ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ สายธารแห่งชีวิต สายธารแห่งศิลปะ part2

Page 1

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

C

H IV

E

สายธารแห่งศิลปะ

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 79

12/15/15 12:55 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 80

12/15/15 12:56 AM


เกี่ยวกับผลงานศิลปะ ของชลูด นิ่มเสมอ

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

C

H IV

E

โดย ชลูด นิ่มเสมอ

อาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ในห้องท�ำงานคณะจิตรกรรมฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร ราวปี พ.ศ. 2527 © ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 81

12/16/15 2:03 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N O

D

บทนำ�

LO

หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ

C

H

A

เนื้อหาในส่วนของผลงานศิลปะส่วนแรก เป็นการน�ำเอาบทความที่อาจารย์ชลูดเป็นผู้เขียนขึ้นและตีพิมพ์ในวารสารศิลปากร เมื่อปี พ.ศ. 2528 มาตีพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง เป็นถ้อยแถลงเกี่ยวกับแนวทางการท�ำงานศิลปะของท่านที่แสดงถึงพัฒนาการทางการ สร้างสรรค์ศิลปะที่ไม่หยุดนิ่ง แต่บทความนี้อาจารย์ชลูด เขียนถึงงานศิลปะของท่านไว้จนถึงช่วงปี พ.ศ. 2528 เท่านั้น ในส่วนถัดมา คณะผู้จัดท�ำจึงได้น�ำบทความบางส่วนจากหนังสือ ‘สัพเพเหระเกี่ยวกับชีวิตและศิลปะ’ ซึ่งเป็นหนังสือที่อาจารย์ชลูดได้เขียนและ รวบรวมบทความต่างๆ ของท่านเอาไว้ มาตีพิมพ์เพิ่มเติมไว้ ณ ที่นี้ด้วย เพื่อให้ผู้อ่านได้เข้าใจมุมมองความคิดของท่านอันต่อเนื่อง จากปี พ.ศ. 2528 เป็นต้นมา ในส่วนสุดท้าย เป็นบทความที่ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร ได้กรุณาเขียนถึงผลงานศิลปะ ของอาจารย์ชลูด ตลอดช่วงหกทศวรรษแห่งการท�ำงานของท่าน ท�ำให้ผู้อ่านได้เห็นถึงการท�ำงานศิลปะของอาจารย์ชลูดที่ต่อเนื่อง และมีการเปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละจังหวะและเวลาของชีวิต เปรียบเหมือนเป็นสายธารแห่งศิลปะที่ไหลไปพร้อมกับสายธารแห่ง ชีวิตของท่าน แม้บัดนี้ สายธารชีวิตของอาจารย์ชลูดจะสิ้นสุดลง แต่สายธารศิลปะของท่านจะยังคงไหลสืบต่อไป ด้วยผลิตผลแห่งความคิด สร้างสรรค์ที่ท่านได้สร้างและฝากไว้แก่แผ่นดินนี้ ทั้งผลงานศิลปะที่เป็นแรงบันดาลใจแก่ศิลปินรุ่นหลัง และบรรดาลูกศิษย์ทั้งหลาย ของท่าน ที่จะเป็นผู้สืบต่อสายธารศิลปะสายนี้ของท่านให้ต่อเนื่อง เพื่อความก้าวหน้าและรุ่งเรืองของวงการศิลปะในประเทศไทยสืบไป

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 82

12/16/15 2:03 AM


เกี่ยวกับผลงานศิลปะของชลูด นิ่มเสมอ* โดย ชลูด นิ่มเสมอ

ในปัจจุบัน แนวความคิดและแบบอย่างในการแสดงออกทางทัศนศิลป์ได้กลายเป็น

E

เรื่องเฉพาะตัวของศิลปินไปแล้วโดยสิ้นเชิง ศิลปินแต่ละคนต่างมีวิธีเสนอผลงานและจุด

H IV

เน้นแตกต่างกันออกไปมากมายอย่างที่ไม่เคยมีปรากฏมาก่อน การคลี่คลายความคิด

C

เป็นไปอย่างรวดเร็วตามจังหวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สื่อและเทคนิคที่ใช้

A

R

ก็ขยายขอบเขตทับซ้อนและผสมกันหลายสาขา ทัง้ จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

A N

D

ทั้งทัศนศิลป์ ดนตรี การแสดง และวรรณศิลป์ เราจึงมักจะพบศิลปะที่มีรูปแบบไม่คุ้นเคย ตามหอศิลป์และสถานที่ทั่วไปอยู่บ่อยๆ ศิลปะบางชิ้นยังคงเน้นความส�ำคัญของรูปทรงที่

O

N

้ ถือว่าศิลปะเป็นเพียงเหตุการณ์ทอ ี่ บ ุ ต ั ขิ น ึ้ ในช่วงเวลาหนึง่ เท่านัน ้ ส�ำเร็จสมบูรณ์แล้ว บางชิน

EC TI

ดังนั้นในบางกรณี ถ้อยแถลงเกี่ยวกับความเชื่อและแนวความคิด ตลอดจนกระบวนการ สร้างสรรค์ของศิลปิน จึงน่าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ชม ในอันทีจ่ ะช่วยให้การเข้าใจสาระส�ำคัญ

LL

ของงานแต่ละแนวความคิดเป็นไปโดยถูกต้องยิ่งขึ้น

C

O

ข้าพเจ้าเองมีความเชื่อว่า ศิลปะคือสิ่งแสดงออกซึ่งแก่นแท้ของความเป็นมนุษย์

M ER

เพือ ่ ความเป็นมนุษย์ทด ี่ ขี น ึ้ ของมนุษยชาติ ศิลปินทุกคนจะแสดงความเป็นมนุษย์ตาม ทัศนะส่วนตัวออกมาในงานของตนไม่ด้านใดก็ด้านหนึ่งเสมอ ไม่ว่าจะเน้นในด้านความ

SA

เป็นจริงหรืออุดมคติ ด้านชีวิตหรือวิญญาณ ด้านรูปธรรมหรือนามธรรม ด้านลบหรือ

IM

ด้านบวกก็ตาม ทั้งนี้ก็เพราะงานศิลปะเหล่านั้นเป็นการแสดงออกของตัวศิลปินเอง

D

N

เป็นการแสดงออกของมนุษย์ที่ตอบรับและตอบโต้กับสภาพแวดล้อม ทั้งทางธรรมชาติ

C

H

A

LO

O

ที่เริ่มต้นตั้งแต่สิ่งที่ใกล้ตัวไปจนถึงความไม่สิ้นสุดของจักรวาล และทางสังคมที่เริ่มจาก ครอบครัวไปจนถึงมนุษยชาติทั้งมวล และไม่ว่าศิลปินจะมีทัศนะแตกต่างกันอย่างไร งานศิลปะที่เขาสร้างขึ้นก็เป็นไปเพื่อความสูงส่งของจิตวิญญาณของมนุษย์ทั้งสิ้น ศิลปะที่

แสดงทัศนะของศิลปินในแง่ลบ แสดงความทุกข์ ความสิน ้ หวัง ความสูญเสีย จะท�ำให้ผ้ช ู ม

*เกี่ยวกับผลงานศิลปะของ ชลูด นิ่มเสมอ บทความพิเศษ เขียนโดยอาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ ลงตีพิมพ์ครั้งแรกในนิตยสาร ‘ศิลปากร’, นิตยสารของกรมศิลปากร กระทรวงศึกษาธิการ ปีที่ 29 เล่ม 4 กันยายน 2528, หน้า 1–42

83

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 83

12/16/15 2:10 AM


ทั้งหลายเกิดความเห็นอกเห็นใจในเพื่อนมนุษย์ผู้เป็นเสมือนส่วนหนึ่งของกันและกัน

E

มากขึ้น นอกจากนั้นผลงานศิลปะในด้านลบยังจะช่วยระบายหรือขจัดอารมณ์ไม่พึง

A

R

ก็จะช่วยชักจูง กล่อมเกลา และยกระดับจิตใจของผู้ชมให้สูงขึ้น ศิลปะที่แสดงสัดส่วน

C

ศิลปะที่แสดงทัศนะของศิลปินในแง่ดี แสดงความรักความเห็นใจ ความเป็นพี่น้อง

H IV

ปรารถนาเหล่านั้นให้เบาบางหรือหมดสิ้นไปจากจิตใจของผู้สร้างและผู้ชมได้อีกด้วย

เชื่อมโยงไปถึงกฎเกณฑ์ของจักรวาล ที่มีอิทธิพลครอบคลุมชีวิตทั้งปวง

A N

D

และจังหวะของรูปทรงที่ประสานกัน จะให้ผลทางปัญญาความคิดที่เป็นระเบียบงดงาม

O

N

ในทัศนะส่วนตัว ข้าพเจ้ายังเห็นต่อไปอีกว่า ความเป็นมนุษย์คอ ื ความดี และความ

EC TI

ดีนน ั้ สามารถแสดงออกได้ด้วยความงาม มนุษย์คนหนึ่ง กลุ่มหนึ่ง หรือหลายกลุ่มที่เรา

เห็นว่ามีพฤติกรรมไปในทางลบ อาจเป็นเพราะความผิดปกติของร่างกายหรือจิตใจ หรือ

LL

พันธุกรรม หรืออาจเนื่องมาจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่บันดาลให้เป็นไป แต่เนื้อแท้

C

O

ของความเป็นมนุษย์นั้นยังคงเป็นความดีอยู่เสมอ และถ้าจะจ�ำกัดความของความดีให้

M ER

แคบเข้ามาในแนวคิดของข้าพเจ้า ก็อาจกล่าวได้ว่า ความดีคือ ความรัก ความเมตตา ความเห็นอกเห็นใจ และความไม่เบียดเบียนระหว่างมนุษย์ด้วยกัน และระหว่างมนุษย์

SA

กับชีวิตทั้งหลาย

IM

ข้าพเจ้ามีความเชือ ่ เช่นนีม ้ าโดยตลอด ดังนัน ้ งานศิลปะทีข่ ้าพเจ้าท�ำขึน ้ จึงมีแนวโน้ม

D

N

ไปในทางที่ดีงาม สงบ บริสุทธิ์ และอบอุ่นด้วยความเป็นพี่น้อง รูปแบบและเรื่องราว

O

ิ ของงานอาจเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมและความจ�ำเป็นในการแสดงออก แต่ชวี ต

C

H

A

LO

ภายในซึง่ เป็นเนือ ้ หาสาระของงานศิลปะโดยตรงนัน ้ ไม่มเี ปลีย ่ นแปลง

อาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ กับงานแกะสลักไม้มะฮอกกานี ราวปี พ.ศ. 2503 © ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

84

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 84

12/16/15 2:10 AM


H IV

E

รูปธรรมที่เรียบง่าย

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

C

2496–2505

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 85

12/16/15 11:22 PM


1.

รูปธรรมที่เรียบง่าย งานระยะแรก พ.ศ. 2496–2505

ผลงานศิลปะทีข่ ้าพเจ้าท�ำขึน ้ ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2496 และท�ำติดต่อกันมาจนถึงปัจจุบน ั ได้มก ี ารเปลีย ่ นแปลง

งานระยะแรก รูปธรรมที่เรียบง่าย พ.ศ. 2496–2505 (ภาพหน้า 88-89)

C

ถ้าจะวิเคราะห์งานระยะนี้ออกเป็นส่วนๆ เพื่อให้เข้าใจถึงแนวความคิดในการเลือกสรรเรื่อง (Subject)

H IV

E

และพัฒนาทั้งด้านความคิดและรูปแบบ พอจะแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ คือ

R

แนวเรื่อง (Theme) รูปทรง (Form) และผลที่ปรากฏในเนื้อหา (Content) ของงานแต่ละชุด ก็อาจท�ำได้ดังนี้

A

ก. เรื่อง เรื่องคือสิ่งที่ศล ิ ปินน�ำมาใช้เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างรูปทรง เพื่อแสดงความรู้สึกนึกคิดตาม

A N

D

แนวเรื่องและความลึกซึ้งภายในของศิลปิน ตัวอย่างเช่น ดอกไม้ (เรื่อง) เป็นจุดเริ่มต้นให้ศิลปินสร้างวงกลม วงรี ที่มีรูปนอกแตกเป็นแฉกๆ หลายวง มีสีเหลือง แสด แดง ม่วง ขาว ในความจัดและน�้ำหนักต่างๆ กัน

N

(รูปทรง) เพื่อแสดงความแจ่มใสเบิกบานตามที่ศิลปินรู้สึก (แนวเรื่อง หรือเนื้อหา) เรื่องในที่นี้อาจเป็น

EC TI

O

เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ วัตถุสิ่งของ คน สัตว์ พืช ฯลฯ อาจเป็นเรื่องสงคราม ศาสนา วิทยาศาสตร์ ความรัก วรรณคดี สังคม ฯลฯ

LL

ความเชื่อที่ฝังอยู่ในใจของศิลปินเป็นแกนน�ำส�ำคัญในการสร้างสรรค์ที่จะท�ำให้เกิดการตอบรับและ ตอบโต้กับบางแง่มุมของปรากฏการณ์ต่างๆ ซึ่งจะเป็นผลให้เกิดความบันดาลใจที่จะท�ำงานในแต่ละชุดหรือ

C

O

แต่ละยุค ความบันดาลใจนี้จะคลี่คลายต่อไปจนเป็นแนวความคิดหรือจุดหมายของการสร้างสรรค์ ต่อจากนั้น

M ER

ศิลปินจะสรรหาเรื่องและรูปทรงที่สอดคล้องกับแนวความคิดมาเป็นจุดเริ่มต้น เรื่องที่ข้าพเจ้าใช้ในการท�ำงานระยะนี้ คือ เรื่องผู้หญิงในอิริยาบถ สภาพแวดล้อม และ กิจกรรมต่างๆ

SA

ซึ่งส่วนมากจะเป็นชีวิตและสิ่งแวดล้อมในชนบท ผู้หญิงอาจเป็นสัญลักษณ์แทนตัวข้าพเจ้าเอง สิ่งแวดล้อมใน งานอาจเป็นสิ่งแวดล้อมที่ข้าพเจ้ามีปฏิกิริยาต่อ ซึ่งมีทั้งความกลมกลืนและความขัดแย้งในลักษณะต่างๆ

IM

ผู้หญิงอาจมีความหมายรวมไปถึงแม่ พี่น้อง และเพื่อนมนุษย์ทุกเพศ ด้วยเส้นรูปนอกที่เรียบง่าย ผู้หญิงจึง

N

เหมาะที่สุดที่จะใช้แสดงความรู้สึกตามแนวความคิดของข้าพเจ้า

O

D

ข. แนวเรื่อง แนวเรื่องคือสิ่งที่ศล ิ ปินต้องการแสดงออกในงาน เป็นส่วนที่เป็นความหมายของเรื่อง

LO

ตัวอย่างเช่น ความงามเป็นแนวเรื่องของดอกไม้ ความบริสุทธิ์สะอาดเป็นแนวเรื่องของผู้หญิง ความรักเป็น

A

แนวเรื่องของจิตรกรรมชิ้นนี้ ฯลฯ

H

แนวเรื่องของงานในระยะนี้เป็นไปตามความเชื่อซึ่งเป็นพื้นฐานเดิมของข้าพเจ้า นั่นคือ ความดีงามของ

C

มนุษย์ ความมีใจบริสุทธิ์สะอาด มีความรักความเมตตา ไม่เบียดเบียน ค. รูปทรง รูปทรงคือส่วนที่เป็นรูปธรรมของงาน เป็นสิ่งที่สัมผัสได้ด้วยการเห็น ซึ่งจะน�ำไปสู่การรับรู้ และอารมณ์สะเทือนใจตามแนวเรื่องที่ศิลปินเจตนา และตามเนื้อหาที่งานนั้นจะแสดงออกมาในขั้นสุดท้าย

86

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 86

12/15/15 12:56 AM


จากรูปทรงที่ค่อนข้างเรียบง่ายของร่างกายผู้หญิง ข้าพเจ้าได้ตัดทอนให้มีความเรียบง่ายยิ่งขึ้น ส่วนโค้งเว้าที่แสดงลักษณะของเพศไม่ใช่จุดหมายของงาน จึงตัดทอนออกให้เหลือเพียงรูปทรงง่ายๆ ตัวอย่าง

H IV

E

เช่น งานประติมากรรมชื่อ ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ (ภาพ 05 หน้า 89) ที่เน้นความเป็นธรรมชาติ ของท่าทาง ความสงบนิ่งของมวล และความเรียบง่ายของรูปทรงและปริมาตรที่มีรูปทรงภายในกับรูปทรง

R

C

ภายนอกตอบรับกันเป็นจังหวะที่กลมกลืน

A

ในงานจิตรกรรมและภาพพิมพ์ก็เช่นเดียวกัน ข้าพเจ้าใช้รูปทรงและองค์ประกอบง่ายๆ ไม่ซับซ้อน

A N

สงบราบรื่น เช่นงานจิตรกรรม ชื่อ สงกรานต์ (ภาพหน้า 16)

D

มีเส้นตั้ง เส้นนอน 2–3 เส้น เส้นโค้งง่ายๆ แสดงด้วยรูปทรงเรียบๆ ใช้สีแบนๆ เป็น 2 มิติ ในสิ่งแวดล้อมที่

N

ง. เนื้อหา เนื้อหาคือทุกสิ่งที่แสดงออกในงานศิลปะ โดยทั่วไปจะมีอยู่ 2 อย่างคือ เนื้อหาภายนอกและ

O

เนื้อหาภายใน เนื้อหาภายนอกคือส่วนที่แสดงเรื่องราว สัญลักษณ์ และอารมณ์ความรู้สึกหรือความคิดที่เนื่อง

EC TI

มาจากเรื่องและแนวเรื่องที่เราสามารถรับรู้และรู้สึกได้ค่อนข้างชัดเจนในงานศิลปะชิ้นหนึ่ง ส่วนเนื้อหาภายใน นั้นได้แก่ส่วนที่เป็นคุณค่าของรูปทรง เป็นเนื้อหาที่ซ่อนเร้นอยู่ในรูปทรง เกิดจากการประสานสัมพันธ์กันของ 1

LL

ทัศนธาตุ ต่างๆ อย่างลงตัว เป็นคุณค่าทางศิลปะหรือสุนทรียะที่เกิดจากรูปทรงแท้ๆ เนื้อหาทั้ง 2 อย่างนี้จะ

O

ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกันและท�ำงานประสานกัน อาจกล่าวได้ว่า เนื้อหาภายนอกนั้นคือความดี เนื้อหาภายใน

C

คือความงาม งานศิลปะชิ้นหนึ่งจึงสมบูรณ์ด้วยความดีงาม หรือกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า ‘ศิลปะนั้นเริ่มต้นที่

M ER

ความงามและจบลงที่ความดี’

เนื้อหาของงานในระยะแรกของข้าพเจ้าทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ อาจสรุปได้ดังนี้

SA

เนื้อหาภายนอกแสดงความรู้สึกตามแนวเรื่อง ซึ่งได้แก่ ความสะอาด บริสุทธิ์ และสงบ ถึงแม้ในงานหลายชิ้น

IM

จะมีรายละเอียดแสดงเพศอย่างเด่นชัด ก็ไม่เป็นเหตุให้ทั้งผู้สร้างและผู้ชมหันเหไปจากความรู้สึกอันเป็น

N

จุดหมายส�ำคัญของงานได้ ตรงกันข้ามกลับช่วยเสริมความรู้สึกน่ารัก เป็นกันเองให้แก่งานอีกทางหนึ่ง

D

เห็นเป็นส่วนประกอบชิ้นหนึ่งของร่างกายตามธรรมดาของสัตว์โลกทั่วไป รู้สึกเหมือนพี่หรือน้อง หรือลูกสาว

O

ของเราเอง มิได้มีส่วนกระตุ้นให้นึกคิดไปในทางโลกีย์แต่อย่างใด เป็นชัยชนะของความบริสุทธิ์ ความดีงาม

C

H

A

LO

ที่มีต่อความรู้สึกทางเนื้อหนังมังสา ส่วนเนื้อหาภายในจะให้ความงาม ความกลมกลืน อันเกิดจากการประสาน กันของรูปทรง สี เส้น ปริมาตร ในสัดส่วนและจังหวะที่สอดคล้องกับแนวเรื่อง ลักษณะการแสดงออกและ ความลึกซึ้งภายในของตัวผู้สร้างเอง

1. Visual elements ได้แก่ เส้น สี น�้ำหนัก ที่ว่าง รูปร่าง ปริมาตร และลักษณะผิวที่ประกอบกันเข้าเป็นรูปทรงในงานศิลปะหรือที่มี อยู่ในสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ

87

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 87

12/15/15 12:56 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

01

02

01 | พักผ่อน, 2503

02 | แม่ค้าผลไม้, 2506

สีน�้ำมันบนผ้าใบ, 53 x 73 ซม.

ภาพพิมพ์แกะไม้สีน�้ำ, 46 x 63 ซม.

พิพิธภัณฑ์ศิลป พีระศรีอนุสรณ์ กรุงเทพฯ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

(ศิลปินให้ยืม)

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

88

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 88

12/16/15 2:11 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI 04

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

03

05

03 | อาบน�ำ้ , 2504

04 | หมวกเหลือง, 2504

05 | ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ, 2498

ภาพพิมพ์แกะไม้สีน�้ำ, 45 x 27.5 ซม.

ภาพพิมพ์แกะไม้สีน�้ำ, 58.5 x 42 ซม.

แกะสลักไม้มะฮอกกานี

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

35 x 60 ซม. สูง 25 ซม.

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 89

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 89

12/16/15 2:12 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H

C

รูปทรงนามธรรมกับเนื้อหาภายใน 2507–2515

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 90

12/15/15 12:56 AM


2.

รูปทรงนามธรรมกับเนื้อหาภายใน งานระยะที่สอง พ.ศ. 2507–2515

งานระยะที่ 2 รูปทรงนามธรรมกับเนื้อหาภายใน พ.ศ. 2507–2515 (ภาพหน้า 90 และ 92-95)

E

การเดินทางด้านการสร้างสรรค์ของข้าพเจ้าอาศัยรูปทรงเป็นหลักมาตั้งแต่แรก การเปลี่ยนแปลง

H IV

การตัดทอนลักษณะภายนอกของรูปทรงในธรรมชาติ ซึ่งส่วนใหญ่ได้แก่รูปผู้หญิงนั้น ได้ดำ� เนินมาเรื่อยๆ จน ถึงจุดหนึ่งที่ความจ�ำเป็นของเรื่อง หรือรูปทรงที่อ้างอิงธรรมชาติหมดไป คงเหลือแต่แนวเรื่องที่เชื่อมโยงกับ

R

C

ความเชื่อในส่วนลึกของข้าพเจ้ากับรูปทรงที่มีอิสระในตัว ประกอบกับในระยะนี้ ความต้องการที่จะทดลอง

A

ค้นคว้าศิลปะแบบนามธรรมมีมากขึ้น ซึ่งอาจเป็นเพราะอิทธิพลของศิลปะร่วมสมัยโดยทั่วไปและประสบการณ์

D

บางอย่างของชีวิต งานส่วนใหญ่จึงเดินเข้าหาความเป็นนามธรรมของรูปทรงเกือบเต็มที่ เป็นงานที่รูปทรงแสดง

A N

ความหมายของตัวรูปทรงเอง มิได้อ้างอิงถึงสิ่งใดในธรรมชาติอีก เป็นรูปทรงที่แสดงเนื้อหาภายในหรือเนื้อหา

N

ของตัวเอง จนเกือบเป็นรูปทรงบริสุทธิ์

O

ผลงานส่วนรวมของระยะที่ 2 อาจวิเคราะห์ออกได้ดังนี้

EC TI

ก. เรื่อง ยังเป็นเรื่องเกี่ยวกับ คน ผู้หญิง และปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ เช่น พระจันทร์ โลก ความเคลื่อนไหว ที่ว่าง แต่เรื่องในระยะนี้เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของความคิดในการก่อรูปทรง เพื่อพัฒนาต่อไป

LL

ในแนวของรูปทรงเอง โดยการประสานกันของเส้น สี น�ำ้ หนัก ปริมาตร ลักษณะผิว และวัสดุ รูปทรงของคน

O

ของธรรมชาติ ไม่มีปรากฏให้เห็นเด่นชัดในงานเลย เป็นรูปทรงที่มาจากจินตนาการของศิลปินเองเกือบทั้งสิ้น

C

แม้แต่ชื่อของงานก็เปลี่ยนแปลงไปในแนวของนามธรรมด้วยเช่น รูปทรง–ที่ว่าง, ร่องรอย หรือให้ชื่อตามล�ำดับ

M ER

ด้วยหมายเลขและศักราช เช่น ภาพพิมพ์ 7/2507 (ภาพหน้า 144) สลักหิน 5/2512 (ภาพหน้า 78) เป็นต้น ทั้งนี้เพราะเรื่องหรือเนื้อหาภายนอกนั้นหมดความจ�ำเป็นลงแล้ว

SA

ข. แนวเรื่อง แนวเรื่องในระยะนี้อาจมีจุดเน้นต่างจากแนวเรื่องในระยะแรก กล่าวคือ จากที่เคยเป็น

IM

แนวทางของอารมณ์ความรู้สึกในเนื้อหาภายนอก เปลี่ยนมาเป็นแนวความคิดในการก�ำหนดรูปทรง

N

ค. รูปทรง เนื่องจากข้าพเจ้าท�ำงานศิลปะหลายสาขา ทั้งจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ และ

D

เทคนิคผสม รูปทรงจึงเปลี่ยนแปลกออกไปตามวัสดุและวิธีการของแต่ละสาขา ในทางจิตรกรรมข้าพเจ้าสนใจ

LO

O

เรื่องที่ว่างมากขึ้น ความเป็นปึกแผ่นของรูปทรงที่เคยท�ำมาในระยะแรกค่อยๆ ละลายตัวยอมให้ที่ว่างเข้ามามี

C

H

A

ความส�ำคัญมากขึ้น ที่ว่างในงานจิตรกรรมระยะแรก ส่วนมากจะเป็นที่ว่างระหว่างรูปทรงที่มีเส้นรูปนอกและ ้ การประกอบกัน ปริมาตรแน่นอน แต่ทวี่ ่างในงานแบบนามธรรมนีท ้ ำ� งานประสานกันในตัวเองมากกว่า ยิง่ กว่านัน

ของทัศนธาตุต่างๆ ที่เป็นปัจจัยในการสร้างรูปทรง ก็เป็นไปเพื่อสร้างที่ว่างให้มีความหมายยิ่งขึ้น เช่น อวกาศ (ภาพ 09 หน้า 93)

อาจารย์ชลูด กับงานสลักหินทรายชื่อ 2 ใน 1, 2512 ขนาด 34 x 32 ซม. สูง 122 ซม.

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 91

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 91

12/16/15 2:13 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL

07

LO

06 | ดวงอาทิตย์, 2510

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

06

ภาพพิมพ์คอลโลกราฟ, 75 x 47 ซม.

A

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

C

H

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 07 | ไม่มีชื่อ, 2509

สีน�้ำและปากกาหมึกด�ำบนกระดาษ 26 x 25 ซม.

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 08 | บันทึก, 2510 ภาพพิมพ์คอลโลกราฟ, 60 x 75 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

08

92

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 92

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A

09 2

A N

D

งานภาพพิมพ์ที่ใช้เทคนิคคอลโลกราฟ ก็เป็นการกัดกร่อนของที่ว่างเข้าไปในรูปทรง เช่น ผลงานชื่อ เงาสะท้อน, ดวงอาทิตย์ (ภาพ 06), บันทึก (ภาพ 08) ฯลฯ เป็นชัยชนะของที่ว่างที่มีเหนือรูปทรง

N

เป็นความรู้สึกของนามธรรมที่ชนะรูปธรรม เป็นเรื่องของรูปทรง (รูปแบบ) ที่มีความส�ำคัญเหนือเนื้อหาทาง

EC TI

O

เรื่องราว

งานประติมากรรมซึ่งส่วนใหญ่เป็นงานสลักหินในตอนเริ่มต้นของระยะที่ 2 ยังคงมีลักษณะแน่นตัน เช่น คู่, 2 ใน 1 (ภาพหน้า 90), สลักหิน 5/2512 (ภาพหน้า 78) แต่ต่อมาที่ว่างจะเข้ามามีบทบาทมากขึ้น

LL

มีบริเวณที่เป็นปริมาตรของที่ว่างควบคู่ไปกับปริมาตรของรูปทรง เช่น สลักหิน 3/2513 (ภาพหน้า 94)

C

O

หลังจากนัน ้ ข้าพเจ้าเริม ่ หันมาใช้โลหะและการเชือ ่ ม การเจาะ มาเป็นวัสดุและวิธก ี าร แผ่นเหล็ก แผ่นทองเหลือง

M ER

ที่ถูกลวดเชื่อมไฟฟ้าเป่าจนละลายเป็นเส้นนอกเว้าแหว่ง และเจาะทะลุเป็นรูอยู่ภายในทั่วไป ประกอบกับ ลักษณะผิวขรุขระ เป็นจุดเป็นเส้นตามกรรมวิธีของการเชื่อมโลหะ ให้ความรู้สึกในเรื่องความว่างอย่างเด่นชัด

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

และให้ความคิดในความเป็นอนิจจัง อนัตตา ของสิ่งทั้งปวง (ภาพหน้า 94)

2.

Collograph ภาพพิมพ์ที่พิมพ์จากแม่พิมพ์ที่ทำ� ขึ้นด้วยการน�ำวัสดุที่มีรูปร่างและลักษณะผิวต่างๆ ทากาวติดกับแผ่นแม่พิมพ์

09 | อวกาศ, 2506 สีน�้ำมันบนแผ่นไม้, 41.5 x 124 ซม. ผลงานสะสมส่วนบุคคล

93

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 93

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C สลักหิน 3/2513, 2513

ผลงานประติมากรรมเชื่อมโลหะของอาจารย์ชลูด ราวปี พ.ศ. 2513

ผลงานประติมากรรมสลักหินและแกะสลักไม้ของ

หินแกรนิตสีนวล, 40 x 20 ซม. สูง 34 ซม.

งานชิ้นนี้ไม่ปรากฏชื่อ, ขนาด และหลักฐานว่าอยู่ที่ใดในปัจจุบัน

อาจารย์ชลูดในสตูดิโอประติมากรรม ราวปี พ.ศ. 2513

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

94

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 94

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 95

12/15/15 12:57 AM


ชุดชนบท

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

C

H IV

E

2520–2528

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 96

12/15/15 12:57 AM


3.

งานชุดชนบท 2520–2528

งานระยะปัจจุบัน ชุดชนบท พ.ศ. 2520–2528 (ภาพหน้า 96 และ 99-101)

E

ประสบการณ์ทไี่ ด้จากการท�ำงานและการสอนศิลปะในช่วงเวลาหนึง่ ท�ำให้ขอบเขตความรับผิดชอบใน

H IV

ด้านศิลปะของข้าพเจ้าขยายกว้างออก กล่าวคือ จากการค้นหาความจริงภายในไปสู่การผสมผสานกับความ

C

จริงภายนอก จากการแสดงอารมณ์ความรู้สึกด้วยรูปทรงไปสู่การแสดงออกทางความคิดมากขึ้น จากรูปทรง

R

ที่ส�ำเร็จสมบูรณ์ในตัวไปสู่รูปทรงส่วนรวมในสิ่งแวดล้อม และจากการแสดงลักษณะส่วนตนเพียงอย่างเดียว

A

ขยายวงออกไปถึงความจ�ำเป็นที่จะแสดงเอกลักษณ์บางด้านของท้องถิ่นและของชาติ

A N

D

ที่จริงเอกลักษณ์ของไทยที่ควรจะแสดงออกในงานศิลปะนี้ มีอยู่ในส�ำนึกของข้าพเจ้าตลอดมานับตั้งแต่ เริ่มท�ำงาน ทั้งนี้เพราะศาสตราจารย์ศล ิ ป์ พีระศรี ปรมาจารย์ผู้ให้กำ� เนิดศิลปะร่วมสมัยของเมืองไทย ได้ชี้ให้

N

เห็นความส�ำคัญและสนับสนุนการสร้างสรรค์ที่เชื่องโยงกับภูมิหลังทางวัฒนธรรมของชาติมาโดยตลอด

EC TI

O

ในระยะแรกข้าพเจ้าได้ค้นหาแนวทางที่จะแสดงลักษณะบางอย่างของไทยออกมาในงานจิตรกรรม โดยใช้เรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีและการด�ำเนินชีวิตของคนไทยในชนบท ใช้วิธีการเขียนระบายสี การให้มิติ ของภาพ และเทคนิคการใช้สแ ี บบจิตรกรรมไทย แต่ใช้รป ู ทรงทีเ่ รียบง่ายและหนักแน่นตามลักษณะของตนเอง

LL

ตัวอย่างงานในแนวนี้คือ สงกรานต์ (ภาพหน้า 16), แม่ค้า (ภาพหน้า 142) อาบน�้ำ (ภาพหน้า 143) แต่ใน

C

O

ระยะปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้หันมาให้ความสนใจและสัมผัสกับชีวิตไทยในชนบทเป็นการจ�ำเพาะเจาะจงมากขึ้น

M ER

แทนที่จะเป็นชีวิตไทยในจินตนาการอย่างที่เคยท�ำในระยะแรก เหตุที่ข้าพเจ้าเน้นไปที่ชีวิตของชนบทก็เพราะ สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันของข้าพเจ้าเป็นชนบท และคิดว่าชนบทยังรักษาความเป็นไทยไว้ได้มากกว่าในเมือง ทั้งด้านชาติพันธุ์และด้านวัฒนธรรม คนชนบทมีความเป็นอยู่ง่ายๆ มีวัฒนธรรมของตัวเองสืบต่อกันมาหลาย

SA

ชั่วคน เป็นวัฒนธรรมที่มิได้ถูกขัดเกลาให้ประณีตเป็นพิธีรีตองเหมือนสังคมในเมือง แต่เกี่ยวข้องกับการด�ำเนิน

IM

ชีวิต การเกิด การอยู่ การท�ำงานและการตายจากไป เป็นสิ่งจ�ำเป็นในชีวิตของพวกเขาโดยตรง

N

วัฒนธรรมหลายอย่างอาจต้องเปลี่ยนแปรไปบ้างตามการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมที่เกิดจากความ

O

D

เจริญทางวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้ที่ท�ำด้วยวัสดุสังเคราะห์และการผลิตแบบอุตสาหกรรมเครื่องจักรเข้ามาแทนที่

LO

วัสดุธรรมชาติและความประณีตทางฝีมือ อาหารส�ำเร็จรูปในถุงในห่อ ในภาชนะโลหะและพลาสติก มีเข้าไป

C

H

A

จ�ำหน่ายทุกหนทุกแห่ง ทิ้งส่วนที่เหลือใช้ให้รุงรัง สร้างมลภาวะให้แก่สิ่งแวดล้อม การสื่อสารมวลชนก้าวหน้า ถึงที่สุด วิทยุกระจายเสียงเข้าถึงประชาชนทุกแห่งของประเทศ ลิเกละครที่เคยได้ดูแต่ในฤดูว่างงาน ก็เปลี่ยนมา เป็นลิเกละครวิทยุที่เปิดฟังได้ทุกวัน วันละหลายโรง แต่ถึงอย่างไรชีวิตแท้จริงของชาวชนบทก็ยังไม่เปลี่ยนแปลง

ประติมากรรมชนบท 4/2525 ค. และ ประติมากรรมชนบท 7/2525 (ด้านขวาของภาพ), 2525 บันทึกภาพถ่ายและเพอร์ฟอร์แมนซ์

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 97

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 97

12/15/15 12:57 AM


เขายังคงไปท�ำบุญตักบาตรในวันส�ำคัญทางศาสนา ยังคงร่วมรื่นเริงและฉลองในกิจกรรมทางประเพณีต่างๆ ยังคงประกอบอาชีพทางเกษตรกรรม ถึงแม้จะใช้ถาดพลาสติก ขันอลูมิเนียมที่ดุนนูนเป็นลวดลายด้วยเครื่อง กางร่มทีท ่ ำ� ด้วยผ้าใยสังเคราะห์ สนตะพายควายด้วยเชือกไนล่อนสีสด และบางทีจ่ ะไถนาด้วยควายเหล็กก็ตาม ที่สำ� คัญที่สุดก็คือ พวกเขายังมีน�้ำใจเผื่อแผ่ และมีฐานะค่อนข้างยากจนเหมือนเดิม ข้าพเจ้าได้เห็นวัตถุสงิ่ ของ เครือ ่ งมือประกอบอาชีพ เครือ ่ งใช้ประจ�ำวัน รวมทัง้ วัสดุใช้แล้วทีถ ่ ก ู ทิง้ ขว้าง อยู่ทวั่ ไปตามบริเวณทีอ ่ ยู่อาศัยเช่น ท่อนไม้ ไม้ฟืน กะลา กระป๋องบรรจุอาหาร ไม้ไผ่ ผ้า ถุงพลาสติก เชือก ฯลฯ ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่าเป็นสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรมส่วนหนึ่งที่ทำ� ให้เรารู้สึกได้ถึงสภาพชีวิตของประชาชนใน

E

ท้องถิ่นนั้นๆ ได้เป็นอย่างดี การน�ำวัสดุที่เป็นบันทึกของประสบการณ์ชีวิตเหล่านี้มาสร้างเป็นรูปทรงขึ้นใหม่

H IV

ด้วยท่วงท�ำนองที่สอดคล้องกับลีลาการด�ำเนินชีวิตของชาวชนบท เช่น การประกอบอาชีพ การเดินทาง

R

เข้าถึงชีวิตและวิญญาณของชนบทไทยโดยทั่วไปให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น

C

การละเล่น การท�ำบุญ การพักผ่อน การเกิด การแต่งงาน การตาย ฯลฯ จึงน่าจะเป็นการสื่อความรู้สึกให้

A

การเลือกสรรและน�ำวัสดุที่มีอยู่ตามชนบทเหล่านี้มาประกอบเป็นงานขึ้นนี้มิใช่เพื่อผลทางเทคนิคหรือ

A N

D

ความงามของวัสดุ หรือความงามของรูปทรง แต่เป็นเรื่องของการแสดงแนวความคิด และเป็นความจ�ำเป็น ในการแสดงออกซึ่งความคิดดังที่กล่าวมาแล้ว ตัววัตถุ เนื้อวัสดุ และการประกอบกันของสิ่งต่างๆ จะเป็นส่วน

N

ส�ำคัญในการแสดงความคิด ที่มุ่งเน้นไปที่ความผูกพันระหว่างวิญญาณของวัตถุ กับวิญญาณของผู้คนในวง

EC TI

O

แวดล้อมของมัน ในงานประติมากรรมสื่อผสมที่มีลักษณะเชื่อมโยงกับบุคลิกภาพของชนบทไทยชุดนี้ ประติมากรรมชนบทชุด 2525 นี้ ได้จัดแสดงขึ้นที่สวนประติมา อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม

LL

เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2525 ในบริเวณเนื้อที่ประมาณ 3 ไร่ สภาพแวดล้อมเป็นชนบท ประกอบด้วย พงหญ้า ต้นไม้นานาชนิด บ่อน�ำ้ บริเวณโล่งเตียน เนินดิน ท้องฟ้า ควันไฟ ฯลฯ ประติมากรรมหลายชิ้นตั้ง

C

O

วาง แขวน ไว้ทั่วบริเวณ นอกจากประติมากรรมที่ตั้งอยู่กับที่แล้ว ยังมีประติมากรรมผสมการแสดงซึ่งมีตัว

M ER

ศิลปินเองและเด็กๆ ชาวชนบทเข้าร่วมสร้างรูปทรงและความเคลื่อนไหวให้กับงานส่วนรวมด้วย ระหว่างเวลา ที่จะจัดนิทรรศการประติมากรรมผสมชีวิตนี้ ข้าพเจ้าได้ติดตั้งงานประติมากรรม และวางโครงการการแสดง

3

SA

ไว้คร่าวๆ แล้วเชิญผู้ที่สนใจให้เข้าชมตามเวลาที่นัดหมาย มีการบันทึกผลงานด้วยภาพถ่ายและสไลด์เป็น หลักฐานของการแสดง และสามารถใช้บันทึกเหล่านี้เป็นผลงานที่จะน�ำออกเผยแพร่ในนิทรรศการที่จะจัดขึ้น

IM

ตามหอศิลป์ในรูปของ Document ได้อีก ส่วนประติมากรรมที่ตั้งอยู่กับที่ยังคงเปิดให้คนเข้าชมต่อไปอีก

C

H

A

LO

O

D

N

ระยะหนึ่ง

3.

Performance เป็นการแสดงด้วยร่างกาย ท่าทาง การเคลื่อนไหว คล้ายการแสดงละคร

98

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 98

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER

ผลงานที่แสดงในคราวนี้มีประมาณ 15 ชิ้น แต่ละชิ้นอาจถือได้ว่าเป็นรูปทรงย่อยรูปหนึ่งที่ประสานเข้า

SA

ด้วยกันกับรูปทรงอื่น กับความเคลื่อนไหวของประติมากรรมผสมการแสดง และกับสิ่งแวดล้อมทั้งหมด 4

IM

กลายเป็นงานศิลปะสิง่ แวดล้อม ชิน ้ มหึมาชิน ้ หนึง่ จุดประสงค์ของงานชุดนีก ้ เ็ พือ ่ แสดงความคิดและความรู้สก ึ

N

เกี่ยวกับศิลปะและสิ่งแวดล้อมทั้งธรรมชาติและวัฒนธรรมที่เชื่อมโยงกับชนบทของไทย เพื่อให้ประสบการณ์

D

ที่มีความหมายใหม่แก่ตัวเองและแก่ผู้ชม และเพื่อแสดงเอกลักษณ์ของไทยบางลักษณะในงานศิลปะร่วมสมัย

C

H

A

LO

O

ของไทย

4.

Environmental art งานศิลปะที่มีรูปทรงหรือที่ว่างห้อมล้อมคนดู เป็นสิ่งแวดล้อมของคนดู

ประติมากรรมชนบท 5/2525 ข. 2525 บันทึกภาพถ่ายและเพอร์ฟอร์แมนซ์

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 99

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 99

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C กลุ่มผลงาน วาดเส้นเพื่อประติมากรรมชนบท, 2525

ประติมากรรมชนบท, 2525

ปากกาหมึกด�ำและปากกาลูกลื่นสีบนกระดาษ

ท่อนไม้, เชือกไนล่อนสี, กะลามะพร้าว,

ขนาดโดยเฉลี่ย 14 x 10 ซม.

กระป๋องบรรจุอาหารส�ำเร็จรูป

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

100

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 100

12/15/15 12:58 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 101

12/15/15 12:58 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 102

12/16/15 2:21 AM


4.

บันทึกประจำ�วัน 2523–2527

บันทึกประจ�ำวัน 2523–2527 น�ำออกแสดงในนิทรรศการศิลปะ ‘งานกระดาษ’ ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 25 กุมภาพันธ์-12 มีนาคม 2527 (ภาพหน้า 102 และ 147) เป็นงานประติมากรรม

H IV

E

สือ ่ ผสมทีส ่ ร้างขึน ้ ด้วยการน�ำวัตถุสำ� เร็จรูปต่างๆ มาติด มาแขวน หรือกองรวมกันให้เกิดรูปทรงและความหมาย ตามต้องการ

R

C

งานชิ้นนี้ข้าพเจ้าใช้สิ่งของต่างๆ ซึ่งส่วนมากจะเป็นกระดาษที่พิมพ์หรือเขียนข้อความต่างๆ จดหมายที่

A

มีมาถึง ส�ำเนาหนังสือของทางราชการและเอกชน ภาพถ่ายที่มีความส�ำคัญเตือนให้ระลึกถึง ภาพร่างวาดเส้น

D

ภาพจิตรกรรมเล็กๆ ฯลฯ มาแขวนด้วยเชือกไนล่อนสีสดหลายสี ห้อยเกี่ยวกับแผ่นทองเหลืองรูปกลมที่เป็น 5

A N

งานประติมากรรมโลหะเชื่อม มีรูพรุนมากมาย

N

แนวเรือ ่ งของงานก็คอ ่ี ่าสนใจในแต่ละวัน เริม ่ บันทึกตัง้ แต่ปี 2523 ในระยะ ื การเก็บบันทึกเหตุการณ์ทน

O

แรกมีของแขวนอยู่ไม่กช ี่ น ิ้ เมือ ่ เวลาผ่านมาสิง่ ของหรือเรือ ่ งทีบ ่ น ั ทึกก็เพิม ่ มากขึน ้ งานก็เปลีย ่ นไป ้ รูปทรงของชิน

EC TI

จากเรียบง่ายกลายเป็นซับซ้อนขึ้น สิ่งใดที่หมดความส�ำคัญก็ปลดทิ้งไป จึงเป็นรูปทรงที่มีการเปลี่ยนแปลง ลดลงเพิ่มขึ้นสลับกันตลอดเวลา จนถึงวันที่ยกไปแขวนในห้องแสดง กล่าวโดยย่อแนวเรื่องหรือแนวความคิด

LL

ของบันทึกประจ�ำวัน 2523–2527 นี้ก็คือ การเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องของเนื้อหาและรูปทรงที่มาจาก

O

โอกาสและความจ�ำเป็นในการด�ำเนินชีวิตประจ�ำวันของศิลปิน

C

งานชิ้นนี้ไม่เน้นเนื้อหาทางรูปทรง รูปทรงเกิดขึ้นด้วยโอกาส ผสมกับการตัดสินใจอย่างไร้ส�ำนึกในการ

M ER

ที่จะแขวนอะไรในต�ำแหน่งใด ศิลปินมิได้มีเจตนาจะให้เกิดความงาม ความสมดุล ฯลฯ ของรูปทรงแต่อย่างใด เนื้อหาของงานส่วนใหญ่จะเป็นเนื้อหาทางความคิด ที่อาศัยเรื่องราวของวัตถุสิ่งของที่มีความหมายใน

SA

ตัวเองแต่ละชิ้น รวมตัวกันเข้าด้วยโอกาสและความจ�ำเป็นที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน ด�ำเนินต่อเนื่องกันในระยะเวลา

C

H

A

LO

O

D

N

IM

อันยาวนาน ให้ความคิดในเรือ ่ งการเปลีย ่ นแปลงทัง้ เนือ ้ หาและรูปทรงทีค ่ ่อยเป็นค่อยไปตามเวลาและเหตุการณ์

5. Welding sculpture ประติมากรรมโลหะที่ใช้วิธีเชื่อมต่อ เจาะ และสร้างลักษณะผิวด้วยลวดประสาน

บันทึกประจ�ำวัน 2523-2527 (ภาพบันทึกผลงานในช่วงเวลาหนึ่ง) วาดเส้นบนกระดาษ, จดหมายราชการ, โปสการ์ด, สิ่งพิมพ์, ไม้แกะสลัก, กระปุกออมสิน, รองเท้า, กระป๋องผลิตภัณฑ์, ถุงย่าม, เทปกาว, พู่กัน, แผ่นโลหะ, เชือกไนล่อนสี, ขนาดประมาณ 140 x 22 ซม. สูง 200 ซม.

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 103

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 103

12/15/15 12:56 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 104

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 104

12/16/15 2:22 AM


5.

บทกวีชุดที่ 1/2525 2523–2527

บทกวีชุดที่ 1/2525 เป็นงานสื่อผสมอีกชิ้นหนึ่งที่น�ำออกแสดงในนิทรรศการศิลปะ ‘งานกระดาษ’ พร้อมกับบันทึกประจ�ำวัน 2523–2527 (ภาพหน้า 147) งานชิ้นนี้ประกอบด้วยกระดาษวาดเขียนขนาด

H IV

E

14 x 20 เซนติเมตร จ�ำนวน 50 แผ่น ในแต่ละแผ่นศิลปินได้เขียนบทกวีลงไปบทหนึ่ง ด้วยภาษาทัศนศิลป์

เป็นรูปทรง เป็นสัญลักษณ์ วางอยู่ในต�ำแหน่งที่มีจังหวะและทิศทางเปลี่ยนแปลกแตกต่างกัน เหมือนแบบรูป

R

C

ของฉันทลักษณ์ เป็นบทกวีที่ไม่สามารถจะอ่านให้รู้เรื่องได้ ต้องอาศัยการมองเห็นรูปทรง การรู้สึก และใช้

A

จินตนาการสานต่อไปจนเกิดความซาบซึ้งในรสของกวีขึ้น

D

บทกวีทั้ง 50 บทนี้ จัดแขวนเรียงกันบนราวลวดที่มีความยาว 10 เมตร ยึดติดด้วยคลิปเล็กๆ ที่จัดงาน

A N

ชิ้นนี้เป็นงานศิลปะสื่อผสมก็เพราะว่ากระดาษที่แขวนอยู่บนราวลวดนี้มีลักษณะลอยตัว และมีการโค้งงอของ

N

แผ่นกระดาษ และเมื่อมีลมพัดมาจากภายนอกแผ่นกระดาษเหล่านี้จะเคลื่อนไหวกระพือเข้าออก ให้ความเป็น

O

มิติที่ชัดเจน คุณลักษณะเหล่านี้เป็นลักษณะเฉพาะของประติมากรรม แต่ถ้าพิจารณาเฉพาะแต่ละแผ่นก็คงจะ ประติมากรรม จิตรกรรม และวรรณกรรม

EC TI

ถือได้ว่าเป็นงานจิตรกรรม รวมความแล้วงานบทกวีชุดที่ 1/2525 นี้ จึงเป็นศิลปะที่ผสมกันระหว่าง

LL

ผู้สร้างสรรค์มีแนวความคิดเกี่ยวกับงานชิ้นนี้ว่า การจะอ่านบทกวีใดๆ ให้ซาบซึ้งนั้น ผู้อ่านจะต้องมี

O

ความรู้ในภาษานัน ้ เป็นอย่างดี แต่บทกวีในโลกนีเ้ ขียนขึน ้ ด้วยภาษามากมายหลายหลากนัก เราไม่อาจมีความรู้

C

ได้ทุกภาษา ดังนั้นโอกาสที่จะได้ชื่นชมรสของกวีในภาษาอื่นจึงหมดไปอย่างน่าเสียดาย ข้าพเจ้าจึงคิดว่าถ้าใช้

M ER

ภาษาทางทัศนศิลป์ซงึ่ เป็นภาษาสากลทีค ่ นทุกชาติทก ุ ภาษาสามารถจะรับรูไ้ ด้เพียงด้วยการเห็นเท่านัน ้ มาเขียน เป็นบทกวีขึ้น ก็อาจแก้ปัญหาเรื่องข้อจ�ำกัดทางภาษาลงได้

SA

รูปทรงทีเ่ ป็นสัญลักษณ์ในตัวและการประกอบกันของรูปทรงเหล่านีเ้ ข้าด้วยกัน ในจังหวะลีลาและทิศทาง

IM

ต่างๆ ในงานแต่ละแผ่น จะเสนอแนะผู้ชมให้สร้างสรรค์บทกวีขึ้นในใจอย่างอิสระ ไม่ใช่เป็นเพียงการรับรู้

N

ความหมายทางภาษาตามที่กวีเป็นผู้ก�ำหนดในบทกวีทั่วๆ ไป

D

การทีจ่ ะได้เนือ ้ หาทีส ่ มบูรณ์จากงานชิน ้ นี้ ผู้ชมจะต้องให้ความร่วมมือกับผู้สร้าง ผู้สร้างเป็นเพียงผู้จด ั หา

O

วัสดุและเสนอแนะความบันดาลใจให้เท่านั้น ผู้ชมจะต้องเปลี่ยนแปลงสิ่งบันดาลใจเหล่านี้ให้เป็นบทกวีด้วย

C

H

A

LO

จินตนาการของตนเอง ซึ่งจะกระท�ำได้อย่างอิสระตามพื้นอารมณ์และประสบการณ์ของแต่ละคน ผู้ชมอาจมี ความเป็นกวีนอนนิ่งอยู่ภายในแล้ว ศิลปินเสนองานนี้เพื่อปลุกให้ใจเกิดจินตภาพเบื้องต้นขึ้น เพื่อการ

สร้างสรรค์ที่คลี่คลายต่อไป แม้จะเป็นเพียงเสียงสะท้อนอยู่ในความนึกคิดของผู้ชม ก็นับว่างานชุดนี้ได้พบ ความส�ำเร็จแล้ว

(บน) งานชุด บทกวีชุดที่ 1/2525 (จ�ำนวน 50 บท)

(ล่างซ้าย) กวีบทที่ 1–9–4, 2525 | (ล่างขวา) กวีบทที่ 1–7–3, 2525

จัดแขวนเรียงบนราวลวดที่มีความยาว 10 เมตร โดยยึดติดด้วยคลิปเล็กๆ

ปากกาหมึกด�ำและแดง, หมึก, สีน�้ำ และดินสอบนกระดาษ, 14 x 20 ซม.

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

105

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 105

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 106

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 106

12/16/15 2:22 AM


6.

แนวเรื่องและการเปลี่ยนแปร 2528

แนวเรือ ่ งและการเปลีย ่ นแปร เป็นงานประติมากรรมทีท ่ ำ� ด้วย ไม้ เชือก ตะปู มีขนาดผันแปรตามพืน ้ ที่ งานชิ้นนี้แสดงการคลี่คลายและเปลี่ยนแปรของแนวเรื่องหนึ่งที่ค่อยๆ คลี่คลายไปตามจังหวะและลีลาที่เปลี่ยน

H IV

E

ไปในที่วา่ ง เหมือนกับแม่ชุด (Theme) ของดนตรีที่คลี่คลายไปในกาลเวลา ชื่อของงานก็บอกแนะอยู่แล้วว่า น่าจะเป็นเรื่องของดนตรี งานชิ้นนี้ข้าพเจ้าได้รับความบันดาลใจจากดนตรีพื้นบ้านของชาวอีสาน ที่มีโปงลาง

R

C

เป็นตัวให้จังหวะและมีแคนเป็นตัวเดินท่วงท�ำนอง เป็นดนตรีที่มีลักษณะเป็นต้นแบบที่สุดเหมือนเพิ่งจะเกิดขึ้น

A

มาในโลก บริสุทธิ์ไร้เดียงสา แต่เข้มข้นด้วยพลังของชีวิต แสดงให้รู้สึกถึงแก่นแท้ของชีวิตที่ปราศจากการ

D

ปรุงแต่ง เสียงของโปงลางนั้นก้องสะท้อนไปในที่ว่างเป็นจังหวะและท่วงท�ำนองง่ายๆ ด้วยบันไดเสียงเพียง

N

ศิลปะมากที่สุดด้วยจังหวะและท่วงท�ำนองที่เรียบง่ายที่สุด

A N

2–3 ขั้น สลับไปสลับมาจนตลอดเพลง เป็นเสียงที่แสดงให้รู้สึกถึงการสัมผัสที่อุ่นร้อน ให้ความสมบูรณ์ทาง 6

O

ที่จริงรูปทรงของประติมากรรมชิ้นนี้ก็คือ แบบรูป ของจังหวะและลีลาที่คลี่คลายไปในที่ว่างในท่วงท่า

EC TI

ทีส ่ อดคล้องกับจังหวะลีลาของดนตรี จากรูปทรงง่ายๆ ของไม้ทอ ่ นหนึง่ ซึง่ เปรียบได้กบ ั แม่ชด ุ บทหนึง่ ของดนตรี ได้พัฒนาตัวเอง แจกลูก แจกดอก ต่อเนื่องไป เปลี่ยนแปรไปทั้งรูปร่าง ขนาด และจังหวะ การบาก การเจาะ

LL

การร้อยมัดด้วยเชือกในรูปทรงย่อยเหล่านี้ ก็เป็นวิธีการที่ได้ความดลใจมาจากการท�ำโปงลาง

O

ตามความเห็นของข้าพเจ้า เนื้อหาของงานชิ้นนี้นา่ จะเป็นเรื่องของดนตรี เป็นดนตรีทางดวงตา ซึ่งให้

C

รสชาติที่แตกต่างไปจากดนตรีที่ตามปกติเราเคยสัมผัสด้วยหู ด้วยลักษณะของรูปทรง ด้วยจังหวะลีลาที่

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

ดั้งเดิมบทหนึ่ง

M ER

ต่อเนื่องในบริเวณเนื้อที่ที่ค่อนข้างกว้าง อาจสร้างอารมณ์ความรู้สึกให้แก่ผู้ชมเช่นเดียวกับที่ได้รับจากดนตรี

6. Pattern แบบอย่าง แบบรูป ศัพท์บัญญัติอังกฤษ–ไทย ไทย–อังกฤษ ราชบัณฑิตยสถาน (กรุงเทพฯ, 2525), หน้า 52

แนวเรื่องและการเปลี่ยนแปร, 2528 ท่อนไม้, เชือกไนล่อนสี, ตะปู, ขนาดผันแปรตามพื้นที่

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 107

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 107

12/15/15 12:57 AM


7.

ประติมากรรมชนบท 2527

5/2527

ฌาปนกิจ

ประติมากรรมชนบท 5/2527 ฌาปนกิจ ประติมากรรมสื่อผสม ขนาด 85 x 140 x 140 เซนติเมตร

R

ท�ำลายของเก่าเพื่อสร้างสิ่งใหม่ขึ้น ท�ำลายความยึดมั่นว่าเป็นตัวตนของเราเพื่อบรรลุความหลุดพ้นจากทุกข์

C

2523–2527’ และ ‘บทกวีชุดที่ 1/2525’ ดังได้กล่าวมาแล้ว แนวความคิดของงานชิ้นนี้ก็คือการ ‘ท�ำลาย’

H IV

งานชิ้นนี้ค่อนข้างจะเอนมาทางศิลปะที่ใช้แนวความคิดเป็นส่วนส�ำคัญเช่นเดียวกับ ‘บันทึกประจ�ำวัน

E

แสดงในการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครัง้ ที่ 30 วันที่ 2–30 สิงหาคม 2527 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

A

ทั้งปวง การยึดมั่นในตัวตนในทางพุทธศาสนาถือว่าเป็นความเขลา และขัดต่อความเป็นจริงตามธรรมชาติ

D

ชีวต ิ ด�ำเนินไปตามธรรมดาของมัน มีเกิดมีดบ ั ต่อเนือ ่ งกันไป ไม่ใช่ของใคร และไม่สามารถคงอยู่ในสภาพเดิมได้

A N

มีการเปลีย ่ นแปลงเพือ ่ ถึงความแตกดับในขัน ้ สุดท้ายของชัว่ ชีวต ิ หนึง่ ถ้าจะถือว่าศิลปะคือสิง่ ทีแ ่ สดงออกซึง่ ชีวต ิ

N

ศิลปะก็เป็นเพียงบันทึกสภาวะในขณะหนึ่งของชีวิตเท่านั้น เป็นชีวิตที่ผา่ นมาแล้ว ‘ตาย’ ลงแล้ว เหลือเพียง

O

ซากที่ต้องเผาท�ำลายให้สิ้นไป

EC TI

รูปทรงในงานชิ้นนี้ท�ำหน้าที่ 2 ประการคือ ท�ำหน้าที่แสดงคุณค่าและความงามของตัวรูปทรงเอง เริ่มตั้งแต่รูปทรงย่อยแต่ละรูป เป็นไม้แกะสลักที่มีคุณค่าและความหมายในตัว ไปจนถึงการประกอบกันของ

LL

รูปทรงเล็กๆ จ�ำนวนมากเหล่านี้ ให้เป็นรูปทรงใหญ่ที่มีลักษณะเป็นลูกบาศก์ที่มีฐานด้านล่างแผ่ลาดออก

O

พร้อมกันนั้นก็ท�ำหน้าที่แสดงแนวความคิดเกี่ยวกับการท�ำลายซ้อนลงไป รูปทรงแสดงตัวให้รับรู้วา่ เป็น

C

เชิงตะกอนที่ท�ำด้วยดุ้นฟืนมากมายวางซ้อนขึ้นเป็นกอง มีงานประติมากรรมที่ศิลปินท�ำขึ้นเมื่อ 20 ปีมาแล้ว

M ER

จ�ำนวน 10 ชิ้นวางอยู่ข้างบนเป็นสัญลักษณ์แสดงสิ่งที่ตายแล้ว เป็นชีวิตในสภาวะหนึ่งของศิลปินที่ผ่านมาแล้ว เป็นตัวตนที่ต้องท�ำลายให้สิ้นไป ด้านล่างเป็นไม้ฟืนขนาดเล็กหลายดุ้นจ่อเข้าตามช่องว่างของกองฟืนทั้งสี่ด้าน

SA

เพื่อเป็นเชื้อไฟ

IM

เนื้อหาทางสัญลักษณ์ของงานก็คงเป็นไปตามแนวความคิดที่กล่าวแล้ว กล่าวคือให้อารมณ์ความรู้สึก

N

ไปในทางการท�ำลายสิ่งที่ตนรักหวงแหนและยึดติด เป็นความรู้สึกที่ขัดแย้งกันอย่างมากระหว่างความรักกับ

C

H

A

LO

O

D

การท�ำลายในสิ่งที่เรารักและยึดมั่นว่าเป็นของเรา

ประติมากรรมชนบท 5/2527 ณาปนกิจ, 2527 ประติมากรรมสลักไม้จ�ำนวน 10 ชิ้น, ท่อนไม้, เชือกไนล่อนสี, 140 x 140 ซม. สูง 85 ซม.

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 108

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 108

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 109

12/15/15 12:57 AM


8.

ประติมากรรมชนบท 2527

1/2527

กระเทียม

ประติมากรรมชนบท 1/2527 กระเทียม ประติมากรรมสือ ่ ผสมท�ำด้วยหัวกระเทียม เชือก ไม้ไผ่ ลวด ขนาด 140 x 22 x 200 เซนติเมตร แสดงในงานแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 30 วันที่ 2–30 สิงหาคม

H IV

E

2527 ณ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

R

แสดงออกถึงอะไรบางอย่างที่แฝงลึกอยู่ในใจแล้ว ยังเพ่งเล็งไปถึงความคงทนถาวรของวัสดุที่ใช้เป็นสื่อของ

C

โดยทั่วไปแล้ว ผลงานศิลปะที่ศิลปินสร้างขึ้น ไม่ว่าจะเป็นยุคใดสมัยใด นอกจากจะมีจุดมุ่งหมายที่จะ

A

งานศิลปะนั้นๆ ด้วย ทั้งนี้เพื่อติดตั้งให้ผู้คนได้รับรู้และชื่นชมสืบต่อไปนานเท่านาน ศิลปินเองก็คงสมปรารถนา

D

ที่ได้สร้างสิ่งที่เชื่อว่าเป็นอมตะแทนตัวเองซึ่งจะต้องแตกดับไปโดยกฎธรรมดา เป็นการยึดมั่นถือมั่นในตัวตน

A N

และต้องการรักษาตัวตนนี้ให้คงอยู่ตลอดไป แต่ก็มีงานศิลปะบางประเภทที่สร้างขึ้นอย่างประณีตงดงาม

N

แล้วท�ำลายหรือปล่อยให้สูญสลายไปหลังจากที่ได้สนองเจตนาของการสร้างสรรค์แล้วนั้น เช่น การแสดงต่างๆ

O

ภาพระบายสีบนทรายของอินเดียนแดงบางเผ่า งานสลักของสดที่ประดับจิตกาธานในงานศพของไทย

EC TI

เครื่องกงเต๊ก ศิลปะสิ่งแวดล้อมบางรูปแบบ และศิลปะที่เป็นอุบัติของเหตุการณ์ งานเหล่านี้จะคงอยู่ก็แต่ใน ความประทับใจ และการคลี่คลายในจินตนาการของผู้ชมเท่านั้น มิได้เป็นศิลปะที่ยั่งยืนในรูปของวัตถุซึ่งดูจะ

LL

สอดคล้องกับหลักของไตรลักษณ์ในพระพุทธศาสนา ที่เน้นความไม่เที่ยงแท้ของสังขารทั้งปวง

O

ปัจจุบน ั วิทยาการในด้านการบันทึก การเก็บข้อมูล และการเผยแพร่ข่าวสารได้ก้าวหน้าไปอย่างมากมาย

C

การแสดงออกในศิลปะบางประเภทจึงหันเข้าหาสือ ่ อย่างใหม่ นัน ่ คือการแสดงออกโดยไม่อาศัยวัสดุทค ี่ งทนถาวร

M ER

แล้วบันทึกการแสดงหรือผลงานของงานนั้นทุกขั้นตอน ทุกแง่ทุกมุม ด้วยภาพถ่าย สไลด์ วิดีโอ เอกสาร ฯลฯ ซึ่งสามารถจะน�ำออกแสดงซ�้ำได้ทุกโอกาส โดยไม่ท�ำให้คุณภาพของงานต้นแบบเสียไป ทั้งนี้เพราะงานศิลปะ

SA

ประเภทนี้มักจะเน้นแนวความคิดมากกว่าผลงานที่ส�ำเร็จเป็นรูปทรงที่สมบูรณ์

IM

ประติมากรรมชนบท 1/2527 กระเทียม ชิ้นนี้ก็เช่นเดียวกัน ข้าพเจ้าใช้วัสดุที่มีความคงทนอยู่ได้ใน

N

ช่วงเวลาหนึง่ คือกระเทียมทีผ ่ ก ู ไว้เป็นหมวดๆ ทีม ่ ก ั จะเห็นแขวนอยู่ทวั่ ไปตามบ้านในชนบท เนือ ่ งจากกระเทียม

D

เป็นพืชไร่ที่ให้ผลผลิตตามฤดูกาล ชาวชนบทจึงเก็บกระเทียมไว้ท�ำพันธุ์และบริโภคให้เพียงพอตั้งแต่ฤดู

O

เพาะปลูกหนึ่งจนถึงอีกฤดูหนึ่ง วิธีเก็บกระเทียมให้คงคุณภาพอยู่ได้นานก็คือการแขวนให้อากาศถ่ายเทได้

LO

กระเทียมจะค่อยๆ แห้งลงทั้งหัวและใบที่ผูกเป็นหมวดไว้ กระเทียมที่แห้งแล้วจะมีสีขาวนวลที่บริเวณหัว

A

และมีสีเหลืองหม่นปนเทาที่ใบแห้ง

C

H

รูปทรงของกระเทียมแต่ละหมวดที่ผู้ผลิตจัดผูกไว้ด้วยตอกตามวิธีที่สะดวกเหล่านี้ ถ้าพิจารณาดูให้ดี จะเห็นความงามความเหมาะสมกลมกลืนในตัวของมันเอง ที่เป็นเช่นนี้ก็เพราะรูปทรงนี้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เกิดจากความจ�ำเป็นในหน้าที่ใช้สอย และเกิดจากการกระท�ำที่สืบต่อกันมาจนเป็นประเพณี ความน่าสนใจ ดังกล่าวท�ำให้ขา้ พเจ้าที่มีแนวความคิดในการท�ำงานมุ่งเน้นไปทางการแสดงออกของชีวิตชนบทอยู่แล้ว

110

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 110

12/15/15 12:57 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O

ท่ามกลางความอุดมสมบูรณ์ของผลิตผลทางการเกษตรที่ไม่สู้จะให้ผลทางราคาค่างวดเท่าใดนัก ข้าพเจ้าได้เสนอความคิดนี้ในงานประติมากรรมที่มีรูปแบบและวัสดุใกล้เคียงกับความเป็นจริงในชีวิต

C

H

A

LO

มองเห็นลักษณะพิเศษของการด�ำเนินชีวิตของชาวชนบทไทยที่มีความเป็นอยู่ง่ายๆ มักน้อย ด�ำรงชีพอยู่

ด้วยจุดมุ่งหมายใหญ่ 2 ประการคือ 1) ต้องการแสดง ‘วิญญาณ’ ของพี่น้องชาวชนบทที่สะท้อนออกมาใน กิจกรรมประจ�ำวันของการประกอบอาชีพ 2) ต้องการแสดงความงามที่เกิดจากรูปทรงในธรรมชาติและ การคลี่คลายของจังหวะลีลาของรูปทรงเหล่านั้น ที่ค่อยๆ เปลี่ยนแปลกออกไปอย่างนุ่มนวล

ประติมากรรมชนบท 1/2527 กระเทียม, 2527 กระเทียม, เชือกไนล่อนสี, ลวด, ท่อนไม้, 140 x 22 ซม. สูง 200 ซม.

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ 111

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 111

12/16/15 2:22 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 112

12/15/15 12:58 AM


9.

องค์สาม 2525

องค์สาม (ภาพหน้า 28) ประติมากรรมกับสิง่ แวดล้อม หล่อด้วยส�ำริด ขนาด 500 x 235 x 145 เซนติเมตร ตั้งอยู่หน้าอาคารส�ำนักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย ถนนพหลโยธิน

H IV

E

ข้าพเจ้าได้รบ ั ข้อเสนอจากธนาคารกสิกรไทย ว่าต้องการงานประติมากรรมชิน ้ หนึง่ มีขนาดและความหมาย เหมาะสมกับตัวอาคารและกิจการของธนาคาร ส�ำหรับติดตัง้ บริเวณชานชาลาหน้าธนาคาร จึงเริม ่ คิดและร่างแบบ

R

C

ขึน ้ หลายแบบโดยใช้เรือ ่ ง ‘เงินตราไทย’ เป็นต้นคิด เพราะเห็นว่าเป็นเรือ ่ งทีเ่ หมาะกับสิง่ แวดล้อมทัง้ กายภาพและ

A

ทางวัฒนธรรมของธนาคาร อีกทั้งรูปทรงของเงินตราไทยก็ดูสอดคล้องกับลักษณะการสร้างรูปทรงของข้าพเจ้า

D

จากการศึกษาลักษณะพิเศษของเงินตราไทยในสมัยและท้องถิ่นต่างๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์

A N

ท�ำให้ได้เห็นวิวัฒนาการของรูปแบบและวิธีการผลิตได้อย่างชัดเจน กล่าวคือ จากเงินฮ้อยที่เป็นรูปแบบยาว

N

ปลายเรียวทั้งสองข้าง มาเป็นเงินพดด้วงที่เกิดจากการงอปลายทั้งสองข้างของเงินฮ้อยเข้าหากันในสมัยสุโขทัย

O

ในสมัยอยุธยาได้เพิม ่ รอยตีด้วยค้อนสองด้านๆ ละ 1 รอย เพือ ่ ให้รป ู แบบของเงินกลมขึน ้ พอถึงสมัยรัตนโกสินทร์

EC TI

รอยค้อนจะเพิ่มเป็นด้านละ 2 รอย ท�ำให้เงินมีลักษณะกลมกะทัดรัดยิ่งขึ้น รูปทรงของเงินตราเหล่านีม ้ ล ี ก ั ษณะพิเศษเกิดขึน ้ จากความจ�ำเป็นในการใช้สอย กล่าวคือ พกพาได้สะดวก

LL

และปลอมยาก ดังนั้นจึงมีการตอกประทับด้วยตรารูปร่างต่างๆ ในแต่ละสมัยและแต่ละรัชกาล เพื่อแสดงว่าเป็น

O

ของแท้ ผลิตจากสถาบันการเงินที่เชื่อถือได้ ยิ่งกว่านั้นในสมัยสุโขทัยยังมีรอยบากให้เห็นความบริสุทธิ์ของเนื้อ

C

เงินข้างในอีกด้วย ท�ำให้รูปทรงของเงินตราน่าสนใจยิ่งขึ้น ความหนักแน่นเป็นกลุ่มก้อน การตัดกันของปริมาตร

M ER

ที่กลมตันกับระนาบที่แบนราบของรอยบากก็ดี ความนูนออกและยุบเข้าของปริมาตรของมวลและปริมาตรของ ที่ว่างก็ดี การตอกตราประทับให้เป็นรอยเจาะลึกเข้าไปเป็นรูปร่างต่างๆ ก็ดี ล้วนเป็นลักษณะส�ำคัญของงาน

SA

ประติมากรรมที่ถือปริมาตรแน่นเต็มเป็นสาระทั้งสิ้น

IM

ข้าพเจ้าได้ใช้เงินตราลักษณะต่างๆ เหล่านี้มาจัดประกอบเข้าด้วยกัน ด้วยการซ้อนกัน เคียงกัน ผนึกเข้า

N

ด้วยกัน รวมทั้งดัดแปลง ตัดทอน เพิ่มเติม เพื่อให้ได้รูปทรงที่สอดคล้องกับลักษณะส่วนตัว และเข้ากันได้กับ

D

สิ่งแวดล้อมในบริเวณที่ติดตั้ง ในที่สุดทางธนาคารได้เลือกรูป องค์สาม เป็นแบบที่จะขยายในขนาดเท่าจริง

O

จากจ�ำนวนงานสเก็ตช์ที่หล่อเป็นส�ำริดและพลาสเตอร์จำ� นวน 13 ชิ้น รูปแบบขององค์สามเกิดขึ้นจากการซ้อน

C

H

A

LO

กันของเงินตราสมัยสุโขทัยระยะแรก เงินกลมสมัยรัตนโกสินทร์ เงินพดด้วงสมัยสุโขทัยระยะหลัง ตามล�ำดับจาก ล่างขึ้นบน เป็นรูปทรงใหม่ที่ให้ความรู้สึกหนักแน่น มั่นคง ความสนับสนุนร่วมมือ การแสดงออกเน้นไปที่รูปทรง

อย่างเต็มที่ แนวเรื่องของประติมากรรมชิ้นนี้จึงได้แก่ การประสานกันของรูปทรงที่ให้ความรู้สึกหนักแน่นมั่นคง และการแสดงลักษณะทางวัฒนธรรมของไทยบางด้าน

ประติมากรรมต้นแบบขนาดเล็กชุด ‘เงินตราไทย’ แบบต่างๆ ที่เป็นต้นความคิดของประติมากรรม องค์สาม ซึ่งอาจารย์ชลูดปั้นและหล่อเป็นส�ำริดและพลาสเตอร์ ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ © Invisible Academy Photography

113

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 113

12/16/15 2:22 AM


รูปทรงส่วนรวมของงานประติมากรรมเกิดจากรูปทรงย่อย 3 รูป น�ำมาซ้อนกันให้มีการตัดกันและ

ส่วนที่มีผิวพื้นโค้งนูน ซึ่งเป็นส่วนที่ครอบคลุมรูปทรงเกือบทั้งหมด กับส่วนที่มีผิวพื้นแบนราบ ประติมากรรม

R

C

ชิน ้ นีต ้ งั้ อยู่ด้านหน้าของตัวอาคารทีม ่ รี ป ู ร่างเป็นแท่งสีเ่ หลีย ่ ม มีผนังทัง้ สีด ่ ้านราบเรียบบุด้วยกระจกสะท้อนแสง

H IV

ขั้นตอนของการเติบโต ประกอบด้วยส่วนที่เป็นปริมาตรทึบตัน และส่วนที่เป็นปริมาตรของที่ว่าง (กลวง ทะลุ)

E

ประสานกันของส่วนสัด รูปทรงทั้งสามอยู่ในตระกูลเดียวกันแต่แตกต่างกันด้วยขนาดและรายละเอียดที่แสดง

A

เป็นตาราง ลักษณะส่วนรวมของงานประติมากรรมซึ่งมีปริมาตรกลมแน่น มีรูปนอกโค้งเป็น 3 จังหวะ มีเนื้อ

D

วัสดุเป็นส�ำริดรมด�ำ จึงตัดกับตัวอาคารในทุกทาง แต่เนื่องจากประติมากรรมมีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบส่วนกับ

A N

ตัวอาคาร การตัดกันจึงเป็นไปในปริมาณที่พอเหมาะ ให้รสชาติและความหมายแก่บริเวณส่วนรวม

N

เมื่อพิจารณาทางด้านเนื้อหาของงานก็อาจแบ่งได้เป็น 2 ประการเช่นเดียวกับงานศิลปะชิ้นอื่นๆ คือ

O

1) เนื้อหาทางรูปทรง เป็นเนื้อหาที่เด่นชัดที่สุด เป็นการประสานกันในลักษณะหนึ่งที่มีความขัดแย้ง

EC TI

ระหว่างรูปร่าง ขนาด ปริมาตร ระนาบ และที่ว่าง ในปริมาณพอเหมาะ ให้ความรู้สึกเต็มแน่น สมบูรณ์ มั่นคง 2) เนื้อหาทางเรื่องจะซ่อนอยู่ในรูปทรง ถ้าผู้ดูไม่เคยรู้จักเงินตราของไทยที่ใช้กันมาแต่สมัยโบราณ

LL

ก็จะเห็นเป็นรูปทรงนามธรรมที่ปราศจากเรื่อง แต่ถ้ารู้จัก ก็จะให้เนื้อหาทางด้านเรื่องราวและความเป็นจริงที่

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

เชื่อมโยงกับลักษณะทางวัฒนธรรมบางด้านของไทย

อาจารย์ชลูดขณะก�ำลังท�ำงานและแต่งต้นแบบพลาสเตอร์ขนาดเท่าจริง ส�ำหรับ ประติมากรรม ‘องค์สาม’ โดยมีลก ู สาวคอยช่วยงานอยู่ใกล้ๆ ราวปี พ.ศ. 2524 ภาพโดยอาจารย์ปราณี นิ่มเสมอ © ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

114

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 114

12/16/15 2:23 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 115

12/15/15 12:58 AM


10.

วาดเส้นชุด ลูกสาว 2528

2528

วาดเส้นชุด ลูกสาว 2528 (ภาพหน้า 73 และ 118–119) งานวาดเส้นเป็นทัศนศิลป์ประเภทหนึง่ ทีม ่ ค ี ณ ุ ค่า ไม่น้อยกว่าทัศนศิลป์ประเภทอื่น โดยทั่วไปแล้วจะจัดรวมอยู่ในสาขาจิตรกรรม เพราะใช้สื่อในการแสดงออก งานวาดเส้นใช้เส้นเป็นหลัก จะมีน�้ำหนักหรือสีอยู่บ้างก็เป็นส่วนรอง ส่วนงานจิตรกรรมใช้สีและน�้ำหนักเป็น

R

C

ส�ำคัญ งานวาดเส้นมีลักษณะพิเศษในด้านความสด ความเข้มข้น และความตรงชัดของความคิดหรืออารมณ์

H IV

E

อย่างเดียวกัน กล่าวคือ ใช้เส้น น�้ำหนัก สี และลักษณะผิว เขียนลงบนผิววัสดุที่แบนราบ จะต่างกันก็ตรงที่

A

แสดงออก แต่ส่วนที่เป็นแก่น เป็นสาระของรูปทรง ของชีวิต และวิญญาณ ถ้าจะเปรียบกับงานวรรณกรรม

D

งานวาดเส้นก็คือบทกวีสั้นๆ ที่ให้อารมณ์ลึกซึ้ง รุนแรง หรือนวนิยายเรื่องสั้นที่มีโครงเรื่องกะทัดรัดกินใจ

A N

ทัศนะศิลปินทุกสาขาตั้งแต่สมัยโบราณถึงปัจจุบันจะถือการวาดเส้นเป็นแกนกลางของการสร้างสรรค์ กล่าวคือ

N

ใช้เป็นวิธีการส�ำหรับบันทึกและพัฒนาความคิด เป็นเครื่องมือในการศึกษาและค้นหาความจริงจากธรรมชาติ

EC TI

จ�ำนวนไม่น้อยที่ใช้วิธีการวาดเส้นสร้างงานขนาดใหญ่ที่สมบูรณ์และมีคุณค่าในตัว

O

เป็นสื่อส�ำหรับการแสดงออกที่ฉับพลัน และเป็นต้นแบบร่างของงานขนาดใหญ่ ในปัจจุบันมีศิลปินร่วมสมัย ในระยะแรกของการท�ำงาน ข้าพเจ้าใช้การวาดเส้นเป็นเครือ ่ งมือส�ำหรับศึกษาหาความจริงจากธรรมชาติ

LL

เป็นส่วนใหญ่ แต่ในปัจจุบน ั ข้าพเจ้าถือว่างานวาดเส้นเป็นบันทึกประจ�ำวันของชีวต ิ ทางด้านความคิดและอารมณ์

O

ความคิดที่เกิดใหม่ อารมณ์ความรู้สึกที่เปลี่ยนแปรไป รวมไปถึงการแก้ปัญหาและพัฒนารูปทรง การตอบรับ เป็นรูปทรงและสัญลักษณ์ในงานวาดเส้นทั้งสิ้น

M ER

C

และตอบโต้กับสิ่งแวดล้อมและสังคม และความคิดที่จะท�ำงานในสื่อและเทคนิคต่างๆ เหล่านี้ล้วนถูกบันทึก ตามปรกติขา้ พเจ้าจะท�ำงานวาดเส้นต่อเนื่องกันเป็นชุด ชุดหนึ่งก็เป็นบันทึกความคิดหรืออารมณ์ใน

SA

แนวหนึ่ง เช่น วาดเส้นชุดประติมากรรมชนบท ชุดประติมากรรมสิ่งแวดล้อม ชุดการเชื่อมต่อของรูปทรง

IM

ชุดบทกวี ชุดลูกสาว รวมทั้งชุดที่ไม่มีชื่ออีกหลายชุด ชุดหนึ่งอาจมีงานวาดเส้นตั้งแต่ 10 ชิ้น ถึง 50 ชิ้น

N

เป็นการบันทึกความคลี่คลายของความคิดอย่างละเอียด

D

งานวาดเส้นชุดลูกสาว เป็นบันทึกชุดล่าสุด ข้าพเจ้าได้น�ำรูปแบบของผู้หญิงอย่างที่เคยใช้ในงานระยะ

O

แรกเมื่อ 20 กว่าปีมาแล้ว มาเป็นแนวเรื่องอีก ในระยะที่ 2 ที่ขา้ พเจ้าท�ำงานชุดนามธรรมอยู่นั้น ก็เลยลองใช้

LO

รูปผู้หญิงท�ำนองนี้มาเป็นต้นเรื่องในงานจิตรกรรมดู 2–3 ชุด (2512–2515) แต่ผลที่ปรากฏทั้งรูปทรง เทคนิค

A

และการแสดงออกล้วนแปลกเปลี่ยนไปจากเดิมอย่างเห็นได้ชัด ทั้งนี้อาจเป็นเพราะชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่

C

H

เปลี่ยนแปลงไป ในระยะนี้รูปทรงของผู้หญิงมีลักษณะใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากกว่าแต่ก่อน รายละเอียด ของการประกอบกิจกรรมประจ�ำวันต่างๆ เช่น ท�ำบุญ เย็บผ้า ขายของ มีมากและชัดเจนขึน ้ เทคนิคเปลีย ่ นจาก

116

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 116

12/15/15 12:58 AM


สีฝุ่นปิดทองมาเป็นสีอะคริลิก วรรณะส่วนรวมจากสีที่เข้มจัดมาเป็นสีเทาอ่อน ใช้เส้นที่ละเอียดประณีตเป็น หลักในการสร้างรูปทรงแทนการใช้มวลของสีและน�้ำหนัก ความรู้สึกที่ได้รับจากใบหน้าท่าทางของผู้หญิงและ

H IV

E

รูปทรงส่วนรวมของภาพ แสดงถึงความเป็นผู้ใหญ่ ความรับผิดชอบต่อครอบครัว และการได้ผ่านประสบการณ์ ต่างๆ ของชีวิตมาช่วงเวลาหนึ่ง แต่ก็ยังคงเป็นการแสดงออกของความสงบ ราบรื่น ความสะอาด และความ

R

C

ละเอียดอ่อนของจิตใจ ที่ยึดมั่นในความดีอยู่ไม่เปลี่ยนแปลง

A

ในการท�ำงานสมัยแรกข้าพเจ้าได้รบ ั ความบันดาลใจจากความรักความอบอุ่นของแม่และพีน ่ ้อง ในขณะที่

D

ข้าพเจ้าวาดชุดลูกสาว ข้าพเจ้าได้ความบันดาลใจจากความรักความผูกพันที่มีต่อบุตรสาววัยเด็กของตนเอง

A N

การซ�้ำกันโดยบังเอิญของที่มาแห่งความบันดาลใจ ซึ่งเป็นปัจจัยส�ำคัญอย่างหนึ่งของการสร้างสรรค์ ได้ท�ำให้

N

รูปทรงของผู้หญิงกลับมีชีวิต และความหมายขึ้นมาใหม่ในบันทึกอีกตอนหนึ่งของชีวิต

O

ถึงแม้จะใช้รูปทรงของเด็กสาวในรูปแบบเดียวกันกับงานในระยะแรก แต่หน้าที่ในการสร้างรูปทรงส่วน

EC TI

รวมแตกต่างกันมาก แทนที่จะเป็นรูปทรงในสิ่งแวดล้อมที่มีเรื่องราว เช่น แม่คา้ (ภาพหน้า 142) สงกรานต์ (ภาพหน้า 16) หรืออาบน�้ำ (ภาพหน้า 143) อย่างที่เคยท�ำ กลับเป็นเพียงรูปทรงหนึ่งที่ปรากฏตัวซ�้ำๆ ใน

LL

จังหวะต่างๆ ผสมกับการซ�้ำและคลี่คลายของทัศนธาตุที่เป็นแผ่น เป็นจุด เป็นน�้ำหนัก และสีที่ตา่ งกันกระจาย

O

อยู่ทั่วภาพ ถ้าจะเปรียบงานวาดเส้นชุดนี้กับงานประติมากรรม กระเทียม (ภาพหน้า 111) หรือ แนวเรื่องและ

C

การเปลี่ยนแปร (ภาพหน้า 106) แล้ว รูปผู้หญิงก็ท�ำหน้าที่ในการสร้างรูปทรงส่วนรวม ไม่ต่างจากกระเทียม

M ER

หมวดหนึ่งหรือไม้สลักชิ้นหนึ่งเลย จังหวะของการซ�้ำของรูปผู้หญิงและทัศนธาตุอื่นๆ ในชุดลูกสาวนี้ เป็นไปอย่างนุ่มนวลราบเรียบ

SA

สอดคล้องกับความรู้สึกในใบหน้าท่าทางของเด็กสาวที่แสดงออกถึงความรัก ความเมตตา ความบริสุทธิ์

IM

ไร้เดียงสา ให้อารมณ์ส่วนรวมของภาพในด้านความประสานกลมกลืนของชีวิตในครอบครัว และในสังคม

C

H

A

LO

O

D

N

มนุษย์ที่ใฝ่หาความสงบสุขและความดีงาม

117

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 117

12/15/15 12:58 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 118

12/15/15 12:58 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C กลุ่มผลงานชุด ลูกสาว, 2528 สีน�้ำและปากกาหมึกด�ำบนกระดาษ, แต่ละชิ้นขนาดเฉลี่ย 34.5 x 27 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

119

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 119

12/15/15 12:59 AM


แสดงออกของความเป็นมนุษย์ ความเป็นมนุษย์คือความดีที่สามารถแสดงออกได้ด้วย

H IV

ส่วนรวมแล้ว อาจเห็นความเชื่ออันเป็นแนวความคิดหลักของข้าพเจ้า ที่ว่า ศิลปะคือการ

E

ผลงานที่ข้าพเจ้าสร้างขึ้นในช่วงเวลากว่า 30 ปีต่อเนื่องกันเหล่านี้ เมื่อมองดูใน

C

ความงาม ปรากฏอยู่ในงานเกือบทุกชุดเป็นแนวเดียวกันมาโดยตลอด เรื่องและแนวเรื่อง

A

R

่ าจแตกต่างกันออกไป เช่น คน ทิวทัศน์ สิง่ แวดล้อม ทีน ่ ำ� มาใช้ในการสร้างงานระยะต่างๆ ทีอ

A N

D

ชนบท หรือ เมือง ล้วนเป็นเพียงจุดเริ่มหรือต้นทางของการสร้างสรรค์ สื่อ เทคนิค วิธีการ ที่อาจพัฒนาและขยายขอบเขตครอบคลุมไปหลายสาขา หลายวิธี ตามความคิดที่กา้ วหน้า

O

N

และประสบการณ์ที่มีมากขึ้น ก็เป็นเพียงเครื่องมือที่จะใช้แสดงออกให้ตรงชัดและมี

EC TI

ประสิทธิภาพมากที่สุดเท่านั้น เนื้อหาแท้จริงของงานศิลปะของข้าพเจ้ายังคงเป็นการ แสดงออกของความเป็นมนุษย์อยู่ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการแสดงออกทั้งด้านกายและด้าน

LL

จิตที่ได้สะสมและสืบทอดมาจากชาติก่อน (ยีน) และชาตินี้ (ประสบการณ์) เป็นชีวิตทั้ง

C

O

ส่วนตัวและส่วนที่ร่วมกับมนุษย์ ที่ได้หล่อหลอมเข้าด้วยกันแล้ว จนกลายเป็นปัจเจกภาพ

M ER

อันหนึ่ง

SA

ชลูด นิ่มเสมอ

C

H

A

LO

O

D

N

IM

23 สิงหาคม 2528

120

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 120

12/15/15 12:59 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 121

12/16/15 11:28 PM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C คุณนายลูกอิน, 2513 สีอะคริลิกบนแผ่นเมโซไนท์, 78 x 53 ซม. ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 122

12/15/15 12:59 AM


ประวัติคุณนายลูกอิน เวลาผ่านมา 40 กว่าปี ที่ผมเริ่มเขียนจดหมายกราบเรียนคุณนายลูกอิน จนผมเองก็ลืมไปแล้วว่าเรื่องนี้ เกิดขึ้นได้อย่างไร แม่ผมตายตอนผมอายุ 32 ปี ถึงผมจะเริ่มมีคนรักแล้ว แต่ความที่ผมเป็นลูกติดแม่ ความขาดหายไปของ แม่ท�ำให้ผมต้องการอะไรบางอย่างมาทดแทน คุณนายลูกอินเป็นภาพรวมของคุณนายเจ้าของร้านสรรพสินค้า

E

หลายร้านในตลาดนครปฐมที่ผมชอบไปกินก๋วยเตี๋ยวแห้งและต้มย�ำอยู่บ่อยๆ เมื่อมองไปที่ตึกที่อยู่ด้านหนึ่งของ

H IV

ตลาด เป็นร้านขายของจิปาถะ ตั้งแต่เครื่องครัวไปถึงเครื่องบวชรวมอยู่ในร้านเดียว เรียงรายอยู่หลายร้าน แต่ละ

R

คนหนึ่งในนั้นคือคุณนายลูกอินที่ผมจะถือว่าเป็นผู้หญิงใจดีมีเมตตาแทนแม่ของผม

C

ร้านดูมีฐานะดูมั่งคั่ง มีหญิงกลางคนนั่งบนยกพื้นกลางร้าน หน้าตาเปล่งปลั่งสมบูรณ์คล้ายๆ กัน ผมเลยฝันเอาว่า

A

จดหมายฉบับแรกๆ ดูจะให้ความเคารพคุณนายลูกอินน้อยไปหน่อย พูดอะไรเล่นๆ เสียแหละมาก ต่อๆ มา

D

กลายเป็นเรื่องจริงจังมากขึ้นจนสนิทกันทางจดหมายมากกว่าแม่แท้ๆ ของผมเสียอีก ความลับส่วนตัวทุกอย่าง

A N

ไม่มีอะไรปิดบัง ถ้าผมต้องการค�ำแนะน�ำ ผมเปิดเผยได้ทั้งหมดทั้งสิ้น ปวดหัวตัวร้อน เจ็บไข้ได้ป่วย ผมขอให้

N

คุณนายลูกอินช่วย เคราะห์หามยามร้ายคุณนายลูกอินก็ช่วยให้ทุเลาคลายลง เวลา ‘น้องใหม่’ ลูกผมมีปัญหา

O

ผมก็ขอความกรุณาคุณนายลูกอิน ฝากแกไว้เป็นหลานย่าของคุณนายด้วย น่าแปลกนะครับ ความจริงคนไทย

EC TI

นับถือแม่เป็นพรหม ถึงจะสิน ้ บุญไปแล้วก็ยงั เป็นเหมือนสิง่ ศักดิส ์ ท ิ ธิส ์ งู สุดของลูกทีค ่ อยดูแลขจัดทุกข์บำ� รุงสุขให้ลก ู แต่ผมกลับถือคุณนายลูกอินแทน คุณนายลูกอินคงมีการศึกษาดีกว่าแม่ผม แม่ผมท่านเรียนอ่านเขียนจากยาย

LL

ไม่ได้เข้าโรงเรียน ชอบอ่านหนังสือเรื่องจักรๆ วงศ์ๆ เก็บคติดีๆ มาสอนลูก ว่าเป็นกลอนให้ฟังเสียด้วย กลอนใน

O

พระอภัยมณีของสุนทรภู่ ถูกน�ำมาสอนหลายเรือ ี บรมสัง่ สอนโดยใช้ความไพเราะ จ�ำได้ง่ายของ ่ งหลายข้อ เป็นวิธอ

C

ศิลปะวรรณกรรมเป็นตัวน�ำ ผมอาจคิดว่าท่านไม่เข้าใจปัญหาของคนสมัยนี้ เช่นเรื่องศิลปะ หรือเรื่องการเรียน

M ER

การสอนศิลปะที่ผมมักจะพบปัญหาที่ต้องการค�ำแนะน�ำอยู่เสมอ ตลอดจนเรื่องโรคภัยใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นในระยะนี้

SA

ผมอาจคิดว่าคุณนายลูกอินสวยกว่า แถมรวยกว่ามากด้วย แม่ผมแกเป็นคนบ้านนอก พอมีลูกได้ 2 คนก็ไม่ยอม ใส่เสื้อ ปล่อยเท้งเต้งอย่างนั้น อีกอย่างหนึ่งที่น่าจะมีน้ำหนักก็คือ คุณนายลูกอินเป็นได้ทั้งเพื่อนที่ผมอาจอ�ำเล่นใน

IM

บางครั้งได้ด้วย ผมไม่อยากวิเคราะห์อะไรให้ลึกกว่านี้ในทางจิตวิทยา เพราะผมไม่มีความรู้ทางนี้ครับ

N

เมื่อผมตกอยู่ในสถานการณ์คับขัน มีภัยอันตราย มีปัญหาส�ำคัญ ผมจะขอให้คุณพระพุทธ พระธรรม

D

พระสงฆ์ บิดามารดา ครูอาจารย์ และผู้มีพระคุณมาช่วยเสมอ คุณนายลูกอินไม่ได้มีชื่ออยู่ในนี้ แต่คงรวมอยู่

LO

O

ในกลุ่มผู้มีพระคุณเช่นเดียวกัน เวลาผมพ้นภัย มีลาภพบโชค พบความส�ำเร็จในเรื่องใดก็ตาม ผมจะขอบคุณ อ�ำนาจบารมีของพระและพ่อแม่ครูอาจารย์ ที่บันดาลให้เป็นไป คุณนายลูกอินมีความส�ำคัญเทียบเท่าพ่อแม่

C

H

A

ครูอาจารย์เฉพาะในจดหมายที่ผมกราบเรียนมาเท่านั้นครับ พูดง่ายๆ เป็น Pen–mom ที่รักและเคารพนับถือ อย่างยิ่งของผมน่ะครับ กราบเรียนท้าวความความสัมพันธ์ระหว่างคุณนายลูกอินกับผม ‘ศิลปินชนบท’ เพียงเท่านี้นะครับ

จากหนังสือ ‘สัพเพเหระเกี่ยวกับชีวิตและศิลปะ’, ชลูด นิ่มเสมอ, ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ, พ.ศ. 2558, หน้า 341

123

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 123

12/16/15 2:23 AM


ความในใจของศิลปินชนบท เมื่ออายุมากขึ้น ความรุนแรงในการแสดงออกน้อยลง แต่งานคงจะหนักแน่นและลึกซึ้งสุขุมมากขึ้น ศิลปินสร้างงานจากประสบการณ์ชีวิตของตัวเอง งานทุกชิ้นของเขาจะประกาศว่า “นี่คือชีวิตของ ข้าพเจ้า นีค ่ อ ื สิง่ ทีข ่ ้าพเจ้าเห็นชีวต ิ ” โดยนัยนีง้ านทุกชิน ้ ของเขาคือภาพเหมือนของตัวเอง แต่อก ี นัยหนึง่ แม้แต่งานภาพเหมือนของเขาเองก็เป็นหรือแสดงชีวิตมนุษย์ทั้งปวง เป็นสากล ศิลปะโอบอุ้มทั้งปัจเจก และสากล

C

H IV

E

ที่ผมสนใจที่สุดไม่ใช่ทิวทัศน์หรือหุ่นนิ่ง แต่เป็นรูปคน โดยผ่านทางรูปคนผมสามารถแสดงออกถึง ความรู้สึกที่ประณีต สงบ และล�ำ้ ลึกของพระธรรมในพระพุทธศาสนา ถึงความเป็นพี่เป็นน้อง ความรักความอบอุ่นที่ผมมีต่อสรรพชีวิต ผมต้องการให้งานของผมเป็นงานที่หนักไปทางอารมณ์ที่ ละเอียดอ่อน สามารถแทรกเข้าไปในแดนของปัญญา เหนี่ยวน�ำให้เกิดความพวยพุ่ง สามารถพิจารณา สาระอันละเอียดอ่อนของอารมณ์ได้ลึกซึ้ง แล้วสะท้อนกลับมาให้ความเข้มข้นของอารมณ์อีก กลับไป กลับมาอย่างนี้จนถึงขั้นสูงสุดทั้งสองทาง

D

A

R

ผมฝันถึงงานที่สมดุล บริสุทธิ์ และสงบ งานที่ขยายสาระของชีวต ิ ให้กว้างขึ้น สาระนั้นก็คือความรัก ต่อชีวิตทั้งมวล

A N

จากหนังสือ ‘สัพเพเหระเกี่ยวกับชีวิตและศิลปะ’, ชลูด นิ่มเสมอ,

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ, พ.ศ. 2558, หน้า 315-323

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 124

12/16/15 2:24 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C

125

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 125

12/15/15 12:59 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N

แบกะดิน 2496-2541

C

H

A

LO

O

D

ผลงานชุดนี้อาจารย์ชลูดย้อนกลับมาใช้ความบันดาลใจจากสภาพชีวิตและ สิ่งแวดล้อมในชนบท เริ่มต้นจากการวาดเส้นท้องทุ่งนา ชีวิตของชาวนาบนท้องนา และลงท�ำนาด้วยตนเอง เมื่อกลับมาจากนา สิ่งที่ได้รับคือความรู้สึกที่ยิ่งใหญ่ของ ผืนนาที่เป็นที่กำ� เนิดของทุกชีวิต การเริ่มต้นจากผืนนาจึงไม่ใช่สิ่งที่ตำ�่ ต้อย ในขณะ เดียวกันศิลปะที่เป็นอยู่จึงไม่ใช่สิ่งที่สูงส่ง กิจกรรมทุกอย่างของมนุษย์จึงน่าจะเป็น สิ่งปกติธรรมดา ที่มีความส�ำคัญเท่าเทียมกัน อาจารย์กล่าวว่า “ชาวนาผลิตข้าว ช่างไม้ผลิตงานไม้ ศิลปินผลิตงานศิลปะ” ด้วยแนวคิดนีอ ้ าจารย์ได้นำ� ผลงานทีส ่ ร้าง มาแต่ก่อนทั้งหมดมาวางลงกับพื้นดิน เป็นผลงานชุด ‘แบกะดิน’ และจัดสร้าง ครัวชาวนาซึ่งเป็นรากฐานของชีวิตชาวนาในผลงานชุด ‘ครัวชนบท’ (ภาพหน้า 124-125) ผลงานหลากหลายในชุดนี้ น่าจะมาถึงจุดของค�ำนิยามที่ว่า ศิลปะไม่ เพียงจะเอื้อไปสู่ชีวิตเท่านั้น หากแต่ชีวิตของศิลปินนั้นเองที่เป็นศิลปะ จากวารสารศิลปะ PSG Art Journal ‘คุยกับอาจารย์ชลูด ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ ประจ�ำปี 2541’, ศาสตราจารย์พิษณุ ศุภนิมิตร, พ.ศ. 2542

126

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 126

12/16/15 2:24 AM


บันทึกประจ�ำวัน 2541

H IV

E

อาจารย์ชลูดแสดงงานชิ้นนี้ในปี พ.ศ. 2541 เป็นงานชุดบันทึก ประจ�ำวัน ที่ต่อเนื่องมาจาก บันทึกประจ�ำวัน 2523–2537 โดยในครั้งนี้เป็นการน�ำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ�ำวันเช่น รูปเขียน ภาพถ่าย หนังสือ เอกสาร ของใช้ มาแขวนจัดเรียงใหม่ โดยใช้เชือก โยงจากเสาหนึ่งไปอีกเสาหนึ่ง สิ่งของต่างๆ จะห้อยเรียงรายกัน คล้ายม่าน ซึ่งการแขวนสิ่งของต่างๆ เป็นรูปแบบการเก็บข้อมูล เฉพาะตัวของอาจารย์ชลูดอยู่แล้ว เมื่อเวลาผ่านไปสิ่งของต่างๆ ก็จะเพิ่มจ�ำนวนขึ้น บางสิ่งที่ไม่ใช้แล้วก็ถูกปลดลง สะท้อนแนว ความคิดที่ว่า ในชีวิตของคนเราก็มีทั้งความต่อเนื่องและการ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด

C

จากวารสารศิลปะ PSG Art Journal ‘คุยกับอาจารย์ชลูด ศิลปินแห่งชาติ

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

ิ ณุ ศุภนิมต ิ ร, พ.ศ. 2542 สาขาทัศนศิลป์ ประจ�ำปี 2541’, ศาสตราจารย์พษ

127

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 127

12/16/15 2:29 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 128

12/15/15 1:00 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C ครัวด�ำ, 2543-2555 เดิมเป็นบ้านพักคนงานที่สร้างไว้ชั่วคราวเมื่อตอนสร้างบ้านบนพื้นที่สวนเดิมของครอบครัวนิ่มเสมอย่านถนนราชพฤกษ์ เมื่อบ้านเสร็จแล้วอาจารย์ชลูดยังคงเก็บบ้านพักคนงานนี้ไว้ใช้เป็นสตูดิโอท�ำงานอีกหลังหนึ่ง พร้อมกับสร้างผลงานไว้ บนผนังด้านหน้าทั้งหมด ปัจจุบันผนังส่วนด้านหน้าเป็นผลงานสะสมถาวรอยู่ในพิพิธภัณฑ์ศิลปะเขาใหญ่อาร์ตมิวเซียม ส่วนด้านอื่นๆ ทั้งหมดถูกรื้อถอนไปเพื่อใช้พื้นที่ในการสร้างบ้านและห้องท�ำงานพร้อมสตูดิโอแกลลอรี่หลังปัจจุบัน จากหนังสือ ‘สัพเพเหระเกี่ยวกับชีวิตและศิลปะ’, ชลูด นิ่มเสมอ, ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ, พ.ศ. 2558, หน้า 86

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 129

12/15/15 1:00 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

02

C

H

A

LO

O

01

03 01 | จังหวะ, 2552

02 | สองนาง, 2552

03 | นาง, 2556

สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 81.5 x 61 ซม.

สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 81.5 x 61 ซม. สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 81.5 x 61 ซม.

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

130

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 130

12/15/15 1:00 AM


E H IV C R A D A N N

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

04

06 05 04 | กินรี, 2550

05 | ฟ้อน, 2550

06 | กินรีฟ้อน, 2550

สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 61 x 81 ซม.

สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 81 x 60.5 ซม.

สีอะคริลิกบนผ้าใบ, 81 x 60.5 ซม.

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

ผลงานสะสมของ ชลูด นิ่มเสมอ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ

131

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 131

12/15/15 1:00 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 132

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 132

12/16/15 11:29 PM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H

C

จิตรกรรมบุผนัง, 2499-2558 ภายในสตูดิโอแกลลอรี่อาจารย์ชลูดน�ำงานจิตรกรรมและวาดเส้น ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2499–2558 มาติดไว้เต็มผนังทุกด้านจากพื้นจรด เพดาน โดยติดงานทับซ้อนกันไปสามถึงสี่ชั้น ภายในห้องมีโต๊ะยาว ขนาดใหญ่ไว้ส�ำหรับนักศึกษาที่เข้ามาเรียนกับอาจารย์ ปลายด้าน หนึ่งของโต๊ะ อาจารย์วางงานเซรามิกที่ท�ำขึ้นช่วงหลังไว้ ที่ประตู ทางเข้าอาจารย์ตด ิ ป้ายไว้ว่า ‘จิตรกรรมบุผนัง’ ซึ่งเป็นชื่อของ ผลงานอินสตอลเลชั่นชิ้นนี้ จากหนังสือ ‘สัพเพเหระเกี่ยวกับชีวิตและศิลปะ’, ชลูด นิ่มเสมอ, ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ, พ.ศ. 2558, หน้า 117

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 133

12/16/15 11:29 PM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 134

12/15/15 1:00 AM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.