หลวงปู่ดู่ 2

Page 1

www.luangpudu.com


ตามรอยธรรมย้ำรอยครู

หลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ ประวัติ​และคติธรรมคำสอนของหลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ สงวนลิขสิทธิ์ พิมพ์แจกเป็นธรรมทาน ห้ามคัดลอก ตัดตอน หรือนำไปพิมพ์จำหน่าย ฉบับปรับปรุง

พิมพ์ครั้งที่ ๑ : ๑๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ จำนวน ๕,๐๐๐ เล่ม

เอื้อเฟื้อภาพ : มานพ เลิศอิทธิพร กนก สุริยสัตย์ จัดทำโดย :

กลุ่มเพื่อนธรรมเพื่อนทำ พรสิทธิ ์ อุดมศิลป์จินดา วิชชุ เสริมสวัสดิ์ศรี เมธา พรพิพัฒน์ไพศาล นิศา สุวรรณสุขโรจน์ ปฏิภัทร ปัจฉิมสวัสดิ์

ศิลปกรรม :

ARTISTIC GROUP โทร. ๐๘๑-๙๒๒-๑๓๕๑ โทรสาร ๐๒-๘๘๔-๓๕๓๖

ดำเนินการพิมพ์ บริษัท คิว พริ้นท์ แมเนจเม้นท์ จำกัด โทร. ๐๒-๘๐๐-๒๒๙๒, ๐๘๔-๙๑๓-๘๖๐๐ โทรสาร ๐๒-๘๐๐-๓๖๔๙ www.luangpudu.com


สารบัญ ประวัติ​หลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ คติธรรมคำสอนของหลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ ๑. สมมุติและวิมุติ ๒. อุปมาศีล สมาธิ ปัญญา ๓. หนึ่งในสี่ ๔. อานิสงส์การภาวนา ๕. แสงสว่างเป็นกิเลส ๖. ปลูกต้นธรรม ๗. วัดผลการปฏิบัติด้วยสิ่งใด ? ๘. เทวทูต ๔ ๙. อารมณ์อัพยากฤต ๑๐. ตรี โท เอก ๑๑. ต้องสำเร็จ ๑๒. จะเอาโลกหรือเอาธรรม ๑๓. แนะวิธีปฏิบัติ ๑๔. การบวชจิต-บวชใน ๑๕. ควรทำหรือไม่ ? ๑๖. การอุทิศส่วนกุศลภายนอกภายใน ๑๗. สติธรรม ๑๘. ธรรมะจากซองยา ๑๙. ธรรมะจากโรงพยาบาล ๒๐. ของจริง ของปลอม

www.luangpudu.com

๑ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙


๒๑. คำสารภาพของศิษย์ ๒๒. ทรรศนะต่างกัน ๒๓. อุเบกขาธรรม ๒๔. ให้รู้จักบุญ ๒๕. อุบายวิธีทำความเพียร ๒๖. พระเก่าของหลวงปู่ ๒๗. ข้อควรคิด ๒๘. ไม่พยากรณ์ ๒๙. จะตามมาเอง ๓๐. แนะวิธีวางอารมณ์ ๓๑. อย่าพูดมาก ๓๒. เชื่อจริงหรือไม่ ? ๓๓. คิดว่าไม่มีดี ๓๔. พระที่คล้องใจ ๓๕. จะเอาดีหรือเอารวย ๓๖. หลักพระพุทธศาสนา ๓๗. “พ” พาน ของหลวงปู่ ๓๘. การสอนของท่าน ๓๙. หัดมองชั้นลึก ๔๐. เวลาเป็นของมีค่า ๔๑. ต้องทำจริง ๔๒. ของจริงนั้นมีอยู่ ๔๓. ล้มให้รีบลุก ๔๔. สนทนาธรรม

www.luangpudu.com

๕๐ ๕๒ ๕๓ ๕๕ ๕๖ ๕๗ ๕๘ ๕๙ ๖๐ ๖๑ ๖๒ ๖๓ ๖๔ ๖๕ ๖๖ ๖๘ ๖๙ ๗๐ ๗๑ ๗๒ ๗๓ ๗๔ ๗๕ ๗๗


๔๕. ผู้บอกทาง ๔๖. อย่าทำเล่น ๔๗. อะไรมีค่าที่สุด ๔๘. นายระนาดเอก ๔๙. เสกข้าว ๕๐. สำเร็จที่ไหน ๕๑. เรารักษาศีล ศีลรักษาเรา ๕๒. คนดีของหลวงปู่ ๕๓. สั้นๆ ก็มี ๕๔. แบบปฎิบัติธรรมหลวงปู่ดู่เป็นเช่นใด ? ๕๕. บทเรียนบทแรก ๕๖. หนึ่งในสี่ (อีกครั้ง) ๕๗. วิธีคลายกลุ้ม ๕๘. อะไรได้ อะไรเสีย ๕๙. ความสำเร็จ ๖๐. อารมณ์ขันของหลวงปู่ ๖๑. ของหายาก ๖๒. คนหายาก ๖๓. ด้วยรักจากศิษย์ ๖๔. ด้วยรักจากหลวงปู่ ๖๕. จิ้งจกทัก ๖๖. หลวงปู่กับศิษย์ใหม่ ๖๗. คาถาของหลวงปู่ ๖๘. อย่าให้ใจเหมือน...

www.luangpudu.com

๗๘ ๗๙ ๘๐ ๘๒ ๘๓ ๘๔ ๘๕ ๘๖ ๘๗ ๘๘ ๙๐ ๙๓ ๙๕ ๙๘ ๑๐๐ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๕ ๑๐๗ ๑๐๙ ๑๑๑ ๑๑๓ ๑๑๖ ๑๑๙


๖๙. วัตถุสมบัติ ธรรมสมบัต ๗๐. ทำไมหลวงปู่ ๗๑. “งาน” ของหลวงปู่ ๗๒. ขอเพียงความรู้สึก ๗๓. ปาฏิหาริย์ ๗๔. เรื่องบังเอิญที่ไม่บังเอิญ ๗๕. คลื่นกระทบฝั่ง ๗๖. หลวงปู่บอกข้อสอบ ๗๗. ตัวประมาท ๗๘. ของโกหก ๗๙. ถึงวัดหรือยัง ๘๐. รางวัลทุนภูมิพล ๘๑. หลวงปู่ทวดช่วยชีวิต ๘๒. ทามาก็อตจิ ๘๓. ไตรสรณาคมน์ ๘๔. ไม่พอดีกัน ๘๕. ธรรมะจากสัตว์ ๘๖. สังคมวิปริต ๘๗. เชื้อดื้อยา ๘๘. คุณธรรม ๖ ประการ ๘๙. ลิงติดตัง ๙๐. ปรารภเรื่อง “การเกิด” ๙๑. เมด อิน วัดสะแก ๙๒. หลวงปู่ดู่ หลวงปู่ทวด

www.luangpudu.com

๑๒๑ ๑๒๓ ๑๒๖ ๑๒๘ ๑๓๐ ๑๓๓ ๑๓๕ ๑๓๙ ๑๔๒ ๑๔๔ ๑๔๕ ๑๔๗ ๑๔๙ ๑๕๒ ๑๕๕ ๑๕๘ ๑๖๐ ๑๖๒ ๑๖๔ ๑๖๖ ๑๖๘ ๑๖๙ ๑๗๑ ๑๗๓


๙๓. กรรมฐานพาลจิตเพี้ยน ๙๔. จะไปทางไหน ๙๕. ตีเหล็กร้อนๆ ๙๖. ครูพักลักจำ ๙๗. ที่สุดแห่งทุกขเวทนา ๙๘. พุทธนิมิต ๙๙. หลวงปู่บอกหวย ๑๐๐. อยากได้วัตถุมงคลของหลวงปู่ ๑๐๑. เห็นแล้วไม่หัน ๑๐๒. เปรียบศีล ๑๐๓. บทเรียนทางธรรม ๑๐๔. พลิกชีวิต ๑๐๕. บาป ๑๐๖. ความเมตตาและขันติธรรมของหลวงปู่ ๑๐๗. หลวงปู่ตายแล้วต้องลงนรก ? ๑๐๘. ที่มา​ของ​วัตถุ​มงคล​รุ่น​​“​เปิด​โลก​” ๑๐๙. ปฏิบัติแบบโง่ๆ ๑๑๐. พุทธคุณกับการเช็คพระ ! ๑๑๑. ธรรม ทำให้ครบ ๑๑๒. ช้าง​มา​ไหว้​หลวง​ปู่

ภาคผนวก • คาถาบูชาพระ • คำสมาทานพระกรรมฐาน

www.luangpudu.com

๑๗๕ ๑๗๙ ๑๘๑ ๑๘๓ ๑๘๕ ๑๘๙ ๑๙๒ ๑๙๖ ๒๐๐ ๒๐๓ ๒๐๔ ๒๐๙ ๒๑๒ ๒๑๕ ๒๑๗ ๒๒๑ ๒๓๑ ๒๓๓ ๒๓๗ ๒๔๐ ๒๔๔ ๒๔๕


www.luangpudu.com


1

๑​

ประวัติ​หลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ​ ​ชาติ​ภูมิ​

​ พระคุณ​เจ้า​หลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ​​มี​ชาติ​กำเนิด​ใน​สกุล​​“หนู​ศรี”​ เดิม​ชอ่ื ​​ด​ู่ เกิด​เมือ่ ​วนั ​ท​่ี ​๒๙ เมษายน​​พ​.​ศ​.​๒๔๔๗​​ตรง​กบั ​วนั ​ศกุ ร์​ขน้ึ ​​๑๕​​คำ่ ​ เดือน​ ​๖​ ​ปี​มะโรง​ ​ซึ่ง​ตรง​กับ​วัน​วิสาข​บูชา​ ​ณ​ ​บ้าน​ข้าวเม่า​ ​ตำบล​ข้าวเม่า​ อำเภอ​อุทัย​​จังหวัด​พระนครศรีอยุธยา​ ​ โยม​บดิ า​ชอื่ ​พ​ ดุ ​โ​ยม​มารดา​ชอื่ ​พ​ มุ่ ​ ท​ า่ น​มพ​ี น​ี่ อ้ ง​รว่ ม​มารดา​เดียวกัน​ ๓​​คน​​ท่าน​เป็น​บุตร​คน​สุดท้าย​​มี​โยม​พี่​สาว​​๒​​คน​​มีชื่อ​ตาม​ลำดับ​ดังนี้​ ​ ๑​.​​พี่​สาว​ชื่อ​​ทองคำ​​สุ​นิมิตร​ ​ ๒​.​​พี่​สาว​ชื่อ​​สุ่ม​​พึ่ง​กุศล​ ​ ๓​.​​ตัว​ท่าน​

​ปฐมวัย​และ​การ​ศึกษา​เบื้อง​ต้น​

​ ชีวติ ใ​น​วยั เ​ด็กข​ อง​ทา่ น​ดจ​ู ะ​ขาด​ความ​อบอุน่ อ​ ยูม​่ าก​ด​ ว้ ย​ก​ ำพร้าบ​ ดิ า​ มารดา​ตงั้ แ​ ต่เ​ยาว์ว​ ยั ​น​ าย​ยวง​พ​ งึ่ ก​ ศุ ล​ซ​ งึ่ ม​ ศ​ี กั ดิเ​์ ป็นห​ ลาน​ของ​ทา่ น​ไ​ด้เ​ล่า​ ให้​ฟัง​ว่า​ ​บิดา​มารดา​ของ​ท่าน​มี​อาชีพ​ทำ​นา ​โดย​นอก​ฤดู​ทำ​นา​จะ​มี​อาชีพ​ ทำ​ขนม​ไข่ม​ งคล​ขาย​เ​มือ่ ต​ อน​ทท​ี่ า่ น​ยงั เ​ป็นเ​ด็กท​ ารก​ม​ เ​ี หตุการณ์ส​ ำคัญท​ ​ี่ ควร​บันทึก​ไว้​​คือ​ใน​คืน​วัน​หนึ่ง​ซึ่ง​เป็น​หน้า​น้ำ​​ขณะ​ที่​บิดา​มารดา​ของ​ท่าน​ กำลังท​ อด​“​ ข​ นม​มงคล​”อ​ ยูน​่ นั้ ​ท​ า่ น​ซงึ่ ถ​ กู ว​ าง​อยูบ​่ น​เบาะ​นอกชาน​คน​เดียว​​ ไม่​ทราบ​ด้วย​เหตุ​ใด​ตัว​ท่าน​ได้​กลิ้ง​ตกลง​ไป​ใน​น้ำ​ทั้งคน​ทั้ง​เบาะ​ ​แต่​เป็น​ที่​ www.luangpudu.com


2

อัศจรรย์​ยิ่ง​ที่​ตัว​ท่าน​ไม่​จม​น้ำ​​กลับ​ลอย​น้ำ​จน​ไป​ติด​อยู่​ข้าง​รั้ว ​กระทั่ง​สุนัข​ เลีย้ ง​ทบ​ี่ า้ น​ทา่ น​มา​เห็นเ​ข้าจ​ งึ ไ​ด้เ​ห่าพ​ ร้อม​กบั ว​ งิ่ ก​ ลับไ​ป​กลับม​ าระ​หว่าง​ตวั ​ ท่าน​กบั ม​ ารดา​ทา่ น​เ​มือ่ ม​ ารดา​ทา่ น​เดินต​ าม​สนุ ขั เ​ลีย้ ง​ออก​มา​จงึ ไ​ด้พ​ บ​ทา่ น​ ลอย​นำ้ ต​ ดิ อ​ ยูท​่ ข​ี่ า้ ง​รวั้ ​ซ​ งึ่ เ​หตุการณ์ค​ รัง้ น​ นั้ ท​ ำให้ม​ ารดา​ทา่ น​เชือ่ ม​ นั่ ว​ า่ ท​ า่ น​ จะ​ต้อง​เป็น​ผู้​มี​บุญ​วาสนา​มาก​มา​เกิด​ ​มารดา​ของ​ทา่ น​ได้​ถงึ แก่​กรรม​ตง้ั ​แต่​ทา่ น​ยงั ​เป็น​ทารก​อยู​่ ต่อ​มา​บดิ า​ ของ​ทา่ น​กจ​็ าก​ไป​อกี ข​ ณะ​ทา่ น​มอี ายุไ​ด้เ​พียง​๔​ ​ข​ วบ​เ​ท่านัน้ ​ท​ า่ น​จงึ ต​ อ้ ง​กำพร้า​ บิดา​มารดา​ตง้ั แ​ ต่ย​ งั เ​ป็นเ​ด็กเ​ล็กจ​ ำ​ความ​ไม่ไ​ด้​ท​ า่ น​ได้อ​ าศัยอ​ ยูก​่ บั ย​ าย​โดย​ม ​ี โยม​พส​ี่ าว​ทช​ี่ อื่ ส​ มุ่ เ​ป็นผ​ ด​ู้ แู ล​เอาใจ​ใส่​และ​ทา่ น​กไ็ ด้ม​ โ​ี อกาส​ศกึ ษา​เล่าเ​รียน ​ ที่​วัดกลาง​คลอง​สระ​บัว​​วัด​ประดู่​ทรงธรรม​​และ​วัด​นิเวศน์​ธรรม​ประวัติ​

สู่​เพศ​พรหม​จรรย์​

​ เมื่อ​ท่าน​อายุ​ได้​​๒๑​​ปี​​ก็ได้​เข้า​พิธี​บรรพชา​อุปสมบท​เมื่อ​วัน​ที่​​๑๐​​ พฤษภาคม​พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๔๖๘​ต​ รง​กบั ว​ นั อ​ าทิตย์แ​ รม​๔​ค​ ำ่ ​เ​ดือน​๖​ ​ณ ​ ​ว​ ดั สะแก​​ ตำบล​ธนู​อ​ ำเภอ​อทุ ยั ​จ​ งั หวัดพ​ ระ​น​ คร​ศรีอยุธยา​โ​ดย​มห​ี ลวง​พอ่ ก​ ลัน่ ​เจ้าอ​ าวาส​ วัด​พระ​ญาติกา​ราม​​เป็น​พระ​อุป​ัชฌาย์​ ​มี​หลวง​พ่อ​แด่​ ​เจ้า​อาวาส​วัด​สะแก​ ขณะ​นน้ั เ​ป็นพ​ ระกร​รม​วา​จา​จาร​ย​์ แ​ ละ​มห​ี ลวง​พอ่ ฉ​ าย​ว​ ดั กลาง​คลอง​สระ​บวั ​ เป็น​พระ​อนุ​สาว​นา​จาร​ย์​​ได้​รับ​ฉายา​ว่า​“​ ​พรหม​ปัญโญ​”​ ​ ใน​พรรษา​แรกๆ​ ​นั้น​ ​ท่าน​ได้​ศึกษา​พระ​ปริยัติ​ธรรม​ที่​วัด​ประดู่​ ทรงธรรม​ซ​ งึ่ ใ​น​สมัยน​ นั้ เ​รียก​วา่ ว​ ดั ป​ ระดูโ​่ รง​ธรรม​โ​ดย​มพ​ี ระ​อาจารย์ผ​ ส​ู้ อน​​ คือ​​ท่าน​เจ้า​คุณ​เนื่อง​​พระครู​ชม​​และ​หลวง​พ่อ​รอด​​(​เสือ​)​​เป็นต้น​ www.luangpudu.com


3

​ ใน​ด้าน​การ​ปฏิบัติ​พระกร​รม​ฐาน​นั้น​ ​ท่าน​ได้​ศึกษา​กับ​หลวง​พ่อ​ กลั่น​ผู้​เป็น​อุป​ัชฌาย์​ ​และ​หลวง​พ่อ​เภา​ ​ศิษย์​องค์​สำคัญ​ของ​หลวง​พ่อ​กลั่น​ ซึ่ง​มี​ศักดิ์​เป็น​อา​ของ​ท่าน​ ​เมื่อ​ท่าน​บวช​ได้​พรรษา​​ที่​สอง​ประมาณ​ปลาย​ปี​ พ​.​ศ​.​ ๒๔๖๙​ ​หลวง​พ่อ​กลั่น​มรณภาพ ​ท่าน​จึง​ได้​ศึกษา​หาความ​รู้​จาก ​หลวง​พ่อ​เภาเป็น​สำคัญ​ ​นอกจาก​น​้ที า่ น​ยงั ​ได้​ศกึ ษา​จาก​ตำรับ​ตำรา​ท​่มี ​ีอยู่​​ จาก​ชาดก​บา้ ง​ ​ จาก​ธรรมบท​บ้าง​ ​และ​ด้วย​ความ​ที่​ท่าน​เป็น​ผู้​ใฝ่รู้รัก​การ​ ศึกษา​​ ​ท่าน​จึง​ได้เดิน​ทาง​ไป​ศึกษา​หาความ​รู้​เพิ่ม​เติม​จาก​พระ​อาจารย์​อีก​ หลาย​ท่าน​ที่จังหวัดสุพรรณบุรี​และ​สระบุรี​

​ประสบการณ์​ธุดงค์​

​ ประมาณ​เดือน​พฤศจิกายน​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๔๘๖​ ​ออก​พรรษา​แล้ว​ท่าน​ก็​ เริ่ม​ออก​เดิน​ธุดงค์​จาก​จังหวัด​พระนครศรีอยุธยา​​โดย​มี​เป้า​หมาย​ที่​ป่า​เขา​ ทาง​แถบ​จงั หวัดก​ าญจนบุร​ี แ​ ละ​แวะ​นมัสการ​สถาน​ทส​ี่ ำคัญท​ าง​พระพุทธ-​ ศาสนา​​เช่น​​พระพุทธ​ฉาย​และ​รอย​พระ​พุทธ​บาท​​จังหวัด​สระบุรี​​จาก​นั้น​ ท่าน​ก็​เดิน​ธุดงค์​ไป​ยัง​จังหวัด​สิงห์บุรี​ ​สุพรรณบุรี​ ​จนถึง​จังหวัด​กาญจนบุรี​ จึง​เข้า​พัก​ปฏิบัติ​ตาม​​ป่า​เขา​และ​ถ้ำ​ต่างๆ​ ​ หลวงปู่ดู่​ ​ท่าน​เคย​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​เริ่ม​แรก​ที่​ท่าน​ขวนขวาย​ศึกษา​และ​ ปฏิบตั ​นิ น้ั ​ ​แท้จริง​มไิ ด้​มงุ่ ​เน้น​มรรคผล​นพิ พาน​ ​หาก​แต่​ตอ้ งการ​เรียน​ร​ใู้ ห้​ได้​ วิชา​ต่าง​ๆ​ ​เป็นต้น​ว่า​ ​วิชา​คงกระพัน​ชาตรี​ ​ก็​เพื่อ​ที่​จะ​สึก​ออก​ไป​แก้​แค้น​ พวก​โจร​ที่​ปล้น​บ้าน​โยม​พ่อ​โยม​แม่​ท่าน​ถึง​ ​๒​ ครั้ง​ ​แต่​เดชะ​บุญ​ ​แม้​ท่าน​ จะ​สำเร็จ​วิชา​ต่าง​ๆ​​ตาม​ที่​ตั้งใจไว้​​ท่าน​กลับ​ได้​คิด​​นึก​สลด​สังเวช​ใจ​ตัว​เอง​ www.luangpudu.com


4

ที่​ปล่อย​ให้​อารมณ์​อาฆาต​แค้น​ทำร้าย​จิตใจ​ตนเอง​อยู่​เป็น​เวลา​นับ​สิบ​ๆ​​ปี​ ใน​ที่สุด​ท่าน​ก็ได้​ตั้ง​จิต​อโหสิกรรม​ให้แก่โจรเหล่า​นั้น​ ​แล้ว​มุ่งปฏิบัติฝึกฝน อบรมตน ตาม​ทางแห่ง​ศีล​สมาธิ​​และ​ปัญญา​​อย่าง​แท้จริง ​ ​ใน​ระหว่าง​ท่ี​ท่าน​เดิน​ธุดงค์​อยู่​น้ัน​ ​ท่าน​เคย​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ได้​พบ ฝูง​ควาย​ป่า​กำลัง​เดิน​เข้า​มา​ทาง​ท่าน​ ​ท่าน​ต้งั ​สติ​อยู่​ครู่​หนึ่ง​จึง​ตัดสิน​ใจ​ อย่าง​เด็ด​เดี่ยว​ หยุด​ยืน​ภาว​นา​นิ่ง​อยู่​ ​ฝูง​ควาย​ป่า​ที่​มุ่ง​ตรง​​มา​ทางท่าน​ พอ​เข้า​มา​ใกล้​จะ​ถึง​ตัว​ท่าน​ ​ก็​กลับ​เดิน​ทักษิณา​รอบ​​ท่าน​แล้ว​ก็​จากไป​​ บาง​แห่ง​ที่​ท่าน​เดิน​ธุดงค์​ไป​ถึง​ ​ท่าน​มัก​พบ​กับ​พวก​นักเลง​ที่​ชอบลอง​ของ​ ครั้ง​หนึ่ง​ ​มี​พวก​นักเลง​เอา​ปืน​มา​ยิง​ใส่​ท่าน​ขณะ​นั่ง​ภาวนา​อยู่​ใน​กลด​​ ท่าน​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ ​พวก​น้ี​ไม่​เคารพ​พระ ​สนใจ​แต่​“​ของดี​”​ ​เมื่อ​ยิง​ปืน​ ไม่​ออก​ ​จึง​พา​กัน​มา​แสดง​ตัว​ด้วย​ความ​​นอบน้อม​ ​พร้อม​กับอ้อนวอน​ ขอ​​“​ของดี​”​​ทำให้​ท่านต้อง​ออก​เดิน​ธุดงค์​หนี​ไป​ทาง​อื่น​ ​ การ​ปฏิบัติ​ของ​ท่าน​ใน​ช่วง​ธุดงค์​อยู่​น้นั ​ ​เป็น​ไป​อย่าง​เอา​จริง​เอา​จัง​ ยอม​มอบ​กาย​ถวาย​ชีวิต​ไว้​กับ​ป่า​เขา​ ​แต่​สุขภาพ​ธาตุ​ขันธ์​ของ​ท่าน​ก็​ไม่​ เป็นใจ​เสีย​เลย​ ​บ่อย​ครั้ง​ที่​ท่าน​ต้อง​เอา​ผ้า​มา​คาด​ที่​หน้า​ผาก​เพื่อ​บรรเทา​ อาการ​ปวด​ศีรษะ​ ​อีก​ทั้ง​ก็​มี​อาการ​เท้า​ชา​​รุนแรง​ขึ้น​เรื่อย​ๆ​ ​แม้​กระนั้น​​ ท่าน​ก็​ยัง​ไม่​ละ​ความ​เพียร​ ​สม​ดัง​ที่​ท่าน​​เคย​สอน​ลูก​ศิษย์​ว่า​ ​“​นิพพาน​อยู่​ ฟาก​ตาย​”​ใ​น​การ​ประพฤติป​ ฏิบตั น​ิ นั้ ​จ​ ำ​ตอ้ ง​ยอม​มอบ​กาย​ถวาย​ชวี ติ ล​ ง​ไป ​ดัง​ที่​ท่าน​เคย​กล่าว​​ไว้​ว่า​ “​ ​ถ้า​มัน​ไม่​ดหี​ รือ​ไม่​ได้​พบ​ความ​จริง​ก็​ให้​มัน​ตาย​ ​ถ้า​มัน​ไม่​ตาย​ก็​ให้​มันดี​​หรือ​ได้​พบ​กับ​ความ​จริง​”​ www.luangpudu.com


5

​ ดัง​นั้น​ ​อุปสรรค​ต่างๆ​ ​จึง​กลับ​เป็น​ปัจจัย​ช่วย​ให้​จิตใจ​ของ​ผู้​ปฏิบัติ​ แข็งแกร่ง​ขึ้น​เป็น​ลำดับ​

​นิมิต​ธรรม​

​ อยู่​มา​วัน​หนึ่ง​ ประมาณก่อน​ปี​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๐๐​ ​เล็ก​น้อย ​หลัง​จาก​ หลวงปู่ดู่​สวด​มนต์​ทำวัตร​เย็น​ ​และ​ปฏิบัติ​กิจ​ส่วน​ตัว​เสร็จ​เรียบร้อย​แล้ว​ ท่าน​ก​จ็ ำวัด​ ​เกิด​นมิ ติ ​ไป​วา่ ​ได้​ฉนั ​ดาว​ท​ม่ี ​แี สง​สว่าง​​มาก​ ​๓​ ​ดวง​ ​ใน​ขณะ​ท่​ี กำลัง​ฉนั ​อยู​น่ น้ั ​ก​ร็ สู้ กึ ​วา่ ​กร​อบๆ​​ด​ี ​ก​เ็ ลย​​ฉนั ​เข้าไป​ทง้ั หมด​​แล้ว​จงึ ​ตกใจตืน่ ​​ เมือ่ ท​ า่ น​พจิ ารณา​ใคร่ครวญ​ถงึ น​ มิ ติ ธ​ รรม​ทเ​ี่ กิดข​ นึ้ ​ก​ เ​็ กิดค​ วาม​เข้าใจ​ ขึ้น​ว่า​แก้ว​​๓​​ดวง​นั้น​​ก็​คือ​พระ​ไต​รส​รณา​คมน​์​นั่นเอง​​พอ​ท่าน​ว่า​​ “​พุทธ​ัง​ ​สรณ​ัง​ ​คัจฉา​มิ​,​ ธัมมัง​ ​สรณ​ัง​ ​คัจฉา​มิ​,​ ​สังฆ​ัง​ ​สรณ​ัง​​ คัจฉา​มิ​”​ ​ก็​เกิด​อัศจรรย์​ขึ้น​ใน​จิต​ท่าน​ ​พร้อม​กับ​อาการ​ปีติ​อย่าง​ท่วมท้น​​ ทั้ง​เกิด​ความ​รู้สึก​ลึก​ซึ้ง​และ​มั่นใจ​ว่า​ ​พระ​ไต​รส​รณา​คมน​์​นี้​แห​ล่ะ​เป็น​ราก​ แก้ว​ของ​พระพุทธ​ศาสนา​​ท่าน​จึง​กำหนด​เอา​มา​เป็น​คำ​บริ​กรรม​ภาวนา​ตั้ง​ แต่​นั้น​เป็นต้น​มา​เน้น​หนัก​ที่​การ​ปฏิบัติ​ ​ หลวงปูด่ ท​ู่ า่ น​ให้ค​ วาม​สำคัญอ​ ย่าง​มาก​ใน​เรือ่ ง​ของ​การ​ปฏิบตั ส​ิ มาธิ​ ภาวนา​​ท่าน​ว่า​“​ ​ถ้า​ไม่​เอา​​(​ปฏิบัต)ิ​​​เป็น​เถ้า​เสีย​ดี​กว่า​”​​ใน​สมัย​ก่อน​เมื่อ​ ตอน​ที่​ศาลาปฏิบัติ​ธรรม​หน้า​กุฏิ​ท่าน​ยัง​สร้าง​ไม่​เสร็จ​นั้น​ ​ท่าน​ก็​เมตตา​ให้​ ใช้​ห้อง​ส่วน​ตัว​ที่​ท่าน​ใช้​จำวัด​ ​เป็น​ที่​รับรอง​สานุ​ศิษย์​และ​ผู้​สนใจ​ได้​ใช้​เป็น​ ที่​ปฏิบัติ​ธรรม​​ซึ่ง​นับ​เป็น​เมตตา​อย่าง​สูง​ ​ สำหรับ​ผู้​ที่​ไป​กราบ​นมัสการ​ท่า​นบ่อยๆ​ ​หรือ​มี​โอกาส​ได้​ฟัง​ท่าน​ www.luangpudu.com


6

สนทนา​ธรรม​ ​ก็​คงจะ​ได้​เห็น​กุศโลบาย​ใน​การ​สอน​ของ​ท่าน​ที่​จะ​โน้ม​น้าว​ ผู้​ฟัง​ให้​วก​เข้า​สู่​การ​ปรับปรุง​แก้ไข​ตนเอง​ ​เช่น​ ​ครั้ง​หนึ่ง​มี​ลูก​ศิษย์​วิ​พาก​ษ์​ วิจารณ์ค​ น​นนั้ ค​ น​นใ​ี้ ห้ท​ า่ น​ฟงั ใ​น​เชิงว​ า่ ก​ ล่าว​วา่ ​ เป็นต​ น้ เ​หตุข​ อง​ปญ ั หา​และ​ ความ​ยุ่ง​ยาก​ ​แทนที่​ท่าน​จะ​เออออ​ไป​ตาม​อัน​จะ​ทำให้​เรื่อง​ยิ่ง​บาน​ปลาย​ ออก​ไป​ ​ท่าน​กลับ​ปราม​ว่า​ “​ ​เรื่อง​ของ​คน​อื่น​ ​เรา​ไป​แก้​เขา​ไม่​ได้​ ​ที่​แก้​ได้​ คือ​ตัว​เรา​​แก้​ข้าง​นอก​เป็น​เรื่อง​โลก​แ​ ต่​แก้​ที่​ตัว​เรา​นี่​เป็น​เรื่อง​ธรรม​”​ ​ คำ​สอน​ของ​หลวงปู่ดู่​จึง​สรุป​ลง​ที่​การ​ใช้​ชีวิต​อย่าง​คน​ไม่​ประมาท​​ นั่น​หมาย​ถึงว่า​สิ่ง​ที่​จะ​ต้อง​เป็น​ไป​พร้อม​ๆ​ ​กัน​ ​ก็​คือ​ ​ความ​พากเพียร​ที่​ลง​ สู่ภาค​ปฏิบัติ​ ​ใน​มรรค​วิถี​ที่​เป็น​สาระ​แห่ง​ชีวิต​ของ​ผู้​ไม่​ประมาท​ ​ดัง​ที่​ท่าน​ พูด​ย้ำ​เสมอ​ว่า​“​หมั่น​ทำ​เข้า​ไว้​ๆ”​

อ่อนน้อม​ถ่อม​ตน​

​ นอกจาก​ความ​อดทน​อ​ ด​กลัน้ ย​ งิ่ แ​ ล้ว​ห​ ลวงปูด่ ย​ู่ งั เ​ป็นแ​ บบ​อย่าง​ของ​ ผู้​ไม่​ถือตัว​​วางตัว​เสมอ​ต้น​เสมอ​ปลาย​​ไม่​ยก​ตน​ข่ม​ผู้​อื่น​​เมื่อ​ครั้ง​ที่​สมเด็จ​ พระ​พฒ ุ า​ จ​ าร​ย​์ (​เ​สงีย่ ม​)​ว​ ดั ส​ ท​ุ ศั น์เ​ทพว​รา​ราม​ห​ รือท​ เ​ี่ รา​เรียก​กนั ว​ า่ ​“​ ท​ า่ น​ เจ้า​คุณ​เสงี่ยม​”​ ​ซึ่ง​มีอายุ​พรรษา​มาก​กว่า​หลวงปู่ดู่​ ​๑​ ​พรรษา​มา​นมัสการ​ หลวง​พ่อ​โดย​ยกย่อง​เป็น​ครู​เป็น​อาจารย์​ ​แต่​เมื่อ​ท่าน​เจ้า​คุณ​เสงี่ยม​กราบ​ หลวง​พ่อ​เสร็จ​แล้ว​หลวง​พ่อ​ท่าน​ก็​กราบ​ตอบ​ ​เรียก​ว่า​ต่าง​องค์​ต่าง​กราบ​ ซึ่ง​กัน​และ​กัน​เป็น​ภาพ​ที่​พบเห็น​ได้​ยาก​เหลือ​เกิน​ใน​โลก​ที่​ผู้คน​ทั้ง​หลาย​มี​ แต่​จะ​เติบโต​ทาง​ด้าน​ทิฏฐิ​มานะ​ ​ความ​ถือตัว​ ​อวดดี​ ​อวด​เด่น​ ​ยก​ตน​ข่ม​ ท่าน​​ปล่อย​ให้​กิเลส​ตัว​หลง​ออก​เรี่ยราด​​เที่ยว​ประกาศ​ให้​ผู้คน​ทั้ง​หลาย​ได้​ www.luangpudu.com


7

รู้​ว่า​ตน​เก่ง​​โดย​เจ้า​ตัว​ก็​ไม่รู้​ว่า​ถูก​กิเลส​ขึ้น​ขี่​คอ​พา​บงการ​ให้​เป็น​ไป​ ​ หลวงปู่ดู่​ไม่​เคย​วิ​พาก​ษ์​วิจารณ์​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​ของ​สำนัก​ไหน​​ๆ​ ใน​เชิง​ลบหลู่​หรือ​เปรียบ​เทียบ​ดูถูก​ดู​หมิ่น​​ท่าน​ว่า“​ ​คน​ดีน่ะ​​เขา​ไม่​ตี​ใคร​”​ ซึ่ง​ลูก​ศิษย์​ทั้ง​หลาย​ได้​ถือ​เป็น​แบบ​อย่าง​ ​ หลวงปู่ดู่​เป็น​พระ​พูด​น้อย​ ​ไม่​มาก​โวหาร​ ​ท่าน​จะ​พูด​ย้ำ​อยู่​แต่​ใน​ เรื่อง​ของ​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​และ​ความ​ไม่​ประมาท​ ​เช่น​ “​ของดี​อยู่​ที่​ตัว​เรา​​ หมั่นทำ​​(​ปฏิบัติ​)​​เข้า​ไว้​”​​“​ให้​หมั่น​ดู​จิต​​รักษา​จิต​”​​“​อย่า​ลืมตัว​ตาย​”​ และ​“​ ​ให้​หมั่น​พิจารณา​อนิจ​จัง ​ทุก​ขัง​​อนัตตา​”​​เป็นต้น​

​อุบาย​ธรรม​

​ หลวงปูด่ เ​ู่ ป็นผ​ ท​ู้ ม​ี่ อ​ี บุ าย​ธรรม​ลกึ ซ​ งึ้ ​ส​ ามารถ​ขดั เกลา​จติ ใจ​คน​อย่าง​ ค่อย​เป็นค​ อ่ ย​ไป​ม​ ไิ ด้เ​ร่งรัดเ​อา​ผล​เ​ช่นค​ รัง้ ห​ นึง่ ม​ น​ี กั เลง​เหล้าต​ ดิ ตาม​เพือ่ น​ ซึ่ง​เป็น​ลูก​ศิษย์​มาก​ราบ​นมัสการ​ท่าน ​สนทนา​กัน​ได้​สัก​พัก​หนึ่ง​ เพื่อน ​ ทีเ​่ ป็นล​ กู ศ​ ษิ ย์ก​ ช​็ กั ชวน​เพือ่ น​นกั เลง​เ​หล้าใ​ห้ส​ มาทาน​ศลี ​๕​ ​พ​ ร้อม​กบั ฝ​ กึ หัด​ ปฏิบัติ​สมาธิ​ภาวนา​ ​นักเลง​​เหล้า​ผู้​นั้น​ก็​แย้ง​ว่า​ ​“​จะ​มา​ให้​ผม​สมาทาน​ศีล​ และ​ปฏิบัติ​ได้​ยัง​ไง​ ก็​ผม​ยัง​กิน​เหล้า​เมา​ยา​อยู่​นี่​ครับ​”​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ก็ ​ ตอบ​วา่ ​“​ เ​อ็งจ​ ะ​กนิ ก​ ก​็ นิ ไ​ป​ซ​ิ ข​ า้ ไ​ม่ว​ า่ ​แ​ ต่ใ​ ห้เ​อ็งป​ ฏิบตั ใ​ิ ห้ข​ า้ ว​ นั ล​ ะ​๕​ ​น​ าที​ ก็​พอ​”​ ​นักเลง​เหล้า​ผู้​นั้น​เห็น​ว่า​นั่ง​สมาธิ​แค่​วัน​ละ​ ​๕​ ​นาที​ ​ไม่ใช่​เรื่อง​ยาก​ เย็น​อะไร​​จึง​ได้​ตอบ​ปาก​รับคำ​จาก​หลวง​พ่อ​ ​ ด้วย​ความ​ที่​เป็น​คน​นิสัย​ทำ​อะไร​ทำ​จริง​ ​ซื่อสัตย์​ต่อ​ตัว​เอง​​ทำให้​ เขา​สามารถ​ปฏิบัติ​ได้​สม่ำเสมอ​เรื่อย​มา​มิได้​ขาด​แม้แต่​วัน​เดียว ​บาง​ครั้ง ​ www.luangpudu.com


8

ถึง​ขนาด​งด​ไป​กิน​เหล้า​กับ​เพื่อน​ ​ๆ​ ​เพราะ​ได้​เวลา​ปฏิบัติ​ ​จิต​ของ​เขา ​เริ่ม​เสพ​คุ้น​กับ​ความ​สุข​สงบ​จาก​การ​ที่​จิต​เป็น​สมาธิ​ ​ไม่​ช้า​ไม่​นาน​เขา​ ก็ ​ส ามารถ​เ ลิ ก ​เ หล้ า ​ไ ด้ ​โ ดย​ไ ม่ รู้ ​ตั ว ​ด้ ว ย​อุ บ าย​ธ รรม​ที่ ​น้ อ มนำ​ม า​จ าก​ หลวง​ปู่​ ​ต่อ​มา​เขา​ได้​มี​โอกาส​มา​นมัสการ​ท่าน​อีก​ครั้ง​ ​ที่​นี้​หลวงปู่ดู่ท่าน​ ให้​โอวาท​ว่า​ ​“​ที่​แก​ปฏิบัติ​อยู่​ ​ให้​รู้​ว่า​ไม่​ใช่​เพื่อ​ข้า​ แต่​เพื่อ​ตัว​แก​เอง​”​ คำ​พูด​ของ​หลวง​ปู่​ทำให้​เขา​เข้า​ใจ​อะไร​มาก​ขึ้น​ ​ศรัทธาและ​ความ​เพียร ​ต่อ​การ​ปฏิบัติ​ก็​มี​มาก​ขึ้น​ตาม​ลำดับ​ ​ถัด​จาก​นั้น​ไม่​กี่​ปี​ ​เขา​ผู้​ที่​อดีต​ เคย​เป็น​นักเลง​เหล้า​ก็​ละ​เพศ​ฆราวาส​เข้า​สู่​เพศ​บรรพชิต ตั้งใจปฏิบัติ​ ธรรม​เรื่อย​มา​ ​ อีก​ครั้ง​หนึ่ง​มี​ชาว​บ้าน​หา​ปลา​มา​นมัสการ​ท่าน​​และ​ก่อน​กลับ​​ท่าน​ ก็​ให้​เขา​สมาทาน​ศีล​ ​๕​ ​เขา​เกิด​ตะขิดตะขวง​ใจ​กราบ​เรียน​ท่าน​ว่า​ ​“​ผม​ไม่​ กล้า​สมาทาน​ศีล​ ​๕​ ​เพราะ​รู้​ว่า​ประ​เดี๋ยว​ก็​ต้อง​ไป​จับ​ปลา​ ​จับ​กุ้ง​ ​มัน​เป็น​ อาชีพ​ของ​ผม​ครับ​”​ ​หลวง​ปู่​ตอบ​เขา​​ด้วย​ความ​เมตตา​ว่า​ ​“​แก​จะ​รู้​เห​รอ ​ว่า​ ​แก​จะ​ตาย​เมื่อ​ไหร่​ ​ไม่​แน่​ว่า​แก​เดิน​ออก​ไป​จาก​กุฏิ​ข้า​แล้ว​ ​อาจ​ถูก​งู​ กัด​ตาย​เสีย​กลาง​​ทาง​ก่อน​ไป​จับ​ปลา​ ​จับ​กุ้ง​ ​ก็ได้​ ​เพราะ​ฉะนั้น​เมื่อ​ตอน​นี้​ แก​​ยัง​ไม่​ได้​ทำบาป​กรรม​อะไร​​ยัง​ไงๆ​​ก็​ให้​มี​ศีล​ไว้​ก่อน​​ถึง​จะ​มี​ศีล​ขาด​ก็​ยัง​ ดี​กว่า​ไม่มี​ศีล​”​ ​ หลวงปู่ ดู่ ​ท่ า นไม่ ​เ พี ย ง​พ ร่ ำ ​ส อน​ใ ห้ ​บ รรดา​ศิ ษ ย์ ​ทั้ ง ​ห ลาย​เจริ ญ​ บำเพ็ญ​คุณ​งาม​ความ​ดี​เท่านั้น​ ​หาก​แต่​ยัง​เน้น​ย้ำ​ให้​เห็น​ความ​​สำคัญ​และ​ ระมัดระวัง​ใน​การ​รักษา​ไว้​ซึ่ง​คุณ​งาม​ความ​ดี​นั้น​ๆ​ ​ให้​คง​อยู่​ ​รวม​ทั้ง​เจริญ​ งอกงาม​ขึ้น​เรื่อย​ๆ​ ​ท่าน​มัก​จะ​พูด​เตือน​เส​มอๆ​​ว่า​เมื่อ​ปลูก​ต้น​ธรรม​ด้วย​ www.luangpudu.com


9

ดีแล้ว​ก็​ต้อง​คอย​หมั่น​ระวัง​อย่า​ให้​หนอน​และ​แมลง​ ​ได้แก่​ ​ความ​โลภ​​ ความ​โกรธ​ ​และ​ความ​หลง​ ​มา​กัด​กิน​ทำลาย​ต้น​ธรรม​ที่​อุตส่าห์​ปลูก​ขึ้น​​ และ​อีก​ครั้ง​หนึ่ง​ที่​ท่าน​แสดง​ถึง​แบบ​อย่าง​ของ​ความ​เป็น​ครู​อาจารย์​ที่​ ปราศ​จาก​ทิฏฐิ​มานะ​และ​​เปี่ยม​ด้วย​อุบาย​ธรรม​ ​ก็​คือ​ครั้ง​ที่​มี​นัก​ศึกษา มหาวิทยาลัย​ธรรม​ศาสตร์​ ​๒​ ​คน​ ​ซึ่ง​เป็น​ลูก​ศิษย์​ของ​ท่าน​ ​มาก​ราบ​ลา​ พร้อม​กับ​เรียน​ให้ท่า​นท​ราบ​ว่า​ จะ​เดิน​ทาง​ไป​พัก​ค้าง​​เพื่อ​ปฏิบัติ​ธรรม​ กับท​ า่ น​พระ​อาจารย์ม​ หา​บวั ​ญ ​ าณ​สมั ป​ นั โ​น​ว​ ดั ป​ า่ บ​ า้ น​ตาด​จ​ งั หวัดอ​ ดุ รธานี​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ฟัง​แล้ว​ก็​ยกมือ​พนม​ขึ้น​ไหว้​ไป​ทาง​ข้างๆ​ พร้อม​กับ​ พูด​ว่า​ ​“​ข้า​โม​ทนา​กับ​พวก​แก​ด้วย​ ​ตัว​ข้า​ไม่มี​โอกาส​.​.​.​”​ ไม่มี​เลย​ที่​ท่าน​ จะ​ห้าม​ปราม​หรือ​แสดง​อาการ​ที่​เรียก​ว่า​หวง​ลูก​ศิษย์​ ตรง​กัน​ข้าม​มี​แต่​จะ​ ส่ง​เสริม​ ​สนับสนุน​ ​ให้​กำลัง​ใจ​เพื่อ​ให้​ลูก​ศิษย์​ของ​ท่าน​ขวนขวาย​ใน​การ​ ปฏิบัติ​ธรรม​ยิ่ง​ๆ​​ขึ้น​ไป​ ​แต่​ถ้า​เป็น​กรณี​ที่​มี​ลูก​ศิษย์​มา​เรียน​ให้ท่า​นท​ราบ​ถึง​ครู​อาจารย์​นั้น​ องค์​นี้​ ​ใน​ลักษณะ​ตื่น​ครู​ตื่น​อาจารย์​ ​ท่าน​ก็​จะ​ปราม​​เพื่อ​วก​เข้า​สู่​เจ้า​ตัว​ โดย​พูด​เตือน​สติ​ว่า​ ​“​ครู​อาจารย์​ดีๆ​ ​แม้​จะ​มี​อยู่​มาก​ ​แต่​สำคัญ​ที่​ตัว​แก​ ต้อง​ปฏิบัติ​ให้​จริง​​สอน​ตัว​เอง​ให้​มาก​​นั่น​แหละ​จึง​จะ​ดี​”​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​มี​แนวทาง​การ​สอน​ธรรมะ​ที่​เรียบ​ง่าย ฟัง​ง่าย​ ​ชวน​ ให้​ติดตาม​ฟัง​​ท่าน​นำ​เอา​สิ่ง​ที่​เข้าใจ​ยาก​มา​แสดง​ให้​เข้า​ใจง่าย​​เพราะ​ท่าน​ จะ​ยก​อปุ มา​อปุ ไมย​ประกอบ​ใน​การ​สอน​ธรรมะ​จ​ งึ ท​ ำให้ผ​ ฟ​ู้ งั เ​ห็นภ​ าพ​และ​ เกิดค​ วาม​เข้าใจ​ใน​ธรรม​ทท​ี่ า่ น​นำ​มา​แสดง​แ​ ม้วา่ ท​ า่ น​มกั จ​ ะ​ออกตัวว​ า่ ท​ า่ น​ เป็นพ​ ระ​บา้ น​นอก​ทไ​ี่ ม่มค​ี วาม​ร​ อ​ู้ ะไร​แ​ ต่ส​ ำหรับบ​ รรดา​ศษิ ย์ท​ งั้ ห​ ลาย​ค​ ง​ไม่​ www.luangpudu.com


๑๐

10

อาจ​ปฏิเสธ​ว่า ​หลาย​ครั้ง​ที่​ท่าน​สามารถ​พูด​แทง​เข้าไป​ถึง​ก้น​บึ้ง​หัวใจ​ ของ​ผู้​ฟัง​ที​เดียว​ อ​ กี ป​ ระการ​หนึง่ ​ด​ ว้ ย​ความ​ทท​ี่ า่ น​มร​ี ปู ร​ า่ ง​ลกั ษณะ​ทเ​ี่ ป็นท​ น​ี่ า่ เ​คารพ​ เลือ่ ม​ใส​เ​มือ่ ใ​คร​ได้ม​ า​พบเห็นท​ า่ น​ดว้ ย​ตนเอง​แ​ ละ​ถา้ ย​ งิ่ ไ​ด้ส​ นทนา​ธรรม​กบั ​ ท่าน​โดยตรง​ก​ จ​็ ะ​ยงิ่ เ​พิม่ ค​ วาม​เคารพ​เลือ่ ม​ใส​และ​ศรัทธา​ใน​ตวั ท​ า่ น​มาก​ขนึ้ ​ เป็น​ทวีคูณ​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​พูด​ถึง​การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ของ​คน​สมัย​นี้​ว่า​ ​“​คน​เรา​ ทุก​วัน​นี้​ ​โลก​เท่า​แผ่น​ดิน​ ​ธรรม​เท่า​ปลาย​เข็ม​ ​เรา​​มัว​พา​กัน​ยุ่ง​อยู่​กับ​โลก​ จน​เหมือน​ลิง​ติด​ตัง​​เรื่อง​ของ​โลก​​เรื่อง​เละ​ๆ​​เรื่อง​ไม่มี​ที่​สิ้น​สุด​​เรา​ไป​แก้ไข​ เขา​ไม่ไ​ด้จ​ ะ​ตอ้ ง​แก้ไข​ทต​ี่ วั เ​รา​เอง​ต​ น​ของ​ตน​เตือน​ตน​ดว้ ย​ตนเอง​” ​ ท่าน​ได้​ อบรม​สงั่ ส​ อน​ศษิ ย์​โ​ดย​ให้พ​ ยายาม​ถอื เ​อา​เหตุการณ์ต​ า่ งๆ​ท​ เ​ี่ กิดข​ นึ้ ม​ า​เป็น​ ครู​สอน​ตนเอง​เสมอ​​เช่น​​ใน​หมู่​คณะ​​หาก​มี​ผู้​ใด​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ดี​​เจริญ​ใน​ ธรรม​ปฏิบัติ​ ​ท่าน​ก็​กล่าว​​ชม​และ​ให้​ถือ​เป็น​แบบ​อย่าง​ ​แต่​ถ้า​มี​ผู้​ประพฤติ​ ผิด​​ถูก​ท่าน​ตำหนิ​ติ​เตียน​​ก็​ให้​น้อม​เอา​เหตุ​กา​รณ์​นั้น​ๆ​​มา​สอน​ตน​ทุก​ครั้ง​ ไป​ท​ า่ น​ไ​ม่ไ​ด้ช​ ม​ผท​ู้ ำ​ดจ​ี น​หลงลืมต​ น​แ​ ละ​ทา่ น​ไม่ไ​ด้ต​ เ​ิ ตียน​ผท​ู้ ำ​ผดิ จ​ น​หมด​ กำลัง​ใจ​​แต่​ถือ​เอา​เหตุ​กา​รณ์ ​เป็น​เสมือน​ครู​ที่​เป็น​ความ​จริง ​แสดง​​เหตุผล​ ให้​เห็น​ธรรม​ที่แท้​จริง​ ​ การ​สอน​ของ​ท่าน​ก็​พิจารณา​ดู​บุคคล​ด้วย​​เช่น​​คน​บาง​คน​พูด​ให้​ฟัง​ เพียง​อย่าง​เดียว​​ไม่​เข้าใจ​​บางที​ท่าน​ก็​ต้อง​ทำให้​เกิด​ความ​กลัว​​เกิด​ความ​ ละอาย​บ้าง​ถึง​จะ​หยุด​ ​เลิก​ละ​การ​กระทำ​ที่​ไม่​ดี​นั้น​ๆ​ ​ได้​ ​หรือ​บาง​คน​เป็น​ ผู้​มี​อุปนิสัย​เบาบาง​อยู่​แล้ว​ ​ท่าน​ก็​สอน​ธรรมดา​ ​การ​สอน​ธรรมะ​ของ​ท่าน​​ www.luangpudu.com


11

๑๑

บางที​ก็​สอน​ให้​กล้า​​บางที​ก็​สอน​ให้​กลัว​​ที่​ว่า​สอน​ให้​กล้า​นั้น​​คือ​​ให้​กล้า​ใน​ การ​ทำความ​ดี​ ​กล้า​ใน​การ​ประพฤติ​ปฏิบัติ​เพื่อ​ถอดถอน​กิเลส​ออก​จาก​ใจ ​ไม่​ให้​ตก​เป็น​ทาส​ของ​กิเลส​อยู่​ร่ำไป​ ​ส่วน​ที่​สอน​ให้​กลัว​นั้น​ ​ท่าน​ให้​กลัว​ใน​ การ​ทำ​​ความ​ชั่ว​ ​ผิด​ศีล​ธรรม​ ​เป็น​โทษ​ ​ทำ​แล้ว​ผู้​อื่น​เดือด​ร้อน​ ​บางที​ท่าน​ ก็ส​ อน​ให้เ​ชือ่ ​ค​ อื ใ​ห้เ​ชือ่ ม​ นั่ ใ​น​คณ ุ พ​ ระพุทธ​พ​ ระ​ธรรม​พ​ ระ​สงฆ์​เ​ชือ่ ใ​น​เรือ่ ง​ กรรม​ ​อย่าง​ที่​ท่าน​เคย​กล่าว​ว่า​ ​“​เชื่อ​ไหม​ล่ะ​ ​ถ้า​เรา​เชื่อ​จริง​ ​ทำ​จริง​ ​มัน​ก็​ เป็น​ของ​จริง​​ของ​จริง​มี​อยู่​​แต่​เรา​มัน​ไม่​เชื่อ​จริง​​จึง​ไม่​เห็น​ของ​จริง​”​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​สอน​ให้​มี​ปฏิปทา​สม่ำเสมอ​ ​ท่าน​ว่า​“​ขยัน​ก็​ให้​ทำ​ ขีเ​้ กียจ​กใ​็ ห้ท​ ำ​ถ​ า้ ว​ นั ไ​หน​ยงั ก​ นิ ข​ า้ ว​อยูก​่ ต​็ อ้ ง​ทำ​วนั ไ​หน​เลิกก​ นิ ข​ า้ ว​แล้ว​น​ นั่ ​ แหละ​​จึง​ค่อย​เลิก​ทำ​”​ ก​ าร​สอน​ของ​ทา่ น​นนั้ ม​ ไิ ด้เ​น้นแ​ ต่เ​พียง​การ​นงั่ ห​ ลับต​ า​ภาวนา​ห​ าก​แต่​ หมาย​รวม​ไป​ถึง​การ​กำหนด​ดู​ ​กำหนด​รู้​ ​และ​พิจารณา​สิ่ง​ต่าง​ ​ๆ​ ​ใน​ความ​ เป็นข​ อง​ไม่เ​ทีย่ ง​เ​ป็นท​ กุ ข์​เ​ป็นอ​ นัตตา​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยงิ่ ​ท​ า่ น​ชใ​ี้ ห้เ​ห็นถ​ งึ ​ สังขาร​ร่างกาย​ที่​มัน​เกิด​มัน​ตาย​อยู่​ตลอด​เวลา​ ​ท่าน​ว่า​ ​เรา​วัน​นี้​กับ​เรา​เมื่อ​ ตอน​เป็นเ​ด็กม​ นั ก​ ไ​็ ม่เ​หมือน​เก่า​เ​รา​ขณะ​นก​ี้ บั เ​รา​เมือ่ ว​ าน​กไ​็ ม่เ​หมือน​เก่า​จ​ งึ ​ ว่า​เรา​เมื่อ​ตอน​เป็น​เด็ก​​หรือ​เรา​เมื่อ​วาน​มัน​ได้​ตาย​ไป​แล้ว​​เรียก​ว่า​ร่างกาย​ เรา​มัน​เกิด​​-​​ตาย​​อยู่​ทุก​ลม​หายใจ​เข้า​ออก​​มัน​เกิด​​-​​ตาย​​อยู่​ทุก​ขณะ​จิต​ ท่าน​สอน​ให้​บรรดา​ศิษย์​เห็น​จริง​ถึง​ความ​สำคัญ​ของ​ความ​ทุกข์​ยาก​ ว่า ​เป็น​สิ่ง​มี​คุณค่า​ใน​โลก​ ​ท่าน​จึง​พูด​บ่อย​ครั้ง​ว่า​​การ​ที่​เรา​ประสบ​ทุกข์​​นั่น​แสดง​ว่า​เรา​มา​ถูก​ ทาง​แล้ว​​เพราะ​อาศัย​ทุกข์​นั่น​แหละ​​จึง​ทำให้​เรา​เกิด​ปัญญา​ขึ้น​ได้​ www.luangpudu.com


๑๒

12

​ใช้​ชีวิต​อย่าง​ผู้​รัก​สันโดษ​และ​เรียบ​ง่าย​

​ หลวงปูด่ ท​ู่ า่ น​ยงั เ​ป็นแ​ บบ​อย่าง​ของ​ผม​ู้ กั น​ อ้ ย​สนั โดษ​ใช้ช​ วี ติ เ​รียบ​งา่ ย​​ ไม่​นิยม​ความ​หรูหรา​ฟุ่มเฟือย​​แม้แต่​การ​สรง​น้ำ​​ท่าน​ก็​ยัง​ไม่​เคย​ใช้​สบู่​เลย​​ แต่​ก็​น่า​อัศจรรย์​เมื่อ​ได้​ทราบ​จาก​พระ​อุปัฏฐาก​ว่า​ ​ไม่​พบ​ว่า​ท่าน​มี​กลิ่น​ตัว​​ แม้​ใน​ห้อง​ที่​ท่าน​จำวัด​ ​ มี​ผู้​ปวารณา​ตัว​จะ​ถวาย​เครื่อง​ใช้​และ​สิ่ง​อำนวย​ความ​สะดวก​ต่างๆ​​ ให้​กับ​ท่าน​ ​ซึ่ง​ส่วน​ใหญ่​ท่าน​จะ​ปฏิเสธ​ ​คง​รับ​ไว้​บ้าง​เท่า​ที่​เห็น​ว่า​ไม่​เกิน​ เลย​อัน​จะ​เสีย​สมณะ​สารูป​ ​และ​ใช้สอย​พอ​ให้​ผู้​ถวาย​ได้​เกิด​ความ​ปลื้มปีติ​ ที่​ได้​ถวาย​แก่​ท่าน​ ​ซึ่ง​ใน​ภาย​หลัง​ท่าน​ก็​มัก​ยก​ให้​เป็น​ของ​สงฆ์​ส่วน​รวม​​ เช่น​เดียว​กับข้าว​ของ​ต่างๆ​ ​ที่​มี​ผู้​มา​ถวาย​เป็น​สังฆทาน​โดย​ผ่าน​ท่าน​ และ ​เมื่อ​ถึง​เวลา​เหมาะ​ควร​​ท่าน​ก็​จะ​​จัดสรร​ไป​ให้​วัด​ต่างๆ​ ​ที่​อยู่​ใน​ชนบท ​ และ​ยัง​ขาดแคลน​อยู่​ ​ สิ่ง​ที่​ท่าน​ถือ​ปฏิบัติ​สม่ำเสมอ​ใน​เรื่อง​ลาภ​สัก​การ​ะ​ ​ก็​คือ​การ​ยก​ให้​ เป็น​ของ​สงฆ์​ส่วน​รวม​ ​แม้​ปัจจัย​ที่​มี​ผู้​ถวาย​ให้​กับ​ท่าน​เป็น​ส่วน​ตัว​สำหรับ​ ค่า​รักษา​พยาบาล​ ​ท่าน​ก็​สมทบ​เข้า​ใน​กองทุน​สำหรับ​จัดสรร​ไป​ใน​กิจ​ สาธารณประโยชน์​ต่างๆ​​ทั้ง​โรงเรียน​และ​โรง​พยาบาล​ ​ หลวงปู่ดู่​​ท่าน​ไม่มี​อาการ​แห่ง​ความ​เป็น​ผู้​อยาก​เด่น​อยาก​ดัง​แม้แต่​ น้อย​ ​ดัง​นั้น​ ​แม้​ท่าน​จะ​เป็น​เพียง​พระ​บ้าน​นอก​รูป​หนึ่ง​ซึ่ง​ไม่​เคย​ออก​จาก​ วัด​ไป​ไหน​ ​ทั้ง​ไม่มี​การ​ศึกษา​ระดับ​สูง​ๆ​ ​ใน​ทาง​โลก​ ​แต่​ใน​ความ​รู้สึก​ของ​ ลูก​ศิษย์​ทั้ง​หลาย​ ​ท่าน​เป็น​ดั่ง​พระ​เถระ​ผู้​ถึง​พร้อม​ด้วย​จริยวัตร​อัน​งดงาม​​ สงบ​​เรียบ​ง่าย​​เบิก​บาน​​และ​ถึง​พร้อม​ด้วย​ธรรม​วุฒิ​ที่​รู้​ถ้วน​ทั่ว​ใน​วิชชา​อัน​ www.luangpudu.com


13

๑๓

จะ​นำพา​ให้​พ้น​เกิด​​พ้น​แก่​​พ้น​เจ็บ​​พ้น​ตาย​​ถึง​ฝั่ง​อัน​เกษม​​เป็น​ที่​ฝาก​เป็น​ ฝาก​ตาย​และ​ฝาก​หัวใจ​ของ​ลูก​ศิษย์​ทุก​คน​ ​ใน​เรื่อง​ทรัพย์​สมบัติ​ดั้งเดิม​ของ​ท่าน​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ที่​นา​ ​ซึ่ง​มี​ อยู่​ประมาณ​​๓๐​​ไร่​​ท่าน​ก็ได้​แบ่ง​ให้​กับ​หลาน​ๆ​​ของ​​ท่าน​​ซึ่ง​ใน​จำนวน​นี้​ นาย​ยวง​ ​พึ่ง​กุศล​ ​ผู้​เป็น​บุตร​ของ​นาง​สุ่ม​ ​โยม​​พี่สาว​คนกลาง​ที่​เคย​เลี้ยง​ดู​ ท่าน​มา​ตลอด​ ​ก็ได้​รับ​ส่วน​แบ่ง​ที่​นา​จาก​ท่าน​ด้วย​จำนวน​ ​๑๘​ ​ไร่​เศษ​ ​แต่​ ด้วย​ความ​ที่​นาย​ยวง​​ผู้​เป็น​หลาน​ของ​ท่าน​นี้​ไม่มี​ทายาท​ ​ได้​คิด​ปรึกษา​นาง​ ถม​ยา​ผู้​ภรรยา​เห็น​ควร​ยก​ให้​เป็น​สาธารณประโยชน์​ ​จึง​ยก​ที่ดิน​แปลง​ นี้​ให้​กับ​โรงเรียน​​วัด​สะแก​ ​ซ่งึ ​หลวงปู่ด่​ทู ่า​นก็อนุโม​ทนา​ใน​กุศล​เจตนา​ของ​ คน​ทง้ั ​สอง​

​กุศโลบาย​ใน​การ​สร้าง​พระ​

​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​มิได้​ตั้ง​ตัว​เป็น​เกจิ​อาจารย์​ ​การ​ที่​ท่าน​​สร้าง​หรือ​ อนุญาต​ให้​สร้าง​พระ​เครื่อง​หรือ​พระ​บูชา​ ​ก็​เพราะ​เห็น​ประโยชน์​ ​เพราะ​ บุคคล​จำนวน​มาก​ยัง​ขาด​ที่​ยึด​เหนี่ยว​ทาง​จิตใจ ​ท่าน​มิได้​จำกัด​ศิษย์​อยู่ เฉพาะ​กลุ่ม​ใด​กลุ่ม​หนึ่ง​ ​ดัง​นั้น​คณะ​ศิษย์​ของ​​ท่าน​จึง​มี​กว้าง​ขวาง​ออก​ ไป​ ​ทั้ง​ที่​ใฝ่ใจ​ธรรม​ล้วน​ ​ๆ​ ​หรือ​ที่​ยัง​ต้อง​​อิง​กับ​วัตถุ​มงคล​ ​ท่าน​เคย​พูด​ว่า​ “​ติด​วัตถุ​มงคล​​ก็​ยัง​ดี​กว่า​ที่​จะ​ให้​ไป​ติด​วัตถุ​อัปมงคล​”​​ทั้งนี้​ท่าน​ย่อม​ใช้​ ดุลย​พินิจ​พิจารณา​ตาม​ความ​เหมาะ​ควร​แก่​ผู้​ที่​ไป​หา​ท่าน​ ​ แม้ว่า​หลวงปู่ดู่​จะ​รับรอง​ใน​ความ​ศักดิ์​สิทธิ์​ของ​พระ​​เครื่อง​ที่​ท่าน​ อธิษฐาน​จติ ใ​ห้​แ​ ต่ส​ งิ่ ท​ ท​ี่ า่ น​ยกไว้เ​หนือก​ ว่าน​ นั้ ก​ ค​็ อื ก​ าร​ป​ ฏิบตั ​ิ ด​ งั จ​ ะ​เห็นไ​ด้​ www.luangpudu.com


๑๔

14

จาก​คำ​พดู ​ของ​ทา่ น​วา่ ​“​ ​เอา​ของ​จริง​ด​กี ว่า​พุทธ​งั ฯ​​ธมั มังฯ​​สงั ฆ​งั ฯ​​สรณ​งั ​ คัจฉา​มิ​​นี่​แหละ​ของ​แท้​”​ ​ จาก​คำ​พูด​นี้​​จึง​เสมือน​เป็นการ​ยืนยัน​ว่าการ​ปฏิบัติ​ภาวนา​นี้​แหละ​ เป็น​ที่สุด​แห่ง​เครื่องราง​ของ​ขลัง​ ​เพราะ​คน​บาง​คน​แม้​แขวน​​พระ​ที่​ผู้ทรง​ คุณว​ เิ ศษ​อธิษฐาน​จติ ใ​ห้ก​ ต็ าม​ก​ ใ​็ ช่ว​ า่ จ​ ะ​รอด​ปลอดภัยอ​ ยูด่ ม​ี ส​ี ขุ ไ​ป​ทกุ ก​ รณี​ อย่างไร​เสีย​ทุก​คน​ไม่​อาจ​หลีก​หนี​วิบาก​กรรม​​ที่​ตน​ได้​สร้าง​ไว้​ ​ดัง​ที่​ท่าน​ ได้กล่าว​ไว้​ว่า​​สิ่ง​ศักดิ์​สิทธิ์​ที่​อยู่​เหนือ​สิ่ง​ศักดิ์​สิทธิ์​​ก็​คือ​​กรรม​ ​ ดัง​นั้น​​จึง​มี​แต่​​พระ​​“​สติ​”​​พระ​​“​ปัญญา​”​​ที่​ฝึกฝน​อบรม​​มา​ดีแล้ว​ เท่านั้น​ ​ที่​จะ​ช่วย​ให้​ผู้​ปฏิบัติ​รู้​เท่า​ทัน​และ​พร้อม​ที่​จะ​เผชิญ​กับ​ปัญหา​และ​ สิ่ง​กระทบ​ต่าง​ๆ​ ​ที่​เข้า​มา​ใน​ชีวิต​ ​อย่าง​ไม่​ทุกข์​ใจ​ ​ดุจ​ว่า​สิ่ง​เหล่า​นั้น​เป็น​ เสมือน​ฤดูกาล​ที่​ผ่าน​เข้า​มา​ใน​ชีวิต​ ​บาง​ครั้ง​ร้อน​บาง​ครั้ง​หนาว​ ​ทุก​สิ่ง ​ ทุก​อย่าง​ล้วน​เป็น​ไป​ตาม​ธรรมดา​ของ​โลก​ ​ พระ​เครื่อง​หรือ​พระ​บูชา​ต่างๆ​ ​ที่​ท่าน​อธิษฐาน​ปลุก​เสก​ให้​แล้ว​นั้น​ ปรากฏ​ผล​แก่​ผู้​บูชา​ใน​ด้าน​ต่างๆ​ ​เช่น​ ​แคล้วคลาด​ฯลฯ ​นั่น​ก็​เป็น​เพียง​ ผลพลอยได้​ ​ซึ่ง​เป็น​ประโยชน์​ทาง​โลกๆ​ ​แต่​ประโยชน์​ที่​ท่าน​สร้าง​มุ่ง​หวัง​ อย่าง​แท้จริง​นั้น​ก็​คือ​ ​ใช้​เป็น​เครื่อง​มือ​ในก​าร​ปฏิบัติ​ภาวนา​ ​มี​พุทธ​านุ​สติ​ กรรม​ฐาน​ ​เป็นต้น​ ​นอกจาก​นี้​แล้ว​ผู้​ปฏิบัติ​ยัง​ได้​อาศัย​พลังจิต​ที่​ท่าน​ตั้งใจ​ บรรจุ​ไว้​ใน​พระ​เครื่อง​ช่วย​น้อมนำ​และ​ประ​คับ​ประคอง​ให้​จิต​รวม​สงบ​ได้​ เร็ว​ขึ้น​ ​ตลอด​ถึง​การ​ใช้​เป็น​เครื่อง​เสริม​กำลัง​ใจ​และ​ระงับ​ความ​หวาด​วิตก​ ในขณะ​ปฏิบัต ิ​ ​ถือ​เป็น​ประโยชน์​ทาง​ธรรม​ซึ่ง​ก่อ​ให้​เกิด​พัฒนาการ​ทาง​จิต​ ของ​​ผู้​ใช้​ไป​สู่​การ​พึ่งพา​ตนเอง​ได้​ใน​ที่สุด​ www.luangpudu.com


15

๑๕

​ จาก​ทเ​่ี บือ้ ง​ตน้ ​เ​รา​ได้อ​ าศัย​พ​ ทุ ธ​งั ​ส​ รณ​งั ​ ค​ จั ฉา​ม ​ิ ธมั มัง ​ ส​ รณ​งั ​ค​ จั ฉา​ม​ิ และ​ ​สังฆ​ัง​ ​สรณ​ัง​ ​คัจฉา​มิ​ ​คือ​ยึด​เอา​พระพุทธ​ ​พระ​ธรรม​ ​พระ​สงฆ์​ ​เป็น​ สรณะ​จ​ น​จติ ข​ อง​เรา​เกิดศ​ รัทธา​โ​ดย​เฉพาะ​อย่าง​ยงิ่ ท​ เ​ี่ รา​เรียก​กนั ว​ า่ ​ต​ ถาคต​ โพธิ​สัทธา​ ​คือ​เชื่อ​ปัญญา​ตรัสรู้​ของ​พระพุทธเจ้า​ขึ้น​แล้ว​ ​เรา​ก็​ย่อม​เกิด​ กำลังใ​จ​ขนึ้ ว​ า่ พ​ ระพุทธ​องค์เ​ดิมก​ เ​็ ป็นค​ น​ธรรมดา​เช่นเ​ดียว​กบั เ​รา​ค​ วาม​ผดิ ​ พลาด​พระองค์​ก็​เคย​ทรง​ทำ​มา​ก่อน​ ​แต่​ด้วย​ความ​เพียร​ประกอบ​กับ​พระ​​ สติ​ปัญญา​ที่​ทรง​อบรม​มา​ดีแล้ว​ ​จึง​สามารถ​ก้าว​ข้าม​วัฏฏะ​สงสาร​สู่​ความ​ หลุด​พ้น​ ​เป็นการ​บุก​เบิก​ทาง​ที่​เคย​รกชัฏ​ให้​พวก​เรา​ได้​เดิน​กัน​ ​ดัง​นั้น​ ​เรา​ ซึง่ เ​ป็นม​ นุษย์เ​ช่นเ​ดียว​กบั พ​ ระองค์​ก​ ย​็ อ่ ม​ทจ​ี่ ะ​มศ​ี กั ยภาพ​ทจ​ี่ ะ​ฝกึ ฝน​อบรม​ กาย​ ​วาจา​ ​ใจ​ ​ด้วย​ตัว​เรา​เอง​ได้​เช่น​เดียว​กับ​ที่​พระองค์​ทรง​กระทำ​มา​ ​พูด​ อีก​อย่าง​หนึ่ง​ก็​คือ​​กาย​​วาจา ​ใจ​​เป็น​สิ่ง​ที่​ฝึกฝน​อบรม​กัน​ได้​​ใช่​ว่า​จะ​ต้อง​ ปล่อย​ให้​ไหล​ไป​ตาม​ยถากรรม​​ ​ เมื่อ​จิต​เรา​เกิด​ศรัทธา​ดัง​ที่​กล่าว​มา​นี้​แล้ว​ ​ก็​มี​การ​น้อม​​นำ​เอา​ข้อ​ ธรรม​คำ​สอน​ต่าง​​ๆ​​มา​ประพฤติ​ปฏิบัติ​ขัดเกลา​กิเลส​ออก​จาก​ใจ​ตน​​จิตใจ​ ของ​เรา​ก็​จะ​เลื่อน​ชั้น​จาก​ปุถุชน​ที่​หนา​แน่น​ด้วย​กิเลส​ ​ขึ้น​สู่​กัลยาณ​ชน​​ และ​​อริย​ชน​ ​เป็น​ลำดับ​ ​เมื่อ​เป็น​ดังนี้​แล้ว​ใน​ที่สุด​เรา​ก็​ย่อม​เข้า​ถึงที่​พึ่ง​คือ ​ ตัว​เรา​เอง​ ​อัน​เป็น​ที่​พึ่ง​ที่แท้​จริง​เพราะ​กาย​ ​วาจา​ ​ใจ​ ​ที่​ได้​ผ่าน​ขั้น​ตอน​ การ​ฝึกฝนอบรม​โดย​การ​​เจริญ​ศีล​ ​สมาธิ​ ​และ​ปัญญา​แล้ว​ ​ย่อม​กลาย​เป็น ​ กาย​สจุ ริต​ว​ าจาสุจริต​แ​ ละ​มโน​สจุ ริต​ก​ ระทำ​สงิ่ ใ​ด​พ​ ดู ส​ งิ่ ใ​ด​ค​ ดิ ส​ งิ่ ใ​ด​ก​ ย็ อ่ ม​ หา​โ​ทษ​มไิ ด้​ถ​ งึ เ​วลา​นนั้ แ​ ม้พ​ ระ​เครือ่ ง​ไม่ม​ี ก​ ไ​็ ม่อ​ าจ​ทำให้เ​รา​เกิดค​ วาม​ห​ วัน่ ​ ไหว​​หวาด​กลัว​​ขึ้น​ได้​เลย​ www.luangpudu.com


๑๖

16

​เปี่ยม​ด้วย​เมตตา​

​ นึกถึงส​ มัยพ​ ทุ ธ​กาล​เ​มือ่ พ​ ระพุทธ​องค์ท​ รง​ประชวร​หนักค​ รัง้ ส​ ดุ ท้าย​ แห่งก​ าร​ปรินพิ พาน​ท​ า่ น​พระ​อานนท์ผ​ อ​ู้ ปุ ฏั ฐาก​พระองค์อ​ ยูต​่ ลอด​เวลา​ได้​ ห้าม​มานพ​ผู้​หนึ่ง​ซึ่ง​ขอร้อง​จะ​ขอ​เข้า​เฝ้า​พระพุทธเจ้า​ขณะ​นั้น​ ​ พระ​อานนท์​คัด​ค้า​นอย่างเด็ด​ขาด​ไม่​ให้​เข้า​เฝ้า​​แม้​มานพ​ขอร้อง​ถึง​ ๓​ ​ครั้ง​ ​ท่าน​ก็​ไม่​ยอม​ ​จน​กระทั่ง​เสียง​ขอ​กับ​เสียง​ขัด​ดัง​ถึง​พระพุทธ​องค์​​ พระพุทธ​องค์จ​ งึ ต​ รัสว​ า่ ​“​ อ​ านนท์​อ​ ย่าห​ า้ ม​มานพ​นนั้ เ​ลย​จ​ ง​ให้เ​ข้าม​ า​เดีย๋ ว​ นี”​้ ​เ​มือ่ ไ​ด้ร​ บั อ​ นุญาต​แล้ว​ม​ านพ​ก​ เ​็ ข้าเ​ฝ้าพ​ ระพุทธเจ้าไ​ด้ฟ​ งั ธ​ รรม​จ​ นบรรลุ​ มรรคผล​แล้ว​ขอ​บวช​เป็น​พระ​สาวก​องค์​สุดท้าย​มี​นาม​ว่า​​“​พระ​สุภ​ัท​ทะ​”​ ​ พระ​อานนท์​ท่าน​ทำ​หน้าที่​ของ​ท่าน​ถูก​ต้อง​แล้ว​ ​ไม่มี​ความ​ผิด​ อัน​ใด​เลย​แม้แต่​น้อย​ ​ส่วน​ที่​พระพุทธเจ้า​ให้​เข้า​เฝ้า​นั้น​เป็น​ส่วน​พระ​ มหากรุณาธิคุณ​ของ​พระองค์​ที่​ทรง​มี​ต่อ​สรรพ​สัตว์​ทั้ง​หลาย​โดย​ไม่มี​ ประมาณ​ย​ อ่ ม​แผ่ไ​พศาล​ไป​ทวั่ ท​ งั้ ส​ าม​โลก​พ​ ระ​สาวก​รนุ่ ห​ ลังก​ ระทัง่ ถ​ งึ พ​ ระ​ เถระ​หรือ​ครูบา​อาจารย์​ผู้​สูง​อายุ​โดย​ทั่วไป​ที่​มี​เมตตา​สูง​ ​รวม​ทั้ง​หลวง​พ่อ​ ย่อม​เป็นท​ เ​ี่ คารพ​นบั ถือข​ อง​ชน​หมูม​่ าก​ท่าน​กอ​็ ทุ ศิ ช​ วี ติ เ​พือ่ ก​ จิ พ​ ระ​ศาสนา​​ ก็​ไม่​ค่อย​คำนึง​ถึง​ความ​ชรา​​อาพาธ​ของ​ท่าน​ ​เห็น​ว่า​ผู้​ใด​ได้​ประโยชน์​จาก การ​บูชา​สัก​การ​ะ​ท่าน​ท่าน​ก็​อำนวย​ประโยชน์​นั้น​แก่​เขา​ ​ เมื่อ​ครั้ง​ที่​หลวง​ปู่​อาพาธ​อยู่​ ​ได้​มี​ลูก​ศิษย์​กราบ​เรียน​ท่าน​ว่า​ ​“​รู้สึก​ เป็น​ห่วง​หลวง​ปู่​”​ ​ท่าน​ได้​ตอบ​ศิษย์​ผู้​นั้น​ด้วย​ความ​เมตตา​​ว่า​ “​ ​ห่วง​ตัว​แก ​ เอง​เถอะ​”​ ​อีก​ครั้ง​ที่​ผู้​เขียน​เคย​เรียน​หลวง​ปู่​ว่า ​“​ขอ​ให้​หลวง​ปู่​พัก​ผ่อน ​ มาก​ๆ​”​ www.luangpudu.com


17

๑๗

หลวง​ปต​ู่ อบ​ทนั ทีว​ า่ ​“​ พ​ กั ไ​ม่ไ​ด้​ม​ ค​ี น​เขา​มา​กนั ม​ าก​บ​ างทีก​ ลางคืน เ​ขา​กม​็ า​กนั ​เ​รา​เหมือน​นก​ตวั นำ​เ​รา​เป็นค​ รูเ​ขา​น​ี่ ค​ รู.​.​.​​เ​ขา​ตร​ี ะฆังไ​ด้เ​วลา​ สอน​แล้ว​ก็​ต้อง​สอน​​ไม่​สอน​ได้​ยัง​ไง​”​ ​ ชีวิต​ของ​ท่าน​เกิด​มา​เพื่อ​เกื้อกูล​ธรรม​แก่​ผู้​อื่น​ ​แม้​จะ​อ่อน​เพลีย ​ เมื่อย​ล้า​สัก​เพียง​ใด​ ​ท่าน​ก็​ไม่​แสดงออก​ให้​ใคร​ต้อง​รู้สึก​วิตก​กังวล​หรือ​ ลำบาก​ใจ​แต่​อย่าง​ใด​เลย​ ​เพราะ​อาศัย​ความ​เมตตา​เป็น​ที่​ตั้ง​ ​จึง​อาจ​กล่าว​ ได้​ว่า​ ​ปฏิปทา​ของ​ท่าน​เป็น​ดั่ง​พระ​โพธิ​สัตว์​หรือ​หน่อ​พุทธ​ภูมิ​ ​ซึ่ง​เห็น​ ประโยชน์​ของ​ผู้​อื่น​มาก​กว่า​ประโยชน์​ส่วน​ตน​ดัง​เช่น​ ​พระ​โพธิ​สัตว์​หรือ ห​ น่อพ​ ทุ ธ​ภมู อ​ิ กี ท​ า่ น​หนึง่ ​ค​ อื ​ห​ ลวง​ปทู่ วด​เ​หยียบ​นำ้ ท​ ะเล​จดื ​พ​ ระ​สป​ุ ฏิปนั โ​น​ สมัย​กรุง​ศรีอยุธยา​ ซึ่ง​หลวงปู่ดู่​ได้​สอน​ให้​ลูก​ศิษย์​ให้​ความ​เคารพ​เสมือน​ ครู​อาจารย์​ผู้​ชี้แนะ​แนว​​ทางการ​ปฏิบัติ​อีก​ท่าน​หนึ่ง​ ​หลวงปู่ดู่​ ​ท่าน​ได้​ตัดสิน​ใจ​ไม่​รับ​กิจ​นิมนต์​ออก​นอก​วัด​ตั้ง​แต่​ก่อน​ปี​ พ​.ศ​ .​​๒​ ๔๙๐​ด​ งั น​ นั้ ​ท​ กุ ค​ น​ทต​ี่ งั้ ใจ​ไป​กราบ​นมัสการ​และ​ฟงั ธ​ รรม​จาก​ทา่ น​จะ​ ไม่ผ​ ดิ ห​ วังเ​ลย​วา่ จ​ ะ​ไม่ไ​ด้พ​ บ​ทา่ น​ท​ า่ น​จะ​นงั่ ร​ บั แขก​บน​พนื้ ไ​ม้ก​ ระ​ดาน​แข็งๆ​​ หน้า​กุฏิของ​ท่าน​ทุก​วัน​ตั้ง​แต่​เช้า​จรด​ค่ำ​ ​บาง​วัน​ที่​ท่าน​อ่อนเพลีย​ ​ท่าน​จะ​ เอนกาย​พกั ผ​ อ่ น​หน้าก​ ฏุ ​ิ แ​ ล้วห​ า​อบุ าย​สอน​เด็กว​ ดั โ​ดย​ให้เ​อา​หนังสือธ​ รรมะ​ มา​อ่าน​ให้​ท่าน​ฟัง​ไป​ด้วย​ ​ข้อ​วัตร​ของ​ท่าน​อีก​อย่าง​หนึ่ง​ก็​คือ​ ​การ​ฉัน​อาหาร​มื้อ​เดียว​​ซึ่ง​ท่าน​ กระทำ​มา​ตั้ง​แต่​ประมาณ​ปี​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๐๐​ ​แต่​ภาย​หลัง​คือ​ประมาณ​ปี​ พ​.​ศ​. ​๒๕๒๕​ ​เหล่า​สานุ​ศิษย์​ได้​กราบ​นิมนต์​ให้​ท่าน​ฉัน​ ​๒​ ​มื้อ​ ​เนื่องจาก​ ความ​ชราภาพ​ของ​ท่าน​ ​ประกอบ​กับ​ต้อง​รับแขก​มาก​ขึ้น​ ​ท่าน​จึง​ได้​ผ่อน​ www.luangpudu.com


๑๘

18

ปรน​ตาม​ความ​เหมาะ​ควร​แห่งอ​ ตั ภาพ​ท​ งั้ จ​ ะ​ได้เ​ป็นการ​โปรด​ญาติโยม​จาก​ ที่​ไกล​ๆ​​ที่​ตั้งใจ​มา​ทำบุญ​ถวาย​ภัต​ตา​หาร​แด่​ท่าน​ ​ หลวง​ปู่ ​แ ม้ ​จ ะ​ช ราภาพ​ม าก​แ ล้ ว ​ ​ท่ า น​ก็ ​ยั ง ​อุ ต ส่ า ห์ ​นั่ ง ​รั บ ​แขก​ ทีม่ าจาก​ทศิ ต​ า่ ง​ๆ​ ​ว​ นั แ​ ล้วว​ นั เ​ล่า​ศ​ ษิ ย์ท​ กุ ค​ น​กต​็ งั้ ใจ​มา​เพือ่ ก​ ราบ​นมัสการ​ ท่าน​ ​บาง​คน​ก็​มา​เพราะ​มี​ปัญหา​หนักอก​หนักใจ​แก้ไข​ด้วย​ตนเอง​ไม่​ได้​ ​จึง​ มุ่ง​หน้า​มา​เพื่อ​กราบ​เรียน​ถาม​ปัญหา​เพื่อ​ให้​คลาย​ความ​ทุกข์​ใจ​​บาง​คน​มา​ หา​ทา่ น​เพือ่ ต​ อ้ งการ​ของดี​เ​ช่นเ​ครือ่ งราง​ของ​ขลัง​ซ​ งึ่ ก​ ม​็ กั ได้ร​ บั คำ​ตอบ​จาก​ ท่าน​ว่า​​“​ของดี​นั้น​อยู่​ที่​ตัว​เรา​​พุทธ​ัง​​ธัมมัง​​สังฆ​ัง​​นี่​แหละ​ของดี​”​ ​บาง​คน​มา​หา​ท่าน​เพราะ​ได้ยิน​ข่าว​เล่า​ลือ​ถึง​คุณ​ความ​ดี​ศีล​า​จา​ริยวัตร​ของ​ท่าน​ใน​ด้าน​ต่างๆ​ ​บาง​คน​มา​หา​ท่าน​เพื่อ​ขอ​หวย​หวัง​รวย​ทาง​ลัด​ โดย​ไม่​อยาก​ทำงาน​​แต่​อยาก​ได้​เงิน​มาก​ๆ​ ​บาง​คน​เจ็บ​ไข้​ไม่​สบาย​ก็​มา​เพื่อ​ให้​ท่าน​รดน้ำ​มนต์​​เป่า​หัว​ให้​​มา​ขอ ด​อก​บัว​บูชา​พระ​ของ​ท่าน​เพื่อ​นำ​ไป​ต้ม​ดื่ม​ให้​หาย​จาก​โรค​​ภัย​ไข้​เจ็บ​ต่าง​ๆ​​ นานา​สารพัน​ปัญหา​ ​แล้ว​แต่​ใคร​จะ​นำ​มา​เพื่อ​หวัง​ให้​ท่าน​ช่วย​ตน​ ​บาง​คน​ ไม่​เคย​เห็น​ท่าน​ก็​อยาก​มา​ดู​ว่า​ท่าน​มี​รูป​ร่าง​​หน้าตา​อย่างไร​​บ้าง​แค่​มา​เห็น​ ก็​เกิด​ปีติ​​สบาย​อก​สบายใจ​จน​ลืม​คำถาม​หรือ​หมด​คำถาม​ไป​เลย​ ​ หลาย​คน​เสีย​สละ​เวลา​ ​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​เดิน​ทาง​ไกล​มา​เพื่อ​พบ​ท่าน​​ ด้วย​เหตุ​นี้​ ​ท่าน​จึง​อุตส่าห์​นั่ง​รับแขก​อยู่​ตลอด​วัน​โดย​ไม่​ได้​พัก​ผ่อน​เลย​​ และ​ไม่​เว้น​แม้​ยาม​ป่วย​ไข้​ ​แม้​นาย​แพทย์​ผู้​ให้การ​​ดูแล​ท่าน​อยู่​ประจำ​จะ​ ขอร้องท่าน​อย่างไร​ ​ท่าน​ก็​ไม่​ยอม​ตาม​ด้วย​​เมตตา​สงสาร​ ​และ​ต้องการ​ให้​ กำลัง​ใจ​แก่​ญาติโยม​ทุก​คน​ที่มา​​พบ​ท่าน​ www.luangpudu.com


19

​ท่าน​เป็น​ดุจ​พ่อ​

๑๙

​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​เป็น​ดุจ​พ่อ​ของ​ลูก​ศิษย์​ทุก​ๆ​ ​คน​ ​เหมือน​อย่าง​ที่​ พระกรรม​ฐาน​สาย​พระ​อาจารย์ม​ นั่ ​เ​รียก​หลวง​ปม​ู่ นั่ ว​ า่ ​“​ พ​ อ่ แ​ ม่ค​ รูอ​ าจารย์”​ ​ ​ซึ่ง​ถือ​เป็น​คำ​ยกย่อง​อย่าง​สูง​ ​เ​พื่อ​ให้​สม​ฐานะ​อัน​เป็น​ที่​รวม​แห่ง​ความ​เป็น​ กัลยาณมิตร​ ​ หลวงปู่ดู่​ท่าน​ให้การ​ต้อนรับ​แขก​อย่าง​เสมอ​หน้า​กัน​หมด​ ​ไม่มี​การ​ แบ่ง​ชั้น​วรรณะ​ ​ท่าน​จะ​พูด​ห้าม​ปราม​ ​หาก​มี​ผู้​มา​เสนอ​ตัว​เป็น​นาย​หน้า​ คอย​จัดแจง​เกี่ยว​กับ​แขก​ที่​เข้า​มา​นมัสการ​​ท่าน​ ​ถึง​แม้​จะ​ด้วย​เจตนา​ดี​ ​อัน​เกิด​จาก​ความ​ห่วงใย​ใน​สุขภาพ​ของ​​ท่าน​ก็ตาม​ ​เพราะ​ท่าน​ทราบ​ดี​ว่า​ มี​ผู้​ใฝ่​ธรรม​จำนวน​มาก​ที่​อุตส่าห์​เดิน​ทาง​มา​ไกล​​เพื่อ​นมัสการ​และ​ซัก​ถาม​ ข้อ​ธรรม​จาก​ท่าน​ ​หาก​​มา​ถึง​แล้ว​ยัง​ไม่​สามารถ​เข้า​พบท่าน​ได้​โดย​สะดวก​ ก็​จะ​ทำให้​เสีย​กำลังใจ​ ​ นีเ​้ ป็นเ​มตตา​ธรรม​อย่าง​สงู ซ​ งึ่ น​ บั เ​ป็นโ​ชค​ดข​ี อง​บรรดา​ศษิ ย์ท​ งั้ ห​ ลาย​ ไม่ว​ า่ ใ​กล้ห​ รือไ​กล​ท​ ส​ี่ ามารถ​มโ​ี อกาส​เข้าก​ ราบ​นมัสการ​ทา่ น​ได้โ​ดย​สะดวก​​ หาก​มี​ผู้​สนใจ​การ​ปฏิบัติ​กรรม​ฐาน​มา​หา​ท่าน​​ท่าน​จะ​เมตตา​สนทนา​ธรรม​ เป็น​พิเศษ​ ​อย่าง​ไม่​เห็น​แก่​เหน็ดเหนื่อย​ ​บาง​ครั้ง​หลวง​พ่อ​ก็​มิได้​กล่าว​ อะไร​มาก​​เพียง​การ​ทักทาย​ศิษย์​ด้วย​ถ้อย​คำ​สั้น​ๆ​​เช่น​​“​เอ้​า​.​.​.​กิน​น้ำ​ชา​สิ​”​ ห​ รือ​“​วา่ ไ​ง​..​.​”​ ฯ​ ลฯ ​เ​ท่าน​ ก​ี้ เ​็ พียง​พอทีย​่ งั ป​ ตี ใ​ิ ห้เ​กิดข​ นึ้ ก​ บั ศ​ ษิ ย์ผ​ น​ู้ นั้ เ​หมือน​ ดังหยาด​น้ำ​ทิพย์​ชโลม​ให้​เย็น​ฉ่ำ​ ​เกิด​ความ​สดชื่น​ตลอด​ร่าง​​กาย​ ​จน​.​.​. ​ ถึง​จิต​.​.​.​ถึงใจ​ ​ หลวงปูด่ ท​ู่ า่ น​ให้ค​ วาม​เคารพ​ใน​องค์ห​ ลวง​ปทู่ วด​อย่าง​มาก​ท​ งั้ ก​ ล่าว​ www.luangpudu.com


๒๐

20

ยกย่อง​ใน​ความ​ที่​เป็น​ผู้​ที่​มี​บารมี​ธรรม​เต็ม​เปี่ยม​ตลอด​ถึง​การ​ที่​จะ​ได้​มา​ ตรัสรู้​ธรรม​ใน​อนาคต​ ​ให้​บรรดา​ลูก​ศิษย์​ทั้ง​หลาย​ยึด​มั่น​และ​หมั่น​ระลึก​ ถึง​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​เมื่อ​ติดขัด​ใน​​ระหว่าง​การ​ปฏิบัติ​ธรรม​ ​หรือ​แม้แต่​ ประสบ​ปัญหา​ใน​ทาง​โลกๆ​​ ท่าน​ว่า​หลวง​ปู่ทวด​ท่าน​คอย​จะ​ช่วย​เหลือ​ทุก​ คน​อยู่​แล้ว​​แต่​ขอ​ให้​ทุก​คน​อย่า​ได้​ท้อถอย​หรือ​ละทิ้ง​การ​ปฏิบัติ​

​หลวงปู่ดู่​กับ​ครู​อาจารย์​ท่าน​อื่น​

​ ใน​ระหว่าง​ป​ี ​พ​.​ศ​.​​๒๕๓๐​​-​​๒๕๓๒​​ได้​ม​พี ระ​เถระ​และ​ครูบาอาจารย์ หลาย​ท่าน​เดิน​ทาง​มา​เยี่ยมเยียน​หลวงปู่ดู่​ ​เช่น​หลวง​ปู่​บุด​ดา​ ​ถา​วโร​​ วัดกลาง​ชู​ศรี​เจริญสุข​ ​จังหวัด​สิงห์บุรี​ ท่าน​เป็น​พระ​เถระ​ซึ่ง​มีอายุ​ย่าง​เข้า​​ ๙๖​​ปี​​ก็​ยัง​เมตตา​มา​เยี่ยม​​หลวงปู่ดู่​​ที่​วัด​สะแก​ถึง​​๒​​ครั้ง​​และ​บรรยากาศ​ ของ​การ​พบ​กัน​ของ​​ท่าน​ทั้ง​สอง​นี้​ ​เป็น​ที่​ประทับ​ใจ​ผู้​ที่​อยู่​ใน​เหตุการณ์​ อย่าง​ยิ่ง​​เพราะ​ต่าง​องค์​ต่าง​อ่อนน้อม​ถ่อม​ตน​​ปราศ​จาก​การ​แสดงออก​ซึ่ง ​ทิฏฐิ​มา​นะ​ใดๆ​​เลย​​แป้ง​เสก​ที่​หลวง​ปู่​บุด​ดา​เมตตา​มอบ​ให้​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ ก็​เอา​มา​ทา​ที่​ศีรษะ​เพื่อ​แสดง​ถึง​ความ​เคารพ​อย่าง​สูง​ ​ พระ​เถระ​อกี ท​ า่ น​หนึง่ ​ซ​ งึ่ ไ​ด้เดินท​ าง​มา​เยีย่ ม​หลวงปูด่ ค​ู่ อ่ น​ขา้ ง​บอ่ ย​ ครั้ง​​คือ​​หลวง​ปู่​โง่​น​​โสร​โย​​วัด​พระพุทธบาท​เขา​รวก ​จังหวัด​พิจิตร​​ท่าน​ มีค​ วาม​หว่ งใย​ใน​สขุ ภาพ​ของ​หลวงปูด่ อ​ู่ ย่าง​มาก​โดย​ได้ส​ งั่ ใ​ห้ล​ กู ศ​ ษิ ย์จ​ ดั ท​ ำ​ ป้าย​กำหนด​เวลา​รับแขก​ใน​แต่ละ​วัน​ของ​หลวงปู่ดู่​​เพื่อ​เป็นการ​ถนอม​ธาตุ​ ขันธ์ข​ อง​หลวง​พอ่ ใ​ห้อ​ ยูไ​่ ด้น​ าน​ๆ แต่อ​ ย่างไร​กด​็ ​ี ไ​ม่ช​ า้ ไ​ม่น​ าน​ห​ ลวงปูด่ ท​ู่ า่ น​ ก็​ให้​นำ​ป้าย​ออก​ไป​เพราะ​เหตุ​แห่ง​ความ​เมตตา​ที่​ท่าน​มี​ต่อ​ผู้คน​ทั้ง​หลาย​ www.luangpudu.com


21

๒๑

​ ใน​ระยะ​เวลา​เดียวกัน​นั้น​ ​ครูบา​บุญ​ชุ่ม​ ​ญาณ​สังวโร​ วัด​พระ​ธาตุ ​ ดอน​เรือง​ ​ท่าน​เป็น​ศิษย์​ของ​หลวง​ปู่​โง่​น​ ​โสร​โย​ ​ก็ได้​เดิน​ทาง​มาก​ราบ​ นมัสการ​หลวงปู่ดู่​ ​๒​ ​ครั้ง​ ​โดย​ท่าน​ได้​เล่า​ให้​ฟัง​ภาย​หลัง​ว่า​ ​เมื่อ​ได้​มา​พบ​ หลวงปู่ดู่​​จึง​ได้​รู้​ว่า​หลวงปู่ดู่​ก็​คือ​พระ​ภิกษุ​ชราภาพ​ที่​ไป​สอน​ท่าน​ใน​สมาธิ​ ใน​ช่วง​ที่​ท่าน​อธิษฐาน​​เข้า​กรรม​ปฏิบัติ​ไม่​พูด​ ​๗​ ​วัน​ ​ซึ่ง​ท่าน​ก็ได้​แต่​กราบ​ ระลึก​ถึง​อยู่​ตลอด​​ทุก​วัน​​โดย​ไม่รู้​ว่า​พระ​ภิกษุ​ชราภาพ​รูป​นี้​คือ​ใคร​​กระทั่ง​ ได้​มี​โอกาส​​มา​พบ​หลวงปู่ดู่​ที่​วัด​สะแก​ ​เกิด​รู้สึก​เหมือน​ดัง​พ่อ​ลูก​ที่​จาก​กัน​ ไป​​นาน​ๆ​ ​แม้​ครั้ง​ที่​ ​๒​ ​ที่​พบ​กับ​หลวงปู่ดู่​ ​หลวงปู่ดู่​ก็ได้​พูด​สอน​ให้ท่าน​เร่ง​ ความ​เพียร​​เพราะ​หลวง​พ่อ​จะ​อยู่​อีก​ไม่​นาน​ ​ ครูบา​บุญ​ชุ่ม​ยัง​ได้​เล่า​ว่า​ ​ท่าน​ตั้งใจ​จะ​กลับ​ไป​วัด​สะแก​อีก​เพื่อ​หา​ โอกาส​ไป​อุปัฏฐาก​หลวงปู่ดู่​ ​แต่​แล้ว​เพียง​ระยะ​เวลา​ไม่​นาน​นัก​ ​ก็ได้​ข่าว​ ว่า​หลวงปู่ดู่​มรณภาพ​ ​ยัง​ความ​สลด​สังเวช​ใจ​แก่​ท่าน​ ท่าน​ได้​เขียน​บันทึก​ ความ​รู้สึก​ใน​ใจ​ของ​ท่าน​ไว้​ใน​หนังสือ​งาน​พระ​​ราช​ทาน​เพลิง​ศพ​หลวงปู่ดู่​ ตอน​หนึ่ง​ว่า​ “​.​.​.​หลวง​ปู่​ท่าน​มรณภาพ​สิ้น​ไป​ ​เปรียบ​เสมือน​ดวง​อาทิตย์​ ที่​ให้​ ความ​สว่าง​ส่อง​แจ้ง​ใน​โลก​​ดับ​ไป​ ​อุปมา​เหมือน​ดัง​ดวง​ประทีป​ที่​ให้​ความ​ สว่างไสว​แก่​ลูก​ศิษย์​ได้​ดับ​ไป​ ​ถึง​แม้​พระ​เดช​​พระคุณ​หลวง​ปู่​ได้​มรณะ​ไป​ แล้ว​ ​แต่​บุญ​ญา​บารมี​ที่​ท่าน​แผ่​เมตตาและ​รอย​ยิ้ม​อัน​อิ่ม​เอิบ​ยัง​ปรากฏ​ ฝัง​อยู่​ใน​ดวงใจ​อาตมา​ ​มิ​อาจ​ลืม​ได้​... ถ้า​หลวง​ปู่​มี​ญาณ​รับ​ทราบ​ ​และ​ แผ่​เมตตา​ลูก​ศิษย์​ลูก​หา​ทุก​คน​ ​ขอ​ให้​พระ​เดช​พระคุณ​หลวง​ปู่​เข้า​สู่​ www.luangpudu.com


๒๒

22

พระ​นิพพาน​เป็น​อม​ตะ​แด่​ท่าน​เทอญ​ ​กระผมขอก​ราบ​คารวะ​พระ​เดช-​ พระคุณ​หลวง​ปู่​ดู่​พรหม​ปัญโญ​​ด้วย​ความ​เคารพ​สูงสุด​”​ ​ นอกจากนี ้ ยังม​ พ​ี ระ​เถระ​อกี ร​ ปู ห​ นึง่ ท​ ค​ี่ วร​กล่าว​ถงึ ​เ​พราะ​หลวงปูด่ ​ู่ ให้ค​ วาม​ยกย่อง​มาก​ใน​ความ​เป็นผ​ ม​ู้ ค​ี ณ ุ ธ​ รรม​สงู ​แ​ ละ​เป็นแ​ บบ​อย่าง​ของ​ผท​ู้ ​ี่ มีค​ วาม​เคารพ​ใน​พระ​รตั นตรัยเ​ป็นอ​ ย่าง​ยงิ่ ​ซ​ งึ่ ห​ ลวงปูด่ ไ​ู่ ด้แ​ นะนำ​สานุศ​ ษิ ย์​ ให้​ถือ​ท่าน​เป็น​ครู​อาจารย์​อีก​ท่าน​หนึ่ง​ด้วย​​นั่น​ก็​คือ​หลวง​พ่อ​เกษม​​เขม​โก​​ แห่ง​สุสาน​ไตร​ลักษณ์​​จังหวัด​ลำปาง​

​ปัจฉิม​วาร​

​ นับ​แต่​ ​พ​.​ศ​.​ ​๒๕๒๗​ ​เป็นต้น​มา​ ​สุขภาพ​ของ​หลวง​ปู่​เริ่ม​แสดง ​ไตร​ลักษณะ​ให้​ปรากฏ​อย่าง​ชัดเจน​ ​สังขาร​ร่างกาย​ของ​หลวง​ปู่​ซึ่ง​ก่อ​เกิด​ มา​จาก​ธาตุ​ดิน​ ​น้ำ​ ​ลม​ ​ไฟ​ ​และ​มี​ใจ​ครอง​เหมือน​เรา​ๆ​ ​ท่าน​ๆ​ ​เมื่อ​สังขาร​ ผ่าน​มา​นาน​วัน​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ถ้า​มี​การ​ใช้​งาน​มาก​ ​และ​พัก​ผ่อน​น้อย​​ ความ​ทรุด​โทรม​ก็​ย่อม​เกิด​เร็ว​ขึ้น​กว่า​ปรกติ​ ​กล่าว​คือ​ ​สังขาร​ร่างกาย​ของ​ ท่าน​ได้​เจ็บ​ป่วย​อ่อนเพลีย​ลง​ไป​​เป็น​ลำดับ​ ​ใน​ขณะ​ที่​บรรดา​ลูก​ศิษย์​ลูก​ หา​ทั้ง​ญาติโยม​และ​บรรพชิต​ก็​หลั่ง​ไหล​กัน​มา​นมัสการ​ท่าน​เพิ่ม​ขึ้น​ทุก​วัน​ ใ​น​ทา้ ย​ทสี่ ดุ แ​ ห่งช​ วี ติ ข​ อง​หลวงปูด่ ​ู่ ด​ ว้ ย​ปณิธาน​ทต​ี่ งั้ ไ​ว้ว​ า่ ​“​ ส​ แ​ู้ ค่ต​ าย​”​ท​ า่ น​ ใช้​ความ​อดทน​อด​กลั้น​อย่าง​สูง​ ​แม้​บาง​ครั้ง​จะ​มี​โรค​มา​เบียดเบียน​อย่าง​ หนัก​ท่าน​ก็​อุตส่าห์​ออก​โปรด​ญาติโยม​เป็น​ปกติ​ ​พระ​ที่​อุปัฏฐาก​ท่าน​ได้​ เล่า​ให้​ฟัง​ว่า ​บาง​ครั้ง​ถึง​ขนาด​ที่​ท่าน​ต้อง​พยุง​ตัว​เอง​ขึ้น​ด้วย​อาการ​สั่น​และ​ มี​น้ำตา​คลอ​เบ้า​ ​ท่าน​ก็​ไม่​เคย​ปริปาก​ให้​ใคร​ต้อง​เป็น​กังวล​เลย ​ใน​ปี​ท้าย​ๆ​ www.luangpudu.com


23

๒๓

ท่าน​ถูก​ตรวจ​พบ​ว่า​เป็น​โรค​ลิ้น​หัวใจ​รั่ว​ ​แม้​นาย​แพทย์​จะ​ขอร้อง​ท่าน​เข้า​ พัก​รักษา​ตัว​ที่​โรง​พยาบาล​ ​ท่าน​ก็​ไม่​ยอม​ไป​ ​ท่าน​​เล่า​ให้​ฟัง​ว่า​ ​“​แต่​ก่อน ​เรา​เคย​อยาก​ดี​ ​เมื่อ​ดแี ล้ว​ก​เ็ อา​ให้​หาย​อยาก​ อย่าง​มาก​ก​ส็ ​แู้ ค่​ตาย​ ใคร​จะ ​เหมือน​ขา้ ​​ขา้ ​บน​ตวั ​ตาย​”​ ​มี​บาง​ครั้ง​ได้​รับ​ข่าว​ว่า​ท่าน​ล้ม​ขณะ​กำลัง​ลุก​เดิน​ออก​จาก​ห้อง​เพื่อ​ ออก​โปรด​ญาติโยม​ ​คือ​ ​ประมาณ​ ​๖​ ​นาฬิกา​ ​อย่าง​ที่​เคย​​ปฏิบัติ​อยู่​ทุก​วัน​ โดย​ปกติ​ใน​ยาม​ที่​สุขภาพ​ของ​ท่าน​แข็ง​แรง​ดี​ ​ท่าน​​จะ​เข้า​จำวัด​ประมาณ​ สี่​ห้า​ทุ่ม​ ​แต่​กว่า​จะ​จำ​วัด​จริง​ๆ​ ​ประมาณ​ ​เที่ยง​​คืน​หรือ​ตี​หนึ่ง​ ​แล้ว​มา​ ตื่น​นอน​ตอน​ประมาณ​ตี​สาม​ ​มา​ช่วง​หลัง​ที่​สุขภาพ​ของ​ท่าน​ไม่​แข็ง​แรง​​ จึง​ตื่น​ตอน​ประมาณ​ตี​สี่​ถึง​ตี​ห้า​​เสร็จ​กิจ​ทำวัตร​เช้า​และ​กิจ​ธุระ​ส่วน​ตัว​แล้ว​ จึง​ออก​โปรด​ญาติโยม​ที่​หน้า​กุฏิ​ ประมาณ​ปลาย​ป​ี พ​ .​ศ​ .​​๒​ ๕๓๒​ห​ ลวงปูด่ พ​ู่ ดู บ​ อ่ ย​ครัง้ ใ​น​ค​ วาม​หมาย​ ว่า​​ใกล้​ถึง​เวลา​ที่​ท่าน​จะ​ละ​สังขาร​นี้​แล้ว​​ใน​ช่วง​ท้าย​ของ​​ชีวิต​ท่าน​​ธรรม​ที่​ ถ่ายทอด​ยงิ่ เ​ด่นช​ ดั ข​ นึ้ ​ม​ ใิ ช่ด​ ว้ ย​เทศนา​ธรรม​ของ​ทา่ น​ห​ าก​แต่เ​ป็นการ​สอน​ ด้วย​การ​ปฏิบัติ​ให้​ดู​ ​โดย​เฉพาะ​อย่าง​ยิ่ง​ปฏิปทา​ใน​เรื่อง​ของ​ความ​อดทน​​ สม​ดัง​ที่​พระ​สัมมา​สัม​พุทธ​เจ้า​ได้​ประทาน​ไว้​ใน​โอ​วาท​ปาฏิ​โมกข์​ว่า​“​ ​ขัน​ตี​ ปรม​ัง​​ตโป​​ตี​ติก​ขา​ความ​อดทน​เป็น​ตบะ​อย่าง​ยิ่ง​”​​แทบ​จะ​ไม่มี​ใคร​เลย​​ นอกจาก​โยม​อปุ ฏั ฐาก​ใกล้ช​ ดิ ท​ ท​ี่ ราบ​วา่ ทีท​่ า่ น​นงั่ ร​ บั แขก​บน​พนื้ ไ​ม้ก​ ระ​ดาน​ แข็งๆ​​ทุก​วันๆ​​ตั้ง​แต่​เช้า​จรด​ค่ำ​​เป็น​ระยะ​เวลา​นับ​สิบ​ๆ​​ปี​​ด้วย​อาการ​​ยิ้ม​ แย้ม​แจ่มใส​ ​ใคร​ทุกข์​ใจมา​ ​ท่าน​ก็​แก้ไข​ให้​ได้​รับ​ความ​สบายใจ​กลับ​ไป​ ​แต่​ เบื้อง​หลัง​ ​ก็​คือ​ ​ความ​ลำบาก​ทาง​ธาตุ​ขันธ์​ของ​ท่าน​ ​ที่​ท่าน​ไม่​เคย​ปริปาก​ www.luangpudu.com


๒๔

24

บอก​ใคร​ ​กระทั่ง​วัน​หนึ่ง​ ​โยม​อุปัฏฐาก​ได้​รับ​การ​​ไหว้​วาน​จาก​ท่าน​ให้​เดิน​ ไป​ซื้อ​ยา​ทา​แผล​ให้​ท่าน​​จึง​ได้​มี​โอกาส​ขอ​ดู​และ​ได้​เห็น​แผล​ที่​ก้น​ท่าน​​ซึ่ง​มี​ ลักษณะ​แตก​ซ้ำ​ๆ​​ซาก​ๆ​​ใน​บริเวณ​​เดิม​​เป็น​ที่​สลด​ใจ​จน​ไม่​อาจ​กลั้น​น้ำตา​ เอา​ไว้​ได้​ ​ท่าน​จึง​เป็น​ครู​ที่​เลิศ​ ​สม​ดัง​พระพุทธ​โอวาท​ที่​ว่า​ ​สอน​เขา​​อย่างไร​​ พึงป​ ฏิบตั ใ​ิ ห้ไ​ด้อ​ ย่าง​นนั้ ​ด​ งั น​ นั้ ​ธ​ รรม​ใน​ขอ้ ​“​ อ​ นัตตา​”ซ​ งึ่ ห​ ลวง​ปท​ู่ า่ น​ยกไว้​ เป็นธ​ รรม​ชนั้ เ​อก​ท​ า่ น​กไ็ ด้ป​ ฏิบตั ใ​ิ ห้เ​ห็นเ​ป็นท​ ป​ี่ ระจักษ์แ​ ก่ส​ ายตา​ของ​ศษิ ย์​ ทั้ง​หลาย​แล้ว​ถึง​ข้อ​ปฏิบัติ​ต่อ​หลัก​อนัตตา​ไว้​อย่าง​บริบูรณ์​ ​จน​แม้​ความ​ อาลัย​อาวรณ์​ใน​สังขาร​ร่างกาย​​ที่​จะ​มา​หน่วง​เหนี่ยว​ ​หรือ​สร้าง​ความ​ทุกข์​ ร้อน​แก่​จิตใจ​ท่าน​ก็​มิได้​ปรากฏ​ให้​เห็น​เลย​ ​ใน​ตอน​บ่าย​ของ​วัน​ก่อน​หน้าที่​ท่าน​จะ​มรณภาพ​ ​ขณะ​ที่​ท่าน​กำลัง​ เอนกาย​พัก​ผ่อน​อยู่​นั้น​ ​ก็​มี​นาย​ทหาร​อากาศ​ผู้​หนึ่ง​มา​กราบ​นมัสการ​ท่าน​​ ซึง่ เ​ป็นการ​มา​ครัง้ แ​ รก​ห​ ลวงปูด่ ไ​ู่ ด้ล​ กุ ข​ นึ้ น​ งั่ ต​ อ้ นรับด​ ว้ ย​ใบหน้าท​ ส​ี่ ดใส​ร​ าศี​ เปล่งปลั่ง​เป็น​พิเศษ​ ​กระทั่ง​บรรดา​​ศิษย์​ ​ณ​ ​ที่​นั่น​ ​เห็น​ผิด​สังเกต​ ​หลวง​ปู่​ แสดง​อาการ​ยินดี​เหมือน​รอ​​คอย​บุคคล​ผู้​นี้​มา​นาน​ ​ท่าน​ว่า​ ​“​ต่อ​ไป​นี้​ ข้าจะ​ได้ห​ าย​เจ็บห​ าย​ไข้เ​สียที”​ ​ไ​ม่มใ​ี คร​คาด​คดิ ม​ า​กอ่ น​วา่ ท​ า่ น​กำลังโ​ปรด ​ลูก​ศิษย์​คน​สุดท้าย​ของ​ท่าน​ ​หลวงปู่ดู่​ท่าน​ได้​แนะนำ​การ​ปฏิบัติ​พร้อม​ทั้ง​ ให้​นั่ง​ปฏิบัติ​ต่อ​หน้า​ท่าน​​ซึ่ง​เขา​ก็​สามารถ​ปฏิบัติ​ได้​ผล​เป็น​ที่​น่า​พอใจ​ท่าน​ ย้ำ​ใน​ตอน​ท้าย​ว่า​“​ ​ข้า​ขอ​ฝาก​ให้​แก​ไป​ปฏิบัติ​ต่อ​”​ ​ ใน​คืน​นั้น​ก็ได้​มี​คณะ​ศิษย์​มาก​ราบ​นมัสการ​ท่าน​ซึ่ง​การ​มา​ใน​ครั้ง​นี้​ ไม่มใ​ี คร​คาด​คดิ ม​ า​กอ่ น​เช่นก​ นั ว​ า่ จ​ ะ​เป็นการ​มา​พบ​กบั ส​ งั ขาร​ธรรม​ของ​ทา่ น​ www.luangpudu.com


25

๒๕

เป็น​ครั้ง​สุดท้าย​แล้ว​ ​หลวงปู่ดู่​ได้​เล่า​ให้​ศิษย์​คณะ​นี้​ฟัง​ด้วย​สีหน้า​ปรกติ​ว่า​ “​ไม่มส​ี ว่ น​หนึง่ ส​ ว่ น​ใด​ใน​รา่ งกาย​ข​ า้ ท​ ไ​ี่ ม่เ​จ็บป​ วด​เลย​ถ​ า้ เ​ป็นค​ น​อนื่ ค​ ง​เข้า​ ห้อง​ไอ​ซย​ี ไ​ู ป​นาน​แล้ว”​ พ​ ร้อม​ทงั้ พ​ ดู ห​ นักแ​ น่นว​ า่ ​“​ ข​ า้ จ​ ะ​ไป​แล้วน​ ะ​”​ท​ า้ ย​ ทีส่ ดุ ท่า​ น​ ก็เ​มตตา​กล่าว​ยำ้ ใ​ห้ท​ กุ ค​ น​ตงั้ อ​ ยูใ​่ น​ความ​ไม่ป​ ระมาท​“​ ถ​ งึ อ​ ย่างไร​ ก็ข​ อ​อย่าไ​ด้ท​ งิ้ ก​ าร​ปฏิบตั ​ิ ก​ เ​็ หมือน​นกั ม​ วย​ขนึ้ เ​วทีแ​ ล้วต​ อ้ ง​ชก​อย่าม​ วั แ​ ต่​ ต​ งั้ ท​ า่ เ​งอะ​ๆ​ง​ ะๆ​”​น​ ด​ี้ จุ เ​ป็นป​ จั ฉิมโ​อวาท​แห่งผ​ เ​ู้ ป็นพ​ ระบรม​ครูข​ อง​ผเ​ู้ ป็น​ ศิษย์​ทุก​คน​​อัน​จะ​ไม่​สามารถ​ลืม​เลือน​ได้​เลย​ ​ หลวงปูด่ ไ​ู่ ด้ล​ ะ​สงั ขาร​ไป​ดว้ ย​อาการ​อนั ส​ งบ​ดว้ ย​โรค​หวั ใจ​ใน​กฏุ ท​ิ า่ น​​ เมื่อ​เวลา​ประมาณ​​๕​​นาฬิกา​ของ​วันพุธ​ที่​​๑๗​​มกราคม​​พ​.​ศ​.​​๒๕๓๓​​อายุ​ ๘๕​ป​ ​ี ๘​ ​เ​ดือน​อ​ ายุพ​ รรษา​๖​ ๕​พ​ รรษา​ส​ งั ขาร​ธรรม​ของ​ทา่ น​ได้ต​ งั้ บ​ ำเพ็ญ​ กุศล​โดย​มี​เจ้า​ภาพ​สวด​อภิ​ธรรม​เรื่อย​มา​ทุก​วัน​มิได้​ขาด​ ​ตลอด​ระยะ​เวลา​​ ๔๕๙​​วัน​จน​กระทั่ง​ได้​รับ​พระราชทาน​เพลิง​ศพ​เป็น​กรณี​พิเศษ ใน​วัน​เสาร์​ ที่​​๒๐​​เมษายน​​๒๕๓๔​ พระคุณ​เจ้า​หลวงปู่ดู่​​พรหม​ปัญโญ​​ได้​อุปสมบท​และ​จำ​พรรษา​อยู่​ ณ​ว​ ดั ส​ ะแก​ม​ า​โดย​ตลอด​จ​ น​กระทัง่ ม​ รณภาพ​ยังค​ วาม​เศร้าโ​ศก​และ​อาลัย​ แก่ศ​ ษิ ยานุศษิ ย์แ​ ละ​ผเ​ู้ คารพ​รกั ท​ า่ น​เป็นอ​ ย่าง​ยงิ่ ​อ​ ปุ มา​ดงั่ ด​ วง​ประทีปท​ เ​ี่ คย​ ให้​ความ​สว่างไสว​แก่​ศิษยานุศิษย์​ได้​ดับ​ไป​ ​แต่​เมตตา​ธรรม​และ​คำ​สั่ง​สอน​ ของ​ท่าน​จะ​ยัง​ปรากฏ​อยู่​ใน​ดวงใจ​ของ​ศิษยานุศิษย์​และ​ผู้​ที่​เคารพ​รัก​ท่าน​ ตลอด​ไป​​ บัดนี้​ ​สิ่ง​ที่​คง​อยู่​มิใช่​สังขาร​ธรรม​ของ​ท่าน​ ​หาก​แต่​เป็น​หลวงปู่ดู่​ องค์​แท้​ที่​ศิษย์​ทุก​คน​จะ​เข้า​ถึง​ท่าน​ได้​ด้วย​การ​สร้าง​คุณ​งาม​ความ​ดี​ให้​เกิด​ ให้​มี​ขึ้น​ที่​ตนเอง​​สม​ดัง​ที่​ท่าน​ได้​กล่าว​ไว้​เป็น​คติ​ว่า​ www.luangpudu.com


๒๖

26

“​ ต​ ราบ​ใด​กต็ าม​ทแ​่ี ก​ยงั ไ​ม่เ​ห็นค​ วาม​ดใ​ี น​ตวั ​ก​ ย​็ งั ไม่น​ บั ว​ า่ แ​ ก​รจู้ กั ข​ า้ ​ แ​ ต่ถ​ า้ เ​มือ่ ใ​ ด​แ​ กเริม่ เ​ห็นค​ วาม​ดใ​ี น​ตวั เ​อง​แล้ว​เ​มือ่ น​ นั้ ... ข้าจ​ งึ ว​ า่ แ​ กเริม่ ​ รู้จัก​ข้า​ดี​ขึ้น​แล้ว​”​ ​ ธรรม​ทั้ง​หลาย​ที่​ท่าน​ได้​พร่ำ​สอน​ ​ทุก​วรรค​ตอน​แห่ง​ธรรม​ที่​บรรดา​ ศิษย์​ได้​น้อมนำ​มา​ปฏิบัติ​ ​นั้น​ก็​คือ​การ​ที่​ท่าน​ได้​เพาะ​เมล็ด​พันธ์​ุแห่ง​ความ​ ดีงาม​บน​ดวงใจ​ของ​ศิษย์​ทุก​คน​ ​ซึ่ง​นับ​วัน​จะ​​เติบ​ใหญ่​ผลิ​ดอก​ออก​ผล​เป็น​ สติ​และ​ปัญญา​บน​ลำต้น​ที่​แข็ง​แรง​คือ​สมาธิ​ ​และ​บน​พื้น​ดิน​ที่​มั่นคง​แน่น​ หนา​คือ​​ศีล​​สม​ดัง​เจตนารมณ์​ที่​ท่าน​ได้​ทุ่มเท​ทั้ง​ชีวิต​​ด้วย​เมตตา​ธรรม​อัน​ ยิ่ง​​อัน​จัก​หา​ได้​ยาก​​ทั้ง​ใน​อดีต​​ปัจจุบัน​​และ​อนาคต​.​.​.​ ​

www.luangpudu.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.