D
O
LO
A
H
C
M ER
SA
IM
N
EC TI
LL
O
C
O
N
D
A N
H IV
C
R
A
E
D
O
LO
A
H
C
M ER
SA
IM
N
EC TI
LL
O
C
O
N
D
A N
H IV
C
R
A
E
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ
ชลูด นิ่มเสมอ
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
C
H IV
E
สายธารแห่งชีวิต สายธารแห่งศิลปะ
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 1
12/15/15 12:53 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 2
12/15/15 12:53 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) พ.ศ. 2541 ศิลปินชั้นเยี่ยม สาขาจิตรกรรม ปี พ.ศ. 2502
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 3
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R
A N
D
A
ศิลปะเริ่มต้นด้วยความงาม จบลงที่ความดี
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
ชลูด นิ่มเสมอ
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 4
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ (2472–2558)
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 5
12/15/15 12:54 AM
พวงมาลาพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพ ิ ลอดุลยเดช ี าถ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิรวิ ฒ ั นาพรรณวดี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินด ั ดามาตุ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าสิรภ ิ าจุฑาภรณ์
H IV
E
พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิตค ิ ณ ุ
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
C
หน้าโกศศพ ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ ชลูด นิม ่ เสมอ ศาลา 1 วัดเทพศิรน ิ ทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 6
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 7
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 8
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 8
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
9
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 9
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 10
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
หมายรับสั่ง ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานน�้ำหลวงอาบศพ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ มีพระพิธีธรรมสวดพระอภิธรรมเวลากลางคืน ก�ำหนด 3 คืน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพวงมาลาวางที่หน้าโกศศพ ในการนี้ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินไป ในการพระราชทานเพลิงศพ ที่เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม 2558 เวลา 17.00 น.
11
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 11
12/16/15 1:57 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 12
12/15/15 12:55 AM
สำ�นึกในพระมหากรุณาธิคุณ
เมื่อนายชลูด นิ่มเสมอ ป.ช., ป.ม, ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) อายุ 86 ปี ได้กราบ ถวายบังคมลาถึงแก่อนิจกรรม เนื่องจากโรคมะเร็งหลอดอาหาร ณ โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร เมื่อวัน
H IV
E
พฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 เวลา 6.45 น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อม พระราชทานน�ำ้ หลวงอาบศพ พร้อมด้วยเครือ ่ งเกียรติยศประกอบศพ พระราชทานโกศแปดเหลีย ่ ม
R
C
ฉัตรเบญจาตั้งประดับ ปี่ กลองชนะ ประโคมเวลาพระราชทานน�ำ้ หลวงอาบศพ และพระราชทานพระพิธีธรรม
A
สวดพระอภิธรรม ก�ำหนด 3 คืน ณ ศาลา 1 วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร
D
ทั้งนี้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ นายสนอง บูรณะ รองราชเลขาธิการ เชิญพวงมาลา
A N
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
N
สยามบรมราชกุมารี ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี และของพระเจ้าวรวงศ์เธอ
O
พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ไปวางหน้าโกศศพ
EC TI
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงพระกรุณาโปรดให้ นายฐากูร พานิช เชิญพวงมาลาของสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า
LL
สิริภาจุฑาภรณ์ และของพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ ไปวางที่หน้าโกศศพ
O
ในการนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินไปในการพระราชทาน
C
เพลิงศพ นายชลูด นิ่มเสมอ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส ในวันอาทิตย์ที่ 27
M ER
ธันวาคม พ.ศ. 2558 เวลา 17.00 น. พระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมทั้งปวงนี้ หากนายชลูด นิ่มเสมอ จะหยั่งทราบโดยญาณวิถีใด
SA
ในสัมปรายภพ คงจะมีความปลาบปลืม ้ ปิติ ซาบซึง้ และส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคณ ุ เป็นล้นพ้น ทีไ่ ด้รบ ั พระราชทาน
IM
เกียรติยศอันสูงสุด ในวาระสุดท้ายแห่งชีวิต
N
ข้าพระพุทธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมกราบถวายบังคมแทบเบื้องพระยุคลบาท ด้วยความส�ำนึก
D
ในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้ และขอเทิดทูนไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมเป็นมงคลสูงสุดแก่วงศ์สกุล
C
H
A
LO
O
สืบไปตลอดกาล
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นางสาวประติมา นิ่มเสมอ และครอบครัวนิ่มเสมอ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชปฏิสันถารกับอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ขณะทรงทอดพระเนตรผลงานศิลปะในนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 13
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 13
12/16/15 1:57 AM
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธาน ในพิธีเปิดนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ โดยมีอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ถวายการต้อนรับ
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
C
H IV
E
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
14
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 14
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 15
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C สงกรานต์, 2498, สีฝุ่นปิดทองบนกระดาษด�ำ, 76.5 x 52.6 ซม. รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 7 ประจ�ำปี พ.ศ. 2499 ผลงานสะสมของทายาทคุณม่ีเซียม ยิบอินซอย
16
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 16
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเป็นองค์ประธานในพิธีเปิดนิทรรศการศิลปกรรมแห่งชาติ โดยมีอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ถวายการต้อนรับแด่ทั้งสองพระองค์ © ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
17
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 17
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C (บน)
(ขวาบน)
(ขวาล่าง)
อาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ถวายการต้อนรับ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา
พระราชทานเข็ม และของที่ระลึกแก่
ทรงฉายพระรูปกับศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ เนื่องใน
กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ศาสตราจารย์ชลูด นิม ่ เสมอ ในโอกาสได้รบ ั แต่งตัง้ เป็น
วโรกาสเสด็จพระราชทานปริญญาบัตร แก่ผู้ส�ำเร็จการ
เนือ ่ งในโอกาสเสด็จเปิดอาคารเรียนใหม่คณะจิตรกรรมฯ
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม)
ศึกษาจากมหาวิทยาลัยศิลปากร ประจ�ำปีการศึกษา 2532
มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ และเยีย ่ มชมนิทรรศการ
ประจ�ำปี พ.ศ. 2541
โดยในโอกาสนี้ อาจารย์ชลูด ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้า
ผลงานศิลปกรรมภายในอาคาร เมื่อปี พ.ศ. 2517
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นศาสตราจารย์
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
18
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 18
12/16/15 1:58 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
19
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 19
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL
02
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
01
03
20
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 20
12/16/15 1:58 AM
คำ�ประกาศเกียรติคุณ ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ผู้ได้รับยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ประจำ�ปีพุทธศักราช 2541 ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ปัจจุบันอายุ 69 ปี เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2472 ที่จังหวัดธนบุรี ได้รับปริญญาตรีศิลปบัณฑิต ด้านประติมากรรม (เกียรตินิยมอันดับ 1) จากมหาวิทยาลัยศิลปากร รับราชการ
H IV
E
ครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยศิลปากร สอนวิชาวาดเส้น องค์ประกอบศิลป์ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ ทัศนียวิทยา ทฤษฎีสี ฯลฯ เคยด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ ซึ่งนอกจาก
R
C
งานสอน งานบริหารแล้ว ยังได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะด้านประติมากรรมและภาพพิมพ์ที่มีคุณค่าทางศิลปะไว้
A
เป็นจ�ำนวนมาก จนได้รับรางวัลเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง ทั้งในและต่างประเทศจ�ำนวน
D
13 รางวัล ศาสตราจารย์ชลูด เป็นผู้สร้างสรรค์งานศิลปะช่วงรอยต่อระหว่างยุคเก่ากับยุคใหม่ของวงการศิลปะ
A N
สมัยใหม่ของไทย ผลงานยุคแรกๆ เป็นผลงานด้านจิตรกรรมที่นำ� เรื่องราวของคนชนบทมาเป็นเนื้อหาในการ
N
แสดงออกถึงความสัมพันธ์และความเอื้ออาทรต่อกัน เป็นการสะท้อนวัฒนธรรมของคนไทยในรูปของงานศิลปะ
O
ในชุด ชาวนาไทย สงกรานต์ ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ ระยะต่อมาศาสตราจารย์ชลูด ได้สร้างสรรค์ผลงาน
EC TI
ด้านประติมากรรมที่มีชื่อเสียงจ�ำนวนมาก ซึ่งประติมากรรมเหล่านี้ตั้งให้สาธารณชนได้ชื่นชมในที่สาธารณะ เช่น หน้าอาคารส�ำนักงานใหญ่ธนาคารกสิกรไทย หน้าหอประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ หน้าวิทยาลัยพยาบาลหัวเฉียวฯ ซึ่ง
LL
ประติมากรรมดังกล่าวเป็นที่ยกย่องในความคิดและปรัชญาของผู้สร้างสรรค์จนเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย
O
ในขณะรับราชการ ศาสตราจารย์ชลูดได้สร้างคุณูปการทางศิลปะแก่แผ่นดินไว้เป็นจ�ำนวนมาก เป็นผู้
C
บุกเบิกความรู้ทางวิชาการศิลปะให้แก่ประเทศไทย จนนับได้ว่าเป็นเสาหลักคนที่ 3 ของมหาวิทยาลัยศิลปากร
M ER
ซึ่งได้นับให้ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี เป็นผู้บุกเบิกคนที่ 1 สิ้นศาสตราจารย์ศิลป์แล้ว ก็มีอาจารย์เขียน ยิ้มศิริ สืบทอดเจตนารมณ์ต่อมา และเมื่อสิ้นอาจารย์เขียน ศาสตราจารย์ชลูดก็เป็นคณบดีของคณะจิตรกรรม ที่สร้าง
SA
ลูกศิษย์ทางศิลปะที่มีคุณภาพมาเป็นจ�ำนวนมาก ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม
IM
สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) เมื่อ พ.ศ. 2539
N
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์
C
H
A
LO
O
D
(ประติมากรรม) ประจ�ำปีพุทธศักราช 2541
01 | คิด, 2497, ประติมากรรมหล่อปลาสเตอร์
02 | มือ ้ ค�ำ่ , 2498, ภาพพิมพ์แกะไม้สน ี ำ�้ มัน, 64 x 48 ซม.
03 | คู่รัก, 2498, สีผุ่นปิดทอง
79 x 67 ซม. สูง 69 ซม. รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2
รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทภาพพิมพ์
63 x 92 ซม. พิพิธภัณฑ์ศิลป พีระศรีอนุสรณ์
เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม
(ในสมัยนั้นยังจัดว่าเป็นประเภทเอกรงค์)
กรุงเทพฯ (ศิลปินให้ยืม)
การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครัง้ ที่ 6 ประจ�ำปี พ.ศ. 2498
การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 7 ประจ�ำปี พ.ศ. 2499
เอื้อเฟื้อภาพโดย หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
กรุงเทพมหานคร (BACC)
21
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 21
12/16/15 1:58 AM
ค�ำประกาศเกียรติคุณศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ผู้ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาภาพพิมพ์ ประจ�ำปีการศึกษา 2541
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ปัจจุบันอายุ 70 ปี ส�ำเร็จการศึกษาจากคณะจิตรกรรม ประติมากรรม
ในด้านการสร้างสรรค์และวิชาการศิลปะ ด้วยการเผยแพร่ความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง นับเป็นคุณูปการ
R
C
อย่างยิ่งแก่การศึกษาศิลปะและวงการศิลปะในประเทศไทย
H IV
ศิลปะมาอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลากว่า 40 ปี ท่านมุ่งมั่นอุทศ ิ ตนด้วยการสั่งสอนศิษย์ทั้งหลายให้เป็นผู้น�ำ
E
และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ได้รบ ั เกียรตินย ิ มอันดับ 1 เป็นศิลปินผู้สร้างสรรค์ศล ิ ปะ และเป็นนักวิชาการ
A
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ทดลอง บุกเบิกงานศิลปะและภาพพิมพ์ขึ้นเป็นคนแรกใน
D
ประเทศไทย ท่านได้รับการมอบหมายจากศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ให้ศึกษาทดลองงานภาพพิมพ์แกะไม้
A N
โดยมอบเครื่องแกะไม้ชุดใหม่ให้ ต่อมาท่านเป็นผู้คิดค้นน�ำแผ่นไม้อัด Mezzonite มาแกะเป็นแม่พิมพ์ขึ้น
N
เป็นครั้งแรก นอกจากนั้นยังมีการทดลองใช้กระดาษสาของไทยมาพิมพ์ด้วยสีน�้ำ เป็นผลให้งานภาพพิมพ์ซึ่ง
O
แต่ก่อนเป็นเพียงพาณิชย์ศล ิ ป์ ได้ยกระดับขึน ้ เป็นงานศิลปกรรม จากการศึกษาค้นคว้าในกระบวนการภาพพิมพ์
EC TI
อย่างจริงจังนีเ้ อง ท�ำให้ท่านได้รบ ั รางวัลจากการประกวดงานศิลปะภาพพิมพ์นานาชาติ จากประเทศยูโกสลาเวีย ในปี พ.ศ. 2506 และได้รับรางวัลจากการประกวดงานศิลปะภาพพิมพ์นานาชาติแห่งกรุงโตเกียว ประเทศ
LL
ญี่ปุ่น ในปี พ.ศ. 2507 นับเป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลศิลปะภาพพิมพ์ในระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นผลให้
O
ศิลปินไทยในรุ่นต่อมา ได้รับการเชื้อเชิญให้เข้าร่วมแสดงงาน และมีผู้ได้รับรางวัลในระดับนานาชาติตลอดมา
C
จนถึงปัจจุบัน
M ER
จากการที่ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ เดินทางไปศึกษาดูงานศิลปะภาพพิมพ์ในสหรัฐอเมริกา อิตาลี และฝรั่งเศส ในปี พ.ศ. 2506 เป็นผลให้มีการก่อตั้งภาควิชาภาพพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2508 ซึ่ง
SA
ประกอบด้วยงานเทคนิคภาพพิมพ์ที่ปฏิบัติกันในระดับนานาชาติ เช่น ภาพพิมพ์หิน (Lithograph) ภาพพิมพ์
IM
แม่พิมพ์โลหะ (Etching) ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม (Silkscreen) และภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) รวมทั้ง
N
การจัดเตรียมห้องปฏิบัติงานในทุกๆ เทคนิคด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. 2517 ท่านได้จัดท�ำหลักสูตรในระดับ
D
ปริญญาโท สาขาภาพพิมพ์ขึ้น จากผลของการจัดตั้งภาควิชาภาพพิมพ์นี้เอง ท�ำให้เกิดคุณประโยชน์อย่าง
O
มหาศาลต่อการศึกษาและวงการศิลปะภาพพิมพ์ ทั้งในระดับชาติและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติอีกด้วย
LO
ด้วยเหตุดังกล่าวท่านจึงได้รับเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์
A
ในปี พ.ศ. 2539 และได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ในปี พ.ศ. 2541
C
H
จากผลงานและเกียรติประวัตขิ องศาสตราจารย์ชลูด นิม ่ เสมอ ทีเ่ ป็นผู้มค ี วามรู้ความสามารถทัง้ ทางด้าน การสร้างสรรค์ และเป็นผู้มีคุณประโยชน์อย่างยิ่งต่อวงการศิลปะภาพพิมพ์ของประเทศไทย สภามหาวิทยาลัย ศิลปากรจึงเห็นสมควรให้ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาภาพพิมพ์ เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป
22
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 22
12/15/15 12:55 AM
คำ�ประกาศเกียรติคุณศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ผู้ได้รับพระราชทานปริญญาศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปไทย ประจำ�ปีการศึกษา 2550
ศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ ชลูด นิม ่ เสมอ ศิลปินชัน ้ เยีย ่ ม สาขาจิตรกรรม ปัจจุบน ั อายุ 78 ปี ส�ำเร็จการศึกษา ระดับปริญญาตรีศิลปบัณฑิต (สาขาประติมากรรม) เกียรตินิยมอันดับ 1 จากคณะจิตรกรรมประติมากรรมและ
H IV
E
ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร และส�ำเร็จการศึกษาได้รับประกาศนียบัตร Diploma of Fine Arts จากสถาบัน ศิลปะ Accademia di Belle Arti แห่งกรุงโรม ประเทศอิตาลี ตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีในวงการศิลปะ
R
C
ท่านเป็นศิลปินผู้สร้างสรรค์ศิลปะ และเป็นนักวิชาการศิลปะที่มุ่งมั่นอุทิศตนด้วยการสั่งสอนศิษย์ทั้งหลายให้เป็น
A
ผู้น�ำในด้านการสร้างสรรค์ และด้านวิชาการศิลปะ โดยถ่ายทอดและเผยแพร่ความรู้ที่ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
D
ซึ่งนับเป็นคุณูปการอย่างยิ่งแก่การศึกษาศิลปะและวงการศิลปะในประเทศไทย
A N
ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่ทดลอง ค้นคว้า วิจัย และสร้างสรรค์เพื่อให้เกิด
N
การอนุรักษ์ สืบสาน พัฒนา และสร้างสรรค์ทางศิลปะของประเทศไทย ท่านได้ศึกษาค้นคว้าสร้างสรรค์ผลงาน
O
ส่วนตัวที่มีแนวคิด แรงบันดาลใจ ตลอดจนรูปแบบเทคนิควิธีการที่มีที่มาจากปรัชญาอุดมคติของความเป็นไทย
EC TI
และท่านได้ค้นคว้าเขียนต�ำราและเอกสารวิชาการทางด้านศิลปะไทย เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการสอนศิลปะ และเป็นผลให้เกิดผลงานสร้างสรรค์ที่มีแนวคิดปรัชญา คติความเชื่อจากพุทธศาสนา วิถีชีวิต และศิลปวัฒนธรรม
LL
ไทย เป็นฐานรากในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของท่าน อาทิ โครงการชุดสงกรานต์ ชุดวิถีชนบท
O
ชุดประติมากรรมกับสิ่งแวดล้อม โลกุตระ องค์สาม พระบรมโพธิสมภาร และท่านยังเป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับ
C
รางวัลศิลปะในระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นผลให้ศิลปินไทยรุ่นต่อมาได้รับการเชื้อเชิญเข้าร่วมแสดงและได้สร้างสรรค์
M ER
งานศิลปะระดับนานาชาติตลอดมาจนถึงปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่าท่านศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ เป็นผู้ที่อนุรักษ์สืบสาน พัฒนา และสร้างสรรค์
SA
วงการศิลปะไทยให้ก้าวหน้า ท�ำให้การสร้างสรรค์ศิลปะบังเกิดรูปแบบแนวคิด เทคนิควิธีการ เนื้อหาที่มี
IM
เอกลักษณ์ความเป็นไทยในวงการศิลปะร่วมสมัยของไทย จนเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ
N
และในปี พ.ศ. 2519 ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ได้เป็นผู้จัดท�ำหลักสูตรระดับปริญญาตรี
D
สาขาศิลปไทย ขึ้นเป็นแห่งแรกของประเทศไทย และในปี พ.ศ. 2522 ท่านได้เป็นผู้จัดท�ำหลักสูตรในระดับ
C
H
A
LO
O
ปริญญาโท สาขาศิลปไทยในระดับต่อมา จากผลของการจัดตั้งภาควิชาศิลปไทยนี้เอง ท�ำให้เกิดคุณประโยชน์อย่างมหาศาลต่อการศึกษาวิชาการ
และการสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะไทย ที่ผลิตศิลปิน นักวิชาการให้เป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและในระดับ นานาชาติอีกด้วย ด้วยเหตุดังกล่าวท่านจึงได้รับการเชิดชูเกียรติให้เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขา ทัศนศิลป์ ในปี พ.ศ. 2539 และได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ในปี พ.ศ. 2541 จากผลงานและเกียรติประวัติของศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ที่เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ
ทั้งทางด้านการสร้างสรรค์ และเป็นผู้ที่มีคุณประโยชน์อย่างยิ่งต่อวงการศิลปะไทยของประเทศไทย ในการนี้ สภามหาวิทยาลัยศิลปากรจึงเห็นสมควรให้ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ได้รับพระราชทานปริญญา ศิลปดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปไทย เพื่อเป็นเกียรติประวัติสืบไป
23
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 23
12/15/15 12:55 AM
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
C
H IV
E
ปูสีครีม
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 24
12/15/15 12:55 AM
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
C
H IV
E
ในความทรงจำ�
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 25
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 26
12/15/15 12:56 AM
รำ�ลึกถึงอาจารย์ชลูด
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ
เมื่อนึกถึงอาจารย์ชลูด ดิฉันนึกถึง รูปปั้นชื่อ ‘โลกุตระ’ หน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
H IV
E
รูปปั้น ‘เงินพดด้วง’ หน้าส�ำนักงานธนาคารกสิกรไทย ถนนพหลโยธิน
ผลงานจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ ที่แสดงวิถีชีวิตและวัฒนธรรมไทยของอาจารย์อีก
R
C
มากมาย
A
ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิตของมหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2507
D
ในวันนั้นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จฯ ทั้ง 2 พระองค์
A N
อาจารย์ชลูดซึ่งเป็นบัณฑิตคนแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร (ความจริงอาจารย์เรียนจบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2497)
N
ได้เข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรเป็นคนแรกในวันนั้น อาจารย์ดูโดดเด่นและสง่างามอย่างยิ่งในชุดครุยของ
O
มหาวิทยาลัยศิลปากร เพราะอาจารย์มีรูปร่างสูงใหญ่กว่าบัณฑิตคนอื่นๆ
EC TI
อาจารย์ชลูดเป็นคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ถงึ 2 สมัย ได้พฒ ั นาคณะฯ ทัง้ ด้าน วิชาการและด้านกายภาพ ความเปลี่ยนแปลงทางวิชาการที่สำ� คัญที่เกิดขึ้นในช่วงที่อาจารย์ด�ำรงต�ำแหน่ง
LL
คณบดีสมัยที่ 2 คือ มหาวิทยาลัยศิลปากรเริ่มจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาพื้นฐานทั่วไป (General
C
แต่ในที่สุดทุกอย่างก็ผ่านไปด้วยดี
O
Education) เป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2517 มีการประท้วงจากคณะวิชาและนักศึกษาที่วังท่าพระที่ไม่เห็นด้วย
M ER
ดิฉันจ�ำได้ว่าในที่ประชุมคณบดีครั้งหนึ่ง อาจารย์ชลูดได้แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับวิชาพื้นฐานทั่วไป ว่า ‘ผมว่าวิชาพื้นฐานทั่วไปท�ำให้นักศึกษาคณะจิตรกรรมฯ ออกจากถ�้ำมากขึ้น’
SA
เมื่อพ้นจากงานบริหาร อาจารย์ชลูดก็ได้ทุ่มเทท�ำงานศิลปะอย่างต่อเนื่อง ผลงานจิตรกรรมและ
IM
ประติมากรรมที่แสดงวิถีชีวิตไทย วัฒนธรรมไทย เป็นงานที่แสดงพัฒนาการจากศิลปะยุคเก่าสู่ศิลปะร่วมสมัย
N
มีเอกลักษณ์ทโี่ ดดเด่น ท�ำให้อาจารย์ได้รบ ั รางวัลเกียรติยศมากมาย ทัง้ จากมหาวิทยาลัยศิลปากร ทัง้ ระดับชาติ
O
D
และนานาชาติ นอกจากผลงานด้านศิลปะ ลูกศิษย์ลูกหาที่อาจารย์ได้สั่งสอนมาตลอดชีวิตที่คณะจิตรกรรมฯ ได้กลาย
C
H
A
LO
เป็นศิลปินที่มีชื่อเสียงและเป็นอาจารย์ในสถาบันการศึกษาด้านศิลปะทั่วประเทศ อาจารย์ชลูด นิม ่ เสมอ คือผู้ยงิ่ ใหญ่ของวงการศิลปะร่วมสมัยของไทย เป็นบุคคลส�ำคัญทีค ่ ณะจิตรกรรม
ประติมากรรม และภาพพิมพ์ และมหาวิทยาลัยศิลปากรจะต้องจารึกและจดจ�ำตลอดไป
โลกุตระ, 2534 ไฟเบอร์กลาสปิดทองและหินแกรนิตด�ำ, 400 x 400 ซม. รวมฐานสูง 1020 ซม. ประติมากรรมติดตั้งถาวรหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 27
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 27
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 28
12/15/15 12:56 AM
คำ�ไว้อาลัยศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) พุทธศักราช 2541
คำ ศิล
นางสาวนันทิยา สว่างวุฒิธรรม
นาง
อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ เกิดเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2472 ที่จังหวัดธนบุรี (กรุงเทพมหานคร ในปัจจุบัน) ท่านเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการสร้างสรรค์งานศิลปะอันมีคุณค่า ทั้งงานจิตรกรรม
H IV
E
ประติมากรรม และภาพพิมพ์ เป็นที่ประจักษ์ไว้เป็นจ�ำนวนมาก ท่านได้เข้าร่วมในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ และนานาชาติ จนได้รับรางวัลเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง ทั้งในและต่างประเทศจ�ำนวนมาก
R
C
ท่านเป็นศิลปินผู้สร้างสรรค์งานศิลปะในช่วงรอยต่อระหว่างยุคเก่ากับยุคใหม่ของวงการศิลปะสมัยใหม่ของไทย
A
จนได้รับการยกย่องให้เป็นศิลปินชั้นเยี่ยมประเภทจิตรกรรมจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 10
D
ศาสตราจารย์ชลูด นิม ่ เสมอ ได้สร้างสรรค์ผลงานด้านจิตรกรรมทีน ่ ำ� เรือ ่ งราวของคนชนบทมาเป็นเนือ ้ หา
A N
ในการแสดงออกถึงความสัมพันธ์และความเอื้ออาทรต่อกัน เป็นการสะท้อนวัฒนธรรมของคนไทยในรูป
N
ของงานศิลปะในชุดชาวนาไทย สงกรานต์ ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ ต่อมาท่านได้สร้างสรรค์ผลงาน
O
ประติมากรรมที่มีชื่อเสียงจ�ำนวนมากเป็นที่ประจักษ์ คืองานประติมากรรมที่ติดตั้งภายนอกอาคาร นอกจากจะ
EC TI
มีคุณค่าสูงในทางประติมากรรมที่มีความสัมพันธ์กับอาคารสถานที่แล้ว ยังท�ำให้เกิดบรรยากาศพิเศษที่งดงาม ประติมากรรมเหล่านี้ตั้งให้สาธารณชนได้ชื่นชมในที่สาธารณะ เช่น ประติมากรรม ‘เงินพดด้วง’ หน้าอาคาร
LL
ส�ำนักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย ประติมากรรม ‘โลกุตระ’ หน้าอาคารศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
O
ประติมากรรม ‘พระบรมโพธิสมภาร’ หน้าอาคารมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ฯลฯ ผลงานของท่าน
C
เป็นที่ยกย่องในความคิดและปรัชญาของผู้สร้างสรรค์จนเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย รวมถึงในขณะที่ท่านรับ
M ER
ราชการได้สร้างคุณูปการทางการศิลปะแก่แผ่นดินไว้เป็นจ�ำนวนมาก เป็นผู้บุกเบิกความรู้ทางวิชาการศิลปะให้ แก่ประเทศไทย จึงนับได้ว่าเป็นเสาหลักคนหนึ่งของวงการศิลปะในประเทศไทย ท่านจึงได้รับการยกย่อง
SA
เชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) พุทธศักราช 2541
IM
การจากไปของศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ จึงนับเป็นการสูญเสียบุคลากรผู้บุกเบิกงานจิตรกรรม
N
ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และสื่อผสมอย่างหาที่เปรียบมิได้ น�ำมาซึ่งความโศกเศร้าและความเสียใจแก่
D
ครอบครัว ลูกศิษย์ ศิลปินแห่งชาติทุกสาขา นับว่าเป็นการสูญเสียทรัพยากรบุคคลผู้ทรงคุณค่าต่อประเทศ
O
อีกท่านหนึ่ง ในนามของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ขออานุภาพแห่งคุณความดีที่ท่านได้ถือ สงบในสัมปรายภพด้วยเทอญ
C
H
A
LO
ปฏิบัติมาตลอดชีวิต ได้โปรดดลบันดาลให้ดวงวิญญาณของศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ประสบแต่ความสุข
องค์สาม, 2524 ทองเหลืองรมด�ำ, 235 x 145 ซม. รวมฐานสูง 500 ซม. ประติมากรรมติดตั้งถาวรหน้าอาคารพหลโยธิน ส�ำนักงานใหญ่ธนาคารกสิกรไทย กรุงเทพฯ
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 29
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 29
12/15/15 12:56 AM
คำ�ไว้อาลัยแด่ ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร
H IV
E
ชวนเซอ ล่วงแล้ว นานเนิ่น ส่องฟ้าชโลมดิน*
R
C
ศิลปากรสลดเศร้า ศาสตราจารย์ชลูดนิ่มเสมอ ศิลปะยงยืนเนอ สงบส่งศิลปินแก้ว
A
ศาสตราจารย์ชลูด นิม ่ เสมอ ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ในปี พ.ศ. 2541 หนึง่ ใน
D
ศิลปินที่เป็นเลือดเนื้อของมหาวิทยาลัยศิลปากร ในความทรงจ�ำของผมนับแต่ที่ท่านได้สำ� เร็จการศึกษาเป็น
A N
ศิลปบัณฑิต เกียรตินย ิ มอันดับ 1 (ประติมากรรม) จากรัว้ มหาวิทยาลัยศิลปากร ท่านได้ใช้ความรู้ความสามารถ
N
ที่มีอยู่รอบด้าน ทั้งในด้านการสอนและการถ่ายทอดความรู้ เทคนิคในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ ตลอดจน
O
ทักษะและความสามารถด้านการบริหารในคราวด�ำรงต�ำแหน่งคณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และ
EC TI
ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เพื่อประโยชน์แก่มหาวิทยาลัย รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ศิษย์และ อาจารย์ในคณะฯ ตลอดระยะเวลาของการรับราชการ
LL
นอกจากการเป็นแบบอย่างของการกตัญญูต่อมหาวิทยาลัยที่เป็นแหล่งบ่มเพาะวิชาความรู้แก่ท่าน
O
ในงานด้านวิชาการและการบริหารด้วยความทุ่มเทและเสียสละแล้ว ท่านยังเป็นบุคคลผู้กตัญญูต่อแผ่นดิน
C
ด้วยการสร้างคุณูปการทางศิลปะให้แก่แผ่นดินไทย ด้วยการใช้ศิลปะในการท�ำนุบ�ำรุงศิลปวัฒนธรรมของชาติ
M ER
โดยได้สร้างสรรค์ผลงานศิลปะอันทรงคุณค่า ทั้งงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และสื่อผสม ที่ทรง คุณค่าทางศิลปะไว้เป็นจ�ำนวนมาก จนได้รับรางวัลเหรียญทอง เหรียญเงิน และเหรียญทองแดง ทั้งในและ
SA
ต่างประเทศ และยังเป็นผู้มีวิสัยทัศน์ในการสืบทอดศิลปวัฒธรรม โดยเป็นก�ำลังส�ำคัญในการก่อตั้งภาควิชา
IM
ศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
N
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ยังเป็นแบบอย่างของการด�ำรงชีวิตอย่างเรียบง่าย เพื่อสร้างงานศิลปะ
D
ด้วยความทุ่มเท เสียสละ มั่นคง และสม�ำ่ เสมอไม่ว่าเวลาจะผ่านไปนานเท่าใดก็ตาม ผลงานของท่านมัก
O
แสดงออกถึงความสัมพันธ์และความเอือ ้ อาทรต่อกัน เป็นการสะท้อนวัฒนธรรมของคนไทยในรูปของงานศิลปะ
LO
ซึ่งท่านเคยพูดถึงงานของท่านไว้ว่า “งานศิลปะที่ข้าพเจ้าท�ำ มีแนวโน้มไปในทางที่ดีงาม สงบ บริสุทธิ์
A
และอบอุ่นด้วยความเป็นพี่น้อง รูปแบบและเรื่องราวของงานอาจจะเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมและ
C
H
ความจ�ำเป็นในการแสดงออก แต่ชีวิตภายในซึ่งเป็นเนื้อหาสาระของงานศิลปะโดยตรงนั้นไม่ เปลี่ยนแปลง” (ชลูด นิ่มเสมอ: นานาทรรศนะที่มีต่อ ‘โลกุตระ’ หน้า 4)
*ประพันธ์โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมชาย ส�ำเนียงงาม: คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 30
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 30
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O
C
การสูญเสียศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ในวันนี้ นับเป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่งของ
M ER
มหาวิทยาลัยศิลปากร และนับเป็นการสูญเสียเสาหลักแห่งแผ่นดินในด้านศิลปะอีกด้วย ในนามของมหาวิทยาลัยศิลปากร กระผมขอแสดงความเสียใจกับครอบครัว ‘นิ่มเสมอ’ และขอคารวะ
SA
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ด้วยความเคารพยิ่ง และขอให้คุณความดีที่ท่านอาจารย์ได้ทำ� ให้กับมหาวิทยาลัย
C
H
A
LO
O
D
N
IM
ศิลปากรและแผ่นดินไทย จงเป็นกุศลบุญน�ำพาท่านอาจารย์ไปสู่สัมปรายภพด้วยความสงบสุขด้วยเทอญ
แม่อุ้มลูก, 2539 สีฝุ่นและแอร์บรัชบนกระดาษสาไทย, 60 x 90 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
31
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 31
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 32
12/15/15 12:56 AM
แด่ อาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ อาจารย์จุลทัศน์ พยาฆรานนท์ ราชบัณฑิต
เมื่อทราบข่าวว่า อาจารย์ชลูดวายชนม์แล้ว ก็ให้รู้สึกใจหาย ด้วยไม่คิดว่าจะได้รับทราบข่าวการจากไป ของผู้ที่นับถือและคุ้นเคย
H IV
E
อาจารย์ชลูดเคยเป็นนักเรียนเก่าของโรงเรียนเพาะช่างสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ข้าพเจ้าพบและได้ รู้จักอาจารย์ชลูด ด้วยเป็นนักเรียนรุ่นน้องร่วมโรงเรียนเพาะช่าง ที่เรียกว่ารุ่นโรงหลังคาจาก
R
C
เมื่อนึกฟื้นความหลังแต่ครั้งก่อน ก็นึกเห็นภาพอาจารย์ชลูดในวัยหนุ่มฉกรรจ์ รูปร่างสูงใหญ่ เป็นที่น่า
A
เกรงขาม มาโรงเรียนแต่เช้า มีหนังสือพิมพ์รายวันติดมือมานั่งอ่านก่อนเข้าห้องเรียนทุกวัน อาจารย์ชลูดออกจะ
D
พูดน้อย แต่ขยันเรียนมากๆ มีฝีมือเยี่ยม พวกเรารุ่นน้องมักไปแอบดูเวลาอาจารย์วาดเส้นเนืองๆ
N
ทั้งจิตรกรรมและประติมากรรมของอาจารย์มาเสมอ
A N
ต่อมาอาจารย์ข้ามมาเรียนที่มหาวิทยาลัยแล้ว ก็ไม่สู้ได้พบปะอาจารย์ แต่ก็ติดตามผลงานสร้างสรรค์
O
กระนั้นเมื่อข้าพเจ้าได้โอนมารับราชการในคณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ได้ร่วมงานกับ
EC TI
อาจารย์ชลูดอยู่หลายปี ตลอดเวลาที่ท�ำการสอนกับอาจารย์ ก็ได้รับความเอื้ออาทรทั้งในด้านวิชาการและหน้าที่ การงานเป็นอย่างดี
O
พร้อมในความเป็นศิลปินแห่งชาติ
LL
อาจารย์ชลูดเป็นบุคคลผู้ทรงคุณวุฒิ มีความสามารถและทักษะสูง เป็นครูที่เป็นแบบอย่างแก่ครู และ
C
การเสียอาจารย์ชลูดไป ก็ใช่ว่าจะสูญความเป็นครู ศิลปินแห่งชาติก็หาไม่ อาจารย์ก็ยังเป็นปูชนียบุคคล
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
ที่มีคนรักและคิดถึงอยู่มิวาย ข้าพเจ้าก็เป็นหนึ่งในหมู่คนที่ค�ำนึงถึงอาจารย์
กินรี, 2550 สีอะคริลิก, ปากกาหมึกด�ำ, ปากกาเจลสีขาว และดินสอสี บนผ้าใบ, 81.5 x 61 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
33
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 33
12/15/15 12:56 AM
คำ�ไว้อาลัยศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ อาจารย์อ�ำมฤทธิ์ ชูสุวรรณ
คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ในนามคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ กระผมขอน้อมร�ำลึกถึงคุณป ู การทีท ่ ่านศาสตราจารย์
H IV
และด�ำเนินตามแนวทางของท่าน เราสามารถเรียนรู้ความเป็นครูจากท่านได้จากทุกวินาทีของการด�ำเนินชีวต ิ ท่าน
R
A
กรรมการพิจารณาหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิตจนลุล่วง สามารถมีการเรียนการสอนได้ในเวลานี้
C
ท่านเป็นคณบดีและเป็นผู้ก่อตั้งภาควิชาต่างๆ ในคณะจิตรกรรมฯ ซึ่งปัจจุบันคือ ภาควิชาภาพพิมพ์ ภาควิชาศิลปไทย ซึ่งมีผลงานโดดเด่นและมีชื่อเสียง จนวาระแทบจะท้ายสุดของชีวิตท่าน ท่านได้ร่วมเป็น
E
เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ให้ไว้กับคณะจิตรกรรมฯ ท่านเป็นครูที่ยิ่งใหญ่ และเป็นแม่แบบควรค่าแก่การเรียนรู้
D
พระคุณของท่านต่อคณะจิตรกรรมฯ คงไม่สามารถกล่าวได้หมด หากเพียงแต่เราทุกคน เหล่าศิษย์รู้สึก
A N
โศกเศร้าในการจากไปของท่านศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ เป็นอย่างยิ่ง และขอภาวนาให้ท่านจงไปสู่
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
ภพภูมิชั้นสูงส่งและช่วยดูแลเหล่าศิษย์ต่อๆ ไป
34
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 34
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 35
ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ, 2498
คิด, 2497
แกะสลักไม้มะฮอกกานี, 35 x 60 ซม. สูง 25 ซม.
ประติมากรรมหล่อปลาสเตอร์, 74 x 76 ซม. สูง 69 ซม.
รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม
รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม
การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 7 ประจ�ำปี พ.ศ. 2499,
การแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 6 ประจ�ำปี พ.ศ. 2498,
พิพิธภัณฑ์ศิลป พีระศรีอนุสรณ์ กรุงเทพฯ
พิพิธภัณฑ์ศิลป พีระศรีอนุสรณ์ กรุงเทพฯ
© invisible Academy Photography
© invisible Academy Photography
12/16/15 3:46 AM
อาจารย์สันโดษอยู่กับงานศิลปะ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม
รุ่นที่ผมเรียนอาจารย์ดูแลเราด้วยค�ำพูดสั้นๆ ที่เราคุ้นเคย “ดีละ ท�ำไป ท�ำอีก” ขณะที่การท�ำงานศิลปะ
อยู่ในโลกกว้าง อาจารย์อยู่ห่างๆ ดูเราลองผิดลองถูก คราวหนึ่งผมปั้นงานนูนสูงขนาดใหญ่ เป็นงานสรุป
A
พื้นที่ของงาน ตรงโน้นที เน้นตรงนี้อีกหน่อย งานของผมก็เข้ารูปเข้ารอย จบงานได้และโดยไม่ได้พูดอะไร
R
C
ส�ำหรับท�ำคะแนนชั้นปีที่ 3 เพื่อผ่านขึ้นไปเรียนปีที่ 4 อาจารย์ยืนดูอยู่ข้างหลังเมื่อไหร่ก็ไม่รู้ ใช้นิ้วโป้งกดบาง
H IV
เพราะอาจารย์เปิดโอกาสให้เราคิดเอง มีผลให้เราแต่ละคนมีแนวทางอิสระของตัวเอง เติบโต แข็งแรง
E
ตลอดเวลาของอาจารย์ คือค�ำสั่งสอนเงียบ ยาวเหยียดไม่รู้จบ
D
อาจารย์เดินดูงานให้เพื่อนคนอื่นต่อไป
A N
อาจารย์ครับ คราวผมล้มป่วยเมื่อขึ้นชั้นปีที่สี่ต้องนอนพักในโรงพยาบาล อาจารย์ให้เงินเพื่อนคนหนึ่ง
N
เพื่อซื้อนมสดกระป๋องไปเยี่ยม ผมไม่เคยได้กราบขอบคุณอาจารย์เพราะกว่าจะได้ทราบเรื่องก็เรียนจบออกมา
O
เป็นนาน ฟังจากเพื่อนคนนั้นเอง เพิ่งบอกว่าเอาเงินที่อาจารย์ให้ไปใช้อย่างอื่นหมด (อย่างอื่นอะไร พวกเรา
EC TI
ก็รู้กัน) ขอกราบขอบพระคุณอาจารย์ตอนนี้ครับ
ย้อนไปนึกถึงช่วงที่ผมเรียนชั้นเรียนปีที่ 4 ปีที่ 5 คงเป็นระยะที่อาจารย์มีความสุขมาก พวกเราทั้งหมด
LL
มีกลุ่มทีเ่ รียนประติมากรรม กลุ่มจิตรกรรม และกลุ่มภาพพิมพ์ รวมสิบกว่าคน ร่วมกันจัดงานปีใหม่ทต ี่ ก ึ กราฟิก
O
ห้องพักของอาจารย์อยู่ปลายตึก ค�ำ่ นั้นพวกเราเชิญอาจารย์มาร่วมงาน อาจารย์ร้องเพลง อาจารย์ร�ำวงกับ
C
พวกเรา อาจารย์ยิ้ม หัวเราะเสียงดัง เบิกบาน
M ER
จ�ำได้ว่าครั้งหนึ่งที่อาจารย์พูดคุยกับพวกเรา ผมขอความเห็นจากอาจารย์ถึงบางเหตุการณ์สำ� คัญที่โยง กับตัวบุคคล อาจารย์บอกว่า “ไม่เอาน่า ฉันไม่อยากพูด ไม่อยากว่าคนอื่น”
SA
ใบหน้าขรึมของอาจารย์ด้วยท่าเดินที่มั่นคง ผมได้เห็นรอยยิ้มของอาจารย์ทุกครั้งที่อาจารย์รับไหว้
IM
เมือ ่ เดินสวนกันหน้าคณะโบราณคดีทผ ี่ มท�ำงานอยู่ อาจารย์มก ั มีคำ� สัพยอกเล็กๆ น้อยๆ ก่อนเดินจากกันอีกด้วย
N
ความรักความเมตตาของอาจารย์ที่มีต่อศิษย์ที่ขยันขันแข็ง เป็นเช่นเดียวกับที่อาจารย์ได้รับจากอาจารย์
D
ศิลป์ พีระศรีของท่าน การท�ำงานอย่างสม�่ำเสมอของอาจารย์ เป็นต้นแบบในงานด้านประวัติศาสตร์ศิลปะ
O
ของผม จนผมใกล้เกษียณจากราชการเมื่ออายุ 65 หวนกลับมาท�ำงานศิลปะ อาจารย์ทราบเข้าก็ยิ้มอย่างยินดี
H
A
LO
พูดว่า “เราได้สันติกลับมาแล้ว”
C
กราบอาจารย์ด้วยความเคารพยิ่ง
36
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 36
12/15/15 12:56 AM
คำ�อาลัยท่านศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) พ.ศ. 2541 ศาสตราจารย์เดชา วราชุน
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ภาพพิมพ์และสื่อผสม) ปี พ.ศ. 2550
คงเป็นที่รู้กันในหมู่ลูกศิษย์ที่ได้ศึกษาศิลปะกับอาจารย์ทั้งในคณะจิตรกรรมฯ และคณะศิลปกรรม ในมหาวิทยาลัยต่างๆ ว่าอาจารย์เป็นผู้มีความรู้ทั้งทางด้านทฤษฎีศล ิ ปะ การสร้างสรรค์งานศิลปะ และการ
H IV
E
เป็นครูสอนศิลปะ จึงเป็นที่ยอมรับที่ไม่มีผู้ใดเสมอเหมือน และเป็นเสาหลักของวงการศิลปะของเมืองไทย ในฐานะที่เป็นลูกศิษย์คนหนึ่งที่ได้เรียนกับอาจารย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2508 และได้รับความรู้จากอาจารย์ตลอดมา
R
C
เป็นเวลา 50 ปี ผมจึงถือว่าท่านเป็นบิดาที่ทำ� ให้ผมประสบความส�ำเร็จในทุกๆ ด้าน ทั้งในด้านการใช้ชีวิต
A
การสร้างสรรค์ศิลปะ และการเป็นอาจารย์สอนศิลปะ เป็นเพราะผมเชื่อในค�ำพูดของอาจารย์ที่ท่านได้สั่งไว้
D
ก่อนที่ผมจะจบจากมหาวิทยาลัยศิลปากรเมื่อปี พ.ศ. 2512 ค�ำสั่งดังกล่าวยังติดอยู่ในหัวใจของผมตลอดมา
A N
"เดชาท�ำงานศิลปะต่อไปนะ อย่าเห็นแก่เงิน เมือ ่ ท�ำงานศิลปะให้เป็นศิลปะแล้ว ทุกสิง่ ทุกอย่างก็จะมีมาเอง
N
ไม่ว่าจะเป็น ลาภ ยศ เงินทอง ชือ ่ เสียง" และเมื่อเวลาผ่านมาจนถึงวันนี้สิ่งที่ท่านสั่งไว้มันเป็นความจริง
O
ตลอดระยะเวลา 50 ปีที่ผ่านมา ผมไม่เคยออกนอกลู่นอกทางของการท�ำงานศิลปะ ถึงแม้ว่าจะไม่ค่อยมีใคร
EC TI
สนใจในงานศิลปะนามธรรมมากนัก แต่ก็มีความสุขที่ได้มีโอกาสสร้างสรรค์ศิลปะตามใจตัวเอง เป็นเพราะผม ยึดถือความเป็นแบบอย่างของอาจารย์ ที่มีความขยันในการพัฒนาการท�ำงานศิลปะมาโดยตลอด การจากไป
LL
อย่างไม่มีวันกลับของอาจารย์ได้สร้างความสะเทือนใจและรู้สึกเสียใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะอาจารย์เป็นก�ำลังใจ
O
ทีม ่ ใี ห้กบ ั ลูกศิษย์ เป็นทีพ ่ งึ่ ทางศิลปะ เป็นแบบอย่างของการเป็นศิลปินทีด ่ ี การเป็นครูผ้ม ู แ ี ต่ให้ และการใช้ชวี ต ิ
C
สมถะทีเ่ รียบง่าย มีจต ิ ใจดีมเี มตตา เอ็นดูศษ ิ ย์ทก ุ ๆ คนในการชีแ ้ นะให้ศษ ิ ย์แต่ละคนได้เดินไปในทางของตัวเอง
M ER
อย่างมั่นคง ต่อไปเมื่อไม่มีอาจารย์แล้ว ก็เป็นหน้าที่ของศิษย์ที่จะต้องสืบทอดเจตนาของอาจารย์ที่จะช่วยกัน สร้างมาตรฐานให้กับวงการศิลปะของไทยให้มั่นคงตามเจตนาของอาจารย์ตลอดไป ในโอกาสนี้ก็ขอให้
IM
SA
อาจารย์ไปสู่สุคติ ด้วยความดีงามของอาจารย์จะยังคงอยู่ในหัวใจของผมตราบเท่าที่ผมยังมีลมหายใจอยู่
C
H
A
LO
O
D
N
ด้วยความเคารพรักอย่างสูงยิ่ง
37
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 37
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 38
12/15/15 12:56 AM
บุคคลผู้ประเสริฐ ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ปี พ.ศ. 2549
สังคมใดมีบุคคลผู้ประเสริฐอยู่ในสังคมนั้น ก็จะน�ำพาให้สังคมนั้นมีความเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่องไปตาม กาลเวลา ในสังคมของศิลปะร่วมสมัยของไทย นับเป็นความโชคดีที่มีศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้ประเสริฐ
H IV
E
มาเป็นผู้บุกเบิกวางรากฐานไว้ ทั้งในด้านการศึกษาศิลปะ การสร้างสรรค์ศิลปะ การบริหารจัดการ และ การเผยแพร่ทางศิลปะ ท�ำให้วงการศิลปะร่วมสมัยของประเทศไทยมีความเข้มแข็งทัดเทียมกับนานา
R
C
อารยประเทศทัง้ หลาย และหลังจากสิน ้ อายุขย ั ของศาสตราจารย์ศล ิ ป์ พีระศรี แล้ว สังคมของศิลปะร่วมสมัย
A
ของไทยก็ยงั โชคดี ที่มีศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ บุคคลผู้ประเสริฐ มาเป็นผู้สืบสานและพัฒนา
D
ให้เป็นไปตามการเคลื่อนไหวของสังคมโลกในทุกๆ ด้าน โดยเฉพาะทางด้านการศึกษาการสร้างสรรค์ทางด้าน
A N
ศิลปะ ทีเ่ ป็นส่วนส�ำคัญต่อการพัฒนาวงการศิลปะในทุกๆ ด้าน เช่น การเปิดโอกาสให้นก ั ศึกษาบางคนสามารถ
N
สร้างสรรค์ในเชิงรูปแบบนามธรรมได้ การพัฒนาหลักสูตรจากรูปแบบอะคาเดมี มาสู่รูปแบบที่เป็นศิลปนิพนธ์
O
ซึ่งเป็นการศึกษาการสร้างสรรค์ในทางลึก การเปิดหลักสูตรในระดับปริญญาโทที่ช่วยเน้นการสร้างสรรค์ให้มี
EC TI
ความลึกซึ้งและชัดเจนยิ่งขึ้น มีการเปิดการเรียนการสอนวิชาภาพพิมพ์ในระดับภาควิชา ซึ่งแต่ก่อนเป็นเพียง รายวิชาหนึ่งเท่านั้น ในภาควิชาภาพพิมพ์นี้มีเทคนิคทางด้านภาพพิมพ์ที่หลากหลาย ซึ่งนอกจากเทคนิคภาพ
LL
พิมพ์แกะไม้แล้ว ยังมีภาพพิมพ์ร่องลึก ภาพพิมพ์ตะแกรงไหม ภาพพิมพ์หิน ภาพพิมพ์กัดกรด เป็นต้น เป็น
O
ภาควิชาที่ก่อตั้งขึ้นเป็นภาควิชาแรกในประเทศไทย นักศึกษาที่ศึกษาในภาควิชานี้ชนะการประกวดทั้งใน
C
ประเทศและต่างประเทศมากมาย สร้างชื่อเสียงและได้รับการยอมรับจากนานาประเทศที่มีต่อการสร้างสรรค์
M ER
ศิลปะภาพพิมพ์ของเมืองไทย ต่อมามีการก่อตั้งภาควิชาศิลปไทยขึ้นอีกภาควิชาหนึ่ง ซึ่งแต่ก่อนเป็นเพียง รายวิชาหนึ่งเช่นเดียวกับวิชาภาพพิมพ์ เป็นการเน้นย�ำ้ และขยายความความเป็นศิลปะไทยให้กว้างขวางขึ้น
SA
ทางด้านเนือ ้ หาทีส ่ ามารถน�ำมาเป็นแรงบันดาลใจได้ในเรือ ่ งของศาสนา ศิลปวัฒนธรรม วิถชี วี ต ิ ขนบธรรมเนียม
IM
ประเพณี ศิลปะพื้นบ้าน และอื่นๆ ที่เป็นแรงกระตุ้นให้หันกลับมามองจิตวิญญาณที่เป็นรากเหง้าของตน
N
มากกว่าการมองไปยังกระแสโลกาภิวัตน์ทางศิลปะ นอกจากนั้นยังสามารถน�ำเทคนิค วัสดุ และวิธีการใน
D
ศิลปะไทยมาเป็นสื่อสร้างสรรค์ในรูปแบบของศิลปะร่วมสมัยในปัจจุบัน ภาควิชาศิลปไทยมีความเจริญ
O
งอกงามออกไปอย่างกว้างขวาง เป็นการสืบทอดศิลปะไทยเข้าสู่ความเป็นร่วมสมัยของปัจจุบันได้อย่าง
C
H
A
LO
กลมกลืน ความก้าวหน้าทั้งหลายเหล่านี้มีจุดมุ่งหมายเดียวกันกับสมัยของศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี คือท�ำ อย่างไรให้สามารถสร้างสรรค์ความบันดาลใจให้ปรากฏออกมาเป็นผลงานศิลปกรรมได้ แต่สิ่งที่พัฒนาต่อมา
คือการขยายวิธีคิด แนวความคิด เทคนิค วิธีการสร้างสรรค์ และวัสดุออกไปอย่างกว้างขวางไร้ขอบเขต นับเป็นคุณูปการอันยิ่งใหญ่ของการศึกษาการสร้างสรรค์ศิลปะของประเทศไทย ที่ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ชลูด นิ่มเสมอ ได้มอบไว้ให้
พระบรมโพธิสมภาร, 2536 ทองเหลืองปิดทอง, 580 x 580 ซม. สูง 680 ซม. ประติมากรรมติดตั้งถาวรหน้าหอประชุม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสมุทรปราการ © ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
39
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 39
12/15/15 12:56 AM
นอกจากการเรียนการสอน ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ท�ำอยู่สิ่งเดียวเท่านั้นตลอดชีวิต ของท่านคือ การสร้างสรรค์ศิลปะ การสร้างสรรค์ของท่านมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา ด้วยเทคนิควิธีการที่ หลากหลาย ทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ สื่อประสม ศิลปะการจัดวาง ตลอดจนวิธีการน�ำเสนอ ที่หลากหลาย การปฏิบัติงานที่มุ่งมั่น จริงจัง ไม่เคยหยุดนิ่ง ตราบจนวาระสุดท้ายของชีวิต เป็นค�ำสอนอัน ประเสริฐที่นักศึกษาได้รับจากท่าน คุณประโยชน์ที่ได้กล่าวถึงนี้เป็นเหมือนช่อดอกไม้ที่น�ำมาปักไว้ในแจกันเล็กๆ ใบหนึ่งเท่านั้น แท้จริง แล้วคุณประโยชน์ที่ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ได้กระท�ำไว้ต่อวงการศิลปะของประเทศไทย
C
ที่ทุกคนไม่อาจหลีกหนีไปได้ กลับไปสู่ทิพย์วิมานอันสุขสงบที่ได้เคยจากมา แสงสว่างแห่งเมตตาคุณและ
H IV
บัดนี้ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ผู้ประเสริฐได้ละสังขารตามกฎเกณฑ์ของสภาวธรรม
E
เปรียบเหมือนพฤกษานานาพันธุ์ที่ออกดอกบานสะพรั่งอยู่ในท้องทุ่งที่แลไกลสุดสายตา
R
กรุณาธิคุณที่เคยส่องน�ำทางให้กับวงการศิลปะก็ได้ลาลับไปเช่นเดียวกัน แต่เมื่อข้าน้อยได้หลับตาที่ชุ่มโชกไป
A
ด้วยน�ำ้ ตาแห่งความอาลัย ข้าน้อยได้พบว่าแสงที่ได้ลาลับขอบฟ้าของสังขารไปแล้วนั้น กลับมาส่องสว่างอยู่
A N
D
ภายในวิหารแห่งจิตวิญญาณของความทรงจ�ำอันไม่รู้ลืมของข้าน้อย แสงสว่างอันเป็นนิรันดร์กาล ที่เป็นที่พึ่ง
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
ที่ระลึกอันประเสริฐที่ข้าน้อยขอบูชาด้วยความเคารพนอบน้อมตลอดไป
40
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 40
12/15/15 12:56 AM
ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ กับคุณนายลูกอิน ศาสตราจารย์เกียรติคุณปรีชา เถาทอง
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
C
H IV
E
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ปี พ.ศ. 2552
IM
‘งานสร้างสรรค์ศิลป์กับงานวิจัยมีคุณค่าเป็นองค์ความรู้เหมือนกันอย่างไร’
N
บทสรุปทางความคิดร่วมกันระหว่างศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ กับ คุณนายลูกอิน ‘เวลาที่ฉันมี
D
ปัญหามีข้อสงสัยในแนวทางวิชาการศิลปะ หรือการสร้างสรรค์ศิลปะ ฉันก็จะไปปรึกษาแลกเปลี่ยนแนว
LO
O
ความคิดกับคุณนายลูกอินอยู่ตลอดเวลา ผลสรุปของการปรึกษาแลกเปลี่ยนแนวความคิดก็จะได้ข้อสรุป
C
H
A
เป็นที่น่าพอใจ ฉันก็จะบันทึกเป็นข้อมูลและหลักการเหตุผล ได้นำ� มาปฏิบัติอยู่เสมอมา’ (จากค�ำบอกเล่าของ ท่านศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ กับลูกศิษย์ของท่าน) บทสรุปทางความคิดของศาสตราจารย์เกียรติคณ ุ ชลูด นิม ่ เสมอ กับคุณนายลูกอินในประเด็นงานสร้างสรรค์ ศิลปะกับงานวิจัยมีคุณค่าเป็นองค์ความรู้ที่เหมือนกัน แต่ก็ยังมีรูปแบบวิธีการและบริบทที่แตกต่างกัน
วิมาน, 2538 สีฝุ่นและแอร์บรัชบนกระดาษสาไทย, 59 x 89 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
41
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 41
12/16/15 1:59 AM
ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ครูผู้ให้ความบันดาลใจ ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ปี พ.ศ. 2551
ในสายตาของคนภายนอกอาจจะเห็นว่า ผมเป็นลูกศิษย์คนหนึ่งที่ใกล้ชิดกับศาสตราจารย์เกียรติคุณ ใกล้ชิดเชิงอุดมการณ์ที่ผมและลูกศิษย์อีกหลายคนมีคล้ายท่าน นั่นคือ ความรัก ความศรัทธาในศิลปะ และ
R
เหล่านี้ขยัน ความขยันก็จะน�ำไปสู่ความส�ำเร็จ ความส�ำเร็จสูงสุดในการท�ำงานทุกชนิดโดยเฉพาะศิลปะไม่มี
C
มาประจักษ์ชัดด้วยตัวเองเมื่อผมเป็นอาจารย์ ผมก็รักและสนิทกับศิษย์ที่รักและศรัทธาในศิลปะ ท�ำให้พวกเขา
H IV
E
ชลูด นิ่มเสมอ ซึ่งผมก็อยากให้เป็นเช่นนั้น แต่ผมรู้ดีว่าความใกล้ชิดนี้ มิใช่ทางกายภาพ แต่เป็นความสนิท
A
ทางลัด
D
สมัยทีผ ่ มเป็นนักศึกษา ผมก็เป็นเช่นเดียวกับนักศึกษาส่วนใหญ่ทม ี่ ค ี วามเกรงใจ (เกรงกลัว) อาจารย์ชลูด
A N
ทั้งๆ ที่ท่านไม่เคยดุด่าว่ากล่าวอะไรเลย คงจะเป็นด้วยบุคลิกที่เคร่งขรึม พูดน้อย เอาจริงเอาจังในทุกอย่าง
N
ที่ท่านท�ำ ทั้งด้านการสอน การตรวจให้คะแนน การตัดสินผลงานศิลปะและงานด้านวิชาการ รวมทั้งความมี
O
ระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา อาจารย์ชลูดได้เคยพูดกับผมหลายครั้งว่า ไม่ได้สอนผม ซึ่งผมก็ได้แต่ตอบท่าน
EC TI
ไปทุกครัง้ ตามข้อเท็จจริงว่า ผมเรียนรู้เรือ ่ งศิลปะทุกๆ ด้านจากท่านมากทีส ่ ด ุ และผมเพิง่ จะพบค�ำตอบเมือ ่
3) ครูผู้ให้แรงบันดาลใจ
C
2) ครูผู้สอนและยังท�ำเป็นตัวอย่างให้เห็น
M ER
O
1) ครูผู้สอนให้ความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ต่างๆ ทั่วไป
LL
เร็วๆ นี้นี่เอง จากนักการศึกษาชาวอังกฤษซึ่งผมจ�ำชื่อไม่ได้ อาจารย์ท่านนี้แบ่งครูเป็น 3 แบบ หรือ 3 ระดับ
ผมเกิดความรู้แจ้งขึ้นมาทันทีว่า สิ่งที่ผมเรียนรู้จากท่านอาจารย์ทั้งหมดนั้นควรเรียกท่านว่า ‘ครูผู้ให้
SA
ความบันดาลใจ’ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นครูชั้นสูงสุด โดยเฉพาะทางศิลปะ ‘ความบันดาลใจ’ ให้ความหมายทั้ง
IM
ทางตรง ลึก และครอบคลุมสรรพความรู้ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบัติด้านศิลปะ และศิลปศึกษา ท่านอาจารย์ชลูด
N
ให้ความบันดาลใจกับผมในการเป็นครูที่ดี ความรู้ หลักการวิจารณ์ มุมมองต่างๆ ของการวิจารณ์ รวมทั้ง
D
หลักเกณฑ์ในการสอน ให้คะแนนงานเรียนของนักศึกษา ซึ่งเป็นการเรียนรู้จากท่านเมื่อผมเป็นอาจารย์แล้ว
O
และมีโอกาสมาสอนร่วมกับท่าน
LO
ในด้านการสร้างสรรค์ศิลปะ อัจฉริยะภาพของท่านเป็นที่ประจักษ์แจ้ง ปราศจากข้อสงสัยจากผลงาน
A
ทั้งปริมาณ คุณภาพ ความใหม่ ความแปลก ความเป็นต้นแบบ การค้นคว้าบุกเบิกส�ำรวจเข้าไปในงานทุก
C
H
ประเภท กล่าวได้เลยว่าท่านท�ำมาหมดแล้ว และน่าแปลกใจว่าท่านท�ำได้ดีทุกประเภท เช่น ประติมากรรมปั้น หล่อ แกะไม้ แกะหิน เชื่อมเหล็ก จิตรกรรรมแบบไทย แนวไทย จิตรกรรมแบบเหมือนจริง อิมเพรสชั่นนิสม์
42
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 42
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER
คิวบิสม์ นามธรรม วาดเส้นแนวไทยที่หลากหลาย วาดเส้นบ้านเมืองที่อิตาลี ภาพพิมพ์แกะไม้สีน�้ำ ภาพพิมพ์ คอลโลกราฟ รวมไปถึงเครื่องเคลือบดินเผา ศิลปะแนวใหม่ๆ ท่านอาจารย์ก็ได้ทำ� มาเกือบทุกอย่าง เช่น
SA
ศิลปะสื่อผสม ติดตั้งจัดวาง คอนเซ็ปฌวล ไปจนถึงเพอร์ฟอร์แมนซ์ ทุกชุดทุกชิ้นไม่ว่าจะเป็นยุคไหนแนวใด
IM
แนวคิดอะไรท่านท�ำได้อย่างยอดเยี่ยมอย่างน่าอัศจรรย์ กล่าวสรุปได้เลยว่า ผลงานทุกชิ้น มีความแปลกใหม่
N
ริเริ่มสร้างสรรค์ และแสดงตัวตนความเป็นอาจารย์ชลูดอย่างแท้จริง
D
ผมกล่าวได้เลยว่า ความบันดาลใจจากท่านอาจารย์ชลูด ที่ผมได้รับมาทุกด้าน ความมีระเบียบวินัย
LO
O
ความเป็นครู เป็นศิลปินที่ได้รับความส�ำเร็จ เป็นนักวิชาการ ถ้าไม่มีอาจารย์ชลูด ผู้เปรียบเสมือนแสงที่ส่อง
C
H
A
น�ำทาง ผมคงไม่สามารถเดินทางมาได้ไกลถึงขนาดนี้ เมื่อท่านจากไปแล้ว ผมรู้สึกขาดความมั่นคง ไม่มีอะไร
ให้ยึดเหนี่ยว รู้สึกเหมือนขาดพ่อ เมื่อผมเปิดงานแสดงเดี่ยวผลงานย้อนหลัง รวบรวมผลงานตั้งแต่สมัยเรียน จนถึงปัจจุบัน ท่านอาจารย์ชลูดคือคนที่ผมอยากให้มาดูมากที่สุด เพราะทุกครั้งที่ผมแสดงเดี่ยว ท่านจะแสดง ความคิดเห็นให้ผมได้รับรู้เสมอ และนี่คือค�ำวิจารณ์ที่ทรงคุณค่าที่สุดส�ำหรับผม
นามธรรมกับลวดลาย, 2557 หมึกด�ำบนกระดาษสาไทย, 59 x 75.2 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
43
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 43
12/15/15 12:56 AM
คำ�ไว้อาลัย เยาวณี นิรันดร CHRISTIE’S (THAILAND) REPRESENTATIVE
ดิฉันตกใจมากเมื่อทราบข่าวการจากไปของอาจารย์ชลูด อาจารย์เพิ่งโทรถึงขณะที่ดิฉันอยู่ในรถไฟ ในญี่ปุ่น ได้พูดกันแค่สั้นๆ เพราะเขาห้ามโทรศัพท์ในรถไฟ อาจารย์ยังล้อว่า “รูปที่ไปโชว์ที่หอศิลป์ กทม. จะเป็นการคุยครั้งสุดท้ายกับอาจารย์
R
C
อาจารย์เป็นผู้จุดประกายความรัก ความเข้าใจในงานศิลปะให้แก่ดิฉัน ตั้งแต่ได้ท�ำงานร่วมกับอาจารย์
H IV
E
สวยจังนะ มีงานของผมด้วย” เรียนอาจารย์ว่ากลับถึงกรุงเทพแล้วจะไปคุยกับอาจารย์ต่อ แต่ไม่นึกว่านั่น
A
ในการจัดประมูล ปรส. เมื่อ 20 ปีที่แล้ว ก็ติดต่อกับอาจารย์มาตลอด มีข้อสงสัยและค�ำถามนับร้อยที่ดิฉัน
D
เฝ้าถามอาจารย์ และอาจารย์ก็เมตตาที่จะตอบ ซึ่งอาจารย์ไม่เคยตอบโดยตรง แต่จะย้อนถามเสมอว่า
A N
“แล้วคุณคิดอย่างไรล่ะ” ท�ำให้ดฉ ิ ันได้รู้จักคิด รู้จักวิจารณ์ รู้จักเลือกงานสะสม หลังๆ อาจารย์แหย่ว่า
N
“คุณวิจารณ์เก่งแล้วนี่ มาวิจารณ์งานให้ผมฟังดีกว่า” แล้วก็หัวเราะ ทุกครั้งที่ไปหาอาจารย์ เราก็จะนั่ง
O
วิจารณ์งานกันนานมากจนลืมทานข้าว
EC TI
วันนี้อาจารย์จากไปแล้ว คิดถึงอาจารย์เหลือเกิน แต่เป็นการจากไปเพียงร่างกาย ความดีงามของ อาจารย์ที่มีแก่วงการศิลปะไทย และความรักเคารพที่ดิฉันมีต่ออาจารย์จะอยู่ในความทรงจ�ำของดิฉันตลอดไป
C
O
LL
ขอให้ดวงวิญญาณของอาจารย์จงไปสู่สุคติ ในสัมปรายภพด้วยเทอญ
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
ด้วยรักและอาลัยยิ่ง
อวยพร, 2550 สีอะคริลิก, ปากกาหมึกด�ำ และปากกาเจลสีขาวบนผ้าใบ, 81 x 60.5 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
44
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 44
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
45
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 45
12/15/15 12:56 AM
"การจากไปเป็นเรื่องธรรมดา แต่การจากไปของคนที่เรารัก ไม่ธรรมดาเลย" ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร
ผมเรียกศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ว่า ‘อาจารย์ชลูด’ มาตั้งแต่เรียนอยู่กับท่าน แล้วก็เป็นลูกศิษย์ ท่านมาตลอด เมื่อตอนเรียนภาพพิมพ์พวกเรานั่งท�ำงานอยู่หน้าห้องของอาจารย์ ทุกวันเมื่อท่านมาท�ำงาน อาจารย์จะตรวจงานไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเข้าไปในห้อง ใครที่ท�ำงานได้ดีแล้วท่านจะออกมาชมเมื่อเจอ และ
R
C
ใครที่มีปัญหาก็จะถูกเรียกไปพบ ทุกวันเราจะได้ยินเสียงแกะหินดังเป็นจังหวะสม�่ำเสมอ ด้วยช่วงที่ผมเรียนอยู่
H IV
E
ก่อนเข้าห้องท่านจะเดินผ่านทางเดินที่พวกเราจะวางผลงานที่เพิ่งท�ำเสร็จเรียงรายอยู่สองฟากทางเดิน
A
เป็นช่วงที่อาจารย์ทำ� งานสลักหินอยู่ เสียงแกะหินจะดัง หยุดตอนพักกลางวัน และหากอาจารย์ไม่มีงานสอน
D
เสียงก็จะดัง ต๊อก… ต๊อก ไปจนเย็น มันเป็นเสียงแห่งภวังค์ เป็นจังหวะที่มีระเบียบและมีมนต์ขลัง ปลุกให้
A N
ทุกคนท�ำงาน จนเพื่อนบางคนพูดล้อเล่นว่า อาจารย์ท่านอาจจะเปิดเสียงเทปเอา
N
ผมเป็นศิษย์ที่เรียนรู้จากการท�ำงานของท่าน ความอุตสาหะ ความหมั่นเพียร ความมุ่งมั่นตั้งใจ พูดแต่
O
น้อย ท�ำเยอะ แต่ศิษย์คนนี้ได้มาไม่ถึงครึ่งของอาจารย์ หลายคนเข้าใจว่าผมเป็นศิษย์ที่ใกล้ชิดอาจารย์ ซึ่งผม
EC TI
ขอปฏิเสธว่าไม่ใช่ และผมคงเอาค�ำตอบจากค�ำถามที่ผมเคยถามอาจารย์ จากการสัมภาษณ์บนเวทีเมื่อคราวที่ อาจารย์ได้รับเกียรติยกย่องให้เป็น ‘ศิลปินแห่งชาติ ปี 2541’ ว่าเคยมีคนบอกว่า อาจารย์ชลูดเป็นศิษย์รัก
LL
ของอาจารย์ศิลป์ พีระศรี ท่านตอบผมว่า “ท่านรักลูกศิษย์ทุกคน ถ้าจะรักฉันก็คงเพราะฉันขยันและมี
O
ผลงานถูกใจท่าน”
C
เช่นกันที่แม้ว่าผมจะขยัน และมีผลงานดีๆ เท่ากระผีกของอาจารย์ แต่อาจารย์คงเห็นความดีของผมอยู่
M ER
ท่านจึงเมตตาผม ให้ผมได้มีโอกาสรับใช้งานส�ำคัญๆ ต่างๆ แต่ผมไม่เคยได้ก้าวล่วงไปในชีวิตส่วนตัวของ อาจารย์เลย ผมรู้จักอาจารย์ในขอบรั้วศิลปากรเท่านั้น ไม่รู้จักครอบครัวของอาจารย์ และไม่พยายามที่จะ
SA
สนิทสนมกับอาจารย์เป็นส่วนตัว ผมเพิ่งรู้ว่าอาจารย์ร้องเพลงเก่ง ร้องเพลงเพราะ ก็จากน้องสาวของอาจารย์
IM
เมื่อท่านเสียไปแล้ว เพราะไม่เคยได้ยินอาจารย์ร้องเพลงเลย
N
ผมเคยกินอาหารฝีมืออาจารย์และอาจารย์ปราณีเมื่อตอนที่คณะมีวิกฤตในปี พ.ศ. 2517 พวกเราต้อง
D
อยู่โยงเฝ้าคณะ ท่านสงสารกลัวเราหิวเลยท�ำอาหารมาเลี้ยง จากนั้นก็ไม่ได้ใกล้ชิดกับอาจารย์อีก
O
ผมเรียนรู้จากอาจารย์ไม่ใช่จากการพร�่ำสอน แต่เป็นจากการปฏิบัติตนของอาจารย์ ด้วยในยุคที่ผม
LO
เรียนอยู่ เป็นยุคที่อาจารย์ท่านไม่ค่อยพูด แต่ท่านสอนด้วยการกระท�ำ ไม่ว่าจะเป็นงานสร้างสรรค์ศิลปะ
A
ท่านท�ำให้เห็นถึงความมุ่งมั่น จุดหมายคือความก้าวหน้า ค้นหาความมีตัวตน และอิสรภาพ สอนสั่งการเป็น
C
H
ศิลปินนักบริหาร ท่านแก้ปัญหาด้วยการใช้สติปัญญา ด้วยเหตุผล ท่านเลิกดื่มเหล้าอย่างเด็ดขาดเมื่อด�ำรง ต�ำแหน่งเป็นคณบดีอย่างเต็มตัว ท่านเคยบอกว่าเหล้าคือตัวเก็บปัญหาไว้ เมื่อแก้ปัญหาไม่ได้ก็ไปดื่มเหล้า ให้ลืม แต่ปัญหาก็ไม่หมดไป
46
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 46
12/15/15 12:56 AM
ผมเคยรู้สึกน้อยใจว่า อาจารย์ไม่ค่อยชื่นชมกับงานเขียนหนังสือของผม ทั้งๆ ที่ผมส่งหนังสือทุกเล่มที่ผม เขียนให้อาจารย์อ่าน และอาจารย์นน ั่ แหละเป็นคนสนับสนุนให้ผมเขียนบทความศิลปะลงในสูจบ ิ ต ั รต่างๆ ของคณะ
H IV
E
ผมมารู้ในช่วงระยะเวลาหลังๆ ว่าอาจารย์อ่านหนังสือของผมแต่ไม่เคยชม เพราะอาจารย์อยากให้ผมทุ่มเทให้ กับการท�ำงานศิลปะมากกว่างานเขียน อาจารย์เป็นนักอ่านตัวยง อ่านทั้งภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษา
R
C
อิตาเลียน (ท่านเคยเล่าให้ฟังว่าสมัยเรียนที่โรม เขียนวิทยานิพนธ์เป็นภาษาอิตาเลียน) ท่านชื่นชอบวรรณกรรม
A
ของจอห์น สไตแบ็ค เล่าให้ฟังได้ทุกเรื่อง ผมมารู้ว่าท่านอ่านเรื่องเขียนของผมก็ตอนที่ผมอายุมากแล้ว ท่านคงคิด
D
ว่าผมเป็นไม้ที่แก่แล้วนั่นเอง ท่านจึงมักพูดคุยถึงหนังสือที่ผมเขียนให้ได้ยิน
A N
เมื่ออาจารย์มีลูกสาว (ดร.ประติมา นิ่มเสมอ) ท่านเริ่มพูดคุยกับลูกศิษย์มากขึ้น ท่านเล่าให้ฟังว่าการมีลูก
N
ท�ำให้ท่านรักลูกศิษย์เหมือนกับลูกของท่าน ผมไม่เคยเห็นท่านโกรธลูกศิษย์แม้ว่าศิษย์คนนั้นอาจจะยียวน ไม่เคย
O
เห็นท่านอารมณ์เสียกับสถานการณ์ใดๆ เลย ท่านรักและมีเมตตาต่อลูกศิษย์ทุกคน ในบั้นปลายของชีวิตท่านจึง
EC TI
เป็นที่รักของลูกศิษย์ และเป็นที่รักของคนศิลปะทุกๆ สถาบัน เมื่อเช้าวันที่ท่านต้องจากพวกเราไป (4 มิถุนายน พ.ศ. 2558) ผมตกใจ เสียใจ และมีอาการช็อคไปเป็น
LL
เดือนเหมือนกับช่วงเวลาที่พ่อและแม่ผมเสีย เคยพบอาจารย์ทุกวัน แต่เมื่อไม่ได้เห็นท่าน ก็รู้สึกถึงการจากไป
O
อย่างที่ไม่มีวันกลับ หน้าคณะว่างเปล่า สัญลักษณ์หนึ่งของศิลปากรหายไป
C
เมื่อครั้งที่พ่อผมเสีย เคยรบกวนให้อาจารย์เขียนค�ำไว้อาลัยในหนังสือพระราชทานเพลิงศพ ท่านเขียนมา
M ER
ให้ผมสองบท ซึ่งยังประทับใจจนบัดนี้ คือ บทแรก “สังขารทั้งหลายไม่เที่ยง ความแก่ ความเจ็บ ความตาย เป็นธรรมดาไม่มีใครล่วงพ้นไปได้
SA
เราพิจารณาอยู่อย่างนั้นเนืองๆ แต่เมื่อเกิดกับบุคคลที่เรารัก มันไม่ใช่อย่างนั้นเลย มันไม่ธรรมดาเลย”
IM
ความตายนั้นเป็นเรื่องธรรมชาติและธรรมดา ทุกคนรับรู้ และไม่เข้าใจเลยจริงๆ เมื่อมาเกิดกับคนที่เรารัก
N
บททีส ่ อง “ผู้ทเี่ รารัก เขาเผชิญกับความพลัดพรากด้วยสติสม ั ปชัญญะอย่างกล้าหาญ ทิง้ ความสูญเสีย
D
และโศกเศร้าไว้กับผู้อยู่เบื้องหลัง ขอให้เรามีสติสัมปชัญญะ และความกล้าหาญอย่างเดียวกับเขาเถิด และเมื่อเวลาของอาจารย์มาถึง ก็เป็นเช่นนั้นจริงๆ …สาธุ
C
H
A
LO
O
เมื่อถึงเวลาของเรามาถึง”
47
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 47
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C จานเครื่องปั้นดินเผาที่อาจารย์เข็มรัตน์ และอาจารย์กรธนา กองสุข ท�ำเตรียมไว้ให้อาจารย์ชลูดเขียนสี ซึ่งอาจารย์ชลูดชอบเรียกจานพวกนี้ว่า ‘บิสกิต’ ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ © invisible Academy Photography
48
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 48
12/16/15 3:46 AM
บิสกิตที่ยังไม่ได้เขียน ศาสตราจารย์เกียรติคุณเข็มรัตน์ กองสุข
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) ปี พ.ศ. 2555
เมือ ่ พ.ศ. 2508 ผมเรียนทีโ่ รงเรียนเพาะช่าง มีพช ี่ ายชือ ่ ฉลอง กองสุข ซึง่ เรียนทีเ่ พาะช่างเป็นนักเรียน รุ่นน้องอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ 1 ปี บ่อยครั้งพี่จะพูดถึงความเก่งกาจ รอบรู้หลายๆ ด้านของอาจารย์ให้ผมฟัง
H IV
E
เสมอๆ ตลอดถึงอาจารย์ผู้ใหญ่อีกหลายท่าน เช่น อาจารย์เขียน ยิ้มศิริ, อาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์, อาจารย์ทวี นันทขว้าง เป็นต้น
R
C
ครั้นเมื่อผมเข้ามาเรียนในคณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร ผมรู้สึกตื่นเต้นกับสถาบันแห่งใหม่
A
ซึ่งส�ำคัญที่สุดของประเทศไทย ความอยากรู้เรื่องศิลปะ รวมถึงความเป็นศิลปินของทุกท่านโดยเฉพาะอาจารย์
D
ชลูด นิ่มเสมอ กับอาจารย์เฟื้อ หริพิทักษ์
A N
ผมตัดสินใจเลือกเรียนประติมากรรมกับอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ และอาจารย์เรืองสุข อรุณเวช อีกท่าน
N
หนึ่ง เส้นทางประติมากรรมเป็นไปด้วยดี จนกระทั่งอาจารย์ชลูดเมตตาให้เครื่องมือหลายชิ้นเพื่อเป็นรางวัล
O
เป็นการให้พลังสร้างสรรค์ เน้นย�ำ้ ให้ลูกศิษย์เป็นประติมากร
EC TI
ผมมีโอกาสได้สอนศิลปะพืน ้ ฐานร่วมกับอาจารย์ และในช่วงท้ายภาควิชาศิลปไทยได้เชิญมาร่วมประเมิน ผลงานศิลปนิพนธ์ของนักศึกษา จึงได้ใกล้ชิดกับอาจารย์มากยิ่งขึ้น อาจารย์ได้โทรศัพท์มาหาผมเมื่อ 10.00 น.
LL
เช้าวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2558 เพื่อให้ช่วยท�ำชามเครื่องปั้นดินเผา ผมกับอาจารย์กรธนา กองสุข จึงไปพบ
O
อาจารย์ในตอนบ่ายวันนั้นที่บ้านของอาจารย์
C
วันที่ 2 มิถุนายน เอาผลงานเข้าเตาเผา และเอางานออกจากเตาวันที่ 4 มิถุนายน เวลา 9.00 น.
M ER
เช้าอาจารย์สิ้นใจตอน 6.45 น. ผมทั้งสองรู้สึกช็อคและเสียใจมาก ท้ายนี้ ผลงานของอาจารย์ในหลายๆ ด้าน รวมถึงการขยายการศึกษา อาทิเช่น ภาควิชาภาพพิมพ์และ
SA
ภาควิชาศิลปไทย นับเป็นคุณูปการอันใหญ่หลวงต่อประเทศชาติและสถาบัน เป็นแบบอย่างให้ผมระลึกไว้ใน
N
IM
ความทรงจ�ำตลอดไป
C
H
A
LO
O
D
ด้วยความรักและเคารพยิ่ง
49
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 49
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C บัลลังก์กับโพธิ์ทอง, 2538 สีฝุ่น, ปิดทอง และแอร์บรัชบนกระดาษสาไทย, 89 x 83.5 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
50
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 50
12/16/15 11:20 PM
คำ�ไว้อาลัย ด้วยความรักเคารพและอาลัยเป็นที่สุด อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ปี พ.ศ. 2554
ผมเป็นคนไม่เก่ง ผมเป็นคนไม่ดีในสายตาของท่านอาจารย์ชลูดและของอาจารย์ทุกคน เพราะผมเป็น คนไม่เก่งวิชาองค์ประกอบศิลป์ ซึ่งเป็นวิชาสร้างสรรค์สุดส�ำคัญยิ่งที่ท่านอาจารย์ชลูดเป็นผู้สอน เพราะผมเป็น
H IV
E
คนทีค ่ ด ิ ต่างจากสไตล์ความคิดแบบศิลปินศิลปากรนิยม ผมชอบแต่งตัวตามแฟชัน ่ วัยรุ่นตามยุคสมัย ไม่แต่งตัว เซอร์เป็นผีบ้าตามอย่างรุ่นพี่ๆ ผมใช้เวลาไปกับความหล่อเพื่อหลีหญิง ในชั้นปีที่ 1 ถึงปีที่ 3 ผมจึงมีชีวิตที่หลง
R
C
ไปกับแสงสีเสียง ผู้หญิง เหล้าเบียร์ การเรียนเอาแค่รอดก็พอ
A
ปี 4 ผมเปลี่ยนเป็นคนละคนก็เพราะท่านอาจารย์ชลูดผลักไสให้ผมไปเรียนปั้น ไม่ให้ผมลงเรียนภาค
D
ศิลปไทยที่ท่านเป็นผู้เปิดหลักสูตรใหม่ ผมดื้อลงเรียนโดยที่ท่านไม่รู้ เพราะผมชอบศิลปไทย ซึ่งเป็นวิชาเดียวที่
A N
ผมได้เกรด A มาโดยตลอด วันแรกที่พบกับอาจารย์ในภาควิชา ท่านอาจารย์ชลูดเห็นมีผมนั่งอยู่ด้วย จึงถามว่า
N
“เธอเรียนด้วยเหรอ”
O
ผมเปลี่ยนชีวิตผมใหม่เพราะท่านอาจารย์ชลูด ท่านไม่เคยตักเตือนผม แต่การกระท�ำวัตรปฏิบัติของท่าน
EC TI
ต่างหากที่เป็นแบบอย่างให้แก่ผมและลูกศิษย์เก่งๆ ทุกคน ความขยันหมั่นเพียรของท่าน ไม่ว่าจะเป็นการสร้าง งานศิลปะหรือการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ๆ มาสอนลูกศิษย์ ท่านจึงเป็นศิลปินครูผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดของแผ่นดินที่
LL
ลูกศิษย์ลูกหาและบุคลากรในวงการศิลปะต่างยกย่องเชิดชู
O
ผมเปลี่ยนแปลงความคิดในการใช้ชีวิตเพื่อมุ่งไปสู่ความส�ำเร็จตามค�ำของท่านอาจารย์ชลูดที่บอกกับผม
C
ว่า “เหลิมชัย เธอท�ำงาน” และค�ำที่ผมประทับใจที่สุดในชีวิต เมื่อครั้งที่ผมได้รับรางวัลที่ 1 จากการประกวด
M ER
จิตรกรรมบัวหลวง ครั้งที่ 3 ท่านอาจารย์ขึ้นมาที่ห้องผมอย่างเงียบๆ ขณะที่ผมก�ำลังเขียนรูปอยู่ อาจารย์มายืน ข้างหลังผมแล้วเรียก “เหลิมชัย” ผมหันกลับมาพร้อมยกมือไหว้อาจารย์ ท่านเอามือตบไหล่ผมแล้วหัวเราะดัง
SA
ลั่นห้อง แล้วบอกกับผมว่า “เธอได้รางวัลที่ 1 นะ”
IM
ท่านอาจารย์ชลูดท่านมีความรักความเมตตาแก่ลก ู ศิษย์ทเี่ ป็นคนดีคนขยันสูงมาก ถ้าใครอยากให้อาจารย์
N
รักและชื่นชม ต้องขยันสร้างสรรค์งานศิลปะให้มากๆ เท่านั้น
D
ผมมีวน ั นีเ้ พราะท่านอาจารย์ชลูด พูดได้อย่างเต็มปากเต็มค�ำ ผมจึงรักและอาลัยท่านอาจารย์ผ้ม ู พ ี ระคุณ
C
H
A
LO
O
อันสูงส่งมากล้นเกินที่จะพร�่ำพรรณนาเป็นอักษรได้ ท่านอาจารย์จากไปแล้ว แต่ผลงานเบื้องหลังที่ท่านอาจารย์ได้สร้างคุณูปการไว้ให้กับวงการศิลปะนั้น
มากมาย ไม่ว่าจะเรื่องหลักสูตรการศึกษาศิลปะ หรือการสร้างศิลปินอาชีพให้แก่ประเทศชาติ กราบขอบพระคุณอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ เป็นอย่างสูงสุดในทุกเรื่องที่อาจารย์ได้สร้างไว้เพื่อให้พวกเรา
ได้ระลึกถึงคุณงามความดี และผลงานที่ยิ่งใหญ่ของท่านอาจารย์ กราบท่านอาจารย์ด้วยความรักเคารพอย่างสูงสุด 9 สิงหาคม 2558
51
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 51
12/15/15 12:56 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C แม่ลูกอ่อน, 2544 สีอะคริลิกบนกระดาษด�ำ, 50 x 35 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
52
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 52
12/16/15 11:20 PM
คำ�สอนอาจารย์พ่อ ตั้งแต่พบจนจาก รองศาสตราจารย์มัลลิกา มังกรวงษ์
ตุ้ม…เป็นชื่อที่อาจารย์ท่านเรียกตั้งแต่เริ่มเป็นลูกศิษย์จนปัจจุบัน ในช่วงแรกที่เราเข้าเรียน ท่านจะจ�ำ ได้แม่นเนื่องจากเป็นรุ่นปี 2511 ที่มีศิษย์ผู้หญิงเพียง 3 คน เมื่อเข้ามาเรียนศิลปะในรั้วมหาวิทยาลัย ในวิชา
H IV
E
องค์ประกอบศิลป์ซึ่งอาจารย์ท่านเป็นผู้สอน ท่านช่วยแก้ปัญหาในทางสร้างสรรค์งานด้วยค�ำสอนสั้นๆ ว่า “ดูให้มาก ดูแล้วเห็นอะไร ให้เขียนทุกอย่างที่เห็นแล้วเลือกมาใช้ประกอบกันให้ตรงกับโจทย์” ท่านสอน
R
C
ให้บันทึกประจ�ำวันด้วยภาพ Sketch แล้วบรรยายอย่างละเอียด หรือกลับกันให้บันทึกอย่างละเอียดแล้ว
A
เขียนภาพประกอบ นี่เป็นตัวอย่างน้อยนิดของการแก้ปัญหาให้ลูกศิษย์แต่ละคน นอกเหนือจากความรู้หลักอีก
D
มากมายที่ท่านปรับให้ทันสมัยอยู่เสมอ ช่วง Thesis พวกเราเป็นรุ่นแรกๆ ที่จะต้องเขียนวิทยานิพนธ์และต้อง
A N
Present งานซึง่ เป็นสิง่ ใหม่มากส�ำหรับพวกเรา จึงต้องเตรียมบทอธิบายกันอย่างมากล้น ทีส ่ ด ุ อาจารย์สอนว่า
N
“ท�ำงานให้มาก พูดให้น้อย ท้ายที่สุดไม่ต้องพูดอะไรเลย งานมันจะพูดเอง” พวกเราจะรักเคารพและกลัว
O
ท่านมาก โดยเฉพาะถ้าไม่มี Sketch หรืองานส่งท่าน ความรู้สึกนี้ยังติดตัวมาจนถึงทุกวันนี้
EC TI
ออกจากรั้วมหาวิทยาลัย โชคดีที่เป็นครูสอนศิลปะ เป็นโอกาสได้นำ� ความรู้ แนวคิด ทัศนคติที่ได้รับ ปลูกฝังมาให้ยึดมั่นในจรรยา ถ่ายทอดให้ลูกศิษย์ด้วยความซื่อสัตย์ในวิชาชีพ จ�ำค�ำสอนของท่านที่ว่า
LL
“ให้ม่งุ เน้นท�ำงานให้ดท ี ส ี่ ด ุ อย่ามุ่งกับอามิส แล้วลาภ ยศ สรรเสริญจะมาเองภายหลัง” จนช่วงปี พ.ศ. 2547
O
ภาควิชาวิจิตรศิลป์ได้เปิดหลักสูตรปริญญาโท เป็นอีกครั้งที่ได้ใกล้ชิดท่านมากขึ้น เมื่อทางภาควิชาได้เชิญท่าน
C
มาสอนที่ลาดกระบังในวิชาสัมมนาทัศนศิลป์ ด้วยความเมตตาของท่านท�ำให้ลูก 3 คน พี่เด (ศาสตราจารย์
M ER
เดชา วราชุน) ปู (รองศาสตราจารย์อลิตา จั่นฝังเพชร) และเราได้มีโอกาสตอบแทนพระคุณอาจารย์ตามวาระ และโอกาสที่อ�ำนวย และประมาณปี พ.ศ. 2551–2552 อาจารย์ของดสอนที่ลาดกระบังเพราะการเดินทางที่
SA
ไกลมาก พวกเราจึงน�ำนักศึกษาไปเรียนทีบ ่ ้านอาจารย์แทน ครัง้ ทีไ่ ปกราบท่านว่าคิดถึงอาจารย์ ท่านจะสอนว่า
IM
“คิดถึงฉันก็ท�ำงานซิ”
N
เรารู้ตลอดเวลาทีท ่ ่านป่วยด้วยความเป็นกังวล แต่ทก ุ ครัง้ ทีถ ่ ามถึงสุขภาพ ท่านก็จะตอบอย่างอารมณ์ดี
D
และบอกว่า “ไม่ต้องห่วง ฉันเชื่อมือหมอ เค้าเก่งมาก” จนครั้งสุดท้ายที่นำ� นักศึกษาไปเรียนกับท่านรู้สึก
O
ใจหายเมื่อทราบว่า ท่านจะต้องไปฉายแสงที่คอ และเช่นเคยท่านหัวเราะอารมณ์ดี บอกว่าแค่เดือนเดียวก็หาย
C
H
A
LO
แล้ว หมอเค้าเก่ง ก่อนกลับอาจารย์เรียกตุ้มกับปูเข้าไปในห้องเก็บงานเซรามิค และให้เลือกไปคนละชิ้น วินาทีนั้นมีความรู้สึกเพียงอย่างเดียวคือ ปิติ ท่วมท้น รู้สึกถึงความรักความเมตตาที่ท่านมอบให้ โดยไม่ได้ เฉลียวใจเลยว่า นี่คือสิ่งสุดท้ายที่อาจารย์มอบให้ไว้แทนตัวท่าน งานชิ้นนี้เปรียบเสมือนเป็นสิ่งสุดท้ายที่คอย เตือนใจว่า...อย่าลืมค�ำสอนของท่าน ด้วยความรักเคารพและอาลัยอย่างสุดซึ้ง
53
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 53
12/15/15 12:54 AM
ความไว้อาลัย อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร
ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) ปี พ.ศ. 2557
C
H IV
E
วันยามอยู่ย�้ำเหยอเออออท่าน วันวายปราณย�ำ่ ยามถามไฉน ยามยังอยู่เยิ่นเย้อยาดดูดาย ยามมลายโหยหาอาลัยวอน
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
M ER
C
O
LL
EC TI
O
N
A N
D
A
R
ยากยิ่งทวนหวนวานผ่านพ้นแผ้ว ยากยินแผ่วแว่วเสียงเพียงแย้มสรวล เยือนยามใหม่จากใจยากอยากลืมเลือน เยือนย�่ำย�้ำเย้ยหยามยามละลืม
54
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 54
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C กวีบทที่ 1–8–3, 2525 หมึกและสีนำ�้ บนกระดาษ, 14.8 x 20 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
55
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 55
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C
ผู้หญิงนั่ง, 2504 ภาพพิมพ์แกะไม้สีน�้ำ, 48 x 27 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
56
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 56
12/15/15 12:54 AM
แด่บรมครูผู้เป็นเสาหลักแห่งมหาวิทยาลัยศิลปากร ศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์
ศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ คือบรมครูผู้เป็นที่เคารพรักอย่างมากของพวกเราชาวศิลปากร ท่านเป็น เสมือนเสาหลักที่ช่วยประคับประคองและค�ำ้ ยันให้ศิลปากรสามารถยืนยงคงอยู่ เป็นมหาวิทยาลัยศิลปะที่มี
H IV
E
รากฐานและมาตรฐานอันดีมาได้ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ลูกศิษย์ลูกหาจ�ำนวนมากทั้งรักทั้งเกรงกลัวอาจารย์ ชลูด เพราะกิตติศัพท์เรื่องความจริงจังในการท�ำงาน ความมีระเบียบวินัย และความตรงต่อเวลาอย่างสูง
R
C
ท�ำให้ลูกศิษย์ (ที่ไม่ขยัน) จ�ำนวนมากทั้งกลัวทั้งเกร็งเวลาอยู่ต่อหน้าอาจารย์ชลูดเสมอ หากแต่ส�ำหรับผม
A
ผมไม่เคยกลัวอาจารย์จนลนลานขนาดนั้น อาจเป็นเพราะอาจารย์ชลูดท่านเกิดปีเดียวกับคุณแม่ของผม
D
นอกจากนั้นยังมีคุณลักษณะนิสัยบางประการที่คล้ายเคียงกันเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของความมี
A N
ระเบียบวินัย ความจริงจังทุ่มเท ใส่ใจกับการงานทุกอย่างที่ท�ำ รวมไปถึงความเข้มแข็งมั่นคงในหลักการวิถีคิด
N
หลายๆ อย่าง เวลาอยู่ใกล้อาจารย์ชลูดท่าน ผมจึงมีความรู้สึกราวกับเวลาอยู่กับผู้ปกครอง คือมีความเกรงใจ
O
เคารพนบนอบ แต่ไม่เคยกลัว เพราะเรารู้เสมอว่าสิ่งที่ท่านท�ำทุกอย่างก็เพื่อเรา
EC TI
เมื่อสมัยที่ผมยังเป็นนักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท เมื่อใดก็ตามที่ผมมีปัญหาเรื่อง การท�ำงานศิลปะ ผมก็จะเอางานของผมไปให้อาจารย์ชลูดดู ไปปรึกษาท่าน เรียนขอค�ำแนะน�ำจากท่าน และ
LL
ท่านก็มักจะช่วยชี้แนะแนวทางในการสร้างสรรค์ผลงานด้วยกระบวนการคิดที่ก้าวหน้าน�ำสมัย จนผมผ่านพ้น
O
ประเด็นปัญหาต่างๆ ในการเรียนศิลปะมาได้อย่างเรียบร้อยทุกครั้งไป
C
อาจารย์ชลูดท่านเป็นคนอ่านหนังสือเยอะมาก ท่านมีความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีศิลป์ สุนทรียศาสตร์
M ER
และตรรกะเหตุผลอันน่าเชื่อถือมาสอนสั่งลูกศิษย์ลูกหาอยู่เสมอ ยิ่งเมื่อเวลาที่ผมเข้ารับราชการเป็นอาจารย์ และมีโอกาสได้สอนนักศึกษาร่วมกับท่านเป็นเวลากว่า 10 ปี ก็ยิ่งท�ำให้ผมได้ประจักษ์ชัดในความเป็นปราชญ์
SA
ผู้มีทั้งศาสตร์และศิลป์เป็นวิทยาการ มีความคิดความอ่านก้าวหน้า สามารถมองผ่านฉากม่านแห่งความ
IM
สวยงามลงลึกไปถึงแนวความคิดอันแปลกใหม่สร้างสรรค์เป็นเอกเทศ ซึ่งประเด็นเรื่องความสร้างสรรค์นี่เองที่
N
เป็นหลักคิดส�ำคัญส�ำหรับการศึกษาศิลปะ ณ ศิลปากร
D
การได้สอนร่วมกับคณาจารย์ผ้ใู หญ่หลายๆ ท่าน โดยเฉพาะอาจารย์ชลูด ท�ำให้ผมได้แง่คด ิ ในการท�ำงาน
O
ศิลปะทีส ่ ามารถน�ำมาต่อยอดเชิงสร้างสรรค์ได้เสมอ ในชัน ้ เรียนนัน ้ ๆ ผมจึงเป็นทัง้ ผู้สอนทีพ ่ ยายามมอบความรู้ ได้เกร็ดความรู้ ได้เห็นมุมมองใหม่ๆ เพื่อน�ำไปพัฒนาผลงานศิลปะของตนเองด้วยเช่นกัน
C
H
A
LO
ความคิดให้นก ั ศึกษา ขณะเดียวกันผมก็ยงั คงได้รบ ั การสอนจากคณาจารย์ผ้ช ู แ ี้ นะให้แง่คด ิ ให้ทก ุ คนในชัน ้ เรียน
57
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 57
12/15/15 12:54 AM
เมื่อสมัยแรกๆ ที่ผมเริ่มส่งงานประกวดศิลปกรรมและได้รับรางวัลทั้งในระดับประเทศและระดับ นานาชาติ อาจารย์ชลูดท่านเคยกล่าวกับผมว่า “รางวัลที่ได้รับอาจเป็นปัจจัยหนึ่งซึ่งการันตีถึงคุณภาพ และคุณค่าในผลงานของเรา แต่เราก็ไม่ควรหลงตน ยึดโยงรางวัลเหล่านั้นมาเป็นเครื่องเชิดชูยกย่อง ตนเองจนเกินไป ขอให้คิดว่ารางวัลที่ได้รับเปรียบเสมือนก�ำลังใจ และให้ใช้กำ� ลังใจนั้นไปพัฒนาเพื่อ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะทีม ่ ค ี ณ ุ ค่ายิง่ ๆ ขึน ้ ไปเรือ ่ ยๆ อย่าหยุดตนเองไว้แค่ความหลงระเริง หลงใหลใน ชือ ่ เสียงและรางวัลทีไ่ ด้รบ ั ” ผมจึงรับฟัง จดจ�ำ และปฏิบัติตามค�ำสอนสั่งอันเปี่ยมด้วยความเมตตาของท่าน อย่างจริงจังเรื่อยมา ไม่เคยลืมเลือน
C
ปฏิบัติให้ดู ท�ำให้ดูเป็นตัวอย่าง เช่น ถ้าหากมีชั้นเรียนตอนเก้าโมงเช้า อาจารย์ชลูดท่านก็จะเดินมารออย่าง
H IV
รับรู้ได้ทั่วกันในทุกเมื่อเชื่อวันของอาจารย์ชลูด ท่านเป็นครูที่ไม่เพียงแต่จะสอนสั่งชี้แนะแนวทาง แต่ท่านจะ
E
จิตวิญญาณแห่งความเป็นครูผู้มุ่งหวังให้ลูกศิษย์ได้มีความรู้ความเข้าใจในศิลปะ ปรากฏชัดเจนเป็นที่
R
สง่างาม เตรียมตัวพร้อมเข้าสอนที่หน้าคณะก่อนเวลาเสมอ แสดงให้เห็นถึงวินัยอันเข้มแข็งที่ลูกศิษย์ทั้งหลาย
A
ควรยึดถือเป็นแบบอย่างและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเช่นกัน
A N
D
สิ่งที่ผมได้เรียนรู้จากท่านซึ่งเป็นหัวใจส�ำคัญของความเป็นครูสอนศิลปะคือ ท่านพยายามให้นักศึกษา น�ำเสนอแค่ความสวยงามทางทัศนธาตุอันฉาบเคลือบไว้แค่วิธีการทางศิลปะเท่านั้น
N
เข้าใจธรรมชาติของตนเอง และให้พยายามน�ำสิ่งที่มีอยู่ในตัวตนเหล่านั้นมาถ่ายทอดสู่งานศิลปะ มิใช่การ
EC TI
O
บัดนี้ อาจารย์ชลูดท่านได้จากไปแล้วท่ามกลางความโศกเศร้าอาลัยของพวกเราชาวศิลปากรและผู้คน อีกมากมายที่เคยได้ใกล้ชิดกับท่าน แต่ส�ำหรับผม อาจารย์ชลูดไม่เคยจากไปไหน เพราะท่านยังอยู่ในจิตของ
LL
ผมเสมอและจะคงอยู่ตลอดไป คุณงามความดีและสิ่งอันทรงคุณค่าในคุณูปการต่างๆ นานาที่ท่านสร้างไว้ให้
C
M ER
การจดจารด้วยความส�ำนึกรู้คุณของพวกเราตลอดไป
O
กับวงการศิลปะร่วมสมัยในประเทศไทย จะยังคงอยู่ในความทรงจ�ำ และจะเป็นเช่นประวัติศาสตร์ที่คู่ควรแก่
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
ด้วยความเคารพรักและอาลัยยิ่ง
58
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 58
12/15/15 12:54 AM
คำ�ไว้อาลัยถึงศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ อาจารย์ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ
จากความคิดทีเ่ ดินตามแบบอย่างนักศึกษาศิลปะรุ่นก่อนๆ เมือ ่ มีความมุ่งมัน ่ จะเรียนศิลปะก็ต้องแสวงหา ศิลปาจารย์ผู้เป็นเลิศในแนวทางสร้างสรรค์ที่ปรารถนาเพื่อขอเป็นลูกศิษย์ ขอรับเอาองค์ความรู้จากท่าน
H IV
E
โดยเฉพาะในสาขาศิลปะไทย ด้วยความเป็นผู้ไม่รู้แต่มีความหวังอยากเป็นศิลปิน จึงสืบเสาะจนได้ยินชื่อของ ท่านอาจารย์ชลูด จากค�ำบอกเล่าของเหล่าลูกศิษย์ของท่านยิ่งท�ำให้อยากเรียนกับท่าน แม้จะเป็นเพียงเสียง
R
C
ร�่ำลือก็ตาม จนเมื่อได้เรียนครั้งแรกกับท่านอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ในรายวิชาองค์ประกอบศิลป์ ท่านได้ให้
A
ความคิดต่างๆ เกี่ยวกับทัศนศิลป์ ในเรื่องขององค์ประกอบที่จะมาเป็น ‘ศิลปะ’ เป็นอย่างไร และ ‘ศิลปะ’
D
มีองค์ประกอบเป็นเช่นไร ถ้อยค�ำที่ท่านสั่งสอนเป็นความรู้ที่งดงาม เป็นสิ่งที่ท่านได้ค้นคว้ามาเพื่อลูกศิษย์
A N
ท่านอาจารย์มีความคิดที่เที่ยงตรงไม่ประนีประนอมในสิ่งที่คลาดเคลื่อนเบี่ยงเบนออกจากความเป็นศิลปะ
N
แต่ในกระบวนวิธีสอนของท่านกลับยืดหยุ่น โดยที่ท่านไม่ได้มีอคติต่อโลกและต่อบุคคล สุดท้ายท่านยังให้เรา
O
ได้คิดเอง อย่าเชื่อที่ท่านพูด โดยส�ำทับถึงบางสิ่งที่ไม่สามารถท�ำความเข้าใจได้อย่างถ่องแท้ในขณะหนึ่ง
EC TI
และจะเข้าใจได้เองเมื่อเติบโตแล้ว
อาจารย์ท่านรักและศรัทธาต่อสิ่งที่เรียกว่า ‘ศิลปะ’ ฉะนั้นในตัวและหัวใจของลูกศิษย์ที่มี ‘ศิลปะ’
LL
ท่านจึงรักไปด้วยพร้อมๆ กัน แต่ก็มีลูกศิษย์อีกมากมายที่ท่านรักและห่วงใย ที่ไม่ได้แสดงออก จึงเกิดมีความ
O
เศร้าใจในใจลูกศิษย์บางคน ซึ่งท่านก็รู้และเคยเล่าให้ฟัง
C
ด้วยความเป็นครู ท่านอาจารย์จะมุ่งใจไปที่งานศิลปะที่ดีของลูกศิษย์ด้วยความชื่นชม
M ER
ส่วนที่ไม่ดีท่านจะพูดถึงน้อยมาก ในทางความรู้สึกระหว่างบุคคลของท่านจึงเป็นเรื่องรองจาก ‘ศิลปะ’ ณ เวลานี้ท่านศาสตราจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ได้ลาสังขารผ่านไปสู่ ดิน น�ำ้ ลม ไฟ คงเหลือสิ่งปลูกฝัง
SA
เป็นเมล็ดพันธ์ุแห่งทัศนศิลป์ไว้ให้บรรดาลูกศิษย์ได้สืบสานให้เจริญด้วยเจตนารมณ์ที่ท่านมีปณิธานไว้ว่า
IM
‘ศิลปะ’ เป็นสิ่งดีงาม เป็นมงคลชีวิต เป็นความเจริญของประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งศิลปะไทยที่ท่านได้
N
ประสิทธิ์ประสาทองค์ความรู้นี้จนวาระสุดท้าย จึงขอไว้อาลัย ขอรฤกถึงพระคุณของท่านศาสตราจารย์ชลูด ศิษย์ขออาราธนาให้ท่านสู่สุคติด้วยปิติสุข ด้วยกุศลความดีทั้งปวงเทอญ
C
H
A
LO
O
D
นิ่มเสมอ ศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์
59
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 59
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 60
12/16/15 2:00 AM
จดหมายผ่านผนัง
The Letter through the Walls อาจารย์สุรสีห์ กุศลวงศ์
อาจารย์ชลูดครับ
H IV
E
ตอนผมแสดงงานอยู่ทป ี่ ารีส เพือ ่ นคิวเรเตอร์ชาวสวิสเล่าให้ฟังว่า เมือ ่ ก่อนในสมัยเรอเนสซองส์ ผู้คนชืน ่ ชม และยืนดูผลงานศิลปะในพิพิธภัณฑ์แล้วร้องไห้ด้วยความซาบซึ้งและสะเทือนใจ แต่หลังจากที่เรามีกล้องถ่ายรูป
R
C
ใช้กันตั้งแต่ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 เป็นต้นมา ไม่มีใครพบเห็นผู้คนร้องไห้ต่อหน้าผลงานศิลปะอีกเลย
D
A
อาจารย์ว่าจริงไหมครับ?
A N
ผมว่าน่าจะจริง เพราะมนุษย์พันธุ์ใหม่ในโลกยุคดิจิตอลนี้ ไม่ใคร่จะซาบซึ้งและเสียน�ำ้ ตาง่ายๆ ให้กับ ผลงานศิลปะ
O
N
หลังจากได้คุยกับอาจารย์ครั้งสุดท้ายเมื่อเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ผมมาบ้านอาจารย์บ่อยครั้งขึ้นเพื่อ
EC TI
่ าจารย์ได้เกริน ่ ไว้กบ ั ผม ทุกครัง้ ทีผ ่ มได้ดห ู รือนัง่ ท�ำงาน ตระเตรียมสิง่ ต่างๆ และท�ำหนังสือ ‘สัพเพเหระฯ’ ตามทีอ อยู่ในห้องที่ห้อมล้อมไปด้วย ‘จิตรกรรมบุผนัง’ ผลงานชุดสุดท้ายของอาจารย์ที่ติดไว้บนผนังหลายพันชิ้นใน
LL
สตูดิโอแกลลอรี่ ท�ำให้ผมอดไม่ได้ที่จะนึกถึงความรู้สึกแบบเดียวกันนี้เมื่อเกือบยี่สิบห้าปีที่แล้ว ตอนได้ดูงาน
O
ภาพเขียนเฟรสโกของจอตโต (Giotto) บนผนังโบสถ์สโครเวนยี (Cappella degli Scrovegni) ในเมืองปาโดวา
C
(Padova) ประเทศอิตาลี ทีท ่ ำ� ให้ผมรู้สก ึ ทัง้ ตืน ่ เต้น สะเทือนใจ และสงบในเวลาเดียวกัน หรือเหมือนกับตอนที่
M ER
เดินเข้าไปอยู่ในห้องผลงานวาดเส้นบนผนังทั้งห้อง (Wall Drawing) ของโซล เลวิทท์ (Sol LeWitt) ใน พิพธิ ภัณฑ์ศล ิ ปะสมัยใหม่ (SFMOMA) เมืองซานฟรานซิสโก เมือ ่ สิบกว่าปีก่อนตอนทีผ ่ มไปแสดงงานทีเ่ มืองนี้
SA
อาจารย์ครับ ดูเหมือนว่าผมน่าจะเป็นเรอเนสซองส์แมนในยุคโพสต์ ฮิวแมน (Renaissance Man in the Post–Human Era) เห็นจะได้ เพราะผมร้องไห้ต่อหน้างานศิลปะของอาจารย์ เหมือนกับคนยุคเรอเนสซองส์
แต่ร้องไห้อยู่ข้างในครับ เคารพรักเสมอ สุรสีห์, 3 พฤศจิกายน
2558
C
H
A
LO
O
D
N
IM
เขาท�ำกัน แต่ต่างกันตรงที่ผมไม่ได้ร้องไห้ออกมาให้ใครเห็น
จิตรกรรมบุผนัง, 2499–2558 สตูดิโอแกลลอรี่ที่อาจารย์ชลูด น�ำผลงานจิตรกรรมและวาดเส้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499 จนถึง พ.ศ. 2558 มาติดไว้เต็มผนังทุกด้าน จากพื้นจรดเพดาน โดยติดทับซ้อนกันไปสามถึงสี่ชั้น ที่ประตูทางเข้าอาจารย์ติดป้ายไว้ว่า ‘จิตรกรรมบุผนังของอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ’
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 61
58-11-086_001-184_new18-12 chaloo_uncoated-W.indd 61
12/18/15 11:51 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 62
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 62
12/15/15 12:54 AM
ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ รองศาสตราจารย์ปริญญา และอาจารย์สุชาดา ตันติสุข ปรัชญา และ น�้ำใส ตันติสุข
ระหว่างงานพิธีศพ เพื่อนคนหนึ่งเอ่ยถามข้าพเจ้าว่า เมื่อศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ได้จาก ไปแล้ว คิดว่ามีใครที่มีความรู้ความสามารถไขความกระจ่างเรื่องศิลปะได้ในระดับทัดเทียมกับท่านอยู่อีกบ้าง
H IV
E
เราสองคนคิดกันอยู่สักพักก็ลงความเห็นว่า ในเวลานี้คงไม่มีใครอื่นอีกที่มีความสามารถไขความกระจ่างและ สามารถให้ค�ำตอบที่แหลมคมตรงชัดได้เช่นท่านอีกแล้ว เพราะความเป็นศิลปิน นักปราชญ์ และอาจารย์ที่
R
C
ยิ่งใหญ่ของท่านเกิดจากการศึกษาค้นคว้าและท�ำงานศิลปะจนแตกฉาน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อความเป็นศิลปะ
A
ที่แท้จริง และความมีมาตรฐานคุณภาพสูงมาอย่างต่อเนื่องยาวนานตลอดชีวิต ท่านจึงเป็นศิลปินและอาจารย์
D
ต้นแบบ เป็นที่เคารพนับถือศรัทธาของลูกศิษย์ทั้งในและนอกคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์
A N
มหาวิทยาลัยศิลปากร
N
ในอีกแง่มุมหนึ่ง ท่านมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับชีวิตครอบครัวของข้าพเจ้า ท่านให้ความอนุเคราะห์
O
และมีเมตตากับข้าพเจ้า ภรรยา และลูกของข้าพเจ้าทีน ่ บ ั เป็นหลาน เป็นทีซ่ าบซึง้ ใจแก่เราทุกคน มีกจิ กรรมเล็กๆ
EC TI
ของชีวิตระหว่างกัน ที่เป็นความประทับใจหลายครั้งเช่น การมาช่วยดูแลการท�ำพิธียกเสาเอกบ้านพุทธมณฑล หรือการให้คำ� แนะน�ำทัง้ จากท่านและน้องใหม่ทเี่ ป็นประโยชน์เกีย ่ วกับการใช้ชวี ต ิ การเล่าเรียนแก่ลก ู ของข้าพเจ้า
LL
เมื่อต้องเดินทางไปศึกษาต่อต่างประเทศหรือระหว่างกลับมาเยี่ยมบ้าน
O
บัดนีท ้ ่านซึง่ เป็นปูชนียบุคคลของข้าพเจ้าและครอบครัวได้จากไปแล้ว จึงขอกราบอธิษฐานจิต อาราธนา
C
คุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย ตลอดจนกุศลกรรมที่เป็นคุณงามความดีซึ่งท่านได้ท�ำไว้เมื่อครั้ง
M ER
ยังมีชีวิตอยู่ ได้โปรดอ�ำนวยผลดลบันดาลให้ท่านไปสู่สุคติในสัมปรายภพ และขอกราบอาจารย์ด้วยความ
C
H
A
LO
O
D
N
IM
SA
เคารพรักและอาลัยเป็นอย่างสูงยิ่ง
ลูกสาวกับโพธิ์ห้าสี, 2554 คอลลาจ, สีอะคริลิก, ปากกาหมึกด�ำ และตัวประทับแกะไม้บนผ้าใบ, 60.5 x 80.5 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
63
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 63
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C คิดถึง, 2500 สีน�้ำมันบนผ้าใบ, 53.5 x 79 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 64
12/16/15 2:00 AM
พี่ชายที่แสนดี อังสนา (นิ่มเสมอ) วาณิชกะ นันทวัน นิ่มเสมอ มาลินี นิ่มเสมอ
พี่ชายจากพวกเราไปเมื่อใกล้รุ่งของวันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ตรงกับวันแรม 3 ค�่ำ เดือน 7 ปีมะแม อายุได้ 86 ปี 2 เดือนเศษ เป็นการปิดฉากชีวิตถาวรของพี่ชายอันเป็นที่รักและเคารพยิ่งของน้องๆ
H IV
E
พวกเราเข้าใจกฎเกณฑ์ของธรรมชาติดี แม้กระนัน ้ ความรักความอาลัยทีม ่ ต ี ่อพีช ่ ายก็ทำ� ให้จต ิ ใจหวัน ่ ไหวไม่น้อย เพื่อเป็นการระลึกถึงพี่ชายที่แสนดี จึงอยากเล่าเรื่องราวที่ประทับใจของพี่ชายและของน้องๆ ซึ่งปัจจุบันเหลือ
R
C
น้อง (ไม่) สาวอีก 3 คน เป็นเรื่องประทับใจเล็กๆ ที่มักจะน�ำมาเล่าสู่กันฟังเมื่อมีโอกาสอยู่พร้อมหน้า แล้วเรา
A
ก็หัวเราะกันสนุกสนานเหมือนกลับเป็นเด็กอีกครั้งหนึ่ง ครอบครัวเราเป็นครอบครัวที่ยากจนแต่อบอวลด้วย
D
กลิ่นอายของความรักและความสามัคคี เรื่องประทับใจของพี่ชายเริ่มเมื่ออายุประมาณ 4 ขวบ (พ.ศ. 2475 –
A N
2476) พี่ชายได้ไปพักอาศัยอยู่กับญาติผู้ใหญ่ท่านหนึ่ง ซึ่งเป็นคนเจ้าระเบียบจู้จี้มาก บ้านอยู่แถวๆ บ้านขมิ้น
N
ฝั่งธนบุรี เวลารับประทานอาหารทุกมื้อสมาชิกของครอบครัวต้องนั่งล้อมวง (ส�ำรับ) พร้อมกัน พี่ชายตัวเล็ก
O
นิดเดียวอยากกินกับข้าวในส�ำรับที่อยู่ไกลมือ แต่ไม่กล้าบอกผู้ใหญ่เพราะเรียกชื่อไม่ถูก จึงค่อยๆ ยกตัวให้สูง
EC TI
ขึ้นเพื่อเอื้อมมือไปตัก เผอิญมือสะดุดขอบส�ำรับช้อนตกเสียงดัง ญาติผู้ใหญ่ท่านนั้นใช้มือตีก้นหลายที อาจมี หยิกแถมด้วย พร้อมสั่งสอนว่าเวลาตักกับข้าวไม่ให้ยกตัวเอื้อมมือล�ำ้ หน้าผู้ใหญ่ แต่ไม่ได้บอกต่อว่าต้องท�ำ
LL
อย่างไร มือ ้ นัน ้ พีช ่ ายจึงต้องกินน�ำ้ ตาปนข้าวแทนกับข้าวทีอ ่ ยากกิน ต่อมาจึงทราบว่าอาหารจานนัน ้ ชือ ่ ไข่ลก ู เขย
O
เมื่อพวกเราพี่ๆ น้องๆ ได้มาอยู่รวมกันหลังเกษียณอายุราชการ น้องสาวจึงพยายามท�ำไข่ลูกเขยให้พี่ชายกิน
C
บ่อยๆ ระหว่างที่พักอยู่บ้านญาติผู้ใหญ่พี่ชายยังมีโอกาสได้เรียนในชั้นเด็กเล็กของโรงเรียนปิยะวิทยาด้วย
M ER
จึงนับได้ว่าเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนปิยะวิทยาคนหนึ่ง (ไม่ทราบว่าปัจจุบันเลิกด�ำเนินการหรือยัง) เมื่อเล่า เรื่องนี้ครั้งใดพี่ชายจะหัวเราะเสียงดังลั่น ไม่ทราบว่าระบายความคับแค้นใจหรือข�ำขันกันแน่
SA
พี่ชายนับเป็นคนเก่งส�ำหรับน้องๆ เป็นฮีโร่ในดวงใจ เป็นต้นว่า เขียนภาพเก่ง ลายมือสวย ร้องเพลง
IM
เพราะ เรียนเก่ง ขึ้นมะพร้าวอ่อนให้น้องๆ กินเป็นประจ�ำ ฯลฯ พี่ชายท�ำกิจกรรมหลายอย่างที่ประทับใจน้องๆ
N
ไม่รู้ลืม แม้เวลาจะผ่านมาถึง 70 ปีแล้วก็ตาม และไม่น่าเชื่อว่าเรื่องประทับใจเล็กๆ ลึกๆ ในวัยเด็กจะสามารถ
D
กล่อมเกลาจิตใจของพวกเราให้อ่อนโยนได้โดยไม่มีคำ� สอนใดๆ เมื่อพี่ชายเรียนจบชั้นมัธยม 6 จากโรงเรียน
O
วัดนวลนรดิศแล้ว (พ.ศ. 2488) ยังไม่มีจุดหมายในชีวิตว่าจะเดินไปทางไหน ช่วงเวลานี้พี่ชายยังคงอยู่กับบ้าน
C
H
A
LO
ได้แสดงความสามารถเล็กๆ ให้ประทับใจน้องๆ โดยเฉพาะน้องสาวคนเล็กซึง่ อยู่ชน ั้ ประถมปีที่ 2 พีช่ ายรับหน้าที่
เป็นผู้เหลาดินสอให้น้องๆ ด้วยมีดคมกริบ (สมัยนัน ้ ยังไม่ร้จู ก ั กบเหลาดินสอ) รอยหยักของเปลือกดินสอจะเป็น รูป 6 แฉก เหมือนกลีบดอกไม้เท่ากันทุกกลีบ มี 2 ลักษณะคือ กลีบมนและกลีบแหลมสวยงามมาก ไม่ว่าแท่ง
ดินสอจะกลมหรือเป็นเหลี่ยมก็ตาม หลายคนพยายามเลียนแบบแต่ก็ไม่เคยมีใครท�ำได้สวยเหมือนพี่ชาย
65
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 65
12/15/15 12:54 AM
เมื่อพูดถึงดินสอก็ขอตามด้วยสมุดและหนังสือ สมัยนั้น (ประมาณ พ.ศ. 2488) ครูจะบังคับให้นักเรียน ชั้นประถมทุกคนห่อปกสมุดและหนังสือด้วยกระดาษสีน�้ำตาล เพื่อให้แลดูใหม่อยู่เสมอ ไม่เลอะเทอะสกปรก น้องสาวไม่มีกระดาษสีน�้ำตาลเพราะราคาแพงไม่มีเงินซื้อ พี่ชายจึงใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ซึ่งหาค่อนข้าง ยากเพราะคนไม่นิยมอ่านหนังสือพิมพ์ ต้องไปซื้อจากเจ๊กขายขวดในราคาที่ถูกสุดๆ กระดาษที่ใช้ห่อต้องไม่มี ภาพโฆษณาตัวอักษรหนาสีดำ� เพราะจะท�ำให้แลดูสกปรก พี่ชายท�ำหน้าที่ห่อปกด้วยความประณีตสวยงาม กระดาษตึงเรียบตลอด มุมทั้ง 4 ตั้งเหลี่ยมครบทุกมุม แล้วเขียนชื่อ นามสกุล ชื่อวิชา ด้วยลายมือบรรจง สวยงาม พร้อมวาดภาพประกอบเล็กๆ ไว้ที่มุมหนึ่งของหนังสือ เพื่อเป็นการบอกเรื่องราวของบทเรียนด้วย หมึกสีดำ� หรือสีแดง เจ้าของหนังสือตื่นเต้นมาก ยืนดูพี่ชายท�ำงานตัวตรงนิ่ง แทบไม่กระพริบตา นึกอยากจะ
C
รีบไปโรงเรียนเพื่ออวดเพื่อนๆ เสียในเวลานั้นเลย เมื่อถึงเวลาไปโรงเรียนวันรุ่งขึ้น น้องสาวรีบน�ำหนังสือวาง
H IV
E
เช่น หนังสือเรียนเรื่องลูกสัตว์ต่างๆ ก็จะมีภาพนกกางเขนเกาะกิ่งไม้ หรือภาพลูกอ๊อดว่ายน�ำ้ อยู่หนึ่งตัวด้วย
R
ไว้บนโต๊ะให้เพื่อนๆ เห็นโดยทั่วกัน เพื่อนๆ ในห้องต่างพากันมาดูด้วยความตื่นเต้น รวมถึงครูประจ�ำชั้นก็ยัง
A
มาหยิบดูด้วยความสนใจ
A N
D
พี่ชายเป็นคนร่างใหญ่ ดูบึกบึน คุณสมบัติประจ�ำตัวคือเงียบขรึม ไม่พูด ไม่เคยดุว่าใคร เวลาน้องๆ ท�ำผิดหรือแสดงบทดื้อ พี่ชายก็จะมองดูเฉยๆ นิ่งอยู่อย่างนั้นจนพวกเราเกรงใจต้องเลิกพฤติกรรมยวนกวน
N
ประสาทไปเอง ความที่เป็นคนเงียบขรึมไม่พูดกับใครท�ำให้เด็กๆ แถวๆ บ้านพากันกลัว เวลาเดินผ่านต้องรีบ
EC TI
O
เดินห่างไปโดยเร็ว แม้เพื่อนบ้านก็ไม่ค่อยกล้าพูดกับพี่ชาย บางคนแอบตั้งฉายาให้ว่า ‘อ้ายเสือยิ้มยาก’ จะอย่างไรก็ตามพวกเราลงความเห็นว่าพี่ชายของเราหล่อมากๆ เมื่อพวกเราเรียนสูงขึ้น แยกย้ายกันไปตาม
LL
ทางเดินของชีวิต พี่ชายไปสมัครเป็นทหารเรือเพราะเห็นว่ามีเงินเดือน จะได้ผ่อนภาระทางบ้านบ้าง แต่อยู่ได้ ไม่นาน (เข้าใจว่าถูกไล่ออก) ก็ไปเข้าเรียนที่โรงเรียนเพาะช่าง จนสุดท้ายได้เข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยศิลปากร
C
O
ช่วงนี้ดูพี่ชายมีความสุขมาก มีการฮัมเพลงบ่อยๆ ออกไปนั่งเขียนรูปในที่เงียบๆ ให้แม่และน้องนั่งเป็นแบบ
M ER
พวกเราก็สนุกไปด้วย นอกจากได้ชมงานเขียนของพี่ชายแล้วยังได้ฟังพี่ชายร้องเพลงเสียง Tenor อีกด้วย พี่ชายร้องเพลงได้ไพเราะมาก เพลงที่ได้ฟังเสมอๆ คือ Santa Lucia และ Good Bye To Rome
SA
เมื่อพี่ชายเรียนจบมหาวิทยาลัยศิลปากร และบรรจุเป็นอาจารย์ที่นั่น (พ.ศ. 2498) สถานะของพี่ชาย ที่มีต่อน้องๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม จากการเป็นคนเก่งที่แสนดีของน้องๆ ด้วยกิจกรรมเด็กๆ พี่ชายก็
IM
กลายเป็นผู้แนะแนวพิเศษของน้องๆ ให้ค�ำปรึกษาทุกเรื่อง ทั้งปัญหาชีวิต ปัญหาการเรียน ปัญหาจิปาถะ
N
แม้กระทั่งจะใช้ลิปสติกสีอะไรดี ฉลองปริญญาจะแต่งตัวอย่างไร ท�ำการบ้านไม่ได้ก็ต้องพึ่งพี่ชาย พี่ชายจึงเป็น
O
D
Dictionary ประจ�ำของน้องๆ และที่สำ� คัญเป็นตู้ A.T.M. ที่เครื่องไม่เคยรวนเลย พวกเรายังจ�ำติดตาตรึงใจ
LO
ไม่รู้ลืมถึงวันแรกที่พี่ชายได้รับเงินเดือนเดือนแรกในชีวิต พี่ชายกลับบ้านด้วยอารมณ์แจ่มใส ครวญเพลง
A
อิตาเลียนเบาๆ พูดเสียงดังกับน้องๆ ว่า “วันนี้จะพาไปดูหนัง” ความตื่นเต้นโกลาหลบังเกิดขึ้นทันที ต่าง
H
กังวลใจว่าจะแต่งชุดอะไรดี ซึ่งปกติก็จะมีชุดเพียงคนละไม่เกิน 2 ชุด เพราะใช้ชุดนักเรียนเป็นประจ�ำทุกวัน
C
ไม่เคยได้ใช้ชุดอื่นๆ เลย พี่ชายต้องเป็นผู้ตัดสินใจให้ และที่จำ� ได้ไม่ลืมเลยคือพวกเราแต่งชุดไปเที่ยวแต่สวม ถุงเท้ารองเท้าผ้าใบสีขาว เสียดายทีไ่ ม่ได้ถ่ายภาพไว้หวั เราะกันตอนแก่ ภาพยนตร์เรือ ่ งแรกในชีวต ิ ของพวกเรา
66
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 66
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI
ทีไ่ ด้เข้าชมในโรงชือ ่ ‘Bambi’ ของดิสนีย์ ชือ ่ ภาษาไทยว่า ‘กวางทอง’ เป็นเรือ ่ งชีวต ิ ของลูกกวางในป่าใหญ่
LL
เข้าฉายที่โรงหนังตลาดพลู หลังจากนั้นไม่นานพี่ชายก็พาพวกเราไปกินอาหารที่ร้านใกล้ๆ มหาวิทยาลัย
O
ศิลปากร อาหารมื้อนั้นมีสลัดเนื้อสันและอะไรทอดๆ อีก 2–3 อย่าง พอออกจากร้านพี่ชายก็ส่งพวกเราขึ้น
C
รถโดยสารประจ�ำทางกลับบ้าน เกร็ดทัง้ หลายทัง้ ปวงทีเ่ ล่ามาทัง้ หมดนีเ้ ป็นความประทับใจซึง่ กันและกันระหว่าง
M ER
พี่น้องที่ฝังใจยากจะลืม พวกเราขอกราบขอบคุณพี่ชายที่แสนดีไว้ ณ ที่นี้ด้วย แม้จะดูว่าพีช่ ายเป็นคนเก่ง อดทนต่อความล�ำบากยากแค้นของช่วงชีวต ิ บางตอน และวางเฉยในเหตุการณ์
SA
เลวร้ายต่างๆ ได้ แต่พี่ชายก็เคยร้องไห้ให้น้องเห็นครั้งหนึ่งและครั้งเดียวในชีวิต คงจะเป็นเรื่องที่บีบคั้นจิตใจ
IM
อย่างแสนสาหัส คืนวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2505 พี่ชายกลับบ้านดึกผิดปกติ เดินเข้าประตูบ้านช้าๆ และ
N
หยุดยืนอยู่หน้าบ้าน น้องสาวคนเล็กซึ่งเป็นคนคอยเปิด–ปิดประตู จึงเดินออกมาดูว่าท�ำไมพี่ชายไม่เข้าบ้าน
D
มองหน้าพี่ชายเห็นตาแดงกล�่ำมีน�้ำตาคลอ ด้วยความตกใจรีบถามว่า “พี่ลูดเป็นอะไร” พี่ชายยืนนิ่งอยู่ครู่ใหญ่
O
พูดด้วยเสียงธรรมดาว่า “อาจารย์ศิลป์ตายแล้ว” ท่วงทีท่าทางของพี่ชายขณะนั้นชวนให้อยากร้องไห้ด้วย
C
H
A
LO
รู้สึกสงสารพี่ชายจับใจ ช่วงชีวิตของพี่ชายที่เป็นอาจารย์อยู่มหาวิทยาลัยศิลปากร ทั้งก่อนไปเรียนต่อต่างประเทศและหลังจาก
กลับจากต่างประเทศแล้ว มีเรื่องราววุ่นๆ ภายในมหาวิทยาลัยทั้งบู๊และถูกบู๊ เพราะพี่ชายเป็นคนนิ่งไม่โต้ตอบ จึงเป็นฝ่ายถูกบู๊เสียมากกว่า ประมาณปี พ.ศ. 2517 มีเหตุการณ์ทท ี่ ำ� ให้พชี่ ายต้องบอบช�ำ้ มาก เป็นข่าวเอิกเกริก
อาจารย์ชลูดและน้องสาวทั้งสามคนที่สนามบินดอนเมือง ในวันไปส่งพี่ชาย เดินทางไปประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2507
© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 67
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 67
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C พี่น้อง, 2555 สีอะคริลิก, ปากกาเคมีสี และแอร์บรัชบนกระดาษสาไทย, 53 x 76 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
68
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 68
12/16/15 2:01 AM
โด่งดัง ด้วยความกรุณาของหนังสือพิมพ์รายวันฉบับหนึ่งร่วมกับนักเขียนบทความศิลปะชื่อดัง พยายามลงข่าว โจมตีพี่ชายเกี่ยวกับการบริหารงานในหน้าที่ตด ิ ต่อกันประมาณ 1 สัปดาห์ กล่าวถึงข้อบกพร่องต่างๆ ขณะนั้น คนกลุ่มหนึ่งในมหาวิทยาลัยก็ทำ� ใบปลิวโจมตีพี่ชายด้วยถ้อยค�ำหยาบคาย รวมทั้งบัตรสนเท่ห์ 2–3 ฉบับของ คนขี้ขลาด (เพราะไม่กล้าลงชื่อ) พวกน้องๆ รับฟังและได้อ่านข้อความนั้น แต่เราไม่ได้บอกให้พี่ชายรับรู้ เพื่อเป็น การช่วยลดความรู้สึกคับแค้นใจของพี่ชายลงระดับหนึ่ง เพราะตั้งแต่จำ� ความได้พวกเราไม่เคยได้ยินพี่ชายพูดค�ำ หยาบเลย ถ้าจะต้องให้มารับฟังถ้อยค�ำของคนถ่อยสถุลเหล่านั้น พี่ชายคงต้องใช้ความอดทนอดกลั้นอย่างที่สุด จากนั้นเรื่องก็ค่อยเลือนลางไปจากสังคม พวกเราไม่ได้รับทราบรายละเอียดมากนัก จนกระทั่งได้อ่านบันทึกอัน
E
ขมขื่นใจของพี่ชายหลังจากที่พี่ชายได้หลับสนิทไปแล้ว
H IV
ขอเล่าถึงอาการป่วยของพี่ชายเล็กน้อย ปกติพี่ชายเป็นคนแข็งแรงมาก ท�ำงานทั้งวัน นอกจากงานศิลปะ
C
อันเป็นที่รักแล้ว ยังมีงานสอน ซ่อมแซมเครื่องมือต่างๆ ซ่อมแซมบ้าน รวมถึงท�ำอาหารอร่อยๆ แจกน้องๆ ตั้งแต่
R
เดือนมกราคม พ.ศ. 2558 เป็นต้นมา พี่ชายมีอาการไอและส�ำลักบ่อยๆ โดยเฉพาะเวลารับประทานอาหาร ด้วย
A
ความเป็นคนอดทนคิดว่าจะสู้กับอาการเหล่านี้ได้ จึงไม่ออกปากใดๆ มักจะพูดกับลูกสาวและลูกศิษย์ที่มาเยี่ยมว่า
A N
D
“พ่อไม่เป็นไร” “ฉันยังแข็งแรง” ลูกสาวคนเดียวของพี่ชาย (ดร.ประติมา นิ่มเสมอ) ซึ่งคอยดูแลพ่อทุกฝีก้าว จึงได้พาไปพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุของอาการ และต่อจากนั้นก็มีการรักษาบ�ำบัดตามค�ำแนะน�ำของแพทย์
N
่ ง ในทีส ่ ด ุ ความแข็งแรงของสังขาร รวมกับความแข็งแกร่งของจิตใจก็พ่ายแพ้ต่อธรรมชาติ อย่างเคร่งครัดและต่อเนือ
EC TI
O
ฉะนั้นพี่ชายจึงนอนหลับอย่างสงบ ...............ลาก่อนพี่ชายที่แสนดี
LL
สุดท้ายพวกเราน้องๆ ของอาจารย์ชลูด นิม ่ เสมอ ขอกราบขอบพระคุณ ขอบคุณ และขอบใจบรรดาคณาจารย์ ท่านผู้มีเกียรติ เพื่อนๆ และลูกศิษย์ ตลอดจนผู้คุ้นเคยกับอาจารย์ชลูด ที่ได้กรุณาไปเยี่ยมเยียนอย่างสม�ำ่ เสมอ
C
O
ตั้งแต่อาจารย์ชลูดยังแข็งแรงดีและระหว่างมีอาการป่วยไข้ด้วยความห่วงใย น้องๆ ของอาจารย์ขอเรียนว่า
M ER
อาจารย์มค ี วามสุขอย่างยิง่ มักจะพูดทุกครัง้ หลังจากท่านผู้มาเยีย ่ มกลับไปแล้วว่า “ขอบใจพวกเขามาก ที่ท�ำให้
SA
ฉันได้หัวเราะเสียงดัง”
IM
ด้วยรักและระลึกถึง
C
H
A
LO
O
D
N
น้องๆ ของพี่ชาย
69
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 69
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 70
12/16/15 2:01 AM
“อาลูด ลุงลูด ปู่ลูด ตาลูด” หลานๆ
ขอเพิม ่ เติมบางส่วนในมุมมองของหลานๆ เท่าทีเ่ ห็นทัว่ ไปลุงลูดจะมีบค ุ ลิกเงียบขรึม ดังนัน ้ เมือ ่ ลุงร้องเพลง เสียงดังแต่ไพเราะ ก็เป็นทีป ่ ระหลาดใจอย่างมาก รวมทัง้ แง่มม ุ ในการเป็นนักท�ำอาหารแบบมืออาชีพ ตอนเด็กเห็น
H IV
E
เครื่องมือในครัวแปลกๆ หลายชิ้น มารู้ภายหลังว่าเป็นเครื่องท�ำเส้นพาสต้าของลุง ถ้ามีเวลาว่าง (ซึ่งก็น้อยนิด) ลุงจะท�ำอาหารเลิศรสแจกตามบ้านต่างๆ ที่ขึ้นชื่อมักจะเป็นขาหมูพะโล้ และหมูสามชั้นเค็ม การที่ลุงเหลาดินสอ
R
C
ให้น้องไปโรงเรียนตอนเด็กๆ นั้น หลานก็ได้ใช้บริการขอให้ลุงเหลาดินสอให้เหมือนกันเพื่อไปเรียนการแรเงาภาพ
A
ตอนหลานชายรุ่นเล็กท�ำการบ้านระบายสีนำ�้ เกิดข้อผิดพลาดมาให้น้าช่วยแก้ น้าก็เอาน�้ำลบบ้าง ทิชชู่ซับ
D
บ้าง จนกระดาษเยิน น้าเลยบอกว่า “เราไปหาตาลูดกันเถอะ” ตาลูดปรายตามองแล้วหยิบสีขาวมาผสมอย่าง
A N
รวดเร็วเอาพู่กน ั ป้ายเสร็จแล้วลบสีทล ี่ ำ�้ เส้น พร้อมแก้ไขกระดาษทีย ่ บ ั เยินของหลานให้มงี านไปส่งครูอย่างสวยงาม
N
มีหลานชายรุ่นใหญ่คนหนึ่งชื่นชอบการวาดรูปและมีแววที่จะเรียนได้ดี อาลูดก็จัดหาอาจารย์มาสอนให้ตัวต่อตัว
O
เพื่อสนับสนุนให้หลานมีโอกาสเรียนตามรอย แต่ในทีส ่ ด ุ หลานก็มาเรียนทางด้านดนตรีแทน ลุงบอกว่าศิลปะเรือ ่ ง
EC TI
อะไรก็คล้ายๆ กันแหละ และอีกครั้งหนึ่งหลานปู่ลูกสาวของหลานชายชอบการวาดรูปมากถึงขั้นไปเรียนพิเศษ เอารูปที่วาดมาให้ดูว่าพอจะมีแววต่อไปหรือไม่ และควรจะวาดอย่างไร ซึ่งปู่ลูดได้แนะน�ำว่า ท�ำตามที่เราชอบ
LL
ศิลปะไม่มถ ี ก ู ผิด และเช่นเคยหลานสาวคนนีก ้ ไ็ ม่ได้มาอยู่แวดวงการวาดรูป กลับไปเรียนทางด้านสถาปัตยกรรม
O
จริงๆ แล้วหลานๆ ได้ซม ึ ซับความชอบด้านศิลปะมาโดยไม่ร้ต ู วั จากการทีร่ ้จู ก ั ศิลปินในยุคต่างๆ ทัง้ ในประเทศ
C
และต่างประเทศ รูปไหนใครวาด วาดในยุคไหน ซึ่งไม่เคยรู้ตัวว่าได้ความรู้ นึกว่าเป็นเรื่องปกติที่ใครๆ ก็รู้กัน
M ER
จนกระทั่งไปเที่ยวพิพิธภัณฑ์ที่รัสเซีย ไกด์สงสัยว่าท�ำไมรู้จักศิลปินหลายคน จึงไม่ต้องอธิบายมาก ถึงได้รู้ว่ามี ความรู้กับเขาบ้าง หลานๆ หลายคนมีงานอดิเรกคือวาดรูประบายสี หลานสาวคนหนึ่งจบวิศวะไฟฟ้าแต่สามารถ
SA
วาดภาพได้อย่างสวยงาม เคยถามลุงว่าลุงชอบศิลปินคนไหน ลุงตอบว่า ลุงชอบ Picasso มาก งานของเขา
IM
ตรงใจลุง เป็นแรงบันดาลใจให้ผลิตรูปวาดในสไตล์ ชลูด นิ่มเสมอ หลายรูป
N
ก่อนหน้าที่ลุงลูดจะเข้าโรงพยาบาลได้ไม่กี่วัน ดูสภาพทั่วไปแล้วลุงยังแข็งแรงมาก บึกบึนจนหลานสาวรุ่น
D
เล็กบอกว่า “ตาลูด ตาลูด เบ่งกล้ามให้ดห ู น่อย” ตาลูดของหลานก็ทำ� ตาม หลานบอกว่า “ตาลูดกล้ามใหญ่จงั
O
เลย” แล้วจับที่กล้ามตาเล่น พยายามเลียนแบบเบ่งกล้ามสู้ตา ไม่คิดว่าจะไม่ได้เห็นลุงมาท�ำอะไรแบบนี้อีก เป็น
C
H
A
LO
ภาพที่ติดตาคงไว้ในความทรงจ�ำ ได้เคยเอาหนังสือเรื่อง Angels and Demons และ The Da Vinci Code ของ Dan Brown ให้ลุงอ่าน
ลุงบอกชอบมากเพราะได้ระลึกถึงความหลังสมัยที่ไปเรียนอิตาลี เคยนินทากันว่าลุงเก่งรอบด้านทั้งศาสตร์และ ศิลป์ ถ้าไม่มาเป็นอาจารย์สอนวาดรูปก็คงจะไปเป็นวิศวกร เพราะภาษาก็เก่ง ค�ำนวณก็เก่ง ท�ำอาหารเป็นเลิศ
มักกะลีผล, 2556 ปากกาเคมีบนกระดาษสาไทย, 56.5 x 76.5 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
71
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 71
12/15/15 12:54 AM
เป็นช่างซ่อมบ�ำรุง น้องๆ และหลานๆ มักจะขอให้ลงุ ท�ำอะไรให้เสมอเช่น ลับมีด เปิดฝาขวดทีแ ่ น่น ท�ำตะกร้อ สอยมะม่วง ต่อชั้น ท�ำหิ้ง สารพัดที่จะท�ำ จะท�ำเขื่อนกั้นดินก็ค�ำนวณการซื้อวัสดุให้เสร็จแบบพอดีไม่มีเหลือ แม้กระทัง่ เคยมีงเู หลือมตัวใหญ่มาขดอยู่ทส ี่ นาม ด้วยความตกใจวิง่ ไปบอก “ลุงลูดจับงูให้หน่อย” ได้รบ ั ค�ำตอบว่า “ลุงจับไม่เป็น” ดีว่างูคงตกใจเสียงคนเลยหายไปอย่างไร้ร่องรอย ใครจะท�ำอะไรจะต้องมาปรึกษา ก่อน คือถ้าลุงลูดบอกว่า “อืม” เท่ากับเห็นชอบ ลุงเป็นที่ปรึกษาของทุกคนในรั้วบ้าน และรับปรึกษาทุกเรื่อง โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย แต่คนให้ค�ำปรึกษาอาจจะต้องจ่ายเอง พี่ๆ น้องๆ จะใช้วันที่ 7 มีนาคมของทุกปีซึ่งเป็นวันคล้ายวันเกิดของลุง เป็นวันพบญาติ คือจะนัดพบ
R
ช่วงเวลาที่อยู่โรงพยาบาล หลานสาวลูกสาวของน้องสาวคนโตได้ไปเฝ้าไข้ด้วย ยังมาเล่าว่าลุงปล่อย
H IV
จากฝีมือญาติพี่น้องและหลานๆ
C
พวกเราก็ยงั คงธรรมเนียมนีไ้ ว้ อาหารขึน ้ ชือ ่ ทีล ่ งุ ชอบได้แก่ ขนมจีนน�ำ้ พริก ข้าวคลุกกะปิ หอยทอด ก๋วยเตีย ๋ วย�ำ
E
เพื่อไปทานข้าวกันที่บ้านพุทธมณฑลสาย 4 แม้ว่าจะย้ายมาอยู่รวมกันที่บ้านถนนราชพฤกษ์แล้วก็ตาม
A
มุกตลกแซวหลานตลอด และขอบใจตลอดเวลาที่หลานท�ำอะไรให้ แต่ขณะนอนมักจะละเมอถึงงาน เหมือน
A N
D
สมองคิดถึงงานตลอดเวลา เมื่อฟังแล้วคิดว่าลุงคงจะกลับมาแข็งแรงท�ำงานต่อได้เหมือนเดิม แต่ก็ไม่เป็นอย่าง ที่คิด เวลาตีห้าของวันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558 แม่มาปลุกบอกอาการลุง ก็รีบไปโรงพยาบาลกัน
O EC TI
คงไปสร้างสรรค์ผลงานระดับเยี่ยมยอดอยู่ที่ไหนสักแห่งอย่างมีความสุข
N
แบบงงๆ เห็นว่าลุงนอนหลับสงบเหมือนก�ำลังท�ำสมาธิและในที่สุดก็จากไป ทิ้งไว้แต่ความทรงจ�ำที่ดี คิดว่าลุง แม้ว่าการจากไปของลุงลูดจะท�ำให้หลานๆ เศร้าเสียใจ แต่ในงานสวดพระอภิธรรมที่ผ่านมาก็ทำ� ให้
LL
หลานๆ เกิดความปลื้มใจ แปลกใจ และดีใจ ที่รู้ว่าลุงเป็นที่รักและนับถือของผู้คนมากมาย ดูได้จากจ�ำนวน
C
O
แขกผู้มาร่วมงาน
M ER
อารัมภ์รัตน์–อ�ำรุงฤทธิ์–อุราลักษณ์ นิ่มเสมอ ชูพันธุ์–ชัยพงษ์–ชไมพร นิ่มเสมอ
SA
สายฝน (วาณิชกะ) อังคะนาวิน–พัดชา (วาณิชกะ) ซาอิด สาลินี พรหมบุตร
IM
อารัมภ์–อารัตน์ นิ่มเสมอ
C
H
A
LO
O
D
N
สุภชา–ณัฐนนท์ อังคะนาวิน
72
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 72
12/15/15 12:54 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C ลูกสาว, 2528 สีน�้ำและปากกาหมึกด�ำบนกระดาษ, 34.4 x 27 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
73
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 73
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 74
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 74
12/16/15 2:02 AM
“พ่อ”
ดร.ประติมา นิ่มเสมอ
พ่อเป็นที่รู้จักในฐานะศิลปินที่มีชื่อเสียง เป็นครูที่ทุ่มเทให้กับการสอนและลูกศิษย์ พ่อเก่งและเป็นที่หนึ่ง ในหลายๆ ด้าน จากค�ำบอกเล่าของบรรดาคนที่รู้จักพ่อ แต่ในบทบาทของความเป็นพ่อ อาจจะไม่มีใครรู้ว่าพ่อ
H IV
E
ก็เป็นพ่อที่ยอดเยี่ยมไม่ได้ด้อยกว่าความสามารถในด้านอื่นๆ เลย ในความรู้สึกของลูก พ่อเป็นพ่อที่ประเสริฐที่สุด ในโลก ตั้งแต่จำ� ความได้ ก็มีพ่ออยู่ใกล้ๆ เสมอมา การรู้ว่ามีพ่ออยู่ด้วยท�ำให้รู้สึกอบอุ่น มั่นคงและปลอดภัย
R
C
ด้วยรูปลักษณ์ภายนอกที่พ่อเป็นคนมีร่างกายแข็งแรงบึกบึน ซึ่งสอดคล้องกับจิตใจภายในที่มั่นคงหนักแน่นเด็ดเดี่ยว
A
เชื่อมั่นในความถูกต้องและความดีงาม ไม่หวั่นไหวกับสิ่งใดง่ายๆ ใจกว้าง พร้อมที่จะเป็นที่พึ่งให้กับทุกๆ คน
D
แต่ในขณะเดียวกันพ่อก็เป็นคนละเอียดอ่อน อ่อนโยน เห็นอกเห็นใจคนอื่น รักครอบครัว รักธรรมชาติ เชื่อมั่นใน
A N
ความดีงามของมนุษย์ทุกคน ดังนั้นถ้ามีคนถามว่า อยากให้พ่อเป็นอย่างไร ก็คงตอบไม่ได้ เพราะว่าสิ่งที่พ่อ
N
เป็นอยู่ก็ยอดเยี่ยมที่สุดแล้ว จนนึกไม่ออกว่า พ่อที่ดีกว่านี้จะเป็นอย่างไร
O
เมือ ่ คิดถึงพ่อ สิง่ ทีอ ่ ยากจะบอกคือ “ขอบพระคุณ” ขอบคุณมากส�ำหรับทุกสิง่ ทีใ่ ห้ลก ู ตลอดมา เริม ่ ตัง้ แต่
EC TI
ให้ชีวิต ให้ความรัก ให้การดูแลเอาใจใส่อบรมสั่งสอน ให้ก�ำลังใจ สนับสนุนในทุกๆ เรื่องที่ลูกสนใจ ให้โอกาสที่ดีใน ชีวต ิ ให้การศึกษาจนสูงทีส ่ ด ุ และเป็นแบบอย่างทีด ่ ใี นด้านการใช้ชวี ต ิ และการท�ำงาน พ่อเป็นผู้ให้อย่างแท้จริง ทีไ่ ม่เคย
LL
เรียกร้องสิ่งใดตอบแทนเลย ตั้งแต่จำ� ความได้พ่อไม่เคยตี ไม่เคยดุว่า มีแต่สอนด้วยความใจเย็น ไม่เคยเห็นพ่อโกรธ
O
หรือใช้อารมณ์กับใคร พ่อจะใช้เหตุผลและความนุ่มนวลในการแก้ปัญหาเสมอ
C
ด้วยความที่เป็นลูกคนเดียวเราสามคนพ่อแม่ลูกจึงสนิทกันมาก ไม่ว่าพ่อจะไปไหนหรือท�ำงานอะไร ก็จะพา
M ER
แม่และลูกไปด้วยเสมอ ท�ำให้ได้ร้ไู ด้เห็นวิธก ี ารท�ำงาน ได้ซม ึ ซับสิง่ ทีพ ่ ่อแม่เป็น และได้รบ ั ประสบการณ์ทด ี่ โี ดยไม่ร้ต ู วั บ่อยครั้งพ่อจะให้เป็นลูกมือช่วยงานต่างๆ เช่น งานปั้น งานแต่งปูน ท�ำสวน ซ่อมแซมสิ่งต่างๆ ในบ้าน ซึ่งเมื่อ
SA
เราเป็นเด็กการช่วยงานพ่อถือเป็นการเล่นที่สนุกสนานและน่าตื่นเต้น เราสองคนพ่อลูกมีอายุห่างกันค่อนข้างมาก
IM
ท�ำให้พ่อต้องปรับตัวให้เข้ากับลูกและด้วยความที่พ่อเป็นคนที่รักการเรียนรู้และเปิดรับสิ่งใหม่ๆ ทั้งข่าวสารและ
N
เทคโนโลยี พ่อจึงเป็นคนที่ทันสมัยอยู่เสมอจนหลายครั้งลูกยังตามไม่ทัน ถึงแม้ร่างกายจะแก่ชราตามอายุ แต่ในทาง
D
ความคิดและจิตใจ พ่อยังหนุ่มอยู่ตลอดกาล ในยุคที่เขาใช้อินเตอร์เนต พ่อก็สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว ใช้อีเมล์
C
H
A
LO
O
ในการสื่อสารตอบปัญหาพูดคุยกับลูกศิษย์ที่อยู่ห่างไกล แม้จะอยู่ในวัย 86 ปีแล้วก็ตาม สิ่งที่พ่อสอนเสมอ คือเรื่องความซื่อสัตย์ สอนไม่ให้เอาของใคร ไม่ลอกงานใคร ต้องซื่อสัตย์ต่อตนเองด้วย
สอนให้มีความกตัญญูรู้คุณคนที่มีบุญคุณกับเรา รวมทั้งสัตว์ พืช ธรรมชาติ ที่ทำ� ให้ชีิวิตเรามีความสุข สมบูรณ์อยู่ ทุกวันนี้ พ่อเป็นตัวอย่างที่ดีในเรื่องความประหยัด พ่อสอนเสมอว่าอย่าฟุ่มเฟือย เก็บเงินไว้ใช้ในยามขัดสน ส่วนตัว พ่อเองแทบจะไม่ใช้เงินเลย อยู่อย่างสมถะ มีแต่เครื่องเขียน กระดาษ และเครื่องมืองานช่างทั้งหลายที่พ่อจะยอม เสียเงินซื้อบ้าง ซึ่งเป็นเหมือนของสะสม เป็นความสุขเล็กๆ ของพ่อที่ได้มีเครื่องเขียนและเครื่องมือให้หยิบใช้ได้ สะดวกตามมุมต่างๆ ในบ้าน
ลูกสาวอุ้มแมว, 2523, สีฝุ่นปิดทองบนกระดาษด�ำ, 19 x 15.5 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
75
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 75
12/15/15 12:55 AM
พ่อเป็นต้นแบบของความขยัน พากเพียร มุ่งมั่น ท�ำสิ่งใดต้องท�ำให้สำ� เร็จ ไม่เคยได้ยินค�ำบ่นหรือเห็น อาการขี้เกียจของพ่อเลย พ่อสอนเสมอเมื่อลูกอิดออดที่จะท�ำอะไรสักอย่างว่า “ถ้าขี้เกียจก็ให้ลงมือท�ำ ท�ำ ไปแล้วมันก็ขยันเอง อย่ามัวแต่รอให้มีอารมณ์อยากท�ำงาน เพราะไม่รู้ว่าเมื่อไรจะได้เริ่มท�ำ อารมณ์ ของการท�ำงานสร้างขึ้นมาได้ เพราะฉะนั้นให้ลงมือท�ำทันที พอเริ่มท�ำแล้วความสนุกก็จะตามมาเอง” ซึ่งก็เป็นจริงตามนั้น จึงไม่น่าแปลกใจเลยว่า ท�ำไมพ่อถึงท�ำงานและเขียนรูปได้มากมายขนาดนั้น เวลาว่างคือ การเขียนรูป และการเขียนรูปของพ่อก็เป็นการพักผ่อนและเป็นการฝึกสมาธิไปในตัว พ่อสอนลูกให้นั่งสมาธิ ตั้งแต่ยังเล็กๆ เพราะพ่อเป็นคนสนใจพุทธศาสนามาตั้งแต่รุ่นหนุ่ม ยิ่งเมื่อได้อ่านหนังสือท่านพุทธทาสตอน
C
ความดีงามของมนุษย์
H IV
ทางพุทธศาสนาที่สะท้อนออกมาในรูปของความนิ่ง ความสงบ ความเบิกบาน ความอ่อนโยน ความรักและ
E
อยู่มหาวิทยาลัยปี 1 ก็ยิ่งซาบซึ้ง ศึกษาและปฏิบัติธรรมเรื่อยมาตลอดชีวิต ผลงานส่วนใหญ่ของพ่อจึงโน้มไป
R
คงเป็นเพราะพ่อเป็นคนขยันและเอาจริง พ่อจึงรักลูกศิษย์ทุกคนที่ขยันและท�ำงานจริงเช่นกัน ความรัก
A
และความเอาใจใส่ลูกศิษย์เห็นได้ชัดเจน ถ้าลูกศิษย์คนใดมีปัญหาในการท�ำงานศิลปะที่ไม่สามารถแก้ไขได้ใน
A N
D
ชั้นเรียน พ่อก็จะเก็บเอามาขบคิดแก้ปัญหาจนพบทางออกให้ บางครั้งไม่หลับไม่นอน และเมื่อใดที่ลูกศิษย์มา ขอค�ำปรึกษา พ่อก็พร้อมสละเวลาให้อย่างเต็มที่ และยินดีให้คำ� ปรึกษาแก่นก ั ศึกษาทุกคนเสมอ พ่อจะมีความสุข
N
ทุกครั้งที่ได้รับข่าวความส�ำเร็จหรือความก้าวหน้าของลูกศิษย์
EC TI
O
ความรักและความเสียสละของพ่อเพื่อลูกยิ่งใหญ่เสมอ พ่อยอมทนเหงาและต้องอยู่คนเดียว ยอมขาด ความสะดวกสบายในชีวิต เพื่อให้โอกาสลูกได้ไปศึกษาต่อต่างประเทศเป็นเวลาหลายปี แม้ว่าขณะนั้นพ่อจะ
LL
อยู่ในวัยใกล้ 80 ปีแล้ว พ่อก็ยำ�้ เสมอว่า “พ่ออยู่ได้ ไปเถอะ” พ่อเล่าว่าตั้งแต่รู้ว่าจะมีลูก พ่อก็เริ่มเก็บออม เพื่อเป็นทุนการศึกษาให้ลูกได้เรียนสูงที่สุด เก็บไว้ให้พอที่ลูกจะสามารถไปเรียนต่อต่างประเทศ เพราะพ่อ
C
O
อยากให้ลูกได้มีโอกาสเห็นโลกกว้าง ได้รับประสบการณ์ที่จะท�ำให้ลูกเติบโตขึ้นทางจิตใจและความคิด พึ่งพา
M ER
ตนเองได้ ดังนั้นเมื่อลูกมีโอกาสได้ทุนไปเรียนต่อ พ่อก็ไม่ลังเลเลยที่จะผลักดันและสนับสนุนให้ลูกไป แต่ลูก เองกลับลังเลเพราะไม่อยากให้พ่อต้องอยู่คนเดียว แต่แล้วการที่ต้องอยู่ห่างกันกลับท�ำให้เราได้คุยกันมากขึ้น
SA
ใกล้ชิดกันมากขึ้นทางความคิดและความรู้สึก เพราะต่างคนต่างเป็นห่วงกัน กลัวว่าอีกคนจะเหงา เราก็เลย คุยกันทุกวัน ตอนแรกๆ ใช้วิธีเขียนอีเมล์ถึงกันและตอนหลังเปลี่ยนมาเป็นโทรศัพท์คุยกันวันละประมาณหนึ่ง
N
เราสองคนจึงไม่เคยรู้สึกเหงาเลย
IM
ชั่วโมง เรารับรู้เรื่องราวในแต่ละวันของกันและกันอย่างละเอียด ดังนั้นถึงตัวจะไกลกัน แต่ใจเราใกล้กันตลอด
O
D
ชีวิตของพ่อมีรูปแบบที่เรียบง่าย โดยมีศิลปะเป็นส่วนส�ำคัญในการด�ำเนินชีวิตหรือจะเรียกว่าศิลปะคือ
LO
ชีวิตของพ่อก็ว่าได้ งานศิลปะของพ่อแต่ละชุด จะใช้เวลาท�ำประมาณ 2-4 เดือน โดยท�ำงานต่อเนื่องกันทุก
A
วันทั้งวัน แล้วก็จะพักจากการเขียนรูปประมาณ 1 เดือน ไปท่องเที่ยวหาแรงบันดาลใจใหม่ๆ ไปตามชนบท
H
หมู่บ้านต่างๆ ในประเทศไทย พ่อชอบไปพูดคุยกับชาวบ้าน สังเกตวิถีชีวิต การแต่งกาย เครื่องมือเครื่องใช้
C
ในชีวิตประจ�ำวัน หลายครั้งจะขอซื้อ กระบุง ตะกร้า ที่ชาวบ้านใช้แล้วกลับมาแขวนไว้ที่บ้าน เที่ยววัด เที่ยว ตลาด หรือไปเที่ยวตามป่าเขา พ่อรักต้นไม้ รักป่า รักทุ่งนา รักธรรมชาติ พ่อบอกว่าสิ่งเหล่านี้ให้พลัง ให้ชีิวิต พ่อรู้สึกว่าสิ่งเหล่านี้มีบุญคุณและมีความสุขเมื่อได้ไปสัมผัส ถ้าไม่เดินทางไปไหนพ่อก็พักอ่านและเขียน หนังสืออย่างจริงจังเป็นแรมเดือน เมื่อพักจนถึงจุดที่พอแล้ว พ่อก็พร้อมที่จะเริ่มงานศิลปะชุดใหม่ หมุนเวียน กันอย่างนี้มาตลอดชีวิต
76
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 76
12/15/15 12:55 AM
ชีวิตประจ�ำวันหลังจากเกษียณอายุราชการ ถ้าวันไหนพ่อไม่ได้ไปสอนพิเศษ ก็จะเขียนรูปอยู่ที่บ้าน หรือวันไหนอากาศดีๆ เราพ่อลูกก็จะชวนกันขับรถออกไปจังหวัดใกล้ๆ เช่น อยุธยา ไปไหว้พระตามวัดต่างๆ ท�ำอาหารกลางวันไปรับประทาน แวะตลาด แล้วก็กลับบ้าน ทุกวันพ่อจะตื่นนอนประมาณตีสี่ นั่งสมาธิและ กายบริหารนิดหน่อย แล้วคิดว่าวันนี้จะเขียนรูปอะไร หลังอาหารเช้าก็เป็นเวลาเข้าสตูดิโอเขียนรูป เวลาที่พ่อ เขียนรูปสังเกตได้ว่า พ่อจะมีความสุขมาก มีสมาธิกับการท�ำงาน ดูผ่อนคลายสบายใจ เหนื่อยก็พักนอนอ่าน หนังสือ ดูข่าวโทรทัศน์ พอหายเหนื่อยก็กลับมาเขียนรูปต่อ จนได้เวลาอาหารเย็น แล้วดูข่าวนิดหน่อยก่อนเข้า นอน เคยถามพ่อว่า พ่อไม่เบื่อหรือหมดไอเดียในการเขียนรูปบ้างเหรอ พ่อตอบว่า “ไม่เคยเลย ส่วนใหญ่มี
E
ไอเดียอยู่ในหัวแล้วเขียนไม่ทันมากกว่า” ดูเหมือนว่าในหัวของพ่อจะมีแต่เรื่องการท�ำงานศิลปะอยู่ตลอด
H IV
เวลาจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตไปเสียแล้ว
C
พ่อเป็นคนอดทนและเข้มแข็ง แม้แต่ในยามที่พ่อเจ็บป่วยด้วยโรคร้าย พ่อก็ไม่เคยแสดงให้คนรอบข้าง
R
เห็นว่าทุกข์ร้อนหรือเจ็บปวดแต่อย่างใด ไม่เคยท�ำให้คนดูแลต้องเหนื่อยหรือเศร้าใจ เข้าใจธรรมชาติของชีวิต
A
พ่อบอกว่า “รู้ แต่ไม่เดือดร้อนกับมัน” การท�ำงานศิลปะอย่างมีสมาธิของพ่อเป็นประจ�ำทุกวันคือการฝึกตัว
A N
D
เอง ทุกเส้นที่ขีดเขียนและทุกความคิดในการสร้างสรรค์ มันก็คือธรรมะที่พ่อเพียรปฏิบัตินั่นเอง ในช่วงสุดท้ายที่นอนอยู่โรงพยาบาล พ่อก็ยังคงคิดเรื่องการท�ำงานศิลปะ การสร้างสรรค์งานใหม่ๆ
N
ตลอดเวลา ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่ทำ� ให้พ่อมีก�ำลังใจ อดทนและไม่ค่อยเดือดร้อนนักในการรักษา เพราะพ่อมีความ
EC TI
O
หวังว่า เดี๋ยวก็หายแล้วก็จะได้กลับไปท�ำงานที่พ่อรักอีกอย่างเต็มที่ แล้วพ่อก็จากไปอย่างสงบพร้อมความคิด สร้างสรรค์ที่คงจะลอยค้างอยู่ในบรรยากาศ
LL
สิง่ ทีพ ่ ่อทิง้ ไว้ให้ คือตัวอย่างชีวต ิ ของคนๆ หนึง่ ทีใ่ ช้ชวี ต ิ อยู่บนโลกนีไ้ ด้อย่างคุ้มค่าทัง้ ต่อตนเองและเป็น ประโยชน์ต่อเพื่อนมนุษย์ เป็นพ่อที่แสนประเสริฐของลูก เป็นครูที่รักและเสียสละของลูกศิษย์ และเป็นศิลปินที่
C
O
มุ่งมั่นท�ำงานเพื่อศิลปะตลอดชีวิต ผลงานศิลปะจ�ำนวนนับไม่ถ้วนของพ่อ ไม่สามารถตีค่าเป็นเงินทองได้
M ER
แต่มันคือหลักฐานที่ยืนยันถึงของความมุ่งมั่น ขยันหมั่นเพียรและจริงใจต่อศิลปะที่ตนเองศรัทธา แม้ว่าบัดนีพ ้ ่อจะจากไปแล้ว พ่อก็ยงั อยู่ในใจของลูกเสมอ ทุกๆ ค�ำสอน ทุกๆ ความเห็น ทุกๆ ค�ำตักเตือน
SA
ลูกจะจดจ�ำและใช้เป็นสิ่งน�ำทางในการด�ำเนินชีวิตตลอดไป ขอขอบพระคุณ ส�ำหรับทุกๆ สิ่งที่พ่อให้มาตลอดชีวิต พระคุณของพ่อยิ่งใหญ่มหาศาล จนไม่อาจ
IM
พรรณนาและไม่รู้จะตอบแทนอย่างไรได้หมด เหมือนบทเพลง “ใครหนอ” ที่พ่อเคยร้องให้ฟังก่อนนอน ตอน
C
H
A
LO
O
D
N
เป็นเด็กเล็กๆ
“...จะเอาโลกมาท�ำปากกา แล้วเอานภามาแทนกระดาษ เอาน�้ำหมดมหาสมุทรแทนหมึกวาด ประกาศพระคุณไม่พอ...” ถ้าชาติหน้ามีจริงขอให้เราได้พบเจอและได้ใช้ชีวิตร่วมกันอีก รักพ่อ ใหม่
77
58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 77
12/15/15 12:55 AM
E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C อาจารย์ชลูดและลูกสาวขณะอายุ 2 ขวบ (พ.ศ. 2520) ที่บ้านพักสวนประติมา พุทธมณฑลสายสี่ กับงานประติมากรรมแกะสลักหินทราย ‘สลักหิน 5/2512’ ขนาด 50 x 50 ซม. สูง 43 ซม. © ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ
78
58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 78
12/16/15 2:02 AM