ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ สายธารแห่งชีวิต สายธารแห่งศิลปะ part4

Page 1

สายธารแห่งชีวิต ชลูด นิ่มเสมอ

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

C

H IV

E

2472–2558

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 158

12/15/15 1:02 AM


วัยเด็กของอาจารย์ชลูด มาลินี นิ่มเสมอ

ชลูด นิ่มเสมอ เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2472 ที่บา้ นต�ำบลบางแวก อ�ำเภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี เป็นบุตรของนายบัว และนางทองสุก นิ่มเสมอ ซึ่งเป็นชาวสวน มีพี่น้องรวม 7 คน คือ

H IV

E

1. เรือเอกอารินทร์ฤทธิ์ นิ่มเสมอ (ถึงแก่กรรม) 2. นายธงไชย นิ่มเสมอ (ถึงแก่กรรม)

R

C

3. นายชลูด นิ่มเสมอ

A

4. นางอังสนา วาณิชกะ

D

5. นางสาวนันทวัน นิ่มเสมอ

N O

7. นายยรรยง นิ่มเสมอ (ถึงแก่กรรม)

A N

6. นางมาลินี นิ่มเสมอ

EC TI

เด็กชายชลูดมีนิสัยส่วนตัวตั้งแต่เล็กๆ คือชอบขีดเขียน ชอบสมุดดินสอ อยากที่จะเขียนหนังสือ ตั้งแต่ยัง ไม่ได้เข้าโรงเรียน เด็กชายชลูดก็ท�ำสมุดของตัวเองเล่นโดยเอากระดาษที่เขาไม่ใช้แล้วมาเย็บเป็นเล่มแล้วใช้ถ่าน

LL

ขีดเขียนไป ท�ำทีวา่ เขียนหนังสือซึ่งขณะนั้นยังอ่านเขียนไม่ได้เลย และก็เป็นเด็กที่มืออยู่ไม่สุข ชอบเอามีดมาแกะ

C

บ้านซึ่งเป็นที่ชื่นชอบของน้องๆ

O

สลักโต๊ะกินข้าวซึ่งเป็นโต๊ะไม้ให้เป็นร่องรอยมากมายจนถูกตีหลายครั้ง โตขึ้นหน่อยก็เอาชอล์คมาเขียนฝาผนัง

M ER

เมื่อวัยเด็ก ชลูดเข้าเรียนที่โรงเรียนวัดก�ำแพง ต�ำบลบางจาก ซึ่งเป็นโรงเรียนใกล้บ้าน เมื่อเรียนจบชั้น ป.2 โรงเรียนได้เลิกกิจการไปจึงต้องย้ายไปเรียนต่อชั้น ป.3 ที่ โรงเรียนวัดนวลนรดิศ เมื่อเรียนจบชั้น ป.4 จึง

SA

สอบเข้าเรียนต่อยังแผนกมัธยม จนจบชั้นมัธยมปีที่ 6 ในปี พ.ศ. 2486 เมื่ออายุ 14 ปี เนื่องจากบ้านอยู่ใกล้

IM

วัดโตนดซึ่งมีโรงเรียนประชาบาลวัดโตนด ตั้งอยู่บริเวณวัดและอยู่ในภาวะขาดแคลนครูมาก ครูใหญ่จึงได้ขอร้อง

N

ให้นายชลูดไปช่วยเป็นครูสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2486 และด้วยความที่เป็นคนชอบเขียนรูปมาตั้งแต่เด็ก ไม่ว่าครูชลูด

D

จะสอนวิชาใด จะใช้วิธีเขียนภาพบนกระดานด�ำประกอบการสอนเป็นประจ�ำ ท�ำให้เด็กๆ เรียนเข้าใจได้ง่ายขึ้น

O

และในวิชาวาดเขียนก็นับเป็นครูสอนวาดเขียนคนแรกที่อนุญาตให้นักเรียนเขียนภาพตามความถนัดของตัวเอง

C

H

A

LO

ใครอยากเขียนอะไรก็ให้เขียนใส่กระดาษมาส่งครู เป็นความชื่นชอบของเด็กๆ มาก แต่ครูใหญ่ไม่เห็นด้วย ยังคงต้องการให้เด็กวาดตามแบบที่ครูก�ำหนดเหมือนกันทุกคน เช่น วาดแก้ว แจกัน ดอกไม้ ฯลฯ ครูจะเอาสิ่ง

เหล่านี้วางบนโต๊ะ แล้วให้เด็กๆ วาดเหมือนกัน ครูชลูดไม่เห็นด้วย สอนอยู่ได้ประมาณปีเศษ ก็ลาออกไปสมัคร เป็นนักเรียนจ่าทหารเรือ สังกัดกองสัญญาณทหารเรือ ในการสอบคัดเลือกครั้งนี้เป็นที่เลื่องลือมาก เนื่องจาก นายชลูดสอบวิชาภาษาอังกฤษได้ยอดเยี่ยมเกือบเต็ม 100% ทางกองสัญญาณทหารเรือยินดีต้อนรับอย่างยิ่ง และได้รับเกียรติให้เป็นหัวหน้าชั้นเรียนทันที

159

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 159

12/15/15 1:02 AM


แต่เพราะการเป็นทหารไม่ใช่ความต้องการที่แท้จริงของชีวิต จึงเป็นช่วงชีวิตที่ส�ำมะเลเทเมาอยู่ระยะหนึ่ง จนกระทั่งถูกเชิญให้ออก ต่อมาพี่ชายคนที่สอง (ธงไชย นิ่มเสมอ) ซึ่งก�ำลังเรียนอยู่ที่โรงเรียนแผนที่ทหารบก ได้แนะน�ำให้ไปเรียนต่อที่โรงเรียนเพาะช่าง และเป็นผู้ดูแลค่าใช้จ่ายทั้งหมด นับเป็นพี่ชายน้องชายคู่ที่สนิทสนม รักใคร่กันมากที่สุด แม้จะใช้จ่ายแบบประหยัดสุดๆ ก็ยังขัดสนอยู่ดี น้องสาวคนโต (อังสนา วาณิชกะ) ซึ่งขณะนั้น รับราชการเป็นครูอยู่โรงเรียนวัดรางบัว เขตภาษีเจริญ ต้องช่วยค่าใช้จ่ายเป็นประจ�ำทุกเดือน แม้กระทั่งจบจาก โรงเรียนเพาะช่างไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ก็ยังคงต้องช่วยเหลือเรื่องค่าใช้จ่ายเรื่องการเรียนอยู่เป็น

ตั้งแต่เด็ก และที่ส�ำคัญที่สุดคือได้มีโอกาสเป็นลูกศิษย์ของอาจารย์ศิลป์ พีระศรี ผู้เปรียบเสมือนบิดาคนที่สอง

C

ที่มีอุปการะคุณต่อการศึกษาและการด�ำเนินชีวิตในเวลาต่อมา

H IV

ชีวิตช่วงอยู่มหาวิทยาลัยเป็นชีวิตที่มีความสุขมาก เพราะได้พบกับความสมหวังที่ได้เรียนวิชาที่วาดฝันไว้

E

ประจ�ำ

R

ชีวิตในวัยเด็กระหว่างเรียน ป.1-ป.4 ชลูดมีเพื่อนรักที่สนิทสนมรักใคร่ประดุจญาติ คือ คุณบุญเต็ม มาลี

A

ซึ่งมีบ้านอยู่ใกล้ๆ กัน คบหาร่วมทุกข์ร่วมสุขกันตลอดมาจนชลูดต้องจากไปก่อน แม้กระนั้นคุณบุญเต็มก็ยังไปมา

A N

D

หาสู่กับครอบครัวของชลูดจนถึงปัจจุบัน

ระหว่างเรียนชั้น ม.1-ม.6 ที่โรงเรียนวัดนวลนรดิศ ชลูดมีเพื่อนรักอีกคนซึ่งเรียกว่าเป็นเพื่อนตายที่อาจ

N

สละชีวิตให้กันและกันได้ คือคุณส�ำเริง โกมลศิริ มีบ้านอยู่แถวบางยี่เรือ เขตธนบุรี เป็นบุตรผู้มีอันจะกิน ทั้งคู่เป็น

EC TI

O

นักเรียนเรียนดี จึงคบหาเข้าใจความรู้สึกกันง่าย เวลาว่างก็จะนั่งต่อค�ำศัพท์ แต่งกลอนกัน คุณส�ำเริงเห็นชลูดมี ชีิวิตค่อนข้างขาดแคลน ห่อข้าวมากินที่โรงเรียนจ�ำนวนจ�ำกัด เพราะช่วงนั้นอยู่ในภาวะสงคราม ชาวบ้านยากจน

LL

แทบทุกครัวเรือน คุณส�ำเริงมักจะห่อข้าวมาฝากพร้อมปลาทูตัวโตทอดเกรียมน่ากิน หรือกับข้าวอื่นๆ ตามแต่ จะห่อมาฝากชลูดได้ แม้ชลูดจะปฏิเสธเพราะแม่สอนว่าอย่ารับของใครโดยไม่จ�ำเป็น แต่คุณส�ำเริงก็น�ำห่อข้าวมา

C

O

แอบใส่ไว้ในโต๊ะบ่อยๆ ชลูดจะเล่าให้น้องๆ ฟังเสมอจนครอบครัวนิ่มเสมอสนิทสนมกับครอบครัวโกมลศิริมาก

M ER

ชีวิตบั้นปลายของคุณส�ำเริง ได้ด�ำรงต�ำแหน่งรองอธิบดีกรมโยธาธิการ กระทรวงมหาดไทย ถึงแก่อนิจกรรม ในปี พ.ศ. 2555

SA

ชีวิตการเรียนที่โรงเรียนเพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากร ชลูดก็มีเพื่อนคู่อุปถัมภ์ที่รักใคร่ดุจญาติสนิท อีกคนคือ คุณประเชิญ เผ่าบุญเกิด เป็นเพื่อนที่คอยดูแลทุกข์สุขของชลูดมาตลอด สังเกตเห็นชลูดกินอาหาร

IM

กลางวันปริมาณจ�ำกัดจ�ำเขี่ยไม่สมกับความใหญ่โตของร่างกาย คุณประเชิญก็ห่อข้าวมาฝากชลูดสม�่ำเสมอ

N

การห่อข้าวใช้ใบตองสดย่างไฟพอให้ตายนึ่งแล้ววางบนหนังสือพิมพ์อีกชั้นหนึ่ง ชลูดเล่าให้น้องๆ ฟังว่ากลิ่น

O

D

อาหารที่ไหนๆ ไม่ซึ้งใจเท่ากับกลิ่นข้าวอบใบตอง ชลูดได้คบหากับคุณประเชิญตลอดมา และพบปะสังสรรค์กัน

LO

สม�ำ่ เสมอ ไม่ว่าจะเป็นวันเกิด วันฉลองความส�ำเร็จเล็กๆ น้อยๆ ของครอบครัว หลังจากคุณประเชิญต้องออกจาก

A

มหาวิทยาลัยศิลปากรพร้อมอนุปริญญา แผนกจิตรกรรมและประติมากรรม ก็หันเหไปเป็นทหารกรมสรรพาวุธ

H

ได้ยศพันเอก และได้ถึงแก่กรรมเมื่อปี พ.ศ. 2554

C

เพื่อนรักทั้งสามท่านนี้ ชลูดถือว่าเป็นต้นแบบของความดีงามที่มนุษย์แท้มีให้กัน และเป็นรากฐานโยงใย ถึงความบริสุทธิ์ของศิลปะและชีวิตด้วย

160

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 160

12/15/15 1:02 AM


ตลอดชีวต ิ ของชลูดตัง้ แต่เด็กจนเป็นผู้ใหญ่ เป็นคนมีนส ิ ย ั เงียบขรึม ไม่ค่อยพูดจาและออกความคิดเห็นใดๆ หากไม่มีใครร้องขอ ไม่ท�ำความเดือดร้อนให้ใคร ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ จึงเป็นที่รักของครอบครัวและ ญาติสนิทมิตรสหาย (ที่เข้าใจชลูด) และก็เป็นที่ไม่ถูกใจของคนที่ไม่เข้าใจพฤติกรรมของชลูด ชลูดรักแม่มาก เพราะแม่เป็นผู้นำ� ทางจิตวิญญาณของลูกๆ ทัง้ แนะแนว วางแผน อบรมสัง่ สอน วางแนวทาง ชีวิตให้ลูกๆ ภาพวาดของชลูดจึงปรากฏเป็นภาพผู้หญิงมากกว่าสิ่งอื่น ซึ่งก็น่าจะมีรากฐานมาจากชีวิตที่อบอุ่น ของครอบครัวในวัยเด็ก แม้จะเป็นครอบครัวชาวสวนที่ต้องเลี้ยงลูกถึงเจ็ดคน แต่ความอบอุ่นภายในครอบครัว ความรักความเสียสละของแม่และความเอื้ออาทรกันในหมู่พี่ๆ น้องๆ ท�ำให้ชลูดมองชีวิตมนุษย์เป็นความดี

E

ความงาม ซึ่งสะท้อนออกมาในผลงานศิลปะตลอดชีวิตของชลูด

H IV

ชลูด นิ่มเสมอ สมรสกับ ปราณี ศรีวิภาต ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมรุ่นกันมาตั้งแต่เรียนโรงเรียนเพาะช่างจนถึง

C

มหาวิทยาลัยศิลปากร หลังจากเรียนจบ ปราณี นิ่มเสมอ ท�ำงานรับราชการอยู่กองหัตถศิลป์ กรมศิลปากร

R

จนเกษียณอายุ ชลูดและปราณี มีบุตรสาว 1 คน คือ ดร.ประติมา นิ่มเสมอ ปัจจุบันเป็นอาจารย์ประจ�ำภาควิชา

A

ศิลปสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร หลังจากสมรสได้ใช้ชีวิตครอบครัวที่บ้าน

A N

D

ของตนเองคือ ‘สวนประติมา’ ถนนพุทธมณฑลสายสี่ ต�ำบลกระทุ่มล้ม อ�ำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2520 จนถึงประมาณปี พ.ศ. 2543 หลังจากที่ภรรยาถึงแก่กรรม จึงย้ายมาอาศัยอยู่ที่บา้ นสวนเดิมร่วม

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

กับครอบครัวน้องๆ ที่ถนนราชพฤกษ์ แขวงบางจาก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร จนถึงวาระสุดท้ายของชีวิต

161

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 161

12/15/15 1:02 AM


E H IV 03

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

01

C

02

C

H

A

LO

O

D

N

IM

06

07 01 | เด็กชายชลูด นิ่มเสมอ เมื่ออายุประมาณ 3 ขวบ 02 | ถ่ายรูปร่วมกับปู่และพี่ชายน้องชาย (ปู่เซ็ม ขณะนั้นเป็นก�ำนันต�ำบลบางจาก) 03 | อาจารย์ชลูดขณะอุปสมบท ปี พ.ศ. 2502 04 | ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี มาร่วมในงานอุปสมบทอาจารย์ชลูด 05 | ภาพรวมญาติครอบครัวนิ่มเสมอ ที่บ้านบางแวก ราวปี พ.ศ. 2526 06 | พี่น้องเจ็ดคน ถ่ายที่บา้ นสวนบางแวก ราวปี พ.ศ. 2526 (จากซ้ายไปขวา อาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ, นางสาวนันทวัน นิ่มเสมอ, นายธงไชย นิ่มเสมอ, เรือเอกอารินทร์ฤทธิ์ นิ่มเสมอ, นายยรรยง นิ่มเสมอ, นางมาลินี นิ่มเสมอ และนางอังสนา วาณิชกะ 07 | อาจารย์ชลูดขณะปรับพื้นที่รอบบ้านที่ถนนพุทธมณฑลสายสี่ กับลูกสาว ราวปี พ.ศ. 2520

10

162

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 162

12/15/15 1:02 AM


E H IV C R A

05

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

04

IM

09

O

D

N

08

LO

08 | อาจารย์ชลูดถ่ายภาพกับน้องสาวทั้ง 3 คนที่มาร่วมแสดงความยินดี ในวันรับพระราชทานปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาภาพพิมพ์

A

จากมหาวิทยาลัยศิลปากร พร้อมลูกสาว นางสาวประติมา นิ่มเสมอ

C

H

รับปริญญาสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 09 | ครอบครัวนิ่มเสมอ ราวปี พ.ศ. 2498 แถวยืนจากซ้ายไปขวา นายธงไชย, เรือเอกอารินทร์ฤทธิ์, เด็กชายยรรยง และนายชลูด แถวนั่งเก้าอี้ คุณแม่ทองสุก และคุณพ่อบัว นิ่มเสมอ แถวนั่งกับพื้น นางสาวนันทวัน, นางสาวมาลินี และ นางสาวอังสนา นิ่มเสมอ 10 | ภาพถ่ายครอบครัวทีบ ่ ้าน ‘สวนประติมา’ ถนนพุทธมณฑลสายสี่ ราวปี พ.ศ. 2534 (อาจารย์ชลูด อาจารย์ปราณี และ นางสาวประติมา นิ่มเสมอ) 11 | อาจารย์ชลูดกับอาจารย์ปราณี พร้อมญาติๆ ในงานท�ำบุญทอดกฐิน ที่วัดทรงธรรม ต�ำบลหนองกระรอก อ�ำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น

11

163

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 163

12/16/15 2:35 AM


E H IV C R N

A N

D

A

02

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

01

06

C

H

A

LO

O

05

01 | อาจารย์ชลูดและลูกสาวที่บางแสน ราวปี พ.ศ. 2520 02 | เรือนฝาขัดแตะริมสระน�้ำที่สวนประติมา ถนนพุทธมณฑลสายสี่ 03 | อาจารย์ชลูด เด็กหญิงประติมา และอาจารย์ปราณี นิ่มเสมอ ถ่ายที่ บ้านสวนประติมา ราวปี พ.ศ. 2529 04 | บ้าน ‘สวนประติมา’ บ้านที่อาจารย์ชลูดออกแบบเอง และบุกเบิกพื้นที่ ปรับจากที่นามาเป็นที่สวน และอยู่อาศัยในช่วงปี พ.ศ. 2520-2543 ก่อนที่จะย้ายมาอาศัยอยู่บ้านที่ถนนราชพฤกษ์ 05 | อาจารย์ปราณี นิม ่ เสมอ (ภรรยาอาจารย์ชลูด) ขณะทดลองขับเครือ ่ งบิน 09

06 | อาจารย์ปราณีกับผลงานของอาจารย์ชลูด ‘รูปปั้นหญิงสาว’

164

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 164

12/16/15 2:36 AM


E H IV C R A N

D

A

04

08

H

C

07

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

03

07 | อาจารย์ชลูด นิ่มเสมอ สมัยที่เริ่มเป็นอาจารย์ 08 | อาจารย์ปราณี นิม ่ เสมอ นัง่ เขียนภาพสีนำ�้ มันทีร่ ม ิ สระน�ำ้ บ้านสวนประติมา 09 | อาจารย์ชลูด เด็กหญิงประติมา และอาจารย์ปราณี นิ่มเสมอ ถ่ายกับสุนัข และแมวที่บ้านสวนประติมา ราวปี พ.ศ. 2529 10 | อาจารย์ชลูดกับรถโฟล์ค ที่ถนนพุทธมณฑลสายสี่ เมื่อแรกมาบุกเบิกบ้าน สวนประติมา

10

165

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 165

12/15/15 1:03 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 166

12/15/15 1:03 AM


LL

EC TI

O

N

A N

D

A

R

C

H IV

E

‘สายธารชีวิตที่เลื่อนไหลไป ทิ้งรอยในแต่ละขณะ แต่ละวัน เดือน ปีไว้ เป็นบันทึกของความรู้สึก ความนึกคิด และประสบการณ์ของชีวิตที่กลมกลืน กับสิ่งทั้งปวงในธรรมชาติ บันทึกร่องรอยของชีวิต จะปรากฏขึ้นต่อไป จนกว่าสายธารนี้จะสิ้นสุดลง’

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

ชลูด นิ่มเสมอ

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 167

12/15/15 1:04 AM


H IV

E

เส้นทางชีวิต การศึกษา และศิลปะ

R

C

[01]

A

[02]

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

ผลงานศิลปะ

ชีวิตส่วนตัว

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

งานด้านการศึกษาและวงการศิลปะ

2472 เกิดวันที่ 2 พฤษภาคม 2472 ที่ตำ�บลบางแวก เขตภาษีเจริญ กรุงเทพฯ (จังหวัดธนบุรีใน สมัยนั้น) เป็นบุตรชายคนที่ 3 จากพี่น้อง 7 คน

2476–2486 เข้าเรียนชั้นประถม 4 จนถึง มัธยมปีที่ 6 โรงเรียนวัดนวลนรดิศ 2486–2488 อายุ 14 ปี เป็นครูประชาบาล โรงเรียนวัดโตนดใกล้บ้าน อำ�เภอภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี

2488 อายุ 16 ปี สมัครคัดเลือก เข้าเป็นนักเรียนจ่าทหารเรือ สังกัดกองสัญญาณทหารเรือ

2491–2492 อายุ 20 ปี ศึกษาที่โรงเรียน เพาะช่าง สำ�เร็จประโยคครู ประถมการช่าง

2493–2497 อายุ 21 ปี เข้าศึกษาที่คณะจิตรกรรมและ ประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร [01] ส�ำเร็จการศึกษาได้รับปริญญาตรีศิลปบัณฑิต (สาขาประติมากรรม) เกียรตินิยมอันดับ 1 เป็นบัณฑิตคนแรกของมหาวิทยาลัยศิลปากร [02]

168

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 168

12/15/15 1:04 AM


H IV

E

[03]

[07]

A

R

C

[05]

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทเอกรงค์ (วาดเส้น) ผลงานชื่อ ‘ป่าเขตมรสุม’ [04]

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม ผลงานชื่อ ‘สงกรานต์’

O

LL

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทจิตรกรรม ผลงานชื่อ ‘ชาวนาไทย’ [05]

O

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทภาพพิมพ์ ผลงานชื่อ ‘มื้อค�่ำ’ ้ ยังจัดว่าเป็นงานเอกรงค์) (ในสมัยนัน

2500 อายุ 28 ปี จัดแสดงผลงานเดี่ยว ครั้งแรกในชีวิตที่ Galerie Tholoze ย่านมงมาร์ต กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ผลงานที่แสดง มีทั้งจิตรกรรม ภาพพิมพ์ และ เซรามิก [07]

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรมสลักไม้ ผลงานชื่อ ‘ความบริสุทธิ์แห่งธรรมชาติ’

2498 เข้ารับราชการในต�ำแหน่งอาจารย์ตรี คณะจิตรกรรมและประติมากรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร สอนวิชา องค์ประกอบศิลป์และวาดเส้น

2499–2500 สนใจและสร้างงานศิลปะภาพพิมพ์ด้วย เทคนิคแม่พิมพ์โลหะ (Intaglio Process) ศึกษาเพิ่มเติมอย่างจริงจังและครบถ้วนที่ ประเทศอิตาลี

2500–2525 ที่ปรึกษาโครงการพระพุทธมณฑล ในการสร้างพระประธาน และการ สร้างสัญลักษณ์ สังเวชนียสถาน จังหวัดนครปฐม

2499–2500 ได้รับทุนรัฐบาลอิตาลี ไปศึกษาต่อที่สถาบัน วิจิตรศิลป์แห่งกรุงโรม (L’Acccademia di Belle Arti di Roma) เป็นเวลา 2 ปี ได้รับ Diploma di Decorazion และ Diploma di Ceramic จากสถาบัน C.A.L.A.L. Roma กรุงโรมเช่นกัน [06]

2500 พ�ำนักอยู่กรุงปารีสนาน 6 เดือน เพื่อเตรียมงานแสดงเดี่ยวครั้งแรก และเรียนตัดเย็บเสื้อผ้า

N

IM

SA

M ER

C

รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 2 เหรียญเงิน ประเภทประติมากรรม ผลงานชื่อ ‘คิด’

C

H

A

LO

O

D

2496 สนใจและเริ่มสร้างงานศิลปะภาพพิมพ์ แกะไม้ (Woodcut) ทดลองแกะแม่พิมพ์ ไม้บนแผ่นเมโซไนท์ (Mesonite)

A N

2499 ได้รับรางวัลจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 7 จ�ำนวนสามรางวัลได้แก่

N

2498 ได้รับรางวัลจากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 6 จ�ำนวนสามรางวัลได้แก่

EC TI

2496 ได้รับรางวัลจากผลงานศิลปะครั้งแรก รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 3 เหรียญทองแดง ประเภทจิตรกรรม จากการแสดงศิลปกรรม แห่งชาติครั้งที่ 4 ผลงานสีน�้ำชื่อ ‘ทุ่งนา’ [03]

D

[06]

[04]

2499 เขียนบันทึก ‘การเดินทางจากสยามถึงอิตาลี 38 วันบนเรือ พ.ศ. 2499’

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 169

169

12/16/15 11:31 PM


[09]

[12]

ผลงานศิลปะ

A

R

C

[08]

H IV

E

[11]

A N

O

N

2507 รางวัลภาพพิมพ์จาก International Biennial of Prints in Tokyo ครั้งที่ 4 ประเทศญี่ปุ่น ผลงานคอลโลกราฟ ชื่อ ‘ภาพพิมพ์หมายเลข 7’ [10]

2508 เริ่มต้นสร้างผลงานชุด ‘วาดเส้นนามธรรม’ [12]

EC TI

2506 ได้รับรางวัลภาพพิมพ์จาก International Biennial of Graphic Art เมืองลูบลิยานา ประเทศยูโกสลาเวีย ผลงานชื่อ ‘สิ้นหวัง’ แสดงนิทรรศการผลงานเดี่ยวครั้งแรกใน ประเทศไทย ที่ A.U.A. กรุงเทพฯ มีผลงาน ทีแ ่ สดงมากกว่าร้อยชิน ้ เป็นผลงานจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิมพ์ วาดเส้น และ เซรามิก [09]

M ER

C

O

LL

2502 อายุ 30 ปี ได้รางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง ประเภทจิตรกรรม ชื่อ ‘แม่ค้าปลา’ จากการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติครั้งที่ 10 และได้รับยกย่องเป็นศิลปินชั้นเยี่ยม ประเภท จิตรกรรม [08]

D

[10]

งานด้านการศึกษาและวงการศิลปะ

N

IM

SA

2505 เริ่มบุกเบิกปูทางการสอนวิชาภาพพิมพ์ เทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้และภาพพิมพ์ กระบวนการร่องลึก (Intaglio Process)

2507 เดินทางไปศึกษาดูงานศิลปะ เยี่ยมชม สถาบันศิลปะ และพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่ สำ�คัญต่างๆ ทั่วประเทศสหรัฐอเมริกาเป็น เวลา 6 เดือน ศึกษาวิธีการเรียนการสอน ศิลปะ การจัดตั้งห้องสตูดิโอสำ�หรับทำ�งาน ภาพพิมพ์ และศึกษาการทำ�ภาพพิมพ์ หิน (Lithograph) ที่ Pratt Graphic Center กรุงนิวยอร์ค [11]

2508 เป็นผู้ริเริ่มและก่อตั้งภาควิชา ภาพพิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกของการ ศึกษาศิลปะสมัยใหม่ในประเทศไทย และดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าภาค วิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากรเป็นคนแรก

2507 ได้รับ Certificate of Lithography จาก Pratt Graphic Center ประเทศ สหรัฐอเมริกา และเดินทางไปดูงานศิลปะ ต่อที่ประเทศอิตาลีและฝรั่งเศสเป็นเวลา 2 เดือน

2508 เริ่มเขียนจดหมายและโปสการ์ดถึง คุณนายลูกอิน ซึ่งเป็นบุคคลใน จินตนาการที่อาจารย์ชลูดนับถือ เปรียบเหมือนญาติผู้ใหญ่

ชีวิตส่วนตัว

C

H

A

LO

O

D

2503 ร่วมเป็นกรรมการตัดสินในงานศิลปกรรม แห่งชาติเป็นครั้งแรก และเป็นที่ปรึกษา ด้านศิลปะและการจัดประกวดศิลปะของ องค์กรเอกชน เช่น การประกวดจิตรกรรม บัวหลวง การแสดงศิลปะร่วมสมัยและ รางวัลพู่กันทอง ของธนาคารกสิกรไทย

2504 มารดาของอาจารย์ชลูด (นางทองสุก นิ่มเสมอ) ถึงแก่กรรม

170

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 170

12/16/15 2:37 AM


[13]

C

H IV

E

[15]

A

R

[16]

M ER

N O EC TI

C

O

สร้างผลงานจิตรกรรมแนวไทยประเพณี ด้วย สีอะคริลิกบนแผ่นเมโซไนท์หลายชิ้น รวมถึง ผลงานชิ้นสำ�คัญ ‘คุณนายลูกอิน’ [14]

LL

2513 เริม ่ ต้นและบุกเบิกการสร้างงานประติมากรรม โลหะ ด้วยเทคนิคการเชื่อมโลหะ (Welding Sculpture)

2511 แสดงนิทรรศการผลงานเดี่ยว ครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่ Two World Gallery สนาม บินนานาชาติ จอห์น เอฟ เคเนดี้ กรุงนิวยอร์ค ผลงานส่วนใหญ่ เป็นงานนามธรรม มีทั้งผลงาน ประติมากรรมแกะสลักไม้ ภาพ พิมพ์แกะไม้ และภาพพิมพ์ คอลโลกราฟ [13]

A N

D

[14]

2514–2518 รักษาราชการในตำ�แหน่งคณบดี คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ (แทนอาจารย์เขียน ยิ้มศิริ ที่ถึงแก่กรรม)

2517 ดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นครั้งที่สอง

2518–2522 ดำ�รงตำ�แหน่งคณบดีคนที่ 3 ของคณะ จิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

2517 สมรสกับปราณี ศรีวิภาต

2518 มีลูกสาว 1 คน (ประติมา นิ่มเสมอ) [16]

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

2512 ดำ�รงตำ�แหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และ ภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร [15]

2513–2517 เริ่มเขียนสมุดบันทึกส่วนตัวชื่อ ‘สุญญตา’ รวมถึงสมุดบันทึกทำ�มือ ที่ทำ�ขึ้นเองอีก หลายเล่ม เช่น ‘BETTER LIFE’

171

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 171

12/16/15 11:32 PM


[17]

[20]

A N

[18]

C

D

ผลงานศิลปะ

A

R

[21]

H IV

E

[19]

2525 สร้างผลงานศิลปะกับสิ่งแวดล้อม ชุด‘ประติมากรรมชนบท’ หลายสิบชิ้น ที่สวนประติมา พุทธมณฑลสายสี่ ตำ�บลกระทุ่มล้ม อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม [19]

EC TI

O

N

2524 ‘องค์สาม’ ผลงานประติมากรรม สมัยใหม่ กับพื้นที่สาธารณะชิ้นแรก ติดตั้งถาวรหน้าอาคารสำ�นักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย พหลโยธิน กรุงเทพฯ [18]

2528 สร้างผลงานวาดเส้นชุด ‘ลูกสาว’ เป็นชุดแรก ผลงานชุด ‘แนวเรื่องและการเปลี่ยนแปร’ ติดตั้ง ‘อนุสาวรีย์วีรชน พตท.17–18’ ประติมากรรมสำ�ริด ที่จังหวัดเลย [21]

M ER

C

O

LL

เริ่มต้นสร้างผลงานชุด ‘บทกวี’ และ ‘บันทึกประจำ�วัน’ ซึ่งร่วมแสดงครั้งแรก ในนิทรรศการ ‘งานกระดาษ’ หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร [20]

งานด้านการศึกษาและวงการศิลปะ

2525 ดำ�รงตำ�แหน่งรองศาสตราจารย์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

2526–2534 ที่ปรึกษาโครงการค้นคว้าวิจัย ศิลปกรรมไทย เน้นทางจิตรกรรมและ ประติมากรรมแบบประเพณีไทย ของกรมศิลปากร

ชีวิตส่วนตัว

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

2519 เป็นผู้ริเริ่มและก่อตั้งตั้งภาควิชาศิลปไทย เป็นแห่งแรกในประเทศไทยที่ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

2520 ย้ายไปอยู่สวนประติมา พุทธมณฑลสายสี่ ตำ�บลกระทุ่มล้ม อำ�เภอสามพราน จังหวัดนครปฐม อาจารย์ชลูดได้ติดตั้งผลงานประติมากรรม ไว้ในสวนหลายชิ้น เช่นงานประติมากรรมชุดสลักหิน รวมไปถึงงานประติมากรรมสำ�ริด ‘คิด’ [17]

172

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 172

12/16/15 2:37 AM


[26]

C

H IV

E

[22]

[25] 2533 สร้างผลงานชุด ‘ปลูกป่า’ ชุดแรก เป็นงานจิตรกรรม สีฝุ่นปิดทองบนกระดาษดำ� จำ�นวน 20 ชิ้น

O

2531 ‘ทะเลตะวันออก’ ประติมากรรมกับสิ่ง แวดล้อมริมชายทะเล ที่ร็อคการ์เดนบีช รีสอร์ต จังหวัดระยอง [22]

A N

D

[24]

N

[23]

A

R

[27]

LL

EC TI

2534 ‘โลกุตระ’ ประติมากรรมไฟเบอร์กลาสปิดทอง ติดตั้ง ถาวรหน้าศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ [25]

2537 ‘อินทรีย์ 5’ ประติมากรรมสำ�ริด ติดตั้งถาวรหน้าอาคาร สำ�นักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย ถนนราษฎร์บูรณะ กรุงเทพฯ [27]

SA

2532 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำ�รงตำ�แหน่ง ศาสตราจารย์ทางทัศนศิลป์เป็นคนแรกของประเทศไทย

C

H

A

LO

O

D

N

IM

2531 หนังสือหนังสือ ‘องค์ประกอบศิลป์’ ซึ่งเป็นตำ�รา หนังสือเล่มแรกของอาจารย์ชลูดที่พิมพ์เผยแพร่ จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นคู่มือของนักศึกษาศิลปะและผู้ที่ ต้องการฝึกฝนการสร้างสรรค์ด้านทัศนศิลป์ ปรับปรุงแก้ไขจากเอกสารคำ�สอนวิชาองค์ประกอบ ศิลป์ เป็นตำ�ราที่ให้ความรู้ด้านการสร้างสรรค์ ศิลปะสมัยใหม่ เป็นพื้นฐานสำ�คัญของการทำ�ความ เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ จัดพิมพ์โดย โดยโรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช (พิมพ์ครั้งที่ 1-6) และสำ�นักพิมพ์อมรินทร์ (พิมพ์ครั้งที่ 7–9) [23]

M ER

C

O

เริ่มสร้างผลงานชุด ‘ธรรมศิลป์’

2536 ‘พระบรมโพธิสมภาร’ ประติมากรรมทองเหลือง ปิดทอง ติดตั้งถาวรอยู่หน้าอาคารหอประชุม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสมุทรปราการ [26]

อายุ 60 ปี เกษียณอายุราชการ รวมระยะเวลาทำ�งานอยู่ ในราชการ 34 ปี เขียนและตีพิมพ์หนังสือ ‘การเข้าถึงศิลปะในจิตรกรรมไทย’ จัดพิมพ์โดยกรมศิลปากร มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเสนอแนะ วิธีเข้าถึงจิตรกรรมไทยในเชิงศิลปะและสุนทรียะ เพื่อได้ รับรู้และซาบซึ้งในคุณค่าแท้จริงของผลงานพุทธิปัญญา ที่ล้ำ�ค่าของไทย [24]

2533–2554 รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2533–2558 รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นอาจารย์พิเศษให้กับสถาบันการศึกษาต่างๆ อีกหลายแห่ง

173

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 173

12/16/15 2:38 AM


[28]

E

[31]

[32]

C

H IV

[30]

ผลงานศิลปะ

2549 ผลงานวาดเส้นและจิตรกรรมชุด ‘ภวังค์จิต’ [32]

2544 ผลงานชุด ‘ปลูกป่า’ ชุดที่ 2 [31]

2550 ผลงานวาดเส้นบนกระดาษชุด ‘ประติมากรรมในทิวทัศน์’ [33]

O

N

2543–2555 ผลงานชื่อ ‘ครัวดำ�’ [30]

LL

2541 สร้างผลงานวาดเส้นชุด ‘บันทึกศิลปินชนบท’ [29]

2542 แสดงนิทรรศการ ‘ชลูด นิ่มเสมอ: ภาพพิมพ์–วาดเส้น–สื่อผสม 2496–2542’ ณ หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากรซึ่งเป็นการ แสดงผลงานเดี่ยวครั้งที่สองในประเทศไทย ซึ่งห่างจากการแสดงผลงานเดี่ยวครั้งแรก ถึง 36 ปี (พ.ศ. 2506) นิทรรศการนี้จัดโดย ภาควิชาภาพพิมพ์ เพื่อเชิดชูเกียรติในโอกาส ที่ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาภาพพิมพ์ จากมหาวิทยาลัย ศิลปากร

EC TI

2539 ‘เงินเจียง’ประติมากรรมสำ�ริด ติดตั้งถาวรหน้า อาคารธนาคารแห่งประเทศไทย สาขาเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ [28]

A N

D

[33]

A

R

[29]

M ER

C

O

ผลงานศิลปะแนวจัดวางชุด ‘แบกะดิน’ และ ผลงาน ‘ครัวชนบท’

งานด้านการศึกษาและวงการศิลปะ

2542 ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาภาพพิมพ์ จากมหาวิทยาลัย ศิลปากร

2550 ได้รับพระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิต กิตติมศักดิ์ สาขาศิลปไทย จากมหาวิทยาลัย ศิลปากร

2543 ภรรยาเสียชีวิต (อาจารย์ปราณี นิ่มเสมอ) อาจารย์ชลูดและลูกสาวย้ายจากสวนประติมา มาอยูท ่ บ ่ี า้ นถนนราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นสตูดโิ อ แกลลอรี่หลังปัจจุบัน

2549–2553 ลูกสาวเรียนปริญญาเอกที่ประเทศอังกฤษ อาจารย์ชลูด เริ่มทำ�งานชุดวาดเส้น ‘ภวังค์จิต’ ซึ่งเป็นงานวาดเส้น ที่อาจารย์ชลูดขีดเขียน ขณะพูดคุยโทรศัพท์กับลูกสาว

ชีวิตส่วนตัว

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

2541 ได้รับยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม)

2541 อาจารย์ชลูดไปทำ�นาที่อำ�เภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น และได้ทำ�งานวาดเส้น ชุด ‘บันทึกศิลปินชนบท’

2550 เดินทางไปท่องเที่ยวที่หลวงพระบาง สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว กับกลุ่มอาจารย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 174

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 174

12/16/15 2:38 AM


[40]

E

[35]

[34]

[36]

A

R

C

H IV

[38]

EC TI

O

N

2556 อายุ 84 ปี แสดงนิทรรศการผลงานเดี่ยว ‘จิตรกรรมฝาผนังของอาจารย์ชลูด และผลงาน ย้อนหลัง’ ณ ชั้น 9 หอศิลปวัฒนธรรมแห่ง กรุงเทพมหานคร (BACC) ซึ่งเป็นการแสดง นิทรรศการครั้งสุดท้ายในชีวิต

2553 แสดงนิทรรศการผลงานเดี่ยว ‘สายธารชีวิต’ ณ หอศิลป์ คณะจิตรกรรมฯ และหอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร นิทรรศการนี้จัดโดย ภาควิชาศิลปไทย เพื่อเชิดชูเกียรติในโอกาสที่ได้รับ พระราชทานปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศิลปไทย จากมหาวิทยาลัยศิลปากร

LL

2557 ในวัย 85 ปี อาจารย์ชลูด กลับมาทำ�งานเซรามิก อีกครั้งหนึ่ง โดยใช้สีพิกเมนต์ที่เก็บไว้ตั้งแต่ครั้งที่ไป ศึกษาที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี เมื่อปี พ.ศ. 2500 [37]

2558 สร้างผลงานศิลปะแนวจัดวางขนาดใหญ่ชิ้นสุดท้าย ชื่อ ‘จิตรกรรมบุผนัง’ (2499–2558) ในสตูดิโอแกลลอรี่ ที่บ้านถนนราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นการประกอบกันของผลงาน กว่า 3,000 ชิ้น ที่ติดรายล้อมบนผนังทุกด้าน [38] ‘สมดุล’ ประติมากรรมสำ�หรับติดตั้งหน้าอาคาร ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก (กำ�ลังอยู่ในระหว่างดำ�เนินการก่อสร้าง) [39]

ผลงาน ‘สมุทย ั ’ ประติมากรรมสำ�ริดเคลือบสี ออโต้แลคเกอร์ ที่หออัครศิลปิน จังหวัดปทุมธานี [35]

2558 หนังสือ ‘สัพเพเหระเกี่ยวกับชีวิตและศิลปะ’ จัดพิมพ์โดยชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ เนื่องในโอกาสก่อตั้ง ‘ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ’ และ ‘พิพิธภัณฑ์บ้านอาจารย์ ชลูด นิ่มเสมอ’ ซึ่งส่วนหนึ่งเพื่อแจก เป็นที่ระลึกในงานพระราชทานเพลิงศพ ณ วัดเทพศิรินทราวาส หนังสือเล่มนี้เป็นการบันทึกความคิด และเป็นผลงานการเขียน จากประสบการณ์ชีวิตและการทำ�งานสร้างสรรค์ ของอาจารย์ชลูด เล่มแรก รวมทั้งรวบรวมภาพผลงานศิลปะทุกยุคทุกสมัยของ อาจารย์ไว้จำ�นวนมาก [40]

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

2553 หนังสือ ‘วาดเส้นสร้างสรรค์ Creative Drawing’ จัดพิมพ์โดยสำ�นักพิมพ์อมรินทร์ เป็นบทความที่เขียนขึ้น เพื่อลงสูจิบัตรนิทรรศการวาดเส้นร่วมสมัยของศิลปิน 22 คน ที่หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อเดือนมิถุนายน 2529 ในชื่อ ‘การวาดเส้น’ เป็นหนังสือที่กล่าวถึงความสำ�คัญของการ วาดเส้นในแง่ที่เป็นพื้นฐานสำ�คัญของการสร้างสรรค์ในทัศนศิลป์ ทุกสาขา เป็นวิธีการถ่ายทอดและแปลจินตนาการออกมา เป็นรูปธรรมที่สะดวกรวดเร็ว และประหยัดที่สุด [36]

M ER

C

O

2554 สร้างผลงานชุด ‘วาดเส้นภาวนา’ [34]

[39]

A N

D

[37]

2554 น�้ำท่วมกรุงเทพฯ ครั้งใหญ่ อาจารย์ชลูดและครอบครัว ไปอยู่ที่อ�ำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เป็นเวลาเดือนกว่าๆ และได้ท�ำงานชุด ‘วาดเส้นภาวนา’

2558 ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2558 เวลา 06.45 น. ที่โรงพยาบาลศิริราช กรุงเทพมหานคร สิริรวมอายุได้ 86 ปี

175

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated-16-12..indd 175

12/16/15 11:34 PM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 176

12/15/15 1:06 AM


A N

D

A

R

C

องค์กร หน่วยงานภาครัฐ และเอกชน รวมถึงทุกท่าน ที่ได้กรุณาส่งหรีดเคารพศพและร่วมทำ�บุญบำ�เพ็ญกุศล ในการสวดพระอภิธรรมและในการพระราชทานเพลิงศพ

H IV

E

กราบขอบพระคุณ

N

ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ

EC TI

O

ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (ประติมากรรม) พ.ศ. 2541 ศิลปินชั้นเยี่ยม สาขาจิตรกรรม พ.ศ. 2502

C

H

A

LO

O

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

ขอให้ทุกท่านได้บุญกุศลร่วมกัน หากมีความผิดพลาดประการใด ครอบครัวนิ่มเสมอ ต้องกราบขออภัยมาในโอกาสนี้

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 177

12/16/15 2:39 AM


ขอบคุณเจ้าภาพสวดพระอภิธรรมศพ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ

ขอบคุณการช่วยเหลืออื่นๆ

วันพุธที่ 10 มิถุนายน 2558

วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน 2558

มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

อาหารว่างโดย จิตรกรรมฯ รุ่น 65

กระทรวงวัฒนธรรม

H IV

E

วันพุธที่ 10 มิถุนายน 2558

มหาวิทยาลัยศิลปากร

การแสดงหุ่นละครเล็ก คลองบางหลวง คณะคำ�นาย

คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

โดย คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

C

มหาวิทยาลัยศิลปากร

D

วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน 2558

สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยศิลปากร

A

R

อาหารว่าง จากร้าน White Cafe โดยคุณเบญญา นันทขว้าง

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

A N

อาหารจากร้านมิตรโภชนา โดยชมรมรักศิลป์ร่วมสมัย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

สมาคมศิษย์เก่า คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

อาหารว่างจากร้าน Bake a Wish Japanese home made cake

มหาวิทยาลัยศิลปากร

โดย คุณจิตราวดี ศิริทวี

O

N

หอศิลป์มหาวิทยาลัยศิลปากร

จัดดอกไม้ในงานสวดพระอภิธรรมศพ

มูลนิธิบัวหลวง

คุณกิตติกร กัลยากาญจน์

EC TI

มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ทายาทอาจารย์สุวรรณี สุคนธา

LL

สนับสนุนเครื่องดื่มตลอดงานสวดพระอภิธรรม บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน)

มูลนิธิหอศิลปะแห่งรัชกาลที่ 9

ธนาคารกสิกรไทย

C

O

วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน 2558

M ER

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน 2558 โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย คณะแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SA

สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์

เจ้าหน้าที่ บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน) นักศึกษาคณะจิตรกรรมฯ และ นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

IM

วิทยาลัยช่างศิลป

อำ�นวยความสะดวกภายในงาน

N

วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน 2558

D

ชมรมรักศิลป์ร่วมสมัย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

C

H

A

LO

O

น้องๆ ลูก และหลานๆ

178

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 178

12/16/15 2:39 AM


ขอขอบคุณ

กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ คุณหญิงไขศรี ศรีอรุณ

มหาวิทยาลัยศิลปากร

นางสาวนันทิยา สว่างวุฒิธรรม

ภาควิชาภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

H IV

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชัยชาญ ถาวรเวช อธิการบดีมหาวิทยาลัยศิลปากร

มหาวิทยาลัยศิลปากร

C

ภาควิชาศิลปไทย คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์

E

อธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม

คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

R

อาจารย์จุลทัศน์ พยาฆรานนท์

มหาวิทยาลัยศิลปากร

A

อาจารย์อำ�มฤทธิ์ ชูสุวรรณ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

D

คณบดีคณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.สันติ เล็กสุขุม

คุณเทวินทร์ วงศ์วานิช

ศาสตราจารย์เดชา วราชุน

A N

สถาบันศิลปสถาปัตยกรรมไทยเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทสำ�รวจและผลิตปิโตรเลียม จำ�กัด (มหาชน)

O

N

ศาสตรเมธีนนทิวรรธน์ จันทนะผะลิน

EC TI

ศาสตราจารย์เกียรติคุณอิทธิพล ตั้งโฉลก

คุณฐาปน สิริวัฒนภักดี

ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร

กรรมการผู้อำ�นวยการใหญ่ บริษัทไทยเบฟเวอเรจ จำ�กัด (มหาชน)

ศาสตราจารย์เกียรติคุณปรีชา เถาทอง

LL

คุณเมตตา อุทกะพันธุ์

O

ประธานกรรมการ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำ�กัด (มหาชน)

C

คุณบัณฑูร ล่ำ�ซำ�

M ER

ประธานกรรมการและประธานเจ้าหน้าทีบ ่ ริหารธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน)

สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ มูลนิธิรัฐบุรุษ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์

SA

มูลนิธิบัวหลวง

N

มูลนิธิหอศิลปะแห่งรัชกาลที่ 9

IM

ชมรมรักศิลป์ร่วมสมัย เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

LO

O

อาจารย์จักรพันธุ์ โปษยกฤต

D

มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

คุณหญิงปัทมา ลีสวัสดิ์ตระกูล

A

ครอบครัวคุณธวัช ปุณยกนก

C

H

คุณเยาวณี นิรันดร

คุณบุญชัย เบญจรงคกุล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วุฒิพงศ์ กิตติธเนศวร คุณศุภโชค อังคสุวรรณศิริ (ศุภโชค ดิ อาร์ต เซ็นเตอร์)

ศาสตราจารย์เกียรติคุณเข็มรัตน์ กองสุข รองศาสตราจารย์มัลลิกา มังกรวงษ์ รองศาสตราจารย์ปริญญา และอาจารย์สุชาดา ตันติสุข อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ อาจารย์ปัญญา วิจินธนสาร ศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์ อาจารย์สุรสีห์ กุศลวงศ์ อาจารย์ธงชัย ศรีสุขประเสริฐ นาวาอากาศเอก (พิเศษ) ไพศาล และคุณอังสนา วาณิชกะ

คุณนันทวัน นิ่มเสมอ คุณมาลินี นิ่มเสมอ คุณอารมณ์ นิ่มเสมอ คุณสายฝน (วาณิชกะ) อังคะนาวิน คุณพัดชา (วาณิชกะ) ซาอิด คุณสาลินี พรหมบุตร คุณอารัมภ์ และคุณอารัตน์ นิ่มเสมอ และหลานๆ ครอบครัวนิ่มเสมอ คุณเทียมจันทร์ เหวันต์ คุณสมพาน คุณหนูเล็ก มณีนารถ และครอบครัว คุณปรัชญา และคุณน้ำ�ใส ตันติสุข

179

58-11-086_001-184_new17-12 chaloo_uncoated-Windd.indd 179

12/17/15 3:36 PM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO

A

สนับสนุนการจัดพิมพ์

C

H

มหาวิทยาลัยศิลปากร กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จ�ำกัด (มหาชน) ธนาคารกสิกรไทย จ�ำกัด (มหาชน) บริษัท เก็ต ออน เทคโนโลยี จ�ำกัด ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน)

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 180

12/16/15 2:40 AM


E

ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ สายธารแห่งชีวิต สายธารแห่งศิลปะ

ที่ปรึกษา

ดร.ประติมา นิ่มเสมอ และ ครอบครัวนิ่มเสมอ

ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร

C

ศาสตราจารย์ถาวร โกอุดมวิทย์

R

บทความ

รองศาสตราจารย์ปริญญา ตันติสุข

A

ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ

อาจารย์สุชาดา ตันติสุข

D

ศาสตราจารย์เกียรติคุณพิษณุ ศุภนิมิตร

A N

อาจารย์สุรสีห์ กุศลวงศ์

มาลินี นิ่มเสมอ

คุณมาลินี นิ่มเสมอ ครอบครัวนิ่มเสมอ

O

N

คอนเซ็ปหนังสือและออกแบบ

EC TI

อาจารย์สุรสีห์ กุศลวงศ์ Invisible Academy

ขอขอบคุณ

LL

คอมพิวเตอร์กราฟฟิก

O

Invisible Academy

C

พิณพลอย พรหมดวง

M ER

ถ่ายภาพผลงาน

โฟโต้คอนโทรลเลอร์

SA

ฤทธิรงค์ จันทองสุข

IM

ยงยุทธ ธนาภรณ์วิริยะกุล

N

ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล

D

Invisible Academy

LO

O

ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ อนงค์ลักษณ์ ไก่แก้ว

H

A

อรวรรณ อินปุย

C

H IV

บรรณาธิการ

คุณมาลินี นิ่มเสมอ อาจารย์นพพงษ์ สัจจวิโส คุณนวลจันทร์ ศุภนิมิตร รองศาสตราจารย์ญาณวิทย์ กุญแจทอง คุณนิติกร กรัยวิเชียร อาจารย์สาลินี พรหมบุตร คุณกัลยา สืบนาคร ดร.บุรินทร์ ธราวิจิตรกุล บริษัท King’s Colour Pro คุณธนพร นาถวาณิชยกุล มล.สรัญญา วรวุฒิ คุณอนุชัย ศรีจรูญพู่ทอง คุณลักษณ์ คูณสมบัติ คุณหัสภพ ตั้งมหาเมฆ คุณมาโนช ภาชีรัตน์ คุณธีรพล สีสังข์ คุณลลิตา นิมมานเหมินท์ คุณกรกต ธัชศฤงคารสกุล คุณรวินทร์ รีวราบัณฑิต คุณสุเมธ ถาวร คุณเชิดชู นรสาร และทุกท่านที่ไม่ประสงค์ออกนาม

181

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 181

12/16/15 2:40 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C

อาจารย์ชลูดเดินป่าที่อำ�เภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี ปี พ.ศ.

58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 182

2554

12/15/15 1:07 AM


E H IV C R A D A N N O EC TI LL O C M ER SA IM N D O LO A H C 58-11-086_001-184_chalus uncoated_P.indd 183

12/15/15 1:07 AM


E R

C

H IV

ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ สายธารแห่งชีวิต สายธารแห่งศิลปะ

D

N

IM

SA

M ER

C

O

LL

EC TI

O

N

A N

D

A

จัดพิมพ์เนื่องในการพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์เกียรติคุณชลูด นิ่มเสมอ ณ เมรุหลวงหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร วันอาทิตย์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2558

O

ธันวาคม 2558

A

LO

© ชลูด นิ่มเสมอ คอลเลคชั่นแอนด์อาร์ไคฟ สงวนลิขสิทธิ์การเผยแพร่ตามพระราชบัญญัติ

C

H

พิมพ์ที่ บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ำกัด (มหาชน) กรุงเทพฯ

ISBN 978–616–406–422–5

58-11-086_001-184_new15-12 chaloo_p un coated..indd 184

12/16/15 2:41 AM


D

O

LO

A

H

C

M ER

SA

IM

N

EC TI

LL

O

C

O

N

D

A N

H IV

C

R

A

E


D

O

LO

A

H

C

M ER

SA

IM

N

EC TI

LL

O

C

O

N

D

A N

H IV

C

R

A

E


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.