ภาพพระราชทาน
ทรงพระเจริญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า คณะผู้จัดงาน คณะทำ�งานและนักแสดง โครงการจัดแสดงบัลเล่ต์-โอเปร่าเฉลิมพระเกียรติ
“สุริโยทัย”
Message from Mrs. Pusadee Tamthai 2
Deputy Governor of Bangkok
Acting Governor of Bangkok
The unique arts, history and culture of Thailand have been and continue to be significant sources of national pride and inspiration to the people of Thailand. They contribute immeasurably to growth and development of Thailand, as well as to the City of Bangkok. The Bangkok Metropolitan Administration (BMA) recognises the need to promote and conserve the stories of the past and supports of number of cultural endeavors that are the foundations of our Thai heritage. When these stories of the past are presented through drama, with the addition of movement and song, their impression becomes particularly memorable. In the story of Suriyothai, the Lessons of perseverance and determination in the face of adversity serve as a model to understand the nation’s history not only for the current generation, but for generations to come. The story helps to inspire people to be united in their Love for their nation and to join together to work for a progressive and secure future. The 3rd Suriyothai Ballet-Opera is being presented in honour of the celebrations of the occasion of Her Majesty, The Queen’s lh Cycle Birthday, 12 August of this year in gratitude for the bountiful generosity of Her Majesty. Her Majesty’s tireless work has resulted in the multitudinous betterment of the Thai people. She has dedicated her power, wisdom and resources to help create peace and prosperity for the people of Thailand. This production commemorates the heroism, bravery and sacrifice of Thai ancestors who united to maintain the sovereignty and independence of Thailand. Knowledge of these events stimulates each generation to be conscious of their cultural heritage. Further, it inspires a love for and pride in their nation. I would Like to express my fullest appreciation to the Bangkok Opera Foundation for bringing us this production of Suriyothai Ballet-Opera and I wish them the greatest of blessings, good fortune and success for this inspiring production.
Mrs. Pusadee Tamthai Deputy Governor of Bangkok Acting Governor of Bangkok
Presented by
3 a Ballet-opera
by Somtow Sucharitkul
สเตซี แท็พเแพ็น • วินิตา โลหิตกุล สาโรช โรจน์ประเสริฐกูล • กัมปนาท เรืองกิตติวิลาส Stacey Tappan • Winita Lohitkul Saroch Rochprasertgul • Kampanath Ruangkittivilas
ร่วมด้วย with
คณะนักร้องประสานเสียงสยามออร์ฟิอุส • วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค Siam Orpheus Choir • Siam Philharmonic Orchestra
ภูวเรศ วงศ์อติชาติ
Phuwarate Wongartichart incooperation with
ออกแบบลีลาระบำ� Choreographer
สมเถา สุจริตกุล
Somtow Sucharitkul
กำ�กับการแสดง Director
ทฤษฎี ณ พัทลุง
Trisdee na Patalung
อำ�นวยเพลง Conductor วันศุกร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. 255๙ เวลา ๒๐.๐๐ น. วันเสาร์ที่ ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. 255๙ เวลา 14.๐0 น. และ ๒๐.๐0 น. วันอาทิตย์ที่ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. 255๙ เวลา ๒๐.๐0 น. May 27, 2016 • 8:00 pm May 28, 2016 • 2:00 pm and 8:00 pm May 29, 2016 • 8:00 pm
ณ หอประชุมใหญ่ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย at Thailand Cultural Centre, Main Hall
เรื่องย่อ | Synopsis
4
สุริโยทัย
บัลเล่ต์ - โอเปร่า
องก์ที่หนึ่ง
องก์ที่สอง
ฉากหนึ่ง
ฉากสี่
ชาวเมื อ งระส�่ ำ ระสายเนื่ อ งจากการปลง พระชนม์กษัตริย์เพื่อชิงราชบัลลังก์เพิ่งผ่านพ้น ไป จึงมาชุมนุมเพื่อขอให้พระเฑียรสละละสมณ เพศ และขึ้นครองกรุงอยุธยา พระสุริโยไท ขับร้องเพลงวิงวอนพระสวามีให้ ขึ้นครองราชย์ตามค�ำเรียกร้องของประชาชน พระเฑียรลาสิขาบท เปลี่ยนเครื่องทรงจาก พระภิกษุเป็นกษัตริย์
ดนตรี “นครร้าง” อยุธยายามศึกกลายเป็น นครร้างที่เปล่าเปลี่ยววังเวง ทหารลาครอบครัว ไปรบในบรรยากาศแห่งความโศกเศร้า พระ สุริโยไทช่วยพระสวามีทรงเครื่องรบ แล้วเปลี่ยน เครื่องทรงตามเสด็จพระสวามีสู่สมรภูมิ
บริเวณหน้าโบสถ์ กรุงศรีอยุธยา
ฉากสอง
ท้องพระโรงพระเจ้าตะเบงชเวตี้
ท่ามกลางความตื่นเต้นที่ม้าใช้เข้ามารายงาน ว่าอยุธยาก�ำลังมีปัญหาภายใน พระเจ้าตะ เบงชเวตี้ฮึกเหิมยิ่งนักเนื่องจากเป็นโอกาสที่จะ ได้ล้างแค้นและปราบอยุธยาให้ราบคาบ (ระบ�ำ ตะเบงชเวตี้พิโรธ) น�ำเชลยไทยมาทรมาน แล้ว เตรียมทัพเข้าต่อตีอยุธยา ฉากสาม
ท้องพระโรงสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ทูตต่างชาติจัดการแสดงระบ�ำนานาชาติหน้า พระที่นั่ง เป็นที่ขบขันและล้อเลียนของชาวไทย ความสนุกสนานถูกขัดจังหวะด้วยข่าวกษัตริย์ พุ ก ามเคลื่ อ นทั พ มาประชิ ด ซึ่ ง ท� ำ ความตื่ น ตระหนกให้ชาวอยุธยาเป็นล้นพ้น
บริเวณวัด
ฉากห้า
สมรภูมิ
ถ่ายทอดโดยระบ�ำหลากลีลา แสดงถึงการ เข่นฆ่า ความโหดเหี้ยมสูญเสีย และการสู้รบบน หลังช้างของสองกษัตริย์ กษัตริย์สยามเพลี่ยงพล�้ำ นักรบนิรนามจึงไส ช้างเข้าขวางและถูกฟันสะพายแล่งเสียชีวิตบน หลังช้าง ฝ่ายข้าศึกระส�่ำระสายกระจัดกระจาย ฉากหก
บริเวณหน้าโบสถ์ กรุงศรีอยุธยา
ชาวอยุธยารอฟังข่าวศึกด้วยลางสังหรณ์อัน น่าระทึกใจ ชาวต่างชาติขับร้องเพลงแห่งความ โศกเศร้าเสียดาย พระมหาจักรพรรดิทรงช้างน�ำ พระศพพระสุริโยไทท่ามกลางความโศกเศร้าสุด ประมานของปวงชนที่พร้อมใจกันแซ่ซ้องยอพระ เกี ย รติ ย อดวี ร สตรี ผู ้ ท รงสละพระชนม์ ชี พ เพื่ อ ประเทศชาติ พระสุริโยไทเสด็จสู่สวรรคาลัย แต่วีรกรรม แห่งความเสียสละและความรักอันยิ่งใหญ่ที่มีต่อ ชาติบ้านเมืองจะคงอยู่คู่ฟ้าดิน …
โดย สมเถา สุจริตกุล | แปลและเรียบเรียง โดย ถ่ายเถา สุจริตกุล by Somtow Sucharitkul | Translated by Thaithow Sucharitkul
Suriyothai a Ballet-opera ACT ONE
ACT TWO
Scene One
Scene Four
The people are in chaos in the opening, dancing their fear and confusion because of the recent assassinations and changes of the ruling house of Ayuthaya. Noblemen enter … they dance an energetic dance, trying to persuade Prince Thian to come out of the temple and assume the kingship. Suriyothai sings an aria urging the prince to assume the throne. Prince Thian emerges from the temple. He slowly transforms from monk to warrior. At the end the entire crowd falls down and pays homage to him.
The King of Pegu prepares to attack Ayutthaya. The Deserted City…empty of its inhabitants because of the impending battle, the city is beautiful and sad in the dawn. The queen dances a solo.
Outside a Temple in Ayutthaya
Scene Two
The court of Tabenshwehti in Pegu Amid great excitement, messengers come to tell the king that Ayutthaya is in confusion. Tabengshwehti dances a triumphal dance as he realizes that now is the time to take revenge on the people of Siam.
Scene Three
The Throne Room of King Mahachakrapat The French Ambassador presents the latest dances from the court of Versailles, including a chaconne, sarabande, pavane and galliard. The Siamese courtiers are mystified by the dances and improvise their own versions. They are interrupted by the news that the Pegu army is on its way. Panic ensues.
The Deserted City - Burmese March
Scene Five The Battle
The battle represented by dramatic dance sequence. At the climax the rival kings fight on elephants. In a dramatic interruption, a mysterious warrior intervenes to save the king of Ayutthaya and is cut down. The enemy is scattered in confusion. The Death of Suriyothai… The mysterious warrior is revealed to be Suriyothai.
Scene Six
Suriyothai Lives Forever The queen’s funeral procession enters the city of Ayutthaya. The people mourn but their sorrow ends in triumph as they praise the Queen’s immortal heroism, her sacrifice and the power of her love. The voice of the Queen’s spirit is heard from heaven.
5
บทความ | Article by Dr. Surin Pitsuwan
The Heroism of 6
Queen Suriyothai
And Her Relevance to Thailand’s Evolving Role in the Region
Four Hundred and Sixty Five years since Queen Suriyothai of Ayuthaya lost her life in the Battle of the Elephants with the Burmese “King of Muang Prae”, her heroism still reverberates very strongly in the collective consciousness of the Thai people. Hers is considered a supreme sacrifice for the protection of her monarch husband, King Chakkapat, who almost lost his own life in the same battle had it not been for the courageous Elephantine intervention of his beloved Queen. The King of Ayothaya was not quite prepared to do the battle himself, as his royal elephant was only a “substitute” named “Plai Kaew Chakkarat”. He merely thought he would lead a small band of elephants, including his Queen’s, out to “inspect the strength and survey the enemy formation,” according to a Dynastic Chronicle of Ayuthaya. Thus, in that war with the Myanmese/Burmese, the Thai Kingdom was not quite well prepared to engage in a full and ferocious battle that eventually ensued. It is fortuitous that the Opera Siam International, under the direction of Maestro Somtow Sucharitkul, is bringing a new innovative production of “Suriyothai: Ballet-Opera” on to the stage for the enjoyment
of the Thai audience. We can all expect that this will be another musical feast rarely seen on stage anywhere, let alone in Thailand. But this will not be just for mere entertainment. For it comes at a critical juncture in Thailand’s evolution from an ancient civilization into a globalized age. Our rich and varied heritage must be made to serve as a Guide for our journey into the future, full of opportunities and wrought with serious challenges. A new “battle” is now looming close, a “gathering storm” is forming fast, on the horizon as Thailand is preparing herself for a new regional and global transformation into a fierce economic competition. This time the Thai Kingdom cannot afford to be caught “unprepared.” The Thai people must summon all strength from every fiber in their body politic to face this unprecedented challenge. If the ultimate sacrifice of Queen Suriyothai is to be any dearest lesson for us all, it is in the fact that Thailand must be better prepared this time around, and will not get on a “wrong elephant,” not quite suitable for the “battle.” ASEAN will present a tremendous opportunity for the 68 million Thai people in terms of economic benefits, a large
market of 600 plus million consumers, a rich storehouse of natural resources, a large pool of productive labor force and a strong platform to advance Thailand’s own agenda onto the region and the global stage beyond. It will also be full of severe challenges that would put a tremendous pressure and demand on the Thai people who would require better training, a more advanced scientific innovation and technology, more effective governance, better discipline, more efficient bureaucracy, stronger and more transparent public administration and a more visionary, dedicated and responsible leadership at all levels. Thailand will have no “second chance.” Either we prepare ourselves well and engage the region effectively and survive the competition, or we will just go about and coast along as we have been doing in the past several years and lose “the battle” with little hope of recovery ever again. Queen Suriyothai drove her own relatively small size elephant, “Plai Song Suriyakasatr,” to stop the battle-hardened King of Muang Prae from pursuing her royal husband, King Chakkapat. She lost her life in her ultimate service and sac-
7
rifice for “Siam” because she was motivated by the belief that “to lose the King is to lose the Dynasty….. which is the same as losing the sovereignty of Ayuthaya.” The Thai people will do well to draw the lesson from the heroism of Queen Suriyothai, and prepare ourselves fully for the new kind of challenges approaching nearer now. The landscape has already been surveyed, the battle line has already been drawn. All Thais must be “fighting fit” to go on to the regional stage and to survive the formidable challenges on the global landscape. Only with a wise and benevolent leadership, a national unity of purpose, an inspiring common vision to be focused on, a supreme confidence in the righteous Path that our Forefathers have laid down for us, and an unshakable resolve to face the mounting challenges together, only then would the Thai people, as loyal descendants of Queen Suriyothai, be able to survive the “new battle” with our national pride and dignity intact. As for ASEAN as a whole, the saga of Queen Suriyothai can also be very instructive in two ways. Bilateral conflicts leave strong and lingering negative impression on both sides and would take a long time to heal. It would not serve the region well if the ASEAN Member States would still adopt violent means to settle their differences.
Any dispute between any member states will undermine the region’s own security and will erode our bargaining power and chip away confidence of external parties to engage with us. Let us forge a common future together, and not be divided by a bitter past. Let us summon our rich common heritage to weave a new vision of the future for all our peoples. And ASEAN as a group is facing rising challenges from other regions, competing for markets, struggling to find and developing new resources, looking for more investment and working hard to bring about human and social progress. ASEAN needs to be prepared, close ranks, improve our competitiveness, develop our human capital, invest more in science and technological innovation. We cannot afford to go on to the global stage unprepared, getting on “a wrong elephant,” untrained and untested, as if we are going into a battle not fully equipped. The story of Queen Suriyothai being narrated on stage for our enjoyment in the form of ballet and opera will have served its full noble objective if we in the audience would be reminded of these larger and deeper truth of human drama, unfolded in the distant past, but with wisdom very much relevant for us all in the present day.
About the author Dr. Surin Pitsuwan is a longtime Thai politician and 12th Secretary General of the Association of Southeast Asian Nations (ASEAN). He earned a Master of Arts from Harvard University and did research at the American University in Cairo as a scholar of the Institute of Higher Council for Islamic Affairs of Egypt from 1975 until 1977 before returning to Harvard, where he received a Ph.D. in 1982.
บทความ | Article โดย ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์
วีรกรรม 8
สมเด็จพระสุริโยทัย ค�ำว่า วีร มีความหมายตรงตามตัวว่า กล้า หาญ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 จึงให้ความหมายค�ำว่า วีรกรรม ว่า การกระท�ำที่ได้รับยกย่องว่าเป็นความกล้า หาญ หรือ การกระท�ำของผู้กล้าหาญ กระนั้น วีรกรรมของวีรบุรุษ และวีรสตรีในอดีตก็หา ได้รับค�ำนิยมในครรลองเดียวกันไปทั้งหมด วีรกรรมที่ก่อจะได้รับการยกย่องประการใด นั้นขึ้นอยู่กับยุคสมัยของผู้ให้การยกย่องเป็น ส�ำคัญ ในกรณีวีรกรรมสมเด็จพระสุริโยทัย ก็ เป็นเฉกเช่นกัน กล่าวคือวีรกรรมของพระองค์ ได้รับการสรรเสริญและตีความต่างกันไปตาม ยุคสมัย ห ลั ก ฐ า น ส มั ย อ ยุ ธ ย า คื อ พ ร ะ ร า ช พงศาวดารกรุ ง เก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ที่ ช� ำ ระขึ้ น ในสมั ย ของสมเด็ จ พระนารายณ์ มหาราชใน พ.ศ. 2223 หลังการสิ้นพระชนม์ ของสมเด็จพระสุริโยทัย 132 ปี ระบุถึง เหตุการณ์ครั้งนั้นไว้โดยสังเขปว่า ภายหลัง จากที่ ส มเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ เ สวยราช สมบัติได้ 7 เดือน พระยาหงสาปังเสวกี (พระเจ้าหงสาวดีตะเบงชเวตี้) ได้ยกพลมายัง กรุงศรีอยุธยา สมเด็จพระมหาจักรพรรดิจึง เสด็จออกรบศึกหงสา ครั้งนั้น “สมเด็จองค มเหษี แลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระราชบุตรี เสด็จทรงช้างออกไปโดยเสด็จด้วย แลเมื่อได้ รับศึกหงษานั้น ทัพหน้าแตกมาปะทัพหลวง เปนโกลาหลใหญ่ แลสมเด็จพระองคมเหษี แลสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระราชบุตรีนั้นได้ รบข้าศึกถึงสิ้นชนม์กับคอช้างนั้น...” เหตุการณ์สงครามที่เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2091 จนเป็นเหตุให้ต้องเสีย “สมเด็จพระองค มเหษี” และ “สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระราช บุตรี” นับเป็นเหตุการณ์ส�ำคัญที่อยู่ในความ ทรงจ�ำ และคงถูกบันทึกไว้เป็นหลักฐาน ต่อ มา เมื่อเกิดการช�ำระพงศาวดารขึ้นในอีก 132 ปีให้หลัง เหตุการณ์ครั้งนั้นจึงถูก “คัด เข้า” ในพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับ หลวงประเสริฐฯ ซึ่งช�ำระในรัชกาลสมเด็จ
พระนารายณ์มหาราช แต่ที่น่าสนใจยิ่งไป กว่านั้นเห็นจะอยู่ที่เหตุการณ์ส�ำคัญครั้งนั้น ยั ง ได้ ถู ก จดจ� ำ เล่ า ขานและบั น ทึ ก เป็ น หลั ก ฐานสืบต่อมา ซึ่งปรากฏสาระและราย ละเอี ย ดแตกต่ า งไปจากความในพระราช พงศาวดารกรุ ง เก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ฯ อย่างมาก ในชั้นต้นคงต้องขอท�ำความเข้าใจก่อนว่า เหตุการณ์สงครามกับหงสาวดีใน พ.ศ. 2091 นั้น ถูกจดจ�ำและถ่ายทอดสืบมาใน 2 สาย วัฒนธรรม ได้แก่ วัฒนธรรมที่มีการจดบันทึก ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น พระราช พงศาวดาร และวัฒนธรรมการบอกเล่าเป็น มุขปาฐะ วีรกรรมสมเด็จพระสุริโยทัยที่ ปรากฏรั บ รู ้ แ พร่ ห ลายสื บ สายมาจากเรื่ อ ง ตามมีปรากฏบันทึกไว้ในพระราชพงศาวดาร กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาที่ ช� ำ ระขึ้ น ในสมั ย ต้ น กรุ ง รัตนโกสินทร์ เรื่องราวตามที่ปรากฏในพระ ราชพงศาวดารที่ ช� ำ ระขึ้ น ในภายหลั ง นี้ ปรากฏรายละเอียดแตกต่างไปจากพระราช พงศาวดารกรุ ง เก่ า ฉบั บ หลวงประเสริ ฐ ฯ หลายประการ ประการแรกเห็นจะได้แก่การ ออกพระนามและฐานันดรศักดิ์ผู้สิ้นพระชนม์ จากการท�ำคชยุทธว่า คือ “พระสุริโยทัยผู้ เป็นเอกอัครราชมเหสี” ประการที่ 2 ซึ่งมี ความส�ำคัญไม่แพ้กัน คือ การให้อรรถาธิบาย ถึงเหตุแห่งการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระสุ ริโยทัย ซึ่งพระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับ หลวงประเสริฐฯ กล่าวแต่เพียงว่า “ทัพหน้า แตกมาปะทัพหลวง” และ “สมเด็จพระองค มเหษี...ได้รบข้าศึกถึงสิ้นชนม์” ขณะที่พระ ราชพงศาวดารที่ช�ำระในสมัยหลังบรรยาย ความต่างไปว่าในสมรภูมิครั้งนั้น “สมเด็จ พระมหาจักรพรรดิราชาธิราชเจ้า ก็ขับพระ คชาธารเข้าชนช้างกองหน้าพระเจ้าหงสาวดี พระคชาธารเสียทีให้หลังข้าศึกเอาไว้ไม่อยู่ พระเจ้าแปรได้ท้ายข้าศึก ดังนั้นก็ขับพระ คชาธารตาม ไล่ช้างพระมหาจักรพรรดิ พระสุ ริโยทัยเห็นพระราชสามีเสียทีไม่พ้นมือข้าศึก
ทรงพระกตัญญูภาพก็ขับพระคชาธารพลาย ทรงสุริยกษัตริย์สะอึกออกรับ พระคชาธาร พระเจ้าแปรได้ล่างแบกถนัด พระคชาธาร พระสุริโยทัยแหงนหงายเสียที พระเจ้าแปร จ้วงฟันด้วยพระแสงของ้าว ต้องพระอังสา พระสุ ริ โ ยทั ย ขาดกระทั่ ง ถึ ง ราวพระถั น ประเทศ... สิ้นพระชนม์กับคอช้าง” หากจะให้สันนิษฐานถึงการสิ้นพระชนม์ ของสมเด็จพระสุริโยทัยตามความในพระราช พงศาวดารเห็นจะต้องเริ่มที่พระคชาธารของ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ “ให้หลัง” ช้าง พระเจ้าแปร เหตุอาจจะเนื่องมาจากช้างทรง ของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิสู้ช้างพระเจ้า แปรไม่ได้ หรืออาจจะขยาดเกรงกันแต่ต้นมือ เพียงเห็นช้างของพระเจ้าแปรเข้าก็ “ให้หลัง” หรือหันหลังวิ่งหนีเสียแล้ว ที่เป็นดังนั้นอาจ เป็ น ได้ ว ่ า ช้ า งทรงของสมเด็ จ พระมหาจั ก ร พรรดิ คือพลายแก้วจักรรัตน์ ซึ่งมีความสูง 6 ศอกคืบ 5 นิ้ว นั้นมิใช่ช้างชนะงาที่เชี่ยวชาญ การคชยุทธซึ่งก็สอดคล้องกับข้อมูลในพระ ราชพงศาวดารที่ระบุว่าการยกก�ำลังออกสู่ สมรภูมิของพระองค์ ครั้งนั้นเป็นเพียงการยก ออกไป “ดูก�ำลังข้าศึก” เมื่อช้างทรงของ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิต้องเข้าเผชิญหน้า กับช้างทรงของพระเจ้าแปรจึงถอดใจ “ให้ หลัง” หรือกลับหลังวิ่งหนี เปิดช่องให้พระเจ้า แปรชิงความได้เปรียบขับช้างไล่ตามฟัน ซึ่ง หากตามทั น ช้ า งสมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ จอมทั พ อยุ ธ ยา ก็ ค งมิ พ ้ น ต้ อ งข อ ง้ าว สิ้นพระชนม์ เพราะมิได้ทรงอยู่ในต�ำแหน่งที่ จะสัปยุทธป้องกันพระองค์ได้ สมเด็จพระสุริ โยทัยซึ่งยืนช้างอยู่ในแนวหลังเห็นพระสวามี เผชิญวิกฤติคับขันจึงทรง “สะอึกออกรับ” หรื อ ก็ คื อ ไสช้ า งทรงเข้ า กั้ น ขวางชนช้ า ง พระเจ้าแปร เพื่อเปิดทางให้พระสวามีหนีพ้น คมง้าวข้าศึก ช้างของสมเด็จพระสุริโยทัยคือ พลายทรงสุริยกษัตริย์มีขนาดเล็กสูงเพียง 6 ศอก ด้วยคงเป็นเพราะเป็นช้างทรงของเจ้า นายฝ่ายหญิง และเป็นไปได้ว่าไม่ได้เป็นช้างที่
ถูกฝึกให้ช�ำนาญการยุทธหัตถี เมื่อชนกับช้าง พระเจ้าแปรซึ่งวิ่งมาด้วยก�ำลังแรงเร็วจึงเสียที ช้างพระเจ้าแปร “ได้ล่างแบบถนัด” คือเสย ช้างพระสุริโยทัยผงะหงายหรือที่พงศาวดาร เรียกว่า “แหงนหงาย” ซึ่งท�ำให้เท้าหน้าของ ช้างพระสุริโยทัยหลุดจากพื้น จนเสียการ ทรงตัว ส่งผลให้พระสุริโยทัยที่ประทับอยู่บน คอช้างนั้นพลอยเสียการทรงตัวไปด้วย เป็น เหตุให้ไม่อาจจะป้องกันพระองค์ได้ ทั้งยัง เปิดช่องให้พระเจ้าแปรจ้วงฟันด้วยพระแสง ของ้าวได้ถนัด จนท�ำให้พระอังสาขาดกระทั่ง ถึงราวพระถันประเทศ ที่เป็นดังนั้นก็เนื่อง ด้วย ส่วนคมของพระแสงของ้าวนั้นคือดาบ ยาว ที่คมและหนัก ดาบนั้นถูกต่อด้ามให้ได้ ระยะพอเหมาะกับการใช้ฟาดฟันบนหลังช้าง การฟันแต่ละครั้งดาบจึงถูกเหวี่ยงด้วยก�ำลัง แรงที่ฟาดลงด้วยพลังแขนทั้งสองข้างของผู้ กุมด้ามดาบที่ทั้งยาวและหนัก เมื่ออาวุธต้อง ร่างจึงมีพลังช�ำแรกผ่าเกราะตัดร่าง บางครั้ง ถึงกับท�ำให้ขาดสะพายแล่ง ประกอบกับ พระเจ้าแปรผู้เป็นคู่ศึกพระสุริโยทัยนั้นหลัก ฐานพม่าระบุว่าเป็นนายทัพผู้ใหญ่รั้งต�ำแหน่ง ตะโดธรรมราชา มีศักดิ์เป็นถึงราชครูของพระ เจ้ า ตะเบงชะเวตี้ ซึ่ ง หากเป็ น ตามนั้ น จริ ง พระเจ้ า แปรผู ้ นี้ ย ่ อ มมี ค วามช� ำ นาญในการ ยุทธ เกินก�ำลังที่สมเด็จพระสุริโยทัยจะต่อรบ ด้วยได้ ปัจจัยแวดล้อมตามกล่าวมาทั้งหมดนี้ น ่ า จ ะ เ ป ็ น เ ห ตุ พ อ ใ ห ้ อ ธิ บ า ย ถึ ง ก า ร สิ้ น พระชนม์ บ นคอช้ า งของสมเด็ จ พระสุ ริ โยทั ย ตามความที่ มี ร ะบุ ใ นพงศาวดารกรุ ง ศรีอยุธยาที่ช�ำระขึ้นในสมัยหลังหลายฉบับได้ ข้ อ เด่ น ประการสุ ด ท้ า ยของพระราช พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับความพิสดาร เห็นจะอยู่ที่การกล่าวสดุดีวีรกรรมของพระสุริ โยทั ย ซึ่ ง พระราชพงศาวกรุ ง เก่ า ดารฉบั บ หลวงพระประเสริฐฯ มิได้ระบุไว้ พระราช พงศาวดารชั้นหลังอาทิพระราชพงศาวดาร กรุงศรีอยุธยาฉบับพันจันทนุมาศ (เจิม) และ พระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) ต่างยกย่องสมเด็จ พระสุริโยทัยว่า “ทรงพระกตัญญูภาพ” คือ ยอม “เสียพระชนม์แทนพระราชสามีกับคอ ช้าง เป็นสกุลวงศ์กตัญญูอันประเสริฐ...” วีรกรรมสมเด็จพระสุริโยทัยมิได้เพียงมี ป ร า ก ฏ ใ น ห ลั ก ฐ า น ป ร ะ เ ภ ท พ ร ะ ร า ช พงศาวดารซึ่งเป็นงานบันทึกผ่านวัฒนธรรม ลายลักษณ์อักษรของราชส�ำนักเท่านั้น เป็นที่ น่าสนใจอย่างยิ่งว่าเหตุการณ์หรือวีรกรรม ครั้งนั้นมีปรากฏเล่าขานสื บ มาจนถึง ยุคสิ้ น กรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2310 ผ่านวัฒนธรรม
การบอกเล่าหรือมุขปาฐะ ซึ่งหมายความว่า เหตุการณ์ที่อุบัติขึ้นใน พ.ศ. 2091 มิได้เลือน หายไปกับกาลเวลา แต่ได้รับการสืบสานจดจ�ำ ต่อมาอีกเป็นเวลาถึง 229 ปี เป็นอย่างช้า เรื่องราวการสูญเสียเจ้าราชนิกุลฝ่ายหญิงใน การท�ำคชยุทธกับข้าศึกฝ่ายหงสาวดีมีปรากฏ เล่าขานจากปากสู่ปากก่อนที่จะถูกบันทึกเป็น ลายลั ก ษณ์ อั ก ษรปรากฏในชั้ น หลั ง ในหลั ก ฐานที่รู้จักกันภายใต้ชื่อ ค�ำให้การชาวกรุงเก่า หนังสือค�ำให้การชาวกรุงเก่า มีที่มาจาก การให้ปากค�ำของเชลยศึกที่ถูกกวาดต้อนไป ราชอาณาจักรพม่าภายหลังสงครามการเสีย กรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2310 กล่าวคือเชลย ศึกที่ถูกกวาดต้อนไปนั้นได้ถูกทางการพม่า สอบถามเอาความเพื่ อ ให้ ท ราบเหตุ ก ารณ์ บ้ า นเมื อ งของฝ่ า ยผู ้ ถู ก จั บ เป็ น เชลยซึ่ ง ผู ้ สอบถามเอาความนั้นเป็นคนมอญ เพราะจะ พูดได้ทั้งภาษาไทย ภาษามอญ และภาษา พม่า เมื่อให้การเป็นที่พอใจแล้วก็จะประมวล รวบรวมขึ้นเป็นชุดค�ำให้การ ปรากฏแน่ชัดว่า ต้นฉบับภาษาพม่าเรียกค�ำให้การชาวกรุงเก่า ว่า โยธยา ยาสะวิน แปลว่า ราชวงศ์อยุธยา หรือที่หลักฐานไทยนิยมเรียกว่า พงศวดาร เดิ ม ที ห ลั ก ฐานชุ ด นี้ เ ป็ น สมบั ติ ต กอยู ่ ใ น ประเทศพม่า แต่ต่อมาภายหลัง ต้นฉบับ ภาษาพม่า ได้รับการถอดความออกเป็นภาษา ไทย และให้ชื่อเสียงใหม่ว่าค�ำให้การชาวกรุง
เก่า สมเด็จฯ กรมพระยาด�ำรงราชานุภาพ ทรงเล่าประทานไว้ในค�ำน�ำฉบับพิมพ์ครั้งแรก (พ.ศ. 2457) ว่าหนังสือนี้ “รู้แน่ว่าเป็นค�ำ ให้การของคนหลายคน … กรรมการหอพระ สมุดฯ จึงได้ตกลงได้เรียกชื่อหนังสือเล่มนี้ว่า ค�ำให้การชาวกรุงเก่า” หนังสือนี้ สมเด็จฯ กรมพระยาด� ำ รงราชานุ ภ าพยั ง ทรงเล่ า ประทานเพิ่มเติมว่า หอสมุดวชิรญาณได้ ต้นฉบับมาจากเมืองพม่าเมื่อ พ.ศ. 2454 โดย นายทอ เซียงโก (Mr.Taw Sein Ko) ซึ่งเป็น บรรณารักษ์หอสมุดของรัฐบาลอังกฤษที่เมือง ร่างกุ้งเป็นผู้ช่วยจัดคัดต้นฉบับส่งมาให้ เมื่อ ได้มาแล้วจึงมอบหมายให้มองตอแปลออก เป็นภาษาไทย ซึ่งแล้วเสร็จใน พ.ศ. 2455 เรื่องราววีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัย ได้ รั บ การเล่ า ขานผ่ า นวั ฒ นธรรมมุ ข ปาฐะ ตกทอดมาเป็นเวลาถึง 229 ปี ส่งผลให้เรื่อง ราวปรากฏผิดแผกแตกต่างไปจากบันทึกใน พระราชพงศาวดารเป็นอย่างมาก ค�ำให้การ ชาวกรุ ง เก่ า ระบุ ว ่ า สงครามครั้ ง นั้ น เกิ ด ขึ้ น ระหว่างสมเด็จพระมหาจักรวรรดิผู้ครองกรุง ศรีอยุธยากับพระเจ้าหงสาวดี ซึ่งภายหลัง จากที่กองทัพทั้งสองฝ่ายได้สัปยุทธจนสูญเสีย ไพร่พลไปเป็นจ�ำนวนมาก พระเจ้าหงสาวดีจึง คิดสงสารไพร่พลที่ต้องมาตายลงเสียมากกว่า มาก จึงหาทางออกด้วยการส่งราชสาส์นมา ท้ า สมเด็ จ พระมหาจั ก รวรรดิ ใ ห้ อ อกมาท� ำ
ยุทธหัตถีตัดสินแพ้ชนะ โดยท้ายที่สุดกษัตริย์ ทั้ง 2 พระองค์ทรงท�ำสัญญาแก่กันว่า ให้ออก มาท�ำยุทธหัตถีในวันที่ 7 นับแต่วันท�ำสัญญา หากฝ่ายใดไม่ออกมาต่อรบให้ปรับเป็นแพ้ ต้องยอมเสียราชสมบัติ เมื่อถึงวันสัปยุทธ ปรากฏว่ า สมเด็ จ พระมหาจั ก รวรรดิ ท รง ประชวรหนัก ไม่สามารถออกท�ำยุทธหัตถีกับ พระเจ้าหงสาวดี เป็นเหตุให้พระบรมดิลก พระราชธิดาซึ่งมีพระชันษาได้ 16 ปีต้องอาสา ออกรบแทนโดยทรงเครื่ อ งพิ ชั ย ยุ ท ธอย่ า ง พระมหาอุปราชออกไปเผชิญหน้าปัจจามิตร พระบรมดิลกเป็นสตรีไม่ช�ำนาญการขับขี่พระ คชาธารก็ เ สี ย ที แ ก่ พ ระเจ้ า หงสาวดี ถู ก พระแสงของ้าวฟันตกจากช้างทรง พระเจ้าหง สาวดี ค รั้ น ได้ ท ราบว่ า ทรงออกรบกั บ สตรี ก็ ละอายพระทัยยกทัพกลับคืนพระนคร เห็นได้ว่าถึงแม้เรื่องราวตามมีปรากฏใน ค�ำให้การชาวกรุงเก่าจะผิดเพี้ยนไปจากเรื่อง ราวตามมีในพระราชพงศาวดาร แต่เรื่อง ทั้งหมดล้วนเกี่ยวข้องกับขัตติยนารีผู้ออกศึก จนสิ้นพระชนม์ในสมรภูมิ พระราชพงศาว ดารกรุงเก่าฉบับหลวงประเสริฐฯ ระบุว่า ขัตติยนารีผู้นั้นคือ “สมเด็จพระองคมเหษี” และ “สมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระราชบุตรี” ขณะที่พงศาวดารที่ช�ำระขึ้นในสมัยหลังระบุ ว่าเป็น “เอกอัครราชมเหสี” ออกพระนามว่า พระสุริโยทัยและค�ำให้การชาวกรุงเก่าระบุว่า คือ พระราชธิดาผู้มีพระนามว่าพระบรมดิลก
เป็นไปได้ว่า ค�ำให้การนั้นน�ำการสิ้นพระชนม์ ของ “สมเด็จพระองคมเหษี” และ “สมเด็จ พระเจ้าลูกเธอ พระราชบุตรี” มาผนวกกัน เป็นเรื่อง พระบรมดิลก กระนั้นก็ดี ทั้งหมด ทั้งสิ้นยังคงยืนยันว่า วีรกรรมครั้งนั้นไม่ได้ สูญหายไปจากความทรงจ�ำของชาวอยุธยา หากแต่ถูกเล่าขานหรือจดจ�ำ และสืบสาน ผ่านมาทั้งในวัฒนธรรมการจดบันทึกและการ บอกเล่า ที่น่าสนใจก็คือในวัฒนธรรมการบอกเล่า นั้น วีรกรรมของวีรสตรี พระองค์นี้มิได้ถูกเน้น ย�้ ำ ว่ า เป็ น เพี ย งการแสดงพระกตั ญ ญู ภ าพ หรือฉลองพระคุณสมเด็จพระราชบิดาเพียง ประการเดียว แต่ยังเป็นการ “ช่วยทุกข์ของ ราษฎรทั้งปวง” และที่ส�ำคัญคือเป็นการ ปกป้องราชสมบัติ ซึ่งรวมหมายถึงสถานะ ความเป็นเมืองเอกราชที่ไม่ต้องตกเป็นเมือง ขึ้นของปัจจามิตรด้วย คุณค่าความส�ำคัญของ วีรกรรมที่ปรากฏในค�ำให้การชาวกรุงเก่าเป็น เงาสะท้อนทัศนะชาวประชาอยุธยาในโสต หนึ่ง ซึ่งอาจกินความกว้างกว่าคุณค่าตามมี ระบุไว้ในพระราชพงศาวดาร ซึ่งผู้ช�ำระมุ่งให้ ความส� ำ คั ญ กั บ สมเด็ จ พระมหาจั ก รพรรดิ กษัตริย์อยุธยาเป็นปฐม ดังได้กล่าวไว้ในตอนต้นว่า วีรกรรมที่เกิด ก่ อ นั้ น ย่ อ มได้ รั บ การยกย่ อ งหรื อ ให้ ค วาม หมายแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อม ของผู้ประกาศวีรกรรมในแต่ละยุคสมัย ดัง
เห็นได้ว่าเมื่อตกมาถึงยุคที่สยามก้าวเข้าสู่การ ปฏิรูปภายใต้อัตลักษณ์ความเป็นรัฐแบบใหม่ วีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยก็ได้รับการ ให้ความหมายที่ต่างไปจากเดิม นั บ แ ต ่ รั ช ก า ล พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเป็นอย่างช้า การรับรู้ และความเข้าใจของผู้ปกครองไทย ที่มีต่อ บ้ า นเมื อ งในปกครองได้ แ ปรเปลี่ ยนไปจาก เดิม พระมหากษัตริย์หาได้ทรงเป็นเจ้าแผ่น ดินผู้ครองกรุงศรีอยุธยา และบ้านเล็กเมือง น้อยในขอบขัณฑสีมา แต่ทรงเป็นผู้ปกครอง สยามรัฐ ซึ่งสะท้อนแนวคิดของการสถาปนา รัฐในรูปแบบใหม่ด้วยส�ำนึกใหม่ ในสมัยนี้จึง เกิดแนวคิดของรัฐที่มีความเป็น “เอกภาพ” มากขึ้น เกิดค�ำเรียกหารัฐใหม่ๆ เช่น “สยาม ประเทศ” ขณะที่พระมหากษัตริย์ผู้ครองรัฐ ในส�ำนึกใหม่นี้ก็ทรงแสดงสถานะเป็นเจ้าแห่ง สยามรัฐหรือเจ้าแห่ง “บางกอกแว่นแคว้น แดนสยาม” พระราชสาส์นที่ทรงพระราช ทานไปยังกรุงฝรั่งเศส จ.ศ. 1228 (พ.ศ. 2409) ระบุว่า “พระราชสาส์นสมเด็จพระปร เมนทรมหามกุฎ พระราชอาณาจักรฝ่าย สยามคือแผ่นดินสยามเหนือใต้” สถานะของ พระมหากษัตริย์ที่แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย ส่งผลต่อการให้อรรถาธิบายสถานะของพระ มหากษัตริย์ยุคโบราณ อาทิ สมเด็จพระ มหาจักรพรรดิ คู่ขนานกันไปด้วยกล่าวโดย สังเขปคือสมเด็จพระมหาจักรพรรดิหาได้รับ การยกย่ อ งว่ า เพี ย งเป็ น พระมหากษั ต ริ ย ์ ผู ้ ครองกรุงศรีอยุธยาเพียงประการเดียว หาก แต่ยังทรงเป็น “จอมสยาม” ส่งผลให้ “คุณค่า” แห่งการสละพระชนม์ชีพของ พระสุริโยทัย มีความส�ำคัญยิ่งใหญ่กว่า “ทรง กตัญญูภาพ” ปกป้องพระสวามี ภายใต้บริบท สังคมการเมืองใหม่ วีรกรรมของพระองค์ครั้ง นี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นการปกป้องประเทศ สยามพร้อมกันไปด้วย ภายใต้บรรยากาศของยุคสมัยที่เปลี่ยนไป วีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยได้รับยกย่อง ให้ปรากฏผ่านสื่อและจารีตการเล่าเรื่องแบบ ใหม่ ซึ่งนับเนื่องเป็นนวัตกรรมส�ำคัญว่าด้วย การน�ำแสดงวีรกรรมของวีรสตรีพระองค์นี้ หลักฐานตามกล่าวมีปรากฏในงานที่รู้จักกัน ภายใต้ชื่อโคลงภาพพระราชพงศาวดาร โคลงภาพพระราชพงศาวดารเป็ น งาน จิ ต รกรรมของช่ า งเขี ย นไทยยุ ค สมเด็ จ พระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวที่เลือกเรื่องในพระราช
พงศาวดารมาเขียนรูปเป็นตอน แล้วท�ำกรอบติด กระจก พร้อมมีโคลงบอกเรื่องพระราชพงศาวดาร ที่ เ ลื อ กมาเขี ย นเป็ น รู ป นั้ น ก� ำ กั บ อยู ่ ทุ ก รู ป ตาม กระแสพระราชด�ำริของสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รูปทั้งหมดมีจ�ำนวนรวม 92 แผ่น โคลง ที่แต่งประกอบมีจ�ำนวน 376 บท งานแล้วเสร็จ พร้ อ มจั ด แสดงที่ พ ระเมรุ ท ้ อ งสนามหลวงอวด มหาชน ใน พ.ศ. 2430 ที่ต้องกล่าวถึงงานโคลง ภาพพระราชพงศาวดารนี้ก็ด้วยหลักฐานส�ำคัญนี้ เป็นหลักฐานล�ำดับต้น ๆ ที่ให้อรรถาธิบาย สถานภาพของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ และ สงครามระหว่างอยุธยากับพม่าต่างไปจากเดิม ซึ่ง เป็นต้นเค้าแห่งการให้คุณค่าและความหมายต่อ วีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยที่ต่างไปจากที่ได้ รับรู้สืบกันมาในอดีต โคลงภาพพระราชพงศาวดารระบุสถานะของ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิว่าทรงเป็น “จอมสยาม รัฐ” หรือ “เผ้าภูวดลสยาม” และมีโคลงบทหนึ่ง ระบุว่า จอมสยามนามพระเจ้า จักรพรรดิ ผดุงราษฎร์ขาดพิบัติ บ่เศร้า บ�ำรุงบุรีรัฐ เจริญรุ่ง เรืองแฮ มั่งคั่งสินค้าเข้า ออกพ้นคณนา และด้วยเหตุประการฉะนี้ สงครามระหว่าง อ ยุ ธ ย า กั บ พ ม ่ า จึ ง เ ป ็ น ส ง ค ร า ม ร ะ ห ว ่ า ง “ประเทศ” หรือ “รัฐ” และชนชาติ มิใช่เป็นเพียง สงครามระหว่ า งพระมหากษั ต ริ ย ์ อ ยุ ธ ยากั บ พระเจ้ากรุงหงสาวดี ภายใต้บรรยากาศ และ สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไปนี้ ที่วีรกรรมสมเด็จ พระสุ ริ โ ยทั ย ผู ้ ด� ำ รงสถานะพระอั ค รมเหสี ข อง “จอมสยาม” ได้รับการ “น�ำแสดง” ในรูปแบบ ใหม่ คือ ถูกจัดท�ำขึ้นเป็นรูป ขณะทรงกระท�ำ ยุทธหัตถีกับพระเจ้าแปร ซึ่งวีรกรรมของพระองค์ ได้ถูกให้ความส�ำคัญเป็นพิเศษ เห็นได้จากการที่ สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระนริศรฯ ทรงเป็นผู้เขียนรูป และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ พระราช นิพนธ์โคลงก�ำกับด้วยพระองค์เอง ถึงแม้ค�ำโคลง พระราชนิ พ นธ์ จ ะมิ ไ ด้ ใ ห้ ค วามหมายใหม่ ต ่ อ วีรกรรมครั้งนั้น แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าวีรกรรมของ พระองค์ได้รับการน�ำแสดง “ในบริบทใหม่” เปิด ทางให้เกิดการตีความและให้ความหมายใหม่จาก ที่เคยเข้าใจ งานพระนิพนธ์เรื่องเฉลิมเกียรติ์กษัตรีค�ำฉันท์ ฝีพระโอฐพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิป ประพันธ์พงศ์ ที่ตีพิมพ์ปรากฏใน พ.ศ. 2462 ภาย
หลังงานโคลงภาพพระราชพงศาวดาร เป็นหลัก ฐานแสดงการสดุ ดี วี ร กรรมของสมเด็ จ พระสุ ริ โยทัยในความหมายใหม่ที่ชัดเจนขึ้น การสละ พระชนม์ ชี พ ครั้ ง นั้ น ได้ รั บ การสดุ ดี ใ นงานพระ นิพนธ์เฉลิมเกียรติกษัตรีว่าไม่เพียงเป็นการแสดง กตัญญูตาต่อพระสวามี แต่เป็นการกระท�ำที่มุ่ง ปกป้อง “ประเทศสยาม” และกรุงศรีอยุธยาดัง ความตอนหนึ่งในค�ำประพันธ์ที่ระบุว่า
11
สงสารสวาเมศ และประเทศสยามคง เสียกษัตร์และเสียวงศ์ ก็จะเสียอยุทธยา การสละพระชนม์ชีพในครั้งนั้นยังได้รับการ สดุดีว่าเป็นการช่วยชาติและพระราชวงศ์ดั่งค�ำ ฉันท์สดุดีตอนหนึ่งที่ว่า อ้าแม่ทิวงคตะมล้าง ขณะช้างผยองชน ช่วยชาติ์และราชชิวะผล พิระเกื้อกะตัญญู งานพระนิพนธ์ของกรมหมื่นนราธิปประพันธ์ พงศ์คือภาพสะท้อนของพัฒนาการท้ายสุดว่าด้วย การสดุดีวีรกรรมสมเด็จพระสุริโยทัยภายใต้การ ให้อรรถาธิบาย “ตัวตน” ที่แปรเปลี่ยนจากราช อาณาจักรแห่งยุคจารีตมาเป็นสยามประเทศและ ประเทศไทยในปัจจุบัน สมเด็จพระสุริโยทัย ทรง ได้รับการสดุดีในฐานะวีรสตรีของชาติไทย การ สละพระชนม์ ชี พ ในครั้ ง นั้ น ก็ คื อ การปกป้ อ ง ประเทศให้คงความเป็นเอกราชจากการถูกรุกราน อธิปไตยของชาติเป็นส�ำคัญ เป็นที่ปรากฏชัดว่าถึงแม้ว่าเวลาจะผ่านเลยมา ถึง 465 ปี นับแต่ปีที่สมเด็จพระสุริโยทัย สิ้นพระชนม์ จวบปัจจุบันสมัย วีรกรรมอันกล้า หาญของพระองค์มิได้ถูกลืมเลือนไปจากการรับรู้ ของประชาไทย ในทางตรงกันข้าม วีรกรรมครั้ง นั้ น ได้ รั บ การจดจ� ำ กล่ า วถึ ง และให้ คุ ณ ค่ า และ ความหมายสืบต่อมา ต่างกันก็แต่มุมมองที่ชน แต่ละยุคมีให้กับวีรกรรมครั้งนั้นซึ่งผิดแผกไปตาม ปัจจัยแวดล้อมของแต่ละยุคสมัย แต่วีรกรรมก็ยัง คงเป็นวีรกรรม เป็นการกระท�ำของผู้กล้าหาญ ความกล้าหาญนั้นต่างหากที่หยัดยืนคู่กาลเวลา และคงความหมายในตัวเองไม่แปรเปลี่ยน และนี่ คือบทสรุปแห่งวีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัย ผู้ ครองสถานะวีรสตรีอยู่ทุกกาลสมัย
เกี่ยวกับผู้เขียน ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ ผู้อำ�นวย การสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย มหาบัณฑิตและดุษฎี บัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์เอเชีย อาคเนย์ จากมหาวิทยาลัยคอร์แนล ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นนักวิชาการ ประวั ติ ศ าสตร์ ผู้ ส นใจและศึ ก ษา ประวัติศาสตร์โบราณ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับพม่า และยังเป็นที่ปรึกษาทางประวัติศาสตร์ แก่หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ในการ เขียนบทภาพยนตร์เรื่องสุริโยไทและ ตำ�นานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
คีตกวีและผู้กำ�กับการแสดง | Composer and Director
สมเถา สุจริตกุล Somtow Sucharitkul 12
สมเถา เกิดในกรุงเทพฯ เติบโต ในยุโรป เป็นคนไทยคนแรกที่สำ�เร็จ มัธยมศึกษา จากวิทยาลัยอีตัน ต่อมาได้ รับทุนการศึกษาจากมหาวิทยาลัย เคม บริดจ์ ประเทศอังกฤษ จนสำ�เร็จการ ศึกษาระดับปริญญาตรี (เกียรตินิยม) และปริญญาโท แขนงวิชาวรรณคดี ควบคู่กับดนตรี งานอาชีพแรกของสม เถาคือสร้างสรรค์ดนตรี คีตนิพนธ์ ทัศน์ ภูเขาทอง View from the Golden Mountain ซึ่งสมเถาประพันธ์เมื่อ พ.ศ. 2518 เป็นการบุกเบิกครั้งสำ�คัญของ วงการดนตรีโดยใช้เครื่องดนตรีไทยผสม เครื่ อ งดนตรี ต ะวั น ตกเป็ น ครั้ ง แรกใน ประวัติศาสตร์การดนตรี สมเถา ทำ�หน้าที่วาทยกรครั้งแรก เมื่ออายุเพียง 19 ปี โดยอำ�นวยเพลง ให้วงดุริยางค์ ฮอลแลนด์ซิมโฟนีออร์ เคสตร้าที่ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในคีต นิพนธ์ Holland Symphony ซึ่งเขา ประพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระบรม ราชินีนาถจูเลียนา แห่งเนเธอร์แลนด์ เนื่องในวโรกาสครองสิริราชสมบัติครบ 25 ปี ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 สมเถา ได้ชื่อว่าเป็น ‘คีตกวีล้ำ�ยุค’ แห่งภาค พื้นเอเซีย เขาถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่าง หนักจากเพื่อนร่วมชาติ แต่ในช่วงเวลา เดียวกันก็ได้รับแต่งตั้งเป็นผู้อำ�นวยการ ฝ่ายศิลป์ (Artistic Director) ในงาน มหกรรมดนตรีแห่งเอเซีย (Asian Composers Expo 78) เขาก่อตั้งสมาคมคีต กวีแห่งประเทศไทย และได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้แทนถาวรจากประเทศไทยในคณะ กรรมาธิการดนตรี นานาชาติแห่งยูเนส โก เมื่ อ ความคิ ด สร้ า งสรรค์ ด้ า นดนตรี หยุดชะงักชั่วคราว สมเถาจึงหันไปสู่ บรรณพิภพ เมื่อต้น พ.ศ. 2523 นับแต่ นั้นเป็นต้นมา เขาผลิตนวนิยายภาษา อังกฤษแนวต่าง ๆ 50 เรื่องรวมทั้งเรื่อง สั้นกว่า 200 เรื่อง ออกสู่ตลาดโลกภายใต้
นามปากกา เอส.พี. สมเถา (S. P. Somtow) ผลงานของนักประพันธ์ไทยผู้นี้ได้ รับรางวัลหลากหลาย และมีผู้นำ�ไปแปล เป็นภาษาต่าง ๆ กว่า 10 ภาษา นวนิยาย ประเภทสยองขวัญ เรื่อง Vampire Junction โดย เอส.พี. สมเถา ได้รับเลือก เป็นวรรณคดีประเภทกอธิคคลาสสิคซึ่ง มหาวิทยาลัยหลายแห่งในสหรัฐฯ นำ� ไปใช้ เ ป็ น ตำ�ราเรี ย นในหลั ก สู ต รวิ ช า วรรณคดี Jasmine Nights นวนิยาย กึ่งอัตชีวประวัติ พิมพ์จำ�หน่ายครั้งแรก โดยสำ�นักพิมพ์ Hamish Hamilton แห่งประเทศอังกฤษ สร้างชื่อเสียงให้ผู้ เขียนจน George Axelrod นักเขียนบท ภาพยนตร์มือทอง เจ้าของรางวัลตุ๊กตา ทองแห่งวงการภาพยนตร์สหรัฐอเมริกา กล่าวว่า สมเถา สุจริตกุล คือ ‘D. J. Salinger of Siam’ ผลงานวรรณกรรมของ เอส. พี. สมเถา ได้รับรางวัลหลากหลายรวม ทั้ง World Fantasy Award อันมีเกียรติ สูงสุด จากเรื่องสั้น The Bird Catcher นอกจากนั้นสมเถายังเคยดำ�รงตำ�แหน่ง นายกสมาคมนักเขียนนิยายสยองขวัญ แห่งสหรัฐอเมริกา สมเถาหวนกลั บ สู่ ว งการดนตรี อี ก ครั้งในช่วงคริสต์ศวรรษ 1990 โดย เปลี่ ย นแนวการประพั น ธ์ จ ากเดิ ม เป็ น ‘นีโอ-คลาสสิค’ เมื่อปี พ.ศ. 2542 สม เถาได้รับมอบหมายให้ประพันธ์ มัทนา มหาอุ ป รากรเรื่ อ งแรกโดยคี ต กวี ไ ทย โดยอั ญ เชิ ญ พระราชนิ พ นธ์ ข องสมเด็ จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเรื่อง มัทนะ พาธา มาถ่ายทอด เป็นมหาอุปรากร สมบูรณ์แบบเรื่องแรกแห่งสหัสวรรษใหม่ เปิดแสดงรอบปฐมทัศน์โลกที่กรุงเทพฯ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 ผล งานครั้งนั้นประสบความสำ�เร็จท่วมท้น และได้รับการยกย่องใน Opera Now นิ ต ยสารที่ มี อิ ท ธิ พ ลสู ง สุ ด แห่ ง วงการ มหาอุปรากร พิมพ์ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ว่ายิ่งใหญ่ในระดับ
‘One of the operatic events of the year’ นอกจากนั้น สมเถายังได้ประพันธ์ คีตนิพนธ์อมตะอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งผล งานที่ได้รับพระบรมราชานุญาตและพระ ราชานุญาตให้ประพันธ์ทูลเกล้าฯ ถวาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้แก่ มหาอุปรากรอิงวรรณคดีเรื่อง อโยธยา จาก ‘รามเกียรติ์’ ฉบับเอเชียตะวันออก กัลยาณีซิมโฟนี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จ พระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และ คอนแชร์โต้มหาราชินี Queen Sirikit Piano Concerto ทูลเกล้าฯ ถวาย สมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ และ ในปี 2555 ได้แสดง Requiem for the Mother of Songs ผลงานอลังการที่สม เถาใช้เวลาประพันธ์กว่า 3 ปี ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราช นครินทร์ สมเถา สุจริตกุล เป็นศิลปินคนแรก ที่ได้รับรางวัลศิลปาธรกิตติคุณเมื่อ พ.ศ. 2551 เป็นผู้ก่อตั้งวงดุริยางค์สยามฟิล ฮาร์โมนิค และวงดุริยางค์ สยามซินโฟนิ เอตต้า ซึ่งได้รับรางวัลชนะเลิศในการ แข่งขันระดับโลกในเทศกาล Summa Cum Laude 2555 ณ กรุงเวียนนา ประเทศ ออสเตรีย เขาผลิตผลงาน อย่างต่อเนื่องทั้งในด้านวรรณกรรมและ คีตศิลป์ รวมทั้งดนตรีละครเพลง “เร ยา เดอะมิวสิคัล” ในรูปแบบบรอดเวย์ มาตรฐาน และบัลเลต๋-โอเปร่า “สุริ โยทัย” ซึ่งได้รับความสำ�เร็จอย่างมาก มี ผู้สนใจเข้าชมอย่างล้นหลามทุกรอบการ แสดง ปัจจุบัน สมเถาดำ�รงตำ�แหน่ง ประธานมู ล นิ ธิ ม หาอุ ป รากรกรุ ง เทพ และผู้อำ�นวยการฝ่ายศิลป์ประจำ�คณะ มหาอุ ป รากรโอเปร่ า สยามอิ น เตอร์ เนชั่นแนล
“The most well-known expatriate Thai in the world”— International Herald Tribune Once referred to by the International Herald Tribuneas “the most well-known expatriate Thai in the world,” Somtow Sucharitkul is no longer an expatriate, since he has returned to Thailand after five decades of wandering the world. He is best known as an award-winning novelist and a composer of operas. Born in Bangkok, Somtow grew up in Europe and was educated at Eton and Cambridge. His first career was in music and in the 1970s he acquired a reputation as a revolutionary composer, the first to combine Thai and Western instruments in radical new sonorities. Conditions in the arts in the region at the time proved so traumatic for the young composer that he suffered a major burnout, emigrated to the United States, and reinvented himself as a novelist. His earliest novels were in the science fiction field but he soon began to cross into other genres. In his 1984 novel Vampire Junction, he injected a new literary inventiveness into the horror genre, in the words of Robert Bloch, author of Psycho, “skillfully combining the styles of Stephen King, William Burroughs, and the author of the Revelation to John.” Vampire Junction was voted one of the forty all-time greatest horror books by the
Horror Writers’ Association, joining established classics like Frankenstein and Dracula. In the 1990s Somtow became increasingly identified as a uniquely Asian writer with novels such as the semi-autobiographical Jasmine Nights. He won the World Fantasy Award, the highest accolade given in the world of fantastic literature, for his novella The Bird Catcher. His fifty-three books have sold about two million copies world-wide. After becoming a Buddhist monk for a period in 2001, Somtow decided to refocus his attention on the country of his birth, founding Bangkok’s first international opera company and returning to music, where he again reinvented himself, this time as a neo-Asian neo-Romantic composer. The Norwegian government commissioned his song cycle Songs Before Dawn for the 100th Anniversary of the Nobel Peace Prize, and he composed at the request of the government of Thailand his Requiem: In Memoriam 9/11 which was dedicated to the victims of the 9/11 tragedy. According to London’s Opera magazine, “in just five years, Somtow has made Bangkok into the operatic hub of Southeast Asia.” His operas on Thai themes, Madana, Mae Naak, Ayodhya, and The Silent Prince have been well received by international critics. His most recent operas, the Japanese inspired Dan no Ura and the fantasy
opera The Snow Dragon, have gained him acceptance as “one of the most intriguing of contemporary opera composers” (Auditorium Magazine). He has recently embarked on a ten-opera cycle, Dasjati - The Ten Lives of the Buddha - which when completed will be the classical music work with the largest time span and scope in history. He is increasingly in demand as a conductor specializing in opera and in the late-romantic composers like Mahler. His repertoire runs the entire gamut from Monteverdi to Wagner. His work has been especially lauded for its stylistic authenticity and its lyricism. The orchestra he founded in Bangkok, the Siam Philharmonic, mounted the first complete Mahler cycle in the region. Somtow’s current project, the Siam Sinfonietta, is a youth orchestra he founded five years ago, using a new educational method he pioneered and which is now among the most acclaimed youth orchestras world-wide, receiving standing ovations in Carnegie Hall, The Konzerthaus in Berlin, Disney Hall, the Musikverein in Vienna, and many other venues around the world. He is the first recipient of Thailand’s “Distinguished Silpathorn” award, given for an artist who has made and continues to make a major impact on the region’s culture, from Thailand’s Ministry of Culture.
วาทยกร | Conductor
ทฤษฎี ณ พัทลุง Trisdee na Patalung 14
ทฤษฎี ณ พัทลุง เป็นนักประพันธ์ดนตรีและ วาทยกรไทยที่มีผลงานเป็ น ที่ ย อมรั บ ในระดั บ โลกอย่างต่อเนื่อง เป็นวาทยกรไทยคนเดียวที่ได้ รับเกียรติไปอ�ำนวยเพลงให้กับวง Royal Scottish National Orchestra, Orchestra Sinfonica Nazionale della RAI (วงออร์เคสตราแห่ง ชาติอิตาลี) และยังเป็นศิลปินชาวไทยคนแรกที่ ได้เซ็นสัญญากับสังกัด Columbia Artists Management Inc. นิวยอร์ค (CAMI) ในปี 2554 ทฤษฎีได้รับการกล่าวถึงโดย นิตยสาร Class Filosofia ประเทศอิตาลีว่าเป็น หนึ่งในวาทยกรอายุต่ำกว่า 30 ปีที่มีความ สามารถที่สุดในโลก ในปีต่อมา ได้ควบคุมวง Siam Sinfonietta ร่วมกับอาจารย์สมเถา สุจริต กุล ในการแข่งขันวงดุริยางค์เยาวชนระดับโลก Summa Cum LaudeInternational Youth Music Festival Vienna น�ำรางวัลชนะเลิศกลับ มาสู่ประเทศไทย หนังสือพิมพ์ Bangkok Post เลือกทฤษฎีเป็นหนึ่งใน “66 Young Leaders Shaping Thailand’s Future” และนอกจาก นั้นยังได้รับคัดเลือกเป็น ผู้ท�ำคุณประโยชน์ต่อ เด็ ก และเยาวชนสาขาสื่ อ มวลชนเพื่ อ เด็ ก และ เยาวชนที่ป้องกันปัญหาสังคม จากกระทรวงการ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยเข้า รับพระราชทานโล่เกียรติคุณในวันเยาวชนแห่ง ชาติประจ�ำปี 2555 ทฤษฎี รั บ ต� ำ แหน่ ง โค้ ช นั ก ร้ อ งโอเปร่ า ที่ สถาบัน Opera Studio Nederland แห่ง ประเทศเนเธอร์แลนด์ตั้งแต่อายุ 18 ปีและเป็น วาทยก รไทยคนแรกที่ได้อ�ำนวยเพลงที่ Concertgebouw ประเทศเนเธอร์แลนด์หนึ่งในหอ แสดงดนตรีคลาสสิคที่ส�ำคัญที่สุดของโลก จาก นั้นได้รับเชิญจาก Dutch National Touring Opera ไปอ�ำนวยเพลง ในมหาอุปรากร La Ceneretola (ซินเดอเรลลา) ใน 12 เมืองทั่วประเทศเนเธอร์แลนด์และยังได้ รับเชิญไปอ�ำนวยเพลงในเทศกาลโอเปราระดับ โลก Rossini Opera Festival ณ เมือง Pesaro ประเทศอิตาลีในปี 2552 - 2553 โดยถือเป็น วาทยกรรับเชิญที่อายุน้อยที่สุดในเทศกาลเป็น เวลา 2 ปีซ้อน ในฐานะนักประพันธ์เพลง ทฤษฎีได้ประพันธ์ เพลง Eternity (นิรันดร์) คีตาลัยถวายแด่สมเด็จ พระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งได้รับการ บรรเลง ณ มณฑลพิธีท้องสนามหลวงและเมื่อ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอเจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ทรงเจริญพระชนมายุ 7 รอบ ทฤษฎีได้ประพันธ์บทเพลงเฉลิมพระขวัญ “พระ หน่อนาถ” โดยน�ำบทกล่อมในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มาประพันธ์ท�ำนอง สากล ออกอากาศทางช่อง Modernine TV ต่อ มาได้ถูกใช้อย่างแพร่หลายโดยสื่อโทรทัศน์ใน ช่วงพระราชพิธีพระราชทานเพลิงพระศพฯ และ
บรรเลงสดในมณฑลพิธีพระเมรุท้องสนามหลวง ทฤษฎีเริ่มศึกษาดนตรีเมื่ออายุ 13 ปี โดย เรียนเปียโนกับอาจารย์วรพร ณ พัทลุง, อาจารย์ จามร ศุภผล และอาจารย์เอริ นาคากาวา ต่อมา ได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์สมเถา สุจริตกุล และรับหน้าที่ผู้ฝึกสอนนักร้องโอเปราประจ�ำา คณะมหาอุปรากรกรุงเทพตั้งแต่อายุ 15 ปี ปัจจุบัน นอกจากการเดินทางไปเป็นวาทยกรรับ เชิญกับวงออร์เคสตราในต่างประเทศ ทฤษฎียัง ด� ำ รงต� ำ แหน่ ง เป็ น วาทยกรประจ� ำ วงดุ ริ ย างค์ สยามฟิลฮาร์โมนิค จ า ก ก า ร อ� ำ น ว ย เ พ ล ง ข อ ง ท ฤ ษ ฎี ใ น มหาอุปรากรเรื่อง The Magic Flute ของ Mozart ในปี 2549 ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย นิตยสาร ‘OPERA’ แห่งกรุง ลอนดอนได้ ก ล่ า วถึ ง การแสดงครั้ ง นั้ น ในบท วิจารณ์ว่า: “หากค�ำาว่า ‘อัจฉริยะ’ ยังเหลือ ความหมายใดๆ อยู่ในโลกที่เต็มไปด้วยค�ำกล่าว อ้างเกินจริงนี้ ทฤษฎีนับเป็นตัวอย่างที่แท้จริง แห่งยุคปัจจุบัน” Thai conductor Trisdee na Patalung has worked extensively at the Netherlands Opera Studio as conductor and resident coach. He was music director of a staged performance of Händel’s oratorio Belshazzar directed by Harry Kupfer, Monteverdi’s Il combattimento di Tancredi e Clorinda, Marc-Antoine Charpentier’s La Descente d’Orphée aux Enfers at the Concertgebouw and Mon-
teverdi’s Orfeo directed by Pierre Audi at the Amsterdam Schouwburg. He conducted the Rossini Opera Festival’s 2009 production of Il viaggio a Reims in Pesaro, Italy, and the Dutch National Touring Opera’s (Nationale Reisopera) 2010 production of Rossini’s La Cenerentola. “Discovered” by Somtow Sucharitkul at the age of 15 and engaged as resident repetiteur and assistant conductor of Opera Siam at 16, Trisdee had his operatic conducting debut in Opera Siam’s Die Zauberflöte at 20, immediately followed by Gluck’s Orfeo ed Euridice at the Steyr Music Festival in Austria. Since then he has conducted such orchestras as the Royal Scottish National Orchestra, Orchestra Sinfonica Nazionale della RAI, Orchestra Sinfonica di Milano Giuseppe Verdi, Orchestra I Pomeriggi Musicali di Milano, Orchestra Haydn di Bolzano e Trento, Orchestra Sinfonica G. Rossini, and Het Gelders Orkest. He is currently the Siam Philharmonic Orchestra’s resident conductor. Of Trisdee’s conducting of Die Zauberflöte, UK’s OPERA magazine said, “If the word ‘genius’ still has any meaning in this age of rampant hyperbole, Trisdee is truly a living example.”
นักออกแบบลีลาระบำ� | Choreographer
ภูวเรศ วงศ์อติชาติ Puwarate Wongatichart Puwarate graduated from Bangkok University with a bachelor’s degree majoring in advertising management. While studying in university, he had been assigned to be choreographer for Lakornnitade (Faculty of Communication Arts’ Drama) Bangkok University for several plays such as ‘Lakornnitade Bangkok University XVI - The Five Volunteer’, ‘Lakornnitade Bangkok University XVIII – รัตติกาลครั้งหนึ่ง’, ‘Lakornnitade Bangkok University XX – ผมคิดถึงแม่แบบ มหัศจรรย์’. Then, he got many wonderful chances to design fantastic shows for big events of many companies such as Singha Corporation, Otop, etc.. Besides, it’s an his honors to have the opportunities to work for Somtow Sucharitkul’s operas as a choreographer which are the ‘Otello’ and the ‘Mae Naak’ in 2003, and in 2011 he had the chance to go to London for UK premiere of Mae Naak. Moreover, he did choreograph for the ‘Reya The Muscal’ ‘Silent Prince’ ‘Suriyothai’ ‘Dan-no-Ura’ and ‘The Magic Flute.’ Now, he have his own team named “Step Dsign” which aims to do the performing arts., that recently one of the contestants of Thailand’s got talent season 3, under the name of “New blood”. My latest work is to be the choreographer for ballet-opera ‘Suriyothai’ which once again directed by Somtow Sucharitkul.
Associated with
อดิเทพ บัวน้อย Aditep Buanoi สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ Siripong Soontornsanor
สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ (ดุ่ย) เกิด 25 พฤศจิกายน 2525 จบการศึกษาจากคณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขา วิชาการละคร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เคย สอนเต้นที่ รร. มีฟ้า ในปี พ.ศ.2550-2552 โดยมีผล การแสดงต่างๆ อาทิ ร่วมทำ�การแสดงพิธีเปิดและ ปิด SEA Game ครั้งที่ 24 ที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ร่วมแสดงละครเวที “เรยาเดอะมิวสิคั ล” ร่วมงาน A TOUT JAMAIS MUSICAL MAJESTY OF THE KING 2011 ณ ประเทศฝรั่งเศส และเข้า ร่วมประกวด THAILAND’S GOT TALENT#3 ในชื่อ กลุ่ม NEW BLOOD TEAM ในปีพ.ศ. 2556 สิริพงษ์ ได้ร่วมงานกับโอเปร่าสยาม ในฐานะนัก เต้นมาแล้วหลายครั้ง อาทิ โอเปร่าเรื่อง “แม่นาค” ณ ประเทศอังกฤษ โอเปร่า “เดอะ ฟลายอิ้ง ดัทช์แมน” “ คาร์เมน” “บัลเล่ต์โอเปร่า สุริโยทัย” ร่วมออกแบบ ท่าเต้น “พระมหาชนก โอเปร่า” “ดันโนอุระ” ปัจจุบัน สิริพงษ์เป็นนักออกแบบท่าเต้นและร่วม แสดงในงานต่างๆของคณะ STEP DSIGN
15
นักแสดงนำ� | Cast
สเตซี แท็พแพ็น Stacey Tappan 16
พระสุริโยทัย (ขับร้อง) Queen Suriyothai (Singer) Stacey Tappan has distinguished herself as an exceptional musical artist in the United States and abroad. In stellar reviews for her “witty and sexy” Adele in Die Fledermaus with the Glyndebourne Festival Opera, she was praised for the production’s “most polished singing... her coloratura bright and well-focused.” Plaudits for her Gilda in Rigoletto with Opéra de Lille and Opéra de Dijon included, “the revelation of the evening” -“a luminous Gilda” -- tremendous American soprano” -- “a magnificent discovery” and “high notes of a splendid sweetness.” Recent engagements for Ms. Tappan have included the world premiere of Adamo’s The Gospel of Mary Magdalene with San Francisco Opera; Lucia di Lammermoor with Arizona Opera; Clorinda in La cenerentola, Miss Wordsworth in Albert Herring, and Krenek’s Das Geheime Königreich, under the baton of James Conlon with Los Angeles Opera; the Charmeuse in Thaïs at the Edinburgh Festival; Adina in L’elisir d’Amore, and Despina in Così fan tutte with the Jacksonville Symphony; Carmina Burana with the Colorado Symphony; the Ring Cycle with San Francisco Opera; and performances of Mahler’s Fourth Symphony and Beethoven’s Ninth Symphony. Heralded for her “breakthrough performance” as Bella in Lyric Opera of Chicago’s production of Sir Michael Tippett’s The Midsummer Marriage, Ms. Tappan has also appeared with the Lyric Opera as Nanetta in Falstaff, the Woodbird and Woglinde in the Ring Cycle, and Papagena in the student matinees of Die Zauberflöte, as well as cov-
ering Cleopatra in Handel’s Giulio Cesare and the title role in Lulu. While with the Lyric Opera Center for American Artists, she “turned heads throughout operatic America” and “emerged as a real star” as Isis in the world premiere of Michael John LaChiusa’s Lovers and Friends: Chautauqua Variations. Tappan appeared with the Los Angeles Philharmonic singing Wing on Wing, composed and conducted by Esa-Pekka Salonen, and Mahler’s “Symphony of a Thousand” at the Hollywood Bowl. She sang in the first concert of the “Recovered Voices” series at the Los Angeles Opera under the baton of James Conlon, subsequently joining Conlon at the Ravinia Festival to sing the rarely heard songs of Alexander Zemlinsky and Franz Schreker. She has also appeared with Los Angeles Opera as Woglinde and the Woodbird in the Ring Cycle, the Wren in The Birds (recently released on DVD), Virtú and Pallade in L’incoronazione di Poppea, and the Dew Fairy in Hansel and Gretel. Ms. Tappan’s concert work has included Beethoven’s Christ on the Mount of Olives with the Springfield Symphony in Massachusetts, Carmina Burana with the Colorado, Wichita, Elgin, Springfield, and Jacksonville symphonies, and Hansel and Gretel and Mahler’s Second Symphony with the DuPage Symphony Orchestra. Chicago concert highlights include “Bernstein on Broadway” with the Grant Park Festival Orchestra, Hugh Wood’s Scenes from Comus with the Civic Orchestra of Chicago, three performances of the Stars of Lyric Opera concerts in Chicago’s Mil-
lennium Park, and Mendelssohn’s Midsummer Night’s Dream at Ravinia Festival. She portrayed Cunegonde in Candide at the Chicago Cultural Center, later returning in Rossini’s Il signor Bruschino and Ravel’s L’Enfant et les Sortilèges and winning critical acclaim as “the vocal showstopper.” Ms. Tappan made her professional debut with Houston Grand Opera as Beth in Little Women, broadcast on PBS’ Great Performances and released on CD by Ondine and on DVD by Naxos. With Bangkok Opera, she portrayed Pamina in Die Zauberflöte after singing the title role in Madana, the first grand opera by a Thai composer. She is featured on the best-selling Thai recording of the Mahajanaka Symphony, a work honoring the King of Thailand. Her operetta roles include Mabel in Pirates of Penzance with Michigan Opera Theatre, and Hannah Glawari in The Merry Widow and Lilli Vanessi in Kiss Me Kate with Chicago’s Light Opera Works. Her awards include grants from the Elardo Competition and the Solti Foundation U.S., first place in the Licia Albanese-Puccini Foundation competition, finalist in the MacAllister and Houston Grand Opera Eleanor McCollum competitions, the Richard F. Gold Career Grant, the Lucrezia Bori award, and first place from the New York Singing Teachers Association, as well as scholarships from Wolf Trap Opera, Santa Fe Opera, Juilliard School, Manhattan School of Music, the University of Miami, and Chapman University. www.staceytappan.com
วินิตา โลหิตกุล
Winita Lohitkul พระสุริโยทัย (ระบำ�) Queen Suriyothai (Dancer)
Winita was born in March 1981 and graduted from Satriwittaya 2 School then she continued to University of the Thai Chamber of Commerce. She got bachelor’s of Arts for Business English form Faculty of Humanities. She has been working as a dancer, a dance instructor, an acting coach for singer trainee and a choreographer for TVC and events. She had many experience in per-
forming arts and competition such as a candidate in Final round of LG Entertainer, join in Thailand Got Talent Show wtih “New Blood” Team, Dance back-up for pop stars e.g. Tata Young, Dan Worawate and Academy Fantasia, a main actress in various music video, and a moderator in Central Channel. Winita has been joined Opera Siam International as dancer since 2012 for Somtow’s the Silent Prince.
สาโรช โรจน์ประเสริฐกูล Saroch Rochprasertgul
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ/ พระเฑียรราชา King Maha Chakkraphat/ Prince Thianracha
Saroch graduated with a Bachelor’s of Arts degree in Thai Music from Faculty of Humanities, Kasetsart University. He was a member of a pop duo 1011 (ten-eleven), realease in April 2007. He had many experiences in performing arts such as a Dancer for Film Rattapoom, James Ruengsak, The Star artist and many events, a main actor in TVC, e.g., K-Bank, Glico, Colgate, Nitipol Clinic, etc. and a
main actor in Music Video Like P.O.I. and Deaw Aroonpong. Saroch work as choreographer for Bie Sukrit’s single Look Like Love, Assistant choreographer for The Star season 7-9 and a dance trainer for KPN Awards 2010 2011. He was nominated for 50 most eligible bachelors 2007 from CLEO Magazine.
17
นักแสดงนำ� | Cast
กัมปนาท เรืองกิตติวิลาส
Kampanath Ruangkittivilas 18
พระเจ้าตะเบงชเวตี้ King Tabinshwehti กั ม ปนาทจบการศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญา ตรี สาขานาฏศิลป์ไทย (โขนพระ) จากคณะ ศิลปนาฏดุริยางค์ สถาบัณบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร มี ผ ล งานการแสดงนาฏศิ ล ป์ ไ ท ย นาฏศิลป์นานาชาติและ Contempolary Dance รวมถึงการออกแบบท่าเต้นและ ออกแบบงานแสดงต่าง ๆ เช่น แสดงระบำ�
อาเซียน ต้อนรับเรือเยาวชนอาเซียน โดย เป็นตัวแทนนาฏศิลป์พม่า ร่วมแสดงในการ ประกวด Miss Thailand Wolrd และเป็น ผู้ช่วยออกแบบท่าเต้นของ อ. พีรมณฑ์ ชม ธวัช รวมถึงร่วมแสดงในรำ�และละครต่าง ๆ ของคณะละครอาภรณ์งาม ใน พ.ศ. 2554 ได้รับคัดเลือกเป็นครู อาสาไปเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทย ณ นคร
นิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเวลา 1 ปี ในโครงการครูอาสา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และในปี พ.ศ. 2556 ได้มีโอกาสเป็นพิธีกรรายการสำ�แดง ศิลป์ ช่อง ไทย พี บี เอส ร่วมกับวรรณ สิงห์ ประเสริฐกุล และแสดงภาพยนตร์เรื่อง สารวัตรหมาบ้า ของสหมงคลฟีล์ม โดยรับ บทเป็น ดาบตำ�รวจเวช
พจน์ปรีชา ชลวิจารณ์ Potprecha Cholvijarn นักร้องชาวยุโรป a European Singer Jak (Potprecha) Cholvijarn sang in Nicholson Choir at Cheam School, Winchester College Chapel Choir, and Bristol Cathedral Choir as a choral scholar. He attended Eton College Choral Course, masterclasses by Michael Chance, and took lessons with Charles Brett and Patrick Van Goethem. Based in Bangkok, Thailand, Jak has performed as a soloist for Opera Siam (Bangkok Opera), Siam Philharmonic, and Siam Sinfonietta on many occasions, notably, in Mozart’s Requiem, Handel’s Dixit Dominus, Massenet’s Thaïs (as Myrtale), Rossini’s Petite Messe Sollenelle, Haydn’s Harmoniemesse, Mahler’s Symphony No. 3, Mozart’s Zauberflöte (as dritte Dame) and Cavalli’s La Calisto (as Endimione). Achan
Somtow Sucharitkul cast him as the Buddha in three episodes of his Ten Lives of the Buddha (Das Jati) music drama cycle: The Silent Prince (opera), Bhuridat: The Dragon Lord (ballet-opera) and Sama: The Faithful Son (opera-ballet); and created the roles of Lord Atsumori in Dan No Ura (opera), and European Singer in Suriyothai (ballet-opera) for him. With Grand Opera (Thailand), he sang in concerts and events organized by British, Swiss, Austrian and Spanish embassies in Bangkok, for example, Queen Elizabeth II’s Diamond Jubilee celebration in Bangkok, Austrian National Day Celebrations in Bangkok, Spanish Song and Zarzuela Concert, Swiss Art Song Concert, and Mozart, Schubert and Strauss Concert. Colin Kirk-
patrick, a British composer, recently wrote a song cycle for him. Titled ‘Kyoto Dreams’ and based on English translations of medieval Japanese poems, it received its premiere at Ben’s Theatre, Pattaya. Jak also performed for Bangkok International Community Orchestra and Combined Choir (Handel’s Messiah), Bangkok Music Society (Chapentier’s Missa Assumpta est Maria) and in fund raising events for many charitable foundations including Zonta International, Kidney Foundation, English-Speaking Union, NightLight International, Kritanusorn Foundation and Foundation for the Blind. He is currently taught by Stefan Sanchez and Deborah York.
เนื้อร้อง | Lyrics แปลและเรียบเรียง โดย ถ่ายเถา สุจริตกุล Dukkhappattā ca niddukkhā, ~ bhayappattā ca nibbhayā, sokappattā ca nissokā - ~ hontu sabbe pi pāṇino! Dānaṁ dadantu saddhāya, ~ sīlaṁ rakkhantu sabbadā, bhāvanābhiratā hontu, ~ gacchantu devatāgatā. Ākāsaṭṭhā ca bhummaṭṭhā ~ devā nāgā mahiddhikā, puññaṁ taṁ anumoditvā ~ ciraṁ rakkhantu maṁ paran!-ti
19
May those who suffer be without suffering, ~ may those who fear be without fear, may those who grieve be without grief - ~ may all living creatures be so! You should give gifts with confidence, ~ protect your virtue at all times, find delight in meditation, ~ and (after death) go to the gods. SURIYOTHAI’S PLEA May those powerful gods and nāgas stationed in the sky or on the earth, having shared in this merit ~ protect me and others for a long time! O my lord, my liege My prince, my love ผู้ทุกข์ทรมานจงสิ้นทุกข์ ผู้หวาดกลัวจงสิ้นกลัว My heart is torn สรรพสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย จงหลุดพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง This land cries out for a king Your people yearn for peace. จงให้ด้วยความมั่นใจ ยึดมั่นในคุณธรรมความดีตลอดไป Heal our people แสวงสุขโดยตั้งจิตสมาธิ และ (เมื่อดับสูญ) ไปเฝ้าองค์เทพเจ้า Heal this nation ขอพระเป็นเจ้าผู้ทรงฤทธิ์ และนาคา ณ แดนฟ้าและแดนดิน Heal this heart.
ได้โปรดร่วมกุศลผลบุญ
พิทักษ์รักษาปวงข้าฯ ชั่วกาลนาน
Maurice Scève (1501-1564) O gentille Ame estant tant estimée Qui te pourra louer qu’en se taisant? Quand le subject surmonte le disant. O gentle Soul, being so esteemed, Who could praise you save in silence? For speech is always restrained
โอ้ เจ้าชีวิต ความภักดีแห่งข้า เจ้าชาย ยอดดวงใจ ใจข้าฯ ขาดรอน แผ่นดินร�่ำร้องเรียกหากษัตริย์ ประชาราษฎร์เฝ้ารอสันติสุข โปรดบำ�บัดทุกข์ปวงข้า เยียวยาประเทศชาติ เยียวยาหัวใจดวงนี้
When the subject surpasses the speaker.
โอ้ วิญญาณที่อ่อนโยน สุดยอดเคารพบูชา ใครจะอาจเอื้อมสรรเสริญท่านนอกจากในความเงียบ ด้วยวาจาถูกสะกดกั้น เมื่อผู้รับสูงส่งเหนือผู้กล่าว Madeleine Des Roches (1520-1587) O douloureux regrets! O triste pensement! Qui avez mes deux yeux convertis en fontaine! O trop soudain depart! O cause de la peine Qui me fait lamenter inconsolablement!
โอ้ แสนเสียดาย โอ้ ความโศกเศร้าอาดูร อัสสุชลพรูพรั่งจากดวงตา อนิจจามาด่วนจาก นำ�ความปวดร้าวแสนสาหัส ระทมทุกข์มิรู้สิ้น
SURIYOTHAI’S SACRIFICE The time has come, The time to choose
One woman’s life, One man’s One subject’s life, One King One person’s life, One nation I go to darkness now But my kingdom goes to light I will be with you forever.
ถึงเวลาแล้ว เวลาที่ต้องเลือก ชีวิตประชาชนหนึ่งคน หรือกษัตริย์พระองค์เดียว ชีวิตมนุษย์หนึ่งคน หรือประเทศชาติ เราไปสู่ความมืด ณ บัดนี้ แต่ชาติบ้านเมืองไปสู่แสงสว่าง เราจะอยู่กับเจ้าตราบสิ้นดินฟ้า
บทความ | Article by Somtow Sucharitkul
In Search of 20
Suriyothai
As a child growing up in a family that believes in cultural immersion, I was often taken to the ballet. My sisters all studied ballet, and I was fortunate enough to see Margot Fonteyn and Rudolf Nureyev and such legendary figures. In my teenage years, I also played the piano for a ballet teacher in the Netherlands every weekend for fifteen guilders a pop. I gradually came to realize that the art of the narrative ballet - one that tells an entire story from beginning to end, using the full resources of a symphony orchestra and a connected and unified choreographic viewpoint - has become some-
what moribund since the great days of the Ballets Russes 100 years ago. Almost all narrative ballets one sees today are the great classics. I also felt that there are moments of deep emotional impact in a stage work which seem to call for the highest form of lyric outpouring - which to me is to be found in the human voice. I wondered whether an form could be found to fuse the two ideas. But that art form was staring me in the face, because in Asia, music drama has always combined movement and singing. The Thai lakhorn and khon both make use of the human voice as well as movement. It seemed to me that to inject new life into the narrative ballet I needed to return to my Thai roots for inspiration. It was then that the story of Suriyothai rose to the surface of my consciousness. It is a natural subject for a work like this. There is a strong woman at its center - one who exhibits tenderness, passion, and self-sacrifice. Suriyothai is an iconic figure, a national symbol. Yet in the records of the time, we cannot even be certain what her name was, and there are historians who do not believe she existed. Nevertheless, this legendary figure has been a potent focus for nationalistic sentiment and
I believe that whatever the historical details, Suriyothai clearly lives in the hearts of millions of people in this country today. But many things about the Ayuthaya Period are not as well known to modern Thais as they should be. During Suriyothai’s lifetime, Ayuthaya had not yet reached its cosmpoitan peak, but it was on the threshold of being one of the major metropolises of the world. European visitors reported on being stunned at this city’s vastness (it was larger than cities like London) and its order (it was cleaner that cities like Paris). Europeans were everywhere in evidence, the Dutch, the Jesuits, the Portuguese. In the year that this story takes place, China banned westerners, which propelled Ayuthaya even further into the limelight as one of the few remaining gateways to the Far East. One of the things I wanted to show in this ballet-opera is that cultural cross-pollination began far earlier than modern people realize. The scene where the European ambassador presents authentic 16th century court dances to King Mahachakrapat and the dances are entertainly mimicked and subverted by Thai dancers is a way to bring this reality home. In the final scene, Suriyothai’s funeral, the combination of classical Thai
music and renaissance chanson is another way of pointing up these connections. A misconception that westerners often have about Thailand is that is is a culture in which women are second-class citizens and I wanted to show, also, that even four hundred years ago, Siam had women who wielded political and moral authority. Not every Asian society is the same but in western eyes they are often lumped together. Working in opera, I have spent twelve years now developing young singers, working on raising the standards of the musicians to an international level so that now conductors like Trisdee are appearing on European stages and young orchestras like the Siam Sinfonietta are winning international awards in Europe and America. In entering the world of dance I discovered a world in which I had a lot less “developing” to do because dance, whether it’s classical or avant-garde, has been flourishing here and there are numerous institutions that keep it a living art. I had only to give Puwarate, the enterprising young choreographer, the most basic of conceptual outlines and to explain that, unlike in most modern dance compositions, I was creating music in which every bit of action was firmly sketched out with the clarity of an opera libretto, and that the dances he created would actually have
to arise out of the musical matrix. With this very simple explanation, Puwarate’s creative juices were unleashed and I believe he has created a dance synthesis for this work that
is a defining moment in Southeast Asian theatre arts. Coupled with one of the finest sopranos of her generation, Stacey Tappan, and one of the “ten conductors under 30 to watch in the world today”, Trisdee na Patalung, this has been an absolutely enthralling mix. I believe that the door is now open to take the art form in a million different directions and I hope all the young artists seeing this collaborative work will rise to the challenge.
Prasit Kaniknan
Patharatorn Pinpraparporn
Jassada Jangdaecha
Niramol Kajeeworakul
Chutimon Deeseeon
Wichuda Jeenrian
Wirunphan Bunmi
Termpong Namab
Kanyalak Sawetsomboon
Siriluk Rukprayoon
Nattasiree Onsomkrit
Teerapat Boontarawa
Putiratch Thongpu
Chuliporn Indraram
Abdulmatif Samail
Naruenart Kulakarn
Sasakun Wapakpetch
Autchawadee Jitjumrean
Natnaree Prasoprat
Kanokwan Pongpoom
Pattharika Jantaramanit
Boonyarit Boonthoeng
Anoorak Kantiya
Faifah Prempracha
Krit Kakaew
Siriporn Wisetmanee
Panumas Pholpikul
Sirirat Phuurirod
Jaruphat Supanun
Phitthaya Phaefuang
Nimitr Yoocharoen
นักระบำ� | Dancers
22
Napatsorn Saeksuk Alto
Surapong Wattananontachai Tenor
Teerapong Sawangwattnakul Tenor
Chaiporn Phuangmalee Tenor
Charin Sumakka Tenor
Siriwich Pussayapaiboon Tenor
Pattranon Rodprasit Tenor
Anukul Jirawattanadej Tenor
Temsit Suanchan Tenor
Jiraroj Keawjaila Tenor
Rom Parnichkun Bass
Thanapat Supornasest Bass
Traisit Piyajarusit Bass
Yotsawan Meethongkum Bass
Edward Stein Bass
Miho Fukutome Alto
Patcharanat Aunkaew Alto
Karnteera Srinuan Alto
Chomphupak Poonpol Alto
Anika Thavarojana Alto
Rhea M. Mahayag Alto
Raphael Ayrle Soprano
Pannarat Phnitsirinun Soprano
Jitsommanas Muninnopphamas Chanita Boonrueng Alto Soprano
Thalassa Tapia-Ruano Ferrand Soprano
Kulisara Sakoonrat Soprano
Kittiya Ekpojananan Soprano
Ruby Suito Ong Soprano
Chantal Gopinath Soprano
Emm Parnichkun Soprano
Rit Parnichkun Soprano
Thanyarat Suaysuwan Soprano
Ploy Chattanont Soprano
Thamolwan Khumprakob Soprano
นักร้องประสานเสียง | Chorus
วงออร์เคสตรา | Orchestra
Siam Philharmonic Orchestra วงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิก สยามฟลฮารโมนิคออเคสตรากอตั้งโดย สมเถา สุจริตกุล เมื่อป พ.ศ. 2543 ภายใตชื่อ “มีฟา ซินโฟนิเอตตา” (MIFA Sinfonietta) เพื่อสนอง ความตองการของกรุงเทพฯ ในการมีซิมโฟนีออเคสตราขนาดเล็กที่เนนหนักในการบรรเลงดนตรี คลาสสิคประเภท repertoire รวมทั้งฝกฝนนัก ดนตรี ใ นภาคพื้ น ให พั ฒ นาเทคนิ ค การบรรเลง มี ฟ า ซิ น โฟนิ เ อตต า ถู ก จั ด ให เ ป น วงดุ ริ ย างค ใ น สังกัดคณะมหาอุปรากรบางกอกโอเปราตั้งแตป พ.ศ. 2544 ตอมาผลงานขอวงมีฟาซินโฟนิเอตตา ไดเจริญ เติบโตและกาวไกลยิ่งขึ้น การบรรเลงคีตนิพนธ ของปรมาจารยคีตกวีมาหเลอรและวากเนอรเมื่อ ป พ.ศ. 2548 ทําใหไมเหมาะที่เรียกวงดุริยางคนี้ วา“ซินโฟนิเอตตา” หรือวงดุริยางคนอย อีกตอไป จึงไดเปลี่ยนชื่อวงจากเดิมเปน “วงดุริยางคสยาม ฟลฮารโมนิค” (Siam Philharmonic Orchestra) ซึ่งเปนชื่อที่สมเด็จพระเจาพี่นางเธอเจาฟา กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร ไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทาน ภารกิจหลักของวงดุริยางคสยามฟลฮารโมนิค ไดแก โครงการสนับสนุนเยาวชน ผูมีพื้นฐานชั้น ตนจนถึงผูประสบความสําเร็จในระดับสูง ทั้งนี้ ดวยการเสาะหาเยาวชนผูมีพรสวรรคมาฝกสอน และเปดโอกาสใหแสดง ฝมือเคียงบาเคียงไหล นัก ดนตรีอาชีพผูมีความสามารถในฐานะสมาชิกเต็ม ขั้นของวง- ดุริยางคโดยไมมีการจํากัดอายุ เยาว ชนผูผานโครงการนี้จะไดกาวไปสูระดับแนวหนา ของศิลปนไทยผูมีชื่อเสียงเดนดัง โดยในป 2553 วงสยามฟลฮารโมนิคไดสนับสนุนการกอ-ตั้งวงดุ ริยางคเยาวชนสยามซินโฟนิเอตตาเพื่อรวมรวบ
เหลานักดนตรีทั้มีพรสวรรคเพื่อเตรียมตัวเปนนัก ดนตรีอาชีพที่ดีในอนาคต ปจจุบัน สยามฟลฮารโมนิคเปนวงดุริยางคที่ มี ป ระสบการณ ก ารบรรเลงเพลงโอเปร า สู ง สุ ด แหงภาคพื้นเอเชียอาคเนย จากผลงานที่หลาก หลายทั้งบทเพลงรวมสมัยและคีตนิพนธจากคีต กวีระดับปรมาจารย อาทิ โมสารท แวรดี ปุชชินี มาเซเนต บริเตนและวากเนอร เปนตน และวงดุ ริยางคสยามฟลฮารโมนิคไดเริ่มนําเสนอ “วัฏจักร มาหเลอร” ครบทั้ง 11 บท ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 2558 ----The Siam Philharmonic Orchestra was founded in 2002 by Somtow Sucharitkul. Originally named the MIFA Sinfonietta, the orchestra originally was intended to fulfill a need for a small symphony orchestra in Bangkok that concentrated on the core classical repertoire and brought more historically informed performance techniques to the region. In 2003, the orchestra became the resident orchestra of the Bangkok Opera. Since that time its repertoire and standing have grown tremendously. In 2005, recognizing that with its Mahler and Wagner premieres it could no longer be called a “sinfonietta”, and at the suggestion of HRH Princess Galyani Vadhana, the Bangkok Opera’s board changed the orchestra’s name to the Siam Philharmonic Orchestra. The Siam Philharmonic has a special mission to young people and from
the beginning instituted a highly successful apprentice program, in which exceptionally talented students were recruited to play alongside topprofessionals. Graduate of this programme have gone on to become some of Thailand’s most well-known instrumentalists. In 2010, the orchestra sponsored the creation of a new youth orchestra in order to widen the pool of young talent. The Siam Philharmonic is currently the most experienced opera orchestra in Southeast Asia, with a wide repertoire that includes contemporary operas as well as established classics by Mozart, Verdi, Puccini, Massenet, Britten, and Wagner. In 2009 it inaugurated a complete Mahler cycle which will be completed by the year 2015. Opera magazine’s critic Jonathan Richmond has said of this orchestra: “The playing was clean, taut, and full of detail. Strings were sharply disciplined to evoke a thousand feelings, while sensitive to exploring the depths of those emotions, once exposed. And the winds: just a single flute could enslave the whole Thailand Cultural Centre to the belief that Verdi’s extraordinary fiction was in fact true to life. This was music of a greatness surely more splendid than anything Bangkok has ever heard before. Bravo!”
หัวหน้าวง | Concertmaster
Concertmaster
Chot Buasuwan โชติ บัวสุวรรณ • หัวหน้าวง
โชติเริ่มเรียนไวโอลินตั้งแต่อายุ 7 ปี กับ ผศ. นรอรรถ จันทร์กล่ำ� ต่อมาโชติได้เข้าศึกษา ที่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย และได้รับรางวัลผู้ มี ค วามสามารถทางดนตรี จ ากสมเด็ จ พระบรม โอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร และพระเจ้าวร วงศ์เธอพระองค์เจ้าศรีรัศมิ์ พระวรชายาฯ (พระ ยศในขณะนั้น) ในเวลาต่อมาโชติได้รับเลือกเป็น นักเรียนแลกเปลี่ยนเพื่อศึกษาต่อ ณ เมือง Palmerston North ประเทศนิวซีแลนด์ และได้เข้า ร่วมวง Manawatu Youth Orchestra และ Manawatu Sinfonia Orchestra ในระหว่าง ศึกษาที่นั่นด้วย ก่อนไปศึกษาที่ประเทศนิวซีแลนด์ โชติได้มี โอกาสเรียนไวโอลินกับ อาจารย์ประทักษ์ ประที ปะเสน อาจารย์ทัศนา นาควัชระ และภายหลังกับ อาจารย์ศิริพงษ์ ทิพย์ธัญ ปัจจุบัน โชติกำ�ลังศึกษาในระดับปริญญาตรีใน สาขาวิชาเอกไวโอลินกับ ผศ. นรอรรถ จันทร์กล่ำ� ที่ภาควิชาดุริยางคศิลป์ตะวันตก คณะศิลปกรรม ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสมาชิก ของวงออเคสตราแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวหน้าวงดุริยางค์สยามฟิลฮาร์โมนิค และหัวหน้า วงดุริยางค์เยาวชนสยามซินโฟนิเอตต้า
Chot first studied violin at the age of 7 with Nora-ath Chanklum. As a student at Vajiravudh College, he received the “Musical Talent Award” from HRH Crown Prince Maha Vajiralongkorn and HRH Princess Srirasmi. He studied with a number of well-known Thai violinists such as Dr. Pratak Prateepasen, Tasana Nagavajara and Siripong Tiptan. He continued his studies in New Zealand as a member of the Manawatu Youth Orchestra and the Manawatu Sinfonia. He also toured with the New Zealand Symphony Orchestra. In 2010 he became a founding member of the Siam Sinfonietta, and two years later became the orchestra’s concertmaster, a position he currently holds. He participated in the orchestra’s string of award-winning tours including in the Musikverein in Vienna, Konzerthaus Berlin, Disney Hall and Carnegie Hall. Presently he is a B.A. student at Chulalongkorn University and a member of such orchestras as The Chulalongkorn University Symphony Orchestra, CU String Orchestra, Bangkok Symphony Orchestra, and has been guest concertmaster with the Siam Philharmonic Orchestra on numerous occasions.
Nichapa Nilkaew Violoncello
Samatchar Pourkarua Violoncello
Nithid Banjerdthaworn Violoncello
Nontaphat Chuenwarin Violoncello
Prawwanitsita Neesanant Double bass
Sureeporn Feesantia Double bass
Sarote Kanprasert Flute 1
Pannita Chalermrungroj Flute 2
Pongsathorn Surapab Principal Double bass
Wishwin Sureeratanakorn Principal Violoncello
Thachapol Namwong Viola
Nitivadee Kaosa-ard Viola
Vichantra Kamrai Viola
Tapanatt Kiatpaibulkit Viola
Atjayut Sangkasem Principal Viola
Setthawut Samranpan Violin 2
Napat Nanasombat Violin 2
Warot Ratanaphund Violin 2
Wereya Siripen Violin 2
Kulisara Sangchan Violin 2
Wannika Kuankachorn Violin 2
Pittaya Pruksachonlavit Principal Violin 2
Thanapich Mahasuk Violin 1
Chatchai Sukniyom Violin 1
Nirutsa Usomboon Violin 1
Hiran Bongkotmas Violin 1
Naphatipa Preechanon Violin 1
Thanaporn Sathienwaree Violin 1
Chot Buasuwan Violin 1 (Concertmaster)
นักดนตรี | Orchestra Members
26
Wasupon Tarntira Percussion 2
Thammasak Hirunkajonroj Percussion 3
Kanthita Komolphan Percussion 4
Pansa Soontornrattanarak Harp 1
Pasatorn Stieniti Harp 2
Kant Lormsomboon Celesta & Mandolin
Somnuek Saeng-arun Traditonal Thai Instruments
Wacharaphong Kanchanawarut Traditonal Thai Instruments
Kotchapak Boonviparut Bassoon 1
Tanakan Theerasuntornvat Bassoon 2
Thanapak Poonpol French Horn 1
Icey Charoenponphot French Horn 3
Jittinant Klinnumhom French Horn 4
Teerapol Kiatthaveephong Trumpet 1
Wannachat Sripan Trumpet 2
KittipatRatinai Trombone 1
Suphawadee Kalhong Trombone 2
Daisuke Iwabuchi Timpani
Panthit Rojwatham Percussion 1
Teerapat Dacha Tuba
Metha Yuan-khiaw Clarinet 2
Nutdanai Karuhardsuwarn Assistant Trumpet 1
Tharit Korthammarit French Horn 2
Thanisorn Puengchai Bass Trombone
27
Ratchanon Intarasathit Clarinet 1
Thanawan Thawatviboon Oboe 2
Kijjarin Pongkapanakrai Oboe 1
Teerawat Ratthanaphapameteerat Piccolo
บทความ | Article โดย ถ่ายเถา สุจริตกุล นักเขียนรางวัลนราธิป
28
“สุริโยทัยวั”นนั้นกับวันนี้ สุริโยทัย... ไม่มีคนไทยคนไหนไม่รู้จักว่า พระองค์ ท่ า นคื อ วี ร สตรี แ ห่ ง สยามประเทศ ความขัดแย้งระหว่างประเทศเพื่อนบ้านซึ่ง ขณะนั้ น ไม่ ใช่ มิ ต รประเทศเช่ น ในปั จ จุ บั น ได้ถูกบันทึกไว้ในประวัติศาสตร์ว่า พระเจ้า ตะเบงชเวตี้ กษัตริย์นักรบผู้ยิ่งใหญ่แห่ง อาณาจักรพุกาม กรีฑาทัพมารุกรานแผ่น ดินสยาม พระมหาจักรพรรดิ กษัตริย์แห่ง อยุธยา จึงยกทัพเข้าขัดขวางโดยมีพระราชินี สุริโยทัยทรงเครื่องนักรบชายเสด็จเคียงข้าง พระสวามี ระหว่างที่สองกษัตริย์กระทำ� ยุทธหัตถี ช้างของพระมหาจักรพรรดิ์เพลี่ยง พล้ำ�จนเสียกระบวน ได้มีนักรบนิรนามผู้ หนึ่งไสช้างเข้าแทรกเพื่อปกป้องพระชนม์ชีพ พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาจนตัวเองต้องศาสตรา เสียชีวิต ปรากฎว่านักรบนิรนามผู้นั้นคือ พระสุริโยทัย เมื่อกษัตริย์พม่าซึ่งเป็นชายชาติ ทหารรู้ว่าคู่ต่อสู้นั้นความจริงเป็นสตรีเพศ จึง เกิดความอับอาย ยกทัพที่เริ่มระส่ำ�ระสาย ถอยกลับไป การสละพระชนม์ชีพของพระสุ ริโยทัยแสดงถึงอานุภาพอันยิ่งใหญ่เหนือชีวิต ของความรั ก ที่ ท รงมี ต่ อ พระสวามี แ ละชาติ บ้านเมือง แม้เหตุการณ์ครั้งนั้นจะเป็นสุดยอดของ วีรกรรมในประวิติศาสตร์ แต่เมื่อกาลเวลา ผ่านไปเนิ่นนาน ความชัดเจนของความทรง
จำ�ย่อมลบเลือนไปบ้าง โดยเฉพาะคนรุ่น หลังซึ่งอาจไม่รู้หรือไม่ให้ความสนใจเท่าที่ควร แต่ แ ล้ ว ก็ ก ลั บ ตื่ น ตั ว ขึ้ น เมื่ อ หม่ อ มเจ้ า ชาตรี เฉลิม ยุคล ทรงพลิกฟื้นเหตุการณ์สำ�คัญใน ประวั ติ ศ าสตร์ ม าถ่ า ยทอดเป็ น ภาพยนตร์ ฟอร์มยักษ์ “สุริโยทัย” เมื่อกว่าสิบปีมาแล้ว ผลงานนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนทั้ง ประเทศ สมเถา สุจริตกุล คีตกวีไทยมีความเห็น ว่า ชาวต่างชาติส่วนมากขาดความเข้าใจ สถานภาพที่แท้จริงของสตรีไทยว่าโดดเด่น เพียงใดสังคม โดยเฉพาะในประวัติศาสตร์ ที่ จ ารึ ก ในความทรงจำ�ของปวงชนชาวไทย
อีกทั้งความยิ่งใหญ่ของอยุธยาในสายตาชาว โลก ณ ช่วงเวลานั้น ปีพุทธศักราช 2091... พระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ 6 ขึ้นครองราชบัลลังก์ ที่ไม่มั่นคงของอังกฤษ... แมรี ควีน ออฟ สก็อตส์ พระชนมายุ 5 พรรษา ทรงหมั้นกับ กษัตริย์ฝรั่งเศส... สเปนก่อตั้งเมืองลาปาซซึ่ง ต่อมาเป็นประเทศโบลิเวีย... พระเจ้ากรุงจีน ราชวังหมิงประกาศห้ามติดต่อกับต่างชาติ... ขณะที่จีนปิดประเทศ แต่เมืองหนึ่งใน ทวีปอาเซียยังเปิดรับวัฒนธรรมที่มีสีสันจาก แดนไกล...จากปอร์ตุเกส จีน ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์... เมืองนั้นได้แก่อยุธยา เมื อ งตำ�นานเก่ า แก่ ซึ่ ง ล้ำ� เลิ ศ กว่ า ประเทศ ตะวันตกหลายประเทศในยุคสมัยนั้น ด้วย ความงดงามและเหมาะสมดังกล่าว สมเถา จึ ง คิ ด ที่ จ ะนำ�เรื่ อ งราวของพระสุ ริ โ ยทั ย มา ถ่ายทอดในลักษณะสังคีตศิลป์ระดับสูงของ นานาอารยะประเทศ ได้แก่ มหาอุปรากร หรือโอเปร่า เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ชมที่ยังไม่คุ้นเคยกับ การแสดงคลาสสิกประเภทมหาอุปรากร สม เถาได้ คิ ด ค้ น วิ ธี ก ารนำ�เสนอใหม่ ใ นรู ป แบบ มหาอุปรากรผสมระบำ� หรือ “บัลเล่ต์-โอ เปร่า” โดยนำ�ตำ�นานวีรกรรมอันยิ่งใหญ่ของ พระสุริโยทัย วีรสตรีผู้มีบทบาทสำ�คัญยิ่งใน ประวัติศาสตร์ของสยามประเทศ มาผสม ผสานกับจินตนาการ ดนตรี สีสันบรรยากาศ
และนาฏศิ ล ป์ ป ระยุ ก ต์ ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กับเนื้อเรื่อง รวมทั้งการขับร้องโดยดารา มหาอุปรากรระดับโลก เป็นนวัตกรรมแห่ง สังคีตศิลป์ซึ่งผู้ประพันธ์สร้างสรรค์โครงสร้าง สำ�หรับนักระบำ� นักร้อง กับซิมโฟออร์เคสต ร้าวงใหญ่ ประกอบด้วยเครื่องดนตรีไทยผสม ดนตรีตะวันตก ทั้งนี้ โดยได้รับแรงบันดาลจา กนาฎศิลป์ไทยเดิม บัลเล่ต์ และภาพเขียนบน กำ�แพงโบสถ์ซึ่งนำ�มาใช้เป็นฉากต่างๆ ในเรื่อง ในอภิ ลั ก ขิ ต สมั ย เฉลิ ม พระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พุทธศักราช 2556 โอเปร่าสยาม อินเตอร์ เนชั่นแนล คณะมหาอุปรากรในสังกัดมูลนิธิ มหาอุปรากรกรุงเทพ ซึ่งเป็นองค์กรเพื่อ การศึ ก ษาและแลกเปลี่ ย นศิ ล ปวั ฒ นธรรม โดยไม่แสวงหาผลประโยชน์ ได้นำ�เสนอ
การแสดงบัลเล่ต์-โอเปร่า “สุริโยทัย” รอบ ปฐมทัศน์โลกในเดือนสิงหาคม และรอบอื่นๆ รวม 5 รอบแสดง ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง ประเทศไทย ผลปรากฏว่าได้รับความสนใจ จากผู้ชมทั้งไทยและต่างชาติจำ�นวนมหาศาล จึงนำ�เสนอซ้ำ�อีก 4 รอบในเดือนตุลาคมปี เดียวกัน ซึ่งมีผู้เข้าชมเต็มทุกที่นั่ง หลังจากประสบความสำ�เร็จท่วมท้นจาก การนำ�เสนอถึง 9 รอบแสดงเมื่อปี 2556 จน ได้ชื่อว่า บัลเล่ต์-โอเปร่า “สุริโยทัย” เป็น รายการคลาสสิ ก ในประเทศไทยที่ มี ผู้ เข้ า ชมจำ�นวนมากเป็นประวัติการณ์ โอเปร่า สยามจึงนำ� “สุริโยทัย” กลับมาอีก 5 รอบ แสดงในวันที่ 27 ถึง 29 พฤษภาคม 2559 โดยกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวง วัฒนธรรม ให้เกียรติร่วมนำ�เสนอเป็นรายการ
เฉลิมพระเกียรติรายการแรกแห่งพุทธศักราช 2559 ทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ในปีมหามงคล พระมารดาแห่งแผ่นดินเจริญพระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ บัลเล่ต์-โอเปร่า “สุริโยทัย” ไม่เพียง กึกก้องในด้านการแสดง ดนตรียังเป็นที่ ยอมรับในระดับโลกว่ายอดเยี่ยม ความ อลังการของ “ตะเบงชเวตี้พิโรธ” หรือ Rage of Tabengchaveti เปิดแสดงบนเวทีหลาก หลายใน 4 ทวีป กล่าวคือ เอเชีย ยุโรป อเมริกา และออสเตรเลีย โดยวงดุริยางค์ไทย และต่างประเทศ นอกจากนั้น ยังเป็นเพลง หนึ่งที่ออร์เคสตร้าเยาวชนไทย สยามซินโฟนิ เอตต้า นำ�ไปบรรเลงชิงรางวัลโลกในเทศกาล Suma Cum Laude ประจำ�ปี 2555 ที่หอ
ดนตรีทองแห่งกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ส่ ง ผลให้ ไ ทยได้ รั บ รางวั ล ชนะเลิ ศ อั น เป็ น เกียรติสูงสุด วีรกรรมของพระสุริโยทัยได้รับการเผย แพร่ในรูปแบบการแสดงที่ผู้ชมสามารถสัมผัส ได้ โ ดยง่ า ยในประเทศไทยแล้ ว หลายครั้ ง หลายครา อีกทั้งได้รับการกล่าวขว้ญถึงอย่าง น่าภาคภูมิใจจากสื่อทั้งในและนอกประเทศ ในสายตานานาชาติ ณ บัดนี้ ประเทศไทย มิใช่เมืองท่องเที่ยวเพียงอย่างเดียว แต่เป็น ผู้นำ�ด้านนวัตกรรมนฤมิตศิลป์ระดับแนวหน้า ของโลก สมควรแก่เวลาแล้วมิใช่หรือที่บัลเล่ต์-โอ เปร่า “สุริโยทัย” ซึ่งเป็นผลงานของคีตกวี ไทยจะเปิดแสดงในต่างประเทศ... แต่ความฝันจะเป็นจริงได้อย่างไรหากไม่ ได้รับการสนับสนุนจากคุณ...
ฝ่ายผลิต | Production Team
30
Producer
Thaithow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล ผู้อำ�นวยการผลิต
หลั ง จากสำ�เร็ จ มั ธ ยมศึ ก ษาจากมาแตร์ เดอีและวัฒนาวิทยาลัย ถ่ายเถา สุจริตกุล เดินทางไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ สำ�เร็ จ วิ ช าเคหะศาสตร์ จ ากสถานศึ ก ษา วิ้งค์ฟีลด์เพลส (Winkfield Place) ประเทศ อังกฤษ และศึกษาวิชาจิตกรรมภาพวาด ระดับปริญญาโทที่มหาวิทยาลัย โนเทรอ เดม (University of Notre Dame) สหรัฐอเมริกา สมรสกับศาสตราจารย์ ดร. สมปอง อดีต เอกอัครราชทูตไทย และได้เดินทางติดตาม สามี ใ นฐานะภริ ย าเอกอั ค รราชทู ต ประจำ� ประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรปและญี่ปุ่นรวม 9 ประเทศ ระหว่างใช้ชีวิตเกือบ 2 ทศวรรษที่ซาน ฟรานซิสโก ถ่ายเถาได้ทำ�หน้าที่ผู้อำ�นวย การสร้าง (Producer) ภาพยนตร์ซึ่งเป็น ผลงานของบุตรชาย นายสมเถา สุจริตกุล ถ่ายทำ�ในฮอลลิวู้ด รวมทั้งอำ�นวยการผลิต มหาอุปรากรหลายเรื่องนำ�เสนอโดยโอเปร่า สยาม อินเตอร์เนชั่นแนล คณะมหาอุปรากร ในสังกัดมูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ นอกจาก นั้น ยังเป็นนักแปลและนักเขียนผู้มีผลงานที่ เด่นดัง อาทิ “ดอกส้มสีทอง” และ “เรยา” รวมทั้งจัดทำ�คำ�บรรยายประกอบการแสดง มหาอุปรากรทุกเรื่องของโอเปร่าสยาม เมื่อปีพุทธศักราช 2556 สมาคมนักเขียน แห่งประเทศไทยได้ประกาศเกียรติและมอบ
รางวัล “นราธิป” ให้ ถ่ายเถา สุจริตกุล ใน ฐานะนั ก เขี ย นผู้ ส ร้ า งสรรค์ ผ ลงานอย่ า งต่ อ เนื่องยาวนานและผลงานเป็นที่ยอมรับอย่าง กว้างขวาง กับรางวัล “สุรินทราชา” สำ�หรับ นั ก แปลดี เ ด่ น จากสมาคมนั ก แปลและล่ า ม แห่งประเทศไทย ถ่ายเถา สุจริตกุล ได้รับคัด เลือกเป็นสตรีไทยดีเด่นพุทธศักราช 2557 After finishing high school from Mater Dei Institute and Wathana Withaya Academy, Bangkok, Thaithow Sucharitkul continued her study in the United Kingdom at Winkfield Place and received her diploma in Home Economics and later on in the United States, where she had her training in studio arts graduate studies. Thaithow married Professor Dr. Sompong Sucharitkul, former Ambassador of Thailand to 9 countries in Europe and Japan. Thaithow Sucharitkul spent the past two decades in San Francisco with her husband after his return to academia. Her last association with an American University was in the position of Associate Director of the Bangkok Summer Program offered by Golden Gate University School of Law. During her stay
in the United States, Thaithow Sucharitkul produced two of her son’s (Somtow Sucharitkul) movies as well as several renowned operas for Bangkok Opera, an opera company under the umbrella of Bangkok Opera Foundation. She also spends part of her time using her literary skill, writing novels in her own name, and translating her son’s books from English into Thai. Her most popular novel “Dok Som Si Thong” was made into the talkof-the-town television series and the first Thai Broadway-styled musical “Reya the Musical.” In the year 2013, Thaithow was given an award for ‘Pride and Prime’ student of Wathana Withaya Academy. She was also honoured with ‘Narathuip Award’ as acclaimed writer from The Writers’ Association of Thailand as well as ‘Surinraja’ Award for Best Translator from Translators and Interpreters Association of Thailand. Thaithow was selected as one the Outstanding Thai Ladies of the year 2014.
Revival Costume Designer
Natthawan Santiphap ณัฐวรรณ สันติภาพ
31
ออกแบบเครื่องแต่งกายนักแสดง Assistant : Kanokrat Ariya Costume Team : Nattanan Sornpeng/ Soradhun Tangchloenkorn Sittichok Saykham/ Chaichana Thongtidae Panchanok Mitwichan/ Akkaravin Sumalu Chalatchamon Pateepchotiwong
Natthawan joined Opera Siam as a costume designer since July 2014, she has designed and led the costume team in various production including the epic Dan No Ura. Natthawan holds a Master’s Degree in Fashion Brand Management from Florence, Italy. Being an art, culture, and history enthusiast, along with her experience from fashion industry, makes her costume design express more than a story but intellection and her passion as well.
Make-up
Montri Wadlaiad มนตรี วัดละเอียด
ออกแบบแต่งหน้านักแสดง
ทีมช่างแต่งหน้า พงศ์รัต กิจบำ�รุง/ นภกุล กานต์เกษศิริ/ เมืองแมน หงษ์ปัสสา/ เบญจวรรณ ผาสุก/ ชุติมณฑน์ สายัณห์/ สาวิตรี สุขุมวาท/ อก รัตนเสถียร/ สรุง เมืองโคตร/ สุรเชษฐ์ โรจนวิศัลย์/ ครองขวัญ คชสารทอง
เริ่มเรียนแต่งหน้าที่โรงเรียนสอนศิลปะการแต่ง หน้า MTI (Makeup Technique International) มีผลงานเป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับในแนวคิด และฝีมือ ทั้งงานแต่งหน้านักแสดงภาพยนตร์ ละคร เวที นางแบบ และงานภาพยนตร์โฆษณา เป็น Makeup Designer ที่มีแนวคิดการออกแบบได้ อย่างเหนือจินตนาการ จนได้รับรางวัลด้านการแต่ง หน้ า นั ก แสดงภาพยนตร์ จ ากหลากหลายสถาบั น เป็นผู้สนองพระราชเสาวนีย์ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ศึกษาและออกแบบการแต่ง หน้าโขนสำ�หรับการแสดงโขนพระราชทาน และ จัดพิมพ์เป็นหนังสือหน้าโขน ปัจจุบันเป็นครูใหญ่ โรงเรียนสอนศิลปะการแต่งหน้า MTI และช่างแต่ง หน้า ผลงานการออกแบบ-แต่งหน้าที่สำ�คัญ ได้แก่ การออกแบบแต่งหน้าภาพยนตร์จันดารา อุโมงค์ผา
เมือง ชั่วฟ้าดินสลาย สุริโยไท คู่กรรมและตำ�นาน สมเด็จพระนเรศวร การออกแบบแต่งหน้าละคร โทรทัศน์สาบพะเพ็ง เหนือเมฆ ผลงานการออกแบบ แต่หน้าละครเวทีสู่ฝันอันยิ่งใหญ่ แมคเบธ และไกล กังวล Music on Beach รางวัลที่เคยได้รับ เช่น รางวัลชนะเลิศการ ประกวดแต่งหน้าแฟนซีแห่งประเทศไทย 2529 รางวั ล ชนะเลิ ศ การประกวดแต่ ง หน้ า แฟนซี แ ห่ ง เอเชีย พ.ศ. 2529 รางวัลแต่งหน้ายอดเยี่ยม โดย สมาพันธ์ภาพยนตร์แห่งประเทศไทย จากภาพยนตร์ เรื่องฉลุยหิน...คนไข่สุดขอบโลก พ.ศ. 2537 นอกจากนี้แล้ว ยังได้รับรางวัลพระสุรัสวดี (ตุ๊กตาทอง) สาขาแต่งหน้ายอดเยี่ยม จากภาพยนตร์ หลายเรื่อง อาทิ เหยื่อ (พ.ศ. 2530) ตลาดพรหมจารี (พ.ศ. 2531) โหมโรง (พ.ศ. 2547) และจันดารา (พ.ศ. 2555)
Scenographer
Dean Shibuya ดีน ชิบูญา 32
ออกแบบฉาก Noted as an architectural designer, I was approached about the possibility of designing sets for theater productions by Director Craig Slaight. Merging my architectural skills with my love of live performance, I started my career in scenic design at San Francisco’s ACT (American Conservatory Theatre) Young Conservatory with a set for Ladies of the Canyon: The Music of Joni Mitchell, followed by shows featuring the music of James Taylor (Shed a Little Light), Sting, and most recently Elton John. I also designed sets for the Young Conservatory’s dramatic productions of Mullen’s Alley, Charley’s Aunt and the world premier production of Broken Hallelujah (a world premiere). Designs for other Bay Area productions include Theatre Rhinoceros’s Twelve Days of Cocina, a holiday show by comedienne Mar-
ga Gomez, Falsettos and Three on a Party, a coproduction with Word4Word Theatre Company. I also designed sets for San Francisco Conservatory of Music’s graduate productions of the baroque opera L’Egisto, by Francesco Cavalli and Orpheus in the Underworld by Offenbach under the direction of Richard Harrell. In 1996 I was commissioned to design a set for the Bangkok Opera’s new production of Madama Butterfly under international director Henry Akina. After a very successful run there, the concept was submitted accepted by the Savonlinna Opera Festival in Finland where we where it was reinvented to adapt to their magnificent venue in St. Olof ’s Castle in Finland’s beautiful Lake Country. One of their requirements was a design that could be also used in a
conventional proscenium theater so the production could travel to other opera houses. This production’s first stop beyond Savonlinna was recently staged for the Malmö Opera in southern Sweden. It ran for two months to critical acclaim and, as a result, will be reprised in the spring of 2013. As of August 2011 I was thrilled to be named the new Managing Director of the San Francisco Lyric Opera and will, along with Artistic Director Barnaby Plamer revive the company in a new direction focusing on
Lighting Designer
Ryan Attig ไรอัน แอ็ตติกจ์ ออกแบบแสง
ไรอัน แอ็ตติกจ์ จบการศึกษาจาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ โดยระหว่างศึกษาได้ เข้าร่วมทำ�งาน และศึกษาการออกแบบแสง กับคณะละครนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพ และภายหลังจากจบการศึกษา ได้ ทำ�งานร่วมงานกับ บริษัท เลโก้ไลท์ จำ�กัด ใน ตำ�แหน่ง Lighting Designer จนถึงปัจจุบัน ไรอันทำ�งานด้านออกแบบแสงมาร่วม 10 ปี โดยได้รับโอกาสให้ออกแบบ และควบคุม แสงในงาน โขนพระราชทานฯ ตั้งแต่ครั้ง แรก (ปี พ.ศ. 2550) จนถึงครั้งล่าสุด (ปี พ.ศ. 2558) รวมถึงครั้งต่อไปที่จะเกิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2559 นี้
นอกจากนี้ ไรอันยังเป็นผู้ออกแบบแสงให้ คณะโขนไทยที่ไปจัดแสดง ณ รอยัลอัลเบิร์ต ฮอลล์ ประเทศอังกฤษ ละครเวทีซูสีไทเฮา เด อร์มิวสิเคิล ทั้ง 2 ครั้ง ที่ผ่านมา และละครเวที เรื่องอื่นๆ อีกจำ�นวนมาก รวมไปถึงออกแบบ แสงในการแสดงคอนเสิร์ต event โชว์ต่าง ๆ ทั้งของไทย และต่างประเทศ ไรอั น เป็ น ผู้ อ อกแบบแสงให้ ก ารแสดง โอเปร่ า ของคณะโอเปร่ า สยามอิ น เตอร์ เนชั่นแนล ของอาจารย์สมเถา สุจริตกุล มา โดยตลอด รวมไปถึงในละครเวที “เรยา เดอะ มิวสิคคัล” ณ โรงละครอักษรา เมื่อปี พ.ศ. 2555 อีกด้วย
ทีมงาน | Production Credits
วาทยกร Conductor ผู้กำ�กับการแสดง Director ออกแบบลีลาระบำ� Choreographer ผู้อำ�นวยการผลิต Producer ผู้จัดการฝ่ายผลิต Production Manager หัวหน้าวงดุริยางค์ Concertmaster ผูู้จัดการวงดุริยางค์ Orchestra Manager ผู้ช่วยควบคุมฝ่ายดนตรี Assistant Music Supervisor เจ้าหน้าที่ฝ่ายโน้ต Orchestra Librarian ผู้ช่วยส่วนตัว สมเถา สุจริตกุล P.A. to Somtow Sucharitkul เปียโนประกอบการฝึกซ้อม Piano Répétiteur ช่วยออกแบบลีลาระบำ� Assistant Choreographer ประสานงานนักเต้น Dance Team Coordinator ออกแบบฉาก Scenographer ผู้จัดการเวที Stage Manager ทีมงานแบ็กสเตจ Bฺ ackstage
สร้างฉาก Set Dressing อุปกรณ์ประกอบฉาก Props ออกแบบแสง Lighting Designer ออกแบบเครื่องแต่งกาย Costume Designer ออกแบบเครื่องแต่งกาย Revival Costume Designer แต่งหน้า Make-up ทำ�ผม Hair Dressing บันทึกภาพเคลื่อนไหว Video Recording บันทึกภาพนิ่ง Still Photographer บันทึกเสียง Sound Recording สถานที่ฝึกซ้อม Rehearsal Spaces บัญชี การเงินและธุุรการ Account, Finace and Admin ผู้ช่วยทั่วไป Production Assistants ออกแบบกราฟิค Graphic Designer โรงพิมพ์ Printer
ทฤษฎี ณ พัทลุง Trisdee na Patalung สมเถา สุจริตกุล Somtow Sucharitkul ภูวเรศ วงศ์อติชาติ Puwarate Wongatichart ถ่ายเถา สุจริตกุล Thaithow Sucharitkul ณัฏฐ์ คำ�นาค Nath Khamnark โชคิ บัวสุวรรณ Chot Buasuwan พงศธร สุรภาพ Pongsathorn Surapab จิตตินันท์ กลิ่นน้ำ�หอม Jittinant Klinnumhom ชัยมงคล วิริยะสัจจาภรณ์ Chaimongkol Wiriyasatjaporn พันธวิทย์ อัศวเดชเมธากุล Puntwitt Asawadejmetakul พศธร เสถียรนิธิ Pasatorn Stieniti สิริพงษ์ สุนทรเสนาะ Siripong Soontornsanor อดิเทพ บัวน้อย Aditep Buanoi พฤกษา ชนาธิปัตย์ Pruksa Chanatipat ดีน ชิบูญา Dean Shibuya สรินยา ออลสัน Sarinya Olsson ณัฐวุฒิ อู่สุวรรณทิม Nattawut U-suwannatim ปัจจุคมน์ นะมิ Patjukhom Nami ศุภกร ศิลปชัย Suppakorn Sinlapachai พิชยวริทธิ์ ปั้นบุญชู Pitchayawarit Panboonchu พงศธร เจริญพรพิสุทธิ์ Pongsathorn Charoenpornpisut คมเศก พร้อมนาวิน Komsaek Promnawin กันตนา Kantana ไรอัน แอ็ตติกจ์ Ryan Attig พิษณุ โยธินรัตนชัย Pitsanu Yotinratanachai ณัฐวรรณ สันติภาพ Natthawan Santiphap มนตรี วัดละเอียด Montri Wadlaiad โรงเรียนสอนศิลปะการแต่งหน้า เอ็ม ที ไอ MTI สถาบันเสริมสวยนานาชาติเกตุวดี แกนดินี Ketvadee Gandini เดอะ สตูดิโอ โปรดักชั่น The Studio Production ภูริวัฒน์ เจริญยิ่ง Puriwat Charoenying ประทีป เจตนากูล Prateep Jattanakul ธีม พี418 โพเธน Theme P418 Pothen ศูนย์สังคีตศิลป์สุจริตธำ�รง Sucharit Thamrong Music Centre สมาคมนักเรียนเก่าอังกฤษฯ Old England Students Association ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย Thailand Cultural Centre รัตนา ร้อยพรเกษมสุข Ratana Roipornkasemsuk ศิริวัฒน์ จันทวโร Siriwat Chantawaro บวรวรพล วงษ์สุวรรณ Bawornworapol Wongsuwan ชัยมงคล วิริยะสัจจาภรณ์ Chaimongkol Wiriyasatjaporn แคนนา กราฟฟิค Canna Graphic
33
คณะกรรมการ | Committee
BANGKOK OPERA FOUNDATION a registered nonprofit educational and culture foundation
มูลนิธิมหาอุปรากรกรุงเทพ President Vice President Committee Secretary-Treasurer Legal Counsel
สมเถา สุจริตกุล Somtow Sucharitkul ถ่ายเถา สุจริตกุล Thaithow Sucharitkul ดร. นฎาประไพ สุจริตกุล Dr. Nadaprapai Sucharitkul รักศักดิ์ คณานุรักษ์ Raksak Kananurak สืบสกุล ศรีชยันดร Suebsakul Srichayandorn ศ. ดร. สมปอง สุจริตกุล Prof. Dr. Sompong Sucharitkul Opera Siam International โอเปร่าสยาม อินเตอร์เนชั่นแนล
Hon. Patron Hon. Patron (International Hon. Chairman
หม่อมดุษฎี บริพัตร ณ อยุธยา HH Princess Sukhumabinanda Baripatra กีย์ เกรวิล เอิร์ล ออฟ วอริค ที่ 9 The Rt. Hon. Guy Greville, 9th Earl of Warwick, 9th Earl Brooke
ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ Dr. Surin Pitsuwan Executive Committee คณะกรรมการบริหาร
Chairman/ Director of Development General and Artistic Director Committee
ดร. นฎาประไพ สุจริตกุล Dr. Nadaprapai Sucharitkul สมเถา สุจริตกุล Somtow Sucharitkul รักศักดิ์ คณานุรักษ์ Raksak Kananurak ชเล วุทธานันท์ Schle Wood-thanan Advisory Board คณะกรรมการที่ปรึกษา
Chairman Committee
คุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล Khunying Patama Leeswadtrakul ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา Dr. Sumet Jumsai Na Ayudhaya ดร. สุวิทย์ ยอดมณี Dr. Suwit Yodmanee วรพจน์ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา Vara-Poj Snidvongs na Ayudhya ดร. สุนทร อัศวานันท์ Dr. Soonthorn Asavanant ประยุทธ มหากิจศิริ Prayudh Mahagitsiri อวิรุทธ์ วงศ์พุทธพิทักษ์ Aviruth Wongbuddhapitak รศ. ดร. วีณา เชิดบุญชาติ Dr. Vina Churdboonchart ดร.สิริลักษณา คอมันตร์ Dr. Sirilaksana Khoman ม.ล. ภูมิใจ ชุมพล M.L. Poomchai Chumbala วราห์ สุจริตกุล Varah Sucharitakul ดร. พอล เบเรสฟอร์ด ฮิล Dr. Paul Beresford Hill เจมส์ รูนีย์ James Rooney เดวิด ไกเลอร์ David Giler เร็กซ์ มอร์แกน Rex Morgan ฟลอเรียน พรูสส์ Florian Preuss เพชรากรณ์ วัชรพล สนิทวงศ์ ณ อยุธยา PetcharaKorn Vacharaphol Sanidvongs ศานติ ประนิช Santi Pranich พิชัย ปิตุวงศ์ Pichai Pituwong