ประวัติหลวงปู่ดู่

Page 1

ประวัตหิ ลวงพอดู พรหมปญโญ

ชาติภมู ิ พระคุณเจาหลวงพอดู พรหมปญโญ มีชาติกำเนิดใน สกุล หนูศรี เดิมชือ่ ดู เกิดเมือ่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๔๗ ตรงกับวันศุกรขนึ้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ปมะโรง ซึง่ ตรงกับ วันวิสาขบูชา ณ บานขาวเมา ตำบลขาวเมา อำเภออุทยั จังหวัด พระนครศรีอยุธยา โยมบิดาชือ่ พุด โยมมารดาชือ่ พมุ ทานมีพนี่ อ งรวม มารดาเดียวกัน ๓ คน ทานเปนบุตรคนสุดทาย มีโยมพีส่ าวอีก ๒ คน มีชอื่ ตามลำดับดังนี้ ๑. พีส่ าวชือ่ ทองคำ สุนมิ ติ ร ๒. พีส่ าวชือ่ สมุ พึง่ กุศล ๓. ตัวทาน

ปฐมวัยและการศึกษาเบือ้ งตน ชีวติ ในวัยเด็กของทานดูจะขาดความอบอนุ อยมู าก ดวย กำพราบิดามารดาตัง้ แตเยาววยั นายยวง พึง่ กุศล ซึง่ มีศกั ดิเ์ ปน หลานของทาน ไดเลาใหฟง วา บิดามารดาของทานมีอาชีพทำนา โดยนอกฤดูทำนาจะมีอาชีพทำขนมไขมงคลขาย เมือ่ ตอนทีท่ า น 1


ยังเปนเด็กทารก มีเหตุการณสำคัญทีค่ วรบันทึกไว คือในคืนวันหนึง่ ซึง่ เปนหนาน้ำ ขณะทีบ่ ดิ ามารดาของทานกำลังทอด “ขนมมงคล” อยนู นั้ ทานซึง่ ถูกวางอยบู นเบาะนอกชานคนเดียว ไมทราบดวย เหตุใดตัวทานไดกลิ้งตกลงไปในน้ำทั้งคนทั้งเบาะ แตเปนที่ อัศจรรยยิ่งที่ตัวทานไมจมน้ำ กลับลอยน้ำจนไปติดอยูขางรั้ว กระทัง่ สุนขั เลีย้ งทีบ่ า นทานมาเห็นเขาจึงไดเหาพรอมกับวิง่ กลับไป กลับมาระหวางตัวทานกับมารดาทาน เมือ่ มารดาทานเดินตาม สุนขั เลีย้ งออกมาจึงไดพบทานลอยน้ำติดอยทู ขี่ า งรัว้ ซึง่ เหตุการณ ครัง้ นัน้ ทำใหมารดาทานเชือ่ มัน่ วาทานจะตองเปนผมู บี ญ ุ วาสนา มากมาเกิด มารดาของทานไดถงึ แกกรรมตัง้ แตทา นยังเปนทารกอยู ตอมาบิดาของทานก็จากไปอีก ขณะทานมีอายุไดเพียง ๔ ขวบ เทานัน้ ทานจึงตองกำพราบิดามารดาตัง้ แตยงั เปนเด็กเล็กจำความ ไมได ทานไดอาศัยอยกู บั ยายโดยมีโยมพีส่ าวทีช่ อื่ สมุ เปนผดู แู ล เอาใจใสและทานก็ไดมีโอกาสศึกษาเลาเรียนที่วัดกลางคลอง สระบัว วัดประดทู รงธรรม และวัดนิเวศนธรรมประวัติ

สเู พศพรหมจรรย เมือ่ ทานอายุได ๒๑ ป ก็ไดเขาพิธบี รรพชาอุปสมบท เมือ่ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๖๘ ตรงกับวันอาทิตยแรม ๔ ค่ำ เดือน ๖ ณ วัดสะแก ตำบลธนู อำเภออุทยั จังหวัดพระ นครศรีอยุธยา โดยมีหลวงพอกลัน่ เจาอาวาสวัดพระญาติการาม 2


เปนพระอุปช ฌาย มีหลวงพอแด เจาอาวาสวัดสะแกขณะนัน้ เปน พระกรรมวาจาจารย และมีหลวงพอฉาย วัดกลางคลองสระบัว เปนพระอนุสาวนาจารย ไดรบั ฉายาวา “พรหมปญโญ” ในพรรษาแรกๆ นัน้ ทานไดศกึ ษาพระปริยตั ธิ รรมทีว่ ดั ประดทู รงธรรม ซึง่ ในสมัยนัน้ เรียกวาวัดประดโู รงธรรม โดยมี พระอาจารยผสู อน คือ ทานเจาคุณเนือ่ ง พระครูชม และหลวงพอ รอด (เสือ) เปนตน ในดานการปฏิบตั พิ ระกรรมฐานนัน้ ทานก็ไดศกึ ษากับ หลวงพอกลัน่ ผเู ปนอุปช ฌาย และหลวงพอเภา ศิษยองคสำคัญ ของหลวงพอกลัน่ ซึง่ มีศกั ดิเ์ ปนอาของทาน เมือ่ ทานบวชไดพรรษา ทีส่ องประมาณปลายป พ.ศ. ๒๔๖๙ หลวงพอกลัน่ ก็มรณภาพ ทานจึงไดศกึ ษาหาความรจู ากหลวงพอเภาเปนสำคัญ นอกจากนี้ ทานยังไดศกึ ษาจากตำรับตำราทีม่ อี ยู จากชาดกบาง จากธรรมบท บาง และดวยความทีท่ า นเปนผรู กั การศึกษาคนควา ทานจึงไดเดิน ทางไปศึกษาหาความรเู พิม่ เติมจากพระอาจารยอกี หลายทานที่ จังหวัดสุพรรณบุรแี ละสระบุรี

ประสบการณธดุ งค ประมาณเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๖ ออกพรรษาแลว ทานก็เริ่มออกเดินธุดงคจากจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมี เปาหมายทีป่ า เขาทางแถบจังหวัดกาญจนบุรี และแวะนมัสการ สถานทีส่ ำคัญทางพระพุทธศาสนา เชน พระพุทธฉายและรอยพระ 3


พุทธบาท จังหวัดสระบุรี จากนั้นทานก็เดินธุดงคไปยังจังหวัด สิงหบรุ ี สุพรรณบุรี จนถึงจังหวัดกาญจนบุรี จึงเขาพักปฏิบตั ติ าม ปาเขาและถ้ำตางๆ หลวงพอดู ทานเคยเลาใหฟง วาเริม่ แรกทีท่ า นขวนขวาย ศึกษาและปฏิบตั นิ นั้ แทจริงมิไดมงุ เนนมรรคผลนิพพาน หากแต ตองการเรียนรใู หไดวชิ าตาง ๆ เปนตนวา วิชาคงกระพันชาตรี ก็เพือ่ ทีจ่ ะสึกออกไปแกแคนพวกโจรทีป่ ลนบานโยมพอโยมแมทา นถึง ๒ ครัง้ แตเดชะบุญ แมทา นจะสำเร็จวิชาตาง ๆ ตามทีต่ งั้ ใจ ทานกลับ ไดคดิ นึกสลดสังเวชใจตัวเองทีป่ ลอยใหอารมณอาฆาตแคนทำราย จิตใจตนเองอยูเปนเวลานับสิบๆ ป ในที่สุด ทานก็ไดตั้งจิต อโหสิกรรมใหแกโจรเหลานัน้ แลวมงุ ดำเนินจิตตามทางแหงศีล สมาธิ และปญญา อยางแทจริง ในระหวางทีท่ า นเดินธุดงคอยนู นั้ ทานเคยเลาใหฟง วาได พบฝูงควายปากำลังเดินเขามาทางทาน ทานตัง้ สติอยคู รหู นึง่ จึง ตัดสินใจอยางเด็ดเดีย่ วหยุดยืนภาวนานิง่ อยู ฝูงควายปาทีม่ งุ ตรง มาทางทานนัน้ พอเขามาใกลจะถึงตัวทาน ก็กลับเดินทักษิณารอบ ทานแลวก็จากไป บางแหงทีท่ า นเดินธุดงคไปถึง ทานมักพบกับ พวกนักเลงทีช่ อบลองของ ครัง้ หนึง่ มีพวกนักเลงเอาปนมายิง่ ใส ทานขณะนัง่ ภาวนาอยใู นกลด ทานเลาใหฟง วา พวกนีไ้ มเคารพพระ สนใจแต “ของดี” เมือ่ ยิงปนไมออก จึงพากันมาแสดงตัวดวยความ นอบนอม พรอมกับออนวอนขอ “ของดี” ทำใหทา นตองออกเดิน ธุดงคหนีไปทางอืน่ 4


การปฏิบตั ขิ องทานในชวงธุดงคอยนู นั้ เปนไปอยางเอา จริงเอาจัง ยอมมอบกายถวายชีวติ ไวกบั ปาเขา แตสขุ ภาพธาตุขนั ธ ของทานก็ไมเปนใจเสียเลย บอยครัง้ ทีท่ า นตองเอาผามาคาดที่ หนาผากเพื่อบรรเทาอาการปวดศีรษะ อีกทั้งก็มีอาการเทาชา รุนแรงขึน้ เรือ่ ยๆ แมกระนัน้ ทานก็ยงั ไมละความเพียร สมดังทีท่ า น เคยสอนลูกศิษยวา ““นิพพานอยฟ ู ากตาย”” ในการประพฤติ ปฏิบตั นิ นั้ จำตองยอมมอบกายถวายชีวติ ลงไปดังทีท่ า นเคยกลาว ไววา ““ถามันไมดหี รือไมไดพบความจริงก็ใหมนั ตาย ถามันไม ตายก็ใหมนั ดี หรือไดพบกับความจริง” ดังนัน้ อุปสรรคตางๆ จึงกลับเปนปจจัยชวยใหจติ ใจของ ผปู ฏิบตั แิ ข็งแกรงขึน้ เปนลำดับ

นิมติ ธรรม อยมู าวันหนึง่ เขาใจวากอนป พ.ศ. ๒๕๐๐ เล็กนอย หลังจากหลวงพอดสู วดมนตทำวัตรเย็น และปฏิบตั กิ จิ สวนตัวเสร็จ เรียบรอยแลว ทานก็จำวัด เกิดนิมติ ไปวาไดฉนั ดาวทีม่ แี สงสวาง มาก ๓ ดวง ในขณะทีก่ ำลังฉันอยนู นั้ ก็รสู กึ วากรอบๆ ดี ก็เลย ฉันเขาไปทัง้ หมด แลวจึงตกใจตืน่ เมือ่ ทานพิจารณาใครครวญถึง นิมติ ธรรมทีเ่ กิดขึน้ ก็เกิดความเขาใจขึน้ วาแกว ๓ ดวงนัน้ ก็คอื พระไตรสรณาคมนนนั่ เอง พอทานวา “พุทธัง สรณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ, สังฆัง สรณัง คัจฉามิ” ก็เกิดอัศจรรย ขึน้ ในจิตทาน พรอมกับอาการปตอิ ยางทวมทน ทัง้ เกิดความรสู กึ 5


ลึกซึง้ และมัน่ ใจวา พระไตรสรณาคมนนแี้ หละเปนรากแกวของ พระพุทธศาสนา ทานจึงกำหนดเอามาเปนคำบริกรรมภาวนา ตัง้ แตนนั้ เปนตนมา

เนนหนักทีก่ ารปฏิบตั ิ หลวงพอดทู า นใหความสำคัญอยางมากในเรือ่ งของการ ปฏิบตั สิ มาธิภาวนา ทานวา ““ถาไมเอา (ปฏิบตั )ิ เปนเถาเสีย ดีกวา”” ในสมัยกอนเมือ่ ตอนทีศ่ าลาปฏิบตั ธิ รรมหนากุฏทิ า นยัง สรางไมเสร็จนัน้ ทานก็เมตตาใหใชหอ งสวนตัวทีท่ า นใชจำวัด เปน ทีร่ บั รองสานุศษิ ยและผสู นใจไดใชเปนทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ซึง่ นับเปน เมตตาอยางสูง สำหรับผทู ไี่ ปกราบนมัสการทานบอยๆ หรือมีโอกาสได ฟงทานสนทนาธรรม ก็คงจะไดเห็นกุศโลบายในการสอนของทาน ทีจ่ ะโนมนาวผฟู ง ใหวกเขาสกู ารปรับปรุงแกไขตนเอง เชน ครัง้ หนึง่ มีลกู ศิษยวพิ ากษวจิ ารณคนนัน้ คนนีใ้ หทา นฟงในเชิงวากลาววาเปน ตนเหตุของปญหาและความยงุ ยาก แทนทีท่ า นจะเออออไปตาม อันจะทำใหเรือ่ งยิง่ บานปลายออกไป ทานกลับปรามวา “เรือ่ งของ คนอืน่ เราไปแกเขาไมได ทีแ่ กไดคอื ตัวเรา แกขา งนอกเปน เรือ่ งโลก แตแกทตี่ วั เรานีเ่ ปนเรือ่ งธรรม”” คำสอนของหลวงพอดจู งึ สรุปลงทีก่ ารใชชวี ติ อยางคนไม ประมาท นัน่ หมายถึงวาสิง่ ทีจ่ ะตองเปนไปพรอมๆ กัน ก็คอื ความ

6


พากเพียรทีล่ งสภู าคปฏิบตั ิ ในมรรควิถที เี่ ปนสาระแหงชีวติ ของ ผไู มประมาท ดังทีท่ า นพูดย้ำเสมอวา หมัน่ ทำเขาไวๆ “

ออนนอมถอมตน นอกจากความอดทน อดกลัน้ ยิง่ แลว หลวงพอดยู งั เปน แบบอยางของผไู มถอื ตัว วางตัวเสมอตนเสมอปลาย ไมยกตนขม ผอู นื่ เมือ่ ครัง้ ทีส่ มเด็จพระพุฒาจารย (เสงีย่ ม) วัดสุทศั นเทพวรา ราม หรือทีเ่ ราเรียกกันวา “ทานเจาคุณเสงีย่ ม” ซึง่ มีอายุพรรษา มากกวาหลวงพอดู ๑ พรรษามานมัสการหลวงพอโดยยกยองเปน ครูเปนอาจารย แตเมือ่ ทานเจาคุณเสงีย่ มกราบหลวงพอเสร็จแลว หลวงพอทานก็กราบตอบ เรียกวาตางองคตา งกราบซึง่ กันและกัน เปนภาพที่พบเห็นไดยากเหลือเกินในโลกที่ผูคนทั้งหลายมีแต จะเติบโตทางดานทิฏฐิมานะ ความถือตัว อวดดี อวดเดน ยก ตนขมทาน ปลอยใหกเิ ลสตัวหลงออกเรีย่ ราด เทีย่ วประกาศให ผคู นทัง้ หลายไดรวู า ตนเกง โดยเจาตัวก็ไมรวู า ถูกกิเลสขึน้ ขีค่ อ พาบงการใหเปนไป หลวงพอดูไมเคยวิพากษวิจารณการปฏิบัติธรรมของ สำนักไหน ๆ ในเชิงลบหลหู รือเปรียบเทียบดูถกู ดูหมิน่ ทานวา “คนดีนะ เขาไมตใี คร”” ซึง่ ลูกศิษยทงั้ หลายไดถอื เปนแบบอยาง หลวงพอดเู ปนพระพูดนอย ไมมากโวหาร ทานจะพูดย้ำ อยูแตในเรื่องของการปฏิบัติธรรมและความไมประมาท เชน “ของดีอยทู ตี่ วั เรา หมัน่ ทำ (ปฏิบตั )ิ เขาไว” “ใหหมัน่ ดูจติ 7


รักษาจิต” “อยาลืมตัวตาย” และ “ใหหมัน่ พิจารณาอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” เปนตน

อุบายธรรม หลวงพอดเู ปนผทู มี่ อี บุ ายธรรมลึกซึง้ สามารถขัดเกลา จิตใจคนอยางคอยเปนคอยไป มิไดเรงรัดเอาผล เชนครัง้ หนึง่ มี นักเลงเหลาติดตามเพือ่ นซึง่ เปนลูกศิษยมากราบนมัสการทาน สนทนากันไดสกั พักหนึง่ เพือ่ นทีเ่ ปนลูกศิษยกช็ กั ชวนเพือ่ นนักเลง เหลาใหสมาทานศีล ๕ พรอมกับฝกหัดปฏิบตั สิ มาธิภาวนา นักเลง เหลาผนู นั้ ก็แยงวา “จะมาใหผมสมาทานศีลและปฏิบตั ไิ ดยงั ไง ก็ผมยังกินเหลาเมายาอยนู คี่ รับ” หลวงพอดทู า นก็ตอบวา “เอ็ง จะกินก็กนิ ไปซิ ขาไมวา แตใหเอ็งปฏิบตั ใิ หขา วันละ ๕ นาที ก็พอ” นักเลงเหลาผนู นั้ เห็นวานัง่ สมาธิแควนั ละ ๕ นาที ไมใช เรือ่ งยากเย็นอะไร จึงไดตอบปากรับคำจากหลวงพอ ดวยความทีเ่ ปนคนนิสยั ทำอะไรทำจริง ซือ่ สัตยตอ ตัวเอง ทำใหเขาสามารถปฏิบตั ไิ ดสม่ำเสมอเรือ่ ยมามิไดขาดแมแตวนั เดียว บางครัง้ ถึงขนาดงดไปกินเหลากับเพือ่ น ๆ เพราะไดเวลาปฏิบตั ิ จิต ของเขาเริม่ เสพคนุ กับความสุขสงบจากการทีจ่ ติ เปนสมาธิ ไมชา ไมนานเขาก็สามารถเลิกเหลาไดโดยไมรูตัวดวยอุบายธรรมที่ นอมนำมาจากหลวงพอ ตอมาเขาไดมโี อกาสมานมัสการทานอีก ครัง้ ทีน่ หี้ ลวงพอดทู า นใหโอวาทวา “ทีแ่ กปฏิบตั อิ ยู ใหรวู า ไม ใชเพือ่ ขา แตเพือ่ ตัวแกเอง” คำพูดของหลวงพอทำใหเขาเขา 8


ใจอะไรมากขึน้ ศรัทธา และความเพียรตอการปฏิบตั ิ ก็มมี าก ขึน้ ตามลำดับ ถัดจากนัน้ ไมกปี่  เขาผทู อี่ ดีตเคยเปนนักเลงเหลา ก็ละเพศฆราวาสเขาสเู พศบรรพชิตตัง้ ใจปฏิบตั ธิ รรมเรือ่ ยมา อีกครัง้ หนึง่ มีชาวบานหาปลามานมัสการทาน และกอน กลับ ทานก็ใหเขาสมาทานศีล ๕ เขาเกิดตะขิดตะขวงใจกราบ เรียนทานวา “ผมไมกลาสมาทานศีล ๕ เพราะรวู า ประเดีย๋ วก็ตอ ง ไปจับปลา จับกงุ มันเปนอาชีพของผมครับ” หลวงพอตอบเขา ดวยความเมตตาวา “แกจะรเู หรอวา แกจะตายเมือ่ ไหร ไม แนวา แกเดินออกไปจากกุฏขิ า แลว อาจถูกงูกดั ตายเสียกลาง ทางกอนไปจับปลา จับกงุ ก็ได เพราะฉะนัน้ เมือ่ ตอนนีแ้ ก ยังไมไดทำบาปกรรมอะไร ยังไงๆ ก็ใหมศี ลี ไวกอ น ถึงจะมี ศีลขาดก็ยงั ดีกวาไมมศี ลี ” หลวงพอดทู า นไมเพียงพร่ำสอนใหบรรดาศิษยทงั้ หลาย เจริญบำเพ็ญคุณงามความดีเทานัน้ หากแตยงั เนนย้ำใหเห็นความ สำคัญและระมัดระวังในการรักษาไวซงึ่ คุณงามความดีนนั้ ๆ ให คงอยู รวมทัง้ เจริญงอกงามขึน้ เรือ่ ยๆ ทานมักจะพูดเตือนเสมอๆ วาเมือ่ ปลูกตนธรรมดวยดีแลวก็ตอ งคอยหมัน่ ระวังอยาใหหนอน และแมลง ไดแก ความโลภ ความโกรธ และความหลง มากัดกิน ทำลายตนธรรมทีอ่ ตุ สาหปลูกขึน้ และอีกครัง้ หนึง่ ทีท่ า นแสดงถึง แบบอยางของความเปนครูอาจารยที่ปราศจากทิฏฐิมานะและ เปย มดวยอุบายธรรม ก็คอื ครัง้ ทีม่ นี กั ศึกษามหาวิทยาลัยธรรม

9


ศาสตร ๒ คน ซึง่ เปนลูกศิษยของทาน มากราบลาพรอมกับ เรียนใหทา นทราบวาจะเดินทางไปพักคาง เพือ่ ปฏิบตั ธิ รรมกับ ทานพระอาจารยมหาบัว ญาณสัมปนโน วัดปาบานตาด จังหวัด อุดรธานี หลวงพอดทู า นฟงแลวก็ยกมือพนมขึน้ ไหวไปทางขางๆ พรอมกับพูดวา “ขาโมทนากับพวกแกดวย ตัวขาไมมโี อกาส...” ไมมเี ลยทีท่ า นจะหามปรามหรือแสดงอาการทีเ่ รียกวาหวงลูกศิษย ตรงกันขามมีแตจะสงเสริม สนับสนุน ใหกำลังใจเพือ่ ใหลกู ศิษย ของทานขวนขวายในการปฏิบตั ธิ รรมยิง่ ๆ ขึน้ ไป แตถาเปนกรณีที่มีลูกศิษยมาเรียนใหทานทราบถึงครู อาจารยนนั้ องคนี้ ในลักษณะตืน่ ครูตนื่ อาจารย ทานก็จะปราม เพือ่ วกเขาสเู จาตัวโดยพูดเตือนสติวา “ครูอาจารยดๆ ี แมจะมี อยมู าก แตสำคัญทีต่ วั แกตองปฏิบตั ใิ หจริง สอนตัวเองใหมาก นัน่ แหละจึงจะดี” หลวงพอดทู า นมีแนวทางการสอนธรรมะทีเ่ รียบงายฟง งาย ชวนใหตดิ ตามฟง ทานนำเอาสิง่ ทีเ่ ขาใจยากมาแสดงใหเขา ใจงาย เพราะทานจะยกอุปมาอุปไมยประกอบในการสอนธรรมะ จึงทำใหผูฟงเห็นภาพและเกิดความเขาใจในธรรมที่ทานนำมา แสดง แมวา ทานมักจะออกตัววาทานเปนพระบานนอกทีไ่ มมคี วาม รอู ะไร แตสำหรับบรรดาศิษยทงั้ หลาย คงไมอาจปฏิเสธวาหลาย ครัง้ ทีท่ า นสามารถพูดแทงเขาไปถึงกนบึง้ หัวใจของผฟู ง ทีเดียว 10


อีกประการหนึง่ ดวยความทีท่ า นมีรปู รางลักษณะทีเ่ ปน ทีน่ า เคารพเลือ่ มใส เมือ่ ใครไดมาพบเห็นทานดวยตนเอง และถา ยิง่ ไดสนทนาธรรมกับทานโดยตรง ก็จะยิง่ เพิม่ ความเคารพเลือ่ มใส และศรัทธาในตัวทานมากขึน้ เปนทวีคณ ู หลวงพอดทู า นพูดถึงการประพฤติปฏิบตั ิ ของคนสมัย นีว้ า “คนเราทุกวันนี้ โลกเทาแผนดิน ธรรมเทาปลายเข็ม เรา มัวพากันยงุ อยกู บั โลกจนเหมือนลิงติดตัง เรือ่ งของโลก เรือ่ ง เละๆ เรือ่ งไมมที สี่ นิ้ สุด เราไปแกไขเขาไมไดจะตองแกไขทีต่ วั เราเอง ตนของตนเตือนตนดวยตนเอง” ทานไดอบรมสั่งสอนศิษย โดยใหพยายามถือเอา เหตุการณตา งๆ ทีเ่ กิดขึน้ มาเปนครูสอนตนเองเสมอ เชน ในหมู คณะ หากมีผใู ดประพฤติปฏิบตั ดิ ี เจริญในธรรมปฏิบตั ิ ทานก็กลาว ชมและใหถอื เปนแบบอยาง แตถา มีผปู ระพฤติผดิ ถูกทานตำหนิ ติเตียน ก็ใหนอ มเอาเหตุการณนนั้ ๆ มาสอนตนทุกครัง้ ไป ทาน ไมไดชมผทู ำดีจนหลงลืมตน และทานไมไดตเิ ตียนผทู ำผิดจนหมด กำลังใจ แตถอื เอาเหตุการณๆ เปนเสมือนครูทเี่ ปนความจริงแสดง เหตุผลในเห็นธรรมทีแ่ ทจริง การสอนของทานก็พจิ ารณาดูบคุ คลดวย เชน คนบาง คนพูดใหฟง เพียงอยางเดียว ไมเขาใจ บางทีทา นก็ตอ งทำใหเกิด ความกลัว เกิดความละอายบางถึงจะหยุด เลิกละการกระทำทีไ่ ม ดีนนั้ ๆ ได หรือบางคนเปนผมู อี ปุ นิสยั เบาบางอยแู ลว ทานก็สอน 11


ธรรมดา การสอนธรรมะของทาน บางทีกส็ อนใหกลา บางทีกส็ อน ใหกลัว ทีว่ า สอนใหกลานัน้ คือ ใหกลาในการทำความดี กลาใน การประพฤติปฏิบตั เิ พือ่ ถอดถอนกิเลสออกจากใจไมใหตกเปนทาส ของกิเลสอยรู ่ำไป สวนทีส่ อนใหกลัวนัน้ ทานใหกลัวในการทำ ความชัว่ ผิดศีลธรรม เปนโทษ ทำแลวผอู นื่ เดือดรอน บางทีทา น ก็สอนใหเชือ่ คือใหเชือ่ มัน่ ในคุณพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เชือ่ ในเรือ่ งกรรม อยางทีท่ า นเคยกลาววา “เชือ่ ไหมละ ถาเราเชือ่ จริง ทำจริง มันก็เปนของจริง ของจริงมีอยู แตเรามันไมเชือ่ จริง จึงไมเห็นของจริง” หลวงพอดูทานสอนใหมีปฏิปทาสม่ำเสมอ ทานวา “ขยันก็ใหทำ ขีเ้ กียจก็ใหทำ ถาวันไหนยังกินขาวอยกู ต็ อ งทำ วันไหนเลิกกินขาวแลว นัน่ แหละ จึงคอยเลิกทำ” การสอนของท า นนั้ น มิ ไ ด เ น น แต เ พี ย งการนั่ ง หลั บ ตาภาวนา หากแตหมายรวมไปถึงการกำหนดดู กำหนดรู และ พิจารณาสิง่ ตาง ๆ ในความเปนของไมเทีย่ ง เปนทุกข เปนอนัตตา โดยเฉพาะอยางยิง่ ทานชีใ้ หเห็นถึงสังขารรางกายทีม่ นั เกิดมันตาย อยตู ลอดเวลา ทานวา เราวันนี้ กับเราเมือ่ ตอนเปนเด็กมันก็ไม เหมือนเกา เราขณะนีก้ บั เราเมือ่ วานก็ไมเหมือนเกา จึงวาเราเมือ่ ตอนเปนเด็ก หรือเราเมือ่ วานมันไดตายไปแลว เรียกวารางกาย เรามันเกิด - ตาย อยทู กุ ลมหายใจเขาออก มันเกิด - ตาย อยู ทุกขณะจิต ทานสอนใหบรรดาศิษยเห็นจริงถึงความสำคัญของ ความทุกขยากวาเปนสิง่ มีคณ ุ คาในโลก 12


ทานจึงพูดบอยครัง้ วา การทีเ่ ราประสบทุกข นัน่ แสดงวา เรามาถูกทางแลว เพราะอาศัยทุกขนนั่ แหละ จึงทำใหเราเกิด ปญญาขึน้ ได

ใชชวี ติ อยางผรู กั สันโดษและเรียบงาย หลวงพอดทู า นยังเปนแบบอยางของผมู กั นอยสันโดษใช ชีวติ เรียบงาย ไมนยิ มความหรูหราฟมุ เฟอย แมแตการสรงน้ำ ทาน ก็ยงั ไมเคยใชสบเู ลย แตกน็ า อัศจรรยเมือ่ ไดทราบจากพระอุปฏ ฐาก วา ไมพบวาทานมีกลิน่ ตัว แมในหองทีท่ า นจำวัด มีผูปวารณาตัวจะถวายเครื่องใชและสิ่งอำนวยความ สะดวกตางๆ ใหกบั ทาน ซึง่ สวนใหญทา นจะปฏิเสธ คงรับไวบา ง เทาทีเ่ ห็นวาไมเกินเลยอันจะเสียสมณะสารูป และใชสอยพอใหผู ถวายไดเกิดความปลืม้ ปตทิ ไี่ ดถวายแกทา น ซึง่ ในภายหลังทาน ก็มกั ยกใหเปนของสงฆสว นรวม เชนเดียวกับขาวของตางๆ ทีม่ ี ผมู าถวายเปนสังฆทานโดยผานทาน และเมือ่ ถึงเวลาเหมาะควร ทานก็จะระบาย โดยจัดสรรไปใหวดั ตางๆ ทีอ่ ยใู นชนบทและยัง ขาดแคลนอยู สิง่ ทีท่ า นถือปฏิบตั สิ ม่ำเสมอในเรือ่ งลาภสักการะ ก็คอื การยกใหเปนของสงฆสว นรวม แมปจ จัยทีม่ ผี ถู วายใหกบั ทานเปน สวนตัวสำหรับคารักษาพยาบาล ทานก็สมทบเขาในกองทุน สำหรับจัดสรรไปในกิจสาธารณประโยชนตา งๆ ทัง้ โรงเรียนและ โรงพยาบาล 13


หลวงพอดู ทานไมมีอาการแหงความเปนผูอยากเดน อยากดังแมแตนอ ย ดังนัน้ แมทา นจะเปนเพียงพระบานนอกรูป หนึง่ ซึง่ ไมเคยออกจากวัดไปไหน ทัง้ ไมมกี ารศึกษาระดับสูงๆ ใน ทางโลก แตในความรสู กึ ของลูกศิษยทงั้ หลาย ทานเปนดัง่ พระ เถระผถู งึ พรอมดวยจริยวัตรอันงดงาม สงบ เรียบงาย เบิกบาน และ ถึงพรอมดวยธรรมวุฒทิ รี่ ถู ว นทัว่ ในวิชชาอันจะนำพาใหพน เกิด พน แก พนเจ็บ พนตาย ถึงฝง อันเกษม เปนทีฝ่ ากเปนฝากตายและ ฝากหัวใจของลูกศิษยทกุ คน ในเรือ่ งทรัพยสมบัตดิ งั้ เดิมของทาน โดยเฉพาะอยางยิง่ ทีน่ า ซึง่ มีอยปู ระมาณ ๓๐ ไร ทานก็ไดแบงใหกบั หลานๆ ของ ทาน ซึง่ ในจำนวนนี้ นายยวง พึง่ กุศล ผเู ปนบุตรของนางสมุ โยม พีส่ าวคนกลางทีเ่ คยเลีย้ งดูทา นมาตลอด ก็ไดรบั สวนแบงทีน่ าจาก ทานดวยจำนวน ๑๘ ไรเศษ แตดว ยความทีน่ ายยวง ผเู ปนหลาน ของทานนีไ้ มมที ายาท ไดคดิ ปรึกษานางถมยาผภู รรยาเห็นควรยก ใหเปนสาธารณประโยชน จึงยกที่ดินแปลงนี้ใหกับโรงเรียน วัดสะแก ซึง่ หลวงพอดทู า นก็โมทนาในกุศลเจตนาของคนทัง้ สอง

กุศโลบายในการสรางพระ หลวงพอดทู า นมิไดตงั้ ตัวเปนเกจิอาจารย การทีท่ า น สรางหรืออนุญาตใหสรางพระเครือ่ งหรือพระบูชา ก็เพราะเห็น ประโยชน เพราะบุคคลจำนวนมากยังขาดทีย่ ดึ เหนีย่ วทางจิตใจ ทานมิไดจำกัดศิษยอยเู ฉพาะกลมุ ใดกลมุ หนึง่ ดังนัน้ คณะศิษยของ 14


ทานจึงมีกวางขวางออกไป ทัง้ ทีใ่ ฝใจธรรมลวน ๆ หรือทีย่ งั ตอง อิงกับวัตถุมงคล ทานเคยพูดวา “ติดวัตถุมงคล ก็ยงั ดีกวาที่ จะใหไปติดวัตถุอปั มงคล” ทัง้ นีท้ า นยอมใชดลุ ยพินจิ พิจารณา ตามความเหมาะควรแกผทู ไี่ ปหาทาน แมวาหลวงพอดูจะรับรองในความศักดิ์สิทธิ์ของพระ เครือ่ งทีท่ า นอธิษฐานจิตให แตสงิ่ ทีท่ า นยกไวเหนือกวานัน้ ก็คอื การ ปฏิบตั ิ ดังจะเห็นไดจากคำพูดของทานวา “เอาของจริงดีกวา พุทธังฯ ธัมมังฯ สังฆังฯ สรณัง คัจฉามิ นีแ่ หละของแท” จากคำพูดนี้ จึงเสมือนเปนการยืนยันวาการปฏิบตั ภิ าวนา นีแ้ หละเปนทีส่ ดุ แหงเครือ่ งรางของขลัง เพราะคนบางคนแมแขวน พระทีผ่ ทู รงคุณวิเศษอธิษฐานจิตใหกต็ าม ก็ใชวา จะรอดปลอดภัย อยดู มี สี ขุ ไปทุกกรณี อยางไรเสียทุกคนไมอาจหลีกหนีวบิ ากกรรม ทีต่ นไดสรางไว ดังทีท่ า นไดกลาวไววา สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิท์ อี่ ยเู หนือสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ก็คอื กรรม ดังนัน้ จึงมีแต พระ “สติ” พระ “ปญญา” ทีฝ่ ก ฝนอบรม มาดีแลวเทานัน้ ทีจ่ ะชวยใหผปู ฏิบตั ริ เู ทาทันและพรอมทีจ่ ะเผชิญ กับปญหาและสิง่ กระทบตาง ๆ ทีเ่ ขามาในชีวติ อยางไมทกุ ขใจ ดุจ วาสิง่ เหลานัน้ เปนเสมือนฤดูกาลทีผ่ า นเขามาในชีวติ บางครัง้ รอน บางครัง้ หนาว ทุกสิง่ ทุกอยางลวนเปนไปตามธรรมดาของโลก พระเครือ่ งหรือพระบูชาตางๆ ทีท่ า นอธิษฐานปลุกเสกให แลวนัน้ ปรากฏผลแกผบู ชู าในดานตางๆ เชน แคลวคลาด ฯลฯ 15


นัน่ ก็เปนเพียงผลพลอยได ซึง่ เปนประโยชนทางโลกๆ แตประโยชน ทีท่ า นสรางมงุ หวังอยางแทจริงนัน้ ก็คอื ใชเปนเครือ่ งมือในการ ปฏิบตั ภิ าวนา มี พุทธานุสติกรรมฐาน เปนตน นอกจากนีแ้ ลว ผปู ฏิบตั ยิ งั ไดอาศัยพลังจิตทีท่ า นตัง้ ใจบรรจุไวในพระเครือ่ งชวย นอมนำและประคับประคองใหจติ รวมสงบไดเร็วขึน้ ตลอดถึงการ ใชเปนเครือ่ งเสริมกำลังใจและระงับความหวาดวิตกขณะปฏิบตั อิ กี อันถือเปนประโยชนทางธรรมซึง่ กอใหเกิดพัฒนาการทางจิตของ ผใู ช ไปสกู ารพึง่ พาตนเองไดในทีส่ ดุ จากทีเ่ บือ้ งตน เราไดอาศัย พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ และ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ คือยึดเอา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ จนจิตของเราเกิดศรัทธา โดยเฉพาะอยางยิง่ ทีเ่ ราเรียกกันวา ตถาคตโพธิสทั ธา คือเชือ่ ปญญาตรัสรขู องพระพุทธเจาขึน้ แลว เราก็ยอ มเกิดกำลังใจขึน้ วา พระพุทธองคเดิมก็เปนคนธรรมดาเชนเดียวกับเรา ความผิดพลาด พระองคกเ็ คยทรงทำมากอน แตดว ยความเพียร ประกอบกับพระ สติปญ  ญาทีท่ รงอบรมมาดีแลว จึงสามารถกาวขามวัฏฏะสงสาร สคู วามหลุดพน เปนการบุกเบิกทางทีเ่ คยรกชัฏใหพวกเราไดเดิน กัน ดังนัน้ เราซึง่ เปนมนุษยเชนเดียวกับพระองค ก็ยอ มทีจ่ ะมี ศักยภาพทีจ่ ะฝกฝนอบรมกาย วาจา ใจ ดวยตัวเราเองไดเชน เดียวกับทีพ่ ระองคทรงกระทำมา พูดอีกอยางหนึง่ ก็คอื กาย วาจา ใจ เปนสิง่ ทีฝ่ ก ฝนอบรมกันได ใชวา จะตองปลอยใหไหลไปตาม ยถากรรม 16


เมือ่ จิตเราเกิดศรัทธาดังทีก่ ลาวมานีแ้ ลว ก็มกี ารนอม นำเอาขอธรรมคำสอนตาง ๆ มาประพฤติปฏิบัติขัดเกลากิเลส ออกจากใจตน จิตใจของเราก็จะเลือ่ นชัน้ จากปุถชุ นทีห่ นาแนนดวย กิเลส ขึน้ สกู ลั ยาณชน และ อริยชน เปนลำดับ เมือ่ เปนดังนีแ้ ลว ในทีส่ ดุ เราก็ยอ มเขาถึงทีพ่ งึ่ คือตัวเราเอง อันเปนทีพ่ งึ่ ทีแ่ ทจริง เพราะกาย วาจา ใจ ทีไ่ ดผา นขัน้ ตอนการฝกฝนอบรมโดยการ เจริญศีล สมาธิ และปญญาแลว ยอมกลายเปนกายสุจริต วาจา สุจริต และมโนสุจริต กระทำสิง่ ใด พูดสิง่ ใด คิดสิง่ ใด ก็ยอ มหา โทษมิได ถึงเวลานัน้ แมพระเครือ่ งไมมี ก็ไมอาจทำใหเราเกิดความ หวัน่ ไหว หวาดกลัว ขึน้ ไดเลย

เปย มดวยเมตตา นึกถึงสมัยพุทธกาล เมือ่ พระพุทธองคทรงประชวรหนัก ครั้งสุดทายแหงการปรินิพพาน ทานพระอานนทผูอุปฏฐาก พระองคอยตู ลอดเวลา ไดหา มมานพผหู นึง่ ซึง่ ขอรองจะขอเขาเฝา พระพุทธเจาขณะนัน้ พระอานนทคดั คานอยางเด็ดขาดไมใหเขาเฝา แมมานพ ขอรองถึง ๓ ครัง้ ทานก็ไมยอม จนกระทัง่ เสียงขอกับเสียงขัด ดังถึงพระพุทธองค พระพุทธองคจงึ ตรัสวา “อานนท อยาหาม มานพนัน้ เลย จงใหเขามาเดีย๋ วนี”้ เมือ่ ไดรบั อนุญาตแลว มานพ ก็เขาเฝาพระพุทธเจาไดฟง ธรรม บรรลุมรรคผลแลวขอบวชเปน พระสาวกองคสดุ ทายมีนามวา “พระสุภทั ทะ” 17


พระอานนททานทำหนาที่ของทานถูกตองแลว ไมมี ความผิดอันใดเลยแมแตนอ ย สวนทีพ่ ระพุทธเจาใหเขาเฝานัน้ เปน สวนพระมหากรุณาธิคณ ุ ของพระองคทที่ รงมีตอ สรรพสัตวทงั้ หลาย โดยไมมปี ระมาณ ยอมแผไพศาลไปทัว่ ทัง้ สามโลก พระสาวกรนุ หลังกระทัง่ ถึงพระเถระหรือครูบาอาจารยผสู งู อายุโดยทัว่ ไปทีม่ ี เมตตาสูง รวมทัง้ หลวงพอยอมเปนทีเ่ คารพนับถือของชนหมมู าก ทานก็อทุ ศิ ชีวติ เพือ่ กิจพระศาสนา ก็ไมคอ ยคำนึงถึงความชรา อาพาธของทาน เห็นวาผใู ดไดประโยชนจากการบูชาสักการะทาน ทานก็อำนวยประโยชนนนั้ แกเขา เมือ่ ครัง้ ทีห่ ลวงพออาพาธอยู ไดมลี กู ศิษยกราบเรียนทาน วา “รสู กึ เปนหวงหลวงพอ” ทานไดตอบศิษยผนู นั้ ดวยความเมตตา วา “หวงตัวแกเองเถอะ” อีกครัง้ ทีผ่ เู ขียนเคยเรียนหลวงพอวา “ขอใหหลวงพอพักผอนมากๆ” หลวงพอตอบทันทีวา “พักไมได มีคนเขามากันเยอะ แยะ บางทีกลางคืนเขาก็มากัน เราเหมือนนกตัวนำ เราเปน ครูเขานี่ ครู... เขาตีระฆังไดเวลาสอนแลวก็ตอ งสอน ไมสอน ไดยงั ไง” ชีวติ ของทานเกิดมาเพือ่ เกือ้ กูลธรรมแกผอู นื่ แมจะออน เพลียเมือ่ ยลาสักเพียงใด ทานก็ไมแสดงออกใหใครตองรสู กึ วิตก กังวลหรือลำบากใจแตอยางใดเลย เพราะอาศัยความเมตตาเปน ทีต่ งั้ จึงอาจกลาวไดวา ปฏิปทาของทานเปนดัง่ พระโพธิสตั วหรือ 18


หนอพุทธภูมิ ซึง่ เห็นประโยชนของผอู นื่ มากกวาประโยชนสว นตน ดังเชน พระโพธิสตั วหรือหนอพุทธภูมอิ กี ทานหนึง่ คือ หลวงปทู วด เหยียบน้ำทะเลจืด พระสุปฏิปน โนสมัยกรุงศรีอยุธยาซึง่ หลวงพอ ดไู ดสอนใหลกู ศิษยใหความเคารพเสมือนครูอาจารยผชู แี้ นะแนว ทางการปฏิบตั ิ อีกทานหนึง่ หลวงพอดู ทานไดตดั สินใจไมรบั กิจนิมนตออกนอกวัด ตัง้ แตกอ นป พ.ศ. ๒๔๙๐ ดังนัน้ ทุกคนทีต่ งั้ ใจไปกราบนมัสการ และฟงธรรมจากทานจะไมผดิ หวังเลยวาจะไมไดพบทาน ทาน จะนัง่ รับแขกบนพืน้ ไมกระดานแข็งๆ หนากุฎขิ องทานทุกวันตัง้ แต เชาจรดค่ำ บางวันทีท่ า นออนเพลีย ทานจะเอนกายพักผอนหนา กุฎิ แลวหาอุบายสอนเด็กวัดโดยใหเอาหนังสือธรรมะมาอาน ใหทา นฟงไปดวย ขอวัตรของทานอีกอยางหนึง่ ก็คอื การฉันอาหารมือ้ เดียว ซึง่ ทานกระทำมาตัง้ แตประมาณป พ.ศ. ๒๕๐๐ แตภายหลังคือ ประมาณป พ.ศ. ๒๕๒๕ เหลาสานุศษิ ยไดกราบนิมนตใหทา นฉัน ๒ มือ้ เนือ่ งจากความชราภาพของทาน ประกอบกับตองรับแขก มากขึน้ ทานจึงไดผอ นปรนตามความเหมาะควรแหงอัตภาพ ทัง้ จะไดเปนการโปรดญาติโยมจากทีไ่ กลๆ ทีต่ งั้ ใจมาทำบุญถวาย ภัตตาหารแดทา น หลวงพอแมจะชราภาพมากแลว ทานก็ยงั อุตสาหนงั่ รับ แขกทีม่ าจากทิศตาง ๆ วันแลววันเลา ศิษยทกุ คนก็ตงั้ ใจมาเพือ่ 19


กราบนมัสการทาน บางคนก็มาเพราะมีปญ  หาหนักอกหนักใจ แกไขดวยตนเองไมได จึงมงุ หนามาเพือ่ กราบเรียนถามปญหาเพือ่ ใหคลายความทุกขใจ บางคนมาหาทานเพือ่ ตองการของดี เชน เครือ่ งรางของขลัง ซึง่ ก็มกั ไดรบั คำตอบจากทานวา “ของดีนนั้ อยู ทีต่ วั เรา พุทธัง ธัมมัง สังฆัง นีแ่ หละของดี” บางคนมาหาทานเพราะไดยนิ ขาวเลาลือถึงคุณความดี ศีลาจาริยวัตรของทานในดานตางๆ บางคนมาหาทานเพือ่ ขอหวย หวังรวยทางลัดโดยไมอยากทำงาน แตอยากไดเงินมากๆ บางคนเจ็บไขไมสบายก็มาเพือ่ ใหทา นรดน้ำมนต เปาหัว ให มาขอดอกบัวบูชาพระของทานเพือ่ นำไปตมดืม่ ใหหายจากโรค ภัยไขเจ็บตาง ๆ นานาสารพันปญหา แลวแตใครจะนำมาเพือ่ หวัง ใหทา นชวยตน บางคนไมเคยเห็นทานก็อยากมาดูวา ทานมีรปู ราง หนาตาอยางไร บางแคมาเห็นก็เกิดปติ สบายอกสบายใจจนลืม คำถามหรือหมดคำถามไปเลย หลายคนเสียสละเวลา เสียคาใชจา ยเดินทางไกลมาเพือ่ พบทาน ดวยเหตุนี้ ทานจึงอุตสาหนงั่ รับแขกอยตู ลอดวันโดยไม ไดพกั ผอนเลย และไมเวนแมยามปวยไข แมนายแพทยผใู หการ ดูแลทานอยปู ระจำจะขอรองทานอยางไร ทานก็ไมยอมตามดวย เมตตาสงสาร และตองการใหกำลังใจแกญาติโยมทุกคนที่มา พบทาน

20


ทานเปนดุจพอ หลวงพอดทู า นเปนดุจพอของลูกศิษยทกุ ๆ คน เหมือน อยางทีพ่ ระกรรมฐานสายพระอาจารยมนั่ เรียกหลวงปมู นั่ วา “พอ แมครูอาจารย” ซึง่ ถือเปนคำยกยองอยางสูง เพือ่ ใหสมฐานะอัน เปนทีร่ วมแหงความเปนกัลยาณมิตร หลวงพอดูทานใหการตอนรับแขกอยางเสมอหนากัน หมด ไมมกี ารแบงชัน้ วรรณะ ทานจะพูดหามปราม หากมีผมู า เสนอตัวเปนนายหนาคอยจัดแจงเกีย่ วกับแขกทีเ่ ขามานมัสการ ทาน ถึงแมจะดวยเจตนาดี อันเกิดจากความหวงใยในสุขภาพของ ทานก็ตาม เพราะทานทราบดีวา มีผใู ฝธรรมจำนวนมากทีอ่ ตุ สาห เดินทางมาไกล เพือ่ นมัสการและซักถามขอธรรมจากทาน หาก มาถึงแลวยังไมสามารถเขาพบไดโดยสะดวกก็จะทำใหเสียกำลังใจ นีเ้ ปนเมตตาธรรมอยางสูงซึง่ นับเปนโชคดีของบรรดา ศิษยทั้งหลายไมวาใกลหรือไกล ที่สามารถมีโอกาสเขากราบ นมัสการทานไดโดยสะดวก หากมีผสู นใจการปฏิบตั กิ รรมฐานมา หาทาน ทานจะเมตตาสนทนาธรรมเปนพิเศษ อยางไมเห็นแก เหน็ดเหนือ่ ย บางครัง้ หลวงพอก็มไิ ดกลาวอะไรมาก เพียงการ ทักทายศิษยดวยถอยคำสั้นๆ เชน “เอา...กินน้ำชาสิ ” หรือ “วาไง...” ฯลฯ เทานีก้ เ็ พียงพอทีย่ งั ปตใิ หเกิดขึน้ กับศิษยผนู นั้ เหมือนดังหยาดน้ำทิพยชโลมใหเย็นฉ่ำ เกิดความสดชืน่ ตลอดราง กาย จน...ถึงจิต...ถึงใจ 21


หลวงพอดทู า นใหความเคารพในองคหลวงปทู วดอยาง มาก ทั้งกลาวยกยองในความที่เปนผูที่มีบารมีธรรมเต็มเปยม ตลอดถึงการทีจ่ ะไดมาตรัสรธู รรมในอนาคต ใหบรรดาลูกศิษย ทัง้ หลายยึดมัน่ และหมัน่ ระลึกถึง โดยเฉพาะอยางยิง่ เมือ่ ติดขัดใน ระหวางการปฏิบตั ธิ รรม หรือแมแตประสบปญหาในทางโลกๆ ทานวาหลวงปทู วดทานคอยจะชวยเหลือทุกคนอยแู ลว แตขอให ทุกคนอยาไดทอ ถอยหรือละทิง้ การปฏิบตั ิ

หลวงพอดกู บั ครูอาจารยทา นอืน่ ในระหวางป พ.ศ. ๒๕๓๐ - ๒๕๓๒ ไดมพี ระเถระและ ครูบาอาจารยหลายทานเดินทางมาเยี่ยมเยียนหลวงพอดู เชน หลวงปบู ดุ ดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข จังหวัดสิงหบรุ ี ทานเปนพระเถระซึ่งมีอายุยางเขา ๙๖ ป ก็ยังเมตตามาเยี่ยม หลวงพอดู ทีว่ ดั สะแกถึง ๒ ครัง้ และบรรยากาศของการพบกันของ ทานทัง้ สองนี้ เปนทีป่ ระทับใจผทู อี่ ยใู นเหตุการณอยางยิง่ เพราะ ตางองคตา งออนนอมถอมตน ปราศจากการแสดงออกซึง่ ทิฏฐิ มานะใดๆ เลย แปงเสกทีห่ ลวงปบู ดุ ดาเมตตามอบใหหลวงพอดู ทานก็เอามาทาทีศ่ รี ษะเพือ่ แสดงถึงความเคารพอยางสูง พระเถระอีกทานหนึง่ ซึง่ ไดเดินทางมาเยีย่ มหลวงพอดู คอนขางบอยครัง้ คือ หลวงปโู งน โสรโย วัดพระพุทธบาทเขารวก จังหวัดพิจติ ร ทานมีความหวงใยในสุขภาพของหลวงพอดอู ยางมาก โดยไดสงั่ ใหลกู ศิษยจดั ทำปายกำหนดเวลารับแขกในแตละวันของ 22


หลวงพอดู เพือ่ เปนการถนอมธาตุขนั ธของหลวงพอใหอยไู ดนานๆ แตอยางไรก็ดี ไมชา ไมนาน หลวงพอดทู า นก็ใหนำปายออกไป เพราะเหตุแหงความเมตตาทีท่ า นมีตอ ผคู นทัง้ หลาย ในระยะเวลาเดียวกันนั้น ครูบาบุญชุม ญาณสังวโร วัดพระธาตุดอนเรือง ทานเปนศิษยของหลวงปโู งน โสรโย ก็ได เดินทางมากราบนมัสการหลวงพอดู ๒ ครัง้ โดยทานไดเลาใหฟง ภายหลังวา เมื่อไดมาพบหลวงพอดู จึงไดรูวาหลวงพอดูก็คือ พระภิกษุชราภาพทีไ่ ปสอนทานในสมาธิ ในชวงทีท่ า นอธิษฐาน เขากรรมปฏิบตั ไิ มพดู ๗ วัน ซึง่ ทานก็ไดแตกราบระลึกถึงอยตู ลอด ทุกวัน โดยไมรวู า พระภิกษุชราภาพรูปนีค้ อื ใคร กระทัง่ ไดมโี อกาส มาพบหลวงพอดทู วี่ ดั สะแก เกิดรสู กึ เหมือนดังพอลูกทีจ่ ากกันไป นานๆ แมครัง้ ที่ ๒ ทีพ่ บกับหลวงพอดู หลวงพอดกู ไ็ ดพดู สอนให ทานเรงความเพียร เพราะหลวงพอจะอยอู กี ไมนาน ครูบาบุญชมุ ยังไดเลาวา ทานตัง้ ใจจะกลับไปวัดสะแกอีก เพือ่ หาโอกาสไปอุปฏ ฐากหลวงพอดู แตแลวเพียงระยะเวลาไมนาน นัก ก็ไดขา ววาหลวงพอดมู รณภาพ ยังความสลดสังเวชใจแกทา น ทานไดเขียนบันทึกความรสู กึ ในใจของทานไวในหนังสืองานพระ ราชทานเพลิงศพหลวงพอดู ตอนหนึง่ วา “...หลวงปทู า นมรณภาพสิน้ ไป เปรียบเสมือนดวงอาทิตย ที่ใหความสวางสองแจงในโลกและดับไป อุปมาเหมือนดังดวง ประทีปที่ใหความสวางไสวแกลูกศิษยไดดับไป ถึงแมพระเดช 23


พระคุณหลวงปไู ดมรณะไปแลว แตบญ ุ ญาบารมีทที่ า นแผเมตตา รอยยิม้ อันอิม่ เอิบยังปรากฏฝงอยใู นดวงใจอาตมา มิอาจลืมได ถาหลวงปมู ญ ี าณรับทราบ และแผเมตตาลูกศิษยลกู หา ทุกคน ขอใหพระเดชพระคุณหลวงปเู ขาสพู ระนิพพานเปนอมตะ แดทา นเทอญ อาตมาขอกราบคารวะพระเดชพระคุณหลวงปดู ู พรหมปญโญ ดวยความเคารพสูงสุด” ยังมีพระเถระอีกรูปหนึง่ ทีค่ วรกลาวถึง เพราะหลวงพอดู ใหความยกยองมากในความเปนผมู คี ณ ุ ธรรมสูง และเปนแบบอยาง ของผทู มี่ คี วามเคารพในพระรัตนตรัยเปนอยางยิง่ ซึง่ หลวงพอดไู ด แนะนำสานุศษิ ยใหถอื ทานเปนครูอาจารยอกี ทานหนึง่ ดวย นัน่ ก็คอื หลวงพอเกษม เขมโก แหงสุสานไตรลักษณ จังหวัดลำปาง

ปจฉิมวาร นับแต พ.ศ. ๒๕๒๗ เปนตนมา สุขภาพของหลวงพอ เริม่ แสดงไตรลักษณะใหปรากฏอยางชัดเจน สังขารรางกายของ หลวงพอซึง่ กอเกิดมาจากธาตุดนิ น้ำ ลม ไฟ และมีใจครองเหมือน เราๆ ทานๆ เมือ่ สังขารผานมานานวัน โดยเฉพาะอยางยิง่ ถามีการ ใชงานมาก และพักผอนนอย ความทรุดโทรมก็ยอ มเกิดเร็วขึน้ กวา ปรกติ กลาวคือ สังขารรางกายของทานไดเจ็บปวยออนเพลียลงไป เปนลำดับ ในขณะทีบ่ รรดาลูกศิษยลกู หาทัง้ ญาติโยมและบรรพชิต ก็หลัง่ ไหลกันมานมัสการทานเพิม่ ขึน้ ทุกวัน ในทายทีส่ ดุ แหงชีวติ 24


ของหลวงพอดู ดวยปณิธานทีต่ งั้ ไววา “สแู คตาย” ทานใชความ อดทนอดกลัน้ อยางสูง แมบางครัง้ จะมีโรคมาเบียดเบียนอยางหนัก ทานก็อตุ สาหออกโปรดญาติโยมเปนปกติ พระทีอ่ ปุ ฏ ฐากทานได เลาใหฟง วาบางครัง้ ถึงขนาดทีท่ า นตองพยุงตัวเองขึน้ ดวยอาการสัน่ และมีน้ำตาคลอเบา ทานก็ไมเคยปริปากใหใครตองเปนกังวลเลย ในปทา ยๆ ทานถูกตรวจพบวาเปนโรคลิน้ หัวใจรัว่ แมนายแพทย จะขอรองทานเขาพักรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาล ทานก็ไมยอมไป ทาน เลาใหฟง วา “แตกอ นเราเคยอยากดี เมือ่ ดีแลวก็เอาใหหายยาก อยางมากก็สแู คตาย ใครจะเหมือนขา ขาบนตัวตาย” มีบางครัง้ ไดรบั ขาววาทานลมขณะกำลังลุกเดินออกจาก หองเพือ่ ออกโปรดญาติโยม คือ ประมาณ ๖ นาฬิกา อยางทีเ่ คย ปฏิบตั อิ ยทู กุ วัน โดยปกติในยามทีส่ ขุ ภาพของทานแข็งแรงดี ทาน จะเขาจำวัดประมาณสีห่ า ทมุ แตกวาจะจำวัดจริงๆ ประมาณ เทีย่ ง คืนหรือตีหนึง่ แลวมาตืน่ นอนตอนประมาณตีสาม มาชวงหลังที่ สุขภาพของทานไมแข็งแรง จึงตืน่ ตอนประมาณตีสี่ - ตีหา เสร็จ กิจทำวัตรเชาและกิจธุระสวนตัวแลวจึงออกโปรดญาติโยมทีห่ นากุฏิ ประมาณปลายป พ.ศ. ๒๕๓๒ หลวงพอดพู ดู บอยครัง้ ใน ความหมายวา ใกลถงึ เวลาทีท่ า นจะละสังขารนีแ้ ลว ในชวงทายของ ชีวติ ทาน ธรรมทีถ่ า ยทอดยิง่ เดนชัดขึน้ มิใชดว ยเทศนาธรรมของ ทาน หากแตเปนการสอนดวยการปฏิบตั ใิ หดู โดยเฉพาะอยางยิง่ ปฏิปทาในเรือ่ งของความอดทน สมดังทีพ่ ระสัมมาสัมพุทธเจาได ประทานไวในโอวาทปาฏิโมกขวา “ขันตี ปรมัง ตโป ตีตกิ ขา 25


ความอดทนเปนตบะอยางยิง่ ” แทบจะไมมใี ครเลย นอกจากโยม อุปฏ ฐากใกลชดิ ทีท่ ราบวาทีท่ า นนัง่ รับแขกบนพืน้ ไมกระดานแข็งๆ ทุกวันๆ ตัง้ แตเชาจรดค่ำ เปนระยะเวลานับสิบๆ ป ดวยอาการ ยิม้ แยมแจมใส ใครทุกขใจมา ทานก็แกไขใหไดรบั ความสบายใจ กลับไป แตเบือ้ งหลัง ก็คอื ความลำบากทางธาตุขนั ธของทาน ที่ ทานไมเคยปริปากบอกใคร กระทัง่ วันหนึง่ โยมอุปฏ ฐากไดรบั การ ไหววานจากทานใหเดินไปซือ้ ยาทาแผลใหทา น จึงไดมโี อกาสขอดู และไดเห็นแผลทีก่ น ทาน ซึง่ มีลกั ษณะแตกซ้ำๆ ซากๆ ในบริเวณ เดิม เปนทีส่ ลดใจจนไมอาจกล้ำน้ำตาเอาไวได ทานจึงเปนครูทเี่ ลิศ สมดังพระพุทธโอวาททีว่ า สอนเขา อยางไร พึงปฏิบตั ใิ หไดอยางนัน้ ดังนัน้ ธรรมในขอ “อนัตตา” ซึง่ หลวงพอทานยกไวเปนธรรมชัน้ เอก ทานก็ไดปฏิบตั ใิ หเห็นเปน ที่ประจักษแกสายตาของศิษยทั้งหลายแลวถึงขอปฏิบัติตอหลัก อนัตตาไวอยางบริบรู ณ จนแมความอาลัยอาวรณในสังขารรางกาย ทีจ่ ะมาหนวงเหนีย่ ว หรือสรางความทุกขรอ นแกจติ ใจทานก็มไิ ด ปรากฏใหเห็นเลย ในตอนบายวันของวันกอนหนาทีท่ า นจะมรณภาพ ขณะที่ ทานกำลังเอนกายพักผอนอยนู นั้ ก็มนี ายทหารอากาศผหู นึง่ มา กราบนมัสการทาน ซึง่ เปนการมาครัง้ แรก หลวงพอดไู ดลกุ ขึน้ นัง่ ตอนรับดวยใบหนาทีส่ ดใส ราศีเปลงปลัง่ เปนพิเศษ กระทัง่ บรรดา ศิษย ณ ทีน่ นั่ เห็นผิดสังเกต หลวงพอแสดงอาการยินดีเหมือนรอ คอยบุคคลผนู มี้ านาน ทานวา “ตอไปนีข้ า จะไดหายเจ็บหายไข 26


เสียที” ไมมีใครคาดคิดมากอนวาทานกำลังโปรดลูกศิษยคน สุดทายของทาน หลวงพอดทู า นไดแนะนำการปฏิบตั พิ รอมทัง้ ให นัง่ ปฏิบตั ติ อ หนาทาน ซึง่ เขาก็สามารถปฏิบตั ไิ ดผลเปนทีน่ า พอใจ ทานย้ำในตอนทายวา “ขาขอฝากใหแกไปปฏิบตั ติ อ ” ในคืนนัน้ ก็ไดมคี ณะศิษยมากราบนมัสการทานซึง่ การมา ในครั้งนี้ไมมีใครคาดคิดมากอนเชนกันวาจะเปนการมาพบกับ สังขารธรรมของทานเปนครัง้ สุดทายแลว หลวงพอดไู ดเลาใหศษิ ย คณะนีฟ้ ง ดวยสีหนาปรกติวา “ไมมสี ว นหนึง่ สวนใดในรางกาย ขาทีไ่ มเจ็บปวดเลย ถาเปนคนอืน่ คงเขาหองไอซียไู ปนานแลว” พรอมทัง้ พูดหนักแนนวา “ขาจะไปแลวนะ” ทายทีส่ ดุ ทานก็เมตตา กลาวย้ำใหทกุ คนตัง้ อยใู นความไมประมาท “ถึงอยางไรก็ขออยา ไดทง้ิ การปฏิบตั ิ ก็เหมือนนักมวยขึน้ เวทีแลวตองชกอยามัวแต ตัง้ ทาเงอะๆ งะๆ” นีด้ จุ เปนปจฉิมโอวาทแหงผเู ปนพระบรมครู ของผเู ปนศิษยทกุ คน อันจะไมสามารถลืมเลือนไดเลย หลวงพอดไู ดละสังขารไปดวยอาการอันสงบดวยโรคหัวใจ ในกุฏทิ า น เมือ่ เวลาประมาณ ๕ นาฬิกาของวันอังคารที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓ อายุ ๘๕ ป ๘ เดือน อายุพรรษา ๖๕ พรรษา สังขารธรรมของทานไดตงั้ บำเพ็ญกุศลโดยมีเจาภาพสวด อภิธรรมเรื่อยมาทุกวันมิไดขาด ตลอดระยะเวลา ๔๕๙ วัน จนกระทัง่ ไดรบั พระราชทานเพลิงศพเปนกรณีพเิ ศษ ในวันเสารที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๓๔ 27


พระคุณเจาหลวงพอดู พรหมปญโญ ไดอปุ สมบทและ จำพรรษาอยู ณ วัดสะแก มาโดยตลอด จนกระทั่งมรณภาพ ยังความเศราโศกและอาลัยแกศษิ ยานุศษิ ยและผเู คารพรักทาน เปนอยางยิ่ง อุปมาดั่งดวงประทีปที่เคยใหความสวางไสวแก ศิษยานุศษิ ยไดดบั ไป แตเมตตาธรรมและคำสัง่ สอนของทานจะยัง ปรากฏอยใู นดวงใจของศิษยานุศษิ ยและผทู เี่ คารพรักทานตลอดไป บัดนี้ สิง่ ทีค่ งอยมู ใิ ชสงั ขารธรรมของทาน หากแตเปนหลวงพอดู องคแท ที่ศิษยทุกคนจะเขาถึงทานไดดวยการสรางคุณงาม ความดีใหเกิดใหมขี นึ้ ทีต่ นเอง สมดังทีท่ า นไดกลาวไวเปนคติวา “ตราบใดก็ตามทีแ่ กยังไมเห็นความดีในตัว ก็ไมนบั วาแกรจู กั ขา แตถา เมือ่ ใด แกเริม่ เห็นความดีในตัวเองแลว เมือ่ นัน้ ...ขาจึงวาแกเริม่ รจู กั ขาดีขนึ้ แลว” ธรรมทัง้ หลายทีท่ า นไดพร่ำสอน ทุกวรรคตอนแหง ธรรมทีบ่ รรดาศิษยไดนอ มนำมาปฏิบตั ิ นัน้ ก็คอื การทีท่ า นไดเพาะ เมล็ดพันธแุ หงความดีงามบนดวงใจของศิษยทกุ คน ซึง่ นับวันจะ เติบใหญผลิดอกออกผลเปนสติและปญญาบนลำตนทีแ่ ข็งแรงคือ สมาธิ และบนพืน้ ดินทีม่ นั่ คงแนนหนาคือ ศีล สมดังเจตนารมณ ทีท่ า นไดทมุ เททัง้ ชีวติ ดวยเมตตาธรรมอันยิง่ อันจักหาไดยาก ทัง้ ในอดีต ปจจุบนั และอนาคต...

28


คติธรรม หลวงพอดู พรหมปญโญ

29


30


๑ สมมุตแิ ละวิมตุ ิ

ในวันสิน้ ปเมือ่ หลายปกอ น ผเู ขียนไดมาคางคืนอยปู ฏิบตั ิ ทีว่ ดั สะแก และไดมโี อกาสเรียนถามปญหาการปฏิบตั กิ บั หลวงพอ เรือ่ งนิมติ จริงนิมติ ปลอมทีเ่ กิดขึน้ ภายในจากการภาวนา ทานตอบ ใหสรุปใจความไดวา ตองอาศัยสมมุตขิ นึ้ กอนจึงจะเปนวิมตุ ไิ ด เชน การทำอสุภะ หรือกสิณนัน้ ตองอาศัยสัญญาและสังขารนอมนึกเปนนิมติ ขึน้ ใน ขัน้ นีไ้ มควรสงสัยวานิมติ นัน้ เปนของจริงหรือของปลอม มาจากภาย นอกหรือมาจากจิต เพราะเราจะอาศัยสมมุตติ วั นีไ้ ปทำประโยชน ตอ คือยังจิตใหเปนสมาธิแนวแนขนึ้ แตกอ็ ยาสำคัญมัน่ หมายวา ตนรเู ห็นแลว หรือดีวเิ ศษแลว การนอมจิตตัง้ นิมติ เปนองคพระ เปนสิง่ ทีด่ ี ไมผดิ เปน ศุภนิมติ คือนิมติ ทีด่ ี เมือ่ เห็นองคพระ ใหตงั้ สติคมุ เขาไปตรง ๆ (ไม ปรุงแตง หรืออยากโนนนี)้ ไมออกซาย ไมออกขวา ทำความเลือ่ มใส เขา เดินจิตใหแนวแน สติละเอียดเขา ตอไปก็จะสามารถแยกแยะ หรือพิจารณานิมติ ใหเปนไตรลักษณจนเกิดปญญา สามารถจะกาว เขาสวู มิ ตุ ไิ ด 31


๒ อุปมาศีล สมาธิ ปญญา

ครั้งหนึ่งไดมีโอกาสสนทนาธรรมกับหลวงนาสายหยุด ทานไดเมตตาเลาใหผเู ขียนฟงวา หลวงพอเคยเปรียบธรรมะของ พระพุทธเจาเหมือนแกงสม แกงสมนัน้ มี ๓ รส คือ เปรีย้ ว เค็ม และเผ็ด ซึง่ มีความหมายดังนี้ รสเปรี้ยว หมายถึง ศีล ความเปรี้ยวจะกัดกรอนความ สกปรกออกไดฉันใด ศีลก็จะขัดเกลาความหยาบออกจากกาย วาจา ใจ ไดฉนั นัน้ รสเค็ม หมายถึง สมาธิ ความเค็มสามารถรักษาอาหาร ตางๆ ไมใหเนาเสียไดฉนั ใด สมาธิกส็ ามารถรักษาจิตของเราใหตงั้ มัน่ อยใู นคุณความดีไดฉนั นัน้ รสเผ็ด หมายถึง ปญญา ความเผ็ดรอนโลดแลนไป เปรียบ ไดดั่งปญญา ที่สามารถกอใหเกิดความแจงชัด ขจัดความไมรู เปลีย่ นจากของคว่ำเปนของหงาย จากมืดเปนสวางได ฉันนัน้

32


๓ หนึง่ ในสี่

ครัง้ หนึง่ หลวงพอไดปรารภธรรมกับผเู ขียนวา... “ขานัง่ ดูดยา มองดูซองยาแลวก็ตงั้ ปญหาถามตัวเองวา เรานีป่ ฏิบตั ไิ ด ๑ ใน ๔ ของศาสนาแลวหรือยัง? ถาซองยานี้ แบงเปน ๔ สวน เรานีย่ งั ไมได ๑ ใน ๔ มันจวนเจียนจะไดแลว มันก็คลาย เหมือนเรามัดเชือกจนเกือบจะแนนไดทแี่ ลวเรา ปลอย มันก็คลายออก เรานีย่ งั ไมเชือ่ จริง ถาเชือ่ จริงก็ตอ งได ๑ ใน ๔ แลว” ตอมาภายหลังทานไดขยายความใหผเู ขียนฟงวา ทีว่ า ๑ ใน ๔ นั้น อุปมาดั่งการปฏิบัติธรรมเพื่อใหบรรลุมรรคผลในพุทธ ศาสนาซึง่ แบงเปนขัน้ โสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี และอรหัตตผล อยางนอยเราเกิดมาชาติหนึ่งชาตินี้ ไดพบพระพุทธศาสนาซึ่ง เปรียบเสมือนสมบัตอิ นั ล้ำคาแลว หากไมปฏิบตั ธิ รรมใหได ๑ ใน ๔ ของพุทธศาสนาเปนอยางนอย คือ เขาถึงความเปนพระโสดาบัน ปดประตูอบายภูมใิ หได ก็เทากับวาเราเปนผปู ระมาทอยเู หมือนเรา มีขา วแลวไมกนิ มีนาแลวไมทำ ฉันใดก็ฉนั นัน้

33


๔ อานิสงสการภาวนา

หลวงพอทานเคยพูดเสมอวา “อุปช ฌายขา (หลวงพอกลัน่ ) สอนวา ภาวนาไดเห็น แสงสวางเทาปลายหัวไมขดี ชัว่ ประเดีย๋ วเดียว เทาชางกระดิก หู งูแลบลิน้ ยังมีอานิสงสมากกวาตักบาตรจนขันลงหินทะลุ” พวกเรามักจะไดยนิ ทานคอยใหกำลังใจอยบู อ ยๆ วา “หมัน่ ทำเขาไว หมัน่ ทำเขาไว ตอไปจะไดเปนทีพ่ งึ่ ภาย หนา” เสมือนหนึง่ เปนการเตือนใหเราเรงความเพียรใหมาก การ ใหทานรักษาศีลรอยครัง้ พันครัง้ ก็ไมเทากับนัง่ ภาวนาหนเดียว นัง่ ภาวนารอยครัง้ พันครัง้ กุศลทีไ่ ดกไ็ มเทากุศลจิตทีส่ งบเปนสมาธิ เกิดปญญาเพียงครัง้ เดียว

ขันลงหิน คือ ภาชนะใชใสอาหารสำหรับเตรียมใสบาตรพระ ซึง่ คนสมัยกอนนิยมใช 34


๕ แสงสวางเปนกิเลส ?

มีคนเลาใหหลวงพอฟงวา มีผกู ลาววาการทำสมาธิแลว บังเกิดความสวางหรือเห็นแสงสวางนัน้ ไมดเี พราะเปนกิเลส มืดๆ จึงจะดี หลวงพอทานกลาววา “ทีว่ า เปนกิเลสก็ถกู แตเบือ้ งแรกตองอาศัยกิเลสไปละ กิเลส (อาศัยกิเลสสวนละเอียดไปละกิเลสสวนหยาบ) แตไม ไดใหตดิ ในแสงสวางหรือหลงแสงสวาง แตใหใชแสงสวางให ถูก ใหเปนประโยชน เหมือนอยางกับเราเดินผานไปในทีม่ ดื ตองใชแสงไฟ หรือจะขามแมน้ำ มหาสมุทรก็ตอ งอาศัยเรือ อาศัยแพ แตเมือ่ ถึงฝง แลวก็ไมไดแบกเรือแบกแพขึน้ ฝง ไป” แสงสวางอันเปนผลจากการเจริญสมาธิกเ็ ชนกัน ผมู สี ติ ปญญาสามารถใชเพือ่ ใหเกิดปญญาอันเปนแสงสวางภายใน ทีไ่ ม มีแสงใดเสมอเหมือน ดังธรรมทีว่ า “นัตถิ ปญญา สมา อาภา แสงสวางเสมอดวยปญญาไมม”ี 35


๖ ปลูกตนธรรม

ครัง้ หนึง่ หลวงพอเคยเปรียบการปฏิบตั ธิ รรมเหมือนการ ปลูกตนไม ทานวา...ปฏิบตั นิ มี้ นั ยาก ตองคอยบำรุงดูแลรักษาเหมือน กับเราปลูกตนไม ศีล...................คือ ดิน สมาธิ...............คือ ลำตน ปญญา.............คือ ดอก ผล ออกดอกเมือ่ ใดก็มกี ลิน่ หอมไปทัว่ การปฏิบตั ธิ รรมก็เชน กัน ผรู กั การปฏิบตั ติ อ งคอยหมัน่ รดน้ำพรวนดินระวังรักษาตน ธรรม ใหผลิดอก ออกใบ มีผลนารับประทาน ตองคอยระวัง ตัวหนอน คือ โลภ โกรธ หลง มิใหมากัด กินตนธรรมได อยางนี.้ ...จึงจะไดชอื่ วาผรู กั ธรรม รักการปฏิบตั จิ ริง

36


๗ วัดผลการปฏิบตั ดิ ว ยสิง่ ใด ?

มีผปู ฏิบตั หิ ลายคน ปฏิบตั ไิ ปนานเขาชักเขว ไมชดั เจนวา ตนปฏิบตั ไิ ปทำไม หรือปฏิบตั ไิ ปเพือ่ อะไร ดังครัง้ หนึง่ เคยมีลกู ศิษย กราบเรียนถามหลวงพอทานวา “ภาวนามาก็นานพอสมควรแลว รสู กึ วายังไมไดรไู ดเห็นสิง่ ตาง ๆ มีนมิ ติ ภายนอก แสดงสีตา งๆ เปนตน ดังทีผ่ อู นื่ เขารเู ห็น กันเลย ” หลวงพอทานยอนถาม สัน้ ๆ วา “ปฏิบตั แิ ลว โกรธ โลภ หลง ของแกลดนอยลงหรือ เปลาละ ถาลดลง ขาวาแกใชได ”

37


๘ เทวทูต ๔

ธรรมะทีห่ ลวงพอยกมาสัง่ สอนศิษยเปนประจำ มีอยเู รือ่ ง หนึง่ คือเทวทูต ๔ ทีเ่ จาชายสิทธัตถะพบกอนบรรพชา คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย และสมณะ ความหมายของคำวาเทวทูต ๔ หลวงพอทานหมายถึง ผมู าเตือน เพือ่ ใหระลึกถึงความไมประมาท ซึง่ เปนเรือ่ งทีค่ วรคิด แตคนสวนใหญมกั มองขาม หลวงพอปรารภอยเู สมอวา แก เจ็บ ตาย เนอ...หมัน่ ทำเขา ไว มีความหมายโดยนัยวา เมือ่ เราเกิดมาแลว เราก็ยอ มกาวเขาสู ความชราความแกเฒาอยตู ลอดเวลา มีความเจ็บปวยเปนธรรมดา และเราจักตองตายเหมือนกันทุกคน การเห็นสมณะหรือนักบวช จึงเปนนิมติ หมายทีด่ ที จี่ ะชักจูง ใหเรากาวลวงความพนทุกขไดในทีส่ ดุ โดย “ผมู าเตือน” ทัง้ ๔ นีเ่ อง

38


๙ อารมณอพั ยากฤต

เคยมีผใู หญทา นหนึง่ ไดกราบเรียนถามหลวงพอวา อารมณ อัพยากฤตไมจำเปนตองมีไดเฉพาะพระอรหันต ใชหรือไม? ทานตอบวา “ใช แตอารมณอพั ยากฤตของพระอรหันตทา น ทรงตลอดเวลา ไมเหมือนปุถชุ นทีม่ เี ปนครัง้ คราวเทานัน้ ” ทานอุปมาอารมณใหฟง วา เปรียบเสมือนคนไปยืนทีต่ รง ทางสองแพรง ทางหนึง่ ไปทางดี (กุศล) อีกทางหนึง่ ไปในทางทีไ่ ม ดี (อกุศล) ทานวา อัพยากฤตมี ๓ ระดับ คือ -ระดับหยาบ คือ อารมณปถุ ชุ นทีเ่ ฉยๆ ไมคดิ ดี ไมคดิ ชัว่ ซึง่ มีเปนครัง้ คราวเทานัน้ -ระดับกลาง มีในผปู ฏิบตั สิ มาธิ มีสติ มีความสงบของจิต วางอารมณจากสิง่ ทีด่ ที ชี่ วั่ ดังทีเ่ รียกวา อุเบกขารมณ -ระดับละเอียด คือ อารมณของพระอรหันต ซึง่ ไมมที งั้ อารมณทคี่ ดิ ปรุงไปในทางดี หรือในทางไมดี วางอารมณอยไู ด ตลอดเวลา เปนวิหารธรรมของทาน

39


๑๐ ตรี โท เอก

ครัง้ หนึง่ ผเู ขียนจะจัดทำบุญเพือ่ เปนกตัญูกตเวทิตาธรรม นอมถวายแดหลวงพอเกษม เขมโก เนือ่ งในโอกาสทีห่ ลวงพอทาน มีอายุครบ ๗๔ พรรษา เมือ่ วันที่ ๒๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๘ ผเู ขียนไดเรียนถามหลวงพอวา “การทำบุญอยางไร จึงจะดีทสี่ ดุ ” หลวงพอทานไดเมตตาตอบวา “ของดีนนั้ อยทู เี่ รา ของดีนนั้ อยทู จี่ ติ จิตมี ๓ ชัน้ ตรี โท เอก ถาตรีกต็ ่ำหนอย โทก็ปานกลาง เอกนีอ่ ยางอุกฤษฏ มันไมมอี ะไร...ก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ตัวอนัตตานี่ แหละเปนตัวเอก ไลไปไลมา ใหมนั เห็นสังขารรางกายเรา ตาย แนๆ คนเราหนีตายไปไมพน ตายนอย ตายใหญ ตายใหญก็ตายหมด ตายนอยก็หลับ ไปตรองดูให ดีเถอะ... ”

40


๑๑ ตองสำเร็จ

หลวงพอเคยสอนวา... “ความสำเร็จนัน้ มิใชอยทู กี่ ารสวด มนตออ นวอนพระเจามาประทานให หากแตตอ งลงมือทำดวย ตนเอง ถาตั้งใจทำตามแบบแลวทุกอยางตองสำเร็จ ไมใช จะสำเร็จ พระพุทธเจาทานวางแบบเอาไวแลว ครูบาอาจารย ทุกองคมพี ระพุทธเจาเปนทีส่ ดุ ก็ไดทำตามแบบ เปนตัวอยาง ใหเราดู อัฐทิ า นก็กลายเปนพระธาตุกนั หมด เมือ่ ไดไตรตรอง พิจารณาใหรอบคอบแลว ขอใหลงมือทำทันที ขาขอรับรองวา ตองสำเร็จ สวนจะชาหรือเร็วนัน้ อยทู คี่ วามเพียรของผปู ฏิบตั ิ” ขอใหตั้งปญหาถามตัวเองวา “สิ่งนั้น บัดนี้เราไดลงมือ ทำแลวหรือยัง ?”

41


๑๒ จะเอาโลกหรือเอาธรรม

บอยครัง้ ทีม่ ผี มู าถามปญหากับหลวงพอ โดยมักจะนำเอา เรือ่ งราวตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับหนาทีก่ ารงาน สามี ภรรยา ลูกเตา ญาติ มิตร หรือคนอืน่ ๆ มาปรารภใหหลวงพอฟงอยเู สมอ ครัง้ หนึง่ ทานไดใหคติเตือนใจผเู ขียนวา “โลกเทาแผนดิน ธรรมเทาปลายเข็ม ” ซึง่ ตอมาทานไดเมตตาขยายความใหฟง วา “เรือ่ งโลกมีแตเรือ่ งยงุ ของคนอืน่ ทัง้ นัน้ ไมมที สี่ นิ้ สุด เราไปแกไขเขาไมได สวนเรือ่ งธรรมนัน้ มีทสี่ ดุ มาจบทีต่ วั เรา ใหมาไลดตู วั เอง แกไขทีต่ วั เราเอง ตนของตนเตือนตนดวย ตนเอง ถาคิดสิ่งที่เปนธรรมแลว ตองกลับเขามาหาตัวเอง ถาเปนโลกแลว จะมีแตสง ออกไปขางนอกตลอดเวลา เพราะ ธรรมแทๆ ยอมเกิดจากในตัวของเรานีท้ งั้ นัน้ ”

42


๑๓ แนะวิธปี ฏิบตั ิ

เคยมีสภุ าพสตรีทา นหนึง่ มีปญ  หาถามวา นัง่ ปฏิบตั ภิ าวนา แลวจิตไมรวม ไมสงบ ควรจะทำอยางไร ทานแกใหวา “ “การปฏิบตั ิ ถาอยากใหเปนเร็วๆ มันก็ไมเปน หรือ ไมอยากใหเปน มันก็ประมาทเสีย ไมเปนอีกเหมือนกัน อยาก เปนก็ไมวา ไมอยากเปนก็ไมวา ทำใจใหเปนกลางๆ ตัง้ ใจให แนวแนในกัมมัฏฐานทีเ่ รายึดมัน่ อยนู นั้ แลวภาวนาเรือ่ ยไป เหมือนกับเรากินขาวไมตอ งอยากใหมนั อิม่ คอยๆ กิน ไปมันก็อมิ่ เอง ภาวนาก็เชนกัน ไมตอ งไปคาดหวังใหมนั สงบ หนาทีข่ องเราคือ ภาวนาไป ก็จะถึงของดี ของวิเศษในตัวเรา แลวจะรชู ดั ขึน้ มาวาอะไรเปนอะไร ใหหมัน่ ทำเรือ่ ยไป”

43


๑๔ การบวชจิต - บวชใน

หลวงพอเคยปรารภไววา ... จะเปนชายหรือหญิงก็ดี ถาตัง้ ใจประพฤติปฏิบตั ิ มีศลี รัก ในการปฏิบตั ิ จิตมงุ หวังเอาการพนทุกขเปนทีส่ ดุ ยอมมีโอกาสเปน พระกันไดทกุ ๆ คน มีโอกาสทีจ่ ะบรรลุมรรคผล นิพพาน ไดเทา เทียมกันทุกคน ไมเลือกเพศ เลือกวัย หรือฐานะแตอยางใด ไมมี อะไรจะมาเปนอุปสรรคในความสำเร็จได นอกจากใจของผฏู บิ ตั เิ อง ทานไดแนะเคล็ดในการบวชจิตวา..... ในขณะทีเ่ รานัง่ สมาธิเจริญภาวนานัน้ คำกลาววา พุทธัง สรณัง คัจฉามิ.... ใหนกึ ถึงวาเรามีพระพุทธเจา เปน พระอุปช ฌายของเรา ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ.... ใหนกึ วาเรามีพระธรรม เปนพระ กรรมวาจาจารย สังฆัง สรณัง คัจฉามิ.... ใหนกึ วาเรามีพระอริยสงฆ เปน พระอนุสาวนาจารย แลวอยาสนใจขันธ ๕ หรือรางกายเรานี้ ใหสำรวมจิตใหดี มีความยินดีในการบวช 44


ชายก็เปนพระภิกษุ หญิงก็เปนพระภิกษุณี อยางนีจ้ ะมีอานิสงสสงู มาก จัดเปนเนกขัมบารมีขนั้ อุกฤษฏ ทีเดียว

45


๑๕ ควรทำหรือไม ?

ครัง้ หนึง่ มีลกู ศิษยหลวงพอผสู นใจธรรมปฏิบตั กิ ำลังนัง่ ภาวนาเงียบอยู ไมหา งจากทานเทาใดนัก บังเอิญมีแขกมาหาศิษย ผนู นั้ แตไมเห็น ก็มศี ษิ ยอกี ทานหนึง่ เดินเรียกชือ่ ทานผกู ำลังนัง่ ภาวนาอยดู ว ยเสียงอันดัง และเมือ่ เดินมาเห็นศิษยผนู นั้ กำลังภาวนา อยกู จ็ บั แขนดึงขึน้ มาทัง้ ทีก่ ำลังนัง่ ภาวนา เมือ่ ผนู นั้ หางไปแลว หลวงพอทานจึงเปรยขึน้ มาวา “ในพุทธกาลครัง้ กอน มีพระอรหันตองคหนึง่ กำลังเขา นิโรธสมาบัติ ไดมนี กแสกตัวหนึง่ บินโฉบผานหนาทานพรอม กับรอง “แซก” ทานวานกแสกตัวนัน้ เมือ่ ตายแลวไดไปอยใู น นรก แมกปั นีพ้ ระพุทธเจาผานไปไดพระองคทสี่ แี่ ลว นกแสก ตัวนัน้ ยังไมไดขนึ้ มาจากนรกเลย”

46


๑๖ การอุทศิ สวนกุศลภายนอกภายใน

มีบางทานเขาใจคลาดเคลือ่ นเกีย่ วกับการอุทศิ สวนกุศลให ผตู ายของหลวงพอ ซึง่ ทานเมตตาทำเปนปกติ จึงมีความหวังวาเมือ่ ตนตาย หลวงพอทานจะเมตตาใหบญ ุ สงวิญญาณ สงจิตไปสวรรค ไปนิพพานได ดวยตนเปนผเู ขาวัดทำทานและปรนนิบตั หิ ลวงพอมา นาน หลวงพอทานก็เมตตาเตือนวา “ถาขาตายไปกอน แลวใครจะสง (บุญ) ใหแกละ” ดวยความไมเขาใจ ทานผนู นั้ จึงมีคำตอบวา “ขอใหหลวงพออยตู อ ไปนานๆ ใหพวกผมตายกอน” นีเ่ ปนจุดชวนคิดในคำเตือนของทานทีบ่ อกเปนนัยวา การ ไปสุคติหรือการหลุดพนนัน้ ตองปฏิบตั ิ ตองสรางดวยตนเองเปน สำคัญ มิใชหวังพึง่ บุญพึง่ กุศลผอู นื่ การอาศัยผอู นื่ เมือ่ ตายแลวนัน้ เปนเพียงสวนนอยทีอ่ าจจะได อีกทัง้ ยังเปนความไมแนนอนดวย สู ทำดวยตัวเองไมได เปนแงคดิ ใหคดิ วา ตองปฏิบตั ติ นใหมนั่ ใจใน ตนเองตัง้ แตกอ นตาย เมือ่ ถึงเวลาจำตองทิง้ ขันธจะไมตอ งมัวกังวล ตอภพชาติภายหนา โดยเฉพาะอยางยิง่ การปฏิบตั ใิ หรแู จงในธรรม ตัง้ แตปจ จุบนั ชาตินเี้ ปนดียงิ่ ทีเดียว 47


๑๗ สติธรรม

บอยครั้งที่พวกเราถูกหลวงพอทานดุในเรื่องของการไม สำรวมระวัง ทานมักจะดุวา “ ใหทำ (ปฏิบตั )ิ ไมทำ ทำประเดีย๋ วเดียว เดีย๋ วออก มาจับกลมุ กันอีกแลว ทีเวลาคุย คุยกันไดนาน “ ปฏิปทาของทานตองการใหพวกเราตัง้ ใจปฏิบตั ิ ตัง้ ใจทำให จริง มีสติ สำรวมระวัง แมเวลากินขาว ทานก็ใหระวังอยาพูดคุยกัน เอะอะเสียงดัง “สติ” นัน้ เปนสิง่ สำคัญทีส่ ดุ อยางหนึง่ ทีจ่ ะทำใหเราไดหยุด คิด พิจารณากอนทีจ่ ะทำ จะพูด และแมแตจะคิดสิง่ ใดสิง่ หนึง่ วาสิง่ นั้นดีหรือชั่ว มีคุณประโยชนหรือเสียหาย ควรกระทำหรือควร งดเวนอยางไร เมื่อยั้งคิดไดก็จะชวยใหพิจารณาทุกสิ่งทุกอยาง ละเอียดประณีต และสามารถกลัน่ กรองเอาสิง่ ทีไ่ มเปนสาระไมเปน ประโยชนออกใหหมด คงเหลือแตเนือ้ ทีถ่ กู ตองและเปนธรรมซึง่ เปนของควรคิด ควรพูด ควรทำแทๆ

48


๑๘ ธรรมะจากซองยา

บอยครัง้ ทีห่ ลวงพอมักจะหยิบยกเอาสิง่ ของรอบตัวทานมา อุปมาเปนขอธรรมะใหศษิ ยไดฟง กันเสมอ ครัง้ หนึง่ ทานไดอบรมศิษยผหู นึง่ เกีย่ วกับการรเู ห็นและได ธรรมวามีทงั้ ชัน้ หยาบ ชัน้ กลาง ชัน้ ละเอียด อุปมาเหมือนอยางซอง ยานี่ (หลวงพอทานชีไ้ ปทีซ่ องบุหรี)่ “แรกเริม่ เราเห็นแคซองของมัน ตอมา เราจะไปเห็น มวนบุหรีอ่ ยใู นซองนัน่ ในมวนบุหรีแ่ ตละมวนก็ยงั มียาเสนอยู ภายในอีก แลวทีส่ ดุ จะเกิดตัวปญญาขึน้ รดู ว ยวายาเสนนีท้ ำมา จากอะไร จะเรียกวา เห็นในเห็น ก็ได ลองไปตรองดูแลวเทียบ กับตัวเราใหดเี ถอะ”

49


๑๙ ธรรมะจากโรงพยาบาล

โรงพยาบาลเปนสถานทีบ่ ำบัดทุกขของมนุษยเรา อยาง นอย ๓ ประการ ซึง่ พระพุทธเจาทรงแสดงไวในพระสูตรสำคัญ หลายเรือ่ ง คือ ชาติทกุ ข - ความเดือดรอนเวลาเกิด ชราทุกข - ความเดือดรอนเมือ่ ความแกมาถึง และ พยาธิทกุ ข - ความเดือดรอนในยามเจ็บไขไดปว ย หลวงพอเคยบอกกับผเู ขียนวา ทีโ่ รงพยาบาลนัน่ แหละมี ของดีเยอะเปนเหมือนโรงเรียน เวลาไปอยาลืมดูตวั เกิด แก เจ็บ ตาย อยใู นนัน้ หมด “ ดูขา งนอกแลวยอนมาดูตวั เรา เหมือนกันไหม ”

50


๒๐ ของจริง ของปลอม

เมือ่ หลายปกอ น ไดเกิดไฟไหมทวี่ ดั สะแกบริเวณกุฏติ รงขาม กุฏหิ ลวงพอ แตไฟไมไหมกฏุ หิ ลวงพอ เปนทีน่ า อัศจรรยใจแกศษิ ย และผทู พี่ บเห็นเปนอยางยิง่ ถึงขนาดมีฆราวาสทานหนึง่ คิดวาหลวง พอทานมีพระดี มีของดี ไฟจึงไมไหมกฏุ ทิ า น ผใู หญทา นนัน้ ไดมาทีว่ ดั และกราบเรียนหลวงพอวา “หลวงพอครับ ผมขอพระดีทกี่ นั ไฟไดหนอยครับ” หลวงพอยิม้ กอนตอบวา “ พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ไตรสรณคมนนแี่ หละ พระดี” ผใู หญทา นนัน้ ก็รบี บอกวา “ไมใชครับผมขอพระเปนองคๆ อยางพระสมเด็จนะครับ” หลวงพอก็กลาวยืนยันหนักแนนอีกวา “ก็พทุ ธัง ธัมมัง สังฆัง นีแ่ หละมีแคนลี้ ะ ภาวนาใหด”ี

51


แลวหลวงพอก็มิไดใหอะไร จนผูใหญทานนั้นกลับไป หลวงพอจึงไดปรารภธรรมอบรมศิษยทยี่ งั อยวู า “คนเรานีก่ แ็ ปลก ขาใหของจริงกลับไมเอา จะเอาของ ปลอม”

52


๒๑ คำสารภาพของศิษย

เราเปนศิษยรนุ ปลายออปลายแขม และมีความขีเ้ กียจเปน ปกติ กอนทีเ่ ราจะไปวัด เราไมเคยสนใจทำอะไรจริงจังยาวนาน คือ เราสนใจทำจริงจังแตกป็ ระเดีย๋ วเดียว เมือ่ เราไดไปวัด ดวยความ อยากเห็น อยากรูเหมือนที่เพื่อนบางคนเขารู เขาเห็น เราจึง พยายามทำ แตมนั ไมได ความพยายามของเราก็เลยลดนอยถอย ลงตามวันเวลาทีผ่ า นไป แตความอยากของเรามันไมไดหมดไปดวย พอขีเ้ กียจหนักเขา เราจึงถามหลวงพอวา “หนูขเี้ กียจเหลือเกินคะ จะทำยังไงดี ” เราจำไดวา ทานนัง่ เอนอยู พอเรากราบเรียนถามทานก็ลกุ ขึน้ นัง่ ฉับไว มองหนาเรา แลวบอกวา “ถาขาบอกแกไมใหกลัวตาย แกจะเชือ่ ขาไหมละ” เราเงียบเพราะไมเขาใจทีท่ า นพูดตอนนัน้ เลย อีกครัง้ หนึง่ ปลอดคน เรากราบเรียนถามทานวา “คนขีเ้ กียจอยางหนูนี้ มีสทิ ธิถ์ งึ นิพพานไดหรือไม ” หลวงพอทานนัง่ สูบบุหรีย่ มิ้ อยแู ละบอกเราวา 53


“ถาขาใหแกเดินจากนีไ่ ปกรุงเทพฯ แกเดินไดไหม” เราเงียบแลวยิม้ แหงๆ ทานจึงพูดตอวา “ถาแกกินขาวสามมือ้ มันก็มกี ำลังวังชา เดินไปถึงได ถาแกกินขาวมือ้ เดียว มันก็พอไปถึงไดแตชา หนอย แตถา แก ไมกนิ ขาวไปเลย มันก็คงไปไมถงึ ใชไหมละ” เรารสู กึ เขาใจความขอนีซ้ มึ ซาบเลยทีเดียว แลวหลวงพอ ทานก็พดู ตอวา “เรือ่ งทำมงธรรมะอะไรขาพูดไมเปนหรอก ขาก็เปนแต พูดของขาอยางนีแ้ หละ” อรพินท

54


๒๒ ทรรศนะตางกัน

เกีย่ วกับการอยรู ว มกันในวงของผปู ฏิบตั ธิ รรม หลวงพอ ทานไดใหโอวาทเตือนผปู ฏิบตั ไิ ววา “การมาอยดู ว ยกัน ปฏิบตั ดิ ว ย กันมากเขายอมมีเรือ่ งกระทบกระทัง่ กันเปนธรรมดา ตราบใดทีย่ งั เปนปุถชุ นคนธรรมดาอยู ทิฐคิ วามเห็นยอมตางกัน ขอใหเอาแต สวนดีมาสนับสนุนกัน อยาเอาเลวมาอวดกัน การปรามาสพระก็ดี การพูดจาจาบจวงในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆหรือทานทีม่ ศี ลี มีธรรมก็ดี จะเปนกรรมติดตัวเราและขัดขวางการปฏิบตั ธิ รรมใน ภายหนา ดังนัน้ หากเห็นใครทำความดี ก็ควรอนุโมทนายินดีดว ย แมตา งวัดตางสำนักหรือแบบปฏิบตั ติ า งกันก็ตาม ไมมใี ครผิดหรอก เพราะจุดมงุ หมายตางก็เปนไปเพือ่ ความ พนทุกขเชนกัน เพียงแตเราจะทำใหดี ดียงิ่ ดีทสี่ ดุ ขอใหถามตัวเราเองเสียกอนวา... แลวเราละถึงทีส่ ดุ แลว หรือยัง

55


๒๓ อุเบกขาธรรม

เรามักจะเห็นการกระทำทีเ่ ปนคำพูดและการแสดงออกอยู บอยๆ สวนการกระทำทีเ่ ปนการนิง่ ทีเ่ รียกวามีอเุ บกขานัน้ มัก ไม คอยไดเห็นกัน ในเรือ่ งการสรางอุเบกขาธรรมขึน้ ในใจนัน้ ผปู ฏิบตั ใิ หมเมือ่ ไดเขามารธู รรม เห็นธรรม ไดพบเห็นสิง่ แปลกๆ และคุณคาของ พุทธศาสนา มักเกิดอารมณความรสู กึ วาอยากชวนคนมาวัด มา ปฏิบตั ใิ หมากๆ โดยลืมดูพนื้ ฐานจิตใจของบุคคลทีก่ ำลังจะชวนวา เขามีความสนใจมากนอยเพียงใด หลวงพอทานบอกวา “ใหระวังใหดจี ะเปนบาป เปรียบเสมือนกับการจุดไฟไว ตรงกลางระหวางคนสองคน ถาเราเอาธรรมะไปชวนเขา เขา ไมเห็นดวย ปรามาสธรรมนี้ซึ่งเปนธรรมของพระพุทธเจา ก็เทากับเราเปนคนกอ แลวเขาเปนคนจุดไฟ... บาปทั้งคู เรียกวา เมตตาจะพาตกเหว” แลวทานยกอุทาหรณสอนตอวา 56


“เหมือนกับมีชายคนหนึง่ ตกอยใู นเหวลึก มีผจู ะมาชวย คนที่ ๑ มีเมตตาจะมาชวย เอาเชือกดึงขึน้ จากเหว ดึงไมไหว จึงตกลงไปในเหวเหมือนกัน คนที่ ๒ มีกรุณามาชวยดึงอีก ก็ตกลงเหวอีก คนที่ ๓ มีมทุ ติ ามาชวยดึงอีกก็พลาดตกเหวอีก เชนกัน คนที่ ๔ สุดทาย เปนผมู อี เุ บกขาธรรม เห็นวาเหวนีล้ กึ เกินกวากำลังของตนทีจ่ ะชวย ก็มไิ ดทำประการใดทัง้ ๆ ทีจ่ ติ ใจก็มเี มตตาธรรม ทีจ่ ะชวยเหลืออยู คนสุดทายนีจ้ งึ รอดชีวติ จากการตกเหวตาม เพราะอุเบกขาธรรมนีแ้ ล”

57


๒๔ ใหรจู กั บุญ

การทำบุญทำกุศลนัน้ โปรดอยานึกวาจะตองหอบขาว หอบของไปใสบาตรที่วัดทุกวัน หรือบุญจะเกิดไดก็ตองทอด กฐินสรางโบสถ สรางศาลา และอืน่ ๆ อยางทีเ่ ขาโฆษณา ขายบุญ กัน ทัง้ ทางวิทยุ หนังสือพิมพ และใบเรีย่ ไรกันเกลือ่ นกลาด จนรสู กึ วาจะตองเปนภาระทีต่ อ งบริจาคเมือ่ ไปวัดหรือสำนักนัน้ ๆ เปน ประจำ บทสวดมนตชื่อพระพุทธชัยมงคลคาถา ที่ขึ้นตนดวย “พาหุง...” มีอยทู อ นหนึง่ ซึง่ กลาวถึงพระพุทธเจาทรงชนะมารคือ กิเลส วา “ทานาทิธมั มวิธนิ า ชิตวา มุนนิ โท” แปลวา “พระพุทธเจาผูทรงเปนจอมปราชญ ทรงชนะมารคือ กิเลส ดวยวิธบี ำเพ็ญบารมีธรรมคือ ความดี มีการบริจาคทาน เปนตน” พระพุทธเจาทรงสอนการทำบุญทำกุศล ดวยการใหทาน รักษาศีล และสวดมนตเจริญสมาธิภาวนา ใหทานทุกครัง้ ให 58


ทำลายความโลภ คือกิเลสทุกครั้ง รักษาศีล เจริญภาวนาเพื่อ ทำลายความโกรธ ความเห็นแกตวั ใหใจสะอาด ใจไมเศราหมอง มองเห็นบาปบุญคุณโทษไดทกุ ครัง้ ทำไดดงั นี้ จึงชือ่ วาทำตาม พระพุทธเจา

59


๒๕ อุบายวิธที ำความเพียร

ครัง้ หนึง่ ทีไ่ ดสนทนาปญหาธรรมกับหลวงพอ ทานเลาให ผเู ขียนฟงวา...เขามาถามปญหาขา ขาก็ตอบไมไดอยปู ญ  หาหนึง่ ผเู ขียนเรียนถามทานวา “ปญหาอะไรครับ” ทานเลาวา “ เขาถาม วา ขีเ้ กียจ (ปฏิบตั )ิ จะทำอยางไรดี” หลวงพอหัวเราะ กอนทีจ่ ะตอบตอไปวา “บะ ขีเ้ กียจก็หมด กัน ก็ไมตอ งทำซิ” สักครทู า นจึงเมตตาสอนวา “หมัน่ ทำเขาไว ... ถาขีเ้ กียจ ใหนกึ ถึงขา ขาทำมา ๕๐ ป อุปช ฌายขา เคยสอนไววา ถาวัน ไหนยังกินขาวอยกู ต็ อ งทำ วันไหนเลิกกินขาว...นัน่ แหละถึงไม ตองทำ”

60


๒๖ พระเกาของหลวงพอ

สำหรับพระเครือ่ งแลว พระสมเด็จวัดระฆังฯ เปนทีร่ จู กั กันดีในหมนู กั เลงพระวา เปนของหายากและมีราคาแพง ใครไดไว บูชานับเปนมงคลอยางยิง่ หลวงพอไดสอนวา การนับถือพระเชนนีเ้ ปนสิง่ ทีด่ ี แตเปน ดีภายนอกมิใชดภี ายใน ทานบอกวา “ใหหาพระเกาใหพบ นีซ่ ิ ของแทของดีจริง ” ผเู ขียนเรียนถามทานวา “ พระเกาหมายความวาอยางไร ครับ” ทานวา “ก็หมายถึงพระพุทธเจานะซิ นัน่ ทานเปนพระ เกา พระโบราณ พระองคแรกทีส่ ดุ ”

61


๒๗ ขอควรคิด

การไปวัด ไปไหวพระ ตลอดจนการสนทนาธรรมกับทาน สมควรทีจ่ ะตองมีความตัง้ ใจและเตรียมใหพรอมทีจ่ ะรับธรรมจาก ทาน มิฉะนัน้ แลวอาจเกิดเปนโทษได ดังเรือ่ งตอไปนี้ ปกติของหลวงพอทานมีความเมตตา อบรมสัง่ สอนศิษย และสนทนาธรรมกับผสู นใจตลอดมา วันหนึง่ มีผมู ากราบนมัสการ ทานและเรียนถามปญหาตางๆ จากนัน้ จึงกลับไป หลวงพอทานไดยกเปนคติเตือนใจใหผเู ขียนฟงวา คนทีม่ าเมือ่ กี้ หากไปเจอพระดีละก็ลงนรก ไมไปสวรรค นิพพานหรอก” ผเู ขียนจึงเรียนถามทานวา “เพราะเหตุไรครับ “ ทานตอบวา “ ก็จะไปปรามาสพระทานนะซี ไมไดไปเอา ธรรมจากทาน “ หลวงพอเคยเตือนพวกเราไววา “การไปอยูกับพระ อรหันต อยาอยกู บั ทานนาน เพราะเมือ่ เกิดความมักคนุ แลว มัก ทำใหลมื ตัวเห็นทานเปนเพือ่ นเลน คุยเลนหัวทานบาง ใหทา น 62


เหาะใหดบู า ง ถึงกับออกปากใชทา นเลยก็มี การกระทำเชนนี้ ถือเปนการปรามาสพระ ลบหลคู รูอาจารยและเปนบาปมาก ปดกัน้ ทางมรรคผลนิพพานได จึงขอใหพวกเราสำรวมระวัง ใหด”ี

63


๒๘ ไมพยากรณ

เกีย่ วกับเรือ่ งปฏิบตั ธิ รรมแลวจะไดสำเร็จมรรคผลนิพพาน หรือไม เคยมีพระภิกษุทา นหนึง่ ไดมากราบนมัสการและเรียนถาม หลวงพอวา “หลวงพอครับ กระผมจะไดสำเร็จหรือไม หลวงพอชวย พยากรณทคี รับ” หลวงพอนิง่ สักครหู นึง่ กอนตอบวา “พยากรณไมได ”“ พระภิกษุรปู นัน้ ไดเรียนถามตอวา “เพราะเหตุไรหรือครับ ” หลวงพอจึงตอบวา “ถาผมบอกวาทานจะไดสำเร็จ แลวทานเกิดประมาทไม ปฏิบตั ติ อ มันจะสำเร็จไดอยางไร และถาผมบอกวาทานจะไม สำเร็จ ทานก็คงจะขีเ้ กียจและละทิง้ การปฏิบตั ไิ ป นิมนตทา น ทำตอเถอะครับ”

64


๒๙ จะตามมาเอง

หลายปมาแลว มีพระภิกษุรปู หนึง่ ไดมาบวชปฏิบตั ธิ รรม อยทู วี่ ดั สะแก กอนทีจ่ ะลาสิกขาเขาสเู พศฆราวาส ทานไดนดั แนะ กับเพือ่ นพระภิกษุทจี่ ะสึกดวยกัน 3 องควา เพือ่ ความเปนสิรมิ งคล กอนสึกพวกเราจะไปกราบขอใหหลวงพอพรมน้ำมนตและใหพร ทานไดเลาใหผเู ขียนฟงวา ขณะที่หลวงพอพรมน้ำมนต ใหพรอยูนั้น ทานก็นึก อธิษฐานอยใู นใจวา “ขอความร่ำรวยมหาศาล ขอลาภขอผลพูนทวี มีกนิ มีใช ไมรหู มด จะไดแบงไปทำบุญมากๆ” หลวงพอหันมามองหนาหลวงพีท่ กี่ ำลังคิดละเมอเพอฝนถึง ความร่ำรวยนี้ กอนทีจ่ ะบอกวา “ทาน... ทีท่ า นคิดนะมันต่ำ คิดใหมนั สูงไวไมดหี รือ แลว เรือ่ งทีท่ า นคิดนะจะตามมาทีหลัง”“

65


๓๐ แนะวิธวี างอารมณ

หลวงพอเคยพูดเสมอวา “ผูปฏิบัติตองหมั่นตามดูจิต รักษาจิต” สำหรับคนทีไ่ มเคยปฏิบตั แิ ลวไมรจู ะดูทไี่ หนอะไร จะดู อะไร รสู กึ สับสน แยกไมถกู เพราะไมเคยดู ไมเคยสังเกตอะไร เคย อยแู ตในความคิดปรุงแตง อยกู บั อารมณแตแยกอารมณไมได ยิง่ คนทีย่ งั ไมเคยบวช คนทีอ่ ยใู นโลกแบบวนุ วาย ยิง่ ดูจติ ของตนไดยาก หลวงพอไดเปรียบใหผเู ขียนฟง โดยทานไดกำมือและยืน่ นิว้ กลางมาขางหนาผเู ขียนวา เราภาวนาทีแรกก็เปนอยางนี้ สักครทู า น ก็ยนื่ นิว้ ชีอ้ อกมา สักครกู ย็ นื่ นิว้ นางพรอมกับมือไหวเล็กนอยและ ทานก็ยนื่ นิว้ หัวแมมอื และนิว้ กอย ตามลำดับออกมาจนครบ ๕ นิว้ ทานทำมือโคลงไปโคลงมา เปรียบการภาวนาของนักปฏิบตั ทิ จี่ ติ แตก ไมสามารถรวมใจใหเปนหนึง่ ได ผฝู ก จิตถาทำจิตใหมอี ารมณหลายอยางจะสงบไมได และ ไมเห็นสภาพของจิตตามเปนจริง ถาทำจิตใจใหดงิ่ แนวแนอยใู น อารมณอนั เดียวแลว จิตก็มกี ำลังเปลงรัศมีแหงความสวางออกมา เต็มที่ มองสภาพของจิตตามความเปนจริงไดวา อะไรเปนจิต อะไร เปนกิเลส อะไรทีค่ วรรักษา อะไรทีค่ วรละ 66


๓๑ อยาพูดมาก

“ “เวลาปฏิบตั ิ พอจะไดดหี นอย มันอยากจะพูด อยาก จะเลาใหใครฟง จริงไหมละแก ขารู ขาก็เคยเปนมา” หลวงพอทานกลาว แลวเลาเรือ่ งเปนอุทาหรณวา “มีพระองคหนึ่งปฏิบัติจิตสงบดี แลวเกิดนิมิตเห็นพระ พุทธเจานับรอยองคเดินเขามาหา ทานมีความปตเิ อิบอิม่ ยินดีมาก อยากจะเลาใหหมเู พือ่ นฟงตอนเชาจึงเลาผลการปฏิบตั ขิ องตนให หมเู พือ่ นทราบ ผลปรากฏวาพระรูปนัน้ ทำสมาธิอกี เปนเดือนก็ยงั ไมปรากฏจิตสงบดีถงึ ระดับทีเ่ คยนัน้ เลย” ถึงตรงนี้ ทานสัง่ เลยวา “แกจำไวเลยนะ คนทีท่ ำเปน เขาไมพดู คนทีพ่ ดู นัน่ ยัง ทำไมเปน”

67


๓๒ เชือ่ จริงหรือไม

สำหรับผปู ฏิบตั แิ ลว คำดุดา วากลาวของครูอาจารย นับเปน เรือ่ งสำคัญและมีคณ ุ คายิง่ หากครูบาอาจารยเมินเฉยไมดดุ า วา กลาวก็เหมือนเปนการลงโทษ ผเู ขียนเคยถูกหลวงพอดุวา “แกยังเชือ่ ไมจริง ถาเชือ่ จริง พุทธัง ธัมมัง สังฆัง สรณัง คัจ ฉามิ ตองเชือ่ และยอมรับพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนทีพ่ งึ่ แทนทีจ่ ะเอาความโลภมาเปนทีพ่ งึ่ เอาความโกรธมาเปนทีพ่ งึ่ เอา ความหลงมาเปนทีพ่ งึ่ ” หลวงพอทานกลาวกับผเู ขียนวา “โกรธ โลภ หลง เกิดขึน้ ใหภาวนา แลวโกรธ โลภ หลงจะคลายลง ขารับรอง ถาทำแลวไมจริง ใหมาดาขาได”

68


๓๓ คิดวาไมมดี ี

ผปู ฏิบตั สิ ว นใหญมกั จะไมพอใจในผลการปฏิบตั ขิ องตน โดยทีม่ กั จะขาดการไตรตรองวาสาเหตุนนั้ เปนเพราะอะไร ดังทีเ่ คย มีลกู ศิษยคนหนึง่ ของหลวงพอไดมานัง่ บนใหทา นฟงในความอาภัพ อับวาสนาของตนในการภาวนาวา ตนไมไดรู ไมไดเห็นสิง่ ตางๆ ภายใน มีนมิ ติ ภาวนา เปนตน ลงทายก็ตำหนิวา ตนนัน้ ไมมคี วาม รอู รรถรธู รรมและความดีอะไรเลย หลวงพอนัง่ ฟงอยสู กั ครู ทานจึงยอนถามลูกศิษยจอมขีบ้ น ผูนั้นวา “แกแนใจหรือวาไมมีอะไรดี แลวแกรูจักพระพุทธ พระธรรม พระสงฆหรือเปลา” ลูกศิษยผนู นั้ นิง่ อึง้ สักครจู งึ ตอบวา “รจู กั ครับ” หลวงพอจึงกลาวสรุปวา “เออ นัน่ ซี แลวแกทำไมจึงคิด วาตัวเราไมมดี ”ี นีเ่ ปนตัวอยางหนึง่ ทีแ่ สดงถึงความเมตตาของทาน ทีห่ า ทางออกทางปญญาใหศษิ ยผกู ำลังทอถอยดอยความคิด และตำหนิ วาสนาตนเอง หากปลอยไวยอ มทำใหไมมกี ำลังใจในการปฏิบตั เิ พือ่ ผลทีค่ วรไดแหงตน 69


๓๔ พระทีค่ ลองใจ

เมือ่ มีผไู ปขอของดีจำพวกวัตถุมงคลจากหลวงพอไวหอ ย คอหรือพกติดตัว หลวงพอจะสอนวา “จะเอาไปทำไม ของดีภายนอก ทำไมไมเอาของดี ภายใน ...พุทธัง ธัมมัง สังฆัง นีแ่ หละ ของวิเศษ” ทานใหเหตุผลวา “คนเรานั้น ถาไมมีพุทธัง ธัมมัง สังฆัง เปนของดี ภายใน ถึงแมจะไดของดีภายนอกไปแลว ก็ไมเกิดประโยชน อะไร...ทำอยางไรจึงจะไดเห็นพระจริงๆ เห็นมีแตพระปูน พระไม พระโลหะ พระรูปถาย พระสงฆ ลองกลับไปคิดดู”

70


๓๕ จะเอาดีหรือจะเอารวย

อีกครัง้ หนึง่ ทีค่ ณะผเู ขียนไดมานมัสการหลวงพอ เพือ่ นของ ผู เ ขี ย นท า นหนึ่ ง ต อ งการเช า พระอุ ป คุ ต ที่ วั ด เพื่ อ นำไปบู ช า โดยกลาวกับผทู มี่ าดวยกันวา บูชาแลวจะไดรวย เพือ่ นของผเู ขียนทานนัน้ แทบตะลึง เมือ่ มากราบหลวงพอ แลวทานไดตกั เตือนวา “รวยกับซวยมันใกล ๆ กันนะ” ผเู ขียนไดเรียนถามหลวงพอวา “ใกลกนั ยังไงครับ” ทานยิม้ และตอบวา “มันออกเสียงคลายกัน” พวกเราตางยิม้ นอยยิม้ ใหญ สักครทู า นจึงขยายความให พวกเราฟง “จะเอารวยนะ จะหามายังไงก็ทกุ ข จะรักษามันก็ทกุ ข หมดไปก็เปนทุกขอกี กลัวคนจะจีจ้ ะปลน ไปคิดดูเถอะ มันไม จบหรอก มีแตเรือ่ งยงุ เอาดี ดีกวา”

71


คำวา “ดี” ของหลวงพอมีความหมายลึกซึง้ มาก ผเู ขียน ขออัญเชิญพระบรมราโชวาทของในหลวงของเราในเรื่องการ ทำความดี มาเปรียบ ณ ทีน่ ี้ ความตอนหนึง่ วา “...ความดีนี้ ไมตอ งแยงกัน ความดีนี้ ทุกคนทำได เพราะ ความดีนที้ ำแลวก็ดตี าม คำวา ‘ดี’ นี้ ดีทงั้ นัน้ ฉะนัน้ ถาชวยกัน ทำดี ความดีนนั้ ก็จะใหญโต จะดียงิ่ ดีเยีย่ ม...”

72


๓๖ หลักพระพุทธศาสนา

เลากันวา มีโยมทานหนึง่ ไปนมัสการพระเถระองคหนึง่ อยเู ปนประจำ และในวันหนึง่ ไดถามปญหาธรรมกับทานวา “หลักของพระพุทธศาสนาคืออะไร” พระเถระตอบวา “ละความชัว่ ทำความดี ทำจิตของตนใหผอ งแผว” โยมทานนัน้ ไดฟง แลว พูดวา “อยางนีเ้ ด็ก ๗ ขวบก็ร”ู พระเถระยิม้ เล็กนอยกอนตอบวา “จริงของโยม เด็ก ๗ ขวบก็รู แตผใู หญอายุ ๘๐ ก็ยงั ปฏิบตั ไิ มได ” อยางนีก้ ระมังทีผ่ เู ขียนเคยไดยนิ หลวงพอพูดเสมอวา “ของจริง ตองหมัน่ ทำ” พระพุทธศาสนานัน้ ถาปราศจากการนอมนำเขาไปไวใน ใจแลว การ “ถือ” พุทธศาสนาก็ไมมคี วามหมายแตอยางใด 73


๓๗ “พ” พานของหลวงพอ

หลวงพอเคยปรารภธรรมกับผเู ขียนวา “ถาแกเขียนตัว พ พาน ไดเมือ่ ไร นัน่ แหละจึงจะดี” ผเู ขียนถามทานวา “เปนอยางไรครับ พ พาน” ทานตอบวา “ก็ตวั พอ นะซี ” คนเราจะมีชวี ติ อยใู นโลก ไมจำเปนตองร่ำรวย มีฐานะแลว จึงจะมีความสุข มีคนทีล่ ำบากอีกมาก แตเขารจู กั วาอะไรคือสิง่ ที่ พอตัว ก็สามารถอยอู ยางเปนสุขได นีก่ อ็ ยทู คี่ นเรา รจู กั คำวา “พอ” หรือไม รจู กั “พอ” ก็จะ มีแตความสุข ไมรจู กั “พอ” ถึงแมจะร่ำรวย มีเกียรติ ตำแหนง ใหญโต มันก็ไมมคี วามสุขไดเหมือนกัน คนทีม่ เี งิน ก็ยงิ่ อยากมีเงินเพิม่ ขึน้ อีก คนทีท่ ำงาน ก็อยากกินตำแหนงสูงขึน้ มีสงิ่ ใดก็เปนทุกขเพราะสิง่ นัน้ ไมมที สี่ นิ้ สุด

74


๓๘ การสอนของทาน

วิธวี ดั อยางหนึง่ วาผใู ดปฏิบตั ธิ รรมไดดเี พียงใดนัน้ ทานให สังเกตดูวา ผนู นั้ สามารถฝกตน สอนตัวเองไดดเี พียงใด การเตือน ผอู นื่ ไมใหหลงผิดไดนนั้ เปนสิง่ ทีด่ ี แตการเตือนตนใหไดยอ มดีกวา การสอนของหลวงพอทานจะทำใหเราดูเปนตัวอยาง ทาน สอนใหเราทำอยางที่ทานทำ มิไดสอนใหทำตามที่ทานสอน ทุกอยางที่ทานสอนทานไดทดลองทำและปฏิบัติทางจิตจนรู จนเห็นหมดแลวทัง้ สิน้ จึงนำมาอบรมแกศษิ ย เหมือนเปนแบบอยางใหเราไดยดึ ถือตามครูอาจารยวา การ แนะนำอบรมหรือสอนธรรมผอู นื่ นัน้ เราตองปฏิบตั จิ นแนใจตนเอง เสียกอน และควรคำนึงถึงสติปญ  ญาความสามารถของตน ถา กำลังไมพอแตจะรับภาระมาก นอกจากผมู าศึกษาจะไมไดรบั ประโยชนแลว ตนเองยังจะกลายเปนคนเสียไปดวย ทานวาเปน การไมเคารพธรรม และไมเคารพครูอาจารยอกี ดวย

75


๓๙ หัดมองชัน้ ลึก

ทุกสิง่ ทุกอยางทีอ่ ยรู อบตัวเรา ลวนมีความหมายชัน้ ลึกโดย ตัวของมันเองอยเู สมอ ไอนสไตนมองเห็นวัตถุ เขาคิดทะลุเลย ไปถึงการทีจ่ ะสลายวัตถุใหเปนปรมาณู สองพีน่ อ งตระกูลไรทมอง เห็นนกบินไปมาในอากาศ ก็คดิ เลยไปถึงการสรางเครือ่ งบินได พระพุทธเจาแตครัง้ เปนเจาชายสิทธัตถะ ไดทรงพบคนเกิด คนแก คนเจ็บ คนตาย ทานก็มองเห็นถึงความคิดไมเกิด ไมแก ไมเจ็บ ไมตาย หลวงพอเคยเตือนสติลกู ศิษยรนุ หนมุ ทีย่ งั มองเห็นสาว ๆ วา สวยวางาม นาหลงใหลใฝฝน กันนัก วา... “แกมันดูตวั เกิด ไมดตู วั ดับ ไมสวย ไมงาม ตาย เนา เหม็น ใหเห็นอยางนีไ้ ดเมือ่ ไร ขาวาแกใชได ””

76


๔๐ เวลาเปนของมีคา

หลวงพอเคยบอกวา... “คนฉลาดนะ เขาไมเคยมีเวลาวาง” เวลาเปนของมีคา เพราะไมเหมือนสิง่ อืน่ แกวแหวน เงิน ทอง สิง่ ของทัง้ หลาย เมือ่ หมดไปแลวสามารถหามาใหมได แตสำหรับเวลาแลว หากปลอยใหผา นเลยไปโดยเปลา ประโยชน ขอใหตงั้ ปญหาถามตัวเองวา... “สมควรแลวหรือกับวันคืนทีล่ ว งไปๆ คมุ คาแลวหรือกับลม หายใจทีเ่ หลือนอยลงทุกขณะ”

77


๔๑ ตองทำจริง

ในเรือ่ งของความเคารพครูอาจารย และความตัง้ ใจจริงใน การปฏิบตั ิ หลวงพอเคยบอกวา “การปฏิบตั ิ ถาหยิบจากตำราโนนนี้ (หรือ)แบบแผน มาสงสัยถาม มักจะโตเถียงกันเปลา โดยมากชอบเอาอาจารย โนนนีว่ า อยางนัน้ อยางนีม้ า การจะปฏิบตั ใิ หรธู รรม เห็นธรรม ตองทำจริง จะได อยทู ที่ ำจริง ขาเปนคนมีทฐิ แิ รง เรียนจากครูบาอาจารยนี้ ยัง ไมไดผลก็จะตองเอาใหจริงใหรู ยังไมไปเรียนกับอาจารยอนื่ ถาเกิดไปเรียนกับอาจารยอนื่ โดยยังไมทำใหจริงใหรู ก็เหมือน ดูถกู ดูหมิน่ ครูอาจารย ”

78


๔๒ ของจริงนัน้ มีอยู

มีคนจำนวนไมนอยที่ปฏิบัติธรรมแลวเกิดความทอใจ ปฏิบตั อิ ยเู ปนเวลานาน ก็ยงั รสู กึ วาตนเองไมไดพฒ ั นาขึน้ หลวง พอเคยเมตตาสอนผเู ขียนวา “ของทีม่ มี นั ยังไมจริง ของจริงเขามี เมือ่ ยังไมจริง มัน ก็ยงั ไมมี” หลวงพอเมตตากลาวเสริมอีกวา “คนทีก่ ลาจริง ทำจริง เพียรปฏิบตั อิ ยเู สมอ จะพบ ความสำเร็จในทีส่ ดุ ถาทำจริงแลวตองไดแนๆ” หลวงพอยืนยันอยางหนักแนนและใหกำลังใจแกลกู ศิษย ของทานเสมอ เพือ่ ใหตงั้ ใจ ทำจริง แลวผลทีเ่ กิดจากความตัง้ ใจ จริงจะเกิดขึน้ ใหตวั ผปู ฏิบตั ไิ ดชนื่ ชมยินดีในทีส่ ดุ

79


๔๓ ลมใหรบี ลุก

เปนปกติของผปู ฏิบตั ธิ รรม ชวงใดเวลาใดทีส่ ามารถปฏิบตั ิ ธรรมไดกา วหนา จิตใจสงบเย็นเปนสมาธิไดงา ย สามารถพิจารณา อรรถธรรมใหผา นทะลุจติ ใจไดโดยตลอดสาย ชวงดังกลาวมัก จะตองมีปญ  หา และอุปสรรคทีเ่ ขามาไมในรูปแบบใดรูปแบบหนึง่ เพือ่ มาขวางกัน้ การปฏิบตั ธิ รรมของผปู ฏิบตั คิ นนัน้ ๆ ถาผปู ฏิบตั ิ ธรรมไมสามารถเตรียมใจรับกับสถานการณนนั้ ๆ ได ธรรมทีก่ ำลัง พิจารณาดีๆ ก็ตอ งโอนเอนไปมาหรือลมลุกคลุกคลานอีกได ผูเขียนเคยกราบเรียนใหหลวงพอทราบถึงปญหาและ อุปสรรคทีก่ ำลังประสบอยู หลวงพอเมตตาใหกำลังใจวา.... “พอลมใหรบี ลุก รตู วั วาลมแลวตองรีบลุก แลวตัง้ หลัก ใหม จะไปยอมมันไมได ...ก็เหมือนกับตอนทีแ่ กเปนเด็กคลอดออกมา กวาจะ เดินเปน แกก็ตอ งหัดเดินจนเดินได แกตองลมกีท่ เี คยนับไหม พอลมแกก็ตอ งลุกขึน้ มาใหมใชไหม....คอยๆ ทำไป” 80


หลวงพอเพงสายตามาทีผ่ เู ขียนแลวเมตตาสอนวา... “ของขา เสียมามากกวาอายุแกซะอีก ไมเปนไร ตัง้ มัน กลับขึน้ มาใหม” ผเู ขียน “แลวจะมีวธิ ปี อ งกันไมใหลม บอยไดอยางไร” หลวงพอ “ตองปฏิบตั ธิ รรมใหมาก ถารวู า ใจเรายังแข็ง แกรงไมพอ ถูกโลกเลนงานงายๆ แกตองทำใหใจแกแข็งแกรง ใหได แกถึงจะสกู บั มันได ” เพือ่ เปนการเพิม่ กำลังใจของนักปฏิบตั ิ ไมวา จะลมสักกีค่ รัง้ ก็ตาม แตทกุ ๆ ครัง้ เราจะไดบทเรียน ไดประสบการณทแี่ ตก ตางกันไป ใหนอ มนำสิง่ ทีเ่ ราเผชิญมาเปนครู เปนอุทาหรณสอน ใจของเราเอง เตรียมใจของเราใหพรอมอีกครัง้ ถาเกิดเหตุการณ เชนนัน้ อีก

81


๔๔ สนทนาธรรม

เมื่อครั้งที่ผูเขียนกับหมูเพื่อนใกลสำเร็จการศึกษา ได มากราบนมัสการหลวงพอ ทานไดสนทนากับพวกเราอยนู าน สาระสำคัญทีเ่ กีย่ วกับการปฏิบตั คิ อื เมือ่ พบแสงสวางในขณะภาวนาใหไลดู ถามทานไลแสง หรือไลจติ ทานตอบวาใหไลจติ โดยเอาแสงเปนประธาน (เขาใจ วาอาศัยปตคิ อื ความสวางมาสอนจิตตนเอง) เชน ไลวา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มีจริงหรือไม มีจริงก็เปนพยานแกตน ถามทานวาไลดเู ห็นแตสงิ่ ปกปด คือกิเลสในใจ ทานวา... “ถาแกเกลียดกิเลสเหมือนเปนหมาเนา หรือของบูดเนา ก็ดี ใหเกลียดใหไดอยางนัน้ ”

82


๔๕ ผบู อกทาง

ครั้งหนึ่ง มีผูมาหาซื้อยาลมภายในวัด ไมทราบวามี จำหนายทีก่ ฏุ ไิ หน หลวงพอทานไดบอกทางให เมือ่ ผนู นั้ ผานไป แลว หลวงพอทานไดปรารภธรรมใหลกู ศิษยทนี่ งั่ อยฟู ง วา “ขานัง่ อยู ก็เหมือนคนคอยบอกทาง เขามาหาขาแลว ก็ไป...” ผเู ขียนไดฟง แลวระลึกถึงพระพุทธเจาผเู ปน “กัลยาณมิตร” คอยชีแ้ นะใหทางเดิน ดังพุทธภาษิตวา “จงรีบพากเพียรพยายามดำเนินตามทางทีบ่ อกเสียแต เดีย๋ วนี้ ตถาคตทัง้ หลายเปนเพียงผชู ที้ างใหเทานัน้ ” หลวงพอเปนผบู อก แตพวกเราตองเปนคนทำ และตองทำ เดีย๋ วนี้

83


๔๖ อยาทำเลน

เคยมีผปู รารภกับผเู ขียนวาปฏิบตั ธิ รรมมาหลายปเต็มที แต ภูมจิ ติ ภูมธิ รรม ไมคอ ยจะกาวหนาถึงขัน้ “นาชมเชย” ยังลม ลุกคลุกคลานอยมู องไปทางไหนก็เห็นแตตวั เองและหมเู พือ่ นเปน โรคระบาด คือโรคขาออน หลังออน ไมสามารถจะเดินจงกรม นัง่ สมาธิได ตองอาศัยนอนภาวนาพิจารณา “ความหลับ” เปน อารมณเลยตองพายแพตอ เจากรรมนายเวร คือ เสือ่ และหมอน ตลอดชาติ พระพุทธเจาทรงบำเพ็ญบารมีถึง ๔ อสงไขย กำไร แสนมหากัป ครัน้ ออกบวชก็ทรงเพียรปฏิบตั อิ ยหู ลายป กวาจะได บรรลุพระโพธิญาณ หลวงปมู นั่ หลวงปฝู น หลวงปแู หวน ฯลฯ ทานปฏิบตั ธิ รรมตามปาตามเขา บางองคถงึ กับสลบเพราะพิษไข ปาก็หลายครัง้ หลวงพอดทู า นก็ปฏิบตั อิ ยางจริงจังมาตลอดหลาย สิบพรรษา กวาจะไดธรรมแท ๆ มาอบรมพร่ำสอนเรา แลวเราละ ปฏิบตั กิ นั จริงจังแคไหน “ปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธรรม” แลวหรือยัง

84


๔๗ อะไรมีคา ทีส่ ดุ

ถาเรามาลองคิดดูกนั แลว สิง่ ทีม่ คี า มากทีส่ ดุ ในชีวติ เรา ตัง้ แตวนั เกิดจนกระทัง่ วันตายคืออะไร หลายคนอาจตอบวาทรัพย สมบัติ สามี ภรรยา บุคคลทีร่ กั หรือบุตร หรืออะไรอืน่ ๆ แต ทายทีส่ ดุ ก็ตอ งยอมรับวาชีวติ ของเรานัน้ มีคา ทีส่ ดุ เพราะถาเราสิน้ ชีวติ แลว สิง่ ทีก่ ลาวขางตนก็ไมมคี า ความหมายใด ๆ ชีวติ เปนของมีคา ทีส่ ดุ ในจำนวนสิง่ ทีเ่ รามีอยใู นโลกนี้ พระ ธรรมคำสอนของพระพุทธเจาก็เปนของมีคา ทีส่ ดุ ในโลก สิง่ ตาง ๆ ในโลกชวยใหเราพนทุกขชนิดถาวรไมได แตพระธรรมชวยเราได ผมู ปี ญ  ญาทัง้ หลายควรจะผนวกเอาสิง่ ทีม่ คี ณ ุ คาทีส่ ดุ ทัง้ สองนีใ้ ห ขนานทาบทับเปนเสนเดียวกัน อยาใหแตกแยกจากกันไดเลยดัง พระพุทธพจนตอนหนึง่ วา กิจโฉ มนุสสปฏิลาโภ การไดเกิดเปนมนุษยเปนของยาก กิจฉํ มจจานํ ชีวติ ํ การไดมชี วี ติ อยเู ปนของยาก กิจฉํ สทธมมสสวนํ การไดฟง พระสัทธรรมของพระ พุทธเจาเปนของยาก

85


กิจโฉ พุทธานมุปปโท การบังเกิดขึน้ ของพระพุทธเจา เปน ของยาก อะไรจะมีคา ทีส่ ดุ สำหรับผทู ไี่ ดมานมัสการหลวงพอนัน้ คงไมใชพระพรหมผง หรือเหรียญอันมีชอื่ ของทาน หลวงพอเคยเตือนศิษยเสมอวา “ขาไมมอี ะไรใหแก (ธรรม) ทีส่ อนไปนัน้ แหละ ใหรกั ษาเทาชีวติ ”

86


๔๘ นายระนาดเอก

เกีย่ วกับเรือ่ งไหวพริบ ปฏิภาณและตัวปญญา หลวงพอทาน ไดยกตัวอยาง เรือ่ งของนายระนาดเอกไวใหฟง วา สมัยกอนการ เรียนระนาดนัน้ อาจารยจะสอนวิชาการตีระนาดแมไมตา งๆ โดย ทัว่ ไปแกศษิ ย สวนแมไมวชิ าครูจะเก็บไวเฉพาะตน มิไดถา ยทอด ใหแกศษิ ยผหู นึง่ ผใู ด อยมู าวันหนึง่ นายระนาดเอกพักผอนนอนเลน อยใู ตถนุ เรือนทีบ่ า นอาจารยของตน ไดยนิ เสียงอาจารยของเขา กำลังบรรเลงระนาดทบทวนแมไมวชิ าครูอยู นายระนาดเอกก็แอบ ฟง ตัง้ ใจจดจำไวจนขึน้ ใจ วันหนึง่ อาจารยไดเรียกศิษยทกุ คนมาแสดงระนาดใหดเู พือ่ ทดสอบฝมือ ถึงครานายระนาดเอก ก็ไดแสดงแมไมวิชาครูซึ่ง ไพเราะกวาศิษยผอู นื่ อาจารยรสู กึ แปลกใจมากทีศ่ ษิ ยสามารถแสดง แมไมของครูได โดยทีต่ นไมเคยสอนมากอน จึงถามนายระนาด เอกวาไปไดแมไมนมี้ าจากไหน นายระนาดเอกจึงตอบวา “ไดมา จากใตถนุ เรือน ครับ” แลวหลวงพอไดสรุปใหพวกเราฟงวา การเรียนรธู รรมก็เชน กัน ตองลักเขา แอบเขาเรียน คือ จดจำเอาสิง่ ทีด่ งี ามของผอู นื่ มา 87


ปฏิบตั แิ กไขตนเองใหได ตัวทานเองสอนไดบอกทางไดแตไมหมด ทีเ่ หลือเราตองคนควาและฝกฝนปฏิบตั ดิ ว ยตนเอง ใครไหวพริบดีก็ เรียนไดเร็ว เหมือนนายระนาดเอกในเรือ่ งนี้

88


๔๙ เสกขาว

ครัง้ หนึง่ เคยมีศษิ ยบางทานนำขาวมาใหหลวงพอทานเสก อธิษฐานจิตใหทานเสมอ ซึง่ ทานก็เมตตาไมขดั แตบอ ยๆ เขาทาน ก็พดู วา “เสกอะไรกันใหบอ ยๆ เสกเองบางสิ ” คำพูดนีท้ า นไดขยายความใหฟง ในภายหลังวา คำวา เสก เอง คือ การเสกตนเองใหเปนพระ ซึง่ หมายถึงการปฏิบตั ติ อ จิตใจ ของตนเอง ยกระดับใหสงู ขึน้ หรือมีใจเปนพระบาง มิใชจะเปนทาน อธิษฐานเสกเปาของภายนอก เพือ่ หวังเปนมงคลถายเดียว โดยไม คิดเสกตนเองดวยตนเอง

89


๕๐ สำเร็จทีไ่ หน

มีผปู ฏิบตั ธิ รรมบางทานของใจขอปฏิบตั ธิ รรมะเกีย่ วกับการ วางทีต่ งั้ ตามฐานของจิตในการภาวนา จึงไดไปเรียนถามหลวงพอ ตามทีเ่ คยไดรบั รู รับฟงมาวา “การภาวนาทีถ่ กู ตอง หรือจะสำเร็จ มรรคผลไดนนั้ ตองตัง้ จิตวางจิตไวทกี่ ลางทองเทานัน้ ใชหรือไม? ” หลวงพอทานตอบอยางหนักแนนวา “ที่วาสำเร็จนั้นสำเร็จที่จิต ไมไดสำเร็จที่ฐาน คนที่ ภาวนาเปนแลวจะตัง้ จิตไวทปี่ ลายนิว้ ชีก้ ย็ งั ได ” แลวทานก็บอกจำนวนทีต่ งั้ ตามฐานตางๆ ของจิตใหฟง จะเห็นไดวา ทานไมไดเนนวาตองวางจิตใจทีเ่ ดียวทีน่ นั่ ทีน่ ี่ เพราะฐานตางๆ ของจิตเปนทางผานของลมหายใจทัง้ สิน้ ทานเนน ทีส่ ติและปญญาทีม่ ากำกับใจตางหาก สมดังในพระพุทธพจนทวี่ า “ มโน ปุพพฺ งฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยาฯ ธรรมทัง้ หลายมีใจถึงกอน มีใจเปนใหญเปนประธานสำเร็จไดดว ยใจ ”

90


๕๑ เรารักษาศีล ศีลรักษาเรา

ศีลเปนพืน้ ฐานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ของการปฏิบตั ธิ รรมทุกอยาง หลวงพอมักจะเตือนเสมอวาในขัน้ ตนใหหมัน่ สมาทานรักษาศีลให ได แมจะเปนโลกียศีล รักษาไดบา ง ไมไดบา ง บริสทุ ธิบ์ า ง ไมบริสทุ ธิ์ บาง ก็ใหเพียงระวัง รักษาไป สำคัญทีเ่ จตนาทีจ่ ะรักษาศีลไว และ ปญญาทีค่ อยตรวจตราแกไขตน “เจตนาหัง ภิกขเว สีลงั วทามิ” ทานวาเจตนาเปนตัวศีล “เจตนาหัง ภิกขเว ปุญญัง วทามิ” เจตนาเปนตัวบุญ จึงขอใหพยายามสัง่ สมบุญนีไ้ ว โดยอบรมศีลใหเกิดขึน้ ทีจ่ ติ เรียกวา เรารักษาศีล สวนจิตทีอ่ บรมศีลดีแลว จนเปนโลกุตรศีล เปนศีลที่กอใหเกิดปญญาในอริยมรรคอริยผลนี้จะคอยรักษาผู ประพฤติปฏิบตั มิ ใิ หเสือ่ มเสียหรือตกต่ำไปในทางทีไ่ มดไี มงามนีแ้ ล เรียกวา ศีลรักษาเรา

91


๕๒ คนดีของหลวงพอ

ธรรมะทีห่ ลวงพอนำมาอบรมพวกเราเปนธรรมทีส่ งบเย็น และไมเบียดเบียนใครดวยกรรมทัง้ สามคือ ความคิด การกระทำ และคำพูด ครัง้ หนึง่ ทานเคยอบรมศิษยเกีย่ วกับวิธสี งั เกตคนดีสนั้ ๆ ประโยคหนึง่ คือ “คนดี เขาไมตใี คร” ทุกสิง่ ทุกอยางไมวา จะเปนการปฏิบตั ธิ รรม หรือการทำงาน ในทางโลกนัน้ ยอมมีการกระทบกระทัง่ กันเปนธรรมดาของโลก ปุถชุ น หากเรากระทำการสิง่ ใดซึง่ ชอบดวยเหตุและผล คือ ได พยายามทำอยางดีทสี่ ดุ แลวอยาไปกลัววาใครเขาจะวาอะไรเรา ใครเขาจะโกรธเรา แตใหกลัวทีเ่ ราจะไปวาอะไรเขา กลัวทีเ่ ราจะไป โกรธเขา

92


๕๓ สัน้ ๆ ก็มี

เคยมีผปู ฏิบตั กิ ราบเรียนถามหลวงพอวา “หลวงพอครับ ขอธรรมะสัน้ ๆ ในเรือ่ งวิธปี ฏิบตั เิ พือ่ ใหกเิ ลส ๓ ตัว คือ โกรธ โลภ หลง หมดไปจากใจเรา จะทำไดอยางไรครับ” หลวงพอตอบเสียงดังฟงชัด จนพวกเราในทีน่ นั้ ไดยนิ กัน ทุกคนวา “สติ”

93


๕๔ แบบปฏิบตั ธิ รรมหลวงพอดเู ปนเชนใด

ในยุคปจจุบนั ทีส่ งั คมมีการเปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ผู คนเผชิญกับความทุกขความเดือดรอนกันถวนหนา ไมวา จะเปน ปญหาในเรือ่ งปากทอง ความปลอดภัยในชีวติ และทรัพยสนิ ผู คนตางแสวงหาทีพ่ งึ่ แสวงหาคำตอบของชีวติ ในขณะเดียวกันก็มี ผตู ง้ั ตนเปนอาจารยสอนการปฏิบตั ธิ รรมกันมาก เกีย่ วกับเรือ่ งแบบปฏิบตั ธิ รรมนี้ หลวงพอไดเลาไววา เคยมี ผพู มิ พแบบปฏิบตั ธิ รรมมาถวายและใชคำวา “แบบปฏิบตั ธิ รรมวัด สะแก” ทานแกใหวาอยางนี้ไมถูกตองเพราะเปนแบบของพระ พุทธเจา ไมควรใชวา เปนแบบของวัดใด อีกครัง้ หนึง่ ทีเ่ คยมีผตู งั้ คำถามในอินเตอรเน็ตวา “แบบปฏิบตั ธิ รรมของหลวงพอดเู ปนอยางไร” ขาพเจาหวนระลึกถึงบทสนทนาตอนหนึง่ ทีห่ ลวงพอเคยเลา ใหฟง เมือ่ ครัง้ มีลกู ศิษยมาขอศึกษาธรรม ตามแบบของทาน หลวง พอไดตอบศิษยผนู น้ั ไปวา ขาไมใชอาจารยหรอก อาจารยนนั่ ตอง พระพุทธเจา หลวงพอทวดนัน่ ขาเปนลูกศิษยทา น 94


ขาพเจากลับมานัง่ คิดทบทวนอยหู ลายครัง้ ความชัดเจน ในคำตอบของหลวงพอจึงคอย ๆ กระจางขึน้ เปนลำดับ เสียงสวด มนตทำวัตรแววมาแตไกล .....โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกลั ยาณัง มัช เฌกัลยาณัง ปริโยสานะกัลยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละ ปะริปณ ุ ณัง ปะริสทุ ธัง พรัหมะจะริยงั ปะกาเสสิ แปลไดความวา พระผมู พี ระภาคเจา พระองคใด ทรงแสดงธรรมแลว มีความ ไพเราะงดงามในเบือ้ งตน ไพเราะงดงามในทามกลาง ไพเราะ งดงามใน ทีส่ ดุ ทรงประกาศพรหมจรรย คือ แบบแหงการปฏิบตั ิ อันประเสริฐ บริสทุ ธิ์ บริบรู ณโดยสิน้ เชิง พรอมทัง้ อรรถะ พรอม ทัง้ พยัญชนะ สาธุ ถูกของหลวงพอและจริงเปนทีส่ ดุ พระพุทธเจาทรงวาง แบบแผนการปฏิบตั ไิ วอยางดียงิ่ เปนขัน้ เปนตอนและสมบูรณแบบ ทีส่ ดุ ไมตอ งการผใู ดมาแตงมาเติมอีก กุญแจคำตอบสำหรับเรือ่ ง นีไ้ ดเฉลยแลว ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปชู ะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ ขาพเจาขอบูชาอยางยิง่ เฉพาะพระผมู พี ระภาคเจาพระองค นัน้ ขาพเจาขอนอบนอมพระผมู พี ระภาคเจาพระองคนนั้ ดวย เศียรเกลา

95


๕๕ บทเรียน บทแรก

หากยอนระลึกถึงหลวงพอดู พรหมปญโญ ในความทรง จำของขาพเจานัน้ ขาพเจาไดมากราบนมัสการหลวงพอเปนครัง้ แรกเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๖ ดวยการชักชวนของเพื่อนกัลยาณมิตร จากนัน้ ไมนาน บทเรียนบทแรกทีห่ ลวงพอไดเมตตาสอนลูกศิษย ขีส้ งสัย ก็ไดเริม่ ขึน้ เหมือนเปนปฐมบทแหงการเริม่ ตนทีท่ า นรับ ขาพเจาไวเปนลูกศิษย มีเหตุการณที่ประทับใจขาพเจาในชวงแรกจากการได มากราบหลวงพอ อันเปนจุดเริม่ ตนแหงศรัทธา ซึง่ ตอมาภายหลัง ไดกลายเปน...อจลศรัทธา ศรัทธาทีแ่ นวแนมนั่ คง ตอองคหลวง พอของขาพเจา คือ ขาพเจาไดบชู าพระพุทธรูปแกวใส ปางสมาธิ จากตลาดพระทีว่ ดั ราชนัดดา กรุงเทพฯ มาหนึง่ องค และไดนำมา ที่วัดสะแก ใหหลวงพอชวยแผเมตตาอธิษฐานจิตเพื่อนำไป สักการะบูชาเปนพระพุทธรูปประจำบาน หลวงพอดทู า นประนมมือไหวพระและยกพระพุทธรูป ขึ้นมา จับองคพระของขาพเจาแลวหลับตานิ่งสักครูหนึ่งจึงลืม ตาขึ้นมา ทานบอกใหขาพเจานำสองมือมาจับที่ฐานของพระ 96


พุทธรูปซึง่ ปดทองคำเปลวโดยรอบ ทานใหขา พเจาหลับตา สักครูทานถามขาพเจาวาเห็นอะไรไหม ขาพเจาเห็น พระพุทธรูปอยูเบื้องหนา แตขาพเจานิ่งไมตอบอะไรทานเนื่อง จากตัง้ แตขา พเจาเกิดมาในชีวติ ยังไมเคยพบเหตุการณเชนนี้ จึงไมทราบวา...“เห็น” ในความหมายของหลวงพอนัน้ หมายถึง “เห็นอยางไร” และชัดเจนขนาดไหนทีเ่ รียกวา...“เห็น” ของทาน สักครทู า นจึงพูดย้ำกับขาพเจาวา “แกเห็นพระพุทธรูป แลวนี่ ดูเสียทีน่ ี่ จะไดหายสงสัยวาขาใหอะไรแก กลับบาน แกจะไดไมสงสัย เปนพระยืน เดิน นัง่ หรือวานอน” “ยืนครับ” ขาพเจาตอบทาน “เออ! ขาโมทนาสาธุดว ย ทีข่ า ใหเปนพระประจำวัน เกิดของแก เอาไปบูชาใหด”ี ทานตอบ ตัง้ แตวนั นัน้ เปนตนมา ศิษยขสี้ งสัยอยางขาพเจามีหรือ จะไมอดทีจ่ ะสงสัยตอ ยามวางทัง้ ในเวลากลางวันหรือกลางคืน ขาพเจาจะมานัง่ มองดูพระพุทธรูป เอาสองมือประคองจับทีฐ่ าน ขององคพระ...หลับตา...ทำสมาธิ...ดวยความอยากดู...อยากรู อยากเห็นองคพระอยางทีท่ า นเคยทำใหขา พเจาเห็น วันแลววันเลา ครัง้ แลวครัง้ เลา ...อนิจจา...เวลาผานไป ๑ สัปดาห...๑ เดือน...๒ เดือน...๓ เดือนก็แลว ยังไมมวี แี่ ววที่ ขาพเจาจะไดเห็นองคพระทีท่ า นทำใหขา พเจาดูทวี่ ดั สะแกเชนวัน นัน้ อีกเลย 97


จวบจนกระทั่งหลายเดือนตอมา ขาพเจาไดมีโอกาส มากราบนมัสการหลวงพออีก จึงไดเรียนถามทานวาทำไมเมื่อ ขาพเจากลับไปบานแลวลองจับพระอีก จับจนทองคำเปลวทีป่ ด ฐานขององคพระซีดเปนรอยมือ ขาพเจาก็ยงั ไมเห็นองคพระแม สักครัง้ เดียว หลวงพอยิม้ กอนตอบขาพเจาดวยความเมตตาวา “ทำจนหายอยากแหละแก ขาทำมากอนแลว” ข า พเจ า กลั บ มานั่ ง คิ ด ทบทวนอยู ห ลายครั้ ง ความ ชัดเจนในคำตอบของหลวงพอจึงคอย ๆ กระจางขึ้นเปนลำดับ ...ตองเริม่ ทีค่ วามอยากเสียกอน จึงคิดทีจ่ ะทำ แตถา ทำดวยความ อยาก ก็จะไมสำเร็จ เมื่อความอยากหมดไปเมื่อไร เมื่อนั้นจึง จะพบของจริง กุญแจคำตอบสำหรับ...บทเรียนบทแรกของการเรียน ธรรมะจากทาน ทำใหขา พเจาเขาใจไดวา ทานไดใชกศุ โลบายให ขาพเจาจดจำรูปพรรณสัณฐานขององคพระพุทธรูปใหได หลัง จากที่ไดใชเวลาบวกกับ...ความอยากอยูเปนเวลาหลายเดือน ขาพเจาจึงเริม่ ไดพทุ ธานุสติ ธัมมานุสติ และสังฆานุสติ จากการ เพงมององคพระจนเกิดเปนภาพติดตา...ติดใจ ในทีส่ ดุ เปนการ สอนการภาวนาในภาคสมถธรรม พรอมกับแนะวิธวี างอารมณ พระกรรมฐานของหลวงพอสำหรับขาพเจาอยางเยีย่ มยอดทีเดียว

98


๕๖ หนึง่ ในสี่ (อีกครัง้ )

หลายปกอ นหลวงพอไดปรารภธรรมกับขาพเจาในเรือ่ ง ของเปาหมายชีวิตที่แตละคนเกิดมาอยางนอยก็ควรใหเขาถึง ความเปนพระโสดาบัน ทานไดปรารภไววา “ขานัง่ ดูดยา มองดูซองยาแลวตัง้ ปญหาถามตัวเอง วา เรานีป่ ฏิบตั ไิ ดหนึง่ ในสีข่ องพระพุทธศาสนาแลวหรือยัง? ถาซองยานีแ้ บงออกเปนสีส่ ว น เรานีย่ งั ไมไดหนึง่ ในสี่ มันจวน เจียนจะไดแลวก็คลาย เหมือนเรามัดเชือกจนเกือบจะแนน ไดทแี่ ลวเราปลอย มันก็คลายออก เรานีย่ งั ไมเชือ่ จริง ถาเชือ่ จริงตองไดหนึง่ ในสีแ่ ลว” อีกครัง้ หนึง่ หลวงพอไดปรารภกับขาพเจาอีกในเรือ่ งเดียว กัน แตคราวนีท้ า นบอกวา “ขานัง่ มองดูกระจกหนาตางทีห่ อ สวดมนต กระจกมันมีสมี่ มุ เปรียบการปฏิบตั ขิ องเรานี่ ถา มันไดสกั มุมหนึง่ ก็เห็นจะดี” หลวงพอไดเฉลยปริศนาธรรม เรื่องนี้ใหขาพเจาฟงวา ที่วาหนึ่งในสี่นั้น หมายถึงการปฏิบัติ ธรรมเพือ่ ใหบรรลุมรรคผลในพระพุทธศาสนา ซึง่ แบงเปน

99


โสดาปตติมรรค โสดาปตติผล สกิทาคามิมรรค สกิทาคามิผล อนาคามิมรรค อนาคามิผล อรหัตตมรรค อรหัตตผล อยางนอยเราเกิดมาชาติหนึ่งชาตินี้ ไดพบพุทธศาสนา เปรียบเหมือนสมบัตลิ ้ำคาแลว ก็ควรปฏิบตั ติ ามคำสอนทานให เขาถึงความพนทุกขอยางนอยทีส่ ดุ คือโสดาปตติผล เพราะคนที่ เขาถึงความเปนพระโสดาบันแลว หากยังไมบรรลุพระนิพพานใน ชาตินชี้ าติตอ ไปก็จะไมเกิดในภพภูมทิ ตี่ ่ำกวามนุษยอนั ไดแก สัตว นรก เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉานอีก ขาพเจาเชื่อวาการที่หลวงพอเปรียบธรรมในเรื่องนี้กับ ซองบุหรีบ่ า ง หรือแผนกระจกบางเพราะตองการใหเราหมัน่ นึก คิดพิจารณาในเรือ่ งนีบ้ อ ย ๆ วัตถุรปู ทรงสีเ่ หลีย่ มเปนรูปทรง วัตถุทเี่ ราสามารถพบไดบอ ยทีส่ ดุ ในชีวติ ประจำวัน มีอยรู อบตัว เราตลอดเวลาตั้งแตวันเกิดจนกระทั่งวันตาย มีอยูทั่วไปไดแก เตียงนอน นาฬิกาปลุก หนังสือ รูปภาพ รถยนต โตะทำงาน โทรทัศน หนาตางประตู และอืน่ ๆ อีกมากมาย จนกระทัง่ สิง่ สุดทายทีอ่ ยใู กลตวั เราคือโลงศพ หากผใู ดเห็นวาธรรมเรือ่ งหนึง่ ในสีข่ องหลวงพอเปนธรรม สำคัญแลว ขาพเจาเชือ่ เหลือเกินวาผนู นั้ จะเปนผไู มมกี เิ ลสในไม ชานี้ จึงขอฝากธรรมะจากหลวงพอใหเรานำไปพิจารณาดวย 100


๕๗ วิธคี ลายกลมุ

ความกลุมเปนบอเกิดของความเครียด ความเครียด ก็เปนทีม่ าของความกลมุ เชนกัน หลายคนคงเห็นดวยกับขาพเจาวา เมืองไทยนี้ดีกวา เมืองฝรัง่ เวลาทีเ่ รามีเรือ่ งกลมุ อกกลมุ ใจ ในตางประเทศ สิง่ ที่ นิยมกันมากคือ ไปหาหมอรักษาโรคจิต กลุมใจทีก็ไปเอากลุม ออกโดยนัง่ ระบายความทุกข ระบายปญหาใหจติ แพทยฟง เสร็จ แลวจายเงินใหหมอเปนคานัง่ ฟงเฮอ! คนเรานีก่ แ็ ปลกดีนะ เอา กลมุ ออกอยางเดียวไมพอ เงินในกระเปาออกไปดวย เทาทีส่ งั เกตดู ฝรัง่ ไปหาจิตแพทยกนั เปนเรือ่ งปกติ แต ระยะหลังในเมืองไทยเรา คนไขโรคจิตนับวันจะมีมากขึ้นทุกที คนไทยไมนยิ มไปหาจิตแพทยเหมือนฝรัง่ แตจะไปหาจิตแพทย ก็ตอ เมือ่ ทนไมไหวแลวจริง ๆ คือใกลจะบาแลวนัน่ เอง คนไทย โชคดีกวาฝรัง่ ตรงทีม่ วี ดั แทนคลีนคิ จิตแพทย มีพระนีล่ ะ ดีกวาดวย เพราะไมตอ งเสียตังค แถมไปหาหลวงพอไดทำบุญ ไดฟง ธรรมะ จากทาน กลางวันยังไดทานอาหารบุฟเฟตห ลังจากหลวงพอฉัน เสร็จ บางครัง้ สมัยทีข่ า พเจายังเรียนหนังสืออยู หากเดินทางมา 101


ถึงวัดตอนเย็นทานยังมีขนมฝอยทอง ทองหยิบ ทองหยอด ผลไม ประเภทสม กลวย บางทีโชคดีกม็ แี อปเปล ใหไดทานอิม่ ทองดวย มีเรือ่ งเลาวา มีโยมคนหนึง่ เกิดกลมุ อกกลมุ ใจในชีวติ ที่ แสนสับสน วุนวายของตนโดยไมรูวาจะแกไขอยางไร จึงไดไป กราบขอใหหลวงพอทานพุทธทาสชวยคลายทุกขให หลวงพอถามวา “มันกลมุ มากหรือโยม” “มากครับทาน สมองแทบจะระเบิดเลย แนนอยใู นอก ไปหมด” “เอางี้ โยมออกไปยืนทีก่ ลางแจง สูดลมหายใจเขา ปอดแรงๆ สามครัง้ แลวตะโกนใหดงั ทีส่ ดุ วา กูกลมุ จริงโวย กูกลมุ จริงโวย กูกลมุ จริงโวย” โยมผนู นั้ ออกไปทำตามทีห่ ลวงพอแนะนำแลวกลับเขา มาหาทานดวยใบหนาทีผ่ อ นคลาย “เปนไง” หลวงพอถาม “รสู กึ สบายขึน้ แลวครับ” เขาตอบ “เออ เอากลมุ ออกแลวนี่” ทานกลาวยิม้ ๆ แลวไม พูดอะไรอีก ขาพเจาเคยเห็นคนทีไ่ ปหาหลวงพอดหู ลายรายมีความ กลุม มีความเครียด เสร็จแลวเมื่อมาถึงวัด นั่งอยูตอหนาทาน หลายคนเลาใหขา พเจาฟงวาไมรวู า ไอเจาตัวกลมุ ตัวเครียดมัน 102


พากันหายไปไหนหมด มีแตความเบาสบายกาย สบายใจ อยาก อยตู รงหนาหลวงพอนาน ๆ บางคนขอเพียงไดนงั่ เฉย ๆ ก็มี ทุกวันนี้หลวงพอจากพวกเราไปแลว แตเปนการจาก เพียงรูปกาย ธรรมทีท่ า นเคยสอนไวมไิ ดสญ ู หายไปดวยเลย หาก เรามีความกลุมอกกลุมใจไมวาเรื่องใด โดยเฉพาะเรื่องปญหา เศรษฐกิจยุคปจจุบนั ปญหาเรือ่ งสุขภาพ ปญหาเรือ่ งครอบครัว ปญหาเรือ่ งงาน ปญหาอะไรก็แลวแต ขาพเจาขอแนะนำวิธคี ลายเครียดทีด่ ที สี่ ดุ วิธหี นึง่ คือให หามุมสงบในบานของทานหรือจะเปนหองพระก็ยงิ่ ดี ขอใหทา น นัง่ ทีห่ นาพระพุทธรูปหรือรูปหลวงพอดู จะลืมตาหลับตาก็ตาม แตอธั ยาศัยครับ สูดลมหายใจลึกๆ พอสบายดีแลวก็พดู ระบาย ความในใจใหทา นฟง ความกลมุ ความเครียดจะลดลงได เหมือนคนที่ทานอาหารมากเกินไปจนมีแกสอยูเต็ม ทอง อึดอัดไปหมด หากไดดมื่ น้ำขิงรอนหรือทานยาขับลมเสีย บางคงจะดี เมือ่ กายสบายใจสบาย สมองก็จะปลอดโปรงแจมใส สบายกายสบายใจ และสามารถมองเห็นหนทางแกไขปญหาได ดีขึ้น เราเคยรสู กึ อยางนีก้ นั บางไหม ถาถามขาพเจาก็ตอ ง ขอตอบอยางมัน่ ใจวา “เคยครับ”

103


ขาพเจาเชือ่ วาหลวงพอทานเมตตาคอยเปนกำลังใจและ ใหความชวยเหลือเราเสมอ ขอใหเราตัง้ ใจแกปญ  หาดวยสุจริตวิธี ไมมีปญหาใดในโลก ที่มนุษยกอขึ้นแลวมนุษยจะไม สามารถแกไขได ขาพเจาเชือ่ อยางนีจ้ ริงๆ

104


๕๘ อะไรได อะไรเสีย

คงไมมใี ครปฏิเสธไดวา ในชีวติ คนเรานัน้ ตองประสบ ความสูญเสียทุกคน บางคนสูญเสียคนรัก พอ แม ลูก เมีย ญาติ เพือ่ น อันเปนเหตุแหงความกระทบกระเทือนทางจิตใจทีส่ ำคัญ ยิง่ การสูญเสียเงินทอง ขาวของ ทรัพยสมบัติ ก็เปนตนเหตุหนึง่ ของความทุกขโทมนัสอันใหญหลวงของอีกหลายๆ คน ของทีเ่ คย มีเคยได กลับเปนของทีไ่ มมไี มได คนทีเ่ คยรักตองพลัดพรากจาก ไกลกัน การคาที่เคยมีกำไรกลับกลายเปนขาดทุนเสียหาย จนทำใจใหยอมรับไดยาก หากยังจำกันได พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยหู วั ทีพ่ ระราชทานเนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมือ่ ป ๒๕๓๔ มีความตอนหนึง่ วา “การขาดทุนของเรา เปนการไดกำไรของเรา (Our loss is our gain.)” ซึง่ ทานไดอธิบายวา “ถาเราทำอะไรทีเ่ ปน การกระทำ แลวเราก็เสีย แตในทีส่ ดุ ก็ไอทเี่ ราเสียนัน้ มันเปน การไดเพราะวาทางออมได”

105


เปนพระราชดำรัสทีม่ คี วามไพเราะ ลึกซึง้ กินใจยิง่ นัก สำหรับนักปฏิบัติแลว ถาเราพรอมที่จะเรียนรู ทุกสิ่ง ทุกอยางทีผ่ า นเขามาในชีวติ ก็จะเปนครูของเราไมวา จะเปนการ กระทำทีถ่ กู ตอง หรือการกระทำทีผ่ ดิ พลาด สิง่ ทีไ่ ดมา สิง่ ทีเ่ สีย ไปความทรงจำอันสวยงามหรือไมงาม สิง่ ทีย่ งั มีชวี ติ อยหู รือสิน้ ไปแลวก็ตาม เสียงของหลวงพอแววมาในความคิดคำนึงของขาพเจา ทันที “ถูกเปนครู ผิดก็เปนครู” แตผดิ เปนครูทดี่ กี วาเพราะทำให เราไมประมาทใหผดิ วันนี้ เปนถูกของวันหนา ใหสงิ่ ทีเ่ สียไป คือ สิง่ ทีไ่ ดมา อยางทีใ่ นหลวงทาน...ไดมอบไวใหพวกเรา

*จากพระราชดำรัสทีพ่ ระราชทานแกคณะบุคคลตาง ๆ ทีเ่ ขาเฝาฯ ถวายพระพรชัย มงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสติ าลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๓๔ 106


๕๙ ความสำเร็จ

“...เมือ่ ประสบความสำเร็จ สิง่ แรกก็คอื ดีใจจนลืมตัว และโงลงในบางอยาง สำหรับจะประมาท หรือสะเพราในอนาคต ความสำเร็จ เปนครูที่ดีนอยกวา ความไมสำเร็จ แตมีเสนห จนคนทั่วไปเกลียดความไมสำเร็จ เมื่อไมประสบความสำเร็จ เราจะไดอะไรที่มีคามากกวา เมื่อประสบความสำเร็จไปเสียอีก แตคนทั่วไปมองในแงลบ เห็นเปนความเสียหาย และเกิดทุกข ใหมเพิม่ ขึน้ อีก เปนโชครายไปเสียโนน ถาตอนรับความไมสำเร็จอยางถูกตอง มันจะมอบความ รทู จี่ ะทำใหประสบความสำเร็จถึงทีส่ ดุ ในกาลขางหนา จนกลาย เปนผทู ำอะไร สำเร็จไปหมด...” สวนหนึง่ ของขอเขียนปูชนียบุคคล “ทานพุทธทาส” ซึง่ แสดงไวในหองนิทรรศการเกีย่ วกับ “ชีวติ ผลงานทานพุทธทาส” ณ อาคารคณะธรรมทาน ทีต่ งั้ อยหู นาประตูดา นทิศใตของวัดธาร น้ำไหล หรือเปนทีร่ จู กั มักคนุ ในนาม “สวนโมกขพลาราม” แหง ตำบลพุมเรียง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎรธานี

107


มีพระสูตรทีพ่ ระพุทธเจาแสดงแกอนาถบิณฑิกเศรษฐี ในเรือ่ งความปรารถนาของมนุษยทจี่ ะทำใหสำเร็จสมหวังไดยาก ๔ ประการ คือ ขอใหสมบัตจิ งเกิดมีแกเราในทางทีช่ อบ ขอยศจงมีแกเราและญาติพนี่ อ ง ขอใหเราเปนผมู อี ายุยนื นาน เมือ่ ตายจากโลกนีไ้ ป ขอใหเราไดไปเกิดในสวรรค ความปรารถนาทัง้ ๔ ขอทีก่ ลาวมานี้ จะสมหวังไดมใิ ช ดวยเหตุเพียงปรารถนาออนวอนมิไดทำอะไรเลยหรือทำอะไรที่ ไมตรงเหตุ ผลยอมไมบงั เกิด ความสำเร็จในชีวติ ยอมเกิดจาก การวางแผนทีด่ ี มิใชทำเหตุเพียงเล็กนอยแตหวังผลไวสวยหรู ถาเขาใจวา ไมมอี ะไรทีม่ คี า แลวไดมางาย ๆ ก็จะไมหมด กำลังใจ อยากไดผลอยางไร ควรสรางเหตุใหเกิดผลอยางนัน้ ดวย ความอุตสาหะ พยายามอยางเต็มที่ ในโลกนี.้ ..ไมมอี ะไรฟรีครับ !

108


๖๐ อารมณขนั ของหลวงพอ

ญาติโยมคณะหนึง่ เปนกลมุ ทีช่ อบแสวงหาพระ หาเจา หลวงปู หลวงพอองคไหนทีว่ า ดังวาดี มีคนขึน้ กันมาก โยมคณะนี้ จะพากันไปกราบไหว ไปทำบุญกัน และก็เปนธรรมดา ทีห่ ลาย คนทีน่ บั ถือหลวงพอดู ในฐานะทีเ่ ปนเกจิอาจารยดงั คิดวาทาน คงใหหวยเบอรเหมือนอยางอาจารยบางองค เมือ่ สบโอกาส โยมคนหนึง่ ก็เขามากราบเรียนขอหวย จากหลวงพอ ในวั น นั้ น เผอิ ญ ข า พเจ า ได มี โ อกาสมา กราบ นมัสการหลวงพออยดู ว ย หลวงพอมองหนาโยมคนนัน้ พรอมกับ ชีม้ อื ไปทีป่ ฏิทนิ รายเดือนทีม่ รี ปู ในหลวงแบบทีธ่ นาคารทัง้ หลาย ชอบแจก ซึง่ ติดอยขู า งฝาทีด่ า นหลังทาน แลวทานก็วา “นัน่ แหละ แกไปสลับเลขเอาเอง มีเลขรางวัลครบ ทุกตัว ขาใหตงั้ แตรางวัลทีห่ นึง่ ยันเลขทายสองตัวเลย ถา ไมถกู ใหมาดาขาได” ขาพเจาขำจนแทบกลิ้ง แตโยมที่ขอหวยจากหลวงพอ คงขำไมออกและคงเข็ด ไมกลาขอหวยจากหลวงพอไปอีกนาน

109


หลังจากทีโ่ ยมคนนัน้ กลับไปแลว หลวงพอไดใหโอวาท กับศิษยทเี่ หลือและขาพเจาวา “คนเรานีก่ แ็ ปลก ใหธรรมะของดีไมเอา จะเอาแต หวยเบอร...”

110


๖๑ ของหายาก

เมือ่ วันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๐ มีเรือ่ งประทับใจ ทีข่ า พเจาตองบันทึกไวเรือ่ งหนึง่ คือวันทีข่ า พเจาไดรบั ตะกรุดของ หลวงพอ หรือทีเ่ รียกกันในหมลู กู ศิษยของทานวา “ตะกรุดมหา จักรพรรดิ”์ เรือ่ งมีอยวู า วันนัน้ มีคนมากราบนมัสการหลวงพอจำนวนมาก หลัง จากทีข่ า พเจาไดกราบหลวงพอและขอโอกาสหลีกมานัง่ ภาวนาที่ หอสวดมนต สักครใู หญกอ นทีจ่ ะเลิกภาวนา จๆู ก็มนี มิ ติ เปน องคหลวงพอดูลอยเดน พรอมรัศมีกายสวางไสวอยูเบื้องหนา ขาพเจา และมีเสียงทานบอกขาพเจาวา “ขาใหแก” ในขณะนั้นขาพเจาไมไดนึกแปลความหมายนิมิตเปน อืน่ ใด เขาใจเพียงวาทานคงใหธรรมะกับเราขาพเจาบังเกิดความ ปตมิ าก หลังจากเลิกภาวนาแลวขาพเจาไดเดินไปหลังวัดเพือ่ ไป นมัสการหลวงนาสายหยุด ระหวางทางผานกุฏขิ องหลวงพีอ่ งค หนึง่ เปนพระภิกษุทขี่ า พเจาเคยเห็นทานอยทู วี่ ดั สะแกหลายป แต ไมเคยไดสนทนาอะไรเปนกิจจะลักษณะกับทานมากอนเลย ประการหนึง่ และไมเคยเอยปากขออะไรจากทานอีกประการหนึง่ 111


แตวนั นัน้ นับเปนเหตุการณประหลาดอัศจรรยสำหรับ ขาพเจา ทีห่ ลวงพีเ่ กิดนึกเมตตาขาพเจาอยางกะทันหัน ทานบอก ขาพเจาวา...เดี๋ยวกอน จากนั้นทานกลับเขาไปในกุฏิชั่วอึดใจ ทานออกมาพรอมกับพระผงแบบหยดน้ำรูปพระพุทธเจาและรูป หลวงพอดู ๒-๓ องค และตะกรุดขนาดเล็กกระทัดรัดของหลวง พอยืน่ ใหขา พเจาและบอกวา “ของหลวงปู เก็บเอาไวใช” เปนที่แปลกใจยิ่งสำหรับขาพเจาที่เหตุการณเกิดขึ้น ภายหลังจากทีข่ า พเจาไดนมิ ติ วาไดรบั "อะไร" จากหลวงพอเมือ่ หานาทีทผี่ า นมา ขาพเจาไดมาเรียนเรือ่ งนีถ้ วายใหหลวงพอฟง ทานยังไดใหโอวาทขาพเจาอีกวา... “...ที่วา ขาใหแกนั้น ขาใหพุทธัง ธัมมัง สังฆัง เครือ่ งรางของขลังภายนอกนัน้ หาไมยาก พระพุทธัง ธัมมัง สังฆัง หายากกวา แกไปตรองดูใหดเี ถอะ ”

112


๖๒ คนหายาก

ในพระพุทธศาสนาไดพดู ถึงบุคคลหาไดยากในโลกนีม้ ี ๒ ประเภทคือ บุพการี และบุคคลผมู กี ตัญูกตเวที บุพการี หมายถึงบุคคลผทู ำอุปการะกอนหรือคือผมู พี ระ คุณนัน่ เอง ไดแก พระพุทธเจา ครูอาจารย มารดาบิดา และพระ มหากษัตริยท ที่ รงทศพิธราชธรรม ในทีน่ จี้ ะขอพูดถึงพอแมของ เรา ในมงคลสูตรไดกลาวไวตอนหนึง่ วา มาตาปตอุ ปุ ฏ ฐานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง การบำรุงมารดาและบิดาเปนมงคลสูงสุด ในชีวติ อยางหนึง่ มีผกู ลาววา “วันแม” สำหรับลูกหลาย ๆ คนมีวนั เดียว ในหนึง่ ป แตสำหรับแมแลว “วันลูก” มีอยทู กุ วัน ความขอนีเ้ ปนจริงอยางทีไ่ มมใี ครอาจปฏิเสธได โดยทัว่ ไปแลว ความรักทีแ่ มมตี อ ลูกนัน้ ยอมมีมากกวาความรักทีล่ กู มี ตอแม ในบทสวดเทวตาทิสสทักขิณานุโมทนาไดกลาวเปรียบไว วา “...มาตาปุตตัง วะ โอระสัง เทวะตานุกมั ปโต...” 113


คำแปลตอนหนึง่ ของบทสวดมีความวา “...บัณฑิตชาติอยใู นสถานทีใ่ ด พึงเชิญทานทีม่ ศี ลี สำรวม ระวัง ประพฤติพรหมจรรยในทีน่ นั้ เทวดาเหลาใดมีในทีน่ นั้ ควร อุทิศทักษิณาทานเพื่อทานเหลานั้นดวย เทวดาที่ไดบูชาแลว นั บ ถื อ แล ว ท า นย อ มบู ช าบ า ง ย อ มนั บ ถื อ บ า ง ท า นย อ ม อนุเคราะหเขาประหนึ่ง มารดาอนุเคราะหบุตรผูเกิดจากอก ผทู ไี่ ดอาศัยเทวดาอนุเคราะหแลว ยอมมีแตความเจริญทุกเมือ่ ” มารดาบิดาเปนพระพรหมของลูก เปนครูอาจารยคนแรก ของลูก และเปนเทวดาองคแรกของลูก จึงเปนผูควรรับการ สักการะบูชาจากลูก พระพุทธเจาไดสอนไวใน “มาตาปตคุ ณ ุ สูตร” วา บุตรไมอาจตอบแทนคุณแกมารดาบิดานัน้ ใหสนิ้ สุดได โดยประการใด ๆ ดวยอุปการะอันเปนโลกียะ แมจะทำใหทา น ทัง้ สองนัง่ อยบู นบาขวา บนบาซายของลูก ลูกปรนนิบตั ดิ แู ลทาน ตลอดหนึง่ รอยป ก็ไมสามารถตอบแทนบุญคุณทานได สวนบุตรคนใดทำใหมารดาบิดาผไู มมศี รัทธาใหตงั้ อยใู น ศรัทธา ทำใหมารดาบิดาผไู มมศี ลี ใหตงั้ อยใู นศีล ทำใหมารดา บิดาผมู คี วามตระหนีถ่ เี่ หนียวใหตงั้ อยใู นจาคะ ทำใหมารดาบิดา ผมู คี วามหลงใหตงั้ อยใู นปญญาสัมมาทิฏฐิ บุตรนัน้ จึงจะไดชอื่ วา ไดทำการตอบแทนบุญคุณของมารดาบิดาอยางเต็มที่

114


ลูกที่ไมมีความฉลาดยอมไมเห็นคุณคาความรักของพอ แมที่มีตอลูก ลูกที่มีความฉลาดยอมเห็นคุณคาของสิ่งเหลานี้ ตัง้ แตพอ แมยงั มีชวี ติ อยู วันนี.้ ..เราไดทำสิง่ ดี ๆ ใหพอ กับแม...แลวหรือยัง

115


๖๓ ดวยรักจากศิษย

...หลวงพอครับ ถาหากหมุนเข็มนาฬิกาใหเดินยอน กลับได ผมขอหมุนกลับไปเปนป พ.ศ. ๒๕๒๕ ปทพี่ วกเราได เริม่ มากราบหลวงพอ รอยยิม้ และภาพอากัปกิรยิ าของหลวงพอ เมือ่ คราวทีส่ อนพวกเรา หลวงพอหัวเราะและเอามือตบทีห่ นาตัก พวกเรายังจำไดดี พวกเรายังจำได และจะพยายามทำตามทีห่ ลวง พอสอน ไมใหถอยหลัง ไมใหหลวงพอตองผิดหวังครับ ...หลวงพอขา หลวงพอเคยบอกวาปฏิบตั มิ ากๆ เถอะ จะดี สมบัตนิ อกกายไมจรี งั กินเขาไปเดีย๋ วก็ขอี้ อกมา เสือ้ ผา สวย ๆ หามาแตง เดีย๋ วก็ตอ งทิง้ เงินตอนตายญาติเอาใสปาก สัปเหรอก็เอาไปซือ้ เหลา เสือ้ ผาก็ถอดออก เหลือแตตวั เปลาให เขาเอาไปเผา ...ทีแ่ ทเราไมมอี ะไรสักอยาง ...หลวงพอเจาคะ หนูรตู วั ดีวา ใจตัวเองถาเผลอ มันก็จะ ลงต่ำอยรู ่ำไปถาไมมหี ลวงพอคอยเปนกำลังใจ ขอหลวงพออยู เปนกำลังใจใหหนูตลอดไปนะคะ ...หลวงปูครับ ไดเจอะเจอหลวงปูในชีวิตนี้ผมถือเปน

116


บุญหลาย พระทานวา ปูชา จะ ปูชนียานังเอตัมมังคะละมุตตะมัง การบูชาบุคคลทีค่ วรบูชา เปนมงคลสูงสุดของชีวติ ...ไดมาเจอหลวงปู ผมถือวาไมเสียชาติเกิดแลวครับ หลวงพอครับ...ใครจะคิดวาหลวงพอดูกับหลวงปูทวด เปนองคเดียวกันหรือไม ผมไมสนใจหรอกครับ หากหลวงพอเปนหลวงปทู วดจริง ๆ ผมถือวาพวกเรา โชคดีทสี่ ดุ ครับ ความทีห่ ลวงพอ...เปนหลวงพอดเู ปนหลวงพอ ด.ู ..อยางเดียว ก็ทำใหผมรักและเคารพหลวงพอจนเต็มลนหัวใจ ไมมอี ะไรจะทำใหเต็มไปกวานีอ้ กี แลวครับ

117


๖๔ ดวยรักจากหลวงพอ

เมือ่ ครัง้ ทีห่ ลวงพออาพาธในชวง ๒ - ๓ ป กอนทีท่ า น จะจากพวกเราไป คุณธรรมอันโดดเดน คือความอดทนและ ความเมตตาของทานยิง่ ชัดเจนในความรสู กึ ของขาพเจา บอยครั้งที่ศิษยจอมขี้แยอยางขาพเจา ไมสามารถที่ จะกลั้นน้ำตาไวไดในความคิดคำนึงวาไอความขี้เกียจ ความไม เอาไหน ไมเอาถานของเรา ทำใหทา นตองทนนัง่ แบกธาตุขนั ธ ทีเ่ จ็บปวยสอนศิษยโง ๆ อยางเรา ทัง้ อบรมก็แลว พร่ำสอนก็แลว วากลาวตักเตือนก็แลว ศิษยจอมขีเ้ กียจก็ยงั ไมสามารถเอาตัวเอง เปนทีพ่ งึ่ ได สรีระของหลวงพอเปลีย่ นแปลง ผายผอมและซูบซีดลง แตตรงกันขามกับกำลังใจของทานที่เออลนดวยความรักและ หวงใยศิษยทกี่ ลับเพิม่ ทวีคณ ู ขึน้ ในหัวใจของทาน จนยากทีศ่ ษิ ย ทุกชีวติ จะปฏิเสธไดในความรักและปรารถนาดีของทาน ในโลกของขาพเจา ความรักของหลวงพอยิง่ ใหญอยาง ยิง่ แตสงิ่ ทีส่ ำคัญยิง่ กวาคือ ทานสอนใหศษิ ยทงั้ หลายรจู กั วิธที ี่

118


จะหยิบยืน่ ความรัก...ความปรารถนาดี...ใหกบั คนรอบขาง ดังที่ ท า นได ป ฏิ บั ติ เ ป น แบบอย า ง ได อ ย า งเหมาะสมและกลม กลืน....อยางสม่ำเสมอและยาวนาน และยืนยันคำพูดของทาน ที่วา... ““แกคิดถึงขา ขาก็คดิ ถึงแก แกไมคดิ ถึงขา ขาก็ยงั คิดถึงแก””

119


๖๕ จิง้ จกทัก

พูดถึงเรือ่ งลางสังหรณแลว คนโบราณเชือ่ ปรากฏการณ ตางๆ ทีผ่ ดิ ไปจากชีวติ ประจำวัน อยางเชน การเขมนตา อาการ กระตุกทีเ่ ปลือกตา การจาม หรือการทีจ่ งิ้ จกตกใส มีงหู รือสัตว บางอยางเขาบานถือเปนสิง่ บอกเหตุเชนกัน คนสมัยกอนเชือ่ เรือ่ ง จิง้ จกทักอยมู าก เวลาสัง่ สอนหรือหามปรามใครไมฟง แลวมักพูดวา แมจงิ้ จกทักโบราณยังเชือ่ คนทักทำไมไมเชือ่ หลวงพอเคยบอกใหศษิ ยฟง วา ถาขาไปหาพวกแก ใหฟง เสียงจิง้ จกใหดี มีศษิ ยผหู นึง่ ถามวา ทำไมตองเปนจิง้ จกคะ ทานตอบวา ลองนึกดูวา หากแกสวดมนตไหวพระอยทู บี่ า น จๆู ขาก็มา ทีบ่ า นแก จะเปนยังไง ก็ชอ็ คซิเจาคะ ศิษยตอบ ก็นนั่ นะซิ หลวงพอตอบและยิม้ เกลือ่ นดวยเมตตาเปน บทสรุปแทนคำตอบ ผหู ลักผใู หญทมี่ ปี ระสบการณผา นรอนผานหนาว ทานมัก มีความปรารถนาดีเมือ่ เห็นผนู อ ยจะคิด จะพูด จะทำในสิง่ ทีไ่ มควร 120


ทานจึงเตือนหรือปรามไวลว งหนา เปนทำนองกันไวดกี วาแก หลาย คนทีย่ งั ไมมปี ระสบการณทเี่ กิดขึน้ กับตนเอง บางครัง้ อาจไมแนใจ วาเสียงจิง้ จกนีใ้ ชหลวงพอเตือนหรือไม หากยังมีความตัง้ ใจทีจ่ ะทำ ดีจริง ก็จะพบวาหลวงพอจะเตือนผานจิง้ จกซ้ำแลวซ้ำอีกจนผนู นั้ เกิด ความมัน่ ใจดวยตนเอง มิตอ งไปซักถามผใู ด เสียงจิง้ จกมีหลาย ลักษณะแตกตางกัน เชน เสียงดังๆ สัน้ ๆ เสียงพอใหไดยนิ ใหรตู วั หรือเสียงทักใหไดยนิ พรอมกันหลายคน ความหมายก็แตกตางกัน ไป เชน เปนการดุ เปนการบอกกลาวหรือเปนการเตือนใหระวังตัว เรือ่ งทีข่ า พเจาประสบกับตัวเองคือ ครัง้ หนึง่ ทีข่ า พเจา ขับรถยนตจะเดินทางไปตางจังหวัด ขณะจะออกจากบาน ก็ไดยนิ เสียงจิง้ จกทัก และเหตุการณในวันนัน้ คือมีรถมอเตอรไซคมาเฉีย่ ว ชนรถ เรือ่ งราวทีศ่ ษิ ยผอู นื่ เลาใหฟง ก็มี เชน เกือบทุกครัง้ ทีส่ วดมนต หนาหิง้ พระกอนออกจากบานไปทำงาน ก็จะไดยนิ เสียงจิง้ จกทัก ออกมาจากหิง้ พระ ซึง่ ศิษยทา นนัน้ ก็รสู กึ อนุ ใจเหมือนทานรับรดู ว ย ทุกครัง้ ศิษยอกี ทานเลาวาในยามคับขันของชีวติ ครัง้ หนึง่ ไดนกึ ถึง หลวงพอและขอใหทา นชวยเหลือ จากนัน้ เขาก็ไดยนิ เสียงจิง้ จกทัก โดยทีบ่ ริเวณนัน้ ไมเห็นตัวจิง้ จกเลย สุดทายปญหาและอุปสรรคของ เขาก็สามารถผานไปไดดว ยดี หลวงพอเคยฝากขอคิดแกขา พเจา ในเรือ่ งนีไ้ ววา คนโบราณเขาวาหากจิง้ จกทัก จะไปไหนมาไหน ก็ตอ งเตรียมเครือ่ งใหครบ หากไมรบก็อาจตองสู แกวาจริงไหม จากนีไ้ ป เราคงจะเงีย่ หูฟง เสียงจิง้ จกทักกันมากขึน้ แลวละ จ.ุ ..จ.ุ ..จ.ุ .. 121


๖๖ หลวงพอกับศิษยใหม

หลวงพอดู พรหมปญโญ ทานเปนพระทีม่ คี วามเมตตา เปนหวงเปนใยแกศษิ ยและผทู รี่ ะลึกถึงทานทุกคนอยางทีไ่ มตอ ง สงสัย มีเรือ่ งเลามากมายเกีย่ วกับความรักความเมตตาอาทรของ ทานทีม่ ตี อ ศิษย หนึง่ ในหลาย ๆ เหตุการณนนั้ ก็คอื เรือ่ งของ พระเพือ่ นสหธรรมิกของขาพเจา ในป พ.ศ. ๒๕๓๒ ระหวางชวงเทศกาลเขาพรรษา พระนวกะจากวัดบวรนิเวศวิหาร จำนวน ๓ รูป ไดเดินทาง จากกรุงเทพฯ เพือ่ มานมัสการหลวงพอดู ทีว่ ดั สะแก ทัง้ สามองค ตางมีความตัง้ ใจตรงกันวาจะนำดอกไม ธูปเทียน มาถวายตัวเปน ศิษยของหลวงพอเพื่อกราบนมัสการ และถวายตัวเปนศิษย เพือ่ ขอเรียนพระกรรมฐาน ครัน้ กำหนดวันไดเรียบรอยตรงกันดีแลว ก็ออกเดินทาง โดยไมมโี อกาสไดกราบเรียนใหหลวงพอทราบลวงหนากอน เมือ่ เดินทางมาถึงที่หมายคือวัดสะแกก็เปนชวงเวลาใกลเพลแลวที่ บริเวณปากทางเขาวัดตางองคตา งปรึกษาหารือกันวาจะไปกราบ หลวงพอกอนดีหรือจะแวะฉันเพลกอนดี ถาหากแวะฉันเพลกอน 122


ก็จะติดเวลาทีห่ ลวงพอพักหลังเวลาเพล จะทำใหหลวงพอมีเวลา พักผอนนอยลง ตองเสียเวลามานั่งรับแขก แตหากไปกราบ นมัสการทานเลย ทัง้ สามองคตา งก็มกี งั วลวาแลวจะไดฉนั เพลกัน หรือไม ในทีส่ ดุ ก็ตดั สินใจวาไมไดฉนั ก็ไมเปนไร ไปกราบหลวงพอ ใหสมความตัง้ ใจกอนดีกวา ครัน้ พอเดินเขาประตูวดั ไดประมาณสัก รอยเมตร ก็มศี ษิ ยฆราวาสของหลวงพอคนหนึง่ ตรงเขามาหาแลว บอกวา “หลวงพ อ นิ ม นต ใ ห ฉั น เพลที่ นี่ ท า นไม ต อ งกั ง วล หลวงพอใหเด็กจัดอาหารใหแลว” ทุกองคตา งแปลกใจ เหมือนกับหลวงพอจะ...รลู ว งหนา วาจะมีพระเดินทางมาหาจึงใหลกู ศิษยจดั เตรียมอาหารไวถวาย พระดวย จากนัน้ พระทัง้ สามองคไดขนึ้ มาทีห่ อสวดมนตบริเวณ ตรงขามกุฏขิ องหลวงพอกมลงกราบพระ ๓ ครัง้ แลวหันมาทาง หลวงพอยกมือไหวทา นจากระยะไกล กอนทีจ่ ะเขามากราบทาน แตจะนัง่ พับเพียบก็ยงั ไมกลานัง่ ไดแตนงั่ คุกเขาอยู ตางองคตา ง ก็ยงั นัง่ กระสับกระสายดวยคิดกังวลกันวา คงตองอาบัตหิ ากตอง นั่งฉันโดยไมมีอาสนะในที่เดียวกับที่นั่งของฆราวาส เพราะ ตามพระวินัยแลว ภิกษุจะไมนั่งเสมอหรือรวมอาสนะเดียวกับ อนุปสัมบัน ซึง่ หมายถึง ผทู ยี่ งั ไมไดอปุ สมบท ไดแก คฤหัสถและ สามเณร หรือผทู ไี่ มใชภกิ ษุหรือภิกษุณี 123


สักครหู นึง่ ฆราวาสคนเดิมก็เขามาบอกวา “หลวงพอทานถามวา ธรรมยุตนิ ตี้ อ งมีอาสนะใชหรือไม ทานใหจดั เตรียมอาสนะมาใหแลว” ทัง้ สามองคจงึ ไดอาสนะมาปูนงั่ ฉันจนเรียบรอย ไมตอ ง อาบัติ นีเ้ ปนอัศจรรยเหมือนหลวงพอสามารถรวู าระจิตของพระ ทัง้ สามเปนครัง้ ทีส่ อง เมือ่ ฉันเสร็จจึงไดมากราบนมัสการทาน ไดแตนงั่ ขาง ลาง ไมกลานัง่ เสมอกับทาน หลวงพอทานไดเมตตาเปนที่สุด โดยเรียกใหพระใหมนงั่ ขางบนเสมอกับทานและบอกวา “เราลูก พระพุทธเจาเหมือนกัน” จากนั้นทั้งสามองคตางถวายตัวเปนศิษย หลวงพอ ทานกลาวอนุโมทนาแลวไดแนะนำใหไปเรียนพระกรรมฐานกับ พระสายหยุด ภูรทิ ตั โต ทีก่ ฏุ หิ ลังวัด

124


๖๗ คาถาของหลวงพอ

ทานที่เคยมีโอกาสไปเยือนเจดียพิพิธภัณฑของทาน พระอาจารยจวน กุลเชษโฐ ณ วัดเจติยาคิรวี หิ าร จังหวัดหนองคาย จะสังเกตบานประตูไมประดแู ผนเดียว แกะสลักดวยลายทีเ่ รียบ งายปดทองและกระจกสีเพือ่ รักษาเนือ้ ไม กลางประตูดา นในสลัก เปนรูปนกยูง ซึง่ เปนสัญญลักษณ หมายถึง คาถายูงทองของทาน พระอาจารยมนั่ ภูรทิ ตั ตมหาเถระ ทีศ่ ษิ ยของทานทุกองคตา งให ความเคารพและระลึกถึงโดยสวดสาธยายเปนประจำวา “...นะโม วิมตุ ตานัง นะโม วิมตุ ติยา” คืนวันหนึง่ ขาพเจาไดมโี อกาสกราบนมัสการเรียนถาม หลวงพอดวู า “ลูกศิษยทา นพระอาจารยมนั่ มีคาถายูงทองเปน เครื่องระลึกถึงครูบาอาจารย แลวลูกศิษยของหลวงพอควรใช คาถาบทใดเปนเครือ่ งระลึกถึงพระคุณของครูบาอาจารยบา ง” หลวงพอไดวสิ ชั นาโดยใหขา พเจาไปเปดดูอณ ุ หัสสวิชยั สูตรในหนังสือมุตโตทัย ซึง่ เปนคำสอนของทานพระอาจารยมนั่ ภูรทิ ตั ตมหาเถระ (รวบรวมและเรียบเรียงโดยพระอาจารยวริ ยิ งั ค สิรนิ ธโร วัดธรรมมงคล) 125


พระสูตรนีม้ คี วามไพเราะทัง้ อรรถและพยัญชนะทีค่ วร ศึกษา จดจำ และทำความเขาใจใหแยบคายโดยยิง่ ทานไดกลาว ไววา “ผใู ดมาถึงพระพุทธเจา พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะที่ พึง่ แลว ผนู นั้ ยอมชนะไดซงึ่ ความรอน” อุณหัสส คือ ความรอนอันเกิดแกตน มีทงั้ ภายในและ ภายนอก ภายนอกมีเสือสางคางแดง ภูตผีปศ าจเปนตน ภาย ในคือกิเลส วิชยั คือ ความชนะ ผทู มี่ านอมเอาสรณะทัง้ สามนีเ้ ปน ที่พึ่งแลวยอมจะชนะความรอนเหลานั้นไปไดหมดทุกอยาง ที่ เรียกวา อุณหัสสวิชยั อุณหสฺสวิชโย ธมฺโม พระธรรมเปนของยิง่ ในโลกทัง้ สาม โลเก อนุตตฺ โร สามารถชนะซึง่ ความรอนอกรอนใจ อันเกิดแตภยั ตาง ๆ ปริวชฺเช ราชทนฺเฑ จะเวนหางจากอันตรายทัง้ หลาย คือ พยคฺเฆ นาเค วีเส อาชญาของพระราชา เสือสาง นาค ภูเต ยาพิษ ภูตผีปศ าจ อกาลมรเณน จ หากวายังไมถงึ คราวถึงกาลทีจ่ กั ตายแลว สพฺพสฺมา ก็จกั พนไปไดจากความตายดวยอำนาจ มรณา มุตโฺ ต พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ทีต่ นนอม เอาเปนสรณะทีพ่ งึ่ ทีน่ บั ถือนัน้

126


ความขอนี้มีพระบาลีสาธกดังจะยกมาอางอิง ในสมัย เมือ่ สมเด็จพระผมู พี ระภาคเจาประทับอยรู าวปามหาวันใกลกรุง กบิลพัสด พรอมดวยพระอรหันตหนมุ ๕๐๐ รูป เทวดาทัง้ หลาย พากันมาดูแลวกลาวคาถาขึน้ วา เยเกจิ พุทธฺ ํ สรณํ บุคคลบางพวกหรือบุคคลใด ๆ คตา เส น เต คมิสสฺ นฺติ มาถึงพระพุทธเจาเปนสรณะทีพ่ งึ่ แลว อปายภูมิ ปหาย มานุสํ บุคคลเหลานัน้ ยอมไมไปสอู บาย เทหํ เทวกายํ ภูมทิ งั้ ๔ มี นรก เปนตน เมือ่ ละ ปริปเู รสฺสนฺติ รางกายอันเปนของมนุษยนแี้ ลว จักไปเปนหมแู หงเทพยดา ทัง้ หลาย ดังนี้ สรณะทัง้ ๓ คือพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ มิไดเสือ่ ม สูญ อันตรธานไปไหน ยังปรากฏอยแู กผปู ฏิบตั เิ ขาถึงอยเู สมอ ผใู ดมายึดถือเปนทีพ่ งึ่ ของตนแลว ผนู นั้ จะอยใู นกลางปาหรือเรือน วางก็ตาม สรณะทัง้ สามปรากฏแกเขาอยทู กุ เมือ่ จึงวาเปนทีพ่ งึ่ แกบคุ คลจริง เมือ่ ปฏิบตั ติ ามสรณะทัง้ สามจริงๆ แลว จะคลาด แคลวจากภัยทั้งหลาย อันกอใหเกิดความรอนอกรอนใจไดแน นอนทีเดียว สมดังทีห่ ลวงพอดทู า นพร่ำย้ำเตือนศิษยอยเู สมอวา “พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ใครเชือ่ จริง ทำจริง ก็จะเจอ ของจริง” 127


๖๘ อยาใหใจเหมือน...

ในหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพของหลวงปูขาว อนาลโย แหงวัดถ้ำกลองเพล จังหวัดอุดรธานี ซึ่งเขียนโดย ทานพระอาจารยมหาบัว ญาณสัมปนโน ไดเลาถึงคราวทีห่ ลวง ปขู าวเกิดความสงสัยในการปฏิบตั แิ ละไดเรียนถามหลวงปมู นั่ วา “ในครั้งพุทธกาล ตามประวัติวามีผูสำเร็จมรรคผล นิพพานมากและรวดเร็วกวาสมัยนี้ ซึง่ ไมคอ ยมีผใู ดสำเร็จกัน แม ไมมากเหมือนครั้งโนน หากมีการสำเร็จได ก็รูสึกจะชากวา กันมาก” หลวงปูมั่นทานตอบวา...“กิเลสของคนในพุทธสมัยมี ความเบาบางมากกวาในสมัยปจจุบนั แมการอบรมก็งา ย ผิดกับ สมัยนีอ้ ยมู าก ประกอบกับผสู งั่ สอนในสมัยนัน้ ก็เปนผรู ยู งิ่ เห็นจริง เปนสวนมาก มีพระศาสดาเปนพระประมุขประธานแหงพระสาวก ในการประกาศสอนธรรมแกหมชู น การสอนจึงไมคอ ยผิดพลาด คลาดเคลือ่ นจากความจริง ทรงถอดออกมาจากพระทัยทีบ่ ริสทุ ธิ์ ลวนๆ หยิบยืน่ ใหผฟู ง อยางสดๆ รอนๆ ไมมธี รรมแปลกปลอม เคลือบแฝงออกมาดวยเลย 128


ผูฟงก็เปนผูมุงตอความจริงอยางเต็มใจซึ่งเปนความ เหมาะสมทัง้ สองฝาย ผลทีป่ รากฏเปนขัน้ ๆ ตามความคาดหมาย ของผูมุงความจริง จึงไมมีปญหาที่ควรขัดแยงไดวาสมัยนั้น คนสำเร็จมรรคผลกันทีละมากๆ จากการแสดงธรรมแตละครัง้ ของพระศาสดาและพระสาวก สวนสมัยนีไ้ มคอ ยมีใครสำเร็จได คลายกับคนไมใชคน ธรรมไมใชธรรม ผลจึงไมมี ความจริงคนก็คอื คน ธรรมก็คอื ธรรม อยนู นั่ เอง แตคนไมสนใจธรรม ธรรมก็เขาไมถงึ ใจ จึงกลายเปน วา คนก็สกั วาคน ธรรมก็สกั วาธรรม ไมอาจยังประโยชนใหสำเร็จ ได แมคนจะมีจำนวนมากและแสดงใหฟง ทัง้ พระไตรปฎก จึงเปน เหมือนเทน้ำใสหลังหมา มันสลัดออกเกลีย้ งไมมเี หลือ ธรรมจึง ไมมคี วามหมายในใจของคนเหมือนน้ำไมมคี วามหมายบนหลัง หมาฉะนัน้ ” ขาพเจาอดนึกถามตัวเองไมไดวา ... “แลวเราละ เวลานี้ ใจเราเปนเหมือนหลังหมา หรือเปลา”

129


๖๙ วัตถุสมบัติ ธรรมสมบัติ

ทามกลางความหลากหลายของอารมณ ความรสู กึ นึก คิด และกระแสแหงความแสวงหา ใจทุกดวงทีม่ คี วามเรารอน วนุ วาย สับสน เปาหมายคือเพือ่ ใหไดสงิ่ ทีต่ อ งการมา แตเมือ่ ไดสงิ่ ทีค่ ดิ วาตองการมาแลว ก็ดเู หมือนวายิง่ แสวงหา ก็ยงิ่ ตอง ดิน้ รนมากขึน้ สิง่ ทีไ่ ดมานัน้ มีสขุ นอยมีทกุ ขมาก หากจะมีสขุ บาง ก็เปนเพียงสุขเล็กนอยในเบื้องตน แตในที่สุดก็กลับกลายเปน ทุกขอกี เปนอยางนีซ้ ้ำแลวซ้ำเลาอารมณตา งๆ เหลานี้ ไมเพียง พอทีจ่ ะใหเกิดความชมุ ฉ่ำเย็นใจอบอนุ ไดยาวนาน หากแตเปน อารมณทคี่ า งใจอยตู ลอดเวลาทำใหอยากดิน้ รนแสวงหาสิง่ ใหม มาทดแทนอยเู สมอ นีเ้ ปนธรรมดาของ...วัตถุสมบัติ สวน...ธรรมสมบัติ นัน้ จะยังความชมุ ชืน่ เพียงพอให เกิดขึน้ แกจติ ใจได มีลกั ษณะเปนความสุขทีไ่ มกลับกลายมาเปน ความทุกขอีก วัตถุสมบัติยิ่งใชนับวันยิ่งหมดไป ตองขวนขวาย แสวงหาเพิ่มเติมดวยความกังวลใจ ธรรมสมบัติยิ่งใชนับวันยิ่ง เจริญงอกงามขึ้น กอใหเกิดความสุข สงบ เย็นใจแกตนและ คนรอบขาง 130


คงไมมีใครที่ไดรูจักหลวงพอปฏิเสธวา หลวงพอทาน เปนแบบอยางทีด่ ขี องบุคคลทีใ่ ช..ธรรมสมบัติ ยังความ สงบเย็น ใหแกใจทุกดวงทีไ่ ดเขามาใกลชดิ ทานไมเฉพาะคนหรือสัตว แต รวมไปถึงเหลาเทพยดาและอมนุษยทงั้ หลายทีศ่ ษิ ยของหลวงพอ หลายคน ตางมีประสบการณอนั เปน ปจจัตตัง และสามารถเปน ประจักษพยานไดอยางดี หลวงพอเคยบอกขาพเจาวา “คนทำ (ภาวนา) เปนนี่ ใครๆ ก็รกั ไมเฉพาะคน หรือสัตวทรี่ กั แมแตเทวดาเขาก็อนุโมทนาดวย”

131


๗๐ ทำไมหลวงพอ...

สมัยที่พระพุทธเจาประทับอยูในพระเชตวัน ทรงปลง อายุสงั ขารแลวนัน้ ไดทรงปรารภเรือ่ งพระติสสะเถระใน คราวที่ พระองคจวนจะปรินพิ พาน มีความตอนหนึง่ ทีท่ า น พระอาจารย มหาบัว ญาณสัมปนโนไดนำมาถายทอดอบรม ศิษยไวในหนังสือ “ความรักเสมอตนไมม”ี ความวา “...กอนจะปรินิพพานจากวันปลงพระชนมไปถึงเดือน หกเพ็ญ พระสงฆยงุ กันใหญ พอปลงพระชนมวา จะ ปรินพิ พาน เดือนหกเพ็ญเทานัน้ ยงุ กันเกาะกันเปนฝูงๆ วา งัน้ เลย อยาวา เปนคณะๆ เลย เปนฝูงๆ คือจิตใจมันยงุ แตภายนอก มีพระติสสะองคเดียวไมยุงกับใคร เขาอยูในปาตลอด ทัง้ วันทัง้ คืน แลวพระบาเหลานีห้ าวาพระติสสะไมมคี วามจงรัก ภักดีตอ พระพุทธเจา พระพุทธเจาจะปรินพิ พานทัง้ องค พระติสสะ ไม เ ห็ น มาปรารภอะไรเลย อยู แ ต ใ นป า จึ ง พากั น เข า ฟ อ ง พระพุทธเจา วาพระติสสะไมมคี วามหวังดีในพระพุทธเจา ไมมี ความเยือ่ ใยในพระพุทธเจา หลีกไปอยู แตองคเดียว

132


พระองคเปนผทู รงเหตุผลอยแู ลว รับสัง่ พระติสสะ มา ทามกลางสงฆ ไหนวาไง พระติสสะเวลานี้ พวกบานี้ ถาเปน หลวงตาบัวจะพูดอยางนัน้ เวลานีพ้ วกบานัน่ วาเธอไมมคี วาม จงรักภักดีตอ เราตถาคต ไปแอบอยคู นเดียวทัง้ วันทัง้ คืน ไมเขา มาเกีย่ วของมัว่ สุมกับหมเู พือ่ นเลย วาไงพระติสสะ รับสัง่ ถาม ขาพระองคมคี วามจงรักภักดีตอ พระองคสดุ หัวใจ นัน่ เวลาตอบ เทาทีข่ า พระองคไมไดมาเกีย่ วของกับหมเู พือ่ น ก็เพราะ เห็นวาเวลาของพระองคนนั้ กำหนดไวเรียบรอยแลว จากนีถ้ งึ วัน นัน้ จะปรินพิ พาน ความเปนไปในจิตของเราเปนยังไง แลวรีบเรง ขวนขวายจิตใจของเราใหทันการณ จะควรบรรลุธรรมก็ใหได บรรลุในระยะทีพ่ ระองคยงั ทรงพระชนมอยู ขาพระองคตอ งรีบ เรงขวนขวายทางดานจิตใจ ไมไดเกีย่ วของกับใครเลยทัง้ วันทัง้ คืน เออ ถูกตองแลวติสสะ สาธุๆ ถูกตองแลว จากนัน้ ก็ยกขึน้ เปนภาษิตวา “ผใู ดปฏิบตั ธิ รรมสมควร แกธรรม ผนู นั้ ชือ่ วาบูชาเราตถาคต...” คำวา ปฏิบตั ธิ รรมสมควร แกธรรม นีท้ ำใหขา พเจานึกถึงครัง้ ทีม่ เี พือ่ นผปู ฏิบตั ทิ า นหนึง่ มา ปรารภใหฟงเกี่ยวกับ การภาวนาของตนวา “ไมกาวหนาเลย ทำไมหลวงพอไมมาสอนผม ทำไมหลวงพอไมชว ย ทำไมหลวง พอ...” หลวงพอดูไดเคยใหกำลังใจในการปฏิบัติ แกขาพเจา วา “หมัน่ ทำเขาไว พระทานคอยจะชวยเราอยแู ลว เราได ชวยเหลือตัวเองกอนหรือยัง”” 133


ขาพเจาจึงตอบเพือ่ นผนู นั้ กลับไปวา อยามัวแตถามวา ทำไมหลวงพอ... ทำไมหลวงพอ...แตควรถามตัวเราเองวา “ทำไมเราไมทำตัวใหสมกับทีท่ า นสอนละ เราปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธรรมแลวหรือยัง” ถาเราปฏิบตั ธิ รรมสมควรแกธรรมแลว ไดเตรียมใจของ เราใหเปนภาชนะอยางดีสำหรับรองรับธรรม สามารถเก็บรักษา ธรรมมิใหตกหลน สูญหายไปได ขาพเจาเชือ่ เหลือเกินวา... พระพุทธเจาและหลวงพอไมทงิ้ เราแนนอน

134


๗๑ “งาน” ของหลวงพอ

ทุกชีวิตยอมมีงาน เพราะงานเปนสวนหนึ่งของชีวิต บางทีเราอาจลืมไปวา งานของชีวติ ทีเ่ ราทำอยดู แี ลวพอแลว แต ยังมีงานอืน่ ทีน่ อกเหนือจากหนาทีก่ ารงานหรืองานประจำ ทีเ่ รา ทำอยู ทานพุทธทาสภิกขุเคยใหโอวาทตอนหนึง่ วา “.....ใหเอางานในความหมายของคนทัว่ ไป เปนงาน อดิเรก เอางานคือการปฏิบัติธรรมเปนงานหลักของชีวิต เปนการงานทีแ่ ทจริงของชีวติ ” ถาเราเขาใจในความหมายนี้ ชีวิตจะสดใสขึ้น ปลอด โปรงใจขึน้ ความกังวล ความกลัดกลมุ จะลดลง ความโลภ ความ โกรธ ความหลงจะลดลง หากไดฝก สังเกตความคิดและ ความ รสู กึ ของตนเอง นีเ่ ปนงานของชีวติ อีกระดับหนึง่ ทีค่ วรทำความ เขาใจและปฏิบตั ใิ หถกู ตอง หลวงพอดมู กั จะใชคำศัพททวี่ า ใหไป “ทำงาน” กับลูกศิษย ซึง่ หมายถึง ใหไป “ภาวนา” หรือ อีกนัย หนึง่ “งาน” ในความหมายของทาน ก็คอื “งานรือ้ วัฏฏะ” นัน่ เอง

135


ทานเคยบอกขาพเจาวา “ทุ ก อย า งที่ เ ราทำวั น นี้ เพื่ อ เอาไว กิ น วั น ข า งหน า พอตายแลว โลกเขาขนเอาบาปกันไป แตเราจะขนเอาบุญ เอา นิพพานไป” ในครั้งพุทธกาล พระพุทธเจาไดตรัสกับพระอานนท และพระอรหันตทงั้ หลายวา “ดูกอ นภิกษุทงั้ หลาย บุคคลผจู ะไปสสู คุ ติไดนนั้ นอย มาก เทากับโคสองเขาเทานัน้ ผทู จี่ ะตกอยใู นหวงของ อบายภูมิ นัน้ มีเทากันกับขนโคทัง้ ตัว” อันที่จริงมนุษยแตละคนอยูในโลกนี้ชั่วระยะเวลาสั้น เหลือเกิน ถาเทียบกับอายุของโลกหรืออายุของจักรวาล ถูกของหลวงพอเปนทีส่ ดุ ... เวลาไมกี่ปบนโลกใบนี้ เรายังเตรียมอะไรกันตั้งมาก มาย ขวนขวายหาซือ้ บาน ซือ้ ทีด่ นิ ซือ้ รถยนต หาเงินเก็บเงิน ฝาก ธนาคาร แสวงหาสมบัตพิ สั ถานจิปาถะ และยังตองแสวง หาไว เผือ่ ลูกเมีย บางคนถึงรนุ หลานก็ยงั กินไมหมดเลยทีเดียว ทุกชีวติ สิน้ สุดที่ ตาย คำเดียวเสมอกันหมด เราพรอมสำหรับ วันนัน้ หรือ ยัง มาทำงานถวายหลวงพอกันเถอะ

136


๗๒ ขอเพียงความรสู กึ

นักปฏิบตั ภิ าวนาหลายทานชอบติดอยกู บั การทำสมาธิ แบบสงบ ไมชอบทีจ่ ะใชปญ  ญาพิจารณาเรือ่ งราวตางๆ ใหเห็น เหตุและผล ใหลงหลักความจริง หากจะถามวาพิจารณาอยางไร? ครัง้ หนึง่ หลวงพอเคยยกตัวอยางใหขา พเจาฟงวา หาก ใจเราวางจากการพิจารณาเรือ่ งเกีย่ วกับความจริงของชีวติ แลว เรือ่ งทีค่ วรสนใจศึกษานอมนำมาพิจารณาใหมากอีกเรือ่ งหนึง่ คือ พุทธประวัติ ประวัตขิ องครูบาอาจารยองคตา งๆ ไดแก ทานพระ อาจารยมนั่ ภูรทิ ตั ตโต ทานพระอาจารยมหาบัว ญาณสัมปนโน เปนตน การพิจารณานัน้ ขอใหเทียบเคียงความรสู กึ วา เรามีความ รคู วามเขาใจในเรือ่ งทีศ่ กึ ษามากขึน้ เพียงใด เชน ในชวงปแรกที่ เราไดรจู กั ทานพระอาจารยมหาบัว ญาณสัมปนโน เรามีความ รสู กึ เคารพเลือ่ มใสทานอยางไร ตอมาเราไดไปอยปู ฏิบตั ภิ าวนา ที่วัดของทาน ไดเห็นขอวัตรปฏิบัติตางๆ ของทาน ไดเห็น สาธารณประโยชนหลายอยางที่ทานพาทำ ความรูสึกเคารพ เลื่อมใสศรัทธาของเรายอมมีมากขึ้นฉันใด การศึกษาพุทธ ประวัตกิ ฉ็ นั นัน้ 137


ในระยะแรกของการศึกษา...เราอาจจะยังไมมีความ เคารพเลื่อมใสในพระพุทธเจามากนัก แตเมื่อเราไดปฏิบัติ ภาวนามากขึน้ ไดพจิ ารณามากขึน้ การไดอา นเรือ่ งของ เจาชาย สิทธัตถะ จะไมเปนเพียงการอานเรื่องราวของเจาชายที่ละทิ้ง ปราสาทราชวัง ทิง้ พระชายา พระโอรส เหมือนสมัยเราเปนเด็ก ทีเ่ พิง่ เริม่ ศึกษาพุทธประวัติ หากแตเราจะสามารถเขาใจ ความรูสึก ของเจาชาย สิทธัตถะ ในแตละเหตุการณของพุทธประวัติไดอยางดี จาก ศรัทธาธรรมดาทีเ่ คยมีในใจ จะเริม่ กอตัวมัน่ คงยิง่ ขึน้ จนกลาย เปน ตถาคตโพธิสัทธา คือ ความเชื่อในปญญาตรัสรูของ พระพุทธเจา เมือ่ นัน้ ความปติ อิม่ เอิบ และสงบเย็นจะปรากฏ ขึน้ ในใจ ใจกับธรรมทีเ่ คยแยกเปนคนละสวนกัน จะกลายเปน ใจกับธรรมทีผ่ สมผสานเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน การฟงเทศนจากครูอาจารย ที่เคยฟงผานเพียงโสต วิญญาณ จะกลายเปนการฟงธรรม ทีก่ ารฟงนัน้ สัมผัสลงสมู โน วิญญาณ สามารถเขาถึง ความรสู กึ ของใจ อยางแทจริง

138


๗๓ ปาฏิหาริย

ขาพเจาขออนุญาตเขียนเรือ่ งนี้ เพือ่ ทีท่ า นผอู า นจะไดมี ความเขาใจในวิธีการสอนของหลวงพอดูมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะ อยางยิง่ ในเรือ่ งของ “ปาฏิหาริย” ทีค่ นสวนใหญเขาใจกันแต เพียงความหมายของ “อิทธิปาฏิหาริย” และเหมารวม วาเปน สิง่ เดียวกันซึง่ เปนความเขาใจทีไ่ มถกู ตอง เทาทีข่ า พเจาไดยนิ ได ฟงจากเพือ่ นหมคู ณะและทีป่ ระสบดวยตนเอง จึงเชือ่ เหลือเกินวา ศิษยหลวงพอหลายๆ ทานเคยมีประสบการณและเห็นชัดดวย ตนเองมาแลว ในพระพุ ท ธศาสนานี้ พระพุ ท ธเจ า ท า นสอนเรื่ อ ง ปาฏิหาริยไ วมี ๓ อยาง คือ ๑. อิทธิปาฏิหาริย คือ ปาฏิหาริยใ นเรือ่ งการแสดงฤทธิ์ แสดงความเปนผวู เิ ศษ ดลบันดาลสิง่ ตาง ๆ เหาะเหิน เดินอากาศ นิรมิตกายใหเปนหลายคนได มีหทู พิ ย ตาทิพย เปนตน ๒. อาเทศนาปาฏิหาริย คือ การทายใจ ทายความรสู กึ ในใจ ทายความคิดของผถู กู สอนได

139


๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย คือ คำสอนทีแ่ สดงความจริง ใหผูฟงรูและเขาใจ มองเห็นความเปนจริงของโลก ใหผูฟงได ปฏิบัติตามอยางนี้ ละเวนการปฏิบัติอยางนั้น และยังสามารถ นำไปประพฤติปฏิบตั ติ าม จนรเู ห็นไดผลจริงดวยตนเอง ปาฏิหาริยท งั้ ๓ อยางนี้ พระพุทธเจาไมทรงสรรเสริญ ๒ อยางแรก คือ อิทธิปาฏิหาริย และอาเทศนาปาฏิหาริย หาก แสดงเพียงอยางใดอยางหนึ่งและไมนำไปสูอนุศาสนีปาฏิหาริย ซึง่ เปนปาฏิหาริยท พี่ ระองคทรงสรรเสริญมากทีส่ ดุ ในเกวัฏฏสูตรไดเลาถึงครัง้ พุทธกาล ก็เคยมีชาวบานที่ เมืองนาลันทาชือ่ เกวัฏฏะ ไดกราบทูลพระพุทธเจา ขออนุญาต ใหพระภิกษุรูปหนึ่งกระทำอิทธิปาฏิหาริย เพื่อใหชาวเมือง นาลันทาเลือ่ มใสในพระพุทธเจา พระพุทธเจาทรงตอบเกวัฏฏะ สรุปไดความวา ทรงรังเกียจปาฏิหาริยประเภทฤทธิ์ เนื่องจาก ปาฏิหาริยป ระเภทฤทธิ์ แมจะมีฤทธิม์ ากมาย แตกไ็ มอาจทำให ผถู กู สอนรคู วามจริงในสิง่ ทัง้ หลาย ไมสามารถแกขอ สงสัยในใจ ตนได เมือ่ แสดงแลวผไู ดพบเห็นหรือไดยนิ ได ฟงก็จะงง ดูเหมือน ผูที่แสดงเกงแตผูถูกสอนก็ยังมีความไมรูอยูเหมือนเดิม แต อนุศาสนีปาฏิหาริยจ ะทำใหผฟู ง เกิดปญญา ไดรคู วามจริง ไมตอ ง มัวพึง่ พาผทู แี่ สดงปาฏิหาริย แตจะสามารถพึง่ พาตนเองได เหตุผลอีกประการหนึง่ คือหากชาวพุทธมัวแตยกยอง ผูมีอิทธิปาฏิหาริยแลวอาจทำใหเสียหลักศาสนาได เนื่องจาก 140


พระสงฆผปู ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ แตไมมอี ทิ ธิปาฏิหาริย ซึง่ มีอยู เปนจำนวนมาก จะไมไดรับการบำรุงจากชาวบาน แตผูที่ไมมี คุณธรรมเปนสาระแกนสาร หากแตมอี ทิ ธิปาฏิหาริย จะมีผคู น ศรัทธาใหความเคารพนับถือแทน อยางไรก็ตามพระพุทธเจาก็มไิ ดทรงละการทำฤทธิ์ และ ดักทายใจ ถาเราไดศกึ ษาพุทธประวัตใิ นบทสวดพาหุง จะ พบวา พระองคทรงใชฤทธิป์ ราบ เชน เรือ่ งพระองคุลมิ าล หรือ ทรงใช ฤทธิป์ ราบฤทธิ์ เชน เรือ่ งปราบพญานาคทีช่ อื่ นันโทปนันทะ หรือ เรือ่ งปราบทิฏฐิทา วพกาพรหม เมือ่ ปราบเสร็จก็เขาสอู นุศาสนี ปาฏิหาริย คือ ทรงแสดงคำสอนทีท่ ำใหเห็นหลักความเปนจริง ซึง่ เมือ่ ผใู ดปฏิบตั ติ ามก็ยอ มจะพบความจริงแหงความพนทุกข หลวงพอดทู า นก็ไดดำเนินตามพุทธวิธกี ารสอนนีเ้ ชนกัน ขาพเจาและเพือ่ นหมคู ณะหลายทานขอเปนประจักษ พยาน ใน ระยะแรกทีข่ า พเจาไดมาวัดสะแกและพบกับเหตุการณตา งๆ ที่ เรียกกันวา “ปาฏิหาริย” อันเกีย่ วเนือ่ งกับ หลวงพอดนู ี้ ขาพเจา รสู กึ แปลกใจและงุนงงกับเรือ่ งราวทีเ่ กิดขึน้ ตอมาเมือ่ ไดศกึ ษา คำสอนของครูบาอาจารยมากขึน้ จึงเริม่ มีความเขาใจทีถ่ กู และ เริม่ รวู า หลวงพอตองการจะสอนอะไรกับเรา การเรียนธรรมะ การฟงธรรมะของผูเริ่มสนใจศึกษา หลายๆ ทานเปรียบเสมือนการกินยาขมดังนัน้ หลวงพอจึงไดใช กุศโลบาย นำเอา “ปาฏิหาริย” ทั้งสามอยางมาใชกับศิษย ประกอบกันจึงสำเร็จประโยชนดว ยดี 141


เหมือนกับทานใหเราทานยาขมที่เคลือบดวยขนม หวานเอาไว เมือ่ ทุกคนตระหนักและเขาใจในคุณประโยชนของ ยาขมดีแลว ขนมหวานนัน้ ก็จะหมดความหมายไป

142


๗๔ เรือ่ งบังเอิญทีไ่ มบงั เอิญ

ในชีวติ ของเราทุกๆ คน คงเคยไดผา นเหตุการณตา งๆ หลากหลายรส และในบรรดาเหตุการณหลายเรือ่ งทีผ่ า นไปนัน้ คงมีบางเรือ่ งทีเ่ ราเคยมีความรสู กึ วา...ชางบังเอิญเสียจริงๆ คำวา “บังเอิญ” นีส้ ำหรับนักปฏิบตั ภิ าวนาแลวดูเหมือน จะขัดกับ “หลักความจริง” ตามคำสอนของพระพุทธเจาของเรา ดังเรือ่ งทีข่ า พเจาขอยกมาเปนตัวอยางนี้ ภายหลังทีพ่ ระพุทธเจาตรัสรู และไดแสดงธรรมโปรด ฤๅษีทงั้ ๕ หรือปญจวัคคีย จนไดบรรลุธรรมะเปนพระอรหันต แลววันหนึง่ พระอัสสชิ หนึง่ ในปญจวัคคียไ ดเขาไปบิณฑบาตใน เมือง ยังมีปริพาชกหรือนักบวชนอกพุทธศาสนารูปหนึ่ง ชื่อ อุปติสสะ เดินมาพบพระอัสสชิเขา ไดแลเห็นทาทางอันสงบ นาเลือ่ มใส จึงเขาไปถามทานวา “ใครเปนศาสดาของทาน ศาสดาของทานสอนวาอยางไร” พระอัสสชิตอบวา 143


“เย ธมฺมา เหตุปปฺภวา เตสํ เหตุ ตถาคโต เตสฺ จ โย นิโรโธ จ เอวํ วาที มหาสมโณ” แปลไดความวา “ธรรมทัง้ หลายเกิดจากเหตุ ถาตอง การดับ ตองดับเหตุกอ น พระพุทธองคทรงสอนอยางนี”้ อุปติสสะเมือ่ ไดยนิ คำตอบก็เกิดความแจงในจิต จนได บรรลุธรรมเบื้องตนในที่นั้นเองและขอเขาบวชกับพระพุทธเจา ตอมาทานไดบรรลุธรรมเปนพระอรหันต เปนพระอัครสาวกเบือ้ ง ขวา ทีเ่ รารจู กั กันในนามของ พระสารีบตุ ร นัน่ เอง พระพุ ท ธศาสนา เป น ศาสนาที่ ว า ด ว ยเหตุ กั บ ผล ผลยอมเกิดแตเหตุเทานัน้ จะเกิดขึน้ ลอยๆ ไมได หลวงพอเคยบอกขาพเจาวา “ถาเรามีญาณหยัง่ รู ทุกสิง่ ทุกอยางทีเ่ กิดในชีวติ เรา ไมมเี รือ่ งบังเอิญเลย” ผปู ฏิบตั ภิ าวนาตองใหความสำคัญทีเ่ หตุ มากกวาให ความสำคัญทีผ่ ล จึงขอใหตงั้ ใจสรางแตเหตุทดี่ ๆี เพือ่ ผลทีด่ ใี น วันพรงุ นี.้ ..และตอๆ ไป

144


๗๕ คลืน่ กระทบฝง

ขาพเจาขอเลาเหตุการณหนึง่ ซึง่ เกิดขึน้ เมือ่ ตนป ๒๕๔๐ มานี้ที่ขาพเจาเชื่อวาหลวงพอดูทานเมตตามาโปรด โดยเฉลย ปญหาขอขัดของใจในการปฏิบตั ธิ รรมของขาพเจา เรื่องมีอยูวาในระหวางนั้น ขาพเจามีขอขัดของในการ ปฏิบตั วิ า จะมีอบุ ายวิธอี ยางไรจึงจะสามารถควบคุมอารมณ ควบ คุมจิตใจของเราใหเปนไปในทางทีเ่ ราตองการได ในคืนนัน้ ขณะที่ ขาพเจาเดินจงกรมภาวนา เมือ่ ใจเกิดความสงบดีแลว ขาพเจา รูสึกเหมือนไดยินเสียงหลวงพอดูบอกขาพเจาวา คำตอบที่ ขาพเจาตองการนัน้ อยใู นหนังสือ “อุปลมณี” ซึง่ เปนหนังสือเรือ่ ง ราวชีวิตและการปฏิบัติธรรม ตลอดจนรวมธรรมคำสอนของ ทานพระโพธิญาณเถระหรือหลวงพอชา สุภทั โท วัดหนองปาพง อำเภอวารินชำราบ จังหวัด อุบลราชธานี ขาพเจาจึงเดินไปที่ ตู ห นั ง สื อ และหยิบเอาหนังสือ อุปลมณี มาพลิกดู เปนที่อัศจรรยสำหรับขาพเจาวา หนังสือ อุปลมณี ซึ่งเปนหนังสือเลมโต มีความหนาถึง ๕๘๕ หนา ขาพเจาพลิกดูเพียงสองสามหนาก็บังเกิดความปติขนลุกขนชัน 145


เนือ่ งจากไดพบกับเรือ่ งทีต่ อ งการในหนา ๒๗๖ มีใจความวา ธรรมอุปมา การอุปมาเปนวิธีการสอนธรรมะที่ดูเหมือนหลวงพอ ชอบมากทีส่ ดุ และเปนวิธที ที่ า นถนัดมากทีส่ ดุ ดวย ทานยกเอา ธรรมชาติรอบดานเขากับสภาวะ เขากับปญหาถูกกับจริตนิสัย ของคนนัน้ อุปมาอุปไมยประกอบการสอนธรรมะ จึงทำใหผฟู ง เกิดภาพพจนตามไปดวย ทำใหผฟู ง สามารถมองปญหาไดอยาง ทะลุ ป รุ โ ปร ง หมดความสงสั ย ในหลั ก ธรรมที่ นำมาแสดง ตัวอยางการอุปมาของหลวงพอ ไดแก “การทำกรรมฐาน ทำเหมือนระฆังใบนี้ ระฆังนี้ตั้งไว เฉยๆ เสียงไมมนี ะ สงบ สงบจากเสียง เมือ่ มีเหตุกระทบขึน้ มา (หลวงพอตีระฆังดัง ๑ ที) เห็นไหมเสียงมันเกิดขึน้ มา นักปฏิบตั ิ เปนคนมักนอยอยางนัน้ เมือ่ มีปญ  หาเกิดขึน้ มา แกไขทันทวงทีเลย ชนะดวยปญญาของเรา แกปญ  หาแลวก็สงบตัวของเราเหมือนระฆัง นี”้ ... “เหมือนกับคลืน่ ในทะเลทีก่ ระทบฝง เมือ่ ขึน้ มาถึงแคฝง มันก็สลายเทานัน้ คลืน่ ใหมมาก็ตอ ไปอีก มันจะเลยฝง ไปไมได อารมณมนั จะเลยความรขู องเราไปไมไดเหมือนกัน เรือ่ ง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จะพบกันทีต่ รงนัน้ มันจะแตกราวอยทู ตี่ รงนัน้ มัน จะหายก็อยตู รงนัน้ เห็นวา อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คือ ฝง ทะเล อารมณทงั้ หลายผานเขามาเหมือนคลืน่ ทะเล” 146


ขณะนัน้ เปนเวลาดึกมากแลว ขาพเจาจึงคิดวา สมควร แกเวลาพักผอน จึงไดขนึ้ มาทีห่ อ งนอน ทีต่ หู วั เตียงมีหนังสืออยู หลายเลม แตเหมือนมีสิ่งใดดลใจใหขาพเจาหยิบ หนังสือเลม หนึง่ ขึน้ มา ชือ่ “พุทธทาส สวนโมกขพลาราม กำลังแหงการหลุด พน” เปนหนังสือขนาดพอๆ กับอุปลมณี ซึง่ รวมคำสอนของทาน พุทธทาสภิกขุไวมเี นือ้ หา ๓๕๖ หนา และมีความหนาถึงหนึง่ นิว้ ขาพเจาเปดหนังสือ พลิกดู ๒-๓ หนา ก็บงั เกิดความปตจิ นขนลุก ขนชันอีกครั้ง เนื่องจากไดพบกับธรรมอุปมาในเรื่อง คลื่ น กระทบฝง ซึง่ เปน เรือ่ งเดียวกันอีก คัดลอกจากเทปบันทึกเสียง ทานพุทธทาสภิกขุ ซึง่ อยใู นหนา ๑๔๖ มีใจความวา

หลักปฏิบตั เิ กีย่ วกับพลังงานทางเพศ มันเปนไปโดยอัตโนมัติ ไมไดมแี ผนการคือ เราทำงาน ทีเ่ ราชอบหามรงุ หามค่ำ แลวพลังงานทีเ่ หลือทีร่ นุ แรงทางนัน้ มันก็ลด มันก็หมดไป แรงกระตนุ อยากมีชอื่ เสียง อยากใหมี ประโยชนแกผอู นื่ ทีเ่ ขาคอยรอผลงานของเรา อันนีม้ นั มีมากกวา นีก่ เ็ ลยทำเสียจนหมดแรง พอเพลียก็หลับไป พอตืน่ ขึน้ มาก็ทำ อีก ไมมโี อกาสใชแรงไปทางเพศตรงกันขาม เราไมไดเจตนา โดยตรง มันเปนไปเองเหตุการณมนั บังคับ ใหเปนไปเอง คือ เราหาอะไรทำใหมนั งวนอยกู บั งาน พอใจในงาน เปนสุขในงาน มันก็ซบั บลีเมท (sublimate หมายถึง กลัน่ กรอง ทำใหบริสทุ ธิ์ - ผเู ขียน) ของมันเอง เอาแรงทางเพศมาใชทางสติปญ  ญา เอา 147


แรงงานกิเลสมาใชเปนเรือ่ งของสติปญ  ญา ตองมีงานอันหนึง่ ซึง่ พอใจ หลงใหลขนาดเปนนางฟา เหมือนกับเรียนพระไตรปฎก ตองหลงใหลขนาดนางฟา ความรสู กึ ทางเพศมันก็ตอ งเกิด แต วาความรูสึกทางนี้ (ความคิดที่จะเปนประโยชนแกสวนรวม) เหมือนกับสิง่ ตานทาน เชนวา คลืน่ กับฝง คลืน่ มันก็แรงเหมือน กัน แตวา ฝง มันแข็งแรงพอจะรับ (หัวเราะ) ถาม- วิกฤตแบบจวนเจียนจะไปไมไป ตัดสินใจอยางไร นั่ น มั น เรื่ อ งคิ ด ฝ น เวลามั น ช ว ยได ห รื อ ว า ไม รู ไ ม ชี้ (หัวเราะ) มันชวยได มันเหมือนกับ คลืน่ กระทบฝง พอพน สมัย พนเวลา มันก็ไมรหู ายไปไหน แตสรุปแลวมันตองทำงาน พอถึงเวลาเขา มันตองทำงาน มันรักงานอยู ไปทำงานเสีย ความ คิดฝนนัน่ ก็คอ ยๆ ซาไปๆ มันไปสนุกในงาน ขาพเจาไดมาพิจารณาแลวเห็นวาเรื่องนี้เปนอุปมา ธรรมทีม่ ปี ระโยชนมาก หากไมบนั ทึกไวเปนหลักฐานก็เกรงวา ตนเองจะหลงลืมในภายหลัง และจะไมเกิดประโยชนอะไร หาก ไมนอ มนำมาพิจารณาบอยๆ เรือ่ ง คลืน่ กระทบฝง นี้ จึงกลาย เปน เรือ่ งบังเอิญทีไ่ มบงั เอิญ ทีข่ า พเจาได “ประสบ” อีกเรือ่ ง หนึง่

148


๗๖ หลวงพอบอกขอสอบ

ในราวป พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๒๘ สมัยทีข่ า พเจายังเปน นักศึกษาอยูที่คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร หลวงพอดทู า นเคยบอกขอสอบใหขา พเจาทราบ ลวงหนาและชวยเหลือขาพเจาในการทำขอสอบ เทาทีข่ า พเจา จำความไดถงึ ๕ วิชาดวยกัน ขาพเจาจะขอเลาเฉพาะวันทีห่ ลวงพอบอกขอสอบ วิชา ทีอ่ าจารยฉายศิลป เชีย่ วชาญพิพฒ ั น เปนผสู อน คือวิชา แรงงาน สัมพันธ คืนวันนั้นเวลาประมาณ ๓ ทุม กอนวันสอบ ๑ วัน ขาพเจานั่งอานตำราและทบทวนความรูที่อาจารยไดสอนมา ตลอดเทอม ขณะทีข่ า พเจากำลังมีสมาธิกบั ตำราทีอ่ ยเู บือ้ งหนา ขาพเจารสู กึ เย็นวาบขึน้ ทีใ่ จพรอมกับมีเสียงบอก ขาพเจาวา พระ ธาตุหลวงปทู วดเสด็จ ขาพเจาหันหลังกลับไปมองทีโ่ ตะหมบู ชู า ในหองทันทีและเกิดความสงสัยวา พระ ธาตุเสด็จมา แลวทานอยู ทีไ่ หนละ...อยทู กี่ ระถางธูป เสียงตอบขาพเจา

149


ขาพเจาหยุดอานหนังสือ เดินตรงมายังโตะหมูบูชา สายตาหยุดอยูที่กระถางธูปใบนอย...แลวขาพเจาจะทราบได อยางไรละ วาอันไหนเปนเม็ดกรวด เม็ดทราย อันไหนเปนพระ ธาตุ แตแลวขาพเจาก็มองเห็นองคพระธาตุสีน้ำตาลเกือบดำ มีสณ ั ฐานคอนขางกลม ขนาดเล็กมากเหมือนไขปลา ขาพเจาจึง แยกออกมาจากกระถางธูปเพือ่ นำมาบูชา จากนัน้ ขาพเจาไดมานัง่ อานหนังสือตอ สักครกู ม็ คี วาม รูสึกเหมือนมีคนบอกใหขาพเจาเขียนจดหมายวิจารณการสอน ของอาจารยผสู อน ขาพเจาก็เลยนึกสนุกขึน้ มา นัง่ เขียนจดหมาย อยางเอาจริงเอาจัง แทนทีจ่ ะนัง่ อานหนังสือ เขียนเสร็จก็พบั ใส ซอง ตัง้ ใจไววา วันรงุ ขึน้ เมือ่ สอบเสร็จ จะนำไปมอบใหอาจารย ทีห่ อ งพักของทาน วันรงุ ขึน้ เปนวันสอบ เมือ่ ขาพเจาไดเห็นขอสอบซึง่ เปน ขอสอบบรรยายเสียสวนใหญ ขาพเจาตองแปลกใจทีห่ นึง่ ในขอ สอบบรรยายขอใหญนั้นใหวิจารณการเรียนการสอนของทาน อาจารยฯ ในตอนแรกขาพเจาก็ไมคอ ยจะแนใจตนเองเทาใดนัก วาเราคิดเอาเองหรือเปลา เปนเรือ่ งบังเอิญหรือไม เรือ่ งพระธาตุเสด็จ หลวงพอบอกขอสอบ ขาพเจาเชือ่ วา หากเปนคนอืน่ ก็คงไมแนใจตนเองเหมือนกัน แตในทีส่ ดุ ก็มเี รือ่ ง ทีย่ นื ยันใหขา พเจาแนใจวาเปนเรือ่ งจริง เพราะเหตุการณเกิดซ้ำ รอยเดิม 150


หากเปนเรื่องบังเอิญ คงไมสามารถเกิดเรื่องทำนอง เดียวกันไดหลายครัง้ หลวงพอบอกขอสอบขาพเจา อีกเปนครัง้ ที่ ๒ ครัง้ ที่ ๓ และครัง้ ที่ ๔ ตางกรรมตางวาระกัน จนผลการ สอบของขาพเจาออกมาไดเกรดเอ หลายวิชา ขาพเจาไดพจิ ารณาดูแลวคิดวาเรือ่ งนีห้ ลวงพอตองการ สอนอะไรบางอยางใหแกขา พเจา คงมิใชเพียงแคการบอกขอสอบ และก็คงมิใชเอาไวใหขา พเจานำมาเลาใหหมคู ณะฟงเทานัน้ ปริศนาธรรมจากนิมติ ครัง้ นี้ จะจริงหรือเท็จประการใด พระธาตุเสด็จมาจริงหรือไม หรือหลวงพอบอกขอสอบจริงหรือ ไม สำหรับขาพเจาแลว ถือวาเปนปาฏิหาริยท หี่ ลวงพอเมตตาให บทเรียนบทตอมากับขาพเจา เปนบทเรียนทีน่ ำไปสู อนุสาสนีปาฏิหาริย ใหขา พเจา ไดมคี วามเขาใจในธรรมมากขึน้ และเปน สัมมาทิฏฐิ มากขึน้ ในเวลาตอมา

151


๗๗ ตัวประมาท

หลังจากทีห่ ลวงพอไดบอกขอสอบใหขา พเจาทราบ ครัง้ แรกแลว ทานก็ไดชว ยขาพเจาทำขอสอบอีกเปนครัง้ ที่ ๒ ทีท่ า น ชวยเหลือขาพเจา คราวนีเ้ ปนวิชา พบ. ๒๘๓ วิชาการบริหารงาน ผลิตซึ่งมีอาจารยผูสอนหลายทาน ขอสอบมีหลายลักษณะ ทัง้ บรรยาย เติมคำ ใหกากบาทหนาขอทีถ่ กู ตองทีส่ ดุ ฯลฯ หลวงพอดูทานเคยสอนวิธีทำขอสอบแบบปรนัย (ให กากบาทหนาขอทีถ่ กู ตองทีส่ ดุ ) ใหขา พเจาวา เวลาทีเ่ ราไมแนใจ แทนทีเ่ ราจะเดาสมุ หรือทีเ่ รียกวากาสงเดช เราจะไมทำ อยางนัน้ หลวงพอทานสอนใหขาพเจาหลับตาและนึกถึงหลวงพอทวด (หลวงพอทวด เหยียบน้ำทะเลจืด) แลวกราบเรียนถามทาน ขณะทีอ่ ยใู นหองสอบ เมือ่ ขาพเจาทำขอสอบเสร็จ แต เวลายังไมหมด และยังมีขอสอบประเภทกากบาทเหลืออีก ประมาณ ๑๐ ขอทีข่ า พเจาไมแนใจ ขาพเจาไมรอชา นึกถึงที่ หลวงพอสอนทันที คอยๆ พิจารณาทีละขอ หากขอใดถูกตอง เมือ่ ขาพเจาเอาปากกาจิม้ ไปทีต่ วั เลือก จะเกิดเปนแสงสวางขึน้ ทันที แตถา ไมถกู ตอง ก็จะมืดและไมมแี สงสวาง 152


ขาพเจา ทำขอสอบสวนที่เหลือดวยวิธีนี้จนเสร็จเรียบ รอยหลังจากประกาศผลสอบออกมา ขาพเจาไดเกรด A เชนเคย เดือนตอมา ขาพเจาไดมโี อกาสนำเรือ่ งนีไ้ ปเรียนถวายใหหลวง พ อ ทราบ ในครั้ ง นั้ น มี เ พื่ อ นของข า พเจ า ซึ่ ง เรี ย นอยู ใ น มหาวิทยาลัยอีกแหงหนึ่งมากราบหลวงพอดวยเชนกัน เพื่อน ขาพเจาคนนี้ไดฟงเรื่องที่ขาพเจาเลาถวายหลวงพอ เขาจึงได กราบเรียนหลวงพอวา ผมไดทำขอสอบกากบาทแบบนี้เหมือนกัน ขอสอบมี ๑๐๐ ขอ พอเขาหองสอบผมก็หลับตานึกถึงหลวงพอ ขอใหชว ย ทำขอสอบดวย จากนัน้ ก็ทำขอสอบโดยใชวธิ หี ลับตาเช็คทีละขอ จนครบ ๑๐๐ ขอ ผลสอบออกมาปรากฏวาได F คือ สอบตก ทำไมเปนอยางนีค้ รับหลวงพอ เพือ่ นขาพเจาถามหลวงพอ หลวงพอมองหนาเพื่อนของขาพเจาและเมตตาอบรม เตือนสติทงั้ เพือ่ นและขาพเจาวา “แกไมพิจารณาใหดี นั่นแหละตัวประมาท จำไว ตัวประมาทนีแ่ หละตัวตาย” ตรงกับพระพุทธพจนทวี่ า ปมาโท มัจจุโน ปทัง ความ ประมาทเปนหนทางไปสคู วามตาย นัน่ เอง

153


๗๘ ของโกหก

มีพระพุทธพจนวา “บุคคลใด เห็นสิง่ อันไมเปนสาระวาเปนสาระ และเห็น สิง่ อันเปนสาระวาไมเปนสาระ บุคคลนัน้ มีความดำริผดิ ประจำใจ ยอมไมอาจพบสาระได สวนบุคคลใด เห็นสิง่ อันเปนสาระวาเปนสาระ สิง่ อัน ไมเปนสาระวาไมเปนสาระ บุคคลนัน้ มีความดำริถกู ประจำใจ ยอมสามารถพบสิง่ อันเปนสาระ” เรือ่ งราว เหตุการณ บุคคล สัตว สิง่ ของตางๆ ทีผ่ า น เขามาในชีวติ ของเรานัน้ สรรพสิง่ ลวนเปลีย่ นแปลง ไมคงที่ และไมสามารถคงอยู ตลอดไป หากเรารจู กั สังเกต ฝกหัดพิจารณาหาเหตุหาผล จนใจ คนุ เคยกับความเห็นตามความจริง เราจะเห็นถึง ความเปลีย่ นแปลง ทัง้ บุคคลและสิง่ ของ ทุกอยางรอบตัวเราไดไมยากนัก 154


๗๙ ถึงวัดหรือยัง

ธรรมะเปนสิง่ ทีม่ อี ยรู อบๆ ตัวเราทุกๆ คน เพียงแตวา เราจะสามารถมองเห็นและนำมาพิจารณาไดแคไหนอยางไร ใน สมัยพุทธกาล ทานหมอชีวกโกมารภัจจ แพทยประจำองคพระ พุทธเจาของเรา สมัยทีศ่ กึ ษาอยกู บั อาจารยทศิ าปาโมกข กอน จะสำเร็จวิชาการแพทย ทานใหถอื เสียมไป เทีย่ วหาดูวา มีสงิ่ หนึง่ สิง่ ใดทีใ่ ชเปนยาไมได ใหนำมาให โดยใหไปเทีย่ วหา ๔ วัน วันละ ทิศ ทิศละ ๑ โยชน รอบเมืองตักศิลา ทานหมอชีวกรับคำสัง่ อาจารยแลวถือเสียมไปเที่ยวหาตามคำสั่งของอาจารย ก็ไมได พบเห็นสิง่ ใดทีไ่ มใชยาเลย เมือ่ กลับมาแลวเขาพบอาจารย แจง ความนัน้ ใหทราบ อาจารยจงึ กลาววา เธอเรียนวิชาแพทยสำเร็จ แลว ความรเู ทานีพ้ อเพียงทีเ่ ธอจะใชเปนอาชีพไดแลว ตนไมทกุ ชนิด หิน ดิน แรตา งๆ มีคณ ุ คา สามารถนำมา เทียบเปนยาไดฉนั ใด บุคคลผมู คี วามฉลาดก็ฉนั นัน้ รอบๆ ตัวเรา ทุกสิ่งทุกอยางไมวาคน สัตว สิ่งของ เรื่องราวเหตุการณใดๆ ก็ตามทีเ่ กิดขึน้ และผานเขามาในชีวติ ประจำวันของเรานัน้ ไมมี เรือ่ งใด ทีไ่ มสามารถนำมาพิจารณาใหเปนธรรมะไดเลย 155


พระพุทธเจาทานสอนใหเรามีความเขาใจในโลกธรรม ทัง้ ๘ อยาง ไดแก ไดลาภ เสือ่ มลาภ ไดยศ เสือ่ มยศ ไดรบั ความสุข ประสบกับความทุกข มีคนสรรเสริญ และมีคนนินทา ...ถาใจเปรียบเหมือนน้ำนิ่ง เมื่อใจเรากระทบกับ โลกธรรม ๘ อยางนีแ้ ลวกระเพือ่ มไหวไปตามอารมณ ก็เปนโลก แตถา พิจารณาอยางมีสติจนเทาทันโลกธรรม ๘ อยางแลว ไมซดั สายไปตามอารมณทงั้ หมดนี้ ใจก็เปนธรรมอยโู ดยตลอด ธรรมะแทอยทู ใี่ จ มิใชทวี่ ดั พระสงฆ หรือคัมภีรใ บลาน ทีล่ ว นเปนศาสนสถาน ศาสนบุคคล หรือศาสนวัตถุ เทานัน้ หาก เราเขาใจไดอยางนี้ ศาสนธรรมอันเปนสิง่ สำคัญ ทีส่ ดุ ก็จะเกิดขึน้ ทีต่ วั เรา เมือ่ นัน้ เราก็จะเขาใจคำวา พระทีค่ ลองใจ มิใช พระที่ คลองคอ หลวงพอดู ทานสรุปเรือ่ งนีใ้ หขา พเจาฟงวา “ถึงแกมาวัด แตใจยังมีโกรธ โลภ หลง ไปตาม ๘ อยางทีว่ า นี้ แกยังมาไมถงึ วัด แตถา แกอยบู า นหรือทีไ่ หนๆ แตไม โกรธ ไมโลภ ไมหลง ไมมี ๘ อยางนีม่ ากวนใจ ขาวาแก มาถึงวัดแลว”

156


๘๐ รางวัลทุนภูมพิ ล

เมื่อป พ.ศ.๒๕๒๗ ขณะที่ขาพเจากำลังศึกษาอยูที่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มีเหตุการณหนึ่งซึ่งหลวงปูทวดได เมตตาใหความชวยเหลือจนขาพเจาไมมีวันที่จะลืมไปไดคือวัน หนึ่งขาพเจาไดทราบขาววา ทางมหาวิทยาลัยจะมีการจัด ประกวดการเขียนเรียงความในหัวขอเรือ่ ง “พระบาทสมเด็จพระ เจาอยหู วั ภูมพิ ลอดุลยเดชกับพุทธศาสนาในสังคมไทย” ขาพเจาเกิดความสนใจทีจ่ ะเขียนเรียงความดังกลาวขึน้ มาทันที แตก็ไมแนใจตนเองวาจะมีความสามารถเขียนไดดีสัก เพียงใด เมื่อขาพเจาตัดสินใจแนนอนแลววาจะเขียน จึงไดมา กราบพระ ระลึกถึงพระคุณครูบาอาจารย และอาราธนาหลวงปู ทวดและหลวงพอดเู พือ่ ขอความชวยเหลือจากทานใหงานเขียน ชิน้ นีส้ ำเร็จลุลว งไปดวยดี ขณะทีข่ า พเจากำลังนึกอธิษฐานอยใู น หองพระเพียงลำพังนี้ ก็บงั เกิดนิมติ เปนหลวงปทู วดทานเดินออก มาจากโตะหมูบูชามาหาขาพเจา ขาพเจาแลเห็นภาพตัวเอง นั่งคุกเขา หมอบตัวลง และหงายฝามือทั้งสองยื่นไปขางหนา เบือ้ งหนา ขาพเจาแลเห็นเปนภาพหลวงปทู วดยืนสวดมนตใหพร 157


พรอมกับเปาลงทีม่ อื ทัง้ สองของขาพเจา ในนิมติ นัน้ ขาพเจาเห็น เปนอักขระโบราณอยเู ต็มสองฝามือ ขาพเจาจึงกราบเรียนถาม หลวงปทู วดวา “อะไรหรือขอรับ” ทานตอบสัน้ ๆ วา “ความรู ” จากนัน้ ทานก็หนั หลังเดินกลับหายลับเขาไปในโตะหมบู ชู า ขาพเจาปลื้มปติมาก และเกิดเปนกำลังใจอยางยิ่งใน การเขียนหนังสือครัง้ นัน้ และไดใชเวลากวาสามเดือน จึงเขียน เรียงความแลวเสร็จ ขณะทีเ่ ขียนหากติดขัดอะไร เมือ่ นึกถึงหลวง ปทู วด จะเหมือนทานชวยดลใจใหสามารถเขียนตอได จะคนควา หรือหาขอมูลอางอิงใด ๆ ก็ไมตดิ ขัดเลย เปนเรียงความเรือ่ งยาว ขนาดมากกวา ๓๐ หนากระดาษพิมพดดี ซึง่ นับเปนงานเขียนที่ ยาวที่สุดในชีวิตของขาพเจาเลยทีเดียว เมื่อทางมหาวิทยาลัย ประกาศผลการประกวดเรียงความ งานเขียนของขาพเจาเปนงาน เขียนชิน้ เดียวในปนนั้ ทีไ่ ดรบั พระราชทานรางวัลทุนภูมพิ ล โดยได เขารับพระราชทานรางวัลเปนทุนการศึกษาจากพระหัตถของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ในวันพระราชทานปริญญาบัตร จากคนทีไ่ มเคยเขียนหนังสือ จากคนทีไ่ มเคยสนใจงาน ดานขีดๆ เขียนๆ มากอน จนมาไดรบั พระราชทานรางวัล ทุน ภูมิพล ไมเปนที่สงสัยเลยวาขาพเจาจะยินดีและดีใจเพียงใด ขาพเจาขอกราบแทบเบื้องบาทของหลวงปูทวดและหลวงพอดู ขอนมัสการดวยความเคารพ...ดวยเศียร... และ เกลา...ทีท่ ำฝน ของขาพเจาใหเปนจริง

158


๘๑ หลวงปูทวดชวยชีวิต

ความไมมีโรคเปนลาภอันประเสริฐ เปนคำสอนของ พระพุทธองคที่ใชไดทุกยุคทุกสมัย ความทุกขของคนเรานั้นมี มากมายหลายเรื่องหลายอยาง การเจ็บปวยดวยโรคเรื้อรังที่ เพียรพยายามรักษาอยางไรก็ไมยอมหายสักที นีก่ เ็ ปนความทุกข ทีท่ รมานจิตใจมากเรือ่ งหนึง่ ของมนุษยเรา บทความทีท่ า นจะได อานตอไปนี้ เปนเรือ่ งของคุณรัตนาภรณ อินทรกำแหง ซึง่ เขียน โดยเบญจะ ชินปญชนะ จากหนังสือขวัญเรือน ไดเลาไวดงั นี้ คุณรัตนาภรณ อินทรกำแหง เปนศิลปนดาราทีเ่ ดน ดังในอดีตและยังมีผลงานอยถู งึ ทุกวันนี้ ชีวติ จริงของศิลปน ทาน นี้ไดผานอุปสรรคมาแลวอยางมากมาย ตื่นเตนเราใจยิ่งกวา ภาพยนตทเี่ ธอแสดง และเมือ่ ถึงบทเศราแลว เศราสลดจนตอง ฆาตัวตาย เมือ่ หลายปกอ นคุณรัตนาภรณ ไดเกิดลมปวยเปน อัมพาต ลุกเดินไมได ไดไปรักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลมีชอื่ แหงหนึง่ หมดเงินไปรวม ๒ แสนบาท แตไมหาย และไมดขี นึ้ เลย พอรู ขาววาทีไ่ หนมีหมอเกง จะรีบใหคนพาไป รักษาแลวก็เหมือนเดิม รักษาไปจนทรัพยสนิ เงินทองเกือบหมด โรครายทีท่ รมานเพราะ 159


ลุกเดินไมไดกย็ งั ทรมานใจอยู เปนเชนนีอ้ ยนู านถึง ๗ เดือน ฆาตัวตายดีกวา คนเราเมื่อหมดหนทางไมมีทางออก ก็ตอ งคิดสัน้ คนทีต่ อ งอยใู นสภาพทีช่ ว ยตัวเองไมไดเปนระยะ เวลานานๆ ตองอยแู ตในหองทีแ่ คบๆ จะทำอะไรก็ตอ งอาศัยผู อืน่ มันนาเบือ่ หนายคับแคนใจยิง่ นัก ตายซะจะดีกวา ชาติทแี่ ลว คงทำกรรมไวมาก ขอยอมชดใชกรรมแตเพียงเทานี้ นั่นเปนคำพูดของคุณรัตนาภรณ ที่นอยอกนอยใจใน ชะตากรรมของตนเอง กอนทีจ่ ะตัดสินใจไปตาย ! เมือ่ ตัดสินใจ แลว จึงเดินทางทองเทีย่ วแบบสัง่ ลา อยากไปทีไ่ หนก็ไปชอบใจ ทีไ่ หนก็อยนู านหนอย เมือ่ ไปถึงภูเก็ตเกิดความเบือ่ จึงหลบไป ชายหาดทีไ่ มมคี นสัง่ บุตรบุญธรรม (เพราะคุณรัตนาภรณ หรือ คุณแดง ไมมบี ตุ ร) ใหไปซือ้ ขาวปลาอาหารทานกันทีช่ ายหาด เมือ่ ไมมใี ครอยแู ลว คุณแดงจึงไดตงั้ จิตอธิษฐานตอคุณ พระศรีรตั นตรัย โดยเฉพาะ หลวงพอทวด ทีเ่ คารพนับถือมาก เพราะเคยไดประจักษในดานอิทธิฤทธิอ์ ภินหิ ารจากการรอดตาย มาแลว (ถึงกับไดชกั ชวนคุณสมบัติ เมทะนี ดารา ยอดนิยมใน อดีต ชวยกันสรางพระเครือ่ งบูชาหลวงพอทวด ถวายใหวดั ชาง ใหไปรนุ หนึง่ ) ชวงนัน้ คุณแดงไดตงั้ จิตอธิษฐานตอองคหลวงพอ ทวดไววา “ขณะนี้ลูกไดถูกโรครายเบียดเบียน ทนทุกขทรมาน เปนเวลานานแลว วันนีไ้ ดตดั สินใจขอลาตาย บุญใดทีล่ กู ไดทำ 160


มาแลว ในอดีตชาติกด็ ี และในชาตินกี้ ด็ ี ลูกขออุทศิ บุญนัน้ ใหกบั เจากรรมนายเวรทีไ่ ดลว งเกินกันมา จะดวยเจตนาก็ดี ไมเจตนา ก็ดี ขอใหหลวงพอทวด ชวยเปนสือ่ ไปบอกใหเจา กรรมนายเวร ตาง ๆ มารับไปและอโหสิกรรมใหลกู ดวย และถาเมือ่ ลูกไดหมด กรรมจริงแลว ขอใหหลวงพอทวดไดเมตตาสงเคราะหใหหายจาก โรคภัยในวันนีด้ ว ย ถายังไมหาย ลูกขอลาตายในบัดนี”้ เมือ่ จบคำอธิษฐานแลว คุณแดงก็ลงมือคลานกลิง้ ตัวลง ทะเลไป เมือ่ เจอคลืน่ ซัดมา ก็กลิง้ กลับไปแตกย็ งั กระเสือกกระสน คลานตอไป แลวก็ถกู คลืน่ ซัดเขาฝง อีก ตอสกู บั คลืน่ เพือ่ ทีจ่ ะไป ใหลกึ พอทีจ่ ะจมน้ำแลวหายใจไมออก เปนเชนนีอ้ ยู ครึง่ ชัว่ โมง จนบุตรบุญธรรมกับคนใชมาพบเห็น ชวยพยุงตัวขึน้ ฝง ขณะนัน้ เหนื่อยจนไมไดสติ มาตกใจรูตัวเพราะเสียงตะโกนลั่นวา “แม หายแลว ! แมหายแลว !” ปาฏิหาริยเ กิดขึน้ แลว เพราะคุณแดง ยืนไดแลว เดินไดดว ย หายจากโรครายแลว จากคุณพระรัตน ตรัยและหลวงพอทวดที่ประทานให เนรมิตใหโดยใชเวลาสั้นๆ จากการทีต่ อ งทนทรมานอยนู านถึง ๗ เดือน นีเ้ ปนอีกเรือ่ งหนึง่ ทีข่ า พเจาขอฝากทานผอู า นไว เปน เครือ่ งเจริญศรัทธา

161


๘๒ ทามาก็อตจิ

ทามาก็อตจิ หรือเจาสัตวเลี้ยงคอมพิวเตอรที่แสนจะ ขีอ้ อ น ซึง่ กำลังแพรระบาดและเปนทีน่ ยิ มเลีย้ งกันในหมนู กั เรียน นักศึกษา โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ญี่ปุนและในบานเรา จนทาง โรงเรียนตองหามนักเรียนไมใหนำมาโรงเรียน เพราะจะทำให เสียการเรียน เนือ่ งจากตองคอยดูแลทามาก็อตยิง่ กวาไขในหิน ตองคอยปอนอาหารใหทาน พาเขาหองน้ำ เจ็บปวยตองพาไป หา หมอและอืน่ ๆ อีกจิปาถะ มิฉะนัน้ ... มันก็จะตาย จากเรือ่ งทามาก็อตเจาสัตวเลีย้ งปลอม ทำใหขา พเจาคิด ถึงวรรณกรรมทีม่ ชี อื่ เรือ่ งหนึง่ ในอดีต คือ ตลิง่ สูง ซุงหนัก ของ นิคม รายยวา กวีซไี รทเมือ่ หลายปกอ น ครัง้ นัน้ นิคมไดนำเสนอ เรือ่ งความเปน ของจริง และ ของปลอม ไดอยางไพเราะกินใจ ยิง่ นัก นิคม ไดให คำงาย ตัวเอกของเรือ่ งเรียนรแู ละพบคำถาม ไดโดยการ “ประสบ” กับ คำตอบอันเปนรูปธรรมหลาย ๆ ครัง้ จนสามารถโยงเขาสปู ริศนาในใจได คำงายเริม่ แกะชางใหญเทาตัวจริง เขาเริม่ ตัง้ คำถามวา “เราเคยเดินทางไกล ไดพบเห็นอะไรหลายอยาง แตตัวเราเอง 162


เปนของใกลทสี่ ดุ เรากลับไมเคยเห็นมันเลย” จนเมือ่ คำงายแกะ ชางไดเปนตัวเปนตนแลว แตเขายังหาความเปนชางไมได จนวันหนึง่ เมือ่ เขาอยบู นหลังพลายสุด ยามทีพ่ ลายสุด ตกมัน เมือ่ เขากุมสติไดเขาพบวา สิง่ นีเ้ องทีเ่ ราอยากรู เขาคิด ขณะความอนุ และออนละมุนจากตัวชางแลนซานใตรา งเขา มัน มีอารมณมเี ลือดเนือ้ มีชวี ติ และวิญญาณ เขาสัมผัสไดถงึ ความ มุทะลุ รุนแรงทีก่ ำลังทะยานไปขางหนา รสู กึ ถึงความหวาดกลัว และหวัน่ ไหวชัว่ ขณะของมัน ความเศรา ความเจ็บปวด และความ ตกใจ ขณะดิน้ รนและวิง่ พลาน ฟดเหวีย่ งอยกู บั แองทีห่ าทางออก ไมได สิง่ ทีค่ ำงายคนพบนี้ ไมใชเพียงแตชวี ติ และเลือดเนือ้ ของ ชางตัวหนึง่ เทานัน้ แตคอื ชีวติ และเลือดเนือ้ ของมนุษยชาติทขี่ าด หายไปในโลกปจจุบัน โลกที่ผูคนชมชื่นกับชีวิตที่เปน “ซาก” มากกวาชีวติ ทีเ่ ปน “จริง” ดังนัน้ คำงายจึงหันกลับมาพิจารณาชางไมของเขา อีก ครัง้ หนึง่ และฉงนฉงายนักวา “คนเรานีแ่ ปลกจริง ๆ ไมใหญ มัน ก็ใหญของมันอยแู ลว ใครไมไดทำใหรปู ชางใหญ แตทอ นไมมนั ใหญของมันเอง ตัวมันจริงๆ คือตนไมใหญ แตคนกลับ ไมเห็น ความสวยและมีคา ของมันตอนมีรม เงามีชวี ติ กลับโคน มันลิดกิง่ ใบใหเปนซากไมแลวเอามาแกะใหเหมือนซากชาง ชื่นชมมัน มากกวาไดเห็นชางหรือตนไมทมี่ ชี วี ติ จริงๆ เสียอีก ทำไปทำมา จะไมมขี องจริงเลยสักอยาง ไมวา ชางหรือไม”

163


เรือ่ งของทามาก็อตจิ คำงาย และพลายสุด เปนตัวอยาง อันดีใหขา พเจาไดความเขาใจชัดเจนแจมแจงขึน้ ในเรือ่ ง ของจริง ของปลอม บทสนทนาตอนหนึ่ ง ที่ ห ลวงพ อ ดู ท า นพู ด คุ ย กั บ ขาพเจาและเพื่อนครั้งที่ไดกราบนมัสการและถวายดอกบัวแก ทาน กอนทีจ่ ะถวายดอกบัว เพือ่ นของขาพเจาไดนำดอกบัว มา พับกลีบบัวใหดเู หมือนเปนดอกกุหลาบ อีกกลมุ ก็เอาดอกบัวมา พับกลีบเขาไปทีละชัน้ จนเห็นเกษรดอกบัวทีอ่ ยดู า นใน หลวงพอ ทานนัง่ มองดูอยู ในทีส่ ดุ ทานไดฝากขอคิด ในการไปทำบุญครัง้ นัน้ ใหขา พเจาวา “ดอกบัวทีพ่ บั กับดอกบัวทีไ่ มไดพบั อยางไหนอยไู ด นานกวากัน” “อยางทีไ่ มพบั ครับ” ขาพเจาตอบ “เออ ! ก็เรามันอยากนี่นา อยากใหเปนอยางนั้น อยากใหเปนอยางนี้ ขาฝากแกไปคิดดู” พับกันไปพับกันมา ในทีส่ ดุ ของจริงก็อยไู ดทนนานตาม ธรรมชาติกวาของทีถ่ กู พับ และก็ดจู ริงๆ แลวดอกบัวทีถ่ กู พับเปน ดอกกุหลาบนัน้ จะดูเปนดอกบัวก็ไมใช จะเปนดอกกุหลาบก็ไมเชิง เอา ความเปนดอกบัว...ถวายทานดีกวา ขาพเจาตอบ กับตัวเอง

164


๘๓ ไตรสรณาคมน

คุณหมออมรา มลิลา เปนฆราวาสผปู ฏิบตั ธิ รรมไดดี ยิง่ ผหู นึง่ ทีข่ า พเจาเคารพนับถือและถือเปนแบบอยาง วันหนึง่ ขาพเจาไดมโี อกาสสนทนาธรรมกับทานทีธ่ รรมสถาน จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย บทสนทนาวันนั้น ไดพูดกันถึงพระไตรสรณาคมน คุณหมอไดฝากขอคิดในเรื่องที่กลาวกันวาการขอถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะ เปนทีพ่ งึ่ จะสามารถกำจัดภัยได จริงนั้น ถึงอยางไร จึงกำจัดภัยไดจริง คุณหมอไดอธิบายวา การถึงพระพุทธ เพือ่ เปนสรณะนัน้ หมายถึง การเขา ใจถึงศักยภาพของจิตแททเี่ ปนพุทธะ ผรู ู ผตู นื่ ผเู บิกบาน ใคร ก็ตามทีเ่ ชือ่ เชนนี้ จนพากเพียรบากบัน่ ฝกอบรมจิตใจของตนให เกิดเปนสัมมาทิฏฐิ ตัง้ มัน่ ในมรรค ไมยอ หยอน ออนแอ ทอแท เกียจครานทีจ่ ะปฏิบตั ใิ หยงิ่ ๆ ขึน้ ไป จนในทีส่ ดุ ใจนัน้ ถึงพรอมดวยสติ สมาธิ ปญญา และ มีกำลังพอทีจ่ ะขุดรากถอนโคนกิเลสอาสวะทัง้ ปวงออกไปจาก จิต

165


ใจได จิตของผนู นั้ ก็จะเปนอิสระจากสิง่ เศราหมอง คือ อวิชชา ตัณหา อุปาทาน ตืน่ เบิกบาน เปนพุทธะ มีความบริสทุ ธิเ์ ทียบ เทากับพุทธะของพระอรหันตทั้งปวง และของพระพุทธเจาทุก พระองค แตความสามารถทางอภิญญาอาจ ยิง่ หยอนกวากันได การถึงพระธรรม คือ การมีสติรักษาใจใหนอมเอา เหตุการณตา ง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชีวติ มาเปนธรรมะสอนใจแทนการ ปลอยใหปรุงคิดเตลิดไปตามสัญญา อารมณเกิดเปนความทุกข เกิดเปนความคับของใจ หรือเมือ่ ใดใจคิดฟงุ ซาน ก็หยุดกำหนด รอู ยกู บั ปจจุบนั คือขณะเดีย๋ วนี้ เฉพาะหนาแตละขณะ แตละขณะ ใจทีฝ่ ก เชนนี้ จะเปรียบเสมือนมีธรรมของพระพุทธองคเทศนให ฟงอยใู นใจตลอดเวลา เมือ่ ไมมสี งิ่ กระทบก็รอู ยกู บั ปจจุบนั เมือ่ มีสงิ่ กระทบ ไม วาจะเปนผัสสะจากภายนอก หรืออารมณของใจเอง ก็จะหมุนให คิดเปนมรรคทุกครัง้ จะเปลีย่ นจากความคิดทีเ่ ปนกิเลส ใหเปน มรรคเปลีย่ นกิเลสเปนมรรค ดังนีเ้ รือ่ ยไป ดังนัน้ ความคิด คำพูด หรือการกระทำดวยกายทุกอยางๆ จะเปนการกระทำเพือ่ ความสิน้ สุดแหงทุกขถา ยเดียว การถึ ง พระสงฆ คื อ การน อ มตนให ป ฏิ บั ติ ดั ง “พระสงฆ” คือ เปนผูปฏิบัติดี (สุปฏิปนโน) ปฏิบัติตรง (อุชปุ ฏิปน โน) ปฏิบตั ถิ กู (ญายปฏิปน โน) ปฏิบตั ชิ อบ (สามี จิปฏิปน โน) ตลอดเวลาทีจ่ ะระลึกได 166


การปฏิบตั ดิ งั กลาวมานีค้ อื การถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ ทีจ่ ะเปนสรณะทีพ่ งึ่ อันแทจริง สามารถกำจัด ทุกข กำจัด ภัยไดจริง ขาพเจาฟงคุณหมออธิบายจนจบไดแตอมยิม้ ใบหนาของหลวงพอดูลอยเดนพรอมกับเสียงของทาน ดังขึ้นมาในโสตประสาทของขาพเจาวา “นั่นแหละ พระไตร สรณาคมน ใครเชือ่ พระ ก็เปนพระ ใครละได ก็ไมใชคน”

167


๘๔ ไมพอดีกนั

ขาพเจาเคยไดยินผูอำนวยการวัยหาสิบทานหนึ่ง ใน ธนาคารปรารภกับผใู หญอกี ทานวาสมัยหนมุ ๆ มีเรีย่ วแรงดี แต เงินเดือนนอย อยากไปเทีย่ วเมืองนอกก็ไปไมได เพราะไมมี สตางค แตทกุ วันนีม้ เี งินเดือนมาก อายุกม็ ากขึน้ ตามมา มีเงิน ไปเทีย่ วไดอยางสบาย แตไมมแี รงไป ขาพเจานึกถึงคำคมที่ อุดม แตพานิช หรือ “โนส” ศิลปนตลกและนักเขียนทีโ่ ดงดังสุดขีดจากเดีย่ วไมโครโฟน และ งานเขียนหนังสือทีข่ ายดีตดิ อันดับยอดขายสูงสุดคนหนึง่ ในบาน เราขณะนี้ ไดเลาไวในหนังสือ Note Book หนา ๑๓๑ วา มีแรง มีเวลา ไมมเี งิน มีแรง มีเงิน ไมมเี วลา มีเงิน มีเวลา ไมมแี รง นี้เปนขอคิดที่ดีทีเดียว ทำใหขาพเจานึกถึงคำสอน หลวงพอดทู สี่ อนขาพเจาใหตงั้ อกตัง้ ใจภาวนาตัง้ แตอายุไมมาก ในเวลาทีพ่ อมีเรีย่ วแรง มีเวลา(จะมีเงินหรือไมมเี งิน ชางมัน !) วา

168


“ขอสำคัญทีส่ ดุ ของการปฏิบตั คิ อื ตองไมประมาท ตองปฏิบัติใหเต็มที่ตั้งแตวันนี้ ใครจะรูวาความตาย จะมาถึงเราเมือ่ ไร ? เคยเห็นไหม เพือ่ นเรา คนทีเ่ รารจู กั ทีต่ ายไปแลว นัน่ นะ เขาเตือนเรา ถาเราปฏิบัติไมเปนเสียแตวันนี้ เวลาจะตายมันก็ไม เปนเหมือนกัน เหมือนกับคนที่เพิ่งคิดหัดวายน้ำ เวลาใกลจะจมน้ำ ตายนัน่ แหละ ก็จมตายไปเปลา ๆ แกไมปฏิบตั หิ นึง่ วันนี่ เสียหายหลายแสน วันนึงก็มคี วามหมาย ขาฝากใหแกไปคิดเปนการบาน”

169


๘๕ ธรรมะจากสัตว

เวลาพระพุทธเจาตรัสสอนเหลาพระสาวก ทานมัก จะยกสัตวตา ง ๆ มาแสดงเปรียบเทียบใหไดแงคดิ ทางธรรม อยู เสมอ นับเปนวิธสี อนธรรมทีท่ ำใหผฟู ง เกิดความเขาใจ และมอง เห็นภาพไดอยางชัดเจนทีเดียว ดังตัวอยาง เชน ยกเรือ่ งงูพษิ เปรียบกับการศึกษา เลา เรียน ถาเรียนไมดี เรียนไมเปน ไดความรมู าผิด ๆ ความรู นัน้ อาจจะเปนอันตรายดุจเดียวกับงูพษิ ทีข่ นดหาง ยอมถูกงูพษิ แวง กัดเอาได ยกลิงโงอยากลองเอามือจับตัง เอาเทาถีบและใช ปาก กัด ผลทีส่ ดุ ติดตังดิน้ ไมหลุด เปรียบเหมือนคนทีไ่ มรจู กั วิธแี ก ปญหาทีถ่ กู ตองเต็มไปดวยความเห็นผิด ความเขาใจทีผ่ ดิ ในที่ สุดก็จะตกอยใู นสถานการณทลี่ ำบาก ยกเตาหดหัวอยใู นกระดอง ไดยนิ เสียงอะไรทีผ่ ดิ ปกติ ก็จะหดหัวเขากระดองปลอดภัยไวกอน เปรียบดังผูปฏิบัติที่ สำรวมอินทรีย (คือ ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ) เห็นอะไร ไดยนิ

170


อะไร...ก็มสี ติ ไมยนิ ดี ยินรายไปตามเสียงเราจากภายนอก ก็ยอ ม ปลอดภัยจากกิเลสได ยกนกเขา ทีร่ อ งเสียง คู คู เหมือนคนทีต่ ระหนีถ่ เี่ หนียว หวงแหนโภคทรัพย ไมแบงปนคนอืน่ ตัวเองก็ไมกนิ ไมใช บุญ กุศลก็ไมทำ ไดแตนอนกอดทรัพยภูมิใจวาทรัพยของกู ของกู หลงยึดติดอยอู ยางนัน้ ในบรรดาเรื่องที่ยกตัวอยางมานี้ เรื่องที่หลวงพอดู นำมาเลาเปนอุทาหรณสอนใจใหศษิ ยไดฟง กันบอย ๆ คือ เรือ่ ง นกเขา ทีร่ อ งเสียง คู คู ไดฟง แลวเหมือนเปนเครือ่ งเตือนใจ ให ศิษยทงั้ หลายอยาไดประมาท และหมัน่ พิจารณาอยเู นือง ๆ วา ตัวเรา...ตัวเขา ไมใชเรา...ไมใชเขา ของเรา...ของเขา ไมใชของเรา...ไมใชของเขา

171


๘๖ สังคมวิปริต

ในหนังสือพุทธธรรมกับสังคมซึง่ เขียนโดย ศาสตราจารย นายแพทยประเวศ วะสี ไดกลาวถึงสังคมไทยตัง้ แต พ.ศ. ๒๕๒๘ ไววา “ประเทศไทยมีวดั กวา ๒๕,๐๐๐ วัด พระกวาสองแสนรูป เณรกวาแสนรูป พุทธศาสนิกชนอีกเต็มประเทศ ไฉนเราจึงมี ปญหาทางสังคมมากขึน้ เรือ่ ยๆ” ความเปนคนใจบุญสุนทานของผูคนไทยในอดีต และ การที่มีวัดวาอารามสรางอยูทุกมุมเมือง ไมไดชวยใหปญหา สังคมลดลงไปในปจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมถึงขัน้ วิกฤต ผคู น มีความทุกขยากกันมากมาย เรามีผูนำบานเมืองที่ไมสามารถ เอาเปนแบบอยางที่ดีได จนสื่อมวลชนตางพากันขนานนามวา เปนยุคราหูครองเมือง ทัง้ ผนู ำและคนรอบขางหมดปญญาแกไข ปญหาบานเมืองในทางทีถ่ กู ทีค่ วร ถึงขนาดตองสะเดาะเคราะห ตอชะตา ทำพิธรี บั สงราหู ดูฮวงจยุ กันใหวนุ วายสับสน จนเปรอะ กันไปหมด ประชาชนเดือดรอน สังคมวิปริตกันถวนหนา

172


ทานพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโฺ ต) ไดฝากขอคิด หลักธรรมไวในหนังสือของทาน ชือ่ “เมืองไทยจะวิกฤต ถาคน ไทยมีศรัทธาวิปริต” ซึง่ ขาพเจาขออนุญาตคัดลอกมา ณ ทีน่ ี้ สรุปความวา คุณสมบัติของชาวพุทธที่ดี หรืออุบาสกธรรม ๕ ประการ ทีค่ วรปฏิบตั คิ อื ๑. มีศรัทธา เชือ่ อยางมีเหตุผล มัน่ ในคุณพระรัตนตรัย ไมงมงาย ๒. มีศลี มีความประพฤติสจุ ริตดีงาม อยางนอยดำรง ตนไดในศีลหา ๓. ไมตนื่ ขาวมงคล เชือ่ กรรม มงุ หวังผลจากการกระทำ มิใชจากโชคลางของขลัง พิธกี รรม สิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ๔. ไมแสวงหาทักขิไณยนอกหลักคำสอนของพระพุทธเจา ๕. เอาใจใส ทำนุบำรุงชวยกิจการพระพุทธศาสนา เริม่ ตนทีต่ วั เรา...เริม่ ทีบ่ า นเรา แลวเราจะมิใชตวั ปญหา ที่ทำสังคมใหวิปริต แตจะเปนสวนหนึ่งที่ชวยแกปญหาสังคม วิปริต ใหเปนสวนหนึ่งที่ลูกศิษยหลวงพอมอบเปนของขวัญ ถวายแดในหลวง และมอบถวายแด...หลวงพอของเรา

173


๘๗ เชือ้ ดือ้ ยา

หนั ง สื อ พิ ม พ ม ติ ช นรายวั น ฉบั บ วั น อั ง คารที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ หนา ๒๐ ในคอลัมนเมนู ขอมูลโดย นายดาต า ได พู ด ถึ ง เรื่ อ งของหมอกั บ การสั่ ง ยาให แ ก ค นไข ขาพเจา ขอเลาใหฟง โดยยอ ๆ เพือ่ ความเขาใจในสิง่ ทีข่ า พเจาตอง การสือ่ ใหทา นผอู า นไดทราบ เรือ่ งของเรือ่ งมีวา มีคำถามจากชาว บานถึงนาย ดาตา ขาพเจาขอคัดลอกมาดังนี้ “ผมสังเกตวาเดีย๋ วนีไ้ ปหาหมอ แลวหมอสัง่ ยามาให มาก อยางเปนหวัดไปรักษาที่โรงพยาบาลเอกชน คารักษา คายา ๔๐๐ - ๕๐๐ บาท ทุกครัง้ ทัง้ ทีแ่ ตเดิมนัน้ โรคหวัดนี่ กินยาแผงไมกบี่ าทก็หายแลวทำไมถึงเปนเชนนัน้ ” จากคำถามขอสงสัยดังกลาว นายดาตาก็ไดตอบไปใน ลักษณะทีว่ า หมอจายยาใหไปเกินกวาเหตุ ขาพเจาไดนำเรือ่ ง นีไ้ ปสอบถามจากญาติซงึ่ เปนอายุรแพทย แพทยผเู ชีย่ วชาญทาง การรักษาดวยยาซึง่ ก็ไดความกระจางกลับมาวา เราคงเคยทราบ กันวามีเชื้อโรคมากมายมีอาการดื้อยา ทำใหรักษาหายไดยาก โดยเฉพาะในเมืองไทย ทั้งนี้ มีสาเหตุที่สำคัญ คือการใหการ 174


รักษาทีไ่ มเต็มที่ ดังเชน คนไขไปซือ้ ยามาทานเองจากรานขาย ยา หรือไปพบแพทยตามคลีนิค โรงพยาบาล แพทยสวนใหญ จะจัดยาใหคนไขครบตามจำนวนวาจะตองทาน ยากีว่ นั ๕ วัน ๗ วัน หรือ ๑๐ วัน ก็จะจัดยาใหครบ เชน คนไขเปนหวัดเนือ่ งจาก ติดเชือ้ แบคทีเรีย ซึง่ คนไขจำตองไดยาปฏิชวี นะหรือยาแกอกั เสบ คนไขทเี่ ปนวัณโรค คนไขทเี่ ปนโรคกระเพาะปสสาวะอักเสบ ฯลฯ เมือ่ คนไขเหลานีท้ านยาแลวมีอาการดีขนึ้ หรือ หายไป ก็จะหยุดยาทัง้ ๆ ทีเ่ ชือ้ โรคยังไมหาย เมือ่ หยุดยา ขณะทีเ่ ชือ้ โรค บางสวนยังไมตายนั้น มันจะกลับฟนขึ้นมาใหม แพรพันธุใหม ออกมา ซึง่ เปนพันธทุ จี่ ะมีววิ ฒ ั นาการใหดอื้ ตอยาทีเ่ คยใชมากอน แตใชไมครบตามจำนวน จากนัน้ ไมนาน อาการเจ็บไขกจ็ ะเกิด ขึน้ มาใหม คราวนีจ้ ะรักษาใหหายก็จะยากกวาครัง้ แรกแนนอน ตองใชยาทีแ่ รงขึน้ กวาเกา หากคนไขใชยาผิดวิธี เชือ้ ก็จะดือ้ ยา ขึน้ มาอีก ทุกวันนีจ้ งึ มีโรคดือ้ ยา เกิดขึน้ มากมาย เพราะการใช ยาทีไ่ มศกึ ษาใหถกู วิธี ในเรือ่ งของการศึกษาปฏิบตั ธิ รรมก็เชนเดียวกัน การใชยาไมถูกวิธี... ทำใหเชื้อโรคดื้อยาขึ้นฉันใด การศึกษาปฏิบตั ธิ รรมไมถกู วิธ.ี ..ก็ทำใหศษิ ยดอื้ คำสอนของ ครูอาจารยฉันนั้น

175


๘๘ คุณธรรม ๖ ประการ

หลวงพอดู เคยปรารภธรรมเกี่ยวกับเรื่องการเจริญ โพชฌงค อันเปนคุณธรรมที่ทำใหบุคคลผูปฏิบัติตามไดบรรลุ มรรค ผล นิพพาน มีแตความเย็นใจในทุกทีท่ กุ สถาน ในกาล ทุกเมือ่ เปนธรรมทีเ่ ปนประโยชนอยางยิง่ อีกทัง้ มีความไพเราะ ทั้งอรรถและธรรม จึงขอฝากไวกับศิษยหลวงพอใหไดนำไป พิจารณากัน “ดูกอ นทานผเู ห็นภัยในวัฏฏสงสารทัง้ หลาย ผทู เี่ ห็นภัย ในวัฏฏสงสารนัน้ ถาประกอบดวยคุณธรรม ๖ ประการนี้ ยอม จะไดบรรลุมรรค ผล นิพพาน ถึงความเยือกเย็นอยางยอดเยีย่ ม คุณธรรม ๖ ประการนัน้ คือ ขมจิตในสมัยทีค่ วรขม ประคองจิตในสมัยทีค่ วรประคอง ยังจิตใหรา เริงในสมัยทีค่ วรราเริง วางเฉยจิตในสมัยทีค่ วรวางเฉย มีจติ นอมไปในมรรค ผล อันประณีตสูงสุด ยินดียงิ่ ในพระนิพพาน” 176


ผูปฏิบัติที่มีความชาญฉลาด ยอมจะตองศึกษาจิตใจ และอารมณของตนใหเขาใจ และรจู กั วิธกี ำหนด ปลอยวาง หรือ ควบคุมจิตใจและอารมณใหได เปรียบเสมือนเวลาที่เราขับ รถยนต จะตองศึกษาใหเขาใจถึงวิธกี ารขับขีท่ ปี่ ลอดภัย บางครัง้ ควรเรง บางคราวควรผอน บางทีกต็ อ งหยุด เรงในเวลาทีค่ วรเรง ผอนในเวลาทีค่ วรผอน หยุดในเวลาทีค่ วรหยุด ก็จะสามารถถึงทีห่ มายไดอยางปลอดภัย เปรียบเหมือนการปฏิบตั ธิ รรมะนีล่ ะ ทำนองเดียวกัน ใหพจิ ารณาอยางนี้

177


๘๙ ลิงติดตัง

ทามกลางกระแสสังคมทีส่ บั สน วนุ วาย ไมวา จะเปนกิจ ธุระสวนตัว กิจธุระเรือ่ งครอบครัว เรือ่ งทีท่ ำงาน เรือ่ งของญาติ สนิทมิตรสหาย จนบอยครัง้ ทีเ่ รารสู กึ เหมือนถูกพันธนาการดวย ภาระและหนาทีท่ ตี่ อ งจัดการมากมายอยทู กุ วีท่ กุ วัน ทัง้ ตัวเราเอง และทัง้ ผคู นรอบขาง หลวงพอไดเคยเปรียบลักษณะเชนนี้กับอาการของลิง โดยทานไดถามขาพเจาวา “แกเคยรจู กั ไหม โลกติดตัวเหมือนลิงติดตัง”” (“ตัง” ตามความหมายในพจนานุกรมหมายถึง ยาง ไมทผี่ สมกับสิง่ อืน่ แลว ทำใหเหนียวใชสำหรับดักนก) เวลาที่เขามาดักจับลิง เมื่อลิงมาติดกับที่มีตังติดอยู ตังติดมือลิงขางหนึง่ มันก็ใชมอื อีกขางมาแกะออก แตแกะไม ออก กลับติดตังทัง้ สองมือ เอาเทามาชวยถีบออก ก็ไมออกอีก เอาปาก กัดอีกผลทีส่ ดุ เลยติดตังไปทัง้ ตัว ทัง้ สองมือ สองเทา และปากติด ตังไปหมด นอนรอใหเขามาจับตัวเอาไป 178


ขาพเจากมลงดูตวั เอง และเหลียวมองดูรอบตัว ไมเห็น ลิงแมแตตวั เดียวทีต่ ดิ ตัง เห็นแตตวั เองและคนรอบๆ ขาง ติด ตังเต็มไปหมด... ไมมลี งิ สักตัว ใครก็ได ชวยแกะทีเถอะครับ !

179


๙๐ ปรารภธรรมเรือ่ ง “การเกิด”

บายรมลมเย็นวันหนึง่ ในอิรยิ าบถสบาย ๆ ของหลวง พอทีก่ ฏุ ทิ า น หลวงพอไดปรารภธรรมเกีย่ วกับเรือ่ ง “การเกิด” ใหกบั ศิษยไดฉกุ คิดเปนการบาน ทานไดปรารภไววา “คนเราเกิดมา ไมเห็นมีอะไรดี มีดอี ยอู ยางเดียว สวดมนตไหวพระ ปฏิบตั ภิ าวนา” ขาพเจาหวนรำลึกถึงคำสอนทานพุทธทาสภิกขุจาก หนังสือ “เลาไวเมื่อวัยสนธยา” ซึ่งสัมภาษณโดยพระประชา ปสันนธัมโม ทานพุทธทาสภิกขุไดพูดถึงเรื่องที่สำคัญที่สุดใน ชีวติ วา คือ เกิดมาควรจะไดอะไร เกิดมาทำไม คนสวนใหญสมัยเปนเด็กๆ ไมมที างรู ไมมที างรวู า เกิด มาทำไม พอแมกไ็ มไดสอนวาเกิดมาทำไม เพียงแตไดรบั การ ดูแลวาทำอยางนัน้ ทำอยางนี้ ทีเ่ รียกวาดีๆ ใหเรียนหนังสือ ให ประพฤติดี ก็ดแี ตไมรวู า เกิดมาทำไม จนกระทัง่ เปนหนมุ สาว ก็ไม รวู า เกิดมาทำไม เพือ่ ประโยชนอะไร แตกไ็ ดทำทุกๆ อยางตาม 180


ทีผ่ หู ลักผใู หญสอนใหทำ ตามขนบธรรมเนียมประเพณี มีให ทำ จึงมีการศึกษา มีอาชีพสำหรับทำมาหากิน มีความเปนอยทู ี่ ดีขนึ้ บางคนจนเลยวัยผใู หญลว งถึงวัยชรา ก็ไมมโี อกาส แมจะคิด หาคำตอบทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในชีวติ นี้ ขาพเจาขออนุญาต ขีดเสนใต คำวา ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ในชีวติ นี้ ทานพุทธทาสภิกขุ ไดเฉลยคำตอบนีไ้ ววา ... “เกิดมาใหไดรบั สิง่ ดีทสี่ ดุ ทีม่ นุษยควรจะได คือ ใหมชี วี ติ ทีเ่ ย็น ทีไ่ มเปนทุกขเลย” สรุปไดวา เพื่อแสวงหาความสุขที่ไมกลับกลายเปน ความทุกขอกี มีสภุ าษิตจีนบทหนึง่ ทีว่ า ... รกู อ น แกกอ น รหู ลัง แกหลัง ไมรู ไมแก รแู ลว ทำไมไมแก นัน่ นะซิ รแู ลว...ทำไม (ยัง) ไมแก (วะ) ! ขาพเจาอุทานกับตัวเอง

181


๙๑ เมด อิน วัดสะแก

ทานทีม่ คี วามสนใจในพระเครือ่ งพระบูชาของหลวงพอ ดู พรหมปญโญ จะพบวาพระเครือ่ ง พระบูชา วัตถุมงคลของ ทานมีมากมายหลายรนุ หลายแบบ เทาที่พอจะสืบทราบ หลวงพอไดเริ่มสรางตั้งแตป พ.ศ.๒๔๘๔ เรือ่ ยมา มีทงั้ ชุดพระบูชาทีเ่ ปนพระพุทธรูปและที่ เปนรูปหลอหลวงปทู วด หลวงพอดู ครูบาอาจารยองคอนื่ ๆ เชน หลวงพอเกษม เขมโก ทีเ่ ปนพระเครือ่ งก็ไดแก ชุดพระเหนือ พรหม ชุดชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ) ชุดเหรียญรูปเหมือนหลวง พอดู รวมทัง้ เหรียญโลหะ อืน่ ๆ พระหยดน้ำ รูปหลอลอยองค ขนาดเล็ก พระพิมพตา ง ๆ ล็อกเกต และแหวน เมือ่ ตนป ๒๕๔๐ ทีผ่ า นมา ขาพเจาไดเห็นหนังสือเกีย่ ว กับพระเครือ่ งเลมหนึง่ ผเู ขียนไดเลาถึงขาวดังในรอบป ๒๕๓๙ และไดจดั อันดับ ๑๐ ขาวดังแหงวงการพระเครือ่ งในรอบป ซึง่ ก็วากันไปตามประสาคนในวงการพระเครื่อง แตมีขาวหนึ่งใน บรรดา ๑๐ ขาวดังนีท้ สี่ ะดุดใจขาพเจา คือ

182


“...สับสนทีส่ ดุ ในวงการพระเครือ่ งคือ พระเครือ่ งบูชา ของหลวงปูดู พรหมปญโญ วัดสะแก อำเภออุทัย จังหวัดพระ นครศรีอยุธยา สับสนจนบรรดาเซียนพระไมกลาจัดประกวด เพราะไมสามารถแยกแยะไดวาอันไหนของจริง อันไหนของ ปลอม” ขาพเจาอานแลวอดขำไมได ก็พวกทานทั้งหลาย (บรรดาเซียนพระเครื่อง) เลนจัดประกวดพระเครื่องดวยวัตถุ ประสงคที่จะตีราคาพระเครื่องพระบูชาของหลวงพอออกมาใน เชิงพาณิชย เพือ่ นำมาซือ้ ๆ ขายๆ แสวงหากำรีก้ ำไรกันในตลาด ซึง่ ไมใชวตั ถุประสงคของหลวงพอ วัตถุประสงคของหลวงพอ ตองการใหพระเครื่องบูชา ของทานเปนสือ่ ..ใหเขาถึงพระแทในจิตใจของผปู ระพฤติปฏิบตั ิ ตามธรรมคำสอนของทาน ตองการใหพระนี้ไดถึงมือบุคคลที่ สนใจศึกษาปฏิบตั จิ ริง ๆ ดังจะเห็นไดจากการทีม่ พี ระเครือ่ ง พระ บูชาของหลวงพอ จำนวนมากทีท่ ำเปนพระผงผสมปูนซีเมนตขาว มีจำนวนมากมายนับแสนองค จนบางคนมีความรูสึกวา พระ หลวงพอด.ู ..ไมมรี าคา แตขา พเจากลับรสู กึ ตรงกันขามวา พระ หลวงพอด.ู .. เมด อิน วัดสะแกนี้ ที่วา...ไมมีราคานั้น คือ ไมมีราคาแบบที่หาคามิได เปน Invaluable หรือ Priceless Thing สำหรับผรู ู คุณคา มิใช สำหรับผรู ู มูลคา ทีน่ ยิ มการซือ้ ขายแลกเปลีย่ นเปนเงินทองกัน

183


๙๒ หลวงพอดู หลวงปทู วด

วันหนึง่ ในคราวทีป่ ลอดคน ขาพเจาไดมโี อกาสอยทู กี่ ฏุ ิ ของหลวงพอกับทานโดยลำพัง หลวงพอไดเลาใหขา พเจา ฟงวา มีลกู ศิษยนายทหารคนหนึง่ มาเลาใหทา นฟงวา หลวงปทู วดทาน ไปหลอกเขา “หลอกยังไงหรือครับ” ขาพเจาถามทาน “เขาวาเวลาที่เขาภาวนาอยู หลวงปูทวดไปยืนอยู ขางหนาเขา สักพักตัวทานก็เปลีย่ นไป หัวเปนหลวงปทู วด ตัวเปนขา...” หลวงพอตอบขาพเจายังไมจบ ขาพเจาอดถามแทรกไม ไดวา “เขารไู ดอยางไรครับวาตัวเปนหลวงพอ” ทานตอบขาพเจาวา “เขาจำรอยสักรูปผีเสือ้ ทีม่ อื ขา ได ” หลวงพอไดเลาตอวา “เมือ่ หลวงปทู วดไปหลอกเขาโดย แสดงใหเห็น หัวเปนหลวงปูทวด ตัวเปนขาแลว สักพัก ก็เปลีย่ นใหม ทีนหี้ วั เปนขา สวนตัวเปนหลวงปทู วดถือไมเทา กลับไปกลับมาอยางนี้ ” 184


เรื่องที่หลวงพอไดเลาใหขาพเจาฟงนี้ ตรงกับนิมิตที่ ศิษยของหลวงพอหลายคนเคยมีนมิ ติ เกีย่ วกับทาน คือ เปนนิมติ รูปพระพุทธเจาอยตู รงกลางดานขวา ดานซายมีรปู หลวงปทู วด และหลวงพอดู สักพักภาพทัง้ สามก็คอ ยๆ เลือ่ นมารวมเปนภาพ เดียวกันคือเปนภาพพระพุทธเจา หากหลวงพอดูและหลวงปูทวดมิใชพระองคเดียวกัน แลว สมควรแลวหรือที่นิมิตที่ศิษยนายทหารทานนั้นจะเห็น ศีรษะหลวงพอดูไปวางบนลำตัวหลวงปูทวด สมควรแลวหรือที่ ศีรษะหลวงปทู วดมาวางบนลำตัวหลวงพอดู และสมควรแลวหรือ ทีภ่ าพพระพุทธเจา หลวงปทู วด และหลวงพอดู มารวมเปนภาพ เดียวกัน ขาพเจาเชือ่ วาหลวงพอดเู ปนพระโพธิสตั วทปี่ รารถนา พุทธภูมิเชนเดียวกับหลวงปูทวด สวนทานจะเปนองคเดียวกัน หรือไมนั้น ขาพเจาไมทราบได เพราะเปนวิสัยของผูมีญาณ เทานัน้ ทีจ่ ะพึงทราบ เหตุทบี่ นั ทึกเรือ่ งนีไ้ วกเ็ พียงเพือ่ เตือนใจ ตัวเองที่ครั้งหนึ่งหลวงพอไดเคยเมตตาเลาเรื่องนี้ใหขาพเจาฟง และหากจะเปนประโยชนกบั ใครบาง ชวยสรางศรัทธาปสาทะ ให เกิดความพากความเพียร ที่จะกาวลวงความทุกขใหไดแลว ขาพเจาขออนุโมทนาดวยอยางยิง่ ครับ

185


๙๓ กรรมฐานพาลจิตเพีย้ น

เมือ่ หลายปกอ น มีการเสวนาทางวิชาการเรือ่ ง “โรคจิต กับกรรมฐาน” จัดโดยธรรมสถานจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย ใน ครัง้ นัน้ มีการเชิญจิตแพทยจากโรงพยาบาล ศิริราช มาเลาถึง ปญหาโรคจิตทีเ่ กิดจากการนัง่ วิปส สนากรรมฐาน วาทีจ่ ริงแลว การทำกรรมฐานไมไดเปนสาเหตุ ของการเกิดโรคจิตแตประการ ใด การทีค่ นทัว่ ไปนัง่ วิปส สนา กลับมาแลวเกิดอาการทางจิตที่ คนอืน่ มองวา “เพีย้ น” หรือเปนโรคประสาท เปนเพราะทำไม ถูกวิธี จิตแพทยทา นนัน้ ไดกลาววา การทีม่ ผี ไู ปทำวิปส สนา กลับมาแลวผิดปกติมีไมมากนัก แตสิ่งที่นาเปนหวงมากก็คือ ปจจุบันมีสำนักสอนการปฏิบัติ รวมทั้งวิปสสนา เกิดขึ้นอยาง มากมาย จนทำใหคนคิดวาเปนแฟชั่นที่กำลังไดรับความนิยม คาดวามีสำนักนอยใหญทวั่ ประเทศเปนพันแหง สาเหตุทที่ ำให คนมงุ เขาสสู ำนักกรรมฐานเหลานีเ้ นือ่ งมาจากความทุกข ความ ผิดหวังในชีวติ จึงตองหาทีพ่ งึ่ ทางใจไวเปนทีย่ ดึ เหนีย่ ว

186


สรุปไดวา คนทีเ่ พีย้ นจากการทำกรรมฐานนัน้ สวนใหญ มีความออนแอทางจิตใจอยแู ลว และมาพบกับแนวทาง วิธกี าร สอนทีผ่ ดิ ๆ เชน อานตำราแลวนำไปตีความเอง เพิง่ ฝกใหมแต คิดคนวิธปี ฏิบตั เิ องนอกแบบของครูอาจารย ฟงจากเพือ่ นทีเ่ ลา ใหฟง ตอๆ กันมา เจาสำนักกรรมฐานบางแหงมักใชวธิ พี สิ ดารตางๆ เพือ่ สรางความขลังใหสำนักตนดวยการฝกแบบแปลกๆ จนทำให คนทีฝ่ ก แบบทีผ่ ดิ ๆ นีเ้ กิดอาการเครงเครียด บางก็เกิดความกลัว หวาดระแวง เกิดเปนอาการเพีย้ นตางๆ ตามมา อาการเพีย้ นนี้ มิใชเพิง่ เกิดในสมัยปจจุบนั หากแตในครัง้ พุทธกาลก็มหี ลักฐาน ปรากฏในพระวินยั ปฎกภาค อาทิกรรมิกะ คือ สมัยหนึง่ ทีพ่ ระพุทธเจาทรงสอนกรรมฐานขอทีว่ า ดวย การใหพจิ ารณารางกายดุจเปนซากศพแกพระภิกษุ หลังจากนัน้ พระพุทธเจาเสด็จเขาผาสุกวิหารธรรม คือทรงพักผอนสวน พระองคเปนเวลา ๑๕ วัน ในระหวางนี้ จะไมเสด็จออกบิณฑบาต จะมีแตพระภิกษุผทู ำหนาทีค่ อยอุปฏ ฐากอยู ไมทรงรับแขกและ งดการแสดงธรรม พระภิกษุทไี่ ดฟง พระพุทธเจาสอนเรือ่ ง อสุภะกรรมฐาน ไดนำคำสอนไปปฏิบตั โิ ดยไมมคี รูอาจารยคอยควบคุมอยางใกล ชิดก็เกิดอาการวิปริต เห็นรางกายเปนซากศพ เปนทีน่ า ขยะแขยง เปนทุกข จึงจางวานคนอืน่ ใหฆา ตัวเองบาง ลงมือฆากันเองบาง 187


เมื่อพระพุทธเจาทรงเสร็จจากผาสุกวิหารธรรม ทรง ทราบเรื่ อ งเข า จึ ง ทรงสอนให ภิ ก ษุ ที่ เ หลื อ อยู ใ ห พิ จ ารณา กรรมฐานในแนวใหม อีกเรือ่ งหนึง่ คือ เรือ่ งพระภิกษุกลมุ หนึง่ เรียนกรรมฐาน จากพระพุทธเจาแลวกราบทูลลาเขาปาหาทีส่ งบปฏิบตั กิ รรมฐาน จนไดบรรลุฌานเปนความสงบแลว ไมนานก็เกิดความสำคัญผิด คิดวาตนไดสำเร็จขัน้ อรหันตแลว จึงชวนกันออกจากปากลับมา เฝาพระพุทธเจา และไดบอกความประสงคเรือ่ งนีแ้ กพระอานนท พระอานนทเขาไปกราบทูลพระพุทธเจาเพื่อขออนุญาตเขาเฝา พระพุทธเจาไมทรงอนุญาต แตรบั สัง่ ใหพระอานนทไปบอกพระ ภิกษุเหลานัน้ ใหไปพิจารณาซากศพในปาชากอน ซึง่ ในขณะนัน้ ในปาชามีคนทีต่ ายใหมๆ ยังไมไดเผา พระภิกษุเหลานัน้ ก็ไดไปดูศพในปาชา เมือ่ ดูศพทีก่ ำลัง ขึน้ อืดก็บงั เกิดความเกลียด และเมือ่ ไปดูศพหญิงสาวทีเ่ พิง่ ตาย แลเห็นอวัยวะทุกสวนยังสดอยกู บ็ งั เกิดราคะ พระภิกษุเหลานัน้ จึงทราบวาพวกตนยังไมไดบรรลุธรรมใดๆ ก็เกิดความสลดสังเวช ใจในความสำคัญผิดของตน หลังจากนัน้ ไดเขาเฝาพระพุทธเจา ไดฟง ธรรมจึงไดสำเร็จเปนพระ อรหันตในเวลาตอมา นีเ้ ปนหลักฐานวาการปฏิบตั กิ รรมฐานตามหลักศาสนา พุทธ จำเปนตองมีครูอาจารยคอยดูแล เชนคอยแนะนำวาภาพ ทีเ่ ห็นและความคิดทีเ่ กิดขึน้ ในขณะทีเ่ จริญพระกรรมฐาน หรือ 188


เวลานัง่ กรรมฐาน ตลอดจนอารมณตา งๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในระหวางนัน้ มีความหมายอยางไรและควรวางอารมณตอ สิง่ เหลานีอ้ ยางไร มิฉะนัน้ ผทู ำกรรมฐานอาจเกิดความเห็นผิด แลวพัฒนากลาย เปนความวิปริตหรือผิดเพีย้ น ทีส่ ดุ แลวอาการอาจรุนแรงจนควบ คุมไมได กลายเปนคนวิกลจริตไปก็มี ผปู ฏิบตั จิ งึ ควรเริม่ ตนศึกษาพุทธศาสนาดวยการศึกษา หาความรู ทำความเขาใจในหลักคำสอนของพระพุทธเจาใหเขา ใจกอนทีจ่ ะลงมือนัง่ สมาธิเจริญภาวนา เพราะการ ทำสมาธิแต เพียงอยางเดียวก็มโี ทษ มิใชมปี ระโยชนดา นเดียว ดังนัน้ จึงขอฝากผปู ฏิบตั ทิ มี่ กั มีนมิ ติ ภาวนา ไมวา เปน นิมติ ประเภทภาพ เสียง กลิน่ หรือสิง่ อืน่ ใดก็ตาม หลวงพอทาน เคยสอนไววา “อยายินดียนิ ราย และอยานอมใจเชือ่ ในนิมติ ทีเ่ กิดขึน้ ” ทานสอนไมใหปฏิเสธ หรือวาไมใหเชือ่ นิมติ ทันทีที่ นิมิตเกิดขึ้น แตสอนใหเชื่อหรือปฏิเสธีก็ตอเมื่อ ความจริง ปรากฏขึน้ เทานัน้ หลวงปดู ลู ย อตุโล ทานไดเคยแนะนำวิธลี ะ นิมติ กับศิษยคนหนึง่ ในหนังสือ “หลวงปฝู ากไว” เรียบเรียงโดย พระโพธินนั ทมุนี หรืออดีตพระครูนนั ทปญญาภรณวา “...นิมติ บางอยางมันก็สนุกดี นาเพลิดเพลินอยหู รอก แตถา ติดอยแู คนนั้ มันก็เสียเวลาเปลา วิธลี ะไดงา ยๆ ก็คอื อยา ไปดูสงิ่ ทีถ่ กู เห็นเหลานัน้ ใหดผู เู ห็น แลวสิง่ ทีไ่ มอยากเห็นนัน่ ก็จะ หายไปเอง” 189


๙๔ จะไปทางไหน

หลวงพอเคยพูดถึงความรูสึกหวงใยของทานที่มีกับ บรรดาศิษยวา หลายคนกอนจะมาเกิดนี่ พวกทีอ่ ยบู นสวรรค ก็ได ไปร่ำลาพระกอน พอลงมาแลวก็มาเพลิดเพลินหลงติดอยกู บั โลก ครัน้ เมือ่ ตายไปแลวก็ไปเกิดในทีล่ ำบาก ในอบายภูมิ มีนรก เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉาน ไมสามารถกลับขึน้ ไปรับผลบุญบนสวรรค ชัน้ พรหม หรือไปนิพพานได พระพุทธเจาเคยเปรียบบุคคลไว ๔ จำพวก คือ ๑. บุคคลที่มืดมาแลวมืดไป เปรียบไดกับบุคคลที่มา จากภพภูมิที่ต่ำกวา มนุษย ไดแก นรก เปรต อสุรกาย สัตว เดรัจฉาน ครัน้ มาเกิด แลวก็ประกอบแตกรรมชัว่ เมือ่ ตายจาก โลกมนุษยกก็ ลับไปสู อบายภูมอิ กี ๒. บุคคลที่มืดมาแลวสวางไป เปรียบไดกับบุคคลที่ มาจากภพภูมิที่ต่ำกวามนุษย ไดแก นรกเปรต อสุรกาย สัตว เดรัจฉาน ครัน้ มาเกิดแลวก็ประกอบแตกรรมดี เมือ่ ตายจาก โลก มนุษย เขาก็สามารถไปสสู คุ ติมสี วรรค พรหม พระนิพพานได

190


๓. บุคคลที่สวางมาแลวมืดไป เปรียบไดกับบุคคลที่ มาจากภพภูมทิ สี่ งู กวาภูมมิ นุษยไดแกสวรรค พรหม ครัน้ มาเกิด แลวก็ประกอบแตกรรมชั่ว เมื่อตายจากโลกมนุษยก็กลับไปสู อบายภูมิ ๔. บุคคลทีส่ วางมาแลวสวางไป เปรียบไดกบั บุคคลที่ มาจากภพภูมทิ สี่ งู กวาภูมมิ นุษย ไดแก สวรรค พรหม ครัน้ มา เกิดแลวก็ประกอบแตกรรมดี เมื่อตายจากโลกมนุษย เขาก็ สามารถไปสสู คุ ติมสี วรรค ..พรหม ..พระนิพพานได จะมืดมาหรือสวางมา ขาพเจาคิดวาไมสำคัญเทากับ จะมืดไปหรือสวางไป เพราะอยางไรเสีย เราก็ไดมาเกิดแลว แต ขณะนีเ้ รายังไมได...ไป ในประวัตขิ องสมเด็จพระพุฒาจารยโต พรหมรังสี แหง วัดระฆังโฆสิตาราม เมือ่ คราวทีใ่ นหลวงรัชกาลที่ ๔ ทรงใหขดุ สระน้ำและปลูกพระตำหนักกลางสระน้ำอยางสวยงาม ทานได ตรัสถามสมเด็จโตวา “สวยไหม ขรัวโต” สมเด็จโตกราบทูลตอบ วา “สวยมากมหาบพิตร ดุจราชรถอันวิจติ ร” เทานี้แหละ ในหลวงทรงกริ้วไปหลายวัน เพราะทาน เปนปราชญเชี่ยวชาญภาษาบาลี คำกราบทูลของสมเด็จโตวา “ดุจราชรถอันวิจติ ร” นีต้ รงกับพุทธภาษิตบทหนึง่ วา “สูทงั้ หลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการตาดุจราชรถ อัน วิจติ ร ทีพ่ วกคนโงหลงติดอยู แตผรู หู าติดของอยไู ม” 191


๙๕ ตีเหล็กรอนๆ

ครัง้ หนึง่ มีเพือ่ นผปู ฏิบตั ธิ รรมของขาพเจาไดฝากเรียน ถามหลวงพอวา ในยุคปจจุบนั ผคู นกำลังมีความทุกขกนั มากมาย นอกจากการปฏิบตั ธิ รรมแลว ควรทำอยางไรอีก ขาพเจาไดกราบ เรียนถามหลวงพอ ซึง่ ทานเมตตาตอบวา คำถามมันมีคำตอบอยู ในตัวแลว นอกจากการปฏิบตั ธิ รรมแลวไมมอี ยางอืน่ เพราะการ ปฏิ บั ติ ธ รรมคื อ ปฏิ บั ติ ใ ห ถู ก ต อ ง ที่ สำคั ญ อย า งแรกคื อ ต อ ง ทำความเห็นเราใหถูกเสียกอนวาที่วา “ปฏิบัติธรรม” นั้ น “ปฏิบตั อิ ะไร” และ “ปฏิบตั อิ ยางไร” ทานไดแยกแยะใหไวเปน สองนัย คือ โลกียธรรม และ โลกุตรธรรม โลกียธรรม คื อ ให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ ข องเราให พ ร อ ม สมบูรณ ไมวาจะเปนหนาที่ตอพอแม ครูบาอาจารย หัวหนา ลูกนอง เพือ่ นๆ และหนาทีต่ อ ตัวเอง โลกุตรธรรม ก็ใชทุกขจากสภาพที่เปนอยูนี้แหละ เปนเครื่องกำหนดรู สำหรับผูมีปญญาแลว ยิ่งเห็นทุกขมาก เทาใด ก็ยงิ่ อยากทีจ่ ะพนทุกขมากเทานัน้ โดยอาศัยหนทางมรรค ทีพ่ ระพุทธเจาสอนเปนแนวทางเดิน 192


ได ฟ ง คำตอบของหลวงพ อ ทำให ข า พเจ า ระลึ ก ถึ ง ประวัตขิ องสมเด็จโต วัดระฆังฯ อีกครัง้ โดยปกติในหลวงรัชกาล ที่ ๔ มักนิมนตสมเด็จโตเขามาเทศนในวังเสมอ วันหนึง่ ทีท่ า น นิมนตสมเด็จโตมาเทศน พอดีวันนั้นทานมีกิจธุระที่จะตองไป ทำตอ เมือ่ สมเด็จโตมาเทศน ทานทราบดีวา ในหลวงมีเรือ่ งรอน พระทัยอยจู ะรีบไป ทานก็เทศนใหในหลวงฟงอยเู สียนานกวา จะจบลงได ครั้งตอมา ในหลวงนิมนตสมเด็จโตเขามาเทศนในวัง อีก วันนั้นทานวางจากกิจธุระการงานดีแลว ตั้งใจจะฟงเทศน สมเด็จเต็มที่ สมเด็จโตแทนทีจ่ ะเทศนอะไรใหในหลวงฟง วัน นัน้ ทานกลับไมแสดงธรรมและไมเทศนเลย เพียงแตขนึ้ ตนวา ธรรม ใดๆ มหาบพิตรก็ทรงทราบดีอยแู ลว เอวังก็มดี ว ยประการ ฉะนี้ เรือ่ งนีส้ อนใหรวู า จะตีเหล็กใหตตี อนรอนๆ ในวันแรก ในหลวงทรงมีเรื่องกังวลพระทัยจิตใจไมปกติ สมเด็จโตทานจึง ตองเทศนนานหนอย แตวนั ตอมาทานสบายพระทัย จิตใจเปน ปกติดี ก็ไมมเี หตุอนั ใดทีต่ อ งเทศนสอนอีก ฉันใด การพิจารณา ทุกขใหเขาใจทุกข ใหผา นทุกขใหได ก็ตอ งพิจารณาในยามทีเ่ ผชิญ ทุกขมากๆ ยามทีป่ ญ  หาเศรษฐกิจรุมเราเชนปจจุบนั นี้ ฉันนัน้

193


๙๖ ครูพกั ลักจำ

คุณธรรมที่โดดเดนของหลวงพอดูอีกประการหนึ่ง ที่ ขาพเจายังจดจำไดดี คือหลวงพอรจู กั เอาเหตุการณเล็กๆ นอยๆ ทีด่ เู หมือนไมสลักสำคัญอะไร มาจุดประกายความคิด แกศษิ ย ดวยวิธคี ดิ และกุศโลบายอันแยบคาย จนทำให เหตุการณเล็กๆ นอยๆ กลับเปนเรื่องราวที่มีคา กลายเปนบทเรียนอันทรงคุณ คา...สำหรับศิษยในเวลาตอมา อยางเชน เรือ่ งหนึง่ ในสี่ หลวง พอไดเคยปรารภธรรมกับขาพเจาวา “ ขานัง่ ดูดยา มองดูซองยาแลวตัง้ ปญหาถามตัวเอง วา เรานีป่ ฏิบตั ไิ ดหนึง่ ในสีข่ องศาสนาหรือยัง ถาซองยานี้ แบงเปนสีส่ ว น เรานีย่ งั ไมไดหนึง่ ในสี่ มันจวนเจียนจะไดแลว ก็คลาย เหมือนกับเรามัดเชือกจนเกือบจะแนน ไดทแี่ ลวเรา ปลอย มันก็คลายออก เรานีย่ งั ไมเชือ่ จริง ถาเชือ่ จริงนีม่ นั ตองไดหนึง่ ในสีแ่ ลว” ตอมาภายหลังทานไดขยายความใหขา พเจาฟงวา “ทีว่ า หนึง่ ในสีน่ นั้ อุปมาดัง่ การปฏิบตั ธิ รรมเพือ่ ให บรรลุมรรคผลในพุทธศาสนา ทานแบงไวเปนขัน้ โสดาบัน 194


สกิทาคามี อนาคามี และอรหัตตผล อยางนอยเราเกิดมา ในชาตินี้ ไดพบพระพุทธศาสนา เปรียบเหมือนไดพบสมบัติ ล้ำคา หากไมปฏิบตั เิ อาใหไดอยางนอยหนึง่ ในสี่ ใหถงึ ความ เปนพระโสดาบัน ปดประตูอบายภูมใิ หได ก็เทากับวาเราเปน ผปู ระมาทอยมู าก” ยิง่ ไดศกึ ษา ยิง่ ไดเรียนรกู บั หลวงพอ ขาพเจาก็ยงิ่ บังเกิด ความอัศจรรยขนึ้ ในจิตใจ ทานสอนใหเราไดหลักและวิธคี ดิ ดวย โยนิโสมนสิการ ทำใหเราไดเกิดศรัทธาและกอใหเกิด “ปญญา” อันเปนยอดปรารถนาของทุกคน ใหเกิดความเขาใจแจมชัดใน เรือ่ งตัวตนของเราและทุกชีวติ ทีอ่ ยรู อบขาง หลวงพอทานเคยเลาใหขา พเจาฟงวา “คนสมัยกอนทีเ่ ขาปฏิบตั กิ นั ไดดี ตองรจู กั ลักสังเกต จดจำสิง่ ทีด่ งี ามของผอู นื่ มาปฏิบตั ติ ามเพือ่ ใหเกิดใหมที ตี่ วั เรา เหมือนทีข่ า สอนพวกแกนี่ ไมใชสำนักปฏิบตั ิ ไมใชสำนักวัด สะแก ถาเปนสำนักก็ตอ งตัง้ แบบใหม ที่ขาสอนนี่ไมใชแบบใหม แตเปนแบบของพระ พุทธเจา ขาก็ลกั สอนแอบสอนอยนู ี่ ใครเชือ่ จริงเอาจริงก็ไดไป ชวยๆ กัน ...ชวยเหลือพระศาสนา”

195


๙๗ ทีส่ ดุ แหงทุกขเวทนา

“ธรรมนัน้ อยฟ ู ากตาย ไมรอดตาย ไมเห็นธรรม” เปนคำสอนธรรมทีไ่ พเราะ กินใจ และเปนประโยชน ใน การนำมาขบคิดพิจารณาใหแจมแจงกับตนเองอยางยิง่ วันหนึง่ ขณะทีข่ า พเจานัง่ ปฏิบตั ภิ าวนา ใจมีความสงบ ระงับพอสมควร เวลาผานไปไดสกั ๒ - ๓ ชัว่ โมง ทุกขเวทนา อันเนือ่ งมาจากความปวดเมือ่ ยตามรางกายเริม่ ทวีขนึ้ เรือ่ ยๆ ในครัง้ แรก ขาพเจาอาศัยกำลังสมาธิเขาขมความเจ็บ ปวด โดยพยายามใหจติ จดจออยกู บั คำภาวนาใหมนั่ คงขึน้ ความ ปวดเมือ่ ยก็หายไป แตกเ็ ปนเพียงชัว่ ขณะไมนานนัก ความปวด เมื่อยนั้นก็กลับคืนมาอีกและรุนแรงขึ้น ขาพเจาจึงตั้งคำถาม ตัวเองวา... “ทีว่ า เจ็บปวด มันปวดตรงไหน ทีจ่ ติ หรือทีก่ าย” “เจ็บทีก่ าย” ขาพเจาตอบตัวเอง “เออ เจ็บทีก่ าย มันก็ตอ งไมเกีย่ วกับจิต ถาเราเชือ่ พระพุทธเจาวาจิตกับกายเปนคนละสวนกัน เราจะตองเห็นจิต

196


เห็นกายวาเปนคนละสวนดวยตัวเรา และตองไมทรุ นทุราย จาก ความเจ็บปวดอันนี”้ ขาพเจาบอกกับตัวเองอีก เวลาผานไปอยางชาๆ แตอนิจจาความเจ็บปวดมิได หายไปไหนเลย กลับทวีความรุนแรงถึงขนาดทีข่ าทัง้ สองขางของ ขาพเจาสัน่ ระริกและกระตุกดวยความเจ็บปวดเอง ขณะนัน้ เกิด เปนความรอนทัว่ รางกาย โดยเฉพาะทีห่ วั เขาทีน่ งั่ ขัดสมาธิเกิด ความเจ็บปวดแสนสาหัสเหมือนมีใครมาบิดขาและดึงใหยดื ออก เปนความทรมานทีส่ ดุ ครัง้ หนึง่ ของการปฏิบตั ภิ าวนาของขาพเจา ทีเดียว ขาพเจาบอกกับตนเองวาวันนี้ตองใหเห็นที่สุดของ ทุกขเวทนาใหได เราจะไมยอมลุกจากทีน่ งั่ โดยไมผา นทุกข ไม เห็นทีส่ ดุ ของทุกขเวทนา ถาเราลุกแปลวาเราไมเชือ่ พระพุทธเจา ถาเราเชือ่ พระพุทธเจาจริงเราตองผานทุกขใหได ใหใจเราเห็น ใหไดวา จิตกับกายนีเ้ ปนคนละสวนกัน ถาหากวันนีเ้ ราแพ ก็ไปหาผาถุงมานงุ เสีย แลวไมตอ งมาปฏิบตั ิ อีกเลย ปฏิบตั ไิ ป ก็ตายเปลา เพราะคนขี้แพทำอะไรมันก็แพอยูวันยังค่ำ เวลา จะตายมันเจ็บปวดเพียงไรจะทนไหวหรือ เมื่อตกลงกับตัวเองดังนี้แลว ความเจ็บปวดก็ยังมิได หายไปไหนเลย คราวนีก้ ลับเพิม่ ความรุนแรงขึน้ จนน้ำตาขาพเจา ไหลออกมาเปนสาย ในใจขณะนัน้ ขาพเจาไมหวังอะไรทัง้ สิน้ ไม ตองการแมกระทัง่ ความสงบ นึกเพียงอยางเดียววาทีเ่ ราทำอยู

197


นี้ทำดวยศรัทธา ดวยความรักหลวงพอดูและขอเอาชีวิตเปน เดิมพัน เมื่อความเจ็บปวดรุมเราขาพเจาอยางแสนสาหัส ถึง ขนาดเจียนอยเู จียนไป จนขาพเจารตู วั ดีวา ไมสามารถทนตอไป ไดอกี แลว แตใจก็ยงั ไมยอมแพ ไมยอมลุก และไมยอมขยับเขยือ้ น ขาพเจารสู กึ วาตัวเองเหมือนเด็กทีย่ นื กำหมัด กัดฟน แลววิง่ เขา ไปชกกับคตู อ สทู รี่ ปู รางสูงใหญไดเปรียบกวา ทุกประตู ขาพเจา ทัง้ รองไหทงั้ ตะโกนอยใู นใจวา “ผมทำถวายหลวงพอครับ” สิน้ คำกลาวของขาพเจานี้ เหมือนกับหลวงพอทานรับ ทราบ พลันเกิดเหตุอศั จรรยเปนนิมติ ทีข่ า พเจาจดจำไดตลอด ชีวติ คือ ขาพเจาเห็นหลวงพอดเู ปาพรวดลงมาทีก่ ระหมอมของ ขาพเจา ความรสู กึ ขณะนัน้ ดุจมีน้ำทิพยชโลมรดตัง้ แตศรี ษจนจรด ปลายเทา ทุกขเวทนาความปวดเมือ่ ย ทีเ่ มือ่ สักครรู าวกับถูกกอน หินทีม่ นี ้ำหนักหนึง่ รอยกิโลทับไว ก็พลันหายไปในพริบตา เกิด เปนความเย็นกายเย็นใจตัง้ แตศรี ษะจนจรดปลายเทา ไมมที ใี่ ด ทีค่ วามเจ็บปวดซอนเรนหรือหลงเหลืออยเู ลย ขาพเจาเริ่มมีความมั่นใจในการปฏิบัติมากขึ้น ความ ลังเลสงสัยในวิถที างปฏิบตั เิ ริม่ หมดไป มีแตความปลาบปลืม้ ปติ ในธรรมอยางทีไ่ มเคยเปนมากอน สังเกตดูจติ กับอารมณถกู แยก ออกเปนคนละสวนเหมือนแกวทีใ่ สน้ำไว แกวกับน้ำแมอยดู ว ย กัน แกวก็เปนแกว น้ำก็เปนน้ำ อยกู นั คนละสวน ฉันใด จิตก็เปน จิต... เปนผรู ู อารมณกเ็ ปนอารมณ ...เปนผถู กู รู ฉันนัน้

198


เมื่ อ หยุ ด อยู สั ก พั ก หนึ่ ง จึ ง น อ มเอาความสงบมา พิจารณาธรรมารมณตา งๆ ทีม่ ากระทบใจตอไป อยางนี้กระมังที่ทานหลวงตา (พระอาจารยมหาบัว ญาณสัมปนโน) เคยสอนไววา การตอสูกับกิเลส ถาสูกับมัน ชกกับมัน หากสไู มไหว ถูกมันจับได จับมือเรามัดไว ขาเรามี ก็ตอ งเตะถีบมัน หากถูกมันจับขาไดอกี ปากเรามีกต็ อ งกัด ตอง ดามัน ใหสจู นยิบตา ขาพเจาเริม่ เขาใจบทเรียนบทนีแ้ ลว ความเขาใจเริม่ มี มากขึน้ พรอมกับความรักทีม่ ตี อ หลวงพอดกู ม็ มี ากขึน้ เชนกัน

199


๙๘ พุทธนิมติ

การตอบคำถามของหลวงพอ แกศิษยชางสงสัยอยาง ขาพเจา บางครัง้ ทานไมตอบตรง ๆ แตตอบดวยการกระทำ การ แสดงใหดู และการตอบของทานก็ยงั ความอัศจรรยให เกิดขึน้ แกขา พเจาและเพือ่ นๆ เปนอยางยิง่ ดังเหตุการณเมือ่ ครัง้ ทีเ่ กิด “พุทธนิมติ ” เมือ่ คืนวันขึน้ ๑๔ ค่ำเดือน ๖ กอนวันวิสาขบูชา ป พ.ศ.๒๕๒๘ หนึง่ คืนทีว่ ดั สะแก เหตุเริม่ แรกเกิดจากเมือ่ ตอนกลางวันในวันนัน้ ขาพเจา ไดมากราบนมัสการหลวงพอทีว่ ดั พรอมกับพกพาเอาความสงสัย สองเรือ่ ง คือ เวลาทีห่ ลวงพอหลวงปทู งั้ หลาย ทานจะไปชวยลูก ศิษยที่อยูหางกันคนละที่ในเวลาเดียวกัน ทานไปไดอยางไร พรอมกับเรื่องนี้ ในวันนั้นขาพเจาไดนำรูปปาฏิหาริยของครู อาจารยทา นอืน่ ๆ ทีศ่ ษิ ยของทานเหลานัน้ ถายภาพ ไดรวบรวม มาถวายใหหลวงพอทานดู มีภาพของพระอาจารยมหาปน หลวง ปขู าว หลวงปคู รูบาชัยยะวงศาฯ และพระอาจารยจวน ดวยความ งวยงงสงสัย ขาพเจาจึงถามทานวาภาพเหลานีถ้ า ยกันจริง หรือ วาทำขึน้ มา 200


หลวงพอทานพิจารณาดูรูปเหลานั้นทีละใบจนครบ ใชเวลา ประมาณหนึง่ นาที แลวรวบเขาไวดว ยกัน ยกมือไหว แลวบอก ขาพเจาวา “ขาโมทนาสาธุดว ย ของจริงทัง้ นัน้ ” ดังนัน้ จึงไมมี คำอธิบายอืน่ ใดอีกนอกจากนี้ ครั้นตกเวลากลางคืนประมาณสองทุม ขาพเจากับ เพือ่ นๆ มาทีก่ ฏุ หิ ลวงพออีกครัง้ มีลกู ศิษยมากมายตางมาสรง น้ำหลวงพอในโอกาสวันคลายวันเกิดทาน...วันวิสาขปุรณมี เมือ่ คณะทีม่ าสรงน้ำหลวงพอเดินทางกลับไปหมด เหลือแตขา พเจา และเพือ่ นๆ พวกเราขออนุญาตหลวงพอถายรูปกับทานไวเปน ทีร่ ะลึก ขาพเจาจำไดดวี า เมือ่ หลวงพออนุญาตแลว จากนัน้ ทาน ก็นงั่ นิง่ ไมขยับเขยือ้ น ไมเคลือ่ นไหวใดๆ ทัง้ สิน้ ศิษยตากลอง ผลัดกันถายภาพไดประมาณสิบภาพ แลวทุกคนก็กราบนมัสการ ทานอีกครัง้ บรรยากาศคืนนัน้ ขาพเจามีความรสู กึ ทีแ่ ปลกไป กวาทุกวัน จำไดวา บริเวณกุฏหิ ลวงพอเย็นสบาย... เย็นเขาไปถึง จิตถึงใจขาพเจาอยางยิง่ เมือ่ นำฟลม ทัง้ หมดไปลาง ปรากฏวามีภาพปาฏิหาริย “พุทธนิมติ ” เกิดขึน้ สวนแรกเปนภาพพุทธนิมติ คือเปนภาพ พระพุทธเจาทีถ่ า ยไดโดยไมมวี ตั ถุทเี่ ปนพระพุทธรูป เหตุอศั จรรย อีกประการหนึง่ คือเปนภาพทีอ่ ยตู น ฟลม ทีม่ ไิ ดตงั้ ใจถาย เปน ภาพทีผ่ ถู า ยตองการกดชัตเตอรทงิ้ สวนทีส่ องเปนภาพหลวงพอ โดยมีแสงสีเปนรังสีตา งๆ รอบๆ องคทา น

201


สำหรับขาพเจาแลว นี่เปนการตอบคำถามที่หลวงพอ เมตตาตอบขาพเจาทีไ่ ดถามทานไวสองคำถามเมือ่ ตอนกลางวัน ภาพ “พุทธนิมติ ” เปนการตอบคำถามทีว่ า เวลาที่ หลวงพอหรือ หลวงปูทั้งหลายทานจะไปชวยลูกศิษย ที่อยูหางกันคนละที่ ในเวลาเดียวกัน ทานไปไดอยางไร สวนภาพหลวงพอดทู มี่ แี สง สีเปนรังสีตา ง ๆ รอบ ๆ องคทา น ก็เปนการตอบตอคำถามทีว่ า ภาพครูอาจารยองคตางๆ ที่ขาพเจานำมาถวายใหทานดูนั้น “เปนของจริง” ขาพเจาเชือ่ แนเหลือเกินวา หลวงพอคงมิไดตอบ คำถามขาพเจาเพียงสองคำถามเทานัน้ จึงขอฝากทานผรู ทู ไี่ ดเห็น ภาพเหลานีใ้ หนำไปพิจารณาดวยดี ก็จะไดรบั ประโยชนอกี มาก ทีเดียว หลังจากเกิดเหตุการณนี้ ขาพเจาไดนำภาพเหลานีม้ า ถวายใหหลวงพอดแู ละกราบเรียนขอคำอธิบายจากทาน ทานตอบอยางรวบรัดวา “เขาทำใหเชือ่ ” หลวงพอเนนเสียง สีหนาเกลือ่ นยิม้ ดวยเมตตา

202


๙๙ หลวงพอบอกหวย

ความจริงแลวขาพเจาควรตัง้ ชือ่ เรือ่ งนีว้ า “วิดโี อประวัติ และคำสอนของหลวงพอ” มากกวา แตชอื่ เรือ่ งยาวไป และไมชวน อานเทา “หลวงพอบอกหวย” จึงขออนุญาตใชชอื่ เรือ่ งนีแ้ ทน ขาพเจาและหมูคณะอีกหลายคนมีความตั้งใจที่จะทำ วิดโี อประวัตแิ ละคำสอนของหลวงพอ เพือ่ เปนอนุสรณรำลึกถึง ทาน โดยจัดทำดวยความเคารพทานเปนที่สุด ไมตองการหา ผลกำไรจากการนี้ จากนัน้ ก็ไดปรึกษากันในเรือ่ งทุนทีจ่ ะดำเนินการ และ หลั ง จากที่ ไ ด แ บ ง งานกั น แล ว ทุ ก คนพร อ มใจกั น มากราบ นมัสการหลวงพอตอหนาสรีระของทาน ทีต่ งั้ ไวทห่ี อสวดมนต ซึง่ อยูตรงขามกับกุฏิของหลวงพอในปจจุบัน ขาพเจาจำไดวาคำ อธิษฐานของพวกเราในวันนัน้ คือ ขออนุญาตตอหลวงพอในการ จัดทำวิดโี อประวัตแิ ละคำสอนของทาน และหากหลวงพออนุญาต ขอใหหลวงพอบอกพวกเราดวย จะโดยนิมติ มาเขาฝน หรือวิธี ใดก็แลวแต เพือ่ ใหพวกเราสบายใจ วาไมไดทำโดยทีห่ ลวงพอไม อนุญาต และขอใหสงิ่ ทีจ่ ะตองทำทุกอยางสะดวกราบรืน่ ไมตดิ 203


ขัดจนงานสำเร็จ แตหากหลวงพอไมอนุญาตแลว ขอใหการ ทำงานของพวกเราติดขัด มีอุปสรรค ทำใหทอใจ และเลิกลม ความตัง้ ใจทีจ่ ะทำกันในทีส่ ดุ จากวันที่พวกเราไดขออนุญาตหลวงพอแลว พวกเรา สิบกวาคนใชเวลากันประมาณหนึ่งป เพื่อจัดทำวิดีโอที่มีความ ยาวประมาณ ๓๐ นาที เริม่ ตัง้ แตการเขียนบท เปลีย่ นจากบทให เปนสคริปต ติดตอหาขอมูลเกีย่ วกับหลวงพอตัง้ แตชวี ติ ของทาน ในวัยเยาว จนกระทัง่ อุปสมบทเปนพระภิกษุ สอบถามจากพระ เถระครูอาจารยที่เคยรวมธุดงคกับทาน ผูเฒาผูแกที่รูจักทาน ติดตอชางภาพทีจ่ ะมาถายทำวิดโี อนอกสถานที่ โดยตองไปถาย ทำทีบ่ า นเกิดของทาน เปนตน จนกระทัง่ วิดโี อทีช่ ว ยกันจัดทำ แลวเสร็จ ขาพเจายังจำไดดวี นั นัน้ เปนวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๓๖ เวลากลางคืน ประมาณสามทมุ ขาพเจานัง่ ดูวดิ โี ออยคู นเดียวที่ ชัน้ ลาง ดูไปก็คดิ ถึงทานไป ผานไปไดคอ นเรือ่ ง ดวยความคิด ถึงทาน น้ำตาเจากรรมของขาพเจาก็เออลนขึน้ มา ในขณะเดียว กันนั้นเอง ขาพเจาแลเห็นหลวงพอดูทางดานขวามือขาพเจา ทานเดินเขามาหาแลวหยุดหางจากขาพเจาประมาณเมตรเศษ แลวบอกขาพเจาวา “ ขาอนุโมทนากับพวกแกดวย ทีท่ ำใหคนอืน่ ไดบญ ุ หลาย” 204


ขาพเจาเห็นทานดวยหางตา ครั้นเมื่อหันไปมองทาน ตรงๆ ปรากฏวาทานหายไป แลวขาพเจาถามตัวเองวาคิดเอาเอง หรือเปลา เสียงจิง้ จกทักทันทีทคี่ วามคิดนีเ้ กิดขึน้ ในใจ ขาพเจา นึกถึงคำทีห่ ลวงพอเคยบอกพวกเราไววา “ถาขาไปหาแก ใหคอยฟงเสียงจิง้ จกใหดี” พอดีวดิ โี อจบ ขาพเจาจึงขึน้ ไปหองพระชัน้ บน ขณะที่ ขาพเจากำลังจะกมลงกราบพระ ภาพหลวงพอก็ปรากฏเบื้อง หนา ทางดานซายของโตะบูชาพระ หรือขวามือของขาพเจา แลว ทานก็บอกขาพเจาอีกวา “ พรงุ นีห้ วยออก ๒๑” ขาพเจายัง งุนงงกับเหตุการณที่กำลังเกิดขึ้นในเวลานั้นวาคิดเอาเองอีก หรือเปลา ทำไมถึงเปนเรื่องเปนราวทีเดียว หลวงพอทานคงรู ความคิดของขาพเจาในขณะนั้น ทานจึงบอกขาพเจาอีกวา “ ไมเชือ่ ใหดใู นรูปขา ปฏิทนิ ๒๑” ขาพเจารีบเดินเขาใกลทบี่ ชู าพระซึง่ มีรปู หลวงพอ ขนาด ๘ x ๑๐ นิว้ ใสกรอบตัง้ อยู เปนรูปหลวงพอนัง่ สมาธิ หนากุฏิ ทานเอง ที่ขางฝากุฏิมีปฏิทินแบบฉีกใบละวันแขวนไว วันที่ใน ปฏิทนิ ทีเ่ ห็นนัน้ เปนวันที่ ๒๑ ซึง่ ตรงกับทีข่ า พเจาไดยนิ หลวงพอ บอกอยใู นเวลานี้ ขาพเจากมลงกราบพระ ๓ ครัง้ และเรียนหลวง พอ วาขาพเจาไมเคยคิดจะขอหวยหลวงพอเลย ขาพเจาเริม่ เขา ใจแลวละ หากวันนีห้ ลวงพอมาจริง ไมใชภาพนิมติ ทีข่ า พเจาคิด ขึน้ เองก็ขอใหพรงุ นีห้ วยออก ๒๑ จริง แตถา พรงุ นีห้ วยไมออก ๒๑ 205


แปลวาภาพนิมิตทั้งหมดเปนเรื่องไมจริงและขาพเจาเพี้ยนเอง ตัง้ แตตน จนจบรายการนี้ วันรงุ ขึน้ ขาพเจามีงานทีท่ ำงาน จำไดวา กำลังยงุ อยกู บั การจัดทำแผนงานประจำป พ.ศ. ๒๕๓๖ ขาพเจาลืมเรื่องนี้ไป สนิทตลอดทัง้ วัน ตกเย็นก็ตอ งทำงานลวงเวลากวาจะไดกลับบาน ก็เปนเวลาค่ำ เสนทางทีข่ า พเจาขับรถกลับบานตองขามสะพาน พระปน เกลาเปนประจำทุกวัน วันนัน้ ขาพเจาขับรถมาติดไฟแดง อยทู หี่ นาสำนักงานสลากกินแบงรัฐบาลพอดี พลันขาพเจานึกขึน้ มาได จึงเหลือบไปมองผลการออกสลากกินแบงรัฐบาลที่ติด ประกาศเปนตัวเลขเดนอยหู นาสำนักงานฯ สิง่ ทีข่ า พเจาไดเห็น ก็คอื เลขทายสองตัวของหวยงวดประจำ วันที่ ๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๓๖ ออกเลข ๒๑ ซึง่ ตรงกับทีห่ ลวงพอไดบอกขาพเจาไวตงั้ แต เมือ่ คืนนี้ เหตุการณทเี่ กิดขึน้ นี้ ขาพเจามาสรุปเองไดวา หลวงพอ ตองการมาบอกใหขาพเจาทราบวา ทานอนุญาตใหพวกเรา ทำวิดโี อเรือ่ งของทานได ซึง่ ขาพเจาไดนำเรือ่ งนีม้ าเลาใหหมคู ณะ ไดรบั ทราบวาพวกเราไมไดทำกันโดยพลการ หลวงพออนุญาต แลวจริงๆ ซึง่ หากทานไมบอกเหตุการณลว งหนาโดยมาผูกเรือ่ ง กับหวยทีจ่ ะออกในวันรงุ ขึน้ ขาพเจาก็คงจะไมเชือ่ วาทานอนุญาต สำหรับขาพเจาแลว นีเ้ ปนเหตุการณทปี่ ระทับใจขาพเจามากทีส่ ดุ ครัง้ หนึง่ ทีแ่ สดงถึงความรัก ความเมตตา และความหวงใยของ

206


หลวงพอทีม่ ตี อ บรรดาศิษยานุศษิ ย ขาพเจามีความเชือ่ ๑๐๐ % เต็ม วาถึงแมหลวงพอดจู ะมรณภาพไปแลว ก็เปนการจากไปแต กายของทาน แตหลวงพอดอู งคจริงทีเ่ ปนองคธรรมของทานยังอยู คอยชวยเหลือพระศาสนา และคอยชวยเหลือผูปฏิบัติธรรมทั้ง หลายอยางทีไ่ มเสือ่ มถอยไปกวาสมัยทีท่ า นยังมีชวี ติ อยเู ลย เหตุการณเรือ่ งหลวงพอบอกหวยนี้ เปนเพียงตัวอยาง หนึ่งในหลายเหตุการณที่หลวงพอทานเมตตามาชวยเหลือหมู คณะ ซึง่ ขาพเจาและศิษยหลายคนทีเ่ คยมีประสบการณ คงไม มีใครปฏิเสธวาหลวงพอดทู า น... มาไดจริงๆ

207


๑๐๐ อยากไดวตั ถุมงคลของหลวงพอ

ผมไดรับทราบคำสอนและปฏิปทาเกี่ยวกับหลวงปูดู จากศิษยของทานคนหนึ่ง จนเกิดศรัทธาปสาทะ กระทั่งไดมี โอกาสเดินทางไปถวายสังฆทานกับหลวงปคู รัง้ หนึง่ ซึง่ เปนครัง้ เดียวที่ไดพบไดกราบทาน หลังจากนั้นเวลาผานไป...ผมไดรับ ทราบเรือ่ งราว ของหลวงปมู ากขึน้ เรือ่ ยๆ ความรัก ความเคารพ บูชามีมากขึน้ ตามกาลเวลา แตกไ็ มเคยไดไปกราบทานอีกจนทาน มรณภาพ วันนัน้ ...เมือ่ คราวไปทำบุญกับหลวงปู ผมเคยคิดนอย ใจทีไ่ มไดรบั โอวาทคำสอนหรือวาสิง่ ใดจากหลวงปเู ลย ความคิด เชนนี้แมไมถูกตองนักเพราะเปนการทำบุญที่หวังผล แตนี่คือ ความรสู กึ ของปุถชุ นคนหนึง่ ทีย่ งั ตองการกำลังใจ ตองการทีพ่ งึ่ พิงทางใจอยู ถึงวันนี.้ ..ผมเชือ่ ในความเมตตาของทาน เพียงแตจะแผ มาถึงเราในลักษณะใดเทานั้น ผมไดรับฟงเรื่องราวเกี่ยวกับ คุณธรรมและคุณวิเศษของหลวงปหู ลายเรือ่ งหลายลักษณะ แต ไมเคยไดประสบกับตนเอง จนครัง้ หนึง่ ในชีวติ ...ไดเกิดขึน้ 208


ผมเปนคนทีช่ อบสะสมและสนใจพระเครือ่ ง และเชือ่ วา พระที่หลวงปูอธิษฐานจิต มีความศักดิ์สิทธิ์และเปนมงคลกับผู ครอบครอง ผมเองก็ไดแสวงหากระทัง่ ไดเหรียญรนุ “เปดโลก” จากลูกศิษยหลวงปู ทีนี้ปญหาเกิดตรงที่วาตัวเองไดแลวยังไม พอ...ยังอยากไดเผือ่ ไวใหรนุ พีท่ ที่ ำงาน ซึง่ เปนคนนิสยั ดีมนี ้ำใจ เกิดความรสู กึ อยากใหพคี่ นนีม้ พี ระของหลวงปู โดยเฉพาะเหรียญ รนุ เปดโลกนีแ่ หละ ทุกขเกิดขึ้นแลว...ตัวเองก็ไมมี แตอยากใหเขา...จะ ไปขอใครก็กลัวเขาวา ไดไมรจู กั พอหรือไง ปกติผมจะสวดมนตไหวพระกอนนอนทุกคืน คืนนี้ก็ เชนเดียวกัน ใจก็ยงั คงมีความคิดวาจะหาพระใหพคี่ นนีย้ งั ไง จิต ก็คดิ วา...พระของหลวงปู ขอจากหลวงปกู แ็ ลวกัน นึกแลว จึงหัน หนาไปทางรูปหลวงปแู ลวเรียนทานวา “หลวงปคู รับ ผมอยาก ไดเหรียญเปดโลกของหลวงปไู ปใหคณ ุ ...เพือ่ ใหเปนสิรมิ งคลคมุ ครองตัว แตผมไมมพี ระของหลวงปู ขอใหผมไดพระของหลวง ปดู ว ยครับ” ขอโทษครับ...ความรูสึกวาจะไดพระนั้นไมมี เพราะ เปนเพียงการนึกเอง คิดเองและพูดเอง คิดวาทานคงไมไดรบั รู สิง่ ทีบ่ อกกับตนเองคือนอนดีกวา คิดมากก็ฟงุ ซานเปลาๆ เชา ของสองวันตอมา ลูกศิษยหลวงปเู จอผมบอกวา “เดีย๋ ววางๆ มี เรือ่ งจะถามพีห่ นอย” 209


จากเชา...จนบาย เขาก็ยังไมวางและคงลืมไปแลว ตกเย็นเขาจะกลับบาน ผมนึกไดเลยถามเองวา “เมือ่ เชาจะถาม อะไรผมหรือครับ” “ออ! คืออยางนี้ จะถามวา เหรียญเปดโลกนี่ พีจ่ ะเอา กีเ่ หรียญครับ” เขาถาม “ฮา ! พูดใหมอกี ทีซคิ รับ พูด ชาๆ ชัดๆ” ผมอุทาน ดวยความแปลกใจและรสู กึ ไดทนั ทีวา มีอะไรผิดปกติแนนอน เพือ่ นผมคนนัน้ ก็ทวนคำถามเดิมแลวเลาใหฟง วา “เมือ่ คืนสวดมนตไหวพระตามปกติ ขณะทีจ่ ติ สงบอยู ก็มีนิมิตเปนหนาพี่ปรากฏขึ้นและไดยินเสียงของหลวงพอดู บอกวาเอาเหรียญเปดโลกของขาไปใหเขา พอตอนเชามาวา จะถามพี่แลวก็ลืม” และเขายังไดเลาใหฟงเพิ่มเติมวาเห็นนิมิต เชนเดียวกันนี้ตั้งแตคืนวานแลวแตไมแนใจ นึกวาคิดไปเอง จนกระทัง่ เมือ่ คืนเกิดนิมติ เหมือนเดิมอีก ภาพปรากฏชัดเจนขึน้ เสียงของหลวงพอทีส่ งั่ ก็ดงั ฟงชัด จึงคิดวาไมนา ทีจ่ ะคิดเอาเอง ผมจึงไดเลารายละเอียดสิง่ ทีไ่ ดคดิ ไดทำ ใหเพือ่ นผมฟง และขอเหรียญเป ดโลกมาใหพี่ค นดี ข องผมไดต ามที่ตั้ งใจไว เหตุการณนเี้ ปนเรือ่ งจริงทีเ่ กิดขึน้ กับตัวผมเอง และคงยืนยันถึง ความเมตตาของหลวงปทู สี่ งเคราะหผมและคนรอบขางดวย “แกคิดถึงขา ขาก็คดิ ถึงแก” คำพูดนีย้ งั กองอยใู นหูของ

210


ผม และคงกองอยใู นหูของลูกศิษยของหลวงปตู ลอดไป และสิง่ ที่แปลกสำหรับปุถุชนคนธรรมดาอยางเราก็คือ หลวงปูทาน มรณภาพไปแลว ทำไมยังมาชวยเราไดอีก เราคงเคยไดยินผู ปฏิบตั ธิ รรมไดพบพระพุทธเจา พระสงฆผปู ฏิบตั ดิ ี ปฏิบตั ชิ อบ ทัง้ หลายทีท่ า นมรณภาพไปแลวเชนกันมาสอน มาโปรดลูกศิษย ในรูปแบบตาง ๆ ...แตคนธรรมดาอยางเรา ตายกันไปแลวมาก มาย บางครัง้ อยากใหมาก็ไมเห็นมา สิง่ เหลานีเ้ กิดขึน้ ไดอยางไร เปนเพราะบุญบารมีของแต ละทานหรือเปลา ? ขอฝากใหชว ยกันคิดตอไป ลาภะปญโญ

211


๑๐๑ เห็นแลวไมหนั

ครัง้ แรกทีด่ ฉิ นั ถูกเพือ่ นชวนไปวัดตางจังหวัดแหงหนึง่ ดวยความรเู ทาไมถงึ การณเริม่ จากดิฉนั ไดถามเพือ่ นวา “วันเสาร นีว้ า งไหม” เพือ่ นผนู นั้ ตอบวา “ไมวา ง” “ไปไหน” ดิฉนั ซักดวยความสงสัย “ไปอยุธยา” เพือ่ นตอบ “ไปดวยคนซิ อยุธยานาสนใจดีออก” ดิฉนั ตอบรับ อยางกระตือรืนลนดวยความอยากเทีย่ ว “ไปวัดนะ” เพือ่ นย้ำ “วัดอะไร” “วัดสะแก” “ไปทำไม วัดสะแก” ดิฉนั สงสัยเพราะไมเคยไดยนิ ชือ่ วัดมากอน “ไปกราบหลวงพอด”ู “ไปก็ไป” ดิฉันตอบตกลงดวยความที่อยากออกไป ไหนสักแหงนอกกรุงเทพฯ

212


วันแรกที่ไปถึงวัดสะแก สังเกตจากภายนอกเปนวัด ธรรมดา เกา ๆ ไมมอี ะไรทีน่ า สนใจ เมือ่ เดินขึน้ กุฏิ ไดพบและ กราบหลวงพอ ทานกำลังสูบบุหรี่ ดิฉนั นึกในใจวา“พระสูบบุหรี่ ไมเห็นชอบเลย” ในเวลานั้นใกลเพลแลว วันนั้นเปนวันทำงานปกติ คนจึงมีไมมากนัก ดิฉนั ไดทานอาหารกลางวันแบบบุฟเฟตค รัง้ แรกคือ นั่งทานอาหารที่หลวงพอฉันเสร็จแลว โดยนั่งรวมกัน หลาย ๆ คน กับพืน้ ไมกระดานบริเวณหนากุฏทิ า น ภายหลังอาหารมือ้ นัน้ ดิฉนั หมายมัน่ ปน มือเตรียมคำ ถามทีอ่ า นมาจากหนังสือแลวเกิดความสงสัยหาคำตอบไมได จึง ขอนำมาถามหลวงพอ หลวงพอทานอยใู นอิรยิ าบถพักผอนแบบ สบาย ๆ ของทาน “หลวงพอเจาคะ กุศลกรรมชักนำกุศลกรรม อกุศล กรรมชักนำอกุศลกรรม นีห่ มายความวาอยางไรเจาคะ” หลวงพอทานมองหนาดิฉันอยูครูหนึ่ง แลวยิ้มอยาง อารมณดี “ขาไมตอบเอ็งละ เอ็งมองดูที่กระดานเอาเอง ก็แลวกัน” ดิฉนั มองหากระดานอยางงง ๆ “คนหันไมเห็น คนเห็นแลวไมหนั ” ดิฉนั อานตาม เบาๆ ในใจ “หมายความวาอยางไรเจาคะ” ดิฉนั ถามทานดวย ความโงซอื่ 213


“เอ็งวาอยางไรละ” หลวงพอถาม ดิฉนั เงียบจนเพือ่ นตองสะกิด “ไมทราบเจาคะ” หลวงพอจึงไดอธิบายใหฟง วา “ถาเอ็งหันไป เอ็งก็ไมเห็นอะไร แตถา เอ็งเห็นแลว เอ็งก็ไมตอ งหันไปหาอะไร” ตัง้ แตวนั นัน้ เปนตนมา ดิฉนั ไดมาทีว่ ดั สะแกอีกหลาย ครัง้ เพือ่ ทีจ่ ะรวู า ที่ “เห็น” นะ เขา “เห็น” อะไรกัน บอยครัง้ ใน ชวงเวลาหลายปนนั้ ดิฉนั มีเรือ่ งไมสบายใจ มีปญ  หามากมาย จึง เตรียมตัวเตรียมคำถามทีเ่ ปนปญหาไปถามหลวงพอ แตเปนที่ นาแปลกวาเมือ่ ไดมาพบกับหลวงพอแลวคำถามตางๆ ทีล่ ว นเปน ปญหาหนักอกทางโลกทีเ่ ตรียมมาถามนัน้ ไดมอี นั อันตรธานหาย ไปหมด นึกเทาไรก็นึกไมออก เปนเชนนี้อยูบอยครั้งจนดิฉัน สังเกตได มีอยคู รัง้ หนึง่ มีปญ  หาหนักอกตัง้ ใจจะไปถามหลวงพอ อีก ตั้งใจไวอยางดีวาตองไมลืม ตองถามทานใหได วันนั้น ไดไปกราบหลวงพอ โดยมีเพื่อนรวมเดินทางคนเดิมเชนเคย หลวงพอนัง่ พักผอนอิรยิ าบถภายหลังอาหารเพล เพื่อนดิฉันสะกิดแลววา “อรพินท มีอะไรจะมาถาม หลวงพอไมใชหรือ ?” 214


ดิฉันนึกถึงคำถามที่เตรียมมาถาม ในใจรูสึกวาผอน คลายแลว ปญหานัน้ ไมเห็นสำคัญตรงไหนเลย “ไมมแี ลวละ” ดิฉนั ยิม้ และตอบเพือ่ นไป เชนเดิม เบือ้ งหนาดิฉนั เปนภาพหลวงพอดนู งั่ ยิม้ อยาง มีเมตตาเปนทีส่ ดุ อรพินท

215


๑๐๒ เปรียบศีล

ดิฉนั เปนคนชางสังเกตและขีส้ งสัยวา ทำไมในบทสวด สมาทานพระกรรมฐานของหลวงพอถึงไดตอ งมีการอาราธนาศีล ซึง่ มีผแู นะนำใหทำเปนประจำทุกวัน ดวยความอดรนทนไมได เมื่อสบโอกาสที่ไดมากราบ นมัสการหลวงพอ จึงเรียนถามทาน “หลวงพอเจาคะ ทำไม เวลา สวดมนตจงึ ตองขอศีลทุกวันคะ” หลวงพออธิบายวา “ก็เหมือนเชือกละ เอ็งเคยเห็น เชือกไหม หาเสนควัน่ เปนเกลียว ถาเสนหนึง่ ขาด เราก็ผกู ใหม สองเสนขาด เราก็ผกู สองเสนใหม แลวถาเอ็งไมผกู มันจะเปนยัง ไงละ ?” หลวงพอจบคำตอบดวยคำถาม ดิฉันนั่งนึกอยางเห็นภาพ...เชือกก็คงบางลง และคง ขาดทีละเสน สองเสน... จนหมด หลวงพอมองขาพเจาแลวยิม้ อรพินท

216


๑๐๓ บทเรียนทางธรรม

บทที่ ๑ ความกตัญู และกุศโลบายในการหาบุญ ครัง้ แรกทีข่ า พเจาไดไปกราบหลวงพอดู ในป พ.ศ. ๒๕๒๖ โอวาททีท่ า นมอบใหกบั ลูกศิษยหนาใหมคนนีก้ ค็ อื “ทำบุญกับ พระทีไ่ หนๆ ก็ตอ งไมลมื พระทีบ่ า น พอแมเรานีแ้ หละ...อยา มองขามทานไป” ครัง้ นัน้ ยังจำไดวา ขาพเจาและเพือ่ นๆ ไดซอื้ ดอกบัวไป ถวายทานดวย ทานรับและนำไปบูชาพระพุทธรูป แลวก็ใหโอวาท อีกวา “พวกแกยังเปนนักเรียน นักศึกษา ยังตองแบมือขอเงิน พอแมอยู คราวหนาอยาไปเสียเงินเสียทองซือ้ ดอกไมมาถวาย ระหวางทางมาวัด หากเห็นสระบัวทีไ่ หน ก็ใหตงั้ จิตนึกนอมเอา ดอกบัวถวายเปนพุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา ก็ใชไดแลว” นอกจากนี้ วิธหี าบุญแบบงายๆ โดยไมตอ งเสียสตางค สามารถทำไดทงั้ วันคือ ตืน่ เชามา ขณะลางหนา หรือดืม่ น้ำก็ให วา “พุทธัง สรณัง คัจฉามิ, ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ, สังฆัง สรณัง คัจฉามิ” 217


กอนจะกินขาวก็ใหนึกถวายขาวพระพุทธ ออกจากบานเห็น คนอืน่ เขากระทำความดี เปนตนวา ใสบาตรพระ จูงคนแกขา ม ถนน ฯลฯ ก็ใหนกึ อนุโมทนากับเขา ผานไปเห็นดอกไม ทีใ่ ส กระจาดวางขายอยู หรือดอกบัวในสระขางทาง ก็ใหนกึ อธิษฐาน ถวายเปนเครือ่ งบูชาพระรัตนตรัย โดยวา “พุทธัสสะ ธัมมัสสะ สังฆัสสะ ปูเชมิ” แลวตองไมลืมอุทิศบุญใหแมคาขายดอกไม และรุกขเทวาทีด่ แู ลสระบัวนัน้ ดวย ตอนเย็นนั่งรถกลับบาน เห็นไฟขางทางก็ใหนึกนอม บูชาพระรัตนตรัยโดยวา “โอมอัคคีไฟฟา พุทธบูชา ธรรมบูชา สังฆบูชา” กลับมาบาน กอนนอนก็นงั่ สมาธิ เอนตัวนอนลงก็ให นึ ก คำบริ ก รรมภาวนาไตรสรณาคมน จ นหลั บ ตื่ น ขึ้ น มาก็ บริกรรมภาวนาตออีก นี่เรียกวาเปนกุศโลบายของหลวงพอดู ที่ตองการให พวกเราคอยตะลอมจิตใหอยูแตในบุญในกุศลตลอดทั้งวันเลย ทีเดียว บทที่ ๒ ระวังจะตกตนตาล ดวยความที่ขาพเจาเปนคนที่สนใจอานหนังสือธรรม อยเู สมอๆ ทำใหสญ ั ญาหรือความจดจำมันลวงหนาไปไกล กวา การปฏิบตั ชิ นิดไมเห็นฝนุ เลยทีเดียว เชาวันหนึง่ ในชวงทีข่ า พเจารจู กั และไปกราบหลวง พอ ใหมๆ ขาพเจาถามทานวา “หลวงพอครับ พระทานสอนวาบุญ 218


ก็ไมใหเอา บาปก็ไมใหเอา และอยาไปยินดียนิ รายกับสิง่ ทัง้ ปวง ทีนที้ ำอยางไรผมถึงจะหมดความยินดียนิ รายครับ” หลวงพอทานยิม้ และตอบพลางหัวเราะวา “เบือ้ ง ตนก็จะ ขึน้ ยอดตาล มีหวังตกลงมาตายเทานัน้ ” ทำให ขาพเจารสู กึ เขิน และไดคดิ วาการปฏิบตั ธิ รรมทีถ่ กู ทีค่ วรนัน้ ไมควรจะอานตำรับ ตำรามาก แตควรปฏิบตั อิ ยางคอยเปนคอยไป มงุ ประกอบเหตุที่ ดีอยางเสมอตนเสมอปลาย โดยไม เรงรัดหรือคาดคัน้ เอาผล และ ทีส่ ำคัญคือ อยาสำคัญผิดคิดวา “สัญญา” เปน “ปญญา” เพราะ หากยังเปนแคสญ ั ญาหรือความรทู เี่ ปนเพียงการจดการจำ มันยังไม ชวยใหเราเอาตัวรอดหรือพนทุกขได บทที่ ๓ อยาประมาท หลวงพอดู ทานพูดเตือนเสมอเพือ่ ใหพวกเราไม ประมาท รีบทำความดีเสียแตยงั แข็งแรงอยู เพราะเมือ่ แกเฒาลง หรือมีโรค ภัยไขเจ็บมาเบียดเบียนก็จะปฏิบตั ไิ ดยาก ทานวา “ปฏิบตั ธิ รรม เสียตัง้ แตยงั เปนเด็ก เปนหนมุ เปนสาว นีแ้ หละดี เพราะเมือ่ แก เฒาไปแลว จะนัง่ ก็โอย จะลุกก็โอย หากจะรอไวใหแกเสียกอนแลว จึงคอยปฏิบตั ิ ก็เหมือนคนทีค่ ดิ จะหัดวายน้ำเอาตอนทีแ่ พใกล จะแตก มันจะไมทนั การณ” นอกจากนัน้ ทานยังแนะใหหาโอกาส ไปโรงพยาบาล ทานวา “โรงพยาบาลนีแ้ หละ เปนโรงเรียนสอน ธรรมะ มีใหเห็นทัง้ เกิด แก เจ็บ และตาย ใหหมัน่ พิจารณาใหเห็น ความจริง ทุกขทงั้ นัน้ ... อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา” 219


บทที่ ๔ ใหหมัน่ ดูจติ คำสอนของหลวงพอทีข่ า พเจาไดยนิ แทบจะทุกครัง้ ที่ ไปนมัสการทานก็คอื “ของดีอยทู ตี่ วั เรา ของไมดกี อ็ ยทู ตี่ วั เรา ใหหมัน่ ดูจติ รักษาจิต” นับเปนโอวาททีส่ นั้ แตเอาไปปฏิบตั ไิ ดยาวจนชัว่ ชีวติ หรือยาวนานตราบจนกวาจะพนจากวัฏฏะสงสารนีไ้ ปได ซึง่ สอด คลองกับพุทธพจนทวี่ า ... “ผใู ดหมัน่ ตามดูจติ ผนู นั้ จะพนจากบวงแหงมาร” การขาดการตามดูจติ รักษาจิต เปนเหตุใหเราไม ฉลาด ในความคิดหรืออารมณ ซึง่ ถึงแมวา เราจะเคยไดยนิ ไดฟง คำสอน ของครูบาอาจารยมามาก ก็ไมอาจชวยอะไรเราไดั เพราะเพียงแคการฟงธรรมจากครูบาอาจารยภายนอก โดย ปราศจาก โยนิโสมนสิการ หมัน่ ตรึก พิจารณาสิง่ ตางๆ ให เปนธรรม หรือนัยหนึ่งคือ ขาดการฟงธรรมในใจเราเองบาง ธรรมตาง ๆทีไ่ ดยนิ ไดฟง มานัน้ ก็ยอ มไมอาจสำเร็จประโยชน เปน ความดับทุกขไดเลย บทที่ ๕ รจู กั หลวงพออยางไร เชาวันหนึง่ ในเดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๓๓ กอนหนาที่ หลวงพอจะละสังขารไมกี่วัน ในขณะที่รอใสบาตรอยูที่หนากุฏิ 220


ของทาน หลวงพอไดพดู เปนคติแกสานุศษิ ย ณ ทีน่ นั้ วา... “ตราบใดก็ตามทีแ่ กยังไมเห็นความดีในตัว ก็ไมนบั วาแกรจู กั ขา แตถา เมือ่ ใดทีเ่ ริม่ เห็นความดีในตัวเองแลว เมือ่ นัน้ ขาวาจึงวาแกรจู กั ขาดีขนึ้ แลว” คำพูดนี้ ถือเปนคำพูดเตือนสติแกผทู มี่ าปฏิบตั ใิ นสมัย ทีท่ า นยังมีชวี ติ อยวู า อยาไดสำคัญตนวาเคยไดอยใู กลชดิ หรือ เคยไดรับฟงคำสอนโดยตรงจากทาน เพราะตัววัดวารูจักทาน ดีหรือไมนนั้ ทานวาอยทู กี่ ารฝกฝนตนใหเปนคนทีด่ ขี นึ้ ไดหรือไม ถาไมได ก็เทากับวาไมรจู กั ทานจริง ในทางกลับกัน คำพูดนี้ชวยใหเกิดกำลังใจแกผูที่ไมมี โอกาสไดมาสัมผัสทานในขณะทีท่ า นยังมีชวี ติ หากแตดว ยความ ศรัทธาที่มีตอทาน กระทั่งไดนอมเอาธรรมคำสอนของทานมา ปฏิบตั ขิ ดั เกลาตนเองจนเปนคนดี และยิง่ ดีขนึ้ เทาไร หลวงพอ ทานก็รบั รองวาเปนผรู จู กั ทานดีขนึ้ เทานัน้ คำพูดของหลวงพอนัน้ ทำใหผเู ขียนนึกถึงพุทธพจนทวี่ า “ผใู ดเห็นธรรม ผนู นั้ เห็นเรา...ตถาคต” “พอ”

221


๑๐๔ พลิกชีวติ

ดิฉนั ไดมโี อกาสมาพบหลวงพอดู ทีว่ ดั สะแก ตัง้ แตป พ.ศ. ๒๕๒๙ คือกอนทีท่ า นจะละสังขารประมาณ ๔ ป โดยการแนะ นำของเพือ่ นรักคนหนึง่ และนัน่ คือจุดหักเหชีวติ ทีส่ ำคัญทีส่ ดุ ของ ดิฉนั เพราะกอนทีด่ ฉิ นั จะไดมาพบหลวงพอ ชีวติ ของดิฉนั ชางไร สาระ วันคืนหมดไปกับการดืม่ สุรา และเลนการพนัน เพียงเพือ่ จะกลบเกลือ่ นทุกขไปวัน ๆ โดยไมมสี ติปญ  ญาทีจ่ ะเตือนตัวเองได วา นัน่ ไมใชการแกปญ  หา ตรงกันขามกลับเปนการซ้ำเติมชีวติ ให เลวรายลงไปเรือ่ ย ๆ กระทัง่ ไดมาพบหลวงพอ ผทู พี่ ลิกชีวติ ของ ขาพเจาจากดานมืดมาใหไดเห็นแสงสวาง ทานทำใหดฉิ นั รวู า จะใช ชีวติ อยางไรจึงจะเกิดคุณคาแกชวี ติ ทีเ่ หลืออยู ทัง้ แกตนเอง ตอครอบ ครัว และตอคนรอบขาง หลวงพอทานมีกุศโลบายในการพลิกชีวิตของดิฉันให สามารถละเลิกอบายมุขไดทลี ะอยาง โดยเด็ดขาด และทีส่ ำคัญคือ ดวยความสมัครใจของตัวดิฉนั เอง เปนตนวา ทานสอนใหดฉิ นั พิจารณาเห็นโทษและความไมดตี า ง ๆ ของการเมาสุรา โอกาสใน การสอนของทานมาถึงเมื่อเชาวันหนึ่งที่ดิฉันเดินทางไปถวาย 222


ภัตตาหารแกทา น พอดีกบั มีชาวบานเมาสุราหลับอยใู กลๆ กับ บันไดทางขึน้ กุฏิ หลวงพอทานพูดวา “ขาวา คนเมาเหลานะ เลวกวา หมา แกวาไหม?” “เลวกวายังไงเจาคะ” ดิฉนั ถามอยางขึงขัง เพราะ รสู กึ จะเปนเรือ่ งใกลตวั เขามาทุกที ทานก็ยอ นถามมาอีกวา “ถาเรา เอาขีก้ บั เอาเหลาไปตัง้ ไว แกวาหมามันจะกินอะไร” แลวทานก็เฉลย ตอวา “มันก็เลือกกินขีน้ ะสิ มันไมเลือกกินเหลานะ ขาจึงวาคนกิน เหลานีเ่ ลวกวาหมา” เทานัน้ แหละ ดิฉนั ก็บงั เกิดความละอายใจ บอกกับตัวเองวาฉันจะไมกนิ เหลาอีก พรอมกับทองบนในใจวา “…หมามันกินขี้ มันไมกนิ เหลา คนกินเหลานีเ่ ลวกวาหมา ฉันไม ตองการจะเปนคนทีเ่ ลวกวาหมา…” ไมใชเพียงแคการดืม่ สุรายาเมาเทานัน้ ทีด่ ฉิ นั สามารถเลิก ไดเด็ดขาดในคราวเดียว หากแตดว ยอุบายการสอนของหลวงพอ ดิฉนั จึงสามารถเลิกอบายมุขอยางอืน่ ๆ ดวย รวมไปถึงการใชเครือ่ ง สำอางทีท่ า นวาเกินงามและเปนอันตรายตอสุขภาพ ทัง้ นีท้ งั้ นัน้ ทานคงทราบวาขณะนัน้ ดิฉนั ยังมากดวยทิฏฐิมานะอัตตาตัวตน ทานจึงหลีกเลีย่ งการสอนหรือวากลาวทีต่ วั ดิฉนั โดยตรง หากแตใช วิธยี กสิง่ ตาง ๆ ขึน้ เปนอุปมาอุปมัย แลวใหดฉิ นั คิดพิจารณาตาม จนเห็นทุกขเห็นโทษเห็นภัยและเปนฝายสมัครใจละเลิกสิง่ ไมดไี ม งามตาง ๆ ดวยตัวเอง ดิฉนั จึงสามารถรับการขัดเกลาทีละเล็กทีละ นอยจากทานได หลวงพอทานฉลาดและอดทนในการอบรมลูก ศิษยอยางยิง่ ทานไมเพียงแนะนำการปฏิบตั ธิ รรมแกดฉิ นั เทานัน้ หากแตยงั ไดเมตตาใหดฉิ นั เกิดปญญารคู วามเหมาะควรในการ 223


ดำรงชีวติ ในเพศฆราวาสเพือ่ ใหดำเนินไปไดทงั้ ทางโลกและทาง ธรรม อยางทีท่ า นพูดวาโลกก็ไมใหช้ำ ธรรมก็ไมใหเสีย การจากไปของหลวงพอ ยากทีข่ า พเจาจะยอมรับได แมวา ทานจะไดเมตตาพูดเปรยใหทราบมาเปนระยะ ๆ รวมทัง้ สัง่ ดิฉนั ไมใหรอ งไหเมือ่ ทานละสังขารแลวก็ตาม ในเชาวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๓๓ วันทีท่ ราบขาวมรณกรรมของหลวงพอ ดิฉนั เรงรีบเดินทาง ไปทีว่ ดั ทันที และเมือ่ ไปถึง ดิฉนั ก็ไมอาจกลัน้ ความเศราโศกเสียใจ เอาไวได จำไดวา ดิฉนั ตองอาศัยกอดตนไมขา งกุฏิ รองไหฟมู ฟาย อยพู กั ใหญ เพราะเร็วเกินกวาทีด่ ฉิ นั จะทำใจได และดิฉนั เองก็ยงั ไม มีธรรมมากพอทีจ่ ะทำใหใจคอหนักแนนตอเหตุการณการจากไป ของทานได แมวา หลวงพอดู ผทู ฉี่ ดุ ชีวติ ของดิฉนั ขึน้ จากโคลนตม ไดละ สังขารไปแลว แตดิฉันก็ตั้งสัจอธิษฐานวาจะขอยึดมั่นในไตร สรณคมน และจะไมทงิ้ การปฏิบตั ไิ ปจนตลอดชีวติ เพือ่ บูชาคุณ หลวงพอดู ทีไ่ ดเมตตาตอดิฉนั และครอบครัวอยางหาทีส่ ดุ และหา บุคคลอืน่ เสมอเหมือนมิได “นิ”

224


๑๐๕ ปกิณกบาป

หลวงพอดทู า นเปนพระทีม่ คี วามละเอียดอยางมาก โดย เฉพาะอยางยิง่ ในเรือ่ งความระมัดระวังไมใหเกิดบาป ตลอดระยะ เวลาประมาณ ๘ ป ทีพ่ บและปฏิบตั ธิ รรมกับทาน ยิง่ นานวันก็ยงิ่ ประทับใจในปฏิปทาในเรือ่ งนีข้ องทาน และบางเรือ่ งขาพเจาเห็นวา เปนเรือ่ งทีน่ า คิด เพราะกอปรดวยเหตุผล อีกทัง้ ไมเคยไดยนิ ไดฟง ใครกลาวสอนอยางตรงไปตรงมาเชนนีม้ ากอน จึงเปนแรงบันดาล ใจทีจ่ ะถายทอดไว ณ ทีน่ ี้ เผือ่ วาจะเกิดประโยชนแกผอู า นบางไม มากก็นอ ย โดยใหชอื่ หัวขอเรือ่ งวา “ปกิณกบาป” พาเด็กเขาวัด - บาป เรือ่ งนีค้ อ นขางเปนเรือ่ งทีส่ วนกับความรสู กึ ของคนทัว่ ไป แตหากเราไดพจิ ารณาความจริงไปตามเหตุผลทีห่ ลวงพอไดเมตตา ชีแ้ นะก็จะเขาใจ ทานวาเด็กเล็กทีพ่ ามาวัดนัน้ ยังควบคุมดูแลตนเอง ไมได จึงมักคิดคะนองไปตามประสาเด็ก แตเนือ่ งจากทีว่ ดั มักมี ผมู าปฏิบตั สิ มาธิภาวนาอยเู สมอๆ ดังนัน้ เสียงรบกวนของเด็กเล็ก จึงกระเทือนตอการปฏิบตั ภิ าวนา ดังนัน้ บาปจึงเกิดกับเด็กอยาง ไมรตู วั ทัง้ นีก้ ด็ ว ยพอแมผปู กครองไมเขาใจ 225


ภาพแหงความเมตตาทีท่ า นเมตตาอบรมชีแ้ นะขาพเจายัง ชัดเจนอยใู นความทรงจำ วันนัน้ ขาพเจาพาลูกซึง่ ยังเล็กไปวัดสะแก ดวย จำไดวา การไปวัดในวันนัน้ ขาพเจาไมสรู สู กึ ปลอดโปรงนัก เพราะวาตองมามัวกังวลกับลูกนอยทีเ่ ดีย๋ วก็สง เสียงรองไห เดีย๋ ว ก็ปส สาวะรด พอหลวงพอทานเห็นจังหวะเหมะ ทานก็เรียกขาพเจา ใหเขาไปใกล ๆ แลวบอกวา “นีเ่ พราะขารักแกหรอกนะ จึงบอกจึง สอนใหรู คนเขาภาวนากันอยู แกพาเด็ก ๆ มาซุกซน สงเสียง รบกวน มันบาป อันทีจ่ ริงแกเอาเด็กเล็กไวทบี่ า นก็ได เวลาทีแ่ ก ภาวนาก็ใหนกึ ถึงเขาแผเมตตาใหเขา เขาก็ไดบญ ุ เหมือนกัน” ชวนคนเขาวัด – บาป บางทีคนเราก็มองอะไรไมรอบดาน ดังนัน้ แมจะมีความ ปรารถนาดี ก็ไมเปนหลักรับประกันวาทุกอยางจะออกมาดี ดัง เชนทีข่ า พเจาไดรบั การอบรมจากหลวงพอวา “แกเทีย่ วชวนคนเขา มาวัด ระวังนะ จะกลายเปนตนบาป” ทานชีแ้ นะเพิม่ เติมวา “แกจะไปรเู หรอวาสิง่ ทีแ่ กเห็นวาดี เขาจะเห็นวาดีตามแกไปดวย ถาเขาปรามาสจนเกิดบาป แกตอง มีสว นรับบาปนัน้ ไปดวยครึง่ หนึง่ ในฐานะทีพ่ าเขามาใหเกิดบาป” อยใู กลพระอรหันตนาน ๆ – บาป เรือ่ งนีก้ เ็ ปนอีกเรือ่ งหนึง่ ทีด่ จู ะสวนทางกับความรสู กึ ของ คนทัว่ ๆ ไป เพราะทุกคนยอมจะคิดวาหากเราไดอยใู กลชดิ พระ อรหันต ก็ยอ มจะมีโอกาสสัง่ สมบุญกุศลไดอยางเต็มที่ แตการณหา 226


เปนเชนนัน้ ไม หลวงพอดทู า นสอนวา “อยาไปอยใู กลพระอรหันต นาน ประเดีย๋ วจะบาป จะบาปอยางไร ก็บาปตรงทีอ่ าศัยความ คนุ เคย เลยเอาทานเปนเพือ่ นเลนบาง ใชทา นทำโนนทำนีใ่ หบา ง แลวจะไมใหบาปไดยงั ไง” ถายรูปกับพระทีม่ คี ณ ุ ธรรม – บาป หลวงพอเคยตัง้ คำถามกับขาพเจาวา “เวลาทีแ่ กถายรูปกับ พระ โดยเฉพาะอยางยิง่ กับครูอาจารยทที่ า นมี คุณธรรมแกจะเอา รูปไปตัง้ ไวทไี่ หน หากแกเอารูปไปไวในที่ ๆ ไมบงั ควรก็จะเกิดบาป ขึน้ ได สวนวาจะเอารูปไปตัง้ บูชาในทีส่ งู ใครผานไปผานมาก็ยก มือไหว แลวตรองดูซวิ า แกมีคณ ุ ธรรมเสมอกับทานเหรอ หรือแก มีคณ ุ ธรรมอะไรทีจ่ ะใหเขายกมือไหวแก” “อยุ ”

227


๑๐๖ ความเมตตา และขันติธรรมของหลวงพอ

จะมีใครเคยทราบบางวาเบือ้ งหลังภาพ การปฏิสนั ถารพูด จาปราศรัยใหแงคดิ และกำลังใจแกผทู มี่ ากราบนมัสการหลวงพอดู นัน้ บอยครัง้ ทานตองใชขนั ติมากสักเพียงใด โดยปรกติหลวงพอ ทานรับแขกตัง้ แตเชามืด กระทัง่ จนดึกจนดืน่ ทุกๆ วัน ตอเนือ่ ง นับเปนป ๆ ซึง่ ไมวา ใครจะทุกข็รอ นวนุ วายใจมาอยางไร หลวงพอ ทานก็จะปฏิสนั ถารดวยความเมตตาเสมอ โดยจะมีใครบางไหม ทีจ่ ะสังเกตหรือสงสัยวา ทานนัง่ รับแขกบนพืน้ กระดานแข็ง ๆ อยาง นัน้ ตัง้ แตเชาจรดค่ำในแตละวัน ทานแทบจะไมไดลกุ ไปไหนเลย ทานไมปวดเมือ่ ยบางหรือ ทานไมปวดทองหนักทองเบาบางหรือ ทานเจ็บไขไมสบายบางหรือเปลา สวนวาจะรอฟงทานเอยปากออก มาก็คงเปนเรือ่ งทีย่ าก เพราะหลวงพอเปนพระทีข่ เี้ กรงใจอยางมาก แคจะใชสอยลูกศิษยใหเดินออกไปซือ้ ยาทีห่ นาวัด ก็ยงั ตองเอยปาก ถามลูกศิษยอยางเกรงอกเกรงใจ ขาพเจาเองไดมาประจักษความอดทนของทานอยางชนิดที่ ยากจะกลัน้ น้ำตาเอาไวได ก็ในตอนทีไ่ ดอปุ ฏ ฐากรับใชทา นในยาม ทีท่ า นชรามากแลว โดยมีโอกาสถวายการทายาทีแ่ ผลทีก่ น ของ 228


ทาน ภาพทีป่ รากฏแกสายตาของขาพเจานัน้ คือ รองรอยของแผล ทีแ่ ตกซ้ำๆ ซากๆ ในทีเ่ ดิม นีค่ งเปนแผลทีเ่ กิดจากการทีท่ า นตอง นัง่ บนพืน้ กระดานแข็งๆ ตอเนือ่ งเปนแรมป ขาพเจารสู กึ แปลกใจ มากทีท่ า นเปนถึงขนาดนีแ้ ลว ขาพเจาหรือลูกศิษยคนอืน่ ๆ ก็ไมเคย ไดยนิ ทานเอยบนใหไดรบั รบู า งเลย ตรงกันขามเราทุกคนยังคงเห็น ทานทำหนาทีค่ รูอาจารยทคี่ อยใหกำลังใจลูกศิษยดว ยอาการยิม้ แยมแจมใสเปนปรกติอยอู ยางนัน้ ทำใหเขาเหลานัน้ กลับบานไป ดวยความปตทิ กุ รายไป ขาพเจาเห็นแผลของทานแลวก็ไมอาจกลัน้ น้ำตาเอาไวได ไดแตซาบซึง้ ใจในเมตตาและขันติธรรมอันยิง่ ของทาน อีกทัง้ ภูมใิ จ ทีไ่ มเสียชาติเกิดทีไ่ ดมโี อกาสมาเปนลูกศิษยรบั การอบรมสัง่ สอน จากทาน เพราะทานไมเพียงพูดสอนเพียงอยางเดียว หากแตทา น ยังสอนดวยการทำใหดู ขาพเจาจึงภาคภูมใิ จทีม่ คี รูอาจารยเชน ทาน... หลวงพอดู พรหมปญโญ พระแททจี่ ะอยใู นดวงใจของ ขาพเจาตลอดไป “นายอ”ู

229


๑๐๗ หลวงพอตายแลวตองลงนรก ?

วันหนึง่ หลวงพอดทู า นมองไปทีล่ กู ศิษยใกลชดิ กลมุ หนึง่ แลวเอยขึน้ วา “ขาตายแลวตองลงนรก” พอลูกศิษยไดยนิ เชนนัน้ ก็ตกใจ เรียนถามทานในทันทีวา “หลวงพอจะตกนรกไดอยางไร ในเมือ่ หลวงพอบำเพ็ญคุณงามความดีมามากออกอยางนี”้ หลวงพอตอบกลับไปวา ““ขาก็จะลงนรก เพือ่ ไปเตะพวก แกขึน้ มานะสิ!” คำพูดเตือนของหลวงพอนัน้ ชวนใหศษิ ยทงั้ หลายตองมา นึกทบทวนตัวเองวาการทีไ่ ดมโี อกาสอยใู กลครูบาอาจารยนนั้ ก็มใิ ช เปนหลักประกันวาจะไมลงนรก ตรงกันขาม หลวงพอทานไดพดู เตือนทำนองเดียวกันนีห้ ลายครัง้ หลายหน เพราะชองทางทำบาป ของคนเรามีมากเหลือเกิน จนทานเอยวา คนเราเปนอยโู ดยบาป ทัง้ นัน้ เพียงแตผทู ตี่ งั้ อยใู นความไมประมาท ก็บาปนอยหนอย หลวงพอทานเปนแบบอยางทีห่ าไดยากในเรือ่ งการระมัด ระวังไมใหเปนหนีส้ งฆ ถึงขนาดวากอนทีท่ า นจะมรณภาพไมกวี่ นั ทานไดบอกชองลับกับโยมอุปฏ ฐากใหทราบ เพือ่ วาจะไดสามารถ

230


เปดประตูเขากุฏทิ า นในกรณีฉกุ เฉินได โดยไมตอ งไปงัดประตู อัน เปนการทำลายของสงฆ ซึง่ ในทีส่ ดุ ก็มเี หตุใหไดเปดประตูกฏุ ทิ า น ผานทางชองลับนัน้ จริงๆ ในเชาตรขู องวันอังคารที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๓๓ อันเปนวันทีท่ า นละสังขาร นอกจากนี้ ทานยังไดพดู เตือนอีกหลายๆ เรือ่ ง ซึง่ เปนสิง่ ทีพ่ วกเราอาจมองขาม เปนตนวาเอยปากใชพระหยิบโนนหยิบนี่ ไม ยกเวนแมกรณีขอใหพระทานหยิบซองใหเพือ่ จะใสปจ จัยถวาย การ หยิบฉวยของสงฆไปใชสว นตัว การพูดชักไปในทางโลกในขณะที่ ผอู นื่ กำลังสนทนาธรรม การสง เสียงรบกวนผทู กี่ ำลังปฏิบตั ภิ าวนา การขายพระกิน ซึง่ เรือ่ งหลังนี้ ทานพูดเอาไวคอ นขางรุนแรงวา ใคร ขายพระกิน จะฉิบหาย สมัยทานยังมีชวี ติ ทานจะพูดกระหนาบ บอยครัง้ โดยเฉพาะเวลารับประทานอาหาร ทานไมใหพดู คุยกัน จะทำกิจอันใดอยู ก็ใหมสี ติ พยายามบริกรรมภาวนาไวเรือ่ ยๆ เรียก วาเกลีย่ จิตไวใหไดทงั้ วัน เมือ่ ถึงคราวนัง่ ภาวนา จิตจะไดเปนสมาธิ ไดเร็ว เวลาจิตจะโลภ จะโกรธ จะหลง ก็จะไดรไู ดเทาทัน ดังทีห่ ลวงพอสอนวา การตัง้ อยใู นความไมประมาทเทานัน้ จึงจะชวยใหเราหางจากนรกได ดังนัน้ เราจึงจำเปนตองคอยสอบ ทานตัวเองอยเู สมอๆ วาเราเขาวัดเพือ่ อะไร เพือ่ ความเดนความดัง หวังลาภสักการะ หวังเปนผจู ดั การพระ ผจู ดั การวัด ฯลฯ หรือเพือ่ มงุ ละโลภ โกรธ หลง ซึง่ เปนตัวกอทุกขกอ โทษขามภพขามชาติ ไมรจู กั จบจักสิน้ ทีม่ อี ยใู นใจเรานี้

231


ปฏิปทาทีจ่ ะชวยใหเราปลอดภัย และหางไกลจากนรก คือ การเกรงกลัวและละอายใจในการทำบาปกรรม หรือสิง่ ทีจ่ ะทำจิต ใจเราใหเศราหมองขนุ มัว ทัง้ ในทีล่ บั และทีแ่ จง นอกจากนี้ ควรหลีก เลีย่ งการคลุกคลีกบั หมคู ณะโดยไมจำเปน หากแตควรมงุ เนนการ ปฏิบตั ภิ าวนาเปนหลัก เปนผพู รอมรับฟงคำตักเตือนของผอู นื่ โดย เฉพาะคำตักเตือนจากครูบาอาจารย อยางทีท่ างพระทานสอนวา ใหอดทนในคำสัง่ สอน คิดเสียวาทานกำลังดุดา กิเลสของเราอยู ทอนซุงทัง้ ทอน ถาไมไดขวานชวยสับชวยบาก ไมไดกบไส ไม ชวยทำพืน้ ไมหยาบๆ ใหเกลีย้ งเกลาขึน้ ไมไดกระดาษทรายชวย ขัดใหพนื้ ไมเรียบเนียน ไมถกู ดัดถูกประกอบ ก็คงไมกลายมาเปน เครือ่ งเรือนเครือ่ งใชทมี่ ปี ระโยชน ฉันใดก็ฉนั นัน้ จิตใจของเราที่ หยาบอยู หากไมไดรบั การขัดเกลาหรืออบรมจากครูอาจารย ไมได รับการอบรมดวยธรรมของพระพุทธเจา จิตใจนัน้ ก็ยอ มเอาเปนที่ พึงไมได ครัง้ หนึง่ ไดมโี อกาสเรียนถามหลวงพอวา “หลวงพอครับ ทีว่ า ธรรมยอมรักษาผปู ระพฤติธรรมนัน้ ธรรมทีว่ า นัน้ ทานหมาย ถึงธรรมเรือ่ งใดครับ” เมือ่ สิน้ เสียงคำถามของขาพเจา หลวงพอทานก็ตอบในทันที วา “กายสุจริต วาจาสุจริต และมโนสุจริต” ซึง่ คำสอนของทานขางตน ก็เปนการตอบใหชดั อีกครัง้ วา อานิสงสแหงการประพฤติความดีทงั้ ทางกาย ทางวาจา และทางใจ 232


นี้แหละ จะกลับมารักษาเราไมใหตกไปสูโลกที่ชั่ว จึงเปนหลัก ประกันทีช่ ว ยใหเราหางไกลจากนรก อีกทัง้ ยังชวยใหเราสามารถเขา ใกลหลวงพอดวยการเพิ่มพูนคุณธรรมความดีใหยิ่งๆ ขึ้นไป เพือ่ วาในทีส่ ดุ จะไดไมตอ งรบกวนหลวงพอใหตอ งลำบากลงนรกมา สงเคราะหศษิ ย ดังทีท่ า นปรารภดวยความหวงใย ตัง้ แตครัง้ ทีท่ า น ยังมีชวี ติ อยู “พอ”

233


๑๐๘ ปฏิบตั แิ บบโงๆ

นับเปนเวลาทีค่ อ นขางยาวนานทีเดียว กวาทีค่ ำพูดทีห่ ลวง พอดเู คยพูดสอนวาในเวลาปฏิบตั สิ มาธิภาวนา ใหปฏิบตั แิ บบโงๆ นัน้ จะคอยๆ กระจางชัดขึน้ เรือ่ ยๆ การอานมาก รมู าก บางครัง้ ก็เปนดาบสองคม เพราะใน ดานหนึง่ การรมู าก ก็ชว ยใหสามารถมองเห็นเสนทางเดิน รวมทัง้ เห็นสิง่ ทีต่ อ งระมัดระวังลวงหนา ฯลฯ แตอกี ดานหนึง่ ความรมู ากนัน้ ก็จะมาเปนตัวอุปสรรคเสีย เอง เชน เผลอคิดวาความรู (รจู ำ) นัน้ เปนปญญา (รจู ริง) เกิด เปนทิฏฐิมานะปดกัน้ การดูดซับความรจู ากภายนอก ทีส่ ำคัญใน ขณะปฏิบตั จิ ติ ภาวนานัน้ ความรมู ากนีก้ ก็ ลายเปนสิง่ รุงรังในจิตใจ ใชความคิดผิดกาลเทศะจนกลายเปนตัวสรางนิวรณบา ง คิดไปลวง หนาตามประสาคนรมู ากบาง คอยใสชอื่ เรียกใหกบั สภาวะตางๆ ที่ กำลังประสบบาง คอยสงสัยนัน่ นีบ่ า ง การรับรหู รือสัมผัสจึงไมเปนไปอยางตรงไปตรงมา แลวเจา ตัวก็ยงั สำคัญตัววากำลังคิดพิจารณาหรือมองดูสภาวะตางๆ ตาม

234


ความเปนจริง ทัง้ ๆ ทีข่ องจริง “นิง่ เปนใบ” พอจิตเขาไปปรุงแตง จนรุงรังไปหมดแลว จึงยากทีจ่ ะถอยออกมาใหเห็นไปตามสภาวะ ทีม่ นั เปนอยางธรรมชาติ หากแตเปนไปอยางทีจ่ ติ เราอยากใหมนั เปน จึงมาตระหนักวาการปฏิบตั แิ บบโงๆ นี้ สำคัญมาก และจะตอง วางความรตู า งๆ ไวขา งนอกเสีย กระทัง่ เพิกสัญญาความมัน่ หมาย วาเราวาเขา วานัน่ วานีอ่ อกเสีย แลวรสู งิ่ ทีม่ ากระทบใจอยางวาเปน สภาวะลวนๆ นีแ่ หละหนา หลวงพอดถู งึ วา “สอนคนรมู าก” นัน้ สอนยาก สสู อนเด็กๆ หรือคนรนู อ ยไมได “พอ”

235


๑๐๙ ธรรม ทำใหครบ

แตกอนเคยแตไดยินวาธรรมะทุกขอลวนพาคนไปใหถึง นิพพานได ซึง่ ฟงแลวก็นกึ คลอยตาม แตกอ็ ดจะเก็บความลังเล สงสัยในบางสวนไวไมได กระทัง่ หลวงพอดพู ดู ถึง “เมตตาพาตกเหว” ประกอบกับ คำสอนของทานเจาคุณอาจารย พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตโต) ขยายความในเรือ่ งทำนองเดียวกันนี้ จึงคอยเกิดความ กระจางและตระหนักมากขึ้นถึงการปฏิบตั ธิ รรมทีต่ อ งมีปญ  ญา กำกับในทุกๆ เรือ่ งทีเดียว ดังทีห่ ลวงพอดยู กมากลาวเตือนขางตน ซึง่ เมตตาก็เปน ธรรมขอหนึง่ ในหมวดพรหมวิหาร ๔ ซึง่ ประกอบดวย เมตตา กรุณา มุทติ า และอุเบกขา ซึง่ ชวยใหมนุษยอยรู ว มกันอยางผาสุก เพราะ ทานสอนวา การวางทาทีตอ คนปกติทวั่ ๆ ไป คือ วางจิตไวดว ย เมตตา สวนกับคนทีแ่ ยกวาเรา ก็ตอ งกรุณา ชวยเหลือสงเคราะห อะไรไดก็พรอมจะชวยเหลือเกื้อกูลกัน สวนกับคนที่ดีกวาหรือ ประสบความสำเร็จในทางทีช่ อบทีค่ วร เราก็พลอยยินดีกบั เขาไป ดวย จิตใจก็แชมชืน่ เบิกบาน ไมคบั แคบ 236


แตกม็ บี างกรณีทคี่ วรวางอุเบกขา กลาวคืออยาเพิง่ แสดง ความเมตตา กรุณา หรือมุทิตา ออกไป โดยไมไดใชปญญา ไตรตรองใหรอบคอบ ตัวอยางเชน การนำเงินไปชวยเหลือผอู นื่ ดวยเมตตาและ ดวยกรุณา โดยขาดการประมาณฐานะกำลังหรือความพอดี ซึง่ นอก จากจะชวยเหลือผอู นื่ ไมสำเร็จแลวก็ยงั พาครอบครัวตัวเองเดือดรอน ไปดวย นีเ้ รียกวาเมตตาและกรุณาแตขาดอุเบกขา อีกตัวอยางหนึง่ คือการนึกยินดีหรือมุทติ ากับความสำเร็จ ของผอู นื่ อันเกิดจากความไมถกู ตอง เชน จากการเอารัดเอาเปรียบ หรือทุศลี อยางนีก้ ไ็ มนกึ ยินดีไปกับเขาดวย นีถ่ า ผทู เี่ ปนผหู ลักผใู หญเอาแตปฏิบตั ธิ รรมะขอเมตตาและ กรุณา สังคมและบานเมืองคงเต็มไปดวยระบบอุปถัมภ เพราะไม ยอมอุเบกขา เอาแตชวยเหลือเพื่อนฝูงคนรูจัก โดยไมปลอย ใหดำเนินไปตามกฎระเบียบทีว่ างไวบา งเลย ผไู มรอบคอบเนนปฏิบตั ติ อ ขอใดขอหนึง่ แลวละเลยธรรม เครือ่ งประกอบขออืน่ ๆ ก็อาจทำใหปฏิบตั ธิ รรมแลวลมเหลวได นัน่ ไมใชวา ธรรมะอันเปนเครือ่ งมือไมดี หากแตเปนความบกพรองของ ผใู ชเครือ่ งมือตางหาก ยังมีตวั อยางของผทู ที่ ำความดีโดยไมสนใจสภาพแวดลอม รอบขาง เชน สวดมนตเสียงดังรบกวนคนอืน่ กางกลดใจกลางเมือง เปนเหตุใหผไู มศรัทธาวิพากษวจิ ารณ หรือหลับตาทำสมาธิโดยไม 237


พิจารณาเรือ่ งกาลเรือ่ งสถานที่ เหลานีแ้ มทำดวยความมีสติ แต ก็กลาวไดวา ขาดสัมปชัญญะ (อีกชือ่ หนึง่ ของปญญา) ดังนัน้ สติ และสัมปชัญญะ จึงตองไปคกู นั แมในการปฏิบัติสมาธิภาวนาก็เชนกัน สัมมาสมาธิใน มรรคมีองคแปด หรือทีย่ น ยอมาเปน ศีล สมาธิ และปญญานัน้ ใน คราวทีน่ ำมาปฏิบตั จิ ริง ๆ ทานก็ใหปฏิบตั ธิ รรมขออืน่ ๆ เพือ่ ให เกิดความครบถวนเพียงพอ ไมผดิ พลาด กลาวคือ จากสัมมาสมาธิ ซึง่ ไดแกความเพียรชอบ (สัมมาวายามะ) ความระลึกชอบ (สัมมา สติ) และความตัง้ ใจมัน่ ชอบ (สัมมาสมาธิ) นัน้ ทานก็ใหเพิม่ ใน เรือ่ งศรัทธาและปญญาเขาไปดวย จากสัมมาสมาธิ จึงขยายออก มาในภาคปฏิบตั เิ ปนพละ ๕ ไดแก ศรัทธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ และ ปญญา ซึง่ สติจะเปนองคธรรมทีส่ ำคัญทีค่ อยตรวจดูใหศรัทธากับ ปญญาสมดุลกัน รวมทัง้ ตรวจตราใหวริ ยิ ะและสมาธิมคี วามสมดุล เชนเดียวกัน ผทู เี่ อาแตใชปญ  ญาครนุ คิด หากขาดศรัทธา ก็ไปไมรอด เพราะหนทางดูจะแหงแลง และชวนใหออ นลา ตรงกันขาม ผทู เี่ อา แตศรัทธานำ โดยขาดการพิจารณาไตรตรองทางปญญาก็อาจ ตกไปสคู วามงมงาย หรือไปผิดทิศผิดทางโดยไมรตู วั สวนผทู มี่ คี วามเพียรในการปฏิบตั ิ หรือเพียรในการหยิบยก ธรรมขึน้ พิจารณาโดยขาดปติ ขาดความสงบ หรือก็คอื ขาดสมาธิ จะพิจารณาอะไรก็ไมชดั เจน อีกทัง้ ออนลา เหมือนผไู มไดอาหาร 238


ไมไดพกั ผอนทีเ่ พียงพอ แตถา สมาธิมากเกิน โดยไมมวี ริ ยิ ะมาชวย ใหเกิดการทำงานและการเฝาระวังของจิต ก็มแี นวโนมจะเปนจิตที่ ดำดิง่ หรือตกภวังคไมรเู นือ้ รตู วั ไดเชนเดียวกัน ดังนัน้ กลาวโดยสรุปก็คอื หลวงพอทานสอนใหปฏิธรรม อยางมีปญ  ญา โดยนำเครือ่ งมือทีพ่ ระพุทธเจาประทานมาใหนนั้ อยางครบถวน ครบหมวดครบหมู จึงจะสามารถไดรบั ผลสำเร็จ จากการปฏิบตั ธิ รรมตามทีท่ า นมงุ หวัง “พอ.”

239


๑๑๐ พุทธคุณกับการเช็คพระ !

คงไมมใี ครปฏิเสธวา พระพุทธชินราชทีจ่ งั หวัดพิษณุโลก นัน้ มีความงามยิง่ เปนองคพระทีไ่ ดรบั การยกยองวาเปนพระพุทธ รูปทีม่ คี วามงดงามทีส่ ดุ ในประเทศไทย ขาพเจาเองก็รสู กึ เชนนัน้ ครัง้ หนึง่ ในชวงเทศกาลปใหม ขาพเจาไดหาซือ้ ส.ค.ส. อยู ในราน และไดแลเห็นโปสการดภาพพระพุทธชินราชจึงไดหยิบมา ดู ขณะทีเ่ พงมองภาพอยนู นั้ ขาพเจารสู กึ เหมือนมีพลังงานบางอยาง วิง่ ออกจากภาพเขาสตู วั ขาพเจาจนเกิดปตขิ นลุก น้ำตาไหล เปน ความรสู กึ ทีช่ ดั เจนทัง้ สองมือทีจ่ บั ภาพอยู เหตุการณเชนนีไ้ มเคย เกิดขึน้ มากอนเลยในชีวติ ทำใหขา พเจาเกิดความสงสัยและสนใจ ใครรขู นึ้ มาทันที ขาพเจาพยายามทบทวนเหตุการณทเี่ กิดขึน้ พบวา เหมือนกับเมื่อครั้งที่หลวงพอเคยมอบพระบูชาใหขาพเจา เปน เหตุการณขณะทีท่ า นยืน่ สองมือจับทีอ่ งคพระพุทธรูปและสวดมนต ใหพร ขาพเจาเองก็หลับตาและยืน่ สองมือแตะทีอ่ งคพระเชนกัน ใน ระหวางนัน้ รสู กึ วามีพลังงานบางอยางวิง่ ออกจากทานผานองคพระ พุทธรูปเขาสตู วั ขาพเจาและรสู กึ สวางไสวไปหมดทัง้ ๆ ทีย่ งั หลับ ตาอยู 240


เมือ่ ทานใหพรเสร็จ ทานมองขาพเจาแลววา แกเปนดี ขาพเจาเรียนถามทานวาหลวงพอทราบไดอยางไร ทานตอบวา มีปต อิ อกจากขา ไหลไปทีแ่ กแลวกลับมา หาขา หลวงพอไดสอนขาพเจาใหหดั จับพระ ซึง่ ในหมศู ษิ ยเรียก กันเองวา เช็คพระ วิธกี ารคือใชมอื ขวาหรือทัง้ สองมือแตะทีภ่ าพพระ หรือกำหากเปนพระเครือ่ ง หรือจับทีอ่ งคพระหากเปนพระพุทธรูป จากนั้นทำจิตใหนิ่ง และจะรูสึกสัมผัสไดถึงพุทธคุณที่ ครูบาอาจารยทา นไดอธิษฐานไว หลวงพอเคยเลาเรื่องการปลุกเสกพระใหฟงวา เรื่อง คงกระพันชาตรีนนั้ ทำงาย แคขนลุกก็เหนียวแลว แคลวคลาดยัง ดีกวาเพราะไมเจ็บตัว แตทดี่ ที สี่ ดุ คือเมตตาเพราะแคลวคลาดยังมี ศัตรู แตรอดพนได สวนเมตตานัน้ มีแตคนรักไมมศี ตั รู การเสกพระ ใหมพี ทุ ธคุณทางเมตตาจึงทำไดยากทีส่ ดุ มีเรือ่ งปรากฏในพระธรรมบทวา ในกรุงราชคฤห เด็ก คนหนึง่ ไปเก็บฟนกับบิดา โคทีเ่ ทียมเกวียนไดหนีเขาไปในเมือง บิดาจึงตามโคเขาไป แตเวลาจะออกจากเมืองนัน้ ประตูปด เสียแลว จึงตองทิง้ บุตรนอยคนเดียวไวนอกเมืองนัน้ เอง ถึงเวลากลางคืน ขณะทีเ่ ด็กนอนหลับ ไดมพี วกอมนุษยเขามาทำรายโดยพากันลาก เทาของเด็กนัน้ ไปมา เมือ่ เด็กตกใจตืน่ ขึน้ ก็ระลึกถึงพระพุทธเจา

241


แลวรองออกมาวา นะโมพุทธัสสะ (ขาขอนมัสการพระพุทธเจา) พวกอมนุษยกถ็ อยกลับทันที ไมกลาทำรายเด็กนัน้ อีก ความทราบ ถึงพระเจากรุงราชคฤหจงึ เสด็จไปเฝาทูลเรือ่ งราวนีต้ อ พระพุทธเจา พระพุทธองคทรงรับสัง่ วา การระลึกถึงพระองคนนั้ ยังไม พอ ตองระลึกถึงพระธรรม พระสงฆ ตัง้ สติมนั่ ไมเบียดเบียนใคร และมีจติ เมตตาดวย พระพุทธพจนขอ นีเ้ องทีถ่ อื เปนหลักตอมาวา สิง่ ทีป่ อ งกันอันตรายทีด่ ที สี่ ดุ นัน้ คือ เมตตา นัน่ เอง ขาพเจารสู กึ วาการสอนของหลวงพอโดยการใหเช็คพระ เชนนีเ้ ปนอุบายวิธกี ารฝกใหศษิ ยไดเกิด พุทธานุสติ เพราะทุกครัง้ ทีจ่ บั องคพระ จิตจะมีอารมณนอ มไปสคู วามเลือ่ มใสศรัทธาในองค พระพุทธเจาเสมอ ทำใหเราระลึกและทำแตสงิ่ ทีด่ ี มีลกู ศิษยของหลวงพอทีจ่ บั องคพระและสามารถสัมผัสถึง พุทธคุณ ไดเลาวาพระบูชาทีผ่ า นการปลุกเสกมาแลวนัน้ หากเดน ในเรือ่ งคงกระพันชาตรี เมือ่ จับดูกจ็ ะมีอาการปตขิ นลุกขนพองสยอง เกลา แตหากเดนทางเมตตา เมื่อจับดูก็จะมีปติน้ำตาไหลและ บังเกิดความสงบเยือกเย็นถึงจิตถึงใจ ทำไมหลวงพอจึงสอนเรือ่ งเช็คพระ ขาพเจามาใครครวญ ดูแลวพบวานอกจากเพือ่ ใหเกิดพุทธานุสติแลว หลวงพอตองการให ศิษยแตละคนสามารถเปนประจักษพยานแกตนเองได ใหเปน ปจจัตตัง ไดรเู องเห็นเอง เปนพยานใหตนเองได จะไดเกิดความ มัน่ ใจในการปฏิบตั ธิ รรมยิง่ ขึน้ นัน่ เอง มิใชใหไปอวดเดนอวดดี หรือ 242


อวดคุณวิเศษในตัว หรือเทีย่ วไปเช็คพระใหผอู นื่ ซึง่ จริงๆ แลว หาก ผอู นื่ ยังทำไมเปน ถึงเขาจะบอกวาเชือ่ อยางไร โดยสวนลึกเขาก็ยงั มีความลังเลสงสัยอยนู นั่ เอง เพราะไมรไู มเห็นดวยตนเอง ปจจุบนั มีผอู า งตนเปนศิษยหลวงพอดแู ละแสดงความ สามารถในการเช็คพระ ไมวา จะเปนพระเครือ่ ง พระบูชา หรือแม กระทัง่ พระสงฆองคเจา วาทานเหลานัน้ มีคณ ุ ธรรมในระดับนัน้ ระดับนี้ โดยหวังอามิสและลาภผล ไมวา จะโดยทางตรงหรือทางออม ซึง่ การหลงเชือ่ ดังกลาวอาจนำทานไปสคู วามเสียหาย ตัง้ แตการ เสียทรัพยหรือหลงออกนอกลนู อกทางทีพ่ ระพุทธเจา รวมทัง้ ที่ หลวงพอดพู าดำเนิน กระทัง่ การทำบาปกรรมจากการไปปรามาส ครูอาจารยทที่ า นมีคณ ุ ธรรมโดยไมเจตนา เพราะสิง่ ทีห่ ลวงพอดู พร่ำสอนนัน้ จะตองเปนไปเพือ่ การลดละความโลภ ความโกรธ ความหลง ทิฎฐิมานะ ความถือตัวถือตน จึงเปนขอพึงพิจารณา ระมัดระวังไมใหผดิ ทาง

243


ภาคผนวก

244


คาถาบูชาพระ นะโม พุทธายะ พระพุทธไตรรัตนญาณ มณีนพรัตน สีสะหัสสะ สุธรรมมา พุทโธ ธัมโม สังโฆ ยะธาพุทโมนะ พุทธะบูชา ธัมมะบูชา สังฆะบูชา อัคคีธานัง วะรังคันธัง สีวลี จะ มหาเถรัง อะหังวันทามิ ทูระโต อะหังวันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส พุทธะ ธัมมะ สังฆะ ปูเชมิ

245


คำสมาทานพระกรรมฐาน บทบูชาพระ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) พุทธัง ชีวติ งั เม ปูเชมิ ธัมมัง ชีวติ งั เม ปูเชมิ สังฆัง ชีวติ งั เม ปูเชมิ กราบพระ ๖ ครัง้ พุทธัง วันทามิ ธัมมัง วันทามิ สังฆัง วันทามิ อุปช ฌายอาจาริยคุณงั วันทามิ ( ชาย ) คุณครูบาอาจารย วันทามิ ( หญิง ) มาตาปตคุ ณ ุ งั วันทามิ พระไตรสิกขาคุณงั วันทามิ สมาทานศีล ๕ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) 246


พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ สังฆัง สรณัง คัจฉามิ • ทุตย ิ มั ป พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ทุตยิ มั ป ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ทุตยิ มั ป สังฆัง สรณัง คัจฉามิ • ตะติยม ั ป พุทธัง สรณัง คัจฉามิ ตะติยมั ป ธัมมัง สรณัง คัจฉามิ ตะติยมั ป สังฆัง สรณัง คัจฉามิ •

ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขา ปะทัง สะมาทิยามิ อทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ กาเมสุมจิ ฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ สุราเมรยะ มัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ อิมานิ ปญจะสิกขา ปะทานิ สะมาทิยามิ ( ๓ ครัง้ ) สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา สีเลนะ นิพพุตติง ยันติ ตัสมา สีลงั วิโส ธะเย คำอาราธนาพระ พุทธัง อาราธะนัง กะโรมิ ธัมมัง อาราธะนัง กะโรมิ 247


สังฆัง อาราธะนัง กะโรมิ นอมระลึกถึงหลวงปทู วด แลววา นะโม โพธิสตั โต อาคันติมายะ อิตภิ ะคะวา ( ๓ ครัง้ ) นอมระลึกถึงหลวงพอดู โดยวาคาถาดังนี้ นะโม พรหมปญโญ ( ๓ ครัง้ ) คำอนุโมทนาบุญทีผ่ อู นื่ กระทำไวดแี ลว สัทธา ทานัง อนุโมทามิ ( ๓ ครัง้ ) คำขอขมาพระรัตนตรัย โยโทโส โมหะจิตเต นะพุทธัสมิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปง วินสั สันตุ โยโทโส โมหะจิตเต นะธัมมัสมิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปง วินสั สันตุ โยโทโส โมหะจิตเต นะสังฆัสมิง ปาปะกะโต มะยา ขะมะถะเม กะตัง โทสัง สัพพะปาปง วินสั สันตุ คำอธิษฐานแผเมตตา ใหตงั้ ใจเจริญพรหมวิหาร ๔ แลวกลาวคำอธิษฐานวา “พุทธัง อนันตัง ธัมมัง จักรวาลัง สังฆัง นิพพานะ ปจจะโยโหตุ ” 248


คำอธิษฐานพระเขาตัว สัพเพพุทธา สัพเพธัมมา สัพเพสังฆา พะลัปปตตา ปจเจกานัญ จะ ยังพะลัง อะระหันตานัญ จะ เตเชนะรักขัง พันธามิ สัพพะโส พุทธัง อธิษฐามิ ธัมมัง อธิษฐามิ สังฆัง อธิษฐามิ

249


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.