

2015 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 Thailand International Royal Trophy Band Competition 2016 Open Division ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ปัจจุบัน ภูมิพัฒน์ ก�ำลังศึกษาอยู่ วิทยาลัย ดนตรี มหาวิทยาลัยรังสิต ชั้นปีที่ 4 สาขาการ แสดงดนตรี เครื่องมือ ทรัมเป็ท และก�ำลัง ศึกษาระดับปริญญาโท สาขาหลักสูตรและ การสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย รังสิต ควบคู่กันไป


วงออร์เคสตรา

Orchestra Members 1st Violin

ฉัตรชัย สุขนิยม กุลิสรา แสงจันทร์ อุษา โชติแช่มช้อย ธนพิชญ์ มหาสุข ชานน มีแสงนิล จุฑามาศ เบญจมาลา 2nd Violin

วรรณิกา ควรขจร ภัทรมณี สุขสุผล ณัฐพล พลอยประดิษฐ์ เพชรอุษา คูวัฒนะศิริ Viola

สราวุฒิ ผลาชีวะ ธนพร ราชสิงโห นิธิวดี ขาวสอาด สุกาญจน์ นาคทอง Cello

คุณัชญ์ เฉลิมพรพงศ์

Andreia Claudette Buga-ay

ชัยมงคล วิริยะสัจจาภรณ์ นนทพัทธ์ ชื่นวาริน Double Bass

สะหัสวัฒน์ ศรีโยธี สรีญารักษ์ กิจเจริญผลทวี

Piccolo

ธีรัตม์ เกตุมี Flute

ชัชพล เจียมจรรยง พัทธนันท์ สิงห์วนาวงศ์ Oboe

ณิชาภัทร ศิริพจนากุล คิจจาริน พงคพนาไกร Clarinet

Trombone

กิตติภัต ระตินัย สุภาวดี กาหลง วิทวัส ปันแก้ว Tuba

พิศีล ฉั่วสุวรรณ Piano

กันต์ ล้อมสมบูรณ์ Timpani

นิตินันท์ จันทร์รุ่งศรี พงศ์วิสิษฐ์ สิริวารินทร์

ศรัณย์พร สุวรรณ

Bassoon

ศุภเสกข์ แก้วช่วย สิริยาภรณ์ มณีสุขศรี ธนกร บุญมาสืบ

ประทีป นพกิจ อภิชาติ เดชะโสภณ

Percussion

French Horn

เจ้าพระยา มาสง พงษ์พันธ์ เลี้ยงถนอม ไอซน์ซี่ เจริญพรพจน์ จุฑามาศ ไพบูลย์กุลวงษ์ Trumpet

พศุตม์ ดวงจันทร์ ฉัตรปพน ชุ่มสวัสดิ์ วศิน ปาณศรี

11


กิตติกรรมประกาศ Acknowledgement

• คุณพ่อ คุณแม่ และครอบครัว ที่ส่งเสริมและสนับสนุนการเล่นดนตรีของพวกเรามาโดยตลอด • ดร. อาทิตย์ อุไรรัตน์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยรังสิต ที่มอบทุนการศึกษาในระดับปริญญาตรี • ผศ. ดร. เด่น อยู่ประเสริฐ คณบดีวิทยาลัยดนตรี ที่สนับสนุนในการไปแข่งขันต่างประเทศและ สนับสนุนกิจกรรมคอนเสิร์ตตลอดระยะเวลา 4 ปี • อาจารย์ธนสิทธิ์ ศิริพานิชวัฒนา ที่อบรม สั่งสอน ดูแลตลอดระยะเวลา 4 ปี ไม่ว่าจะเป็นใน เรื่องของการเรียน การใช้ชีวิต และทักษะการเล่นดนตรี • อาจารย์สุระศักดิ์ อุตสาห์ อาจารย์ที่ปรึกษา ที่คอยช่วยเหลือ แนะนำ� และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ มาโดยตลอด • สมาชิกวง Zenith Percussion Ensemble ทุกท่านที่เป็นกำ�ลังใจ ให้ความรู้ ความช่วยเหลือ ในด้านต่าง ๆ • สำ�นักงานเลขานุการวิทยาลัยดนตรี ที่คอยช่วยเหลือ และอำ�นวยความสะดวกในทุก ๆ ด้าน • บริษัท Percussion House ที่ให้การสนับสนุนเครื่องดนตรีดีๆมาโดยตลอด • กองดุริยางค์ทหารอากาศ • เพื่อนนักดนตรี และคอนดักเตอร์ ที่มาร่วมบรรเลงในวันนี้ • พี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ RSCM ทุกคนที่เป็นเพื่อนร่วมเดินทางมาตลอดระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา • สุดท้ายนี้คอนเสิร์ตของเราจะเกิดขึ้นไม่ได้หากปราศจากผู้ชมผู้ฟังทุกท่านในวันนี้ ดังนั้นจึง ขอขอบคุณผู้ชมผู้ฟังทุกท่านอย่างจริงใจครับ

12




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.