inside5

Page 1



ห นั ง สื อ เ ล่ ม นี้ จัดพิมพ์ดว้ ยเงินบริจาคของผู้มจี ติ ศรัทธา

แจกฟรีเพื่อเผยแพร่เป็ นธรรมทาน หากท่านได้รบั หนังสือเล่มนี้แล้ว ขอได้โปรดตัง้ ใจศึกษาและปฏิบตั ธิ รรมจากหนังสือเล่มนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สงู สุดทัง้ แก่ตนเองและผูอ้ ่นื เทอญ

ผูเ้ มตตาตรวจทานเนื้ อหา พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท ผูเ้ ขียน/ผูเ้ รียบเรียง ครูSup’k พิมพ์ครัง้ ที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

จํานวนพิมพ์ ๕,๐๐๐ เล่ม

สงวนลิ ขสิ ทธิ ์ โดยสถาบันกวดวิชาคณิตศาสตร์ Sup’k Center (โรงเรียนกวดวิชาสูงส่งเสริมปญั ญา) ห้ามพิมพ์จาํ หน่าย ห้ามคัดลอกหรือตัดตอนไปเผยแพร่ทางสือ่ ทุกชนิดโดยไม่ได้รบั อนุ ญาตจากผูเ้ ขียน หากท่านสนใจหนังสือเล่มนี้ สามารถติดต่อขอรับฟรีคนละ1เล่ม ได้ทสี ่ ถาบันกวดวิชาคณิตศาสตร์ Sup’k Center โทร (02)636-6006 ติ ดต่อ หลังเทีย่ ง ถึง สองทุ่ม (หยุดทุกวันพุธ) ดาวน์โหลดแผนทีไ่ ด้ท ี ่ www.supkcenter.com *ถ้าต้องการร่วมสมทบการพิมพ์ในราคาต้นทุนเพือ่ นําไปแจกฟรีเป็ นจํานวนมาก กรุณาแจ้งความประสงค์ไว้ทเ่ี จ้าหน้าที*่ ภาพหน้ าปก/รองปกใน คุณอรรถนิติ ลาภากรณ์ ภาพหน้ าคั ่นแต่ละโซน คุณอรรถนิติ ลาภากรณ์ ตรวจคําผิ ด

คุณภาคภูม ิ สกุลชัยพรเลิศ

คอมพิ วเตอร์/จัดรูปเล่ม ดุลยทรรศน์ ศรีพมิ านวัฒน์ กราฟฟิ กปก/พิ มพ์ที ่

บริษทั สํานักพิมพ์สภุ า จํากัด

ผูส้ นใจฟังบันทึกเสียงพระธรรมเทศนา หรือ อ่านพระธรรมเทศนากัณฑ์อ่ืนๆ สามารถดาวน์ โหลดได้จาก www.watpacharengtham-chonburi.com


หนังสือ “หมดสิน้ สงสัย” เล่มนี้เป็ นผลงานลําดับที5่ ของหนังสือในชุดซีรยี ข์ า้ งในนัน้ ซึง่ เนื้อหาภายในเล่ม จะเป็ นเรือ่ งของการพิจารณาขันธ์หา้ โดยความเป็นธาตุ และ ความเป็น ไตรลักษณ์ ซึง่ แค่เกริน่ นําก็คงจะเห็นเค้าลางแห่งความยากแล้ว หนังสือเล่มนี้จงึ ไม่เหมาะสม อย่างยิง่ สําหรับผูเ้ ริม่ ต้นฝึกปฏิบตั ธิ รรมใหม่ๆ คําแนะนําสําหรับผูท้ ย่ี งั ไม่เคยอ่านหนังสือในซีรยี ช์ ดุ ข้างในนัน้ มีดงั นี้ หนังสือ “ข้างในนัน้ 1” เหมาะสําหรับผูท้ ย่ี งั ไม่เคยฝึกปฏิบตั ธิ รรมมาก่อน หรือ เคยฝึก แต่เข็ดหลาบกับการฝึกมาแล้ว เพราะเนื้อหาภายในเล่มจะเป็ น เนื้อหาทีง่ ่ายๆโดยมีการ์ตูน เป็ นสือ่ ในการทําให้เกิดฉันทะแก่ เด็กๆ โดยเนื้อหาภายในเล่มจะทําให้พวกเขามีความสนใจใน การเริม่ ต้นทีจ่ ะฝึกธรรมะตามการสังสอนของพระพุ ่ ทธองค์ หนังสือ “ข้างในนัน้ 2” เหมาะสําหรับผูท้ เ่ี ริม่ ฝึกปฏิบตั ธิ รรมใหม่ๆ ทีย่ งั ไม่สามารถจับ หลักการปฏิบตั ไิ ด้ซง่ึ เนื้อหาภายในเล่มนี้ จะสอนซํ้าๆในเรื่อง ไตรลักษณ์ ด้วยตัวอย่างทีห่ ลากหลายและมีการ์ตูนเพื่อเป็ นสือ่ เล่าเนื้อหาให้น่าสนใจอีกเช่นเคย หนังสือ “ข้างในนัน้ 3+4” เหมาะสําหรับผูท้ ไ่ี ด้ปฏิบตั ธิ รรมไปสักระยะหนึ่ง แล้วเกิด ปญั หาติดขัดในการฝึก เนื้อหาภายในเล่มนี้ จะมีทงั ้ การ์ตนู ธรรมะ นิยายธรรมะ และ บทสนทนาMSN ระหว่างครูSup’kกับ นักเรียนทีป่ ระสบความทุกข์ ซึง่ ท่านทีไ่ ด้อ่านจะสามารถ เข้าใจหลักการปฏิบตั เิ พื่อความพ้นทุกข์ได้ดยี งิ่ ขึน้

หากท่านใดทีส่ นใจหนังสือธรรมะทีเ่ ข้าใจง่ายๆสําหรับลูกหลานเหล่านี้ ก็สามารถ ดาวน์โหลดไปอ่านได้ฟรีทเ่ี ว็บ www.supkcenter.com


ทัง้ นี้หนังสือข้างในนัน้ ตัง้ แต่ เล่ม1 ถึง เล่ม 5 ในแต่ละเล่ม จะมีเนื้อหาเดียวกัน และ มีหลักการปฏิบตั ธิ รรมตามแนวอริยสัจ4ทีจ่ บสมบูรณ์ในตัวมันเอง แม้ว่าแต่ละเล่มจะมีการ นําเสนอในรูปแบบทีแ่ ตกต่างกัน แต่ทุกเล่มจะพูดเรือ่ งเดียวกันหมด คือ “การเจริญสติ สมั ปชัญญะเพือ่ เรียนรูท้ ุกข์ตามความเป็ นจริงในแง่ไตรลักษณ์ โดยเรียนรูด้ ้วยจิ ตใจทีเ่ ป็ นสัมมาสมาธิ ซึง่ เป็ นจิ ตใจทีม่ ีความตัง้ มัน่ เป็ นกลาง ไม่แทรกแซง”

หรือ พูดสัน้ ๆว่า “การเรียนรูท้ กุ ข์ เพือ่ วันหนึ ง่ จะมีจิตใจทีไ่ ม่เปื้ อนทุกข์ ” ในฐานะของเพื่อนผูร้ ว่ มเดินทางสายนี้ ผูเ้ ขียนมีความตัง้ ใจทีจ่ ะช่วยเผยแพร่ธรรมะ ในรูปแบบทีเ่ ข้าใจง่ายสู่เยาวชน บัดนี้สจั จะอธิษฐานและความตัง้ ใจดังกล่าวได้สาํ เร็จลงแล้ว ผูเ้ ขียนคงต้องเอาเวลาไปทําความเพียรของตนให้ถงึ พร้อมด้วยความไม่ประมาทเช่นกัน นัน่ ก็แปลว่า คงอีกนานกว่าทีผ่ เู้ ขียนจะเริม่ เขียนหนังสือธรรมะในซีรยี ช์ ดุ ใหม่ ทัง้ นี้กใ็ ห้เป็นไป ตามแต่เหตุปจั จัยความพร้อมของอนาคตก็แล้วกัน ความรูท้ งั ้ หลายทีป่ รากฏในหนังสือซีรยี ข์ า้ งในนัน้ ล้วนมาจากคําสังสอนของครู ่ บา อาจารย์ผปู้ ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ อันมีพระพุทธเจ้าเป็ นบรมครูสงู สุด ดังนัน้ คุณความดีใดๆที่ เกิดจากหนังสือชุดนี้ ผูเ้ ขียนขอน้อมถวายเป็ นอาจาริยบูชาแด่ครูบาอาจารย์เหล่านัน้ สําหรับหนังสือข้างในนัน้ 5นี้ ผูเ้ ขียนต้องขอกราบขอบพระคุณในความเมตตาของ พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท เป็ นพิเศษ เพราะท่านได้เป็นผูส้ งสอนชี ั่ แ้ นะ ตอบข้อสงสัยของ ผูเ้ ขียน จนมีเนื้อหาเรือ่ งราวทีเ่ ป็ นประโยชน์สามารถตีพมิ พ์มาสูม่ อื ของท่านผูอ้ ่านในขณะนี้ ส่วนความผิดพลาดใดๆทีเ่ กิด ก็ขอให้ทุกท่านโปรดทราบไว้เถอะว่า เป็ นความผิด พลาดของผูเ้ ขียนเพียงคนเดียว ทัง้ นี้ขอให้ทา่ นได้ตรวจสอบคําสอนทีป่ รากฎโดยยึดพุทธพจน์ ในพระไตรปิฎกเถรวาทฉบับภาษาบาลีเป็ นสําคัญ ด้วยความปรารถนาดีจากเพื่อนร่วมทางพ้นทุกข์ ครู Sup’k


๕ มกราคม ๒๕๕๔ กราบนมัสการ พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท จากการทีก่ ระผมได้เข้าฟงั ธรรมและสนทนาธรรมกับพระอาจารย์หลายครัง้ แล้วรูส้ กึ คลายความ สงสัยในการปฏิบตั ธิ รรมไปได้เยอะ บัดนี้กระผมปรารถนาจะรวบรวมแนวคําสอนดังกล่าวเพือ่ จัดพิมพ์ เผยแพร่ให้กบั ผูส้ นใจปฏิบตั ธิ รรม โดยใช้ชอ่ื หนังสือว่า “หมดสิน้ สงสัย” ด้วยเหตุดงั กล่าว กระผมจึงขอความเมตตาจากพระอาจารย์ให้ช่วยกรุณาตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสมเกีย่ วกับเนื้อหาทีป่ รากฏในหนังสือเล่มดังกล่าวด้วย หากมีประเด็นใดทีพ่ ระอาจารย์เห็นว่าไม่ เหมาะสมก็ได้โปรดกรุณาชีแ้ นะ เพือ่ การแก้ไขก่อนจัดพิมพ์เผยแพร่เป็ นหนังสือด้วย จึงกราบเรียนมา เพื่อขอให้พระอาจารย์ได้ช่วยตรวจสอบและชีแ้ นะ กราบนมัสการด้วยความเคารพอย่างสูง ครู Sup’k

๖ มกราคม ๒๕๕๔ ถึง โยมครูSup’k อาตมาได้อ่านและตรวจสอบหนังสือธรรมะทีโ่ ยมได้เรียบเรียงถอดความเพื่อจัดทําเป็ นรูปเล่มและ ใช้ในการแจกเป็ นธรรมทานแล้ว อาตมารูส้ กึ ดีใจทีโ่ ยมเข้าใจในคําสอนของอาตมาและสือ่ สารออกมาได้ ชัดเจนอย่างยิง่ ต้องขออนุโมทนากับกุศลกรรมและเจตนาดีในครัง้ นี้ หวังเป็ นอย่างยิง่ ว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็ นประโยชน์ต่อผูป้ ฏิบตั ธิ รรมทีป่ รารถนาความพ้นทุกข์ ซึง่ อาตมายืนยันว่า ผูป้ ฏิบตั ทิ ไ่ี ด้อ่านและนําไปปฏิบตั ติ ามจะสามารถเห็นผลได้ตวั เองอย่างไม่ตอ้ งสงสัย หากโยมได้ปฏิบตั ถิ ูกวิธตี ามทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงสังสอนโยมย่ ่ อมจะพบมรรคผลนิพพานได้จริงชาติน้ี โดยไม่ ต้องรอถึงชาติหน้า แต่ทงั ้ นี้กต็ อ้ งลงมือปฏิบตั เิ จริญสติสมั ปชัญญะด้วยความเพียรอย่างต่อเนื่องและถูกวิธี แล้วผลทีเ่ กิดจากการทีจ่ ติ ใจสามารถปล่อยวางได้จริงนัน้ จะมายืนยันให้โยมหายสงสัยเอง ขออวยพรให้โยมครูSup’k จงประสบความสุขความเจริญทัง้ ในทางโลกและทางธรรมยิง่ ๆขึน้ ไป และขออวยพรให้ผอู้ า่ นได้นําไปปฏิบตั ติ ามจนมีดวงตาเห็นธรรมทุกรูปทุกนามด้วยเทอญ พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท


ภาคพระธรรมเทศนา แนวปฏิบตั ธิ รรมง่ายๆ ปญั ญาอันบริสทุ ธิไม่ ์ ได้เกิดจากการจําสัญญาของคนอืน่ ไม่มอี ะไรให้หมาย แค่ของสมมติ ทําไมไม่บรรลุมรรคผลนิพพานสักกะที แก้ขอ้ สงสัยในบางคําศัพท์ สมาธิแค่ไหนถึงจะพอแก่การบรรลุ สรุปแนวทางการปฏิบตั อิ กี ครัง้ ก่อนกลับบ้าน ไม่แทรกแซงในสิง่ ทัง้ ปวง คือ ความเป็ นกลางอย่างแท้จริง

...หน้า 1 ...หน้า 5 ...หน้า 7 ...หน้า 8 ...หน้า 10 ...หน้า 13 ...หน้า 14 ...หน้า 16 ...หน้า 22

ภาคไขข้อสงสัย สมถะ VS วิปสั สนา แตกต่างกันอย่างไร จิตเดิมแท้คอื อะไร นิพพานแล้วสูญหรือไม่ จิตเกิดดับหรือไม่ วิธฝี ึกให้จติ หายโง่ทาํ อย่างไร หมดสิน้ สักกายทิฏฐิ การแยกรูปแยกนามก็สาํ คัญ พวกฆ่าตัวตาย แม้ไม่รกั กาย แต่ทาํ ไมไม่เป็ นพระโสดาบัน สมาธิทส่ี าํ คัญต่อการบรรลุ ทําไมเป็ นพระโสดาบันแล้วไม่ตอ้ งตกนรกอีกตลอดกาล

...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า

29 34 37 43 46 49 51 57 59 63

...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า ...หน้า

67 68 70 71 73

ภาคผนวก ประวัตแิ ละทีม่ าของวัดปา่ เจริญธรรม สภาพความเป็ นอยูภ่ ายในวัดปา่ เจริญธรรม การเดินทางมาปฏิบตั ธิ รรมทีว่ ดั แผนที่ และ เบอร์ตดิ ต่อ บอกข่าวแจ้งบุญ ร่วมสร้างพระอุโบสถหลังแรกของวัดปา่ เจริญธรรม




แนวทางปฏิบตั ิ ธรรมง่ายๆ บทพระธรรมเทศนาของพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท เทศน์สอน ครูSup’k บทความนี้เกิดจากการถอดความ และเรียบเรียงใหม่ โดยมีการสอบถามพระอาจารย์เพิม่ เติมในภายหลัง แล้วจึงบันทึกตามความ เข้าใจของครูSup’k ดังนัน้ หากความผิดพลาดใดๆทีเ่ กิดขึน้ ก็ให้ถอื ว่า เป็ นความเข้าใจผิดของตัวผูบ้ นั ทึกเองไม่เกีย่ วกับ ครูบาอาจารย์แต่อย่างใด จึงขอให้ทา่ นผูอ้ า่ นได้ให้อภัยและได้ตรวจสอบโดยยึดถือพุทธพจน์ในพระไตรปิ ฎกเป็ นสําคัญ

โยมครูSup’k : ขอนมัสการถามพระอาจารย์ถงึ วิธฝี ึกปฏิบตั ใิ นรูปแบบ อันนี้ถามสําหรับตัวเองโดยเฉพาะ

สําหรับตัวผมครับ

พระอาจารย์ชานนท์ : เราต้องมีพน้ื ฐานของสติ กับ สมาธิ * เพราะสติกบั สมาธิเป็นสิง่ สําคัญ เพื่อเป็ นฐานรองรับของตัวปญั ญา สภาวะตัวปญั ญาของโยมนัน้ มีอยูแ่ ล้ว แต่ยงั ขาดสติกบั สมาธิ เมือ่ มีสมาธิและสติเป็ นฐาน ปญั ญาก็จะแตกฉานขึน้ 0

พระอาจารย์ชานนท์ : ทีน้ีการปฏิบตั สิ มาธิพน้ื ฐานง่ายๆ คือ ให้กาํ หนดกายหรือกําหนด อาณาปานสติ † พยายามฝึกให้อยูก่ บั กายให้ได้ตลอดเวลา ‡หรือบ่อยทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเป็ นได้ 1

2

โยมครูSup’k : ครับ * †

ศีล5 ก็เป็นเรือ่ งทีส่ าํ คัญ ซึง่ เป็นเรือ่ งทีพ่ ระอาจารย์ได้เน้นสอนบ่อยในวาระอืน่ อยูแ่ ล้ว

อาณาปานสติ คือ การรูล้ มหายใจเข้าออกตามความเป็นจริง โดยให้มสี ติอยูก่ บั ลมหายใจ ไม่ใช่การบังคับดัดแปลง ลมหายใจใดๆ โดยลมหายใจเป็นอย่างไร ก็ให้รตู้ ามจริงไปเช่นนัน้ โดยให้หายใจไปตามธรรมชาติ แต่เพิม่ ความรูส้ กึ ถึง การมีอยูข่ องลมเข้าไป โดยหายใจเข้าก็รู้ หายใจออกก็รู้ หายใจเข้ายาวก็รู้ หายใจออกยาวก็รู้ หายใจเข้าสัน้ ก็รู้ หายใจออกสัน้ ก็รู้ ซึง่ แรกๆอาจจะต้องจงใจเข้าไปรูล้ มก่อน แต่หลังๆพอเกิดความชํานาญ และ เกิดความคุน้ เคย พอใจในการรูล้ ม ก็จะรูล้ มได้เป็นอัตโนมัตเิ อง ‡

คําว่า ฝึกให้ได้ตลอดเวลานัน้ เป็นภาษาพูดของพระอาจารย์ แต่ตอ้ งอย่าลืมว่าสติผรู้ หู้ รือวิญญาณในขันธ์5ก็เป็นอนัตตา อนัตตา แปลว่า บังคับไม่ได้จริ ง เพราะทุกสิง่ ล้วนเป็นไปตามเหตุ ไม่ได้เป็ นไปตามใจอยาก นั ่นคือ จิตจะเผลอไปคิดก็หา้ มไม่ได้ ทันทีทจ่ี ติ เผลอไปคิด ก็อย่าไปกลุม้ ใจกับมัน แต่กไ็ ม่ได้ปล่อยให้หลงไปเผลอนานๆ พอรูท้ นั ความคิดแล้ว ก็รบี กลับมารูล้ มหายใจเป็นวิหารธรรมใหม่ ให้พยายามทีจ่ ะตัง้ ใจฝึ ก โดยตัง้ เป้า ตัง้ ปณิธาน น้อมใจ และสอนใจให้เห็นถึงความสําคัญของการฝึกลมหายใจ นี่คอื ความแปลของคําว่า ตลอดเวลา ในความหมายของ พระอาจารย์ชานนท์


พระอาจารย์ชานนท์ : ให้รลู้ มหายใจให้ได้ตลอดเวลา เพราะ กายเราก็มอี ยูแ่ ล้ว ลมหายใจ เราก็มอี ยูแ่ ล้ว เพียงแต่เราเอาความรูส้ กึ ตัวมาจับอยูก่ บั ลมเข้าลมออก เราก็จะทําให้เกิด ความสงบได้ นี่คอื ภาคปฏิบตั ใิ นชีวติ ประจําวันทีค่ วรทําของโยม * 3

พระอาจารย์ชานนท์ : บางทีโยมอาจจะไม่มเี วลานังสมาธิ ่ หรือ ถ้ามีกค็ งมีไม่มาก เพราะ เท่าทีด่ แู ล้วงานการของโยมนัน้ เยอะ ดังนัน้ การทีโ่ ยมได้มาฝึกดูลมหายใจ ในขณะทีย่ นื เดิน นัง่ นอนในชีวติ ประจําวัน พอถึงเวลาไปนังสมาธิ ่ จริงๆ มันจะช่วยส่งผลให้โยมมีความสงบได้ เร็วขึน้ โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : จําไว้นะว่า การทีเ่ ราพยายามฝึกดูลมหายใจให้ได้ตลอดเวลา มัน เป็ นตัวหล่อเลีย้ ง ให้เรามีสมาธิตลอดเวลา † 4

โยมครูSup’k : ครับ

*

สําหรับผูท้ ีไ่ ม่ถกู จริ ตกับลมหายใจ ก็สามารถ เลีย่ งไปฝึกกรรมฐานอย่างอืน่ ได้ โดยพยายามยามสังเกตตัวเองว่า ตน มีความสุขทีจ่ ะอยูก่ บั อารมณ์ทเ่ี ป็นกุศลอะไร ก็ให้เลือกอารมณ์ทช่ี อบนัน้ เป็ นอารมณ์กรรมฐาน แต่ทว่าครูSup’kชอบทีจ่ ะรู้ ลมหายใจเข้าออก พระอาจารย์จงึ เลือกสอนให้อยูก่ บั ลมหายใจเข้าออก เป็ นวิหารธรรม †

การฝึ กให้ได้ตลอดเวลา ในความหมายของพระอาจารย์ หมายถึง การฝึ กให้ต่อเนื่องด้วยความเพียร ซึง่ เป็ นการฝึ กสติ ให้เป็นมหาสติ เป็นการฝึกสมาธิให้เป็นมหาสมาธิ จิตจะได้มกี าํ ลังในการส่งเสริมให้เกิดโลกุตตรปญั ญา สามารถละสังโยชน์ จนบรรลุเป็นพระอริยะได้ ความต่อเนื่ องในการฝึ กนัน้ มีความสําคัญ แต่กอ็ ย่าลืมว่า หากตอนทีก่ าํ ลังฝึ กรูล้ มหายใจอยู่ แล้วจิตเผลอไปคิด ก็อย่าไปกลุม้ ใจเพราะความเผลอคิดก็แล้วกัน เผลอไปคิดก็ช่างมัน ให้รทู้ นั ความเผลอไปคิด แล้วก็รบี กลับมารูล้ มหายใจเข้าออกใหม่ดว้ ยความเพียรอย่างต่อเนื่องก็แล้วกัน


๓๓

พระอาจารย์ชานนท์ : เหตุผลทีท่ าํ ให้เราต้องฝึกสติสมาธิรลู้ มหายใจเข้าออกเพื่ออะไรรูไ้ หม ก็เพือ่ ให้จติ ของเราอยูใ่ นปจั จุบนั ขณะ ซึง่ เป็ นสิง่ เป็นสิง่ สําคัญมาก การมีสติ สมาธิอยูก่ บั ลมหายใจตลอดเวลาทําให้จติ ของโยมไม่ตดิ อยูก่ บั อดีต (ไม่กลุม้ ใจถึงอดีตทีผ่ า่ นไปแล้ว) ไม่หลงไปอยูก่ บั จิตจะไม่แส่ส่ายไปทัง้ อดีต และ อนาคต(ไม่กงั วลถึงอนาคตทีย่ งั มาไม่ถงึ ) มันจะอยูก่ บั ปจั จุบนั ขณะ อนาคต จึงทําให้ไม่ค่อยมีความทุกข์ดว้ ย เพราะคนเรามักจะทุกข์กบั อดีตทีผ่ ่านไปแล้ว และ ทุกข์กงั วลกับอนาคตทีย่ งั มาไม่ถงึ โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : สรุป คือ เวลาเดินก็หายใจ เวลานังก็ ่ หายใจ เวลายืนอยูก่ ห็ ายใจ เวลานอนก็หายใจ เราเอาสิง่ ทีม่ อี ยูแ่ ล้ว มาฝึกให้เกิดประโยชน์ ให้โยมจดจ่ออยูก่ บั กายอยู่ กับลมหายใจ นี่เป็ นภาคปฏิบตั ทิ ง่ี า่ ยทีส่ ดุ แล้ว ใครๆก็ทาํ ได้ และไม่มใี ครรูด้ ว้ ยว่า เรากําหนด ลมหายใจเข้าออกอยู่ โยมครูSup’k : ทีพ่ ระอาจารย์สอนมา นันคื ่ อ การฝึกสติ กับ สมาธิใช่ไหมครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ใช่


โยมครูSup’k : แล้วการเจริญปญั ญา เราต้องคิดพิจารณาลมหายใจในแง่อะไรหรือเปล่าครับ พระอาจารย์ชานนท์ :ในขณะทีม่ ลี มหายใจเข้าออกนัน้ ปญั ญาไม่ตอ้ งไปทํา ไม่จาํ เป็ นต้องคิดช่วย * เดีย๋ วมันมาเอง การทําให้เกิดปญั ญา ก็คอื ให้จบั สภาวะ ให้สงั เกตสภาวะว่า† ในขณะทีเ่ ราฝึก สติฝึกสมาธิ มันจะมีสภาวะมากมายเกิดขึน้ เช่น สภาวะของความผ่องแผ้ว สภาวะของความ เศร้าหมอง สภาวะของความเป็ นทุกข์ สภาวะของความเป็ นสุข หรือ สภาวะพอใจ-ไม่พอใจ ความดีใจ ความเสียใจ มันจะมีสภาวะต่างๆผ่านเข้ามาในจิต ก็ให้โยมจับสภาวะนัน้ ‡ §สังเกต ให้มองในแง่ ทีว่ ่าสิง่ ทัง้ ปวงมันเกิดขึน้ ตัง้ อยู่ และก็ดบั ไป(เรียนรูส้ ภาวะในแง่ไตรลักษณ์) นี่คอื สภาวะนัน้ ** คือภาคของการทําให้เกิดปญั ญา พูดอีกอย่างหนึ่ง คือ การฝึกซ้อมดูสภาวะ ทําให้เกิดปญั ญาที่ แท้จริง 6

7

8

9

*

จากการสอบถาม พระอาจารย์ภายหลัง ท่านได้สอนว่า การคิดพิจารณาช่วย เพือ่ ให้เห็นกายนี้ เป็นเพียงธาตุ4 ก็เป็น เรือ่ งสําคัญแต่ตอ้ งเป็นการคิดทีม่ พี น้ื ฐานของศีลและสมาธิทด่ี ี ซึง่ พระอาจารย์กไ็ ด้เมตตาสอนครูSup’kในบทความ ต่อๆไป แต่ทพ่ี ระอาจารย์สอนครูSup’kว่าไม่จาํ เป็นต้องคิดช่วยในบทสนทนานี้ ก็เพราะว่า โดยปกติครูSup’k เป็นผูท้ ไ่ี ด้ ผ่านการคิดช่วยมามากแล้ว จึงถึงคราวทีต่ อ้ งมาสะสมประสบการณ์ในการสังเกตสภาวะปรมัตถ์ทเ่ี กิดขึน้ จริงให้เยอะขึน้

การสังเกตสภาวะที่เกิ ดกับจิ ต ขณะรูล้ มหายใจ เรียกสัน้ ๆ เป็ นภาษาสมัยใหม่ว่า “ดูจิต” นัน่ เอง โดยสําหรับครูSup’kนัน้ ควรมีกายคือลมหายใจเป็ นวิหารธรรม (ฝึ กกายานุ ปสั สนาสติปฏั ฐาน) แล้ว ก็ให้มสี ติรเู้ ท่าทัน จิต ั ั ั ั และ อารมณ์ของจิต (ฝึกเวทนานุปสั สนาสติปฏฐาน+จิ ตตานุปสนาสติ ปฏฐาน+ธรรมมานุ ปสั สนาสติปฏฐาน) ดังนัน้ การที่ ไม่ได้เป็นการสอน พระอาจารย์สอนให้ฝึกอย่างนี้ ก็คอื การสอนครบตามหลักมหาสติปฏั ฐาน4ของพระพุทธเจ้านันเอง ่ ให้ดจู ติ อย่างเดียว ‡

การให้จบั สภาวะนัน้ ตามความหมายของพระอาจารย์ คือ ให้เข้าไปรูส้ ภาวะนัน้ ตามความเป็นจริง โดยทีแ่ รกๆ อาจจะต้องตัง้ ใจเข้าไปเรียนรูก้ ่อน และเรียนรูส้ ภาวะให้บอ่ ยๆด้วยความเพียรอย่างต่อเนื่อง จนเกิดความชํานาญทีจ่ ะ เข้าไปรูส้ ภาวะได้โดยอัตโนมัติ และสามารถรูท้ นั สภาวะอย่างไม่ตอ้ งจงใจได้ในภายหลัง

§

อนึ่ง การจับสภาวะ ไม่ได้หมายความว่าจะต้องเข้าไปเห็นสภาวะให้ได้ชดั ๆในทุกครัง้ เพราะ การพยายามเข้าไป หมายมั ่นจะเห็นสภาวะให้ได้ชดั ๆทุกครัง้ มันมีการเจือด้วยความโลภทีร่ ุนแรงเกินกว่าทีจ่ ะเรียนรูค้ วามจริงอะไรได้ และอาจ ก่อให้เกิดความเครียดตามมาด้วย ให้ฝึกรูไ้ ปด้วยใจทีส่ บายๆแต่มคี วามเพียร ให้รเู้ พือ่ ทีจ่ ะเรียนรู้ ไม่ใช่รเู้ พือ่ ทีจ่ ะเอาอะไร **

การสังเกตสภาวะที่ถกู ต้อง คือ เมือ่ จิตเกิดความสุขก็รู้ เกิดความทุกข์กร็ ู้ ดีใจก็รู้ เสียใจก็รู้ โกรธก็รู้ ไม่โกรธก็รู้ โลภก็รู้ ไม่โลภก็รู้ หลงก็รู้ ไม่หลงก็รู้ สงบก็รู้ ฟุ้งซ่านก็รู้ สงสัยก็รู้ ไม่สงสัยก็รู้ มีความร้อนใจอยากบรรลุไวๆก็รู้ เฉยๆก็รู้ โดยมีกริยาคําเดียวคือคําว่า “รู”้ โดยให้รู้ เพือ่ ทีจ่ ะเข้าไปสังเกตความจริง ทีเ่ กิดกับสภาวะนัน้ ๆ , รูเ้ พือ่ ทีจ่ ะได้เรียนรูค้ วาม จริงในแง่ไตรลักษณ์ การรูน้ นั ้ คือการเข้าไปเห็น ไปตามดู ไปประจักษ์กบั สภาวะทีเ่ กิดเพือ่ ให้จติ มันฉลาดเกิดปญั ญา ยอมรับความจริงและปล่อยวางได้สกั ที


๕๕

ปัญญาอันบริสทุ ธ์ ิ ไม่ได้เกิดจากการจําสัญญา ของคนอื่น *

10

พระอาจารย์ชานนท์ : เมือ่ เราผ่านการฝึกมาจนมากพอ จนโยมเห็นสภาวะใดๆแล้ว สามารถปล่อยวางสภาวะใดๆทีเ่ กิดได้ ไม่ยดึ มันสภาวะที ่ เ่ กิดขึน้ ทัง้ ดีและชัว่ ไม่หวันไหวกั ่ บ สภาวะนัน้ ๆ พระอาจารย์ชานนท์ : ให้ฝึกรู้ จนกระทังรู ่ แ้ ล้วว่า ไอ้สภาวะทีด่ ๆี ก็ตาม มันเกิดขึน้ แล้ว มันก็ตอ้ งดับไป เพราะหากโยมเคยดูมาหลายครัง้ แล้ว หรือได้ฝึกสังเกตมาเยอะ จนเห็นแล้ว ว่า สภาวะดีๆ มันไม่เคยอยูก่ บั เราได้ถาวรเลย ในทํานองเดียวกัน แม้กระทังสภาวะสิ ่ ง่ ทีไ่ ม่ด ี มันก็แค่เกิดขึน้ แล้วก็ดบั ไป พระอาจารย์ชานนท์ : หากโยมฝึกจนชํานาญในเส้นทางและกระบวนการของการเกิดทัง้ ทุกข์และสุข ว่า ไม่มสี งิ่ อื่นเลย นอกเหนือจากการเกิดขึน้ และดับไป เป็นอนิจจัง ทุกขังโดยแท้ และ เมือ่ สุขทุกข์เกิดแล้ว ก็บงั คับบัญชาให้อยูก่ บั เรานานๆไม่ได้เป็นอนัตตาโดยแท้ โยมก็จะเข้าใจและ ถึงซึง่ ความพ้นทุกข์ พระอาจารย์ชานนท์ : จําไว้นะ ฝึกดูสภาวะ จนเห็นว่า มันสุข แล้ว มันก็ดบั ไป มันทุกข์ แล้วมันก็ดบั ไป มันดีแล้วมันก็ดบั ไป มันชัวแล้ ่ วมันก็ดบั ไป มันผ่องแผ้วแล้วมันก็ดบั ไป มัน เศร้าหมองแล้วมันก็ดบั ไป เห็นวงจร การเกิดดับบังคับไม่ได้ของมันซํ้าๆ ซากๆ เดิมๆ ตลอดเวลา นันคื ่ อ การเฝ้าสังเกตด้วยสติสมั ปชัญญะ เพื่อจะทําให้เกิดปญั ญาทีแ่ ท้จริง ไม่ใช่ เป็นแค่ปญั ญาทีเ่ กิดจากจําคําสังสอนของคนอื ่ ่นมา โยมครูSup’k : ครับ *

สัญญา แปลว่า ความจําได้ , ท่องจํา จดจํา มาจากคนอืน่ สัญญา เป็นภาษาบาลี จึงไม่ได้แปลว่า คํามันสั ่ ญญา เหมือนในภาษาไทย


พระอาจารย์ชานนท์ : หากโยมเฝ้าสังเกต เฝ้าเรียนรู้ เฝ้าศึกษาความจริงดังนี้บ่อยๆ จน เห็นว่า มากีค่ รัง้ มันก็เกิดดับอย่างนี้ ไม่มอี ะไรมาก พอถึงจุดหนึ่งจิตมันจะถอนออกมา เพราะ มีปญั ญารูแ้ ล้วว่า สิง่ ทีเ่ กิดดับเหล่านี้ ไม่มอี ะไรให้ยดึ ถือ หรือ เหนี่ยวรัง้ เอาไว้ได้นานเลย เกิดดับแบบนี้ ก็ไม่รวู้ ่าจะยึดไปทําไม * 11

โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ปญั ญาทีเ่ กิดจากการเฝ้าสังเกตสภาวะทีเ่ กิดจริง กับกายกับใจ ด้วย ตนเองจะเป็ นปญั ญาอันบริสุทธิ ์ เป็นปญั ญาทีเ่ กิดจากการเข้าใจและปล่อยวาง หรือพูดใน อีกแง่หนึ่งว่า การทีป่ ล่อยวางได้ นันแหละ ่ ตัวปญั ญาทีแ่ ท้จริง พระอาจารย์ชานนท์ : ตอนนี้ทโ่ี ยมรูแ้ ละเข้าใจจากการฟงั อาตมาเมือ่ กี้ นันยั ่ งไม่ใช่ ปญั ญาทีแ่ ท้จริง นันเป็ ่ นแค่สญ ั ญาเฉยๆ แต่กใ็ ห้โยมพิจารณาเพิม่ ขึน้ อีกว่า ไอ้ตวั เข้าใจด้วย สัญญานี้ มันก็เป็ นอนิจจัง † เป็ นทุกขัง ‡ เป็นอนัตตา §และให้รู้ ให้เห็นด้วยว่า สิง่ ทีเ่ ราเข้าใจมัน ก็เป็ นแค่สญ ั ญา เดีย๋ วก็เข้าใจมาก เดีย๋ วก็เข้าใจน้อย เดีย๋ วก็ลมื เดีย๋ วก็จาํ ได้ ความเข้าใจ แบบนี้ ล้วนเกิดดับ หากโยมเห็นอย่างนี้แล้ววางเสีย หากวางได้เองของมัน นันแหละ ่ คือ ตัวปญั ญาอย่างแท้จริง 12

13

14

*

สรุปข้อความในหน้ านี้ คือ ถ้าฝึกเจริญสติสมั ปชัญญะ โดยเอาความเกิดดับเป็นอารมณ์ เมือ่ ได้ฝึกจนเกิดความ ต่อเนื่องและกลายเป็นสติทส่ี มบูรณ์เมือ่ ไร เมื่อนัน้ จะสามารถละวางรูปนามขันธ์5ได้ เข้าถึงความว่างทีบ่ ริสทุ ธ์ เป็น ความว่างเปล่าจากตัวตน แจ้งในนิพพานทันที

อนิ จจัง = ลักษณะของการทีเ่ ป็ นของชัวคราว ่ ไม่คงที่ ไม่เทีย่ งแท้ ไม่ถาวร , สภาวะทีเ่ กิดขึน้ แล้วก็ดบั ไป ทุก ขัง = ลักษณะของการทีถ่ ูกบีบคัน้ จนทําให้ไม่สามารถทนอยู่ในสภาพเดิมๆได้ , สภาวะทีเ่ ป็ นทุกข์เพราะถูกบีบคัน้ § อนัตตา = ลักษณะของการทีไ่ ม่มตี วั ตนทีแ่ ท้จริง , ไม่ใช่ตวั เรา , ไม่ได้อยูใ่ นอํานาจบังคับของเรา , บังคับไม่ได้เพราะทุกสิง่ ล้วนเป็นไปตามเหตุ ไม่ได้เป็ นไปตามใจอยาก ‡


๗๗

ไม่มีอะไรให้หมาย พระอาจารย์ชานนท์: ดังนัน้ โยมอย่าไปยึดเอาสัญญาว่า เป็ นตัวปญั ญานะ การเข้าใจ ด้วยการมีสญ ั ญาเข้าไปหมาย * ถึงมันจะรูจ้ ะเข้าใจความหมาย แต่มนั ก็ยงั ไม่ใช่ของจริง แต่ก็ มีประโยชน์นะ แต่อย่าไปยึดเอาไว้แล้วกัน 15

พระอาจารย์ชานนท์: ตัวปญั ญาของพระพุทธเจ้านี่ เป็ นปญั ญาทีม่ นั ไม่มอี ะไรให้หมาย † ‡ § เพราะจิตท่านรูว้ า่ สิง่ ทีห่ มายมันเป็ นแค่สมมติเท่านัน้ เอง เมือ่ เราไม่เข้าไปหมาย มันก็ไม่ม ี สมมติเกิดขึน้ มันก็ไม่มอี ะไรให้ยดึ ถือ มันปล่อยวางไปได้ การทีไ่ ม่เข้าไปหมายให้เป็นภาระ มันก็มแี ต่ความสบาย 16

17

18

โยมครูSup’k : ครับ

*

มีสญ ั ญาเข้าไปหมาย = มีความคิ ด ความจําได้ เข้าไปให้ความหมาย ไปบัญญัติคาํ แปลของคําศัพท์ในสิ่ งต่างๆ ซึง่ ต่อให้เข้าใจในความหมายเหล่านัน้ ก็ยงั เป็นปญั ญาในขัน้ สมมติบญ ั ญัตอิ ยูด่ ี ยังไม่ใช่ปญั ญาทีแ่ ท้จริงขัน้ ปรมัตถ์ แต่ทงั ้ นี้ก็ จําเป็นอย่างยิง่ ทีต่ อ้ งอาศัยสมมติเพือ่ ทีจ่ ะเข้าใจถึงปรมัตถธรรม(นิพพาน)เช่น กัน แต่จงใช้สมมติแค่เป็ นเครือ่ งมือในการทํา ความเข้าใจในเบือ้ งต้นเท่านัน้ และใช้เพือ่ ฝึกรูฝ้ ึกดูให้เห็นถึงสภาวะเกิดดับของสมมตินนั ้ ๆ อย่าไปยึดสมมติเอาไว้แล้วกัน เพราะถอดถอนสมมติได้เมือ่ ไร ก็เข้าถึงวิมตุ ติ เมือ่ นัน้

ั ไม่มีอะไรให้หมาย = ไม่มอี ะไรสําคัญหรือควรค่าถึงกับต้องไปใส่ใจให้คา่ ให้ความหมาย เพราะมีปญญารู แ้ ล้วว่า สิง่ ทัง้ ปวง ล้วนไม่มตี วั ตนทีแ่ ท้จริง สิง่ ทัง้ ปวงมันก็เป็นแค่ของสมมติทจ่ี ติ โง่ๆหลงผิดไปยึดไปถือว่าเป็ นตัวเราของเราเท่านัน้ กล่าวคือ กายนี้กเ็ ป็นแค่ธาตุสม่ี าประกอบกัน กายเราหรือกายสัตว์อน่ื มันก็เหมือนๆกันเพราะก็เป็ นแค่ของทีย่ มื โลกมาใช้ทงั ้ สิน้ แล้วก็ หมุนเวียนเปลีย่ นกันใช้ และ สิง่ ทีเ่ คยคิดว่า นี่คอื ใจของเรา มันก็แค่ ความคิดปรุงแต่งมาผสมกับความจําได้หมายรู้ แล้วไป หลงให้คา่ ว่านี่คอื ตัวเรา–ของเราเท่านัน้ ‡ ั ไม่มีอะไรให้หมาย = ไม่มอี ะไรสําคัญทีค่ วรค่าแก่การยึดถือ เพราะมีปญญารู แ้ ล้วว่า ยึดไปก็ทุกข์ใจเปล่าๆ เนื่องจากสิง่ ทัง้ ปวงล้วนเป็นไปตามเหตุ พอดีกบั เหตุแล้ว และจะบังคับให้เป็ นไปตามใจอยากก็ไม่ได้ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งก็คอื เป็ นไป ตามเหตุโดยแท้ § ั ไม่มีอะไรให้หมาย = ไม่มอี ะไรสําคัญทีค่ วรค่าแก่การไปทุกข์ใจ เพราะ มีปญญารู แ้ ล้วว่า ทุกสิง่ ทุกอย่างในโลกเป็ นของ ชั ่วคราว ความสุขก็ช ั ่วคราว ความทุกข์กช็ วคราว ั่ หากจะรัง้ ความสุขให้อยู่นานๆตามใจอยากก็เป็ นไปไม่ได้ จะรีบผลักไส ความทุกข์ให้สญ ู สิน้ ไปไวๆตามใจอยากก็เป็ นไปไม่ได้ ใครทีห่ ลงไปรัง้ สุขหรือไปผลักไสทุกข์ ก็ลว้ นพบแต่ความเหนื่อยเปล่า และความทุกข์ใจมาให้ทงั ้ สิน้


แค่ของสมมติ (ขอขยายความเพิม่ เติม)พระอาจารย์ชานนท์

:

ตัวปญั ญาของพระพุทธเจ้านี่

เป็ นปญั ญาทีม่ นั ไม่มี

อะไรให้หมายเพราะจิตท่านรูว้ ่า สิง่ ทีห่ มายมันเป็ นแค่สมมติ* †เท่านัน้ เอง เมือ่ เราไม่เข้าไปหมาย มันก็ ไม่มสี มมติเกิดขึน้ มันก็ไม่มอี ะไรให้ยดึ ถือ มันปล่อยวางไปได้ การทีไ่ ม่เข้าไปหมายให้เป็ นภาระ มันก็มี แต่ความสบาย 19

20

*

ของสมมติ คือ ของที่ไม่มีอยู่จริง เช่น รถยนต์ ถือว่า เป็นของสมมติ เพราะว่า พอเราแยกชิน้ ส่วน เป็ น ล้อ เป็ นเพลา เป็ นพวงมาลัย เป็ นเบาะ ก็จะพบว่า มันไม่มตี วั รถยนต์อกี ต่อไป ดังนัน้ สิง่ ทีเ่ คยหลงเรียกสมมติว่าเป็ น รถยนต์นนั ้ มันก็เป็ นแค่อุปกรณ์ต่างๆมาประกอบกัน ซึง่ หากเอาอุปกรณ์ชนิดเดียวกันทีถ่ อดออกจากรถยนต์น้ี ไปประกอบเป็ นพาหนะทีบ่ นิ ได้มนั ก็จะถูกสมมติคาํ ศัพท์เรียกว่า เป็ น เครือ่ งบินแทน (มนุษย์ปถุ ุชนทีย่ งั ไม่รแู้ จ้ง ก็หลงของสมมติแบบนี้ซงึ ่ มีมากมายในโลก จนเกิดความทุกข์ใจน้อยใหญ่มาแล้ว) †

ของสมมติ คือ ของที่ไม่มีอยู่จริง , ของที่คนเราอุปโลกน์แต่งตัง้ กันขึน้ มาเอง เช่น เงิ นทอง ก็เป็นของสมมติ หากเราเป็นมหาเศรษฐีเมืองไทยแล้วนําธนบัตรไทยเงินบาท ไปใช้กบั ชนเผ่าฮาลีฮาลูใน กลางทะเลทรายซาฮาร่าก็คงไม่มใี ครยอมรับ ความเป็นคนรวยของเราก็จบลงทันที เพราะ ความรวยมันก็แค่ของสมมติ หรือ ชื่อเสียง ก็เป็นของสมมติ เพราะมันไม่มอี ยู่จริง หากเป็ นนักร้องชือ่ ดังในเมืองไทย พอบินไปแอฟริกาแล้วหลงใน ่ปาดงดิบลึก ก็คงไม่มใี ครจะมากรีด๊ ให้เราอีก คงมีแต่จะกรีด๊ เต้นระบําบูชายัญเพือ่ จะกินเนื้อกินตับเราเป็ นแน่ แท้ เพราะ ชือ่ เสียงความดังมันก็เป็นแค่ของสมมติไม่ได้มอี ยูจ่ ริง หรือร่างกายมันก็เป็นของสมมติเพราะความจริงแล้วตอนทีเ่ ราตายไป ร่างกายทีเ่ คยเห็นผิดคิดว่าเป็ นตัวเรา มันก็คอ่ ยๆ เน่าเปื่อยผุพงั สลายกลายเป็นปุ๋ยเป็นดินจนไม่เหลือเค้าแห่งความเป็ นตัวเราสักกะนิด หรือ แม้กระทั ่ง ตอนที่ร่างกายยังไม่ตายไป แค่เราเดินไปร้านตัดผม แล้วช่างตัดผม ได้ตดั ผมเราออกไป เส้นผมทีเ่ คย คิดว่าเป็นของเรา เมือ่ ปลิวไปรวมกับเส้นผมคนอืน่ มันก็แยกไม่ออกแล้วว่า ผมเส้นนี้เคยเป็ นของใครมาก่อน นี่กเ็ ป็ นการ แสดงให้เห็นว่า ร่างกายทีเ่ คยยึดว่าเป็นของเรานัน้ เป็นความเห็นผิด เพราะความเป็ นของเรามันก็เป็ นแค่ของสมมติเท่านัน้ นานแสนนานทีม่ นุษย์โลกหลงในสมมติต่างๆเหล่านัน้ เมือ่ หลงใหลในสมมติของเงินทอง ชือ่ เสียง เกียรติยศ จึงทําให้ เกิดการแก่งแย่งชิงดีชงิ เด่น รบราฆ่าฟนั ก่อกรรมทําเข็ญ เบียดเบียนสร้างความทุกข์ให้แก่ตนเองและผูอ้ ่นื จนชีวติ วุ่นวาย นานแสนนานแค่ไหนแล้วทีม่ นุษย์หลงในสมมติของร่างกาย จนต้องเกิดความหึงหวง อาลัยอาวรณ์ในร่างกาย ทําให้เกิด ความทุกข์และความวุน่ วายในใจ บางครัง้ ถึงขนาดต้องฆ่ากันเพราะความหึงและความหลงสมมติในร่างกายนี้กนั เลยทีเดียว ั เมือ่ เห็นโทษเห็นภัยในการหลงสมมติน้ี จึงควรอย่างยิง่ ทีผ่ มู้ ปี ญญาจะหั นมาศึกษาความเป็ นสมมติอนั นี้ เพือ่ ให้เข้าถึง แก่นแท้ของสรรพสิง่ ซึง่ มันไม่เคยมีตวั ตนอะไรทีแ่ ท้จริง ไม่มอี ะไรให้ยดึ ถือเป็ นเจ้าของได้เลย เมือ่ มีสติรทู้ นั ความหลงสมมติบอ่ ยๆ นันคื ่ อ รูท้ นั ความหลงโลภ รูท้ นั ความหลงโกรธ รูท้ นั ความหลงคิด จิตใจทีไ่ ป เห็นไปรูค้ วามเกิดดับของสภาวะต่างๆ ก็จะค่อยๆคลายความยึดมันถื ่ อมัน่ ลดละการแก่งแย่งชิงดีชงิ เด่น เลิกความเห็นแก่ตวั กันสักที และในวันใดเรียนรูท้ กุ ข์อนั เกิดจากการหลงสมมติอย่างแจ่มแจ้ง ก็จะสามารถเพิกถอนสมมติได้ ก็เข้าถึงวิมตุ ติทนั ที แต่ทงั ้ นี้ ของสมมติ มันก็มีจริ งโดยสมมติ เรียกว่า สมมติ สจั จะ ผูป้ ฏิบตั ธิ รรมจะไม่ปฏิเสธสมมติ แต่จะอยูก่ บั ั สมมติใดๆอย่างรูเ้ ท่าทันในสมมตินนั ้ ๆ เพราะผูป้ ฏิบตั ธิ รรมมีปญญารูแ้ ล้วว่า การปฏิเสธสมมติอนั เป็ นความสุดโต่งในฝงั ่ ของการหย่อนเกินไป ก็ไม่ต่างอะไรจากคนบ้า เช่น หากเราปฏิเสธสมมติในไฟเขียวไฟแดงทีส่ แ่ี ยกจราจร ซึง่ ชาวโลกเขา สมมติเชือ่ กันว่า ไฟแดงให้หยุด การปฏิเสธสมมติในไฟแดงนี้ เราก็คงจะได้รถชนตายกันพอดี


พระอาจารย์ชานนท์ : ให้โยมฝึกซ้อมปญั ญาชนิดทีไ่ ม่มอี ะไรให้หมายเยอะๆ * ให้ฝึกซ้อม การเฝ้าสังเกตในแง่ไตรลักษณ์ให้มนั เป็ นธรรมชาติ ให้มนั เป็นอัตโนมัติ † ให้สงั เกตว่า สิง่ ทีเ่ ข้า ไปให้ความหมายทัง้ หมดล้วนเกิดดับ และสิง่ ทีห่ มายก็เป็ นแค่สมมติเท่านัน้ เอง ฝึ กจนเกิ ด 21

22

ปัญญาที่สามารถปล่อยวางสมมติ ทงั ้ ปวงได้ นัน่ แหละ คือตัวปัญญาที่แท้จริ ง โยมครูSup’k : ผมขอสรุปตามความเข้าใจของผม ในลําดับการปฎิบตั ทิ พ่ี ระอาจารย์สอน ดังนี้นะครับ ขัน้ แรก ก็ให้พจิ ารณาคิดค้น เอาสัญญาความจําไปจํา เอาความคิดไปทําความเข้าใจธรรมะ จากพระอาจารย์มาก่อน ขัน้ สอง ก็ให้พากาย พาใจของตัวเอง เข้าสู่สนามทดลองจริง ไปสังเกตสภาวะทีเ่ กิดขึน้ จริงๆ โดยฝึกสติสมาธิรลู้ มหายใจเข้าออกให้บอ่ ยๆ จนเป็นมหาสติ มหาสมาธิ ซึง่ ช่วงทีส่ งั เกตตามรู้ ตามดูสภาวะจริงอยูน่ นั ้ ก็ไม่จาํ เป็ นต้องคิดค้นช่วย แต่ถา้ จะคิดก็ได้ไม่ผดิ อะไร ขัน้ สาม ถ้าเหนื่อยก็ให้ไปพักทีล่ มหายใจ ไปอยูก่ บั ลมเพื่อชาร์จพลังให้จติ มันสงบก่อนได้ แล้วก็กลับมาฝึกดูสภาวะทีเ่ กิดในแง่ไตรลักษณ์ซ้าํ ๆ ขัน้ สี ่ พอดูถงึ จุดๆหนึ่ง ปญั ญามันก็จะเกิดขึน้ จนปล่อยวางความยึดมันถื ่ อมันในสิ ่ ง่ ทัง้ ปวง ซึง่ นันคื ่ อปญั ญาทีแ่ ท้จริง ใช่ไหมครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ใช่ๆ โยมเข้าใจถูกแล้ว และ ถ้าโยมจะคิดค้น ก็คดิ ค้นได้อยู่ แต่ให้ ค้นอยูใ่ นวงของกายตัง้ แต่ปลายผมถึงปลายเท้า *

ั ฝึ กซ้อมปัญญาชนิ ดที่ไม่มีอะไรให้หมายให้เยอะ = ฝึ กให้เกิดปญญาที ม่ าจากการได้มสี ติเฝ้าตามรูต้ ามดูตามสังเกต ั สภาวะของจริงให้มากๆ ไม่ใช่ฝึกแค่ปญญาที เ่ กิดจากการคิดวิเคราะห์เทียบเคียงเอาเท่านัน้ แต่การคิดพิจารณาก็สาํ คัญนะ ั เพียงแต่โยมครูSup’kฝึกปญญาทีเ่ กิดจากการคิดวิเคราะห์มามากพอแล้วพระอาจารย์จงึ ไม่ได้สอนเน้นเรือ่ งนี้ในกัณฑ์เทศน์น้ี †ก่อนทีจ่ ะฝึกจนมีสติเห็นไตรลักษณ์อย่างเป็ นอัตโนมัตนิ นั ้ แรกๆก็อาจใช้การคิดวิเคราะห์ดว้ ยปญั ญาแบบสัญญาความจํา ช่วยนําร่องไปก่อนได้


ทําไมไม่บรรลุมรรคผลนิพพานสักกะที โยมครูSup’k : แล้ว อย่างผมนี่ ยังไม่ตดั สังโยชน์ *สักกะที จะทําไงครับ 23

พระอาจารย์ชานนท์ : เราต้องเอาไตรลักษณ์เป็นตัววาง ว่าตอนทีม่ นั ตัดกิเลสได้เป็ นคราวๆ มันเทีย่ งไหม? แล้วทีม่ นั กลับมายึดถือใหม่ มันเทีย่ งไหม? ตอนทีเ่ ราไม่เกิดปญั ญาตัดกิเลส แล้วกิเลสมันดับเองไหม? แล้วเราจะไปยุง่ กับมันทําไม? แล้วเราจะไปยุง่ ให้มนั ต้องดับกิเลส ต้องตัดสังโยชน์ กันทําไม?

*

สังโยชน์ คือ กิเลสตัวสําคัญ10ตัว ทีผ่ กู มัดให้สตั ว์ตอ้ งกลับมาเวียนว่ายตายเกิด ไม่บรรลุเป็ นพระอริยะ ซึง่ มีดงั นี้ ก. โอรัมภาคิ ยสังโยชน์ สังโยชน์เบือ้ งตํ่า 5 ได้แก่ 1. สักกายทิฏฐิ – มีความเห็นว่ากายนี้ใจนี้เป็ นตัวเรา (ความเห็นผิดว่ารูปนามขันธ์5นี้เป็ นตัวเรา) 2. วิจกิ จิ ฉา – มีความสงสัยในคุณของพระรัตนตรัย คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ 3. สีลพั พตปรามาส – ความถือมันศี ่ ลพรต โดยสักว่าทําตามๆ กันไปอย่างงมงาย เห็นว่าจะบริสุทธิ ์ หลุดพ้นได้เพียงด้วยศีลและวัตร หรือนําศีลและพรตไปใช้เพือ่ เหตุผลอื่น ไม่ใช่เพือ่ เป็ นปจั จัยแก่การสิน้ กิเลส เช่นการถือศีลเพือ่ เอาไว้ขม่ ไว้ดา่ คนอืน่ การถือศีลเพราะอยากได้ลาภสักการะเป็ นต้น ซึง่ รวมถึง การหมดความเชือ่ ถือในพิธกี รรมทีง่ มงายด้วย 4. กามราคะ - มีความติดใจในกามคุณ 5. ปฏิฆะ - มีความกระทบกระทังในใจ ่ ข. อุทธัมภาคิ ยสังโยชน์ สังโยชน์เบือ้ งสูง 5 ได้แก่ 6. รูปราคะ - มีความติดใจในวัตถุหรือรูปฌาน 7. อรูปราคะ - มีความติดใจในอรูปฌานหรือความพอใจในนามธรรมทัง้ หลาย 8. มานะ - มีความยึดมันถื ่ อมันในตั ่ วตนหรือคุณสมบัตขิ องตน ้ 9. อุทธัจจะ - มีความฟุงซ่าน 10. อวิชชา – มีความไม่รจู้ ริง , ความโง่ , ความหลงในของสมมติ , ความหลงในขันธ์5 พระโสดาบัน ละสังโยชน์ 3 ข้อต้นได้คอื หมดสักกายทิฏฐิ , วิจกิ จิ ฉาและสีลพั พตปรามาส พระสกทาคามี ทําสังโยชน์ขอ้ 4 และ 5 คือ กามราคะและปฏิฆะ ให้เบาบางลงด้วย พระอนาคามี ละสังโยชน์ 5 ข้อต้นได้หมด พระอรหันต์ ละสังโยชน์ทงั ้ 10 ข้อ


๑๑

พระอาจารย์ชานนท์ : การไปยุง่ กับจิตว่ามันจะตัดกิเลสหรือไม่ตดั มันเหนื่อยเปล่านะโยม เพราะยังไงมันก็ตอ้ งดับของมันอยูแ่ ล้ว แม้มนั อาจจะดับช้าไม่ทนั ใจโยม แต่ยงั ไงมันก็ดบั พระอาจารย์ชานนท์ : โยมไม่ต้องไปฝึ กให้กิเลสมันดับ หรือ ไม่ตอ้ งไปหา วิธฝี ึกจิตให้มนั ตัดสังโยชน์

ฝึ กให้เข้าใจว่า ยังไงๆ มันก็ดบั อยูแ่ ล้ว

แต่ให้โยมมา

เพราะสิง่ ใดสิง่ หนึ่งเกิดขึน้ สิง่ นัน้ ย่อมดับไปเป็ นธรรมดา แล้วเราจะไปดับมันทําไม โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : โยมฝึกให้เข้าใจตรงนี้ ว่า จะไปยุง่ ไปดับ ทําไม จะไปรอลุน้ ให้มนั ตัดสังโยชน์ทาํ ไม ยังไงๆมันก็ดบั ของมันอยูแ่ ล้ว ถ้าโยมเข้าใจตรงนี้เมือ่ ไร ก็แจ้งใน นิพพานทันที โยมครูSup’k : ทีฟ่ งั มา สรุปคือ ถ้าอยากบรรลุ ต้องทําให้เข้าใจใช่ไหมครับ ฝึกทัง้ ศีล สติ สมาธิ ปญั ญา ทัง้ คิดค้น พิจารณา และ ดูสภาวะของจริง ให้มนั

เข้าใจ ใช่ไหมครับ

พระอาจารย์ชานนท์ : ใช่ๆ ไม่ตอ้ งทําอะไรมาก นอกจากพาจิตเรียนรู้ จนมันเข้าใจ จนมัน เห็นถูกต้อง และ ยอมปล่อยวาง เพราะ ยอมรับความจริงในความไม่เทีย่ งของขันธ์ *ทัง้ ปวง แค่นนั ้ เอง 24

*

ขันธ์5 เรียกง่ายๆว่า กาย กับ ใจ แต่ ถ้าเรียกให้ถกู ต้อง จะเรียกว่า รูป กับ นาม โดย รูป อันได้แก่ ส่วนผสมกันของธาตุ ดิน นํ้า ลม ไฟ ส่วน นาม มี 4 อัน ได้แก่ เวทนา , สัญญา , สังขาร , วิญญาณ โดย เวทนา คือ ความรูส้ กึ สุข , ทุกข์ , เฉยๆ สัญญา คือ ความจําได้ในสิง่ ต่างๆ สังขาร คือ ความคิดปรุงแต่ง หรือ ความคิดนันเอง ่ วิญญาณ คือ การรับรู้ ทัง้ การรับรูท้ างตา ทางหู ทางจมูก ทางลิน้ ทางกาย และ การรับรูท้ างใจ


พระอาจารย์ชานนท์ : เอาประสบการณ์ทอ่ี าตมาพูดให้ฟงั ไปจํา ไปทําความเข้าใจด้วยการ คิดวิเคราะห์ก่อน จะได้รแู้ นวทางการปฏิบตั ิ แต่แค่น้ียงั ไม่พอ ต้องพาจิตไปดูสภาวะ ของจริง พาจิตไปสังเกตสภาวะทีเ่ กิดกับกาย กับใจจริงๆ ตอนปฏิบตั ิ อย่ามัวแต่เอาสัญญา หรือเอาประสบการณ์ของคนอื่นไปใช้ ตอนลงมือทํานี้ ไม่ใช่ของอาตมาแล้ว เราต้องสังเกต สภาวะของจริงเอาเอง สังเกตให้จติ มันประจักษ์แจ้งเข้าใจด้วยตนเองให้ได้ ถึงจะเกิดปญั ญา ของจริงได้ ถึงจะถึงทีส่ ุดแห่งทุกข์ได้ ฝึกรูฝ้ ึกดูบ่อยๆนะโยม แล้วความแตกฉาน ความ ละเอียดของปญั ญามันก็จะมากขึน้ โดยอัตโนมัติ โยมครูSup’k : ครับ


๑๓

แก้ข้อสงสัยในบางคําศัพท์ โยมครูSup’k : ขอถามเรือ่ งคําศัพท์ เรือ่ ง การกําหนดรู้ ซึง่ พระอาจารย์ได้พดู ถึงบ่อยๆ ความหมายทีผ่ มคิดว่าผิด คือ การกําหนดให้เห็นสภาวะ เพื่อรอลุน้ ให้กเิ ลสหรือความทุกข์ มันดับ ตามใจอยากของเรา การกําหนดรูแ้ บบนี้เบือ้ งหลังจะมีความรักสุขเกลียดทุกข์แอบ แฝงอยู่ ซึง่ การกําหนดรูเ้ พื่อให้กเิ ลสมันดับไวๆ ตามความโลภตัณหาของเรา จึงเป็ นการ กําหนดรูด้ ว้ ยความไม่เป็นกลางและไม่เป็นสัมมาทิฏฐิ ซึง่ ผลของการกําหนดด้วยความ เข้าใจผิดๆแบบนัน้ จะนํามาซึง่ ความเครียด และความทุกข์ ส่วนความหมายทีผ่ มคิดว่าน่ าจะถูก คือ การกําหนด หมายถึง การตระหนักเข้าไปรู้ การ ตัง้ ใจเข้าไปรูเ้ พื่อจะเข้าไปเรียนรูก้ เิ ลส ไปเรียนรูท้ ุกข์ตามความจริงว่า มันเป็ นไตรลักษณ์ จริงไหม การกําหนดรูแ้ บบนี้เป็ นการรูเ้ พือ่ ทีจ่ ะเข้าไปเรียนรูจ้ ริงๆ โดยไม่สนใจว่าสภาวะ กิเลสนัน้ จะดับหรือไม่ดบั การกําหนดรูแ้ บบนี้ เป็ นการตัง้ ใจเข้าไปเรียนรูก้ ่อน เพื่อฝึกซ้อม ความชํานาญและความต่อเนื่อง เพือ่ วันหนึ่งจิตมันจะรูไ้ ด้โดยอัตโนมัตเิ คยชินจนเป็นนิสยั ทีจ่ ะ เรียนรูท้ ุกอย่างในแง่ไตรลักษณ์ ไม่ทราบว่า ผมเข้าใจถูกต้องไหมครับ ? พระอาจารย์ชานนท์ : ใช่ โยมเข้าใจได้ถูกต้องแล้ว การทีเ่ ราไปกําหนดรู้ เพื่อทีจ่ ะเข้าไป รูจ้ กั อาการของมัน รูจ้ กั หน้าตาของมัน จนแจ่มแจ้งว่า ทีส่ ุดของมันมีแค่ไหน แค่เกิดดับ จริงไหม เกิดดับแล้วก็ว่างเปล่าจริงไหม เป็นไตรลักษณ์จริงไหม นันคื ่ อ การกําหนดรูท้ ่ี ถูกต้องในความหมายของอาตมา


สมาธิแค่ไหนถึงจะพอแก่การบรรลุ โยมครูSup’k : ขอถามเรือ่ งสมาธิครับ ว่า ขณิกสมาธิ * พอไหมครับ 25

พระอาจารย์ชานนท์ : ยังไม่พอ ต้องถึงขัน้ อุปจารสมาธิ † ถึงจะพอ คือ มีขณิกสมาธิท่ี ต่อเนื่องจนจิตมีความตัง้ มัน่ ต้องเกิดขณิกะให้ได้บ่อยๆ ‡ ถึงจะพอ ต้องมีสติหรือขณิกสมาธิ จดจ่ออยูก่ บั สิง่ นัน้ ตลอดอย่างต่อเนื่อง แต่ไม่จาํ เป็นต้องถึงฌานไม่ตอ้ งถึงอัปปนาสมาธิ § เพราะถึงขัน้ ฌานแล้วจิตมันจะสงบเฉยๆ ดังนัน้ สมาธิ ท่ีควรแก่งานนัน้ คือ อุปจารสมาธิ ส่วนใครฝึกถึงขัน้ ฌานได้ ก็ด ี เพราะ จะทําให้จติ มันมีความสุข ความสงบอย่างยอดเยีย่ ม และ ทําให้จติ มีพลังสมาธิเกินพอด้วย แต่กอ็ ย่าติดในฌานก็แล้วกัน 27

28

*

ขณิ กสมาธิ ในความหมายของพระอาจารย์ = สมาธิชวแว๊ ั ่ บ , เห็นสภาวะของกิเลสแค่ครัง้ สองครัง้ แล้วก็หลงไปคิดฟุ้งซ่าน เรือ่ งอืน่ อีกยาวนาน กว่าจะรูต้ วั อีกทีกผ็ า่ นไปนานหลายนาที หลายชัวโมง ่ หรือ หลายวันแล้ว

อุปจารสมาธิ คือ สมาธิทต่ี ่อเนื่องมีพลังมีความสงบในระดับหนึ่ง มีความตัง้ มันในการรู ่ อ้ ารมณ์ทผ่ี า่ นมาผ่านไปแบบสักว่ารู้ สักว่าดูได้ยาวนานพอสมควร ตอนอุปจารสมาธิเกิดนัน้ จิตจะมีลกั ษณะ คือไม่มใี จทีอ่ ยากจะเข้าไปแทรกแซงการรูน้ นั ้ ได้ ยาวนานพอสมควร แต่ขณะอยูใ่ นอุปจารสมาธิกย็ งั สามารถเห็นความเกิดดับของสภาวะได้ ยังมีความคิดเจืออยูไ่ ด้

การเกิ ดขณิ กสมาธิ บอ่ ยๆ นัน่ ก็คอื การมีอปุ จารสมาธิ นัน่ เอง ซึง่ ครูบาอาจารย์แต่ละท่านจะพูดด้วยภาษาสมมติท่ี แตกต่างกัน โดยบางท่านก็กล่าวว่า ขณิกสมาธิทเ่ี กิดทัง้ วันก็เพียงพอต่อการบรรลุมรรคผล ซึง่ ก็ถกู ของท่าน เพราะ ขณิกสมาธิทเ่ี กิดทัง้ วัน ก็คอื อุปจารสมาธินนเอง ั่ จึงไม่ควรจะมานังเถี ่ ยงกันในภาษาสมมติเหล่านี้ สิง่ ทีค่ วรทําคือรีบฝึ กตน ให้แจ้งในพระนิพพานจะเป็ นการดีทส่ี ุด

§

อัปปนาสมาธิ คือสมาธิทแ่ี รงกล้าในระดับ ฌาน1–4 มีพลังมาก แต่ไม่เห็นความเกิดดับ

มีความสงบและนิง่ ยาวนานอยูใ่ นอารมณ์อนั เดียว


๑๕

โยมครูSup’k : แล้วทําไม สัมมาสมาธิในองค์มรรค จึงพูดถึง ฌาน4 หล่ะครับ? พระอาจารย์ชานนท์ : ก็ญานทัศนะจะเกิดขึน้ ได้ จะมีองค์ฌานเป็นตัวหนุน พูดอีกอย่างคือ ถ้าไม่มอี งค์ฌาน ก็จะเกิดญานทัศนะไม่ได้ พระอาจารย์ชานนท์ : ในตอนขัน้ ท้ายๆ ของขณิกสมาธิทต่ี ่อเนื่อง จะกลายเป็นอุปจารสมาธิ และในช่วงท้ายของอุปจารสมาธิทต่ี ่อเนื่อง จิตมันจะเข้าไปตะลุมบอล เหมือนยกท้ายๆของ การต่อสู้ พลังสติ-สมาธิ-ปญั ญาจะกลายเป็นมหาสติ มหาสมาธิ มหาปญั ญา จิ ตจะ รวมเป็ นหนึ ง่ (จิตรวมใหญ่)จนเห็นสภาวะเกิ ดดับได้ชดั เจนจึงเข้าไปตัดสังโยชน์ กลายเป็ น พระอริยบุคคล ซึง่ ขณะเข้าไปตัดนัน้ ทีเ่ กิดมรรคจิต ผลจิตนัน้ เป็ นช่วงเวลาแค่แป๊บเดียว โยมครูSup’k : ครับ โยมครูSup’k : แต่ตอนฝึกก็ใช้อุปจารสมาธิ ฝึกไปก่อน ก็เพียงพอใช่ไหมครับ พระอาจารย์ชานนท์ : พืน้ ฐานของการปฏิบตั จิ ริงๆ คือ ต้องอุปจารสมาธิ เท่านัน้ จะฝึกเลยไปถึงขัน้ ได้ฌาน ได้อปั ปนาสมาธิ ก็ได้ โยมครูSup’k : สาธุครับ

แต่ใคร


สรุปแนวทางการปฏิบตั ิ อีกครัง้ ก่อนกลับบ้าน โยมครูSup’k : หมดคําถามแล้วครับ ขอธรรมะสักกัณฑ์หนึ่งครับ พระอาจารย์ชานนท์ : สภาวะทีเ่ ราควรปฏิบตั กิ ค็ อื เรียนรูเ้ รือ่ งของกายใจ สิง่ ทีเ่ ราหลงใหล โยมควรมา มากทีส่ ุดคือเรือ่ งของกาย(มนุษย์ปุถุชนหลงใหลในกายมากทีส่ ุด แต่กย็ ดึ ถือในจิตมากทีส่ ุดเช่นกัน) เรียนรูเ้ รือ่ งของกายด้วยพิจารณาให้เห็นถึงสภาวะของความเป็นธาตุสท่ี อ่ี ยูใ่ นกาย พระอาจารย์ชานนท์ : การปฏิบตั เิ บือ้ งต้น คือ สัมมาสติ ทีไ่ ด้พดู ไปแล้ว เมือ่ กีน้ ้ี ต่อไปก็สมาธิ นันคื ่ อ สมาธิจดจ่ออยูก่ บั กาย เช่น มีสติสมาธิจดจ่อต่อเนื่องอยูก่ บั ลมหายใจ เป็นต้น การมีสมาธิจดจ่ออยูก่ บั ลมหายใจ คือ มีสมั มาสมาธิ และการมีความเพียรจดจ่อ ก็ คือ มีสมั มาวายามะ ส่วนสัมมาทิฏฐิ ก็คอื ต้องฝึกให้มคี วามเห็นถูกต้องในกายโดยเห็นว่า ทุกอย่าง เป็ นอนิ จจัง ทุกขัง อนัตตา ใครทีเ่ ห็นอย่างนี้เรียกว่า เห็นถูก เห็นชอบ เกิด สัมมาทิฏฐิ * 29

พระอาจารย์ชานนท์ : เพราะตลอดชีวติ ของเรา มีความลุ่มหลงอยูใ่ นขันธ์หา้ ว่าเป็ น ตัวเป็ นตน เป็ นตัวเราของเรา กายเป็นของดีของวิเศษ น่ าหวงแหน น่ าถนอมรักษาเอาไว้ เห็นว่ามันเป็นตัวสุข เห็นว่า มันเทีย่ ง เราจึงต้องมาฝึกเพื่อล้างความเห็นผิดตัวนี้ ด้วยการ ฝึกให้เกิดสัมมาทิฏฐิ คือฝึกพาจิตพาใจไปดูสภาวะ เพือ่ น้อมไปให้เห็นความเป็นจริงว่า กายนี้ มันเป็นอนิจจัง เป็ นทุกขัง และเป็ นอนัตตา นี่คอื ภาคของการปฏิบตั ธิ รรมทีเ่ ราจะต้องดําเนิน ต่อไป *

ท่อนนี้ พระอาจารย์ สอนให้ปฏิ บตั ิ ตรงตามอริ ยมรรคมีองค์8นัน่ เอง เพียงแต่วา่ เรือ่ งของศีลนัน้ พระอาจารย์ได้พดู ยํา้ เอาไว้ในโอกาสอืน่ แล้วว่า คน เราต้องมีศลี 5 เป็นพืน้ ฐาน จึงจะมีใจทีไ่ ม่กวัดแกว่งพร้อมทีจ่ ะเจริญสัมมาสติ–สัมมาสมาธิ ใจทีม่ ศี ลี 5นั ่นคือมีสมั มาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จะเป็ นใจทีม่ พี น้ื ฐานแข็งแกร่งพอทีจ่ ะ เจริญสติ เจริญสมาธิ และ ั เจริญปญญาในขั นต่ ้ อๆไปได้ ส่วนคนทีม่ ดี าํ ริมคี วามคิดริเริม่ ในการฝึ กเพือ่ ความพ้นทุกข์ ก็คอื มีสมั มาสังกัปปะ นันเอง ่


๑๗

พระอาจารย์ชานนท์ : โดยโยมต้องพิจารณาในวงของกาย เพราะ ความเป็นจริงแล้ว มนุษย์ เราหลงอะไรมากทีส่ ุด ก็คอื หลงกาย (แต่รกั อะไรมากทีส่ ุด คําตอบคือ รักและยึดมั ่นในจิตมากทีส่ ุด) เราจึงจําเป็น อย่างยิง่ ทีจ่ ะยกเอากายขึน้ มาปฏิบตั ิ * เพือ่ เห็นสภาวะความเป็นจริงในเรือ่ งของกาย 30

โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ทุกคนปรารถนาความสุขกันทัง้ หมด เราวิง่ หาความสุขกัน แต่เรา ไม่รวู้ า่ ความสุขคืออะไร และ ความสุขเกิดขึน้ ได้จากตรงไหน พระอาจารย์ชานนท์ : ความจริงแล้ว ความสุขของมนุ ษย์ปถุ ุชน เกิดขึน้ จากความพอใจ นันเอง ่ บางคนพอใจในการดูหนังฟงั เพลง ก็สุขจากการดูหนังฟงั เพลง บางคนพอใจใน การทําบุญก็สขุ จากการเข้าวัดทําบุญ บางคนพอใจในการรักษาศีลก็สขุ จากการรักษาศีล บางคนพอใจในการเจริญภาวนาก็สขุ จากการภาวนาเจริญสติสมาธิ โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : แต่พระพุทธเจ้าบอกว่า ยังมีสขุ ที่แท้จริ ง อีกชนิ ดหนึ่ ง คือ สุขจากการปล่อยวาง เป็นสุขทีอ่ ยูเ่ หนือ ความพอใจ ไม่พอใจ ทัง้ หลาย สุขชนิดนี้ไม่องิ อาศัยสิง่ ใด เป็นสุขทีม่ แี ต่ความสบาย มีแต่ความอิสระ โยมครูSup’k : ครับ

*

การยกเอากายขึน้ มาปฏิ บตั ิ คือ การหัดปฏิบตั มิ รณานุสติ , อสุภกรรมฐาน , กายคตาสติ , การพิจารณากายในแง่ธาตุส่ี รวมถึง การตามรูต้ ามดูทกุ ข์ทเ่ี กิดในอิรยิ าบถต่างๆ


พระอาจารย์ชานนท์ : แต่การจะเข้าถึงความสุขทีแ่ ท้จริง ทีเ่ กิดจากการปล่อยวางนี้ เรา จะต้องฝึกให้เห็นสภาวะทีม่ อี ยูท่ งั ้ หมด ให้เข้าหลักความเป็นจริงว่า มันเป็นอนิจจัง เป็นทุกขัง และเป็นอนัตตา เรียนรูใ้ ห้เห็นธรรมชาติทแ่ี ท้จริงของมัน เรียนเข้าให้เห็นสามัญลักษณะ คือเห็นไตรลักษณ์ ในกายในใจของเรา ให้ละเอียดๆ ยิง่ ละเอียดเท่าไร สภาวะนอกกาย ก็จะไม่สงสัยเลย เพราะเรารักตัวเองทีส่ ุด หากละความยึดมันในตั ่ วเองได้แล้ว เราก็ไม่ยดึ ใน สิง่ ใดๆในโลกนี้อกี เลย พระอาจารย์ชานนท์ : คนเรายังหลงอยู่ แล้วหลงอะไร ก็หลงในสิง่ สมมติทเ่ี ป็ นภาพลวงตา อันเกิดจากธาตุต่างๆมาประกอบกัน พอธาตุต่างๆมาอยูร่ วมกันประกอบกลายเป็นอวัยวะ เป็ นร่างกายเราก็หลงคิดว่า มีเราจริงๆ โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ทัง้ ๆทีส่ งิ่ ทีเ่ ห็น ในโลก แม้กระทังกายของเรา ่ มันก็เป็ นแค่ธาตุส่ี และ ความว่างเปล่า มาประกอบกันเท่านัน้ ธาตุเหล่านี้ ก็เป็นธรรมชาติทม่ี อี ยูค่ กู่ บั โลกคูก่ บั จักรวาลนี้มาตัง้ นานแล้ว ก่อนทีเ่ ราจะมาเกิด มันก็มอี ยูแ่ ล้ว ขณะทีอ่ ยูใ่ นครรภ์มารดา มันก็ มีอยูแ่ ล้ว ใครก็ตามทีไ่ ด้เห็นตามคําสังสอนของพระพุ ่ ทธเจ้าว่า ธรรมชาติธาตุสด่ี นิ นํ้าลมไฟ มันเป็นของทีม่ อี ยูแ่ ล้ว มันเป็ นของโลก เราแค่ไปยืมโลกมาใช้ ไม่นานก็ตอ้ งคืนให้กบั โลกนี้ ไปจนหมดสิน้

สิง่ เหล่านี้ไม่ควรยึดมันถื ่ อมันเลย ่ ยึดไว้กท็ ุกข์เปล่าๆ

รัง้ เอาไว้ให้อยูก่ บั เรานานๆก็ทาํ ไม่ได้ หรือแม้จะสงวนรักษาแสดงความเป็นเจ้าของก็ถอื ครองเอาไว้ไม่ได้สกั กะอย่าง ผูท้ เ่ี ห็นตามจริงดังนี้ ก็ถงึ ซึง่ ดวงตาเห็นธรรมนันเอง ่ โยมครูSup’k : ครับ


๑๙

พระอาจารย์ชานนท์ : จําไว้นะ ธาตุสม่ี นั เป็ นของทีม่ อี ยูแ่ ล้ว แต่พอเรามาเกิดเราก็ไปมัวลุม่ หลง ยึดเอาไว้ว่าธาตุส่ี ขันธ์หา้ นัน้ เป็นตัวเราของเรา เราก็เลยพบแต่ความทุกข์ เพราะ ตัวธาตุส่ี ขันธ์หา้ ล้วนเป็นทุกข์ คือ ทนอยูใ่ นสภาวะเดิมนานๆไม่ได้ มันมีเกิดแล้วก็มดี บั ถูกบีบคัน้ อยูเ่ สมอๆ เป็นตัวทุกข์แท้ๆ เป็นตัวทุกข์ลว้ นๆ การไปยึดถือตัวทุกข์ใดๆเอาไว้ ก็ยอ่ มพบแต่ความทุกข์ในทีส่ ุดเสมอๆทุกครัง้ และรํ่าไปด้วย โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : เพราะ เรามีธาตุส่ี เราจึงมีเวทนา เพราะเรามีธาตุส่ี จึงทําให้เรา มีสงั ขาร เพราะเรามีธาตุส่ี เราจึงมีตวั รับรู้ รับทราบ คือ ตัววิญญาณ แต่เราก็ยงั หลงยึด มันในธาตุ ่ ส่ี ซึง่ เป็ นตัวทุกข์ และ เป็ นประตูทช่ี กั นําความทุกข์ทงั ้ หลายให้เข้ามา เมือ่ รูอ้ ย่างนี้ แล้วเราจะมาหลงในธาตุสพ่ี วกนี้อกี ทําไม หากปล่อยวางธาตุสไ่ี ด้ มันก็พน้ ทุกข์แล้ว โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ธาตุส่ี คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ มันเป็ นธรรมชาติ ทีไ่ ม่มใี ครเป็ นเจ้าของ ทีแ่ ท้จริง สิง่ ทัง้ ปวงล้วนว่างเปล่าจากเจ้าของ และ ตัวมันเองก็เกิดมาจากความว่างเปล่า เมือ่ มันดับไปแล้ว ก็กลับไปสู่ความว่างเปล่า ไม่เห็นมีตวั เราสักนิด หรือแม้กระทังมั ่ นไม่ดบั ไป แค่เราตัดเล็บออก แล้วเล็บปลิวไป มันก็ไม่รวู้ ่า เป็ นเล็บของใครแล้ว เห็นได้ชดั ว่า มันไม่ม ี ใครจับจองเป็ นเจ้าของอะไรได้เลยสักนิด


พระอาจารย์ชานนท์ : แต่มนุ ษย์ผโู้ ง่เขลาก็หลงไปจับจอง แบ่งแยกว่า นัน่ บ้านของเรา นัน่ รถของเรา นันเมี ่ ยของเรา นันลู ่ กของเรา จึงต้องแก่งแย่งเบียดเบียนไม่รจู้ บสิน้ ทัง้ ๆที่ ตัว ดินเอง ก็ไม่เคยบอกว่า มันเป็นของใคร โลกทีใ่ ห้ธาตุดนิ แก่เรามายืมใช้เพื่อสร้างเซลล์ใน ร่างกาย โลกก็ยงั ไม่เคยแสดงความเป็ นเจ้าของสักคํา ถึงแม้ตอนทีเ่ รายืมธาตุดนิ ไปใช้สร้าง ร่างกาย แล้วตอนเราตายจะคืนร่างกายผุๆพังๆให้กบั โลก โลกนี้ซง่ึ เป็ นเจ้าของทีแ่ ท้จริงก็ ยังไม่เคยทุกข์ใจทีเ่ ราคืนร่างกายตอนตายในสภาพเน่าเละแค่ไหน แต่ไฉน มนุษย์เรา จึงต้อง ทุกข์ใจ ในวันทีต่ อ้ งสูญเสียอะไรบางอย่างไป ซึง่ ไม่ใช่ของเรามาตัง้ นานแล้ว และไม่เคยเป็น ของตนมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว * 31

พระอาจารย์ชานนท์ : และเนื่องด้วย ธาตุดนิ ธาตุน้ํา ธาตุลม ธาตุไฟ มันก็มคี วาม แปรปรวน ไม่เทีย่ งของมันตลอดเวลาอยูแ่ ล้ว พอธาตุทงั ้ สีม่ นั รวมตัวกัน กลายเป็ นร่างกาย ของเรา ร่างกายก็ตอ้ งมีความแปรปรวนไม่เทีย่ งเป็นธรรมดา แล้วเราจะไปหลงทุกข์ใจ กับ ความแปรปรวนของกายนี้ใจนี้ทาํ ไม ก็รอู้ ยูแ่ ล้วไม่ใช่เหรอว่า มันจะต้องแปรปรวน เพราะมันสร้าง ่ ล้วทุกวินาที และ ก็ตอ้ งแปรปรวนขนาน มาจากส่วนประกอบของธาตุทแ่ี ปรปรวน และมันก็แปรปรวนอยูแ ใหญ่ คือ แตกดับในทีส่ ุดด้วย

*

พูดอีกอย่างหนึ่ง สําหรับคําสอนท่อนนี้ คือ มนุษย์ผโู้ ง่เขลา , มนุ ษย์ทย่ี งั มีจติ ซึง่ ประกอบด้วยอวิชชาอยู่ , มนุ ษย์ผทู้ ย่ี งั ไม่เคยสดับรับฟงั ธรรมตรงนี้ พอเกิดขึน้ มาในโลกแล้ว แทนทีจ่ ะอาศัยธาตุสเ่ี พือ่ เรียนรูค้ วามจริง ก็มวั แต่ยดึ มาจับจองธาตุส่ี ดินนํ้าลมไฟนี้ ยึดมั ่นถือมัน่ แบ่งแยกว่า กายนี้เป็นกายเรา กายโน้นเป็ นกายเขา หลงอยูใ่ นกาย ทัง้ ๆทีจ่ ะกายเรากายเขา กายสัตว์ กายพืช มันก็มาจากธาตุทงั ้ สี่ หมุนเวียนผลัดเปลีย่ นธาตุกนั ใช้ มนุ ษย์ผโู้ ง่เขลาทัง้ หลายทีไ่ ม่เคยเรียนรูค้ วาม จริงอันนี้จงึ มัวแต่เอาเวลาไปหลงดิน หลงนํ้า หลงลม หลงไฟนี้ ก่อให้เกิดการแก่งแย่ง เบียดเบียน ชิงดีชงิ เด่น ก่อกรรม ไม่รจู้ กั จบสิน้ และตัณหาก็ให้รางวัลคือความพอใจนิดๆหน่ อยๆ เพือ่ ให้หลงสมมติ หลงแก่งแย่ง กอบโกยเพือ่ ตัวกูของกูกนั ต่อไป เป็นทุกข์ ไม่รจู้ กั จบสิน้


๒๑

พระอาจารย์ชานนท์ : เวทนา ซึง่ เกิดเนื่องกับกายทีม่ คี วามแปรปรวน ก็ตอ้ งแปรปรวนเป็น สัญญาซึง่ เกิดเนื่องกับกายทีม่ คี วามแปรปรวนก็ตอ้ งแปรปรวนตามกายตามธาตุทงั ้ สี่ ธรรมดา เป็นธรรมดา สังขารความคิดปรุงแต่งก็มคี วามแปรปรวน และ สภาวะของความเป็ นผูร้ ู้ ผูเ้ ข้าใจ หรือ วิ ญญาณ ก็ตอ้ งมีความแปรปรวนเกิดดับ เดีย๋ วรู้ เดีย๋ วไม่รู้ เดีย๋ วเข้าใจ เดีย๋ ว ไม่เข้าใจ เป็นธรรมดา ทัง้ หมดทัง้ ปวงนี้ คือ สภาวะแห่งธรรมธาตุทงั ้ หมด ซึง่ มีความ

สิ่งที่แปรปรวนเหล่านี้ ควรแล้วหรือที่จะเข้าไปยึด มันถื ่ อมันว่ ่ า เป็ นตัวเรา ของเรา ให้ทกุ ข์ใจ เปล่าๆเลย?

แปรปรวนเป็นธรรมดา

โยมครูSup’k : ครับ พระอาจารย์ชานนท์ : พระพุทธเจ้า และ พระอริยะเจ้าทัง้ หลาย มีปญั ญาเห็นแจ้งดังนี้แล้ว จึงไม่หลงไปแทรกแซงในธรรมชาติทเ่ี กิดดับเหล่านัน้ ท่านเหล่านัน้ จึงเข้าสูธ่ รรมธาตุท่ี บริสทุ ธิ ์ หมดความปรุงแต่ง หมดความดิน้ รน หมดสิน้ ตัณหาทีอ่ ยากจะแทรกแซง ถึงความ สงบสันติ พ้นจากทุกข์ทงั ้ ปวง คือ ถึงซึง่ นิพพานนันเอง ่ โยมครูSup’k : สาธุครับ


ไม่แทรกแซงในสิ่งทัง้ ปวง * คือ ความเป็ นกลางอย่างแท้จริง 32

พระอาจารย์ชานนท์ : เข้าใจขึน้ บ้างไหม โยมครูSup’k : เข้าใจครับ แต่ยงั ไม่ตดั สังโยชน์สกั กะที พระอาจารย์ชานนท์ : มันจะไปตัด †อะไรหล่ะโยม มันไปบังคับได้ทไ่ี หนหล่ะ(มันสอนอนัตตาอยู่ ไม่เห็นเหรอโยม?) และไอ้อาการทีม่ นั ไม่ตดั เนี่ย มันก็เป็ นของมัน แล้วโยมจะไปทุกข์ใจอะไรกับมัน เหตุทม่ี นั ตัดไม่ได้เพราะอะไรรูไ้ หม ก็เพราะมันไม่ใช่ตวั เรา มันไม่ใช่ของเรา (มันสอนอนัตตาอีกแล้วนะโยม?) แล้วเราจะไปทุกข์ใจอะไรแทนมัน มันจะไม่ตดั ก็ชา่ งมันสิ มันจะต้องเสวยทุกข์ อีกกีส่ บิ ชาติกช็ า่ งมันสิ ถ้าสิง่ ใดเป็ นของเรา เราก็ตอ้ งสังได้ ่ สโิ ยม 33

*

การรู้ท่ีแท้จริ ง หรือ การมีสติ สมั ปชัญญะตัวจริ งนัน้ คือ การตามรู้ ตามสังเกตสภาวะอย่างไม่แทรกแซง โดยจะ ไม่เข้าไปแทรกแซงหรือดัดแปลงสภาวะใดๆให้เป็ นตามใจอยาก–ไม่เข้าไปแทรกแซงตามอํานาจของตัณหา ซึง่ ั ไม่ได้มคี วามขัดแย้งกับ ข้อความในพระไตรปิฏก เล่มที๒่ ๒ อังคุตตรนิกาย ปญจก-ฉั กนิบาต สีตวิ รรคที๔่ ซึง่ พระพุทธองค์ ทรงสั ่งสอนธรรม 6 ประการ คือ ข่มจิตในสมัยทีค่ วรข่ม , ยังจิตให้รา่ เริงในสมัยทีค่ วรให้รา่ เริง ฯ เพราะในบางครัง้ ก็ตอ้ งรูจ้ กั ข่มจิตในสมัยทีค่ วรข่ม เช่น ในวันทีก่ าํ ลังจะผิดศีล5แล้วก็ตอ้ งฝื นใจทีจ่ ะไม่ทาํ ชัว่ หรือ ในวันทีร่ ่างกายพักผ่อนพอแล้ว แต่มนั เกิดอาการขีเ้ กียจไม่ยอมฝึ กปฏิบตั ใิ นรูปแบบ ก็ตอ้ งฝื นใจขึน้ มาปฏิบตั ติ ามสัจจะทีไ่ ด้ ตัง้ ไว้ หรือในวันทีฟ่ ้ ุงซ่านเกินไปก็เป็นเวลาทีค่ วรข่มจิต ด้วยการเจริญปสั สัทธิสมั โพชฌงค์ สมาธิสมั โพชฌงค์ และ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ และในบางครัง้ ก็ตอ้ งรูจ้ กั การยังจิตให้ร่าเริงในสมัยทีค่ วรทํา เช่น ในวันทีเ่ หนื่อยมากๆ ขาดพลังในการเจริญวิปสั สนา ก็ตอ้ งรูจ้ กั ให้กาํ ลังใจตัวเองบ้าง หรือ ระลึกถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ให้จติ ใจแช่มชืน่ มีกาํ ลังบ้าง ในทางกลับกัน หากไม่มจี ติ ทีห่ ดหูเ่ กินไป และ ไม่มจี ติ ทีฟ่ ้ ุงซ่านเกินไป และ จิตยังพอมีกาํ ลังอยูบ่ า้ ง ก็ไม่ใช่เป็ นเวลา ของการข่มจิต ไม่ใช่เป็นเวลาของการยังจิตให้รา่ เริง แต่เป็นเวลาของการเจริญวิปสั สนาเรียนรูก้ ายใจตามความจริงโดยไม่ แทรกแซงนั ่นเอง †

การตัดในที่นี้ = การตัดสังโยชน์ = การตัดกิเลสจนเกิดการบรรลุมรรคผลนิพพาน


๒๓

พระอาจารย์ชานนท์ : ถ้าสิง่ ใดเป็นเรา เป็นของเรา ก็ตอ้ งสังได้ ่ ส ิ ว่า มึงจงตัดนะ มึงจง ปล่อยวางนะ มึงอย่ายึดนะ แต่ความจริงแล้ว ก็ขนั ธ์ห้าไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา แล้วจะไป บังคับให้มนั ตัดได้ไง

แค่รแู้ ค่เข้าใจว่าไม่ใช่เราก็พอแล้ว(แค่เห็นแจ่ม

แจ้งในอนัตตาก็ยอมปล่อยวางพ้นจากทุกข์แล้วโยม)

โยมครูSup’k : สาธุครับ

พระอาจารย์ชานนท์ : จําไว้นะ แค่เข้าใจว่าไม่ใช่เราก็พอแล้ว มันจะตัดสังโยชน์หรือไม่ตดั สังโยชน์ ก็เรือ่ งของมัน เพราะต่อให้ไม่ตดั พอขันธ์ดบั ไป ทุกอย่างก็ดบั หมดไม่ใช่เหรอ แล้วเวลาทีม่ นั ตัด มันก็ไม่เทีย่ ง เดีย๋ วก็กลับมายึดอีก เมือ่ โยมเห็นความจริงดังนี้แล้ว แล้วจะยังไปกังวล ไปกลุม้ ใจ ไปรอลุน้ ไปวิง่ ตาม ไปบังคับ ให้มนั ตัดอีกทําไม

กายใจมันเป็ นของโลกทัง้ นัน้ ไม่ใช่ของเรา

ช่างมันเถอะ!

พระอาจารย์ชานนท์ : เราไปเล่นกับมันทําไมให้เหนื่อย จําไว้นะ โยมจงดูตวั สภาวะทีเ่ กิดในปจั จุบนั คือ ดูทม่ี นั ไม่ตดั นี่แหละ ดูสภาวะจริงๆทีเ่ กิดตอนนี้เลย ดูให้เห็นเลยว่าบังคับบัญชามันไม่ได้ มันไม่ใช่ตวั เรา มันไม่ได้อยูใ่ นอํานาจบังคับบัญชาของเรา แล้วจะไปทุกข์ใจกับของซึง่ เป็ นของคนอืน่ ทําไม โยมครูSup’k : สาธุครับ


พระอาจารย์ชานนท์ : ตัวทีอ่ ยากตัด มันก็เป็ นแค่ขนั ธ์หา้ ซึง่ ขันธ์หา้ มันไม่เทีย่ ง เป็ นทุกข์ และไม่ใช่ตวั เรา เดีย๋ วมันก็อยากตัด เดีย๋ วมันก็ไม่อยากตัด มันไม่เที่ยง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตา ดังนัน้ จึงอย่าไปยุง่ กับมัน

แค่ไม่ยงุ่ กับมัน ก็ไม่ทุกข์แล้ว

พระอาจารย์ชานนท์ : ให้โยมรูส้ ภาวะใดๆทีเ่ กิดในแง่ไตรลักษณ์ไปบ่อยๆนะ

รูโ้ ดยไม่แทรกแซง เวลามันจะตัดเราก็ไม่เชื่อมัน เพราะเราไม่แทรกแซงและไม่ไปร่วมมือกับมัน เวลามันจะยึดเราก็ไม่ไปยึดกับมัน ไม่ไปทุกข์กบั มัน ฝึกมองในแง่ทว่ี า่ มันแค่เป็ นกิรยิ าอาการยึดของขันธ์เท่านัน้ ฝึกให้จติ ของเรามีอสิ ระเหนือขันธ์ทงั ้ ปวงไม่ไปแทรกแซงแม้เพียงเล็กน้อย * † 34

35

โยมครูSup’k : สาธุครับ

*

แม้พระอาจารย์จะสอนเป้าหมายว่า ไม่ควรแทรกแซงแม้เพียงเล็กน้ อย แต่ขอให้เข้าใจไว้นะว่า หากถ้ายังมีอาการ แทรกแซงแล้วเป็นทุกข์อยู่ ก็ไม่เป็ นไร แค่ให้ รูว้ ่ากําลังแทรกแซง เรียนรูซ้ ้าํ ๆเข้าไปในความทุกข์ทเ่ี กิดจากการแทรกแซง นัน้ เรียนรูใ้ ห้จติ มันเข็ดมันหลาบกับการแทรกแซงใดๆ เรียนรูใ้ ห้เห็นว่าตัณหาและการแทรกแซงทัง้ ปวงนัน้ เป็ นต้นเหตุให้ เกิดทุกข์โดยแท้ เรียนรูซ้ ้าํ ๆ เดีย๋ วจิตมันก็ฉลาดเกิดปญั ญา ยอมปล่อยวาง เลิกแทรกแซงเองได้ในทีส่ ดุ †

แต่ทงั ้ นี้ ก็อย่าไปแกล้งปล่อยวาง อย่าไปแกล้งทําเป็นไม่แทรกแซงนะ เพราะการทําอย่างนัน้ ไม่นานเดีย๋ วมันก็ แทรกแซงหยิบฉวยขึน้ มายึดมันถื ่ อมันอี ่ ก ขอยํ้าให้โยมเรียนรูท้ ุกข์อนั เกิดจากการหลงไปแทรกแซง เรียนรูท้ ุกข์อนั เกิด จากความยินดียนิ ร้ายให้มากๆจนพอเพียง เพราะ วันใดทีเ่ รียนรูท้ กุ ข์จนแจ่มแจ้ง วันนัน้ จิตโยมก็จะยอมปล่อยวางได้เอง เลิกแทรกแซงได้อย่างแท้จริงและพ้นจากทุกข์ได้ในทีส่ ุด


๒๕

พระอาจารย์ชานนท์ : มันจะตัดไม่ตดั ก็ช่างมันแล้วเพราะมันไม่มเี ราแล้ว บังคับไม่ได้อยูแ่ ล้ว เมือ่ ไม่มเี ราแล้ว ก็แสดงว่า เราไม่ใช่เจ้าของ ดังนัน้ เลิกทุกข์กบั มันได้แล้ว เลิกรัก เลิกหวง แหนในจิตได้แล้ว เราไม่ใช่เจ้าของมันอยูแ่ ล้ว เราไม่ใช่เจ้าของมันอีกแล้ว และเราก็ไม่เคย เป็นเจ้าของมันมานานแล้ว โยมครูSup’k : สาธุครับ พระอาจารย์ชานนท์ : เราไม่ได้เป็ นเจ้าของขันธ์ เราไม่ใช่เป็นเจ้าของจิต ดังนัน้ แล้ว โยมอย่าไปยุง่ กับมัน ต่อให้เขาตัดได้แล้วไง ตัดแล้วมีความสุขอนันต์ แล้วไง มันก็ไม่มผี ลอะไรกับเรา ดังนัน้ จะไปลุน้ ให้มนั ตัดทําไม มันสุขมันก็สขุ ของมัน ไม่ใช่เราสุข มันทุกข์ มันก็ทกุ ข์ของมันไม่ใช่เราทุกข์ มันยึด มันก็หนักของเขาเอง ไม่มผี ลกับเรา โยมครูSup’k : สาธุครับ แสดงว่าการบรรลุได้จะต้อง ไม่แทรกแซง แม้แต่นิดเดียว นันคื ่ อ ฝึกจนจิตเป็ นกลางอย่างแท้จริงใช่ไหมครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ใช่ เราไม่แทรกแซง แม้กระทังในตั ่ วผูร้ ู้ และสิง่ ทีถ่ ูกรู้ จําไว้นะ ไม่ไปแทรกแซงตัวรูม้ นั ด้วย ทีเ่ รามาหลง ก็หลงตัวรูน้ ่ีแหละ หลงตัวรูน้ ่ีเป็ นด่านสุดท้าย โยมครูSup’k : ครับ


พระอาจารย์ชานนท์ : ทีผ่ า่ นมา เราเห็นทุกอย่างเกิดดับ แต่เราเคยเห็นไหมหล่ะว่า ไอ้ตวั รู้ หรือวิญญาณในขันธ์หา้ นี่กเ็ กิดดับตัวเบ้อเร่ออยูน่ ่แี หละ

โยมพยายามแทรกแซง

ตัวรู้ ให้มนั รูโ้ น่น ให้มนั เข้าใจนี่ ให้มนั ไม่รโู้ น่น ไม่รนู้ ่ี ละเอียด มหาเหตุอยูต ่ รงนี้ตรงเดียว

นี่คอื การแทรกแซงขัน้

โยมครูSup’k : สาธุครับ พระอาจารย์ชานนท์ : หากเรามาตัดพฤติกรรมตัวนี้ตวั เดียว คือ ไม่หลงไปแทรกแซงผูร้ ู้ โดยฝึกสติสงั เกตความทุกข์ทเ่ี กิดจากพฤติกรรมทีห่ ลงเข้าไปแทรกแซงบ่อยๆ ก็จะเกิดปญั ญา เห็นความจริงเลยว่า แทรกแซงไปก็เท่านัน้ โยมก็จะเกิดสภาวะรู้ แบบ รู้กส็ กั แต่ว่า รู้ โยมครูSup’k : สาธุครับ พระอาจารย์ชานนท์ : สิง่ ทีถ่ ูกรู้ ก็สกั แต่ว่า เกิดดับ และ ไอ้ตวั ผูร้ ู้ ก็สกั แต่ว่า รู้ ไอ้ตวั ผูร้ ู้ จะฉลาดหรือโง่ จะยึดหรือจะยอมปล่อยวาง ก็เรือ่ งของมัน เรียนให้เห็นว่า ไอ้สงิ่ ทีถ่ ูกรู้ ก็สกั แต่ว่า เกิดดับ ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของ ไอ้ตวั ผูร้ ู้ ก็สกั แต่ว่า เป็ นสิง่ ทีเ่ กิดดับ ไม่มใี ครเป็ นเจ้าของ ฝึกให้เห็นบ่อยๆ จนเกิดปญั ญา พ้นจากทุกข์ทแ่ี ท้จริงได้

สักแต่วา่ รู้

ก็จะเข้าถึงความบริสุทธิ ์


๒๗

โยมครูSup’k : สาธุครับ ถ้าจิตผมยังดือ้ อยู่ ก็ให้เรียนรูไ้ ปใช่ไหมครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ใช่ ต้องเรียนต่อไป แต่กเ็ รียนรู้ ในขณะปจั จุบนั นี้เลยว่า ไอ้ตวั ดือ้ มันเทีย่ งหรือเปล่า ? แล้ว เรียนรูต้ อนนี้เลยว่า มันมีความเป็ นตัวเราอยูใ่ นตัวดือ้ หรือเปล่า ? กล่าวคือ เราไปสังให้ ่ มนั ดือ้ เหรอ ความจริงแล้วเราอยากปล่อยวางจะตายไม่ใช่เหรอ แต่มนั ดือ้ ของมันเอง เราไม่ได้อยากดือ้ สักนิด ให้โยมต้องย้อนศรมาดูตรงนี้เลย เพราะ เป็นสภาวะปจั จุบนั ทีเ่ กิดกับกายกับใจของโยม ต้องเรียนรูใ้ ห้เห็นปจั จุบนั ขณะ จึงจะถึงจิตถึงใจ พระอาจารย์ชานนท์ : ดูให้เห็นเลยว่า ไอ้ตวั ทีม่ นั ดือ้ ก็ด ี มันก็เป็นแค่สภาวะหนึ่ง ทีเ่ กิดดับ ของมันเอง บังคับไม่ได้ตามใจเรา เราไม่ได้เป็ นเจ้าของความดือ้ และอย่าลืมอีกว่า ไอ้ตวั ที่ มันยอมมันก็เป็นแค่สภาวะหนึ่ง ถามหน่ อย การยอม หรือ การไม่ยอม มันเคยมีตวั ตนของ เราไปอยูใ่ นนัน้ หรือเปล่าหล่ะ ? โยมครูSup’k : ไม่มตี วั ตนครับ ไม่มตี วั ตันทีจ่ ะสามารถไปบังคับให้ยอมหรือไม่ยอมได้เลยครับ พระอาจารย์ชานนท์ : ถูกแล้ว จิตมันจะยอมหรือไม่ยอม ก็เรือ่ งของจิต โยมได้ประโยชน์ อะไรกับมันเหรอ หากมันยอมแล้วมันแปรเปลีย่ นกลับมาเป็ นไม่ยอมอีก โยมก็คงต้องทุกข์ใจ กับมันอีกไม่ใช่เหรอ ให้โยมเรียนให้รเู้ ลยว่า ยึดถือในสิง่ ใดสิง่ หนึ่งในสองสิง่ นี้ ล้วนนําความ ทุกข์มาให้ไม่จบสิน้

ยอมก็ชา่ งมัน ไม่ยอมก็ชา่ งมัน

มันก็เป็ นแค่สภาวะหนึ่งที่

หมุนเวียนเล่นกล หลอกเราแค่นนั ้ เองปล่อยวางให้หมดซะแล้วจะพ้นจากทุกข์ทน ั ที

โยมครูSup’k : สาธุครับ


พระอาจารย์ชานนท์ : จําไว้นะโยม หากจิตยังไม่ตดั จิตยังไม่ปล่อยวางก็ไม่เป็ นไร นันเป็ ่ น เพราะว่า

โยมยังเห็นทุกข์ไม่พอ ดังนัน้ ให้โยมหันกลับไปเรียนรูท้ ุกข์ให้มากพอ

โดยเจริญศีล สมาธิ ปญั ญาให้มากๆ จนอินทรียข์ องจิตมันแก่รอบ เดีย๋ วจิตมันก็ปล่อยวาง ของมันได้เอง โยมสังจิ ่ ตให้บรรลุไม่ได้หรอก แค่เพียรทําเหตุให้ถงึ พร้อม เดีย๋ วมรรคผล มันก็จะเกิดเอง โยมครูSup’k : สาธุครับ กราบนมัสการขอบคุณครับ




๒๙

สมถะ VS วิปัสสนา แตกต่างกันอย่างไร บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดยครูSup’k เพือ่ ให้พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท ช่วยตรวจทาน

1. วิ ปัสสนาคือ การมีสติไปเรียนรูแ้ บบประจักษ์กบั สภาวะต่างๆของรูปนามทีเ่ กิดจริง ในแง่ไตรลักษณ์ * 36

หรือ การมีสติไปตามรู้ ตามเห็นสภาวะปรมัตถ์†ทีเ่ กิด หรือ พูดง่ายๆว่า การมีสติเข้าไปรูก้ ายรูใ้ จตามความเป็ นจริง หมายเหตุ : การศึกษาวิปสั สนานี้ เกิดเฉพาะในสมัยทีม่ พี ระพุทธเจ้ามาตรัสรูเ้ ท่านัน้ 37

ในแง่ไตรลักษณ์ ในแง่ไตรลักษณ์

2. สมถะ จําแนกเป็ น 2 รูปแบบ คือ 2.1 สมถะ = การมีสติจดจ่ออยูใ่ นอารมณ์อนั เดียว ซึง่ เป็นอารมณ์สมมติบญ ั ญัติ ‡ 38

เช่น มีจติ จดจ่ออยู่อารมณ์พุทโธ โดยหมันบริ ่ กรรมพุทโธทุกอิรยิ าบถ มีสติจดจ่ออยู่กบั ลมหายใจเข้าออก แต่ไม่ได้มองลมหายใจในแง่ไตรลักษณ์ ฯ 2.2 สมถะ = การคิดพิจารณาช่วย เพือ่ ให้จติ สงบจากนิวรณ์ 5 หมายเหตุ : การศึกษาสมถะนี้ มีในทุกยุคทุกสมัย ทัง้ ในยุคทีม่ หี รือไม่มพี ระพุทธเจ้ามาตรัสรู้ *

ไตรลักษณ์ = อนิ จจัง , ทุกขัง , อนัตตา

อนิ จจัง = ลักษณะของการทีเ่ ป็ นของชัวคราว ่ ไม่คงที่ ไม่เทีย่ งแท้ ไม่ถาวร , สภาวะทีเ่ กิดขึน้ แล้วก็ดบั ไป ทุก ขัง = ลักษณะของการทีถ่ ูกบีบคัน้ จนทําให้ไม่สามารถทนอยู่ในสภาพเดิมๆได้ , สภาวะทีเ่ ป็ นทุกข์เพราะถูกบีบคัน้ อนัตตา = ลักษณะของการทีไ่ ม่มตี วั ตนทีแ่ ท้จริง , ไม่ใช่ตวั เรา , ไม่ได้อยูใ่ นอํานาจบังคับของเรา , บังคับไม่ได้เพราะทุกสิง่ ล้วนเป็นไปตามเหตุ ไม่ได้เป็ นไปตามใจอยาก †

สภาวะปรมัตถ์ = สภาวะความจริงทีไ่ ม่เปลีย่ นแปลงไปตามภาษา เช่น ไฟจะให้ความรูส้ กึ ว่า ร้อน ไอ้ความร้อน ทีท่ าํ ให้เกิดอาการปวดแสบ ปวดร้อน นัน่ แหละ คือ สภาวะปรมัตถ์ของไฟ ไม่วา่ ไฟจะเกิดในทวีปใด ก็จะมี สภาวะปรมัตถ์แห่งความร้อน เหมือนกันหมด หมายเหตุ : การมีสติเข้าไปเห็น สภาวะความร้อน ในมุมมองไตรลักษณ์ เช่นเห็นว่า ความร้อนนัน้ เป็ นของไม่เทีย่ ง ตอนนี้ ร้อนมากอยูด่ ๆี เดีย๋ วไม่นานความร้อนก็สลายไป(เห็นอนิจจัง) ทนอยูไ่ ด้ไม่นาน(เห็นทุกขัง) และมีเหตุกร็ อ้ น หมดเหตุก็ หายร้อน บังคับไม่ได้(เห็นอนัตตา) การมีสติเข้าไปเห็นไตรลักษณ์ในสภาวะปรมัตถ์อย่างนี้ คือ การเจริญวิปสั สนาอยู่ ‡

สมมติ บญ ั ญัติ = การบัญญัตศิ พั ท์ให้ความหมายทางภาษา ซึง่ ก็จะเปลีย่ นแปลงไปตามภาษาของแต่ละประเทศ เช่น ภาษาไทยใช้ศพั ท์คาํ ว่า “ร้อน” , ภาษาอังกฤษใช้ศพั ท์คาํ ว่า “hot” ซึง่ หากเป็ นคนต่างชาติต่างภาษาก็จะไม่เข้าใจคําศัพท์ซง่ึ เป็นสมมติบญ ั ญัตขิ องกันและกัน หมายเหตุ : การมีสติเป็นอารมณ์อนั เดียวเข้าไปจดจ่ออยูก่ บั สมมติบญ ั ญัติ เช่น บริกรรมท่องคําว่า ร้อนหนอ ร้อนหนอ นัน่ เป็นสมถกรรมฐาน ซึง่ จะมีผลทําให้จติ สงบ (แต่หากจิตสงบแล้วสามารถพลิกจิตเพือ่ ไปเห็นความไม่เทีย่ งหรือเห็นไตรลักษณ์ ของสภาวะความร้อน ก็ถอื ว่า เป็ นกลายเป็ นภูมวิ ปิ สั สนาได้เช่นกัน สามารถบรรลุมรรคผลได้เช่นกัน)


3. ขอยํา้ อีกครัง้ สมถะ จําแนกเป็ น 2 รูปแบบ คือ 3.1 สมถะ = การมีสติจดจ่ออยูใ่ นอารมณ์อนั เดียว ซึง่ เป็นอารมณ์สมมติบญ ั ญัติ 3.2 สมถะ = การคิดพิจารณาช่วย เพือ่ ให้จติ สงบจากนิวรณ์ 5 * เช่น คิดปลอบใจว่า เขาคงไม่ได้ตงั ้ ใจหรอก เวลามีคนมาเหยียบเท้าเรา คิดถึงข้อดีของคนนัน้ เวลาทีค่ นๆนัน้ เขามาทําให้เราไม่พอใจบางอย่าง คิดให้ปลงว่า ทรัพย์สนิ ก็คอื ของนอกกาย ตายไปก็เอาอะไรไปไม่ได้ คิดถึงพระคุณแม่ว่า ต่อให้เขาขีบ้ ่นแค่ไหน เขาก็ยงั อุตส่าห์หาข้าวให้เรากินทุกวัน หมายเหตุ : การศึกษาสมถะนี้ มีในทุกยุคทุกสมัย ทัง้ ในยุคทีม่ หี รือไม่มพี ระพุทธเจ้ามาตรัสรู้

4. แม้กระทังการคิ ่ ดค้นพิ จารณาเรือ่ งไตรลักษณ์ แต่ไม่ได้ไปประจักษ์กบั สภาวะเกิดดับ จริงๆก็ถอื ว่าเป็ นสมถกรรมฐานนะ เช่นคิดว่าพากย์ในใจว่า เห็นไหมความโกรธบังคับไม่ได้ เห็นไหม ว่า ความโกรธมันไม่คงที่ เห็นไหมว่า เดีย๋ วก็โกรธมาก เดีย๋ วก็โกรธน้อย เห็นไหมสิง่ ทัง้ ปวงล้วนไม่เทีย่ ง ั ญัติ ล้วนแต่เป็ นสมถกรรมฐานทัง้ สิ้ น ไม่เห็นน่ายึดถือเลยฯ การคิ ดพากย์ในใจด้วยคําพูดสมมติ บญ 5. แต่การคิดช่วยแบบสมถะในข้อ4.เมือ่ นี้ ก็มปี ระโยชน์อย่างมากในการทําให้จติ สงบ และการคิดแบบนี้ยงั เป็ นการช่วยนําร่องให้จติ ชํานาญในการหัดมองสภาวะทีเ่ กิดในแง่ไตรลักษณ์ นันคื ่ อ ช่วยให้จติ ทีส่ งบด้วย สมถะจากการคิดสามารถพลิกไปเป็ นภูมวิ ปิ สั สนาได้งา่ ย สรุปคือ ผูฝ้ ึกปฏิธรรมไม่ตอ้ งปฏิเสธการคิดช่วย แต่ให้แยกแยะให้ออกว่า การคิดช่วยเป็ นสมถะ จะได้รจู้ กั ใช้เครือ่ งมือสมถกรรมฐานไปช่วยในการเจริญ วิปสั สนาได้อย่างไม่หลงทาง *

นิ วรณ์5 = กิ เลส 5 อย่างที่ทาํ ให้จิตไม่สงบ , สิ่ งกัน้ ขวางที่ทาํ ให้จิตไม่มีสมาธิ มี 5 อย่างคือ 1. กามฉันทะ = ความยินดี พอใจ เพลิดเพลิน ในรูป รส กลิน่ เสียง สัมผัส (ทัง้ การเพลิดเพลินใน ชีวติ ประจําวัน เช่น ติดใจในเกม หลงใหลในการดูหนังฟงั เพลง เสพติดอาหารรสอร่อย ชอบกลิน่ หอมๆ บ้า แฟชั ่นสวยๆ หรือ หมกมุน่ ในเรือ่ งทางเพศ) 2. พยาบาท = ความโกรธแค้น จองเวรรุนแรง ซึง่ ใครมีความพยาบาท จิตย่อมไม่สงบแน่ นอน 3. ถีนมิ ทธะ = ความหดหู่ , ความท้อแท้ , ความง่วงซึมแม้จะนอนมาพอแล้วนันคื ่ อง่วงเพราะความขีเ้ กียจ 4. อุทธัจจะกุกกุจจะ = ความฟุ้งซ่าน รําคาญใจ โดยส่วนใหญ่กจ็ ะฟุ้งซ่านไปในอดีตทีผ่ า่ นไปแล้ว และ ฟุ้งซ่าน กังวลไปยังอนาคตทีม่ าไม่ถงึ ซึง่ พอฟุ้งซ่านแล้วก็จะเกิดความรําคาญใจตามมา ทีร่ าํ คาญใจก็เพราะไม่ชอบ ความฟุ้งซ่านนัน้ ๆนันเอง ่ 5. วิ จิกิจฉา = ความลังเลสงสัย เช่น ลังเลสงสัยไม่แน่ ใจว่า วิธปี ฏิบตั นิ ้จี ะช่วยให้พน้ ทุกข์ได้จริงเหรอ ซึง่ พอเกิด ความลังเลสงสัย ก็จะมีฟ้ ุงซ่านรําคาญใจต่อทันที จิตใจจึงหาความสงบไม่ได้ จึงไม่มเี วลาไปเจริญสติเรียนรู้ ชีวติ ในแง่ไตรลักษณ์ เพราะเอาเวลาทัง้ หมดไปหลงคิดฟุ้งซ่านนันเอง ่


๓๑

6. การฝึก สมถะ มีผลให้จติ มีความสุข สงบ เป็นสมาธิ , สงบจากนิวรณ์5 , ระงับกิเลสได้ชวคราว ั่ ซึง่ การใช้สมถะนี้จะมีผลทําให้ดบั กิเลสได้รวดเร็ว แต่ไม่ถาวร เช่น ตอนโกรธจัดๆ แล้วคิดถึงความดีของคนๆนัน้ ทีเ่ ขาก็เคยช่วยเรามาก่อน การคิดช่วยอันเป็ น สมถะนี้กจ็ ะทําให้ความโกรธระงับอย่างรวดเร็ว แต่ผลจะไม่ถาวรเพราะถ้าเกิดเขายังไม่หยุดใส่รา้ ยเรา มันก็อาจจะถึงขีดสุดต้องระเบิดอามรณ์ตอบโต้กลับคืนไปบ้าง หรือบางครัง้ เวลาโกรธจัดๆแล้วเราก็หนี ไปบริกรรมพุทโธถีๆ่ ซึง่ ก็จะช่วยให้เราหายโกรธได้รวดเร็ว เพราะว่า จิตมันคิดแต่คาํ ว่าพุทโธ จึงไม่มี เวลาไปคิดถึงเรือ่ งทีท่ าํ ให้โกรธนันเอง ่ แต่บางครัง้ บริกรรมพุทโธยังไงก็ไม่หายโกรธ นี่เป็ นแสดงให้เห็น ว่ามันมีผลไม่ถาวร(โดยส่วนใหญ่คนทีร่ ะงับความโกรธด้วยการใช้สมถะคิดช่วย จะต้องเปลีย่ นรูปแบบการคิดไปเรือ่ ยๆ)

7. การฝึก วิ ปัสสนา มีผลให้จติ ฉลาดเกิดปญั ญา เข้าใจ และยอมรับความจริง สามารถปล่อยวางความ *

ยึดมันถื ่ อมัน่ หลุดพ้นจากกิเลสอย่างสิน้ เชิง และ พ้นจากทุกข์โดยสิน้ เชิง เช่น พอมีคนมาทําเหตุเช่นเหยียบเท้าของเรา ผูท้ ฝ่ี ึกวิปสั สนามาจนเห็นว่า ร่างกายมันก็เป็ นแค่ธาตุส่ี มาประชุมกัน และร่างกายนี้กเ็ ป็ นแค่ธาตุทย่ี มื จากโลกมาใช้ ดังนัน้ จึงไม่เกิดความโกรธได้เองโดยไม่ตอ้ ง คิดช่วยใดๆ เพราะผูฝ้ ึกวิปสั สนาจะมีปญั ญาทีเ่ ห็นความไม่มตี วั เราในร่างกาย เห็นความไม่มตี วั ตนที่ แท้จริงในร่างกาย โดยเห็นแล้วว่าร่างกายนี้ไม่ใช่ตวั เราของเรา สุดท้ายก็ตอ้ งคืนให้กบั โลกนี้ไป ผูท้ เ่ี ห็น แจ้งแบบนี้กจ็ ะไม่มคี วามยึดถือในกายนี้ใจนี้ จิตใจทีม่ ปี ญั ญาแบบนี้กจ็ ะไม่ไปปรุงแต่งความคิดทีจ่ ะโกรธ เมื่อไม่มตี น้ เหตุแม้กระทังความคิ ่ ด ก็ย่อมไม่มผี ลแห่งความโกรธและความทุกข์ใดๆตามมา สรุปคือ เพราะมีปญั ญาเข้าใจความจริงด้วยวิปสั สนาไตรลักษณ์ จึงไม่ตอ้ งคิดช่วยด้วยสมถะใดๆ ดังนัน้ วิปสั สนา คือ การเจริญกรรมฐานทีพ่ น้ จากความคิด แล้วไปรูไ้ ปเห็นสภาวะปรมัตถ์ นันเอง ่ 40

หมายเหตุ : แต่ทงั ้ นี้ ก็จาํ เป็ นทีต่ อ้ งอาศัยการคิดพิจารณาช่วยในการฝึกกรรมฐาน เพือ่ การบรรลุ

41

*

ั การฝึกวิปสสนาทํ าให้พน้ ทุกข์อย่างสิน้ เชิง เพราะได้เรียนรูส้ ภาวะทีเ่ กิดกับกายกับใจแล้วว่า สภาวะความสุขก็เป็ นแค่ของ ชั ่วคราว สภาวะความทุกข์ทเ่ี กิดก็เป็ นแค่ของชัวคราว ่ สภาวะความโกรธทีเ่ กิดกับใจก็เป็ นแค่ของชัวคราว ่ สภาวะทุกอย่าง มันก็แค่เกิดขึน้ แล้วดับไป จะบังคับให้สภาวะนัน้ ๆอยูน่ านๆก็ไม่ได้ และเมือ่ ดับไปแล้วมันก็กลับคืนสูค่ วามว่างเปล่าไม่เหลือ ตัวตนใดๆให้ยดึ ถือ เมือ่ ได้เรียนรูใ้ นแง่ไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง(ความเกิดดับ) ทุกขัง(ความทนอยู่ได้ไม่นาน) และอนัตตา(ว่างเปล่าจาก เจ้าของทีแ่ ท้จริง , ว่างเปล่าเพราะไม่มตี วั ตนทีแ่ ท้จริงให้ยดึ ถือ , ว่างเปล่าจากการบังคับ เพราะ บังคับไม่ได้ตามใจอยาก) บ่อยๆ

การได้เรียนรูไ้ ตรลักษณ์

เช่นนี้บอ่ ยๆ ก็จะทําให้เกิดการเบือ่ หน่ายในความไร้สาระของสิง่ ทีเ่ ป็ นแค่ของชัวคราวเน่ ่ าได้เหล่านัน้ เมือ่ เบือ่ หน่ ายจึงคลาย ความยึดถือ ยอมปล่อยวางขันธ์5 อันเป็นตัวทุกข์ จึงทําให้พน้ จากภาระ พ้นจากทุกข์ทงั ้ ปวง ดับกิเลสอย่างสิน้ เชิง พบอิสระ และความสุขทีแ่ ท้จริง † สมดังคําสอนของหลวงปู่ ดูลย์ อตุโล ทีก่ ล่าวไว้ว่า “คิดเท่าไรก็ไม่รู้ หยุดคิดถึงรู้ แต่กต็ อ้ งอาศัยการคิด”


8. ขอยํา้ ว่า ผูท้ เ่ี ริม่ ต้นฝึกวิปสั สนาใหม่ๆ มีความจําเป็ นอย่างยิ่ งที่จะต้องใช้สมถะคิดช่วย ในหลายสถานการณ์ เพือ่ ไม่ให้จติ มันฟุ้งซ่านหรือโกรธจัด จนไม่เป็นอันทํางานหรือเรียน หนังสือ อีกทัง้ ยังต้องมีการคิดช่วยเพื่อให้ลดความรุนแรงของกิเลส เพราะหากไม่มสี มถะ ช่วยกดข่มเอาไว้บา้ งก็อาจจะต้องผิดศีล5 ไปเบียดเบียนผูอ้ ่นื ซึง่ จะต้องได้รบั ผลกรรมทําให้ เกิดความเดือดร้อนแก่ตนเองตามมาแน่ นอน 9. นอกจากสมถะ จะมีความสําคัญต่อการเจริญวิ ปัสสนาแล้ว สมถะในรูปแบบของการคิ ดพิ จารณา ก็มผี ลดีต่อดําเนิ นชีวิตในทางโลกด้วย เช่น การคิดในแง่ดๆี การคิดเชิงบวก ก็ทาํ ให้ชวี ติ ไม่จมอยู่กบั ความทุกข์นาน จึงสามารถสร้างชีวติ ทีม่ ี ความสุขในทางโลกและประสบความสําเร็จได้ หรือ การคิดสํานึกรูค้ ุณ ก็นําสิง่ ดีๆมาสูช่ วี ติ ได้มากมาย ดังจะเห็นผลวิจยั ปรากฏในตําราของพวกฝรัง่ ทีส่ อนการทําธุรกิจ หรือ สอนเปลีย่ นแปลงชีวติ ให้ประสบความสําเร็จและมังคั ่ ง่

10. ขอยํ้าว่า นอกจากสมถะ จะมีความสําคัญต่อการเจริ ญวิ ปัสสนาแล้ว สมถะในรูปแบบของการฝึ กสมาธิ ก็มผี ลดีต่อดําเนิ นชีวิตในทางโลกด้วย เช่น นักเรียน นักศึกษา นักวิจยั หรือ ใครก็ตาม ทีร่ จู้ กั ฝึกจิตให้สงบ โดยอยู่กบั อารมณ์อนั เป็ นกุศลทีช่ อบ ความสงบของจิต ก็จะช่วยให้ความจําดีขน้ึ อ่านหนังสือได้มคี ุณภาพมากขึน้ ความคิดอะไรก็ทะลุปรุโปร่ง ไปซะทัง้ หมด

11. ทัง้ นี้ หากใครทีย่ ดึ ติดเสพติดในสมถกรรมฐาน ก็อาจจะเป็นทุกข์เพราะสมถกรรมฐานได้ เช่นคนทีใ่ ช้การคิดดี คิดเชิงบวก ช่วยบ่อยๆจนทําให้ประสบความสําเร็จในชีวติ ก็จะกลายเป็ นคนทีม่ อี โี ก้จดั เชือ่ มันในตั ่ วเองสูง และถ้าขาดการเรียนรูว้ ปิ สั สนาว่า สิง่ ทัง้ ปวงทีเ่ จริญได้ มันก็มคี วามเสือ่ มได้ คนพวกนี้ พอถึงวันหนึ่งทีป่ ระสบความสําเร็จน้อยลงหน่อย ก็อาจจะยอมรับความจริงไม่ได้จนต้องฆ่าตัวตายไปก็มี หรือ บางคนทีเ่ สพติด ความสงบจากสมถกรรมฐาน จะชอบหนีไปนังสมาธิ ่ บอ่ ยๆ เพือ่ เสพปี ตสิ ขุ จากสมาธิ โดยไม่ยอมเอาเวลาไปเรียนรูว้ ปิ สั สนาไตรลักษณ์ และพอเสพติดความสุขจากความสงบมากๆ ตอนออกมา กระทบโลก เจอผูค้ น ก็จะรูส้ กึ หงุดหงิด ขีโ้ มโหกว่าคนปกติทวไป ั ่ ทัง้ นี้เพราะเวลาทีเ่ รารักในความสุขอะไร มากๆ เราก็จะเกลียดทุกข์-ปฏิเสธทุกข์อย่างรุนแรงเช่นกัน ความเกลียดทุกข์เพราะเสพติดสุขนัน้ จึง ออกมาในรูปแบบของความโมโหนันเอง ่ (ใครทีม่ พี ฤติกรรมแบบนี้ ก็จงรูท้ นั อาการติดสมถะของท่านเถิด)


๓๓

12. สมถะ และ วิ ปัสสนา เป็ นกรรมฐาน ที่ควรฝึ กควบคู่กนั ด้วยปัญญาอันยิ่ ง นันคื ่ อ ต้องมีปญั ญารูว้ ่าเวลาใดควรเจริญสมถะ(เวลาทีจ่ ติ ขาดพลัง มีความฟุ้งซ่าน จนไม่อาจเรียนรูไ้ ตรลักษณ์ได้ ก็ควรเจริญสมถะ)

และต้องรูว้ ่าเวลาใดควรเจริญวิปสั สนา(เวลาทีเ่ หลือทัง้ หมดหลังจากทีจ่ ติ มีพลังพอสมควรแล้ว ก็ควรเรียนวิปสั สนาให้เห็น สภาวะในแง่ไตรลักษณ์ไปเลย เพราะนานๆทีท่ จ่ี ะมีพระพุทธเจ้ามาตรัสรูแ้ ละทรงสอนให้เจริญวิปสั สนา)

และควรรูว้ ่า สมถะนัน้ มี

เอาไว้ให้เพือ่ ทําให้จติ มีพลังในการเจริญวิปสั สนา , ไม่ได้มเี อาไว้ให้เพือ่ เสพติดในสมถะแต่อย่างใด

13. ใครที่สามารถเจริ ญ สมถะ และ วิ ปัสสนา ทัง้ สองอย่างควบคู่กนั ให้ได้บอ่ ยๆ ตลอดทัง้ วันเลยก็ย่ิ งดี เช่นบางคนก็อยู่กบั มรณานุสติ คือ มีสติคดิ ใคร่ครวญเกีย่ วกับความตายและ ไม่แน่นอนของชีวติ ซึง่ การคิดช่วยทีเ่ ป็ นสมถะนี้ ก็จะมีผลให้จติ ปลงอะไรๆในโลกได้เยอะ เหมือนกับคนที่ รูข้ า่ วว่าพรุ่งนี้เราจะต้องตายแล้วด้วยโรคมะเร็ง ก็จะมีความรูส้ กึ ปลงได้เยอะ บางครัง้ เจอคนทีโ่ กรธกันมา นาน ก็จะยอมให้อภัยได้ทนั ที ไม่คดิ จองเวรอีกต่อไป ซึง่ จิตทีม่ คี วามปลงมีความสงบอันเกิดจากสมถะ แบบมรณานุสติน้ี จะเป็ นจิตทีไ่ ม่กระเพือ่ มหลงโลกไปมาก จึงเป็ นจิตทีพ่ ร้อมจะเรียนรูว้ ปิ สั สนาเห็นโลก เห็นชีวติ เห็นสภาวะต่างๆตามความเป็ นจริงในแง่ไตรลักษณ์ ซึง่ นันก็ ่ คอื ได้เจริญวิปสั สนาควบคูน่ นเอง ั่

14. สมถะ และ วิ ปัสสนา เป็ นกรรมฐาน ที่ควรฝึ กควบคู่กนั ด้วยปัญญาอันยิ่ ง นันคื ่ อ ควรรูว้ า่ ตอนนี้กาํ ลังเจริญกรรมฐานอะไรอยู่ ดังนัน้ จึงควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องเรียนรูก้ ่อนว่า อะไรคือสมถะ(ตอบ สมถะ= การมีสมาธิจดจ่ออยูใ่ นอารมณ์สมมติบญั ญัตเิ พียงอารมณ์เดียว , การคิดพิจารณาในเรือ่ งทีเ่ ป็นกุศล) อะไรคือวิปสั สนา(ตอบ วิปสั สนา = การมีสติไปเห็นสภาวะปรมัตถ์ทไ่ี ม่เจือด้วยคําพูด โดยเห็นในแง่ไตรลักษณ์) 15. การเข้าใจผิดหลงคิดว่า ได้เจริญวิปสั สนากรรมฐานอยู่ ทัง้ ๆทีอ่ ยูก่ บั อารมณ์สมมติบญ ั ญัติ ซึง่ เป็ นการเจริญสมถกรรมฐาน จะมีผลเสียอย่างยิง่ คือ อาจจะไปหลงติดภาพนิมติ ล่อลวงต่างๆ จนทําให้เกิดอาการยึดมั ่นในอัตตาตัวกูหรือบ้าวิปลาส นึกว่าตัวเองบรรลุมรรคผลไปแล้วก็ได้ 16. สรุป: การศึกษาจนเข้าใจว่า อะไรคือ สมถะ, อะไรคือ วิ ปัสสนา นัน้ มีประโยชน์มหาศาล ต่อการฝึกฝนปฏิบตั ธิ รรมของตน เพือ่ ให้บรรลุมรรคผลนิพพาน ด้วยประการทัง้ ปวง


จิตเดิมแท้คืออะไร คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. นิพพาน เป็นปรมัตถ์ธรรม 2. ดังนัน้ ใครเอาคําพูดสมมติ บญ ั ญัติ ไปอธิ บายนิ พพานอันเป็ นปรมัตถ์ เมือ่ ปุถชุ น อ่าน จึงอาจเกิ ดความเข้าใจคลาดเคลื่อนและถกเถียงกันได้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า * ธรรมนี้เป็ นธรรมทีล่ ุ่มลึก ไม่ใช่ธรรมทีจ่ ะหยังถึ ่ งด้วยความนึกด้วยตรรกะ หรือ ไม่อาจจะ คาดคะเนเอาเองได้ 3. ความเข้าใจผิดทีป่ ถุ ุชนมักจะเข้าใจผิด คือ ตายแล้วสูญ , ตายแล้วยังมีอตั ตาที่เที่ยง แท้คงอยู่ ซึง่ ความคิดสุดโต่งทัง้ สองนัน้ เป็ นมิจฉาทิ ฏฐิ ทัง้ คู่ ู อยูแ่ ล้ว 3.1. ตายแล้วสูญ † นัน้ ก็ผดิ เพราะว่า ปจั จุบนั นี้ มันก็ไม่ได้มตี วั ตนอะไรให้สญ 42

43

เมือ่ มันไม่เคยมี แล้วมันจะเกิดความสูญเป็ นขัน้ ตอนต่อไปได้อย่างไร 3.2 ตายแล้วยังมีเหลืออัตตาตัวกูทีเ่ ทีย่ งแท้ถาวร ‡ นัน้ ก็ผดิ เพราะว่า ปจั จุบนั นี้ มันก็ไม่มตี วั ตนอะไรอยูแ่ ล้ว เมือ่ มันไม่เคยมีอตั ตาตัวตนมาตัง้ แต่ตน้ แล้ว แล้วมัน จะมีการเริม่ ต้นของอัตตาทีเ่ ทีย่ งแท้เพื่อคงอัตตะลักษณ์เดิมแห่งความไม่สญ ู สลาย ได้อย่างไร 44

4. ข้อความที่ได้กล่าวมาแล้วในข้างต้น หรือ ข้อความต่อไปนับจากนี้ จึงเป็ นแค่การ สนทนาด้วยคําพูดที่ เป็ นสมมติ บญ ั ญัติ เพื่อไปอธิ บายสภาวะปรมัตถ์ ซึ่งท่านทัง้ หลายที่ ได้ อ่านควรพิ จารณาให้แยบคายด้วยโยนิ โสมนสิ การ เที ยบเคียงกับ ผลการปฏิ บตั ิ ของตน และ ยึดถือตามพุทธพจน์ ตามหลักมหาปเทส4เป็ นที่ สุด (ได้โปรดอย่านําข้อความในหนังสือเล่มนี้ไป อ้างอิงหรือถกเถียงใดๆกันเลย)

5. ใครคิดว่า “ จิต คือ ผูร้ ู้ ” น่ าเป็ นความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน * † ‡

อัคคิวจั ฉโคตตสูตร ตายแล้วสูญ เป็นมิจฉาทิฏฐิประเภทหนึ่ง เรียกว่า อุจเฉททิฏฐิ ตายแล้วยังมีเหลืออัตตาตัวกูทเ่ี ทีย่ งแท้ถาวร เป็นมิจฉาทิฏฐิประเภทหนึ่ง เรียกว่า สัสสตทิฎฐิ


๓๕

6. ความจริงแล้ว ตัวรู้ คือ ตัววิญญาณ * ในขันธ์5 † 7. จิต กับ ผูร้ ู้ เป็นคนละส่วนกัน , จิต ไม่ใช่ ขันธ์5 และ ขันธ์5 ก็ไม่ใช่จ ติ 8. ขันธ์5ทัง้ ปวง เป็นทุกข์ มีสภาวะเกิดดับ ดังนัน้ ผูร้ ู้ หรือ วิญญาณหนึ่งในขันธ์5 ก็มสี ภาวะเกิดดับ ไม่เทีย่ ง เป็ นทุกข์ เป็ นอนัตตาด้วย 45

9. ใครเห็นว่า ผูร้ เู้ ทีย่ ง จึงเป็ นมิจฉาทิฎฐิเพราะขันธ์5 มีสภาวะไม่เทีย่ ง เป็นทุกข์ เป็นอนิจจัง 10. จิตผูร้ ู้ นัน้ ต้องแยกเป็นสองคํา คือ จิต + ผูร้ ู้ 11. ผูร้ ู้ เป็ นแค่เครือ่ งมือของ จิต , ผูร้ นู้ นั ้ ไม่ใช่เป็ น ตัวจิต ดัง้ เดิม ก็ไม่ใช่ตวั จิตดัง้ เดิม 12. ในทํานองเดียวกัน ความปรุงแต่ง(สังขาร) ก็ไม่ใช่ตวั จิตดัง้ เดิม ความจําได้หมายรู(้ สัญญา) ความรูส้ กึ สุข ทุกข์ เฉยๆ(เวทนา) ก็ไม่ใช่ตวั จิตดัง้ เดิม 13. จิต แค่มอี าการจํา(มีสญั ญา) , จิต แค่มอี าการสุขทุกข์(มีเวทนา) จิตแค่มอี าการคิด(มีสงั ขาร) , จิต แค่มอี าการรู(้ มีวญิ ญาณ) 14. ดังนัน้ แล้ว ใครทีบ่ อกว่า จิต = ผูร้ ู้ = วิญญาณในขันธ์5 ก็คงไม่ถูกต้อง 15. สรุปอีกครัง้ ว่า ผูร้ *ู้ เป็นแค่เครือ่ งมือของ จิต , ผูร้ นู้ นั ้ ไม่ใช่เป็ น ตัวจิต ดัง้ เดิม 16. แต่กต็ อ้ งอาศัยผูร้ ู้ ‡ อาศัยสติ เพื่อเข้าไปเรียนรูท้ ุกข์ จนกระทังเข้ ่ าถึงจิตเดิมแท้ 47

*

วิญญาณ เป็นภาษาบาลี จึงมีความหมายไม่เหมือนกับ วิญญาณในภาษาไทยทีแ่ ปลว่า ผี

ขันธ์5 เรียกง่ายๆว่า กาย กับ ใจ แต่ ถ้าเรียกให้ถกู ต้อง จะเรียกว่า รูป กับ นาม โดย รูป อันได้แก่ ส่วนผสมกันของธาตุ ดิน นํ้า ลม ไฟ ส่วน นาม มี 4 อัน ได้แก่ เวทนา , สัญญา , สังขาร , วิญญาณ โดย เวทนา คือ ความรูส้ กึ สุข , ทุกข์ , เฉยๆ สัญญา คือ ความจําได้ในสิง่ ต่างๆ สังขาร คือ ความคิดปรุงแต่ง หรือ ความคิดนันเอง ่ วิญญาณ คือ การรับรู้ ทัง้ การรับรูท้ างตา ทางหู ทางจมูก ทางลิน้ ทางกาย และ การรับรูท้ างใจ ผูร้ ใู้ นทีน่ ้ี คือ วิญญาณ ซึง่ เป็ นหนึ่งในขันธ์5 และวิญญาณในภาษาบาลี ก็ไม่ได้แปลว่า ผี แต่อย่างใด


17. จิตซึง่ เป็นธรรมชาติเดิมแท้ นัน้ ไม่ใช่ ขันธ์ 5 แน่นอน สรุป คือ ขันธ์5 ไม่ใช่ จิต 18. พอขันธ์5ดับ ก็ทาํ ให้ตวั ผูร้ ดู้ บั เพราะตัวผูร้ คู้ อื วิญญาณซึง่ เป็นหนึ่งในขันธ์5 แต่จติ เดิมแท้ไม่ได้ดบั ไปด้วย 19. จิตเดิมแท้ทพ่ี ดู ๆกันนัน้ ความจริงแล้ว ก็ไม่ใช่จติ ทีม่ อี ตั ตาตัวตนอย่างทีม่ นุ ษย์ปถุ ุชน เข้าใจกันนะ จิตเดิมแท้นนั ้ จะพูดว่า เหมือนจิตก็ไม่ใช่ จะว่าไม่เหมือนจิตก็ไม่ใช่ มันเป็ น สภาวะทีเ่ หนือคําพูดสมมติ พูดยาก เอาเป็ นว่า ถ้ายังให้ความหมายว่า จิตเป็ นตัวเป็ นตน นันก็ ่ ผดิ แล้ว ยังเป็ นมิจฉาทิฏฐิอยู่ 20. เอาเป็ นว่า อย่ามาเสียเวลาคิดคาดคะเน หรือ ถกเถียง กันเรือ่ งจิตเดิมแท้ นี้เลย ให้ลองปฏิบตั เิ จริญสติสมั ปชัญญะตามหลักมหาสติปฏั ฐานสูตรอย่างซือ่ ตรง และมีความเพียร ก็จะเข้าใจสภาวะนิพพานทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงสอน และทีส่ าํ คัญ คือ ให้ยดึ ถือตามพุทธพจน์ใน พระไตรปิฎกเป็นสําคัญ ก็จะปลอดภัย


๓๗

นิพพานแล้วสูญหรือไม่ คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. นิพพานแล้วไม่สญ ู * แต่กไ็ ม่ใช่การมีอยูข่ องอัตตาใดๆ † 48

49

*

ครูบาอาจารย์หลายท่าน หลีกเลีย่ งถึงการพูดเรือ่ งนี้ เพราะ ทันทีทป่ี ถุ ชุ นได้สดับรับฟงั ว่า ตายแล้วไม่สญ ู ก็จะรีบแปล ความใหม่ทนั ทีโดยจะหลงคิดผิดๆไปว่า ตายแล้วยังมีตวั ตนอยู่ ดังนัน้ ครูบาอาจารย์ จึงแค่บอกอ้อมๆว่า พุทธบารมี ยังคงอยูเ่ ต็มโลก เต็มจักรวาล

คําว่า "นิ พพาน" เป็ นคําทีใ่ ช้กนั ในปรัชญาหลายระบบในอินเดีย โดยใช้ในความหมายของความหลุดพ้น แต่การอธิบาย อธิบายเกีย่ วกับสภาวะของนิพพานนัน้ แตกต่างกันออกไป ในปรัชญาอุปนิษทั เชือ่ ว่า นิพพานหรือโมกษะ คือการทีอ่ าตมัน ย่อยหรือชีวาตมันเข้ารวมเป็ นเอกภาพกับพรหมัน แต่ในพระพุทธศาสนาอธิบายว่า นิพพานคือการหลุดพ้นจากอวิชชา ตัณหา ซึง่ แสดงออกในรูปของโลภะ โทสะ และโมหะ มิ ได้หมายความว่าเป็ นการหลุดพ้นของอัตตาหรือตัวตนใน โลกนี้ ไปสู่สภาวะของนิ พพานเช่นเดียวกับคําสอนอุปนิษทั แต่หมายถึงความดับสนิ ทแห่งความเร่าร้อนและเครือ่ ง ผูกพันร้อ ยรัดทัง้ ปวง ซึง่ เรียกว่าเป็ นความทุกข์ คัมภีรพ์ ระพุทธศาสนาโดยเฉพาะของฝา่ ยเถรวาท ระบุไว้ชดั เจนว่า "นิพพานอันว่างจากตน" "นิพพานเป็ นอนัตตา" เช่นในคัมภีรพ์ ระวินยั ปิฎก ปริวารระบุว่า อนิ จจฺ า สพฺพสงฺขารา ทุกขฺ านตฺตา จ สงฺขตา นิ พพฺ าน�ฺเจว ปณฺ ณตฺติ อนตฺตา ั ยปรุงแต่ง ไม่เทีย่ ง เป็นทุกข์ เป็ นอนัตตา นิ พพานและบัญญัติเป็ นอนัตตา วินจิ ฉัยมี อิ ติ นิ จฺฉยา "สังขารทัง้ ปวงอันปจจั ดังนี้" (วิ.ป.บาลี 8/257/194) นิพพานก็อยู่ใน อริยสัจจ์ 4 ด้วย คือเป็ นจุดหมายของพระพุทธศาสนา ได้แก่ อริยสัจจ์ขอ้ 3 ทีเ่ รียกว่า "นิโรธ" คําว่า นิโรธนี้เป็น ไวพจน์ คือใช้แทนกันได้กบั "นิพพาน" พระไตรปิฎกเล่ม 31 ระบุว่าอริยสัจจ์4 ทัง้ หมดซึง่ รวมทัง้ นิโรธ คือนิพพาน ด้วยนัน้ เป็นอนัตตา ดังนี้ อนตฺตฏฺเฐน จตฺตาริ สจฺจานิ เอกปฏิเวธานิ . .นิโรธสฺส นิโรธฏฺโฐ อนตฺ ตฏฺโฐ. (ขุ.ปฏิ. 31/546/450) แปลว่า: "สัจจะทัง้ 4 (ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค) มีการตรัสรูด้ ว้ ยกันเป็ นอันเดียว (คือด้วยมรรค ญาณเดียวกัน) โดย ความหมายว่าเป็นอนัตตา . . . นิโรธมีความหมายว่าดับ (ทุกข์) ก็มคี วามหมายว่า เป็ นอนัตตา " อรรถกถาอธิบายว่า อนตฺตฏฺเฐนาติ จตุนฺนมฺปิ สจฺจานํ อตฺ ตวิรหิตตฺ ตา อนตฺ ตฏฺเฐน. (ปฏิส.ํ อ.2/229)


2. ขอยํา้ ว่า นิพพานแล้วไม่สญ ู แต่กไ็ ม่ใช่การมีอยูข่ องอัตตาใดๆ * 50

*

ในพระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรคระบุว่า "สังขารทัง้ ปวงไม่เทีย่ ง ธรรมทัง้ ปวงเป็ นอนัตตา" และในอังคุตตร นิกาย ติกนิบาตมีระบุว่า "สังขารทัง้ ปวงไม่เทีย่ ง สังขารทัง้ ปวงเป็ นทุกข์ ธรรมทัง้ ปวงเป็ นอนัตตา" ซึง่ "ธรรม" ในทีน่ ้พี ระ อรรถกถาจารย์อธิบายต่อว่า "หมายรวมถึงนิพพานด้วย" นอกจากนี้ ยังมีขอ้ ความในคัมภีรพ์ ระไตรปิฎกอีกหลายแห่งทัง้ ที่ ระบุโดยตรงและโดยอ้อมทีม่ นี ยั บอกว่า "นิพพานเป็ นอนัตตา" คําว่า "อนัตตา" มีความหมายระดับปรมัตถ์ มีนยั ทีต่ อ้ งไข ความต่ออีก โดยเฉพาะในคัมภีรช์ นั ้ หลังจะบอกว่า "ทีช่ อ่ื ว่าเป็ นอนัตตา เพราะเกิดขึน้ จากองค์ประกอบต่าง ๆ มาประชุมกัน ไม่มตี วั ตนทีเ่ ป็นแก่นเป็นแกนอยู่ ไม่มตี วั ตนทีค่ งที่ ไม่มผี สู้ ร้าง ไม่มผี เู้ สวย ไม่มอี าํ นาจในตัวเอง บังคับให้เป็ นไปในอํานาจ ไม่ได้ แย้งต่ออัตตา" ในคัมภีรม์ ิ ลินทปัญหา พระนาคเสนทูลแก้ปญั หาของพระยามิลนิ ท์ทท่ี รงถามว่า ถ้านิพพานไม่มที ต่ี งั ้ อาศัย นิพพานก็ย่อมไม่ม ี โดยกราบทูลว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร โอกาสอันเป็ นทีต่ งั ้ ของนิพพานหามีไม่ แต่นิพพานนัน้ มีอยู่ พระโยคาวจรผูป้ ฏิบตั ิ ชอบ ย่อมทําให้แจ้งนิพพาน ด้วยการพิจารณาโดยอุบายอันแยบคาย มหาบพิตร เหมือนดังว่ ่ าชือ่ ว่าไฟย่อมมีอยู่ แต่โอกาส อันเป็นทีต่ งั ้ ของไฟนัน้ หามีไม่ เมือ่ บุคคลเอาไม้สองอันมาขัดสีกนั ก็ยอ่ มได้ไฟขึน้ มาฉันใด มหาบพิตร นิพพานก็มอี ยู่ฉนั นัน้ นั ่นแล โอกาสอันเป็นทีต่ งั ้ ของนิพพานนัน้ ไม่ม ี (แต่) พระโยคาวจรผูป้ ฏิบตั ชิ อบ ย่อมทํานิพพานให้แจ้งด้วยการพิจารณาโดย อุบายอันแยบคาย..."(มิลนิ ฺ ท.336)


๓๙

3. นิ พพานเป็ น * คือ สภาวะทีด่ บั สนิทของกิเลส แต่ยงั มี ธาตุขนั ธ์หลงเหลืออยู่ ซึง่ เป็ น สภาวะของพระอรหันต์ทงั ้ หลายทีบ่ รรลุธรรม แต่ยงั ไม่ตาย 51

4. นิ พพานตาย † ‡ คือ ความดับของขันธ์ ดับของอุปทานของจิตโดยสิน้ เชิง แต่ตวั จิตเดิม แท้ไม่ได้ดบั ซึง่ เป็นสภาวะหลังจากทีพ่ ระอรหันต์ ตายไปแล้ว ไม่มรี า่ งกาย ไม่มขี นั ธ์5 หลงเหลืออีกแล้ว 52

* †

53

นิพพานเป็น = สอุปาทิเสสนิพพาน นิพพานตาย = อนุปาทิเสสนิพพาน

พระพุทธเจ้าไม่เคยทรงอธิบายว่า พระอรหันต์ผบู้ รรลุนิพพานเมือ่ ดับขันธ์แล้วจะอยู่ในสภาพเช่นใด การอธิบายทําได้ใน ลักษณะเพียงว่า นิพพานคือการดับทุกข์ สิน้ ตัณหา เหมือนไฟทีด่ บั จนสิน้ เชือ้ ไม่สามารถทีจ่ ะลุกลามขึน้ มาได้อกี สําหรับพระ อรหันต์ทป่ี รินิพพานแล้วนัน้ พระพุทธองค์ไม่ทรงตรัสยืนยันถึงความมีอยู่หรือความดับสูญ พระองค์ตรัสแต่เพียงว่า เมื่อ พระองค์ปริ นิพพานแล้ว ทัง้ เทวดาและมนุษย์จะไม่สามารถเห็นพระองค์อีกต่อไป "ดูกร ภิกษุทงั ้ หลาย กายของ ตถาคต มีตณ ั หาอันนําไปสูภ่ พขาดแล้ว ยังดํารงอยู่ เทวดา และมนุ ษย์ทงั ้ หลายจักเห็นตถาคตชัวเวลาที ่ ก่ ายของตถาคตยัง ดํารงอยู่ เมือ่ กายแตกสิน้ ชีพแล้ว เทวดาและมนุ ษย์ทงั ้ หลายจักไม่เห็นตถาคต" (ที.สี.14/90) ในคําสอนพระพุทธศาสนา ไม่มี อัตตาใดเข้าสู่นิพพาน และไม่มีอตั ตาดับสูญในภาวะแห่งนิ พพาน แม้ในโลกแห่งปรากฏการณ์ เบือ้ งหลังเบญจขันธ์อนั ไม่เทีย่ งนัน้ ก็มไิ ด้มอี ตั ตาซึง่ เป็นผูร้ บั รูห้ รือเป็นพืน้ ฐานแห่งตัวตนทีเ่ ทีย่ งแท้อยู่ ทุกสิง่ ทุกอย่างในโลกอยู่ในรูปของ กระบวนการทีเ่ กิดขึน้ ตัง้ อยู่ ดับไป ทัง้ รูปธรรมและนามธรรม กระบวนการแห่งนามรูปทีส่ มมติ วา่ เป็ น ตัวตน สัตว์ บุคคล เราเขา นี้ เมือ่ วิวฒ ั นาการไปจนกระทังถึ ่ งทีส่ ดุ ความเกิดขึน้ ตัง้ อยู่ ดับไปก็เป็ นอันยุตลิ ง สภาพความสิน้ สุดกระบวนการแห่ง นามรูปทีไ่ ม่เทีย่ งแปรปรวนอยู่ทุกขณะนี้ เรียกว่านิพพาน เมือ่ รูปและนามดับ นิ พพานจึงไม่ใช่ทงั ้ จิ ตและสสารซึ่งต้อง ั อาศัยเหตุปัจจัยในการดํารงอยู่ พระนิพพานตัง้ อยู่โดยไม่ตอ้ งอาศัยเหตุปจจัย จึงเรียกว่าอสังขตธรรม ในพระไตรปิฎกมัก เปรียบนิพพานว่าเหมือนกับไฟทีด่ บั แล้ว ไม่สามารถบอกได้ว่าไฟทีด่ บั ไปนัน้ หายไปไหนหรืออยู่ในสภาพใด นิพพานเป็นธรรมทีพ่ น้ ไปจากโลก การอธิบายนิพพานโดยอาศัยพืน้ ฐานในทางโลกตลอดจนภาษาทางตรรกวิทยา จึงไม่อาจกระทําได้ การจํากัดความจึงมักใช้การปฏิเสธทุกสิง่ ทุกอย่าง เช่น ไม่ใช่ทงั ้ สิง่ นัน้ และสิง่ นี้ ไม่มกี ารอุบตั ิ ไม่มกี ารจุติ ไม่มอี งค์ประกอบ ไม่มกี ารสร้างสรรค์ ไม่มกี ารแตกทําลาย ไม่ใช่ดนิ นํ้า ไฟ ลม เป็ นต้น ดังปรากฏในพาหิ ยสูตร ความว่า "ดิน นํ้า ไฟ และลม ย่อมไม่หยังลงในนิ ่ พพานธาตุใด ในนิพพานธาตุนนั ้ ดาวทัง้ หลายย่อมไม่สว่าง พระอาทิตย์ย่อมไม่ ปรากฏ พระจันทร์ย่อมไม่สว่าง ความมืดย่อมไม่ม ี ก็เมือ่ ใดพราหมณ์ชอ่ื ว่าเป็ นมุนีเพราะรู้ (สัจจะ 4) รูแ้ ล้วด้วยตนเอง เมือ่ นัน้ พราหมณ์ย่อมหลุดพ้นแล้วจากรูปและอรูป จากความสุขและความทุกข์..." (ขุ.ขุ.อ.25/50) เมือ่ นิพพานพ้นไปจากบัญญัตใิ นทางโลก การอธิบายถึงนิพพานจึงเป็ นเพียงการเปรียบเทียบ เช่น เปรียบเทียบ กับความว่างเปล่า หรือไฟทีด่ บั ไป เป็นต้น ในวิ สทุ ธิ มรรคกล่าวว่า "เพราะพระนิพพานเป็ นคําสุขมุ นัก...เป็ นธรรมทีต่ อ้ งเห็น ด้วยอริยจักษุ เป็นธรรมอันบุคคลผูเ้ พียบพร้อมด้วยมรรค (เท่านัน้ ) จะพึงถึงได้" นิพพานจึงมิใช่เรือ่ งของการเข้าใจ แต่อยูท่ ่ี การเข้าถึง อันเป็นผลจากการปฏิบตั ธิ รรมของตนเอง


5. จิ ตเดิ มแท้ * † ‡ ไม่มคี วามเกิดดับ แต่ทเ่ี กิดดับคือเจตสิกเกิดดับ จริงๆแล้วจิตเดิมแท้ไม่ได้มคี วามเกิดดับอะไรหรอก อาการเกิดดับทีเ่ ห็นนัน้ คือ เป็ นการเกิดดับของอาการของจิต (เป็นแค่การเกิดดับของเจตสิก หรือ อาการเกิดดับ แต่อนุ โลมให้เรียกว่าสัน้ ๆ จิ ตเกิ ดดับ ของผูร้ คู้ อื ตัววิญญาณในขันธ์5 เท่านัน้ ) 54

55

56

*

ครูบาอาจารย์หลายท่าน หลีกเลีย่ ง การใช้คาํ ว่า จิ ตเดิ มแท้ เพราะนิพพานนัน้ ไม่ใช่จติ และ จิตก็ไม่ใช่นิพพาน , นิพพานก็คอื นิพพาน นอกจากนี้ จิตเดิมแท้ นัน้ จะเหมือนจิตก็ไม่ใช่ จะไม่เหมือนจิตก็ไม่ใช่ เพราะ จิตเดิมแท้หรือนิพพาน เป็ นสภาวะทีเ่ หนือคําพูดสมมติ

การพูดถึงนิพพาน โดยมีคาํ ว่า จิตไปผสมอยู่ อาจทําให้ปถุ ุชน เข้าใจผิดว่า ตายแล้วยังเหลือความเป็ นอัตตาตัวตนอยู่ ด้วยเหตุดงั กล่าวนี้ ครูบาอาจารย์หลายท่าน จึง หลีกเลีย่ ง ไม่พดู ถึง จิตเดิมแท้ ‡

การพูดถึงนิพพาน โดย ไม่มีคาํ ว่า จิตไปผสมอยู่ (ไม่กล่าวถึงศัพท์คาํ ว่า “ จิตเดิมแท้ ”) นัน้ เป็ นการดําเนินตามวิธกี ารที่ พระพุทธองค์ทรงใช้ส ั ่งสอน ซึง่ มีขอ้ ดี คือ ปุถุชนจะไม่ตอ้ งเข้าใจผิดว่า ตายแล้วยังคงเหลืออัตตาบางอย่างในนิพพาน และ ข้อดีอกี อย่าง คือ ทําให้ไม่ตอ้ งเสียเวลามานังเถี ่ ยงกับผูท้ ม่ี คี วามรูท้ รงปริยตั ดิ ว้ ย


๔๑

6. เมือ่ จิตถึงนิพพาน * แล้ว จิตเดิมแท้ไม่ได้ดบั ตามไปด้วย จิตเดิมแท้คงอยูเ่ หมือนเดิมแต่มนั ไม่มรี ปู นามขันธ์ 5 ไม่มอี ตั ตาตัวตนใดๆให้เข้าไปหมายอีก 57

7. จิตทีถ่ งึ นิพพานแล้ว แม้จะไม่มรี ปู นาม ไม่มอี ตั ตาตัวตนอีกต่อไป รองรับอยู่

แต่กม็ สี ภาวะดัง้ เดิม

8. วันใดทีเ่ รียนรู้ การเกิดดับของขันธ์5 อย่างแจ่มแจ้ง ก็จะเข้าถึงจิตเดิมแท้ หรือ จักรวาล เดิมแท้ หรือพูดอีกอย่างหนึ่งว่า วันใดที่ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง ก็จะเข้าถึงสภาวะนิพพาน

*

ในคัมภีรร์ ุ่นอรรถกถา ยังมีขอ้ ความแสดงสภาวะของนิพพานอีกหลายแห่ง เช่นในปฏิ สมั ภิ ทามรรค มีอธิบายว่า นิพฺพานธมฺโม อตฺตสฺเสว อภาวโต อตฺ ตสุ�ฺโญ "ธรรมคือนิพพาน ว่างจากอัตตา เพราะไม่มอี ตั ตา" (ขุ.ป.อ.2/287) นอกจากนี้ ในวิ สทุ ธิ มรรค พระพุทธโฆสะพยายามอธิบายให้เห็นถึงความไม่มตี วั ตนของผูไ้ ด้ชอ่ื ว่าบรรลุนิพพาน ซึง่ เท่ากับว่าไม่ม ี อัตตา และนิพพานก็มใิ ช่สงิ่ ทีจ่ ะต้องมีอตั ตาถึงจะมีอยู่ได้ ดังทีพ่ ระพุทธโฆสะกล่าวว่า "นิ พพานมีอยู่ แต่ไม่มีผเ้ ู ข้าถึง นิ พพาน มรรคามีอยู่ แต่ปราศจากผูด้ าํ เนิ นไป" (วิสทุ ฺธ.ิ 3/101) ข้อความนี้แสดงให้เห็นว่า ไม่มตี วั ตนบุคคลใด ๆ ทีป่ ฏิบตั ิ ตามมรรค 8 แล้วบรรลุนิพพาน เมือ่ ปราศจาก "ตัวตน" ของผูเ้ ข้าถึงนิพพาน นิพพานก็ย่อมไม่ใช่อตั ตาไปด้วย ความมีอยู่ของพระนิพพาน มิใช่สภาวะทีเ่ กิดจากการสร้างสรรค์ของจิต แต่มอี ยู่โดยตัวของตัวเอง คือเป็ นความ จริงขันปรมั ้ ตถสัจ ทีต่ รงข้ามกับสมมติสจั ในโลกแห่งปรากฏการณ์ มีสภาวะทีเ่ ทีย่ ง ไม่ใช่สง่ิ ทีเ่ กิดดับสลับกันไปแบบสิง่ ต่างๆ ในโลก นิพพานจึงเป็นอสังขตธรรมทีพ่ น้ ไปจากปจั จัยปรุงแต่ง ในสภาวะของนิพพานทัง้ นามและรูป ย่อมดับไม่เหลือ ดัง พุทธวจนะในเกวัฏฏสูตร ทีฆนิ กาย สีลขันธวรรค ได้กล่าวถึงนิพพานว่าเป็ น "ธรรมชาติทร่ี แู้ จ้ง ไม่มใี ครชีไ้ ด้ ไม่มที ส่ี ดุ แจ่มใสโดยประการทัง้ ปวง ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ ย่อมตัง้ อยูไ่ ม่ได้ในธรรมนี้ อุปาทยรูปทีย่ าวและสัน้ ละเอียดและหยาบ ทีง่ ามและไม่งาม ย่อมตัง้ อยู่ไม่ได้ในธรรมนี้ นามและรูปย่อมดับไม่มีเหลือในธรรมชาติ นี้ เพราะ วิ ญญาณดับ นามและรูปย่อมดับ ไม่มเี หลือในธรรมชาติ ดังนี้ฯ" (ที.สี.14/350) เพราะฉะนัน้ นิพพานจึงไม่ใช่วญ ิ ญาณ หรือสัมปชัญญะบริสุทธิ ์ ซึง่ นันเป็ ่ นลักษณะของพรหมมันหรืออาตมันของปรัชญาฮินดู ทัง้ ยังไม่ใช่เจตสิกทีอ่ าศัยจิตเกิดขึน้ เพราะทัง้ จิตและเจตสิกนัน้ ล้วนเป็ นสังขตธรรม ซึง่ ต้องอาศัยปจั จัยปรุงแต่ง มีธรรมชาติเกิดดับ มีการเปลีย่ นแปร เกิดขึน้ ตัง้ อยู่ และดับไป เช่นเดียวกับสิง่ อื่นๆ แต่นิพพานอยู่เหนือสภาพเช่นนี้ และว่างเปล่าจากสิง่ เหล่านี้ ขณะเดียวกัน นิ พพานก็ ไม่ใช่ความดับสูญอย่างสิ้ นเชิ ง ซึง่ เป็นลักษณะของอุจเฉททิฏฐิการใช้ภาษาอธิบายนิพพานเป็ นสิง่ ทีต่ อ้ งกระทําอย่างรัดกุม เพือ่ ป้องกันการเข้าใจผิดว่า เป็นอัตตาเทีย่ งแท้ (สัสสตทิฏฐิ) หรือว่าเป็ นความขาดสูญ (อุจเฉททิฏฐิ) ซึง่ เป็ นทัศนะที่ คลาดเคลือ่ นจากพระบาลีทงั ้ สิน้


9. นิ พพานแท้ของพระพุทธเจ้า กับ นิ พพานพรหม นัน้ มีความสุขเกือบเสมอกันเลย ่ วขันธ์ แต่ยงั สามารถดึงขันธ์มาใช้ได้อยูใ่ นกรณีจาํ เป็ น 10. โดยนิ พพานแท้นนั ้ จะไม่มกี ารยึดมันในตั

11. แต่นิพพานพรหมนัน้ ยังมีความยึดมันถื ่ อมันในตั ่ วขันธ์ ในวิญญาณผูร้ ู้หลงคิดว่าผูร้ ทู้ ไ่ี ม่มกี เิ ลสมา ่ ผูร้ อู้ นั เป็นวิญญาณขันธ์ เจือปนนัน้ ยังเป็ นตัวกูอยู่ ยังมีความคิดผิดๆว่า เราเป็ นผูร้ ู้ ผูร้ เู้ ป็ นเรา ซึง่ เมือ เกิดแสดงความเสื่อมขึน้ มา ก็ยอมรับความจริงไม่ได้ จิตจึงเกิดการดิน้ รนกระเพื่อมหวันไหว ่ และต้องแสวงหาภพมาเกิดใหม่อกี ซํ้าๆ การทีต่ อ้ งเกิดใหม่ไม่จบสิน้ ก็เพื่อแสวงหาความสุขใน ขันธ์ซง่ึ มันไม่เคยมีจริง ดังนัน้ ผูใ้ ดก็ตามทีย่ งั ยึดมันถื ่ อมันในสิ ่ ง่ ใดอยู่ ก็จะต้องได้รบั ความ ทุกข์ซ้าํ ๆ ต้องเรียนรูจ้ นกว่าจะหายโง่ และ เลิกยึดมันในตั ่ วผูร้ อู้ ย่างแท้จริง วันใดทีเ่ ลิก ยึดมันในสิ ่ ง่ ทัง้ ปวงจริงๆ จึงจะจบกิจ ถึงซึง่ ความสันติสขุ แห่งนิพพานแท้ อันเป็นการพ้นจาก ทุกข์ทงั ้ ปวง และ ไม่ตอ้ งกลับมาเกิดอีกตลอดกาล 12. สรุป คือ นิพพานพรหมนัน้ จิตยังมีอุปทานยึดมัน่ ในตัวขันธ์ อยู่ แต่นพิ พานแท้ทพ่ี ระพุทธเจ้าสอน นัน้ จิตจะไม่มอี ุปทานยึดมันในตั ่ วขันธ์อกี แล้ว กลับมาเกิดอีก มันแตกต่างกันตรงนี้

จึงไม่ตอ้ ง

13. เอาเป็นว่า อย่ามาเสียเวลาคิดคาดคะเน หรือ ถกเถียง กันเรือ่ งนิพพานนี้เลย ให้ลองปฏิบตั เิ จริญสติสมั ปชัญญะตามหลักมหาสติปฏั ฐานสูตรอย่างซือ่ ตรง และมีความเพียร ก็จะเข้าใจสภาวะนิพพานทีพ่ ระพุทธเจ้าทรงสอน และทีส่ าํ คัญ คือ ให้ยดึ ถือตามพุทธพจน์ใน พระไตรปิฎกเป็นสําคัญ ก็จะปลอดภัย 14. ผูท้ ถ่ี งึ ซึง่ นิพพานแล้ว จะปฏิบตั สิ ติปฏั ฐาน เจริญสมาธิ ก็เพือ่ ให้ขนั ธ์มนั สบายนันเอง ่ แต่จติ กับ ขันธ์นนั ้ มันเหมือนเป็นคู่ขนานกันแล้ว มันพรากออกจากขันธ์แล้ว ต่อให้ฝึก หรือไม่ฝึก ก็ไม่ได้มผี ลใดๆกับจิตอีกแล้ว


๔๓

จิตเกิดดับหรือไม่ คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. การทีใ่ นอภิธรรมบอกไว้ว่า จิตมีกด่ี วงนัน้ ไม่ได้แปลว่า จิตเดิมแท้เกิดดับ 2. ในอธิธรรมทีบ่ อกว่า จิตเป็นดวงๆนัน้ คําว่า “ดวง” นัน้ ไม่ใช่ดวงจิต เป็นแค่ อาการของจิต ทีม่ นั แสดง สภาวะๆหนึ่ง เท่านัน้ เหมือน กับ ร่างกายคนเรา มีกายเดียว แต่มที า่ ทางอาการอิรยิ าบถ ได้หลากหลายท่าทาง 3. จิตมันมีแค่หนึ่งเดียว หรือ เรียกว่า จิตหนึ่ ง * † ‡ 58

59

60

แต่ทแ่ี สดงอาการออกไป เป็ นแค่กริ ยิ าอาการทีอ่ อกไปจากจิตหนึ่งนี้แหละ และ อาการเหล่านัน้ ไม่ใช่ จิต(อาการของจิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เจตสิก , จิตสังขาร) อาการของจิต ดังกล่าว เป็น ขันธ์ จึงเกิดดับได้ ดังนัน้ ควรพูดว่า เจตสิ กเกิ ดดับ หรือ จิ ตสังขารเกิ ดดับ แต่พดู ย่อๆ ว่า จิ ตเกิ ดดับก็ได้ *

ครูบาอาจารย์หลายท่าน หลีกเลีย่ ง การใช้คาํ ว่า จิตหนึ่ง เพราะนิพพานนัน้ ไม่ใช่จติ และ จิตก็ไม่ใช่นิพพาน , นิพพานก็คอื นิพพาน นอกจากนี้ จิตหนึ่ง นัน้ จะเหมือนจิตก็ไม่ใช่ จะไม่เหมือนจิตก็ไม่ใช่ เพราะ จิตหนึ่ง หรือ นิพพาน เป็นสภาวะทีเ่ หนือคําพูดสมมติ †

การพูดถึงนิพพาน ด้วยคําว่า จิตหนึ่ง อาจทําให้ปถุ ุชน เข้าใจผิดคิดว่า ตายแล้วยังเหลือความเป็ นอัตตาตัวตนอยู่ จะ กลายเป็นมิจฉาทิฏฐิหลงคิดว่า ตายแล้ววิญญาณก็ไปรวมกับอัตตาของจิตวิญญาณของพระพรหมผูส้ ร้าง ด้วยเหตุดงั กล่าวนี้ ครูบาอาจารย์หลายท่าน จึง หลีกเลีย่ ง ไม่พดู ถึง จิตหนึ่ง ‡

การพูดถึงนิพพาน โดย ไม่มีคาํ ว่า จิตไปผสมอยู่ (ไม่กล่าวถึงจิตหนึ่ง) นัน้ เป็ นการดําเนินตามวิธที พ่ี ระพุทธองค์ทรง ใช้ส ั ่งสอน ซึง่ พระพุทธเจ้าไม่บญ ั ญัตคิ าํ แปลโดยตรงของคําว่า นิพพาน และ พระพุทธเจ้าก็ไม่เคยทรงอธิบายว่า พระอรหันต์ ผูบ้ รรลุนิพพานเมือ่ ดับขันธ์แล้วจะอยู่ในสภาพเช่นใด ซึง่ การไม่แปลความหมายของนิพพานและไม่พดู ถึงจิตหนึ่งนัน้ มีขอ้ ดี คือ ปุถุชนจะไม่ตอ้ งเข้าใจผิดว่า ตายแล้วยังคงเหลืออัตตาบางอย่างในนิพพาน และ ข้อดีอกี อย่างของการไม่พดู ถึงจิตหนึ่ง คือ ทําให้ไม่ตอ้ งเสียเวลามานังเถี ่ ยงกับผูท้ ม่ี คี วามรูท้ รงปริยตั ดิ ว้ ย


4. จิตมันมีแค่หนึ่งเดียว หรือ เรียกว่า จิตหนึ่ ง * 61

แต่ทแ่ี สดงอาการออกไป เป็ นแค่กริ ยิ าอาการทีอ่ อกไปจากจิตหนึ่งนี้แหละ และ อาการเหล่านัน้ ไม่ใช่ จิต(อาการของจิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เจตสิก , จิตสังขาร) อาการของจิต ดังกล่าว เป็น ขันธ์ จึงเกิดดับได้ ดังนัน้ ควรพูดว่า เจตสิ กเกิ ดดับ หรือ จิ ตสังขารเกิ ดดับ แต่พดู ย่อๆ ว่า จิ ตเกิ ดดับก็ได้

จิ ต คือ พุทธะ (บางส่วนจากพระธรรมเทศนาของหลวงปูด่ ลู ย์ อตุโล) พระพุทธเจ้าทัง้ ปวง และ สัตวโลกทัง้ สิน้ ไม่ได้เป็ นอะไรเลยนอกจากเพียง จิตหนึ่ง นอกจาก จิตหนึ่ง และมิได้ม ี อะไรตัง้ อยูเ่ ลย จิตหนึ่ง ซึง่ ปราศจากการตัง้ ต้นนี้ เป็นสิง่ ทีม่ ไิ ด้เกิดขึน้ และไม่อาจถูกทําลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสเี ขียว หรือสีเหลือง และ ไม่มที งั ้ รูป ไม่มที งั ้ การปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิง่ ทีม่ กี าร ตัง้ อยู่ และไม่มกี ารตัง้ อยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็ นของใหม่หรือของเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสัน้ ของใหญ่หรือของเล็ก ทัง้ นี้ เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัด เหนือการตัง้ ชือ่ เหนือการทิง้ ร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบ ทัง้ หมด จิตหนึ่ง นี้ เป็นสิง่ ทีเ่ ราเห็นตําตาเราอยูแ่ ท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็ นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะ หล่นลงสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้ เป็นเหมือนกับความว่าง อันปราศจากขอบเขตทุกๆ ด้าน ซึง่ ไม่อาจจะหยัง่ หรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้ เท่านัน้ เป็ นพุทธะ ไม่มคี วามแตกต่างกันระหว่างพุทธะกับสัตวโลกทัง้ หลาย เพียงแต่ว่าสัตวโลก ทัง้ หลายไปยึดมั ่นต่อรูปธรรมต่างๆเสีย และเพราะเหตุนนั ้ เขาจึงแสวงหาพุทธภาวะจากภายนอก การแสวงหาของสัตว์ เหล่านัน้ นั ่นเองทําให้เขาพลาดจากพุทธภาวะ การทําเช่นนัน้ เท่ากับ การใช้สงิ่ ทีเ่ ป็ นพุทธะ ให้เทีย่ วแสวงหาพุทธะ และการ ใช้จติ ให้เทีย่ วจับฉวยจิต แม้วา่ เขาเหล่านัน้ จะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขา อยูต่ งั ้ กัปหนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่ สามารถลุถงึ พุทธภาวะได้เลย เขาไม่รวู้ า่ ถ้าเขาเอง เพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหา เสียเท่านัน้ พุทธะก็ปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่า จิต นี้คอื พุทธะ นั ่นเอง และพุทธะ คือ สิง่ ทีม่ ชี วี ติ ทัง้ หลายทัง้ ปวงนันเอง ่ สิง่ ๆนี้เมือ่ ปรากฏอยูท่ ส่ี ามัญสัตว์ จะเป็นสิง่ เล็กน้อยก็หาไม่ และเมือ่ ปรากฏอยู่ทพ่ี ระพุทธเจ้าทัง้ หลาย จะเป็ นสิง่ ใหญ่หลวงก็หาไม่ ...จิตหนึ่ง นันแหละคื ่ อ พุทธะ ไม่มพี ทุ ธะอืน่ ใดทีไ่ หนอีก ไม่มจี ติ อืน่ ใดทีไ่ หนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตําหนิ เช่น ั างๆ นัน้ เท่ากับ เดียวกับความว่าง คือมันไม่มรี ปู ร่างหรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จติ ของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝนต่ เราทิง้ เนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยูก่ บั รูปธรรมซึง่ เป็ นเหมือนกับเปลือก พุทธะซึง่ มีอยู่ตลอดกาลนัน้ ไม่ใช่ พุทธะของความยึดมั ่นถือมัน…. ่ *


๔๕

5. จิ ตเกิ ดดับ ในอีกความหมายหนึ่งคือ วิ ญญาณในขันธ์5(ตัวผูร้ ใู้ นขันธ์5) นันคื ่ อตัวผูร้ ใู้ นขันธ์5 ก็มลี กั ษณะเกิ ดดับเช่นกัน ในขัน้ ของปุถุชน จนถึง พระสกิทาคามี ตัวผูร้ ้จู ะมีลกั ษณะเกิ ดดับ คือ รูแ้ ล้วหลง หลงแล้วรู้ เปลีย่ นแปลงสลับกันไป ในขัน้ ของพระอนาคามี ตัวผูร้ ้จู ะมีลกั ษณะเกิ ดดับของ ตัวผูร้ ทู้ ม่ี สี ติ คือ รูแ้ ล้วดับ แล้วก็รู้ แล้วก็ดบั ซึง่ เป็ นการรูท้ ไ่ี ม่ มีกามราคะเข้ามาแทรกกลางในระหว่างการรูน้ นั ้ ซึง่ การเกิดดับของตัววิญญาณนี้ พูดย่อๆ ว่า จิ ตเกิ ดดับก็ได้ 6. จิตดัง้ เดิมนัน้ ไม่ใช่เรา และ ก็ไม่มอี ตั ตาตัวตนในความเป็นเรา จิตดัง้ เดิม หรือ นิพพาน หรือ จักรวาลเดิมแท้นนั ้ มีลกั ษณ์ทไ่ี ม่เกิดไม่ดบั ไม่มอี ะไรมาปรุง แต่งมันได้ 7. การไล่ตามดูอาการของจิตทีเ่ กิดดับนัน้ อาจจะเหนื่อย แต่กต็ ้องศึกษาพิ จารณาอาการ ของจิ ตลงเป็ นไตรลักษณ์ ไปนัน่ แหละ เพราะ ตัวจิ ตจริ งๆไม่มที ีห่ มาย จึงไม่สามารถ ศึกษาทิจ่ ติ โดยตรงได้ ดังนัน้ เราจึงต้องศึกษาพิจารณาทุกข์ในขันธ์5 ในไตรลักษณ์ใน อาการของจิตนี้แหละถูกต้องแล้ว 8. ขอยํ้าว่า

เพราะเราไม่ได้หลงตัวจิต แต่ เราหลงในอาการของจิต

ดังนัน้ ต้องศึกษาอาการของจิตในแง่ไตรลักษณ์ จนเกิดความเบือ่ หน่าย คลายความยึดมันใน ่ อาการของจิตและอาการของขันธ์5 จนเกิดสภาวะของผูร้ ทู้ ท่ี าํ ลายความยึดมันในขั ่ นธ์ ใน อาการของจิตได้ หากทําลายความยึดมันได้ ่ ในผูร้ ไู้ ด้เมือ่ ไร จึงได้จะได้ยอ้ นกลับมาอยู่ กับจิตเดิมแท้ ทีไ่ ม่มอี ะไรให้หมาย เห็นก็สกั แต่ว่าเห็น มีกส็ กั แต่ว่ามี พบความสุขแท้จริง เป็ น อิสระ ไม่มขี อบ ไม่มเี ขต เต็มอิม่ บริบรู ณ์ ไม่ดน้ิ รน ปล่อยให้ทุกอย่างเป็ นไปตามธรรมชาติ เป็นแค่ก ริ ยิ าของจิต


วิธีฝึกให้จิตหายโง่ทาํ อย่างไร (วิธีฝึกให้จิตหมดอวิชชา) คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. จิตทีย่ งั โง่ คือ ยังมีอวิชชาอยูด่ วงนี้แหละทีพ่ าให้เราไปเกิด จิตทีย่ งั โง่น้มี นั ต้องอาศัยขันธ์ อยู่ เพราะยังยึดมันถื ่ อมันในขั ่ นธ์5 และ ยังมีการเสวยขันธ์5 อยูต่ ลอดเวลาทีย่ งั ไม่รแู้ จ้ง 2. ตราบใดทีเ่ สวยขันธ์5อยู่ ยังไงมันก็มที ุกข์ เพราะว่า ขันธ์5 เป็ นตัวทุกข์ ใครทีไ่ ปยึดตัวทุกข์ไว้ ก็ตอ้ งพบแต่ความทุกข์แน่ นอน เช่นเดียวกับ ใครทีไ่ ปยึดของร้อนไว้ ก็ตอ้ งพบแต่ความร้อน พุพอง แน่ นอน 3. คนทีม่ ปี ญั ญาแล้ว จึงมาพิจารณาให้เห็นความจริงว่า ขันธ์ 5 นี้เป็นตัวทุกข์ลว้ นๆ 4. คนทีม่ ปี ญั ญาจะมาพิจารณาให้เห็นว่า ความสุขทีเ่ ห็นนัน้ เท่า นัน้ ไม่ได้มคี วามสุขทีแ่ ท้จริงในขันธ์5นี้เลย 5. คนมีปญั ญาเช่นนี้ คือเห็นว่า

เป็นแค่การแก้ทกุ ข์ให้ทเุ ลา

นอกจากทุกข์แล้วไม่มีอะไรเกิดขึ้น

นอกจากทุกข์แล้วไม่มีอะไรตัง้ อยู่ นอกจากทุกข์แล้วไม่มีอะไรดับไป คนทีเ่ ห็นเช่นนี้จะเกิดสภาวะการปล่อยวางจากการยึดมันถื ่ อมันและพ้ ่ นจากทุกข์ทงั ้ ปวง 6. หากจิตยังโง่อยูแ่ ม้เพียงเล็กน้อย คือ โง่เห็นว่า ยังมีช่องทางบางซอกทีม่ อี ณูของความสุข แทรกอยูใ่ นขันธ์5 จิตโง่ๆอย่างนี้กจ็ ะไม่ยอมปล่อยวางในขันธ์5 เด็ดขาด


๔๗

7. แต่หากวันใดเห็นว่า ขันธ์5 เป็นทุกข์ลว้ นๆ นันคื ่ อ การเข้าใจทุกข์อย่างแจ่มแจ้ง ก็จะยอมปล่อยวางอย่างแท้จริง จึงหมดความขวนขวาย หมดความดิน้ รน หมดความเหนื่อย หมดความหนัก และเมือ่ หมดความยึดมันในของเน่ ่ าในกองทุกข์ของขันธ์5 ก็จะปล่อยวาง สันติสขุ ทีแ่ ท้จริงทันที 8. ขันธ์5 นัน้ เต็มไปด้วยความทุกข์ เป็ นทุกข์เพราะ เป็ นทุกขัง เป็ นทุกข์เพราะ เป็ นอนิจจัง เป็ นทุกข์ เพราะ เป็ นอนัตตา ของสิง่ ใดทีเ่ จือไปด้วยทุกขัง อนิจจัง อนัตตานี้ ย่อมหาความสุขในสิง่ นัน้ ไม่ได้เลย 9. จิตทีม่ าอาศัยขันธ์อยู่ จึงหลีกเลีย่ งไม่ได้ทจ่ี ะต้องเป็ นทุกข์ เสมอๆ 10. คนทีม่ ปี ญั ญา จึงมาฝึกพิจารณา จนสามารถแยกขันธ์ออกจากจิต และได้เห็นว่า ส่วนทีเ่ ป็นทุกข์นนั ้ เป็นสภาวะของขันธ์5 เท่านัน้ เอง ไม่เกีย่ วอะไรกับเรา ขันธ์จะทุกข์ ขันธ์จะเกิดดับ ก็เรือ่ งของขันธ์ ไม่ใช่เรือ่ งของเรา 11. ผูม้ ปี ญั ญาจะฝึกจนเห็นว่า จิต กับ ขันธ์ นัน้ คนละส่วนกัน เหมือนนํ้ามันกับนํ้า จริงๆแล้วจิต กับขันธ์ไม่ได้เป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันมาตัง้ แต่ไหนแต่ไรแล้ว มีแต่ความหลงผิดคิดว่าจิตและขันธ์คอื อัตตาตัวกูของกู ซึง่ การเข้าใจผิดนี้ ทําให้ เกิดการยึดมั ่นถือมั ่นในตัวขันธ์ซง่ึ เป็ นตัวทุกข์ จนทําให้เกิดทุกข์ตามมาไม่รจู้ บ

12. เมือ่ ฝึกจนเห็นว่า จิต กับ ขันธ์ นัน้ แยกเป็ นคนละส่วนกัน ก็จะทําให้จติ ไม่ไปหยิบฉวย ขันธ์5ขึน้ มาให้เป็ นภาระใดๆอีก 13. เมือ่ ไม่รกั ขันธ์5 ซึง่ เคยเข้าใจผิดว่าเป็นตัวเรา แล้ว ก็ยอ่ มยอมปล่อยวางในขันธ์ได้(จิต ่ จิตปล่อยวางตัวทุกข์ได้ ก็พน้ จากความทุกข์ทงั ้ ปวง พรากออกจากขันธ์) เมือ


14. ทีเ่ ราทุกข์ เพราะเราไม่ยอมปล่อยวาง อุปมาเหมือนกับ เรากําลังเอามือเกาะฝา กระโปรงท้ายรถ แล้ววิง่ ตามรถไปเรือ่ ยๆ ปากก็บ่นว่า เหนื่อยๆ ใจก็มวั แต่ไปโทษรถด่า รถว่า ทําไมไม่ยอมหยุดวิง่ ทัง้ ๆทีค่ นทีโ่ ง่ทส่ี ดุ ก็คอื คนทีเ่ อามือไปจับรถยนต์ทม่ี นั กําลังวิง่ อยูน่ นแหละ ั่ 15. ผูม้ ปี ญั ญาจะมาฝึกให้เห็นตรงจุดนี้ เพื่อปรับความคิดใหม่ว่า แค่ยอมปล่อยมือออกจาก รถ ก็ไม่ตอ้ งวิง่ ตาม ถูกลากไถถูกระชากแล้ว แค่ยอมปล่อยก็พน้ จากทุกข์ พ้นจากความ เหนื่อยแล้ว 16. ดังนัน้ ไม่ต้องทําอะไร นอกจากแค่ ย้อนกลับมาศึกษาป้ อนความรูใ้ ห้จิต จนจิ ต หายโง่

ค่อยๆปรับจิตให้เปลีย่ นความคิดให้เป็ นสัมมาทิฏฐิกพ็ อ

รถยนต์ให้หยุดวิ่ ง และ ก็ไม่ต้องไปพยายามแก้ไขในตัวขันธ์ 5

ไม่ต้องไปแก้ไขที่ตวั

แค่ฝึกให้จิต

ยอมรับความจริงเท่านัน้ เมือ่ จิตได้รบั ความรูจ้ นฉลาด ก็จะปล่อยวางของหนัก ของร้อน ปล่อยวางของทีท่ าํ ให้เหนื่อย * และ ก็สามารถพบความสุข ณ วินาทีนนั ้ 62

17. จิตทีม่ ปี ญั ญาแจ่มแจ้ง เพราะรูว้ า่ ขันธ์5ทัง้ ปวงล้วนเป็ นทุกข์ และเป็ นทุกข์ลว้ นๆ จิตชนิดนี้กจ็ ะยอมปล่อยวางในตัวขันธ์ หรือ ตัวทุกข์น้ี จิตไม่มคี วามอาลัยอาวรณ์ทจ่ี ะมาอาศัยขันธ์เพือ่ กลับมาเกิดซํา้ ๆอีก เมือ่ ไม่มขี นั ธ์ ก็เลยไม่มที ุกข์ ความหมดทุกข์ จึงเกิด ณ ตรงนี้

*

การปล่อยวางของทีท่ าํ ให้เหนื่อย อุปมาเหมือนกับ การปล่อยมือออกจากรถทีก่ าํ ลังวิง่ อยู่ ซึง่ แค่ปล่อยมือก็ไม่ตอ้ งเหนื่อยวิง่ ตามรถแล้ว


๔๙

หมดสิ้นสักกายทิฏฐิ คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. พระโสดาบัน จะสามารถ ละความเห็นผิดในกายได้เด็ดขาด ว่า กายนี้เป็นตัวเป็นตน เป็นตัวเราของเรา โดยเห็นว่า กายนี้ ก็เป็นแค่วตั ถุกอ้ นธาตุทย่ี มื ของโลกมาใช้ ไม่ได้มตี วั ตน เราเขาอยูใ่ นกายนี้ 2. แต่พระโสดาบัน ก็ละความเห็นผิดในนาม *ได้บางส่วน † โดยเห็นแค่วา่ นามนี้ไม่ใช่ตวั ตน ‡ ไม่ใช่ตวั เราของเรา เพราะเคยฝึกสติจนเห็นการเกิดดับของความสุขความทุกข์ความเฉยๆ เห็น การเกิดดับของเวทนา เห็นความเกิดดับของความจําได้หมายรู้เห็นความเกิดดับของสัญญา เห็นความเกิดดับ ของความคิดปรุงแต่งเห็นความเกิดดับของสังขาร และเห็นการเกิดดับของสติตวั ผูร้ เู้ ห็นความเกิดดับของวิญญาณ จึงทําให้รแู้ ละเข้าใจว่า ใจหรือนามทีเ่ คยคิดว่า เป็นตัวเรา นัน้ ก็เป็นแค่สภาวะเกิดกับของนามใน ขันธ์5 เท่านัน้ ไม่ได้เคยมีตวั เราอยูใ่ นนัน้ เลยสักนิด และ เข้าใจแล้วว่า มันไม่เคยมีอตั ตา ตัวตนอยูใ่ นรูปนามขันธ์5 มาตัง้ แต่ไหนแต่ไรแล้ว 64

* †

65

นาม ของขันธ์5 = เวทนา , สัญญา , สังขาร , วิญญาณ(จิตผูร้ )ู้ พระโสดาบัน ก็ละความเห็นผิดในนามบางส่วน = จิตเห็นจิตยังไม่แจ่มแจ้ง เพราะ ยังเหลือสังโยชน์อกี 7ข้อ

พระไตรปิ ฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิ ฎก เล่มที่ ๙ สังยุตตนิ กาย ขันธวารวรรค ว่าด้วยเหตุจะไม่มีสกั กายทิ ฏฐิ [๑๘๙] ภิกษุนนั ้ ชืน่ ชมอนุ โมทนาภาษิตของพระผูม้ พี ระภาคว่า ดีแล้วพระเจ้าข้า แล้วได้ทลู ถามปญั หาทีย่ ง่ิ ขึน้ ไปว่า ข้าแต่พระองค์ผเู้ จริญ สักกายทิฏฐิ ย่อมไม่มไี ด้อย่างไร? พ. ดูกรภิกษุ อริยสาวกในธรรมวินยั นี้ ผูไ้ ด้สดับแล้ว เป็ นผูไ้ ด้เห็นพระอริยเจ้าฉลาดในอริยธรรม ได้รบั แนะนําแล้ว เป็นอย่างดีในอริยธรรม เป็ นผูไ้ ด้เห็นสัตบุรุษ ฉลาดในสัปปุรสิ ธรรม ได้รบั แนะนําแล้วเป็ นอย่างดีในสัปปุรสิ ธรรม ย่อมไม่เห็นรูป โดยความเป็นตน ไม่เห็นตนมีรปู ไม่เห็นรูปในตน หรือไม่เห็นตนในรูป ย่อมไม่เห็นเวทนา โดยความเป็นตน ไม่เห็นตนมีเวทนา ไม่เห็นเวทนาในตน หรือไม่เห็นตนในเวทนา ย่อมไม่เห็นสัญญา โดยความเป็นตน ไม่เห็นตนมีสญ ั ญา ไม่เห็นสัญญาในตน หรือไม่เห็นตนในสัญญา ย่อมไม่เห็นสังขาร โดยความเป็ นตน ไม่เห็นตนมีสงั ขาร ไม่เห็นสังขารมีในตน หรือไม่เห็นตนในสังขาร ย่อมไม่เห็นวิ ญญาณ โดยความเป็นตน ไม่เห็นตนมีวญ ิ ญาณ ไม่เห็นวิญญาณในตน หรือไม่เห็นตนในวิญญาณ ดูกรภิกษุ สักกายทิ ฏฐิ ย่อมไม่มี ด้วยอาการเช่นนี้แล


3. ด้วยเหตุทพ่ี ระโสดาบันละความเห็นผิดในกาย ได้อย่างเด็ดขาด จึง เรียกว่า ละสักกายทิ ฏฐิ 4. ด้วยเหตุทพ่ี ระโสดาบันละความเห็นผิดในจิตได้อย่างไม่เด็ดขาด จึง ไม่เรียกว่า ละสักกายจิ ตตทิ ฏฐิ 5. พระโสดาบัน ละความเห็นผิดว่า กายนี้รปู ใจนี้เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณเป็ นตัวเราได้แล้ว นันคื ่ อ พระโสดาบัน ละความเห็นผิดว่า มีตวั เราในขันธ์5 ได้แล้ว

แต่ยงั คงหวงแหน

ยึดมันในขั ่ นธ์5ได้อยู่ 6. พระโสดาบันไม่มคี วามเห็นผิด ว่าใจนี้เป็ นตัวเรา พระโสดาบันไม่เห็นว่า ผูร้ ู้ หรือ วิญญาณในขันธ์5เป็นตัวเราแล้ว แต่ พระโสดาบันก็ยงั มีความเห็นผิดใน จิตเดิมแท้ อยู่ ยังมีอวิชชาอยู่ , ยังไม่แจ้งในนิพพาน นั ่นเอง 7. พระโสดาบันก็สามารถละความเห็นผิดบางส่วนในจิตได้บา้ ง โดยเห็นถูกแล้วว่า ไม่มคี วาม เป็นตัวเราในตัวผูร้ หู้ รือในตัววิญญาณในขันธ์5 เพราะได้ฝึกสติจนเห็นความเกิดดับของตัวผูร้ ไู้ ด้บา้ งแล้ว 8. แต่พระโสดาบันก็ยงั เห็นผิดในตัวผูร้ อู้ ยู่ นันคื ่ อ ยังหลงคิดว่าจิตคือตัวผูร้ ู้ ทัง้ ๆทีจ่ ติ เดิมแท้ ไม่ใช่ผรู้ ู้ เพราะตัวผูร้ ู้ คือวิญญาณในขันธ์5 ซึง่ ขันธ์5มีธรรมชาติเกิดดับและเป็นทุกข์ แต่จติ เดิมแท้หรือนิพพานนัน้ ไม่ได้มธี รรมชาติเกิดดับ และไม่เป็ นทุกข์ แต่กไ็ ม่มอี ตั ตาเจือ ปนอยูส่ กั นิด 9. การละสักกายทิฏฐิได้ จะทําให้เกิดปญั ญาเห็นความทุกข์ทเ่ี กิดจากความโง่ ทห่ี ลงไปยึดมั ่นตามใจ ก็เลยทําให้คลายความยึดมันในกายในใจไปได้ ่ เยอะ จึงลดความ กิเลสกอบโกยเพือ่ ตัวเองมาแสนนาน ทุกข์ใจไปได้มากแต่พระโสดาบันก็ยงั หลงเหลือความยึดมั ่นในกายในใจอยูบ่ า้ ง จึงทํายังไม่หมดความทุกข์สน้ิ เชิง


๕๑

การแยกรูปแยกนามก็สาํ คัญ คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. ก่อนจะบรรลุเป็ นพระโสดาบันได้ ต้องแยกรูป

แยกนามได้ ่ ว่ นหนึ่ง จิตก็อยูส่ ว่ นหนึ่ง นันคื ่ อ ต้องเห็นว่า กายก็อยูส พูดอีกอย่างหนึ่งก็คอื ต้องฝึกให้เห็นว่า กายก็ไม่ใช่จต ิ จิตก็ไม่ใช่กาย 2.

วิธที จ่ี ะทําให้ละสักกายะทิฏฐิ เพือ่ เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน ก็คอื การพิจารณากาย

ให้เห็นในความเป็ นธาตุส่ี เห็นในความเป็ นธรรมชาติ เห็นในความเป็นของทีย่ มื โลกมาใช้ เห็นในความไม่สามารถครอบครองเป็ นเจ้าของทีแ่ ท้จริงได้ กายนี้มนั ก็แค่ธาตุสท่ี ห่ี มุนเวียน เปลีย่ นเจ้าของกันใช้ เกิดกระบวนความเห็นถูกว่า กายนี้ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ของเขา นันคื ่ อ เกิดสัมมาทิฏฐิ 3. เมือ่ เห็นว่า กายนี้ เป็นแค่ธาตุส่ี จิตระดับนัน้ จะเห็น กายอยูส่ ่วนหนึ่ง จิตอยูส่ ่วนหนึ่ง นันคื ่ อ สามารถแยกรูปแยกนาม ไปได้ในตัว หรือ ทําให้เห็นแจ่มแจ้งว่า ทัง้ รูป และ ทัง้ นาม ไม่ใช่ตวั ไม่ใช่ตน ไม่ใช่ตวั เราของเรา จึงละความเห็นผิดว่าเป็นอัตตาตัวตนในรูปนามขันธ์5 ได้นนเอง ั่


4. บางคนทีม่ นี สิ ยั เดิมทีไ่ ม่คอ่ ยรักกายอยูแ่ ล้ว บางคนเคยฝึกมาเมือ่ ก่อนหรือชาติก่อน จนจิตใต้สาํ นึกมันไม่คอ่ ยรัก ้ จ่ี ติ ได้เลย เพราะเมือ่ ดูจติ บ่อยๆจนสติไวพอ มันก็ หวงแหนในกาย ก็สามารถมาตะลุมบอลเรียนรูท จะไปเห็นความขาดช่วงของการเกิดดับของนามทัง้ หลาย เห็นสันตติมนั ขาดช่วง หรือ เห็นความต่อเนื่องของรูป นามมันขาดไป*

*

66

5. และเมือ่ นามทัง้ หลายมันไม่ได้เกิดต่อเนื่องกัน เพราะเจอสติหนเป็ ั ่ นช่วงๆ ความเป็นตัวเรา ก็สน้ิ สูญไปด้วย เพราะตัวเรานัน้ เกิดมาจากความคิด+ความจํา ดังนัน้ หากความคิดความจํา มันขาดช่วงไป มันก็ไม่เห็นผิดว่า มีตวั เราทีแ่ ท้จริง เมือ่ ไม่เห็นผิด ก็คอื การละสักกายทิฏฐิได้ นันเอง ่ 6. พอสติทฝ่ี ึกจากการตามรูจ้ ติ มีความไวและพลังเพียงพอ ก็เอาสติตวั เดียวกันนี้ น้อมไปดู กาย ก็จะเห็นว่า กายทีเ่ คลื่อนไหว เป็ นแค่รปู เคลื่อนไหวและมีใจเป็ นคนดูอยูต่ ่างหาก ซึง่ นัน่ ก็คอื สามารถแยกรูปแยกนามได้ เห็นกายก็ไม่ใช่จติ เห็นจิตก็ไม่ใช่กาย นันเอง ่ และเมือ่ ฝึก สติเห็นทัง้ กายและจิตบ่อยๆ ก็จะละความเห็นผิดว่า กายนี้ใจนี้ รูปนี้นามนี้ เป็ นตัวเราได้ นันคื ่ อ การละสักกายทิฏฐิได้ นันเอง ่

* การเห็นสันตติ มนั ขาดช่วง หรือเห็นความต่อเนื่องของนามมันขาดไป อุปมาเหมือนกับ การได้ เห็นความจริงของตัว การ์ตูนบนฟิลม์ ภาพยนตร์ว่า จริงๆแล้วภาพบนจอทีเ่ ห็นเป็นการ์ตูนมันเคลือ่ นไหวได้ มันก็แค่ ความสืบเนื่องของรูปบนฟิ ลม์ ภาพยนตร์หลายๆเฟรม มาวิ่งต่อๆกันด้วยความรวดเร็วนั ่นเอง


๕๓

7. แต่หากใครทีย่ งั รักและยังหวงแหนในกายอยูม่ าก ก็ควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะมาปรับจิตใจให้พร้อม ด้วยการฝึกพิจารณากายด้วยอสุภกรรมฐาน * , ด้วยกายคตาสติ หรือด้วยการพิจารณากาย ในความเป็นธาตุส่ี 67

*

อสุภกรรมฐาน เป็น กรรมฐานทีค่ ดิ พิจารณาระลึกถึงความไม่สวยไม่งามของซากศพคนอื่นสัตว์อ่นื แล้ว น้อมมาสอน ตัวเอง ว่า อีกไม่นาน เราก็เป็นเช่นนัน้ เหมือนกัน เมือ่ เราตายไปศพก็จะขึน้ อืดบูดเน่ า และในทันทีทต่ี ายลงนัน้ แม้แต่ผทู้ เ่ี คย รักกันดูดดืม่ ต่างก็พารังเกียจทันทีไม่ยอมเข้าใกล้ บ้านทีอ่ ุตส่าห์สร้างมาด้วยนํ้าพักนํ้าแรง ของเรา เขา ก็ไม่ยอมให้เราอยู่ ต้องรีบขนศพของเราออกไปไว้ทว่ี ดั โดยไว แม้ศพคนอื่นเป็ นเช่นใด ศพของเราในอนาคตก็เป็ นเช่นเดียวกัน พอตายไปสัก หน่อยเนื้อหนังก็เริม่ พองขึน้ อืดปริแตก นํ้าเหลือง นํ้าหนองก็ไหลออกมาส่งกลิน่ เห ม็นเป็ นทีน่ ่ าสะอิดสะเอียน หาความ สวยงามใดๆมิได้อกี เลย และในทีส่ ุดก็คงเหลือแต่กระดูก และอีกไม่นาน ทัง้ กระดูกและเศษเนื้อ ก็แปรเปลีย่ นไป เป็ นดินและ ฝุน่ ผง คืนให้โลกนี้ไปเป็นอาหารของพืชผัก นันคื ่ อ สุดท้ายแล้วมันก็หาตัวตนทีแ่ ท้จริง หาความเป็ นเราในร่างกายนี้ไม่ได้เลย กรรมฐานนี้ แม้เป็นสมถะ แต่กใ็ กล้กบั วิปสั สนาอย่างมาก ผูท้ เ่ี จริญกรรมฐานกองนี้จะคลายความรัก ความหลงใหล ในกายไปได้เยอะ ทําให้ราคะเบาบาง มีผลทําให้มจี ติ ทีส่ งบ พร้อมทีจ่ ะเจริญวิปสั สนาเพือ่ เรียนรูส้ ภาวะต่างๆในแง่อนิจจัง ทุกขัง อนัตตาต่อไป การพิจารณาอสุภกรรมฐาน จะสามารถพลิกกลับไปเป็ นวิปสั สนาได้ดงั นี้ เมือ่ เห็นซากศพของคนอืน่ แล้วพิจารณา น้อมมาสอนตนก็จะเห็นว่า สิง่ ทัง้ ปวงล้วนแปรเปลีย่ นจากสวยงามเป็นไม่สวยงาม เช่นซากศพของเขาของเรา เป็นอนิจ จังโดยแท้ สิง่ ทัง้ ปวงล้วนทนอยูไ่ ม่ได้นาน ไม่นานก็บดู เน่าไป เหมือนร่างกายซากศพของเขาของเรา เป็ นทุกขังโดยแท้ สิง่ ทัง้ ปวงเช่นซากศพของเขาของเรา เมือ่ ตายไปแล้ว ก็แปรสภาพไปเป็นธาตุดนิ นํ้า ลม ไฟ ไม่เหลือความเป็ นเราสักอย่าง เป็นอนัตตาโดยแท้ เมือ่ สิง่ ทัง้ ปวงเป็นเช่นนี้ ก็ไม่เห็นน่าจะไปยึดไปถือ ให้เกิดความทุกข์ใจใดๆเลย ปญั ญาของผูท้ ฝ่ี ึ กมองเช่นนี้บอ่ ยๆ ก็ จะเห็นแจ้งในไตรลักษณ์ ซึง่ ก็จะทําให้จติ เกิดการปล่อยวาง หมดความดิน้ รนปรุงแต่ง และ พ้นจากทุกข์ได้ในทีส่ ุด ในสมัยนี้มรี ปู ภาพซากศพให้พจิ ารณาอยูม่ ากมายในเว็บไซต์ ใครทีก่ าํ ลังอกหัก รักคุด หรือ กลัวผี ควรเจริญ กรรมฐานกองนี้จะดีนกั แล แต่ผปู้ ฎิบตั ธิ รรมคนใดแม้จะไม่ได้อยู่ในสภาวะอกหัก แต่ได้มโี อกาสพิจารณากรรมฐานกองนี้อยู่ เนืองๆ ก็จะมีผลให้เกิดการปล่อยวางคลายวางยึดมันในสิ ่ ง่ ทัง้ ปวงได้รวดเร็วเช่นกัน


8. ขอยํา้ ว่า ใครทีย่ งั รักและยังหวงแหนในกายอยูม่ าก ก็ควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะมาปรับจิตใจให้ พร้อมด้วยการฝึกพิจารณากายด้วยอสุภกรรมฐาน , ด้วยกายคตาสติ * หรือด้วยการพิจารณา กายในความเป็นธาตุส่ี 68

*

กายคตาสติ แปลว่า มีสติไประลึกไปคิดพิจารณาในกายของตน เช่น ผม ขน เล็บ ฟนั หนัง ว่า ล้วนเป็ นของไม่สวยงาม ล้วนเป็นของโสโครก แค่เส้นผมทีเ่ รารักนักหนา เมือ่ มันหลุดออกจากหนังหัวของเราไป แล้วปลิวลงบนจานข้าวของเราเอง เราก็แทบจะ เททิง้ ทัง้ จานไม่อยากกินต่ออีก แม้ใครแกล้งเอาเล็บทีเ่ ราตัดมาใส่ในชามนํ้าแกงทีเ่ ราชอบ หากเราดันเคีย้ วไปถูกเล็บของตัวเอง ก็แทบจะอ้วกกัน ตอนนัน้ ทันที ฯ เมือ่ ได้มโี อกาสพิจารณาร่างกายของตนตามความเป็ นจริงดังนี้แล้ว จิตมันก็จะปลงในสิง่ ต่างๆได้งา่ ย มีผลทําให้ จิตสงบ หมดความฟุ้งซ่านและบรรเทาความยินดียนิ ร้ายในกายนี้ใจนี้ได้มาก สามารถทําให้ละสักกายทิฐิ บรรลุเป็ นพระ โสดาบันได้งา่ ย อนึ่งเพราะบรรดาสรรพกิเลสทัง้ หลายของมนุษย์ เช่น ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความอยากกิน อยากมี บ้านสวยๆ อยากมีอาหารดีๆกิน อยากมีรถหรูๆขับ ความอยากสบาย ก็เพราะ อยากให้กายนี้มคี วามสบายไม่ตอ้ งตรากตรํา หรือ แม้กระทั ่งการอยากเด่น อยากรวย อยากดัง ก็เพราะ อยากมีเงินใช้ซอ้ื วัตถุมาบํารุงบําเรอกายนี้ รวมถึงแม้กระทังการ ่ อยากมีแฟนสวยๆ ก็เพราะ อยากให้กายนี้ได้รบั สัมผัสอันพิเศษสุด (และแน่ นอนว่า คนเราก็ยดึ มันหวงแหนในจิ ่ ตใจของตน มากทีส่ ุดเช่นกัน เพราะใครๆก็อยากให้จติ ใจพบแต่ความสุข ความสมหวัง แต่ยงั ขอไม่พดู ถึงในทีน่ ้ี เพราะตอนนี้พดู ถึงเรือ่ ง การฝึกพิจารณากายอยู่) จะเห็นว่า กิเลสทัง้ หลายเกิดขึน้ ก็ดว้ ยกายนี้เป็นส่วนมาก ความยึดมันถื ่ อมันด้ ่ วยอุปาทานก็เกิดทีก่ ายนี้(เกิดทีใ่ จ ด้วย) ดังนัน้ ควรอย่างยิง่ สําหรับผูฝ้ ึกปฎิธรรมทัง้ หลายทีต่ อ้ งการพ้นทุกข์ จะต้องหันมาพิจารณากายคตาสติ ให้เห็นความ จริงของกายตนเองว่า มันเป็นของไม่สวยไม่งามจริงหรอก ทัง้ ผม ขน เล็บ ฟนั หนัง เนื้อ เอ็นกระดูก ก็ลว้ นเป็ นของไม่งาม นํ้าย่อย นํ้าเหลือง เลือดทัง้ หลายก็เป็นของโสโครก สิง่ ทีอ่ ยูใ่ นลําไส้เล็ก ลําไส้ใหญ่ ก็เต็มไปด้วยขีแ้ ละฉีเ่ ท่านัน้ มีแต่ความ เหม็นความสกปรก รูทวารทัง้ หลายก็เต็มไปด้วยขี้ ทัง้ ขีห้ วั ขีห้ ู ขีไ้ คล ขีต้ า ขีฟ้ นั ขีเ้ ล็บ ร่างกายนี้มนั ก็เหมือนหนังหุม้ ก้อนอุจจาระดีๆนี่เอง แค่ลอกหนังชัน้ นอกออกไป ก็จะเห็นความจริงอันน่ าเกลียดภายในกาย นันคื ่ อ หากร่างกายนี้ไม่ม ี หนังหุม้ เราก็คงแทบจะไม่อยากมองตัวเองด้วยซํ้า ั แม้กายคตาสติจะเป็นสมถกรรมฐาน แต่กเ็ จือไปด้วยวิปสสนาภาวนาเช่ นกัน ผูใ้ ดทีพ่ จิ ารณาให้เห็นความจริง ในกายดังกล่าว ย่อมเกิดความเบือ่ หน่าย คลายกําหนด คลายความดิน้ รน มีจติ สงบจนสามารถเห็นความเป็ นจริงของรูป นามในแง่ไตรลักษณ์ได้ดว้ ย และ เมือ่ หมดความยึดมันในกายนี ่ ้ ก็จะคลายความยึดมันในใจนี ่ ้ไปได้เยอะด้วย เมือ่ ฝึ กจน ั ปญญามั นแก่รอบ ก็จะสามารถคลายความยึดมันในสิ ่ ง่ ทัง้ ปวง พ้นจากทุกข์ได้ในทีส่ ุดเช่นกัน


๕๕

9. ในอรรถกถาของมหาสติปฏั ฐานสูตร ของพระไตรปิฎก ได้แนะนําเอาไว้วา่ * ผูท้ ม่ี ตี ณ ั หาจริต รักความสงบ ความสบาย รักสวยรักงาม และมีปญั ญาน้อย ควรเริม่ ฝึกจาก กายานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน ผูท้ ม่ี ตี ณ ั หาจริตรักความสงบ ความสบาย รักสวยรักงาม และมีปญั ญามาก ควรเริม่ ฝึกจาก เวทนานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน ผูท้ ม่ี ที ฏิ ฐิจริต ชอบการคิดวิเคราะห์ เจ้าความคิด เจ้าความเห็น และมีปญั ญาน้อย ควรเริม่ ฝึกจาก จิ ตตานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน ผูท้ ม่ี ที ฏิ ฐิจริต ชอบการคิดวิเคราะห์ เจ้าความคิด เจ้าความเห็น และมีปญั ญามาก ควรเริม่ ฝึกจาก ธรรมานุปัสสนาสติ ปัฏฐาน 69

10. แต่ทงั ้ นี้ ไม่วา่ จะฝึกรูก้ ายก่อน ก็สามารถจะเห็นแจ้งในจิตได้ และในทํานองเดียวกัน การฝึกรูจ้ ติ ก่อนก็สามารถเห็นแจ้งในกายได้ 11. หมายเหตุ: ทัง้ นี้ ผูท้ ฝ่ี ึกรูก้ ายจนชํานาญแล้ว ก็ควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะมาน้อมมารูม้ าศึกษาทีจ่ ติ และ ผูท้ ฝ่ี ึกรูจ้ ติ จนชํานาญแล้ว ก็ควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะน้อมมารูม้ าศึกษาพิจารณาทีก่ ายด้วย

*

อรรถกถามหาสติ ปัฏฐานสูตร ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผูม้ พี ระภาคเจ้าจึงตรัสสติปฏั ฐานว่ามี ๔ ไม่หย่อนไม่ยง่ิ . ตอบว่า ก็เพราะจะทรงให้เป็ นประโยชน์เกือ้ กูลแก่เวไนยสัตว์. แท้จริง ในจําพวกเวไนยสัตว์ทเ่ี ป็นตัณหาจริต ทิฏฐิจริต ั ผูเ้ ป็นสมถยานิก (ผูม้ สี มถะเป็นยาน) และวิปสั สนายานิก (ผูม้ วี ปิ สสนาเป็ นยาน) ั ทีเ่ ป็นไปโดยส่วนทัง้ สอง คือ ปญั ญาอ่อน และปญญากล้ า ั ั กายานุปสสนาสติปฏฐาน มีอารมณ์หยาบเป็นทางหมดจด สําหรับเวไนยสัตว์ เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน มีอารมณ์ละเอียด เป็นทางหมดจด สําหรับเวไนยสัตว์ จิตตานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ทีม่ อี ารมณ์ไม่แยกออกมากนัก เป็ นทางหมดจด สําหรับเวไนยสัตว์ ั ธัมมานุปสสนาสติ ปฏั ฐาน ทีม่ อี ารมณ์แยกออกมาก เป็นทางหมดจด สําหรับเวไนยสัตว์

ผูม้ ตี ณ ั หาจริต มีปญั ญาอ่อน ผูม้ ตี ณ ั หาจริต มีปญั ญากล้า ผูม้ ที ฏิ ฐิจริต มีปญั ญาอ่อน ผูม้ ที ฏิ ฐิจริต มีปญั ญากล้า


12. กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ ทิศทางเดินสําหรับการถอดถอนความเห็นผิดว่า มีอตั ตาตัวเราใน ขันธ์5 จนสามารถละสักกายทิฏฐิ และ แจ้งพระนิพพานได้ นัน้ มีหลายวิธ ี หลายทิศทาง * 70

13. สรุป ควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะฝึกรูท้ งั ้ กายและจิต ให้ครบถ้วน ตามหลักมหาสติปฏั ฐานสูตร

*

อรรถกถามหาสติ ปัฏฐานสูตร ั สติปฏฐานแม้ จะมี๔วิธี ั คือ กายานุปสสนาสติ ปฏั ฐาน , เวทนานุปสั สนาสติปฏั ฐาน ,จิตตานุ ปสั สนาสติปฎั ฐาน และ ธรรมานุ ปสั สนาสติปฏั ฐาน แต่กถ็ อื ว่าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน โดยเป็ นความระลึกและโดยเป็ นทีป่ ระชุมลงเป็ นอันเดียวกัน แต่ม ี ๔ ด้วยอํานาจอารมณ์ เปรียบเหมือนพระนครมี ๔ ประตู คนทีม่ าแต่ทศิ ตะวันออกนําสิง่ ของทีอ่ ยู่ทางทิศตะวันออก มาเข้าพระนครทางประตูทศิ ตะวันออก คนทีม่ าแต่ทศิ ใต้ ทิศตะวันตกก็เหมือนกัน คนทีม่ าแต่ทศิ เหนือก็นําสิง่ ของทีอ่ ยู่ทางทิศเหนือ มาเข้าพระนครทาง ประตูทศิ เหนือฉันใดข้ออุปไมยนี้กฉ็ นั นัน้ . จริงอยู่ นิพพานเปรียบเหมือนนคร โลกุตตรมรรคมีองค์แปด เปรียบเหมือนประตูพระนคร ั สติปฏฐานมี กายเป็นต้น เปรียบเหมือนทิศทัง้ หลายมีทศิ ตะวันออกเป็ นต้น. ก็คนทีม่ าแต่ทศิ ตะวันออกนําสิง่ ของที่ ั อยู่ทางทิศตะวันออกมาเข้าพระนครทางประตูทศิ ตะวันออก ฉันใด ผูป้ ฏิบตั โิ ดยมุขแห่งกายานุ ปสั สนา เจริญกายานุ ปสสนา ั ๑๔ วิธี ย่อมหยั ่งลงสู่พระนิพพานอันเดียวกันนันเองด้ ่ วยอริยมรรค ทีเ่ กิดจากอานุ ภาพแห่งการเจริญกายานุ ปสสนา ก็ฉนั นัน้ . คนทีม่ าแต่ทศิ ใต้นําสิง่ ของทีอ่ ยู่ทางทิศใต้ย่อมเข้ามาสู่พระนครทางประตูทศิ ใต้ ฉันใด ผูป้ ฏิบตั โิ ดยมุขแห่งเวทนา ั ั นุปสสนาเจริ ญเวทนานุปสสนา ๙ วิธี ย่อมหยังลงสู ่ ่พระนิพพานอันเดียวกันนันเอง ่ ด้วยอริยมรรคทีเ่ กิดจากอานุ ภาพแห่งการ ั เจริญเวทนานุปสสนาก็ ฉนั นัน้ . คนทีม่ าแต่ทศิ ตะวันตกนําสิง่ ของทีอ่ ยู่ทางทิศตะวันตกย่อมเข้ามาสู่พระนครทางประตูทศิ ตะวันตกฉันใด ผูป้ ฏิบตั ิ โดยมุขแห่งจิตตานุปสั สนา เจริญจิตตานุปสั สนา ๑๖ วิธี ย่อมหยังลงสู ่ ่พระนิพพานอันเดียวกันนัน้ เอง ด้วยอริยมรรคทีเ่ กิด ั จากอานุภาพแห่งการเจริญจิตตานุปสสนาฉันนัน้ . คนทีม่ าแต่ทศิ เหนือนําสิง่ ของทีอ่ ยู่ทางทิศเหนือ ย่อมเข้ามาสู่พระนครทางประตูทศิ เหนือฉันใด ผูป้ ฏิบตั โิ ดยมุข ั แห่งธัมมานุปสสนา เจริญธัมมานุปสั สนา ๕ วิธี ย่อมหยังลงสู ่ ่พระนิพพานอันเดียวกันนัน้ เอง ด้วยอริยมรรคทีเ่ กิดจาก ั อานุภาพแห่งการเจริญธัมมานุปสสนาก็ฉนั นัน้


๕๗

พวกคนฆ่าตัวตาย หรือ พวกทรมานร่างกาย แม้ไม่รกั กาย แต่ทาํ ไมไม่เป็ นพระโสดาบัน บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k เพือ่ ให้พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท ช่วยตรวจทาน

1. คนทีฆ่ า่ ตัวตาย หรือ พวกทรมานร่างกายแบบสุดโต่งเช่นเปลือยกาย กํามือตลอดชีวติ แม้คนประเภทนัน้ จะไม่รกั กาย แต่กไ็ ม่ใช่เป็ นพระโสดาบัน เพราะ ยังมีมจิ ฉาทิฏฐิอยู่ เนื่องจากคนพวกนี้จะสุดโต่งไปทีด่ า้ นเกลียดกายนันเอง ่ 2. คนทีเ่ ห็นว่า กายเป็ นแค่สกั แต่วา่ ก้อนธาตุสม่ี าประชุมกัน จะไม่มคี วามคิดทีจ่ ะเกลียด กายชนิดทีต่ อ้ งฆ่าตัวตาย หรือต้องทรมานร่างกายตัวเองแบบสุดโต่ง 3. คนทีเ่ ห็นว่า กายเป็ นแค่สกั แต่วา่ ธาตุส่ี มาประชุมกัน นันคื ่ อ คนทีล่ ะความเห็นผิดได้วา่ กายนี้ใจนี้เป็ นตัวเป็นตน การละความเห็นผิดว่า กายนี้ใจนี้เป็ นตัวเราของเรา หรือ เรียกว่า ละสักกายทิฎฐิได้นนเอง ั่ 4. คนทีล่ ะสักกายทิฏฐิได้ นันจะเรี ่ ยกโดยสมมติวา่ บรรลุเป็น พระโสดาบัน 5. คําถามทีว่ ่า ทําไมคนทีก่ ล้าฆ่าตัวตายซึง่ ไม่รกั กายแล้ว แต่กย็ งั ไม่ได้บรรลุพระโสดาบัน ? ตอบ คนทีไ่ ม่รกั กายแบบฆ่าตัวตาย นัน้ ไม่ใช่เป็นสัมมาทิฏฐิ ซึง่ แตกต่างจาก พระโสดาบัน ซึง่ มีสมั มาทิฏฐิ เห็นถูก ว่า กายก็สกั แต่ว่าเป็ นแค่กอ้ นธาตุ พระโสดาบันจึงไม่มคี วามคิด สุดโต่งแบบฆ่าตัวตายเช่นนัน้ ทัง้ นี้ พระโสดาบันยังมีสมั มาทิฏฐิ เห็นประโยชน์ของการใช้ ความทุกข์ทเ่ี กิดกับกายมาเป็ นเครือ่ งมือในการเจริญสติเรียนรูท้ ุกข์ เพื่อเข้าถึงความพ้นทุกข์ ตามคําสังสอนของพระพุ ่ ทธองค์ จึงยังไม่รบี ฆ่าตัวตายนันเอง ่


6. อีกประการหนึ่ง พระโสดาบันจะไม่หลงผิดทรมานกายแบบสุดโต่ง เพราะมีปญั ญาทีเ่ ป็น สัมมาทิฏฐิ จึงรูแ้ ล้วว่า ทรมานไปก็ไม่ได้ช่วยให้จติ บริสุทธิ ์ขึน้ เนื่องจาก รูแ้ ล้วว่า กายกับใจ มันเป็ นของแยกกันอยูแ่ ล้ว(พระโสดาบันเห็นแจ้งแล้วว่า กายก็อยู่สว่ นหนึ่ง จิตก็อยู่สว่ นหนึ่ง จึงทําให้พระโสดาบันรูว้ า่ การจะ ฝึกจิตให้บริสุทธิ ์ได้ ไม่ใช่การไปทรมานกายอย่างนัน้ เพราะต่อให้ทรมานกายจนตายไป ก็ไม่ได้ช่วยให้จติ บริสุทธิ ์ขึน้ อยูด่ )ี

7. และ พระโสดาบันก็มสี มั มาทิฏฐิรแู้ ล้วว่า กายเป็นแค่วตั ถุกอ้ นธาตุ เป็นของทีห่ มุนเวียน เปลีย่ นยืมโลกมาใช้ พระโสดาบันเห็นว่า การทรมานกายตน = เหมือนกับการทรมานกายสัตว์อ่นื เพราะกายเรา กาย เขา มันก็ธาตุเดียวกัน เป็นแค่วตั ถุ เป็นแค่กอ้ นธาตุ ทีห่ มุนเวียนเปลีย่ นกันใช้ เท่านัน้ และ สุดท้าย ก็ตอ้ งคืนให้โลกอยูด่ ี จึงไม่เห็นความจําเป็นทีจ่ ะทรมานร่างกายแบบสุดโต่งอีกต่อไป


๕๙

สมาธิที่สาํ คัญต่อการบรรลุ คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. การจะบรรลุเป็ นพระอริยะได้ ต้องมีอปุ จารสมาธิ เป็นสําคัญ อาจจะถึงฌาน หรือ ไม่ถงึ ฌานก็ได้ 2. อุปจารสมาธิ คือสมาธิทต่ี ่อเนื่อง มีพลัง มีความตัง้ มันในการรู ่ อ้ ารมณ์ทผ่ี า่ นมาผ่านไป แบบสักว่ารู้ สักว่าดู ไม่มใี จทีอ่ ยากจะเข้าไปแทรกแซงการรูน้ นั ้ สมาธิระดับนี้จะมีความ ตัง้ มันสั ่ กว่ารูไ้ ด้ยาวนานพอสมควร เป็ นสมาธิทม่ี คี วามสงบในระดับหนึ่ง 3. อุปจารสมาธิ ยังเจือด้วยความคิดอยูไ่ ด้ ซึง่ เราสามารถใช้ปญั ญาตอนทีม่ สี มาธิเข้มแข็ง ระดับอุปจารสมาธินไ้ี ปคิดค้นพิจารณา ข้อธรรมต่างๆ ตามความเป็ นจริง ในแง่ไตรลักษณ์ ในแง่ อสุภกรรมฐาน * หรือ ในแง่กายคตาสติ* หรือ ในแง่มรณานุสติ † ได้ซง่ึ การฝึกอย่างนี้เป็นการเจริญสมถะที่ 71

72

สามารถพลิกกลับไปสูว่ ปิ สั สนาได้ดว้ ย * †

หากสงสัยวิธกี ารฝึก อสุภกรรมฐาน , กายคตาสติ โปรดดูคาํ แปลในหน้าที่ 53 , 54

มรณานุสติ แปลว่า มีสติหมันระลึ ่ กถึงความตายของตนทีส่ ามารถพรากชีวติ เราไปได้ทุกวินาที ดังนัน้ บุญกุศลใดทีย่ งั ไม่ได้ สร้างก็ควรรีบสร้างซะ ความกตัญ�ูใดทีย่ งั ไม่ได้ทาํ ก็จะได้รบี ทําซะ หากยังไม่ได้ขอบคุณใครทีค่ วรขอบคุณก็รบี ขอบคุณซะ หากยังไม่ได้ขอโทษใครก็รบี ขอโทษกันซะ หรือมีสตินกึ ถึงว่า ชีวติ ของเรานี้สนั ้ นักต่อให้ไม่เจออุบตั เิ หตุกส็ ามารถมีชวี ติ อยูไ่ ด้ไม่เกินสามหมืน่ กว่าวันแล้วเราจะยัง มาหลงระเริงในแสงสีเสียงกันอยูอ่ กี เหรอ ไหนๆก็ได้เกิดเป็นมนุ ษย์ทงั ้ ที ควรใช้โอกาสนี้เร่งความเพียร มีสติเรียนรูท้ กุ ข์ เพือ่ การปล่อยวางและพ้นจากทุกข์ หรือ มีสติระลึกถึงว่า ต่อให้ใครคนนัน้ จะยิง่ ใหญ่แค่ไหนก็ไม่อาจจะหนีพน้ ความตายได้ แล้ววันนี้เราจะยังมาแก่งแย่ง กอบโกย ชิงดีชงิ เด่น ขีอ้ จิ ฉา อะไรกันนักหนา หรือมีสตินกึ ถึงว่า เวลาตายไปแล้วก็เป็นแค่กอ้ นเนื้อก้อนดินทีใ่ ห้หนอนแทะ แล้วเราจะยังมาห่วงศักดิ ์ศรี โกรธแค้น อะไรกันนักหนา หากมีโอกาสให้อภัยได้กร็ บี ทําซะ หรือ นึกถึงความไม่แน่ นอนของชีวติ ว่า อาจจะตายเมือ่ ไรก็ได้ และตายไปแล้วก็เอาอะไรไปไม่ได้สกั อย่าง เกิดมาก็มา มือเปล่า ตายไปก็ไปมือเปล่า เอาอะไรไปไม่ได้สกั อย่าง แล้ว เราจะยังมาหลงยึดถือลาภยศสมบัตชิ อ่ื เสียงเงินทองอะไรกันให้ เป็นทุกข์ใจอีกหรือ


4. ขอยํา้ ว่า อุปจารสมาธิ ยังเจือด้วยความคิดอยูไ่ ด้ ซึง่ เราสามารถใช้ปญั ญาตอนทีม่ สี มาธิ เข้มแข็งระดับอุปจารสมาธิน้ไี ปคิดค้นพิจารณา ข้อธรรมต่างๆ ตามความเป็นจริง ในแง่ไตรลักษณ์ ในแง่อสุภกรรมฐาน * หรือ ในแง่กายคตาสติ* หรือ ในแง่มรณานุสติ † ‡ § ได้ซง่ึ การฝึกอย่างนี้เป็น 73

74

75

76

การเจริญสมถะทีส่ ามารถพลิกกลับไปสูว่ ปิ สั สนาได้ดว้ ย

5. หรือ ตอนอยูท่ อ่ี ุปจารสมาธิ ก็สามารถนําจิตทีม่ คี ณ ุ ภาพนี้ไปเข้าไปรู้ ไปเห็น การเกิดดับ ของสภาวะ โดยไม่ตอ้ งใช้การคิดค้นพิจารณาช่วยก็ได้การฝึกตามข้อนี้เป็นการเจริญวิปสั สนาล้วนๆนั ่นเอง 6. แต่ต่อให้ไม่ตอ้ งคิดค้นช่วย ก็ตอ้ งผ่านการฟงั ธรรมของพระพุทธเจ้าหรือครูบาอาจารย์พระ ผูร้ กู้ ่อน เพราะ การฟงั ธรรมซํา้ ๆจนเข้าใจและจําได้ จะเป็นนําร่องให้จติ หัดมองทุกอย่างให้ เป็ นไตรลักษณ์อย่างอัตโนมัติ โดยไม่ตอ้ งมาเสียเวลาคิดสอนจิตหรือพากย์จติ ในขณะทีอ่ ยูใ่ น สมาธิ 7. หากไม่เคยฟงั ธรรมนําร่องให้จติ เลย ตอนทีไ่ ปเห็นสภาวะเกิดดับ มันจะเป็ นแค่สมถะ จึงไม่เกิดปญั ญารูแ้ จ้งเป็ นพระอริยะ เพราะ จิตมันไม่เข้าใจว่า จะเห็นเกิดดับไปทําไม *

หากสงสัยวิธกี ารฝึก อสุภกรรมฐาน , กายคตาสติ โปรดดูคาํ แปลในหน้าทีท่ ่ี 53 , 54

แม้มรณานุสติน้จี ะเป็นเพียงสมถกรรมฐาน แต่กใ็ กล้กบั วิปสั สนาอย่างมาก ผูท้ ม่ี สี ติอยูก่ บั มรณานุ สติจะมีจติ ทีส่ งบจาก ั นิวรณ์ได้งา่ ยและจิตก็สามารถจะพลิกไปในภูมขิ องวิปสสนาได้งา่ ยด้วย ดังนัน้ ผูใ้ ดทีเ่ จริญมรณานุ สติบอ่ ยก็จะมีผลให้ชว่ ย บรรลุมรรคผลเร็วขึน้ ‡

ผูท้ พ่ี จิ ารณาใคร่ครวญในมรณานุ สติ คิดถึงความตายและความไม่แน่ นอนของชีวติ บ่อยๆ จะเป็ นผูท้ ไ่ี ม่ค่อยประมาทและไม่ หลงมัวเมาในชีวติ ซึง่ ผูเ้ ขียนขอเชิญชวนให้ทุกๆท่านได้มาฝึ กกรรมฐานอันนี้ แล้วท่านจะเห็นผลในการปล่อยวางได้รวดเร็ว อย่างน่าอัศจรรย์ §

แม้พระพุทธเจ้าก็ยงั ตรัสสรรเสริญถึง มรณานุสติวา่ “มรณัสสฺ ติ อันบุคคลใดทําให้มาก ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ สามารถหยังลงสู ่ พ่ ระนิพพานได้เป็นทีส่ ดุ ” และแม้พระพุทธองค์บรรลุมรรคผลแล้ว ท่านก็ยงั ทรงอยูก่ บั มรณานุสติน้เี พือ่ ความอยู่เป็นสุขในปจั จุบนั ดังทีพ่ ระพุทธองค์ได้ตรัสกับพระอานนท์วา่ “แม้ในปจั จุบนั นี้ ตถาคตก็นึกถึงความตายอยูท่ ุก ลมหายใจเข้าออก”


๖๑

8. ขณิกสมาธิ คือ สมาธิชวแว๊ ั ่ บ สมาธิสนั ้ ๆแค่แว๊บเดียว 9. ขณิ กสมาธิ ทีก่ ระทําบ่อยๆต่อเนื อ่ งทัง้ วัน จนเกิดสติไปรูไ้ ปเห็นสภาวะนาทีละหลาย สิบครัง้ นันก็ ่ คือ อุปจารสมาธิ นัน่ เอง (เพียงแต่ครูบาอาจารย์บางท่าน อาจเรียกว่า ขณิกสมาธิ ก็ได้ ดังนัน้ เรือ่ งของภาษาอันเป็นสมมติ จึงไม่ควรอย่างยิง่ ทีจ่ ะนํามาเถียงกัน สิง่ ทีค่ วรทําคือ ฝึ กตนให้แจ้งในพระนิพพานจะดีทส่ี ุด)

10. ขณิ กสมาธิ ทีน่ านๆเกิ ดที นานๆเกิดสติรทู้ ี และเวลาทีเ่ หลือ จิตก็หลงไปฟุ้งซ่านไป คลุกอยูก่ บั โลก นันยั ่ งไม่ใช่ สมาธิทค่ี วรแก่การงาน เพราะสมาธิทข่ี าดพลังขนาดนัน้ ยัง ไม่สามารถใช้เดินวิปสั สนาเพือ่ ให้เกิดมรรคผล แต่ยงั ไงก็ตอ้ งฝึกเอาไว้ก่อน จะฝึกน้อย จะฝึกมาก ก็ยงั ดีกว่าไม่ได้เจริญสติสมาธิเอาซะเลย


11. ส่วนใครทีฝ่ ึก ฌาน * †ได้ ก็ดมี าก เพราะ จะได้มคี วามสงบ มีปีตใิ นฌาน เป็นทีพ่ กั ผ่อน ชาร์ตพลัง 77

78

12. แต่ต่อให้ได้ฌาน ตอนจะเจริญวิปสั สนา ก็ตอ้ งถอยจิตออกจากฌาน เพือ่ มาสู่ สมาธิขนั ้ อุปจาระ เพือ่ ให้สามารถเห็นการเกิดดับ เรียนรู้ พิจารณาไตรลักษณ์ของสภาวะทัง้ หลายทีเ่ กิด กับกายกับใจได้ 13. แต่ใครทีไ่ ม่สามารถฝึกฌานได้ ก็ไม่ตอ้ งเสียใจ เพราะ ตอนฝึกสติเรียนรูท้ ุกข์นนั ้ ใช้แค่ อุปจารสมาธิ ก็พอแล้ว เพราะตอนกําลังจะบรรลุมรรคผล จิตทีม่ อี ุปจารสมาธิทเ่ี ข้มข้น และต่อเนื่อง ก็จะมีสภาวะจิ ตจะรวมเป็ นหนึ ง่ (จิตรวมใหญ่)จนเห็นสภาวะเกิ ดดับได้ชดั เจนจึง เข้าไปตัดสังโยชน์ ซึง่ จิตชนิดนี้จะมีองค์ฌานเป็นตัวหนุนก่อนเกิดญานทัศนะอยูแ่ ล้ว *

ฌาน = อัปปนาสมาธิ = สมาธิอย่างเข้มข้น

องค์ฌานที1่ – 4 ทีป่ รากฎทางใจ ตามพุทธพจน์ จากพระไตรปิฎกเล่มที่ 11 [๒๓๒] ฌาน ๔ อย่าง ๑. ดูกรผูม้ อี ายุทงั ้ หลาย ภิกษุในพระธรรมวินยั นี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวติ ก มีวจิ าร มีปีตแิ ละสุขเกิดแต่วเิ วกอยู่ ๒. ดูกรผูม้ อี ายุทงั ้ หลาย ภิกษุในพระธรรมวินยั นี้ บรรลุทุตยิ ฌาน มีความผ่องใสแห่ง จิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึน้ เพราะวิตกวิจารสงบไป ไม่มวี ติ ก ไม่มวี จิ าร มีปีตแิ ละสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ๓. ดูกรผูม้ อี ายุทงั ้ หลาย ภิกษุในพระธรรมวินยั นี้ มีอุเบกขา มีสติมสี มั ปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีตสิ น้ิ ไป บรรลุตติยฌาน ทีพ่ ระอริยะทัง้ หลายสรรเสริญว่า ผูไ้ ด้ ฌานนี้ เป็นผูม้ อี ุเบกขา มีสติอยู่เป็ นสุข ๔. ดูกรผูม้ อี ายุทงั ้ หลาย ภิกษุในพระธรรมวินยั นี้ บรรลุจตุตถฌาน ไม่มที ุกข์ ไม่มสี ุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัส โทมนัสก่อนๆ ได้มอี ุเบกขาเป็ นเหตุให้สติบริสทุ ธิ ์อยู่ ฯ สรุป พุทธพจน์ส่วนข้างบนนี้ องค์ฌาน 5 มีดงั นี้ 1.วิตก 2.วิจาร 3.ปีติ 4.สุข 5.อุเบกขา ซึง่ จะไม่มนี วิ รณ์ 5 หรือ อารมณ์ อื่นปนอยู่เลย ซึง่ สรุปง่ายๆดังนี้ จะเห็นว่า ฌานที่ 1 ปฐมฌาน ในข้อที่ ๑ มีองค์ฌานครบทัง้ 5 จะเห็นว่าฌานที่ 2 ทุตยิ ฌาน วิตกวิจารหายไป เหลือ ปีติ สุข อุเบกขา จะเห็นว่าฌานที่ 3 ตติยฌาน ปีตไิ ด้หายไป เหลือ สุข กับ อุเบกขา จะเห็นว่าฌานที่ 4 จตุตถฌาน สุขหายไป เหลือ อุเบกขา อย่างเดียว.


๖๓

ทําไมเป็ นพระโสดาบันแล้วไม่ต้องตกนรกอีกตลอดกาล คําสนทนาระหว่างพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท กับ ครูSup’k บันทึกตามความเข้าใจส่วนตัวโดย ครูSup’k

1. ก่อนเป็นพระโสดาบัน ผูป้ ฏิบตั ธิ รรมจะมีการฝึกจิต จนได้เห็นว่า กายก็อยูส่ ว่ นหนึ่ง ใจก็ และได้เห็นว่า กายเป็ นแค่ธาตุสีม่ าประชุมกัน อยูส่ ว่ นหนึ่ง(นั ่นคือฝึกจนแยกรูปแยกนามได้) กายนี้ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา ไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ของเขา และมีปญั ญาเห็นได้นิดๆแล้วว่า จิตบ้าง มโนบ้าง วิญญาณบ้าง เป็นแค่ธรรมชาติรทู้ เ่ี กิดแล้วดับ ซึง่ การเห็นความจริงดัง ข้างต้นนี้จะทําให้คลายความรักกายไปได้เยอะมาก จึงไม่คอ่ ยอยากทีจ่ ะทําบาปกอบโกยเพือ่ กายเพื่อใจอีก โดยส่วนใหญ่คนเราทําชัวหนั ่ กๆ ก็เพราะรักกายมากเกินไป เมือ่ ไม่รกั กาย หรือไม่เห็นแก่ตวั มากจนล้น ก็จะไม่ทาํ ผิดศีล เมือ่ ไม่ผดิ ศีล ก็เลยไม่ตอ้ งตกนรกและสามารถ ปิดอบายด้วยเหตุน้ี 2. ต่อให้พระโสดาบันไปเกิดเป็นมนุษย์ใหม่ แล้ว สัญญาความจําทัง้ หลายถูกลบไปหมด ตอนอยูใ่ นท้องแม่เก้าเดือน แต่ทว่า จิตใต้สาํ นึกก็จะรูส้ กึ ไม่อยากทําบาปเพื่อตัวกูของกูอกี เพราะจิตใต้สาํ นึกมันจะไม่มอี ตั ตาตัวกูของกูแล้ว จิตใต้สาํ นึกประเภทนี้กจ็ ะมีหริ โิ อตัปปะ จึงไม่หลงไปทําบาปผิดศีล จึงเป็ นเหตุให้ไม่ตอ้ งไปตกอบายในทุกชาติทเ่ี กิด เหมือน เด็กบาง คนทีเ่ กิดมา แล้ว ชอบทําบุญสุนทาน เป็ นเด็กทีร่ า่ เริง ไม่มกั โกรธ ไม่ดอ้ื ไม่เอาแต่ใจตัวเอง โดยไม่ตอ้ งมีใครสอน 3. สรุป คือ ด้วยเหตุสามารถละความเห็นผิดในกายได้(คือละสักกายทิฏฐิได้) จึงไม่รกั กายใจมาก เกินไป กิเลสจึงไม่ลน้ ถึงขนาดต้องทําผิดศีล5 จึงเป็ นเหตุให้ไม่ตอ้ งตกนรกตกอบาย และ จึง เรียกว่าเป็นพระโสดาบัน


4. อย่าเข้าใจผิด คิดว่า พอได้ตําแหน่งเป็นพระโสดาบัน แล้วท่านจะมีใบประกาศนียบัตร เอาไว้ยน่ ื ให้ยมบาลดู เพือ่ ปิดประตูนรกปิดประตูอบาย กันซะทีไ่ หน 5. ดังนัน้ ลองคิดพิจารณาในมุมใหม่น้วี ่า หากมีคนมาแต่งตัง้ ให้เป็ นพระโสดาบัน แต่ ท่านยังเรียนรูท้ ุกข์ไม่พอ จิตใจของท่านยังเปื้อนทุกข์ได้อยูเ่ ยอะ ท่านยังรักตัวเองอยูม่ าก ยังเห็นแก่ตวั อยูจ่ นต้องทําผิดศีล5 แล้วท่านยังอยากจะรีบได้ตาํ แหน่งพระโสดาบันนี้อกี เหรอ? 6. การคิดพิจารณา *ช่วยตามข้อ4. + ข้อ5. จะทําให้ทา่ นผูฝ้ ึกปฏิบตั ธิ รรมมานานแล้ว คลาย จากความเร่งร้อนอยากบรรลุไปได้มากทีเดียว นันคื ่ อ ช่วยลด อุทธัจจะความฟุ้งซ่านอยากบรรลุเร็วๆ 79

ช่วยลด กุกกุจจะความรําคาญใจว่าทําไมไม่บรรลุสกั กะที ไปได้มาก และเมือ่ เห็นความจริงดังกล่าว แล้ว น้อมมาพิจารณาว่า สิง่ ทัง้ ปวงล้วนเป็นไปตามเหตุ บังคับไม่ได้จริงๆ เพราะอยากจะเร่งให้ บรรลุเร็วๆก็ทาํ ไม่ได้ นันก็ ่ แปลว่า ท่านได้เรียนรู้อนัตตาเพิม่ อีกครัง้ † 80

*

แต่หากท่านไม่ได้ม ี อุทธัจจะความฟุ้งซ่าน กุกกุจจะรําคาญใจ มากจนเกินไป ท่านก็อาจจะไม่จาํ เป็ นต้องใช้คดิ พิจารณาช่วย แต่ ท่านสามารถตามรูต้ ามดูสภาวะความฟุ้งซ่านรําคาญใจไปได้เลย(วิธคี อื ขณะใดมีความฟุ้งซ่านอยู่ ก็แค่รวู้ า่ กําลังฟุ้งซ่าน) โดยตามดูเพือ่ ให้ เห็นสภาวะของจริงไปเลยว่า จริงไหม เร่งยังไงมันก็ไม่บรรลุ ตามใจอยาก เป็นอนัตตาโดยแท้ ? จริงไหม ทีจ่ ติ มันไม่ใช่ตวั เรา จริงไหมทีจ่ ติ เป็ นอนัตตา เพราะเราจะสังให้ ่ มนั ปล่อยวางก็สงไม่ ั ่ ได้ ? แล้วเราจะไปรักไปหวงแหนจิต ให้ทุกข์ใจทําไม แค่ไม่แทรกแซง ไม่หลงยินดียนิ ร้ายในสภาวะทัง้ ปวง ก็พน้ จากทุกข์แล้ว †

ผูท้ เ่ี ข้าใจความจริงแบบนี้ว่า ทุกสิง่ ทุกอย่างล้วนเป็ นไปตามเหตุ(ทุกสิง่ ล้วนเป็ นอนัตตา) จะเป็ นผูท้ ไ่ี ม่ขเ้ี กียจ แต่กลับจะมี ั ปญญาไม่ มวั เสียเวลากับการหลงครํ่าครวญกลุม้ ใจว่าทําไมฉันไม่บรรลุสกั กะที แต่จะหันมาใช้เวลาทีเ่ หลือทัง้ หมด เพือ่ เพียร ทําเหตุให้ถงึ พร้อม นั ่นคือ ฝึกเรียนรูท้ กุ ข์ต่างๆทีผ่ า่ นเข้ามาให้เพียงพอ โดยเรียนรูต้ ามความเป็ นจริงในแง่ไตรลักษณ์ ซึง่ จะเป็นการใช้เวลาทีค่ มุ้ ค่าทีส่ ดุ


๖๕

7. นอกจากนี้ พระโสดาบันคือผูท้ ฝ่ี ึกจนสามารถไปประจักษ์วา่ มรรคผลนิพพานมีจริงๆ เพราะ ได้ประสบมากับตนเอง ท่านผูน้ นั ้ ก็จะหมดความลังเลสงสัย (ละวิจกิ จิ ฉาได้)ในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ได้ เพราะรูแ้ ล้วว่า พระพุทธเจ้าพูดจริง พระธรรมคือการหลุดพ้นก็มจี ริงๆ พระสงฆ์กค็ อื ตัวผูบ้ รรลุเอง ก็มจี ริงๆ 8. พระโสดาบันจะถือศีลเพราะความเข้าใจ ถือศีลเพราะเห็นถึงประโยชน์ของศีล มิใช่ถอื ศีล เพราะ คิดว่าศีลมีความศักดิ ์สิทธิ ์ ทีส่ ามารถดลบันดาลอะไรให้เราได้ (นั ่นคือ พระโสดาบันสามารถ ละสีลพั ตปรามาสได้นั ่นเอง)

9. พระโสดาบันจะรูแ้ ล้วว่า วิธปี ฏิบตั อิ ่นื นอกเหนือจากสติปฏั ฐานสีน่ นั ้ ไม่มอี กี แล้ว จึงไม่สงสัยในวิธปี ฏิบตั อิ กี แล้ว(ละวิจกิ จิ ฉาได้เด็ดขาด) และไม่โง่ไปหลงลูบๆคลําๆลองผิดลองถูกใน ฝึกวิธอี ่นื ๆอีก(ละสีลลัพตปรามาส ได้เด็ดขาดเช่นกัน) 10. ในแต่ละขัน้ ของการบรรลุ ก็แค่หายสงสัย เกิดสัมมาทิฏฐิ แต่มนั ก็เกิดกระบวนการของ จิตเหมือนกัน เพราะตอนกําลังจะบรรลุมรรคผล จิตทีม่ อี ุปจารสมาธิทเ่ี ข้มข้นและต่อเนื่อง ก็ มีสภาวะจิ ตจะรวมเป็ นหนึ ง่ (จิตรวมใหญ่)จนเห็นสภาวะเกิ ดดับได้ชดั เจนจึงเข้าไปตัด สังโยชน์ ซึง่ จิตชนิดนี้จะมีองค์ฌานเป็ นตัวหนุนก่อนเกิดญานทัศนะอยูแ่ ล้ว 11. ในแต่ละขัน้ ทีห่ ายสงสัย จิตก็จะถอนออกมาทุกระดับ จนถึงขัน้ สุดท้าย ความเป็นไปของ จิตก็เปลีย่ นโดยสิน้ เชิง รูไ้ ด้ดว้ ยตัวเอง นึกทบทวนดู ก็จะเห็นว่า เปลีย่ นโดยสิน้ เชิง ลึกๆจะมีแต่ความนิง่ อยู่ มีความสงบสันติ ไม่วา่ จะมีสง่ิ ใดทีม่ ากระทบ มันก็แค่กริยาภายนอก มันไม่กระเทือนเข้าถึงข้างใน มันจะกระทบแค่ขนั ธ์แล้วก็ดบั ไป กิเลสมันไม่เข้าถึงจิต กิเลสจะ ไม่สามารถเข้ามาย้อมจิตได้อกี เลย


คํากลอนส่งท้าย : รู้จกั ตนจึงพ้นจากทุกข์ วิง่ ไขว่คว้า หาความสุข ภายนอกตน ทรัพย์สมบัติ ทัง้ หลาย ทีไ่ ด้มา

จึงดิน้ รน ต่อสู้ นานหนักหนา สุดท้ายหนา ต้องทิง้ ไว้ แล้วจากไป

แม้รา่ งกาย เขาก็นํา เอาไปฝงั สมบัตโิ ลก ต้องคืนโลก ทัง้ หมดไป

จะมัวยัง หลงรัก อยูไ่ ฉน จงดูใจ ทีม่ วั หลง ในอารมณ์

แก่นแท้นนั ้ กายและใจ คือตัวทุกข์ อยูก่ บั ทุกข์ รูค้ วามทุกข์ หมดตรอมตรม

จะหาสุข จากอารมณ์ คงไม่สม รูก้ ายใจ ก่อนสิน้ ลม พ้นทุกข์จริง

ศึกษากาย และใจ รูส้ จั จะ เลิกหลงรัก เลิกหลงชัง และ หยุดดิน้

จึงเลิกละ ถอดถอนได้ ในทุกสิง่ จิตจึงนิ่ง สู่สงบ พบนิพพาน

จากหนังสือทางลัดสู่สนั ติสุข ...คณะศิษย์พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺโท




๖๗

ภาคผนวก ประวัติและทีม่ าของวัดป่ าเจริญธรรม วัดปา่ เจริญธรรมนี้ เริม่ ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2546 แรกเริม่ เป็ นวัดมหานิกาย มอบให้วดั ปาลิ ไลยวัน (วัดเขาฉลาก) อ.ศรีราชา ของพระครูวสิ ทุ ธิสงั วร (หลวงพ่อใช่ สุชโี ว) ซึง่ ภายใน 2 ปี หลวงพ่อใช่ ท่านได้สง่ พระมาอยู่หลายชุด แต่กอ็ ยู่กนั ไม่ค่อยได้ วัดนี้จงึ ค่อยข้างเงียบ ในระยะเวลา 2 ปี จึงมีพระเข้ามา อยู่ ถึง 8 ชุด ทัง้ ทีส่ ง่ มาจากวัดเขาฉลากและส่งมาจากทางเจ้าคณะตําบล จนมาถึงคณะสงฆ์ชุดที่ 9 คือ คณะของพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท ได้เข้ามาอยูท่ ว่ี ดั แห่งนี้ เมือ่ ปี พ.ศ. 2548 จากการนิมนต์ของเจ้า อาวาสคณะสงฆ์ชุดที่ 8

เดิมที พระอาจารย์ชานนท์ ท่านจําพรรษาอยูร่ ปู เดียวเป็ นระยะเวลาประมาณ 1 ปี ต่อมาปี ท่ี 2 จึงมีหมูค่ ณะมาจําพรรษาอยูด่ ว้ ย ซึง่ ตอนนี้มพี ระทีป่ ระจําอยูท่ ว่ี ดั ปา่ เจริญธรรมจํานวน 3 – 8 รูป พร้อม ทัง้ มีแม่ชแี ละอุบาสิกาอยู่ประจําจํานวน 2 – 3 คน (จํานวนพระและแม่ชใี นช่วงทีน่ อกพรรษานัน้ ไม่แน่นอน เพราะ บางท่านก็ออกเดินทางธุดงค์) ทีด่ นิ ของวัดนัน้ แต่เดิมมีอยู่ 30 ไร่ โดยการถวายของโยมไจ้ ถวายให้กบั เจ้าอาวาสรูปก่อนหน้า นี้ พอพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท เข้ามาอยู่ โยมสมชาย ซึง่ มีทด่ี นิ ติดกับโยมไจ้ เกิดศรัทธาจึงถวาย ทีด่ นิ ทัง้ หมด 75 ไร่ ให้กบั ทางวัด ระยะเวลาผ่านมาน้องสาวของโยมไจ้เกิดศรัทธาได้ซอ้ื ทีด่ นิ ถวาย อีก 21 ไร่ ณ เวลาปจั จุบนั นี้ (1 ม.ค.54) จึงรวมทัง้ สิน้ ประมาณ 126 ไร่


สภาพความเป็ นอยู่ภายในวัดป่ าเจริญธรรม

เนื่องจากปฏิปทาของพระสายกรรมฐาน จะอยูก่ นั แบบเรียบง่าย อยู่กนั แบบพระปา่ พระวัดปา่ เจริญธรรมจึงเจริญตามรอยปฏิปทาของสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และ ครูบาอาจารย์ใหญ่สายกรรมฐาน นันคื ่ อพระอาจารย์มนั ่ ภูร ทิ ตั โต

ข้อวัตรปฏิบตั ขิ องทีน่ ่ีจงึ เริม่ ตัง้ แต่ต่นื แต่เช้า เพือ่ ออกบิณฑบาต แต่เดิมตอนพระอาจารย์ชานนท์ ท่านประจําอยู่รปู เดียว ท่านก็จะออกบิณฑบาตตามหมูบ่ า้ นซึง่ มีอยูโ่ ดยรอบ 7 - 8 หลังคาเรือน ซึง่ ก็ เพียงพอทีจ่ ะอยูไ่ ด้ แต่ต่อมามีหมู่คณะมาอยู่ดว้ ย การไปบิณฑบาตแรกๆ อาหารไม่เพียงพอ จึง จําเป็ นต้องเอารถเข้าไปบิณฑบาตที่ ตัวอําเภอบ่อทอง ซึง่ มีระยะห่างจากวัด 22 กิโลเมตร ญาติโยมใน ตลาดทีเ่ ค้าศรัทธาในพระปา่ เค้าก็จะใส่บาตรกันอยูเ่ ป็ นประจํา ทางวัดก็จะไปทุกวัน แม้วนั พระก็ไม่เว้น การฉันอาหารของทีน่ ่ีกเ็ ป็ นแบบมือ้ เดียว ตามรอยพระศาสดาและพระปา่ สายกรรมฐาน แต่ทงั ้ นี้ ก็แล้วแต่ผมู้ าปฏิบตั ธิ รรม ว่าใครจะทําได้ได้แค่ไหน ถ้าถือศีล ๕ ก็วา่ ไปตามนัน่ ศีล ๘ ก็วา่ ไปตามนัน้ เช่นกัน พระทีว่ ดั นี้จะกลับจากการบิณฑบาตถึงวัดประมาณ 7:30 น. จัดสํารับ 8:00 น. และเริม่ ฉัน 8:30 น. ช่วงบ่ายก็จะมาฉันนํ้าปานะกันทีโ่ รงทาน แล้วทีเ่ หลือก็เร่งภาวนาทําความเพียร การใช้ชวี ติ อยู่ทน่ี ่จี งึ เรียบง่ายมาก ถ้าในพรรษาก็จะมีการรวมกันทําวัตรสวดมนต์ทห่ี อพระกันทุกวันพระ และทําความเพียรกัน ตามปกติ แต่นอกพรรษาจะใช้ชวี ติ อย่างอิสระ ตามธรรมชาติ จุดประสงค์คอื เน้นการทําความเพียรเป็ น หลัก อยูก่ บั กายใจของตนเองให้มาก คือใครอยากจะทําวัตร สวดมนต์กส็ วดอยูใ่ นกุฏขิ องตนเองได้ ใคร อยากนังสมาธิ ่ เดินจงกรม ภายในบริเวณวัดทีไ่ หนก็ได้ ขึน้ ไปเทีย่ วทําความเพียรบนภูเขาก็ได้ ไม่มกี าร บังคับ อยู่กนั แบบเรียบง่าย เรือ่ งกิจการงานก่อสร้างต่างๆ พระอาจารย์ชานนท์จะไม่ให้พระลูกวัดไปยุง่ เด็ดขาด ให้เน้นทํา ความเพียร เร่งภาวนาเป็ นหลัก กิจกรรมต่างๆของวัดก็จะน้อยลง


๖๙

สภาพภูมิอากาศภายในวัดป่ าเจริญธรรม หน้ าร้อน

เนื่องจากตัววัดอยูใ่ นภูเขา เป็ นเนินเขาทีร่ าบสูง ปา่ ไม้ปกคลุมพอสมควร หน้าร้อนก็จะร้อนไม่มาก เพราะได้รบั ความชืน้ จากสภาพแวดล้อมทีเ่ ป็ นปา่ โปร่ง อากาศจึงเย็นสบาย

หน้ าหนาว

หน้าหนาวก็ไม่หนาวจัดจนเกินไป ปา่ ไม้ปกคลุมอยู่พอสมควรแต่ไม่ถงึ กับรกครึม้

หน้ าฝน

ส่วนหน้าฝนนัน้ อาจจะมีปญั หาในเรือ่ งของนํ้าขังบ้าง แต่ไม่ถงึ กับท่วม เพราะ เป็ นเนินเขานํ้าพัดพาลงสูบ่ ริเวณทีต่ ่ําทัง้ หมด

นํ้าประปากับไฟฟ้ า ภายในวัดป่ าเจริ ญธรรม

นํ้าประปา แต่เดิมแรกเริม่ จะขุดบ่อปูนเก็บกักนํ้าไว้ใช้ เวลาหน้าแล้งนํ้าจะไม่พอใช้ และนํ้าจะ ออกสีแดง เมื่อประมาณต้นปี พ.ศ. 2552 จึงได้ทาํ การขุดสระนํ้าเล็กๆขึน้ มาสระหนึ่งจึงพอทีจ่ ะอยูไ่ ด้อย่าง สะดวก และต่อมาทาง อบต.ได้มงี บจัดการขุดสระนํ้าให้อกี สระหนึ่งซึง่ ใหญ่พอสมควร เพิม่ ขึน้ เป็ นสองสระ ทําให้หมดปญั หาเรือ่ งนํ้าไปได้เยอะ ในเรือ่ งของไฟฟ้า เมือ่ ก่อนนี้ยงั มีปญั หาอยู่มาก ไม่ค่อยพอใช้กบั ทางวัดเท่าไหร่นกั เนื่องจากเพิ่ง จะพัฒนาเป็ นวัดได้ไม่ก ป่ี ี จึงมีปญั หาเรื่องไฟตกบ่อยๆ แต่ตอนหลังจากทอดกฐิน ต.ค.53 ทางวัดก็ได้ ปจั จัยมาเพือ่ ขอนําไฟฟ้าเข้ามาใช้ทว่ี ดั แล้ว จึงทําให้หมดปญั หาเรือ่ งไฟฟ้าไปได้เยอะเช่นกัน

สัตว์ต่างๆภายในวัดป่ าเจริ ญธรรม

สัตว์ปา่ บริเวณวัดไม่มสี ตั ว์ทม่ี อี นั ตราย เนื่องจากไม่ใช่ปา่ ทีร่ กครึม้ บนเขาก็ไม่ใช่ปา่ รกครึม้ สามารถเดินขึน้ ได้โดยไม่มอี นั ตราย สัตว์ปา่ บางประเภทเช่น เม่น และ หมูปา่ ก็ตวั เล็กๆ ไม่ทาํ อันตรายเหล่าผูไ้ ปปฏิบตั ภิ าวนา


หมู่อาคารในวัดป่ าเจริ ญธรรมและการวางแผนพัฒนาในอนาคต

พระอาจารย์ชานนท์ทา่ นตัง้ ใจจะให้วดั ปา่ เจริญธรรมเป็ นศูนย์รวมในการเผยแผ่พระธรรมคําสอน ในการปฏิบตั ทิ งั ้ ด้านสมถะและวิปสั สนากรรมฐาน แก่ชาวบ้านทีอ่ ยูใ่ น อ.บ่อทอง และในจังหวัดชลบุรี ตลอดจนผูท้ ส่ี นใจทีอ่ ยากจะเข้ามาปฏิบตั ธิ รรม ทัง้ อุบ าสก อุบาสิกา และพระสงฆ์ ซึง่ สถานทีก่ ม็ อี ยู่ พร้อม พอทีจ่ ะรองรับผูค้ นได้พอสมควร ทัง้ สงบ มีความเป็ นสัปปายะ เหมาะแก่การเจริญภาวนา

ส่วนเรือ่ งการขยายวัดและอาคารต่างๆ ก็สร้างให้พอเหมาะพอดีกบั เหตุและปจั จัย แต่ตวั พระ อาจารย์เองก็มไิ ด้บอกบุญใคร ใครมีศรัทธาจะบริจาคหรือสร้างถวายก็ขออนุโมทนา ซึง่ ตอนนี้กม็ โี ยมผูม้ ี ศรัทธาร่วมสร้างกุฏใิ ห้หลายหลัง ประมาณ 5 - 6 หลัง เพือ่ ให้ผสู้ นใจทัง้ พระ และ โยม ได้เข้ามาใช้ทาํ ความเพียรภาวนา หมูอ่ าคารในวัดปา่ เจริญธรรมหลักๆ ทีม่ ใี นตอนนี้คอื 1. ศาลาปฏิบตั ธิ รรม (หอพระ) 2. โรงครัว โรงอาหาร 3. เรือนรับรอง พระ และ พระอาคันตุกะ 4. เรือนต้มแก่นขนุนสําหรับผ้าจีวรบังสกุล 5. หมู่กุฏสิ งฆ์ เขตสงฆ์ 6. หมู่กุฏอิ ุบาสก เขตผูช้ าย 7. หมูก่ ฏุ อิ บุ าสิกา เขตชีและเขตผูห้ ญิง ( เดิม 3 หลัง ใหญ่ สร้างใหม่อกี 2 หลัง) 8. กําลังจะจัดสร้างพระอุโบสถแปดเหลีย่ มในอนาคต ถ้าผูป้ ฏิบตั มิ าเป็ นหมู่คณะประมาณ 15 - 20 คน ทางวัดมีทร่ี องรับได้อย่างสบาย แต่ถา้ มากันเยอะมาก ช่วงแรกๆนี้ สถานทีต่ อ้ นรับให้สะดวกสบายคงยังไม่พอ แต่ทางวัดไม่จาํ กัดการอยู่ มาได้ทกุ วัน และจะอยู่ กีว่ นั ก็ได้ แต่สว่ นใหญ่ มาอยูไ่ ม่กว่ี นั ก็เข้าใจและมีแนวทางทีจ่ ะไปปฏิบตั ติ ่อทีบ่ า้ นกันได้แล้ว สถานพยาบาลบริเวณใกล้เคียงวัดป่ าเจริญธรรมเมื่อเจ็บป่ วย 1. โรงพยาบาลอําเภอบ่อทอง เป็ นโรงพยาบาลประจําอําเภอ อยูห่ า่ งจากวัด 22 กิโลเมตร 2. สถานีอนามัยธรรมรัตน์ บ้านอ่างกระพงศ์ อยูห่ า่ งจากวัดประมาณ 3 - 4 กิโลเมตร


๗๑

แผนทีแ่ บบแรก

พิกดั GPS คือ

N

13°

19′

57.9″

E

101°

33′

38.0″

หรือ

N

13°

19.965′

E

101°

33.633′

ที่ตัง้ : วัดปา่ เจริญธรรม เลขที1่ 11 หมู่7 ต.เกษตรสุวรรณ อ.บ่อทอง จ.ชลบุรี 20270 แฟกซ์ : 038-100-304 มือถือ : 081-294-0630 (พระอาจารย์ชานนท์) หรือ 086-152-6401(แม่ชเี อ๋) เว็บไซต์ : www.watpachareongtham-chonburi.com


แผนทีแ่ บบละเอียด

การเดิ นทางโดยรถบัส ไปจากกรุงเทพขึน้ รถบัสไปชลบุรที ส่ี ถานีขนส่งเอกมัยลงชลบุรรี าคาอยูท่ ่ี 60 บาท จากนัน้ ขึน้ รถบัสไปอําเภอบ่อทองอีก 35 บาท หรือถามวินมอเตอร์ไซค์วา่ คิวรถบ่อทองไปทางไหน รถออกจากชลบุรไี ปบ่อทองทุกครึง่ ชัวโมง ่ รถคันสุดท้ายออกจากชลบุรี 18.10น. ถึงอําเภอบ่อทอง ่ จะมีวนิ มอเตอร์รบั จ้างบอกเขาว่าไปวัดปาเจริญธรรม บ้านไม้หอมระยะทาง 22 ก.ม. ราคา 140 บาท


๗๓

บอกข่าวแจ้งบุญ

เนื่องจากขณะนี้ทางวัดปา่ เจริญธรรมยังไม่เคยมีพระอุโบสถใดๆมาก่อน พระอาจารย์ชานนท์และ คณะลูกศิษย์ จึงมีดาํ ริทจ่ี ะสร้าง อุโบสถแปดเหลีย่ ม2ชัน้ ในพืน้ ที4่ ไร่ เพือ่ ใช้เป็ นสถานทีป่ ระกอบพิธกี รรม ของสงฆ์และใช้เป็ นทีใ่ ห้เหล่าฆราวาสญาติโยมได้เข้าปฏิบตั ธิ รรมกัน ส่วนยอดหลังคา ก็จะใช้เป็ นที่ ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุและพระธาตุของครูบาอาจารย์ผปู้ ฏิบตั ดิ ปี ฏิบตั ชิ อบต่างๆ ซึง่ ต้องใช้ งบประมาณพอสมควร ถึงแม้จะมีการวางศิลาฤกษ์โดยหลวงพ่อสุรศักดิ ์ พนฺ ธมตฺโต(หลวงปูจ่ อ่ื ) ได้เมตตามาเป็ นประธาน แต่เนื่องด้วยพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท ท่านมีปณิธานดังนี้ “การสร้างวัดนัน้ เป็ นสิ ง่ สําคัญก็จริง แต่เป็ นได้เพียงมรดกโลก แต่การสร้างคนให้เป็ นพระนัน้ สําคัญยิ ง่ กว่า เพราะ จะได้มรดกธรรม เป็ นธรรมทายาท นําพาพระพุทธศาสนาให้เจริญต่อไป” ด้วยปณิธานดังกล่าวจึงทําให้ไม่มกี ารเรีย่ ไร ใดๆให้ญาติโยมต้องลําบากใจ และด้วยเหตุน้จี งึ ทําให้ไม่มคี วามคืบหน้าใดๆของการสร้างพระอุโบสถ เช่นกัน ด้วยเหตุดงั กล่าว ผม(ครูSup’k)จึงรับปวารณาเป็ นเจ้าภาพในการวางฐานรากของพระอุโบสถนี้ เพือ่ ให้มกี ารได้เริ่มต้นก่อสร้างกันสักที แต่ทว่าตัวของผมเอง ก็ไม่นยิ มในการเรีย่ ไรด้วยวิธกี ารใดๆ เช่นกัน จึงคงทําสําเร็จได้แต่ฐานรากเท่าทีผ่ มได้ปวารณาไว้เท่านัน้


ดังนัน้ เพือ่ การระดมทุนก่อสร้าง ให้สว่ นอื่นๆเช่น เสา ผนัง ฝ้า กระเบือ้ ง บันได ฯ ของพระอุโบสถ สามารถสําเร็จลงได้ ผมจึงได้รเิ ริม่ ทําหนังสือธรรมะเล่มนี้ขน้ึ เพื่อแจกจ่ายไปยังบุคคลต่างๆ โดยหวังว่า ท่านผูใ้ ดทีไ่ ด้อา่ นและศึกษาหนังสือเล่มนี้แล้วเกิดได้รบั ประโยชน์จากธรรมะของพระพุทธเจ้า ผ่านคําสัง่ สอนของพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท แล้วมีจติ ศรัทธาร่วมกันสร้างพระอุโบสถแปดเหลีย่ มนี้ ก็จะได้ เป็ นการได้ทาํ บุญใหญ่ให้กบั พระพุทธศาสนา อันจะเป็ นเสบียงบุญให้กบั ตัวท่านเองและครอบครัวตลอด การเดินทางทีย่ าวนานในสังสารวัฏนี้ อีกทัง้ ยังเป็ นการช่วยร่นระยะเวลาการก่อสร้างให้เสร็จเร็วขึน้ ด้วย

รูปวันพิธวี างศิลาฤกษ์เพือ่ เตรียมก่อนสร้างพระอุโบสถ แต่ทว่าก็ยงั คงได้แค่วางศิลาฤกษ์เท่านัน้

หากท่านผูใ้ ดสนใจทีจ่ ะร่วมบุญสร้างพระอุโบสถในครัง้ นี้ ก็สามารถบริจาคได้ โดยโอนเงินเข้า บัญชีชอ่ื “พระธรรมวิทย์ ชยนนฺ โท (กองทุนเพือ่ สร้างพระอุโบสถแปดเหลีย่ มศุภรัตนะสิรมิ หาปญั โญ)” ธนาคารกสิกรไทย สาขาบ่อทอง เลขทีบ่ ญ ั ชี 287 – 2 – 56863 – 0 และ FAX ใบสลิปมาได้ทS่ี up’k Center เบอร์(02)235-3655 เพือ่ รับใบอนุโมทนาบัตร หมายเหตุ : พระธรรมวิทย์ ชยนนฺ โท คือ พระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท (ชือ่ นี้เป็ นชือ่ ทีใ่ ช้ตามบัตรประชาชนเพือ่ เปิดบัญชี)

โดยท่านสามารถโทรสอบถามความคืบหน้าในการก่อสร้าง ได้ทเ่ี จ้าหน้าทีข่ องโรงเรียนกวดวิชา Sup’k Center เบอร์โทร (086)847-7100 หรือ (02)636-8605 ท่านสามารถโทรสอบถามข่าวคราวได้วา่ ตอนนี้มเี งินทุนในการก่อสร้างพระอุโบสถเพียงพอแล้วหรือยัง หรือสามารถติดตามข่าวได้ทางเว็บไซต์ของ โรงเรียน www.supkcenter.com อีกช่องทางหนึ่ง คือ สามารถติดต่อสอบถามกับทางวัดปา่ เจริญธรรมได้โดยตรงทีส่ ถานทีจ่ ริง ตามแผนที่ หรือ ติดต่อพระอาจารย์ชานนท์ ชยนนฺ โท ทีเ่ บอร์ (081)294 - 0630 ติดต่อโยมอุปฐากชื่อคุณแม่ชเี อ๋ ทีเ่ บอร์ (086)152 – 6401 แฟกซ์ของวัดปา่ เจริญธรรม ทีเ่ บอร์ 038-100-304 www.watpachareongtham-chonburi.com





Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.